Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เพศศึกษาแบบองค์รวม

เพศศึกษาแบบองค์รวม

Description: เพศศึกษาแบบองค์รวม

Search

Read the Text Version

334 ทีม่ ผี ู้ชมจานวนมากถือเปน็ การให้ข้อมูลของสินค้ากับผู้ชมกลุ่มใหญ่ได้อยา่ งแนบนียน ส่วนส่ือประเภท อื่น ๆ ก็ได้รับความนิยมในอันดับรอง ๆ ลงมา โดยเฉพาะสื่อรูปแบบใหม่ เช่น อินเทอร์เน็ต โรงภาพยนตร์ รถโดยสาร กเ็ ป็นทีน่ ยิ มอยูม่ ากเชน่ กัน ในการทาโฆษณา ผู้บริหารการตลาดต้องตัดสินใจในเร่ืองต่ างๆ เช่น ใครคือ กลุ่มผู้รับโฆษณาประเภทของการโฆษณาท่ีจะใช้ จะเข้าถึงผู้รับโฆษณาได้อย่างไร จะใช้ข้อความ โฆษณาอย่างไร จะว่าจ้างใครเป็นผู้จัดทาโฆษณา รวมไปถึงงบประมาณท่ีจะใช้ในการโฆษณา เพือ่ สิ่งที่บรษิ ัทต้องการสื่อจะตรงกับกลุ่มเปา้ หมาย สื่อความหมายได้ครบถ้วน และได้ประโยชนส์ ูงสุด จากการโฆษณาน้ัน 4.1 ประเภทของสอื่ โฆษณา 4.1.1 หนังสือพิมพ์ เป็นส่ือท่ีนิยมกันมาก มีข้อดีคือ ต้นทุนต่า เลือกกลุ่มผู้รับ ขา่ วสารไดต้ ามประเภทของหนงั สือพมิ พ์ และเปล่ยี นแปลงโฆษณาไดง้ ่ายและรวดเร็ว 4.1.2 นิตยสาร คล้ายๆ กบั หนังสือพิมพ์ แต่มีคุณภาพของสง่ิ พมิ พ์สูงกว่า ออกแบบ ได้หลากหลายกว่า แต่ก็ใช้เวลานานกวา่ ด้วย 4.1.3 ไปรษณีย์ ในท่ีนี้เป็นการเจาะจงกลุ่มเป้าหมายแต่จะเสียค่าใช้จ่ายต่อคน คอ่ นขา้ งสงู และอาจไมไ่ ด้รับความสนใจเท่าที่ควร 4.1.4 วิทยุ มีข้อดีคือ สามารถครอบคลุมคนได้จานวนมากและรวดเรว็ แต่อาจจะ ดึงความสนใจของผูฟ้ งั ไมไ่ ดม้ ากเท่าท่คี วร 4.1.5 โทรทัศน์ เป็นสื่อโฆษณาที่ดึงความสนใจได้สูงเพราะมีท้ังแสง สี เสียง และ รูปภาพที่เคล่ือนไหวได้ ครอบคลุมผ้ชู มจานวนมาก และเลือกกลุ่มปา้ หมายได้หลากหลายตามรายการ แต่ก็เสียค่าใช้จ่ายสงู มากดว้ ยเช่นกัน 4.1.6 การโฆษณากลางแจ้ง เป็นการโฆษณโดยใช้ป้ายโฆษณาติดตามสถานท่ี ตา่ ง ๆ เหมาะกบั การโฆษณาประเภทเตอื นความทรงจา เพราะมีสีสรร ขนาดใหญ่ และผู้บริโภคจะเห็น ทกุ คร้งั ทผ่ี า่ นปา้ ย แตจ่ ะเลือกกลุ่มเป้าหมายไม่ไดแ้ ละเขยี นขอ้ ความได้จากดั 4.1.7 อีเมล หรอื อนิ เทอร์เน็ต กาลงั เป็นทน่ี ิยมในขณะนี้ เพราะนอกจากจะโฆษณา สนิ ค้าได้แล้ว ยงั ทาการซื้อ-ขายสินค้าออนไลน์ได้ทันทีอีกด้วย เป็นการโฆษณาที่สะดวกเปล่ียนแปลง ง่าย รวดเรว็ และตน้ ทุนต่า 4.2 สอื่ อืน่ ๆ 4.2.1 สอ่ื กลางแจ้ง สอ่ื กลางแจ้ง (Outdoor Media) เป็นสื่อโฆษณาที่สามารถแสดงเคร่อื งหมาย การค้า สัญลักษณ์การค้า ชื่อผลิตภัณฑ์ คาขวัญ บรรจุภัณฑ์ ความเคล่ือนไหว และแสงสีในเวลา กลางคนื ไดด้ ว้ ยรูปและขนาดทใ่ี หญม่ าก สามารถทาให้เกิดความสะดดุ ตาสะดดุ ใจ เรียกรอ้ งความสนใจ

335 จากประชาชนท่ีผ่านไปมาได้เป็นอย่างดี เช่น ป้ายโฆษณาตามทางแยก ตามแนวถนนทางออก นอกเมือง บนหลงั คาตกึ สงู ผนังตึกด้านนอกตกึ ประเภทของสือ่ โฆษณากลางแจ้ง 1) ปา้ ยโฆษณาขนาดใหญ่ (Billboard) 2) ป้ายโฆษณาทางเท้า (Cut Out) 3) โปสเตอร์ (Poster) 4) ปา้ ยผ้า (Banner) 5) ปา้ ยอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Tri Vision) 6) สอ่ื อาคาร (Tower Vision) ข้อดี 1) เข้าถงึ กล่มุ เปา้ หมายได้ในวงกวา้ ง 2) อตั ราคา่ โฆษณาตอ่ หวั ตา่ 3) ข้อความโฆษณาผ่านสายตากลุ่มเปา้ หมายได้บอ่ ยคร้งั 4) สื่อมีอายุยาวนาน เนอื่ งดว้ ยใช้วตั ถทุ ่ีถาวร ข้อเสีย 1) ใช้ข้อความโฆษณาได้ไม่มาก เพราะกลุ่มเป้าหมายขับยานพาหนะด้วย ความรวดเรว็ 2) ไม่สามารถเจาะจงกลมุ่ เป้าหมายทีร่ บั ขา่ วสารได้ 4.2.2 สอ่ื ยานพาหนะ สอื่ ยานพาหนะ (Transit Media) ส่ือชนิดนี้คือการติดตง้ั แผ่นป้ายโฆษณาไป กับยานพาหนะสาธารณะทุกชนิด ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของการติดต้ังภายใน หรือภายนอก ยานพาหนะ รวมถึงการติดตั้งโฆษณาที่ป้ายรถเมล์ ในบริเวณชานชาลา สถานีขนส่ง ท่าอากาศยาน สถานนีระหว่างทาง รวมถึงการพิมพ์ข้อความบนต๋ัวโดยสาร กระเป๋าเดินทาง การฉายภาพยนตร์ โฆษณาทางวดี ีโอเทป ประเภทการโฆษณาทางยานพาหนะ 1) สอ่ื รถประจาทาง (Bus Media) 2) สอื่ รถตุ๊ก ต๊กุ (Tuk Tuk Advertising) 3) ส่อื แทก็ ซ่ี (Taxi Advertising) 4) สอ่ื รถไฟฟา้ (BTS Advertising)

336 ขอ้ ดี 1) กลุม่ เป้าหมายรบั ร้ขู ่าวสารได้ดี เน่ืองจากขณะโดยสาร กลุ่มเป้าหมายไม่มี กิจกรรมอื่นทา ทาใหโ้ ฆษณาทอ่ี ยใู่ นสายตาถกู อ่านอย่างละเอยี ด 2) เลอื กกลมุ่ เปา้ หมายไดท้ งั้ ในเชงิ ภูมิศาตร์ และประชากรศาสตร์ 3) เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยต่า เนือ่ งจากส่ือมขี นาดเล็ก ขอ้ เสีย 1) ไมส่ ามารถเข้าถงึ กลุม่ เป้าหมายได้กว้างขาง 2) รปู ภาพ ขอ้ ความมกั ถูกตอ่ เตมิ ขีดฆา่ ทาลาย 4.2.3 สอ่ื ณ จดุ ซื้อ สื่อ ณ จุดซื้อ (Point of Purchase Media) คอื ลกั ษณะการโฆษณาค้าปลีก ซ่ึงทาภายในร้านค้า โดยการจัดตกแต่งร้านค้าทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้เกิดความสวยสะดุดตา เพื่อกระตุ้นให้เกิดความสนใจและแวะชมสินค้า วัตถุประสงค์หลักของการโฆษณา ณ จุดซ้ือ คือ เพือ่ เตอื นความทรงจาของลกู ค้าให้ระลึกถึงตราย่ีห้อ หรอื เพื่อจะหยุดลูกค้าที่กาลงั ผ่านไปมาใหแ้ วะชม และเกดิ อารมณ์การซอ้ื สรุปคอื เปน็ การกระตนุ้ ใหเ้ กิดการตดั สนิ ใจซื้อแบบฉบั พลนั ข้อดี 1) เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ย 2) กระตุน้ ใหเ้ กิดการกระทาทนั ที 3) เพอ่ื เตือนความทรงจาในตรายี่หอ้ ขอ้ เสยี 1) เปน็ สือ่ โฆษณาเฉพาะจุด ไมก่ วา้ งขวาง 2) มีข้อจากดั ในเชงิ พน้ื ทข่ี องร้านคา้ ปลีก 4.3 กลยทุ ธ์ท่ีจะใชโ้ นม้ นา้ วผ้บู ริโภค การโฆษณาสินค้า หรือโฆษณาบริการเพื่อโน้มน้าวผู้บริโภคให้มาสนใจในสินค้า มลี ักษณะดังน้ี 4.3.1 การใชถ้ ้อยคาท่ีแปลกใหมส่ ะดุดหู สะดดุ ตา ผ้บู ริโภค 4.3.2 ใชป้ ระโยค หรือวลสี ั้น ๆ ทที่ าให้ผู้อืน่ รบั รไู้ ดอ้ ย่างฉบั พลนั 4.3.3 เนื้อหาจะแสดงให้เหน็ ถงึ คุณภาพอันดเี ลิศของสนิ คา้ หรอื บริการ 4.3.4 ใชก้ ลวธิ ีโนม้ นา้ วใจโดยชีใ้ ห้เห็นประโยชน์ของสนิ คา้ 4.3.5 เนื้อหาของสารโฆษณามักขาดเหตผุ ลท่ีหนกั แน่นรดั กมุ 4.3.6 การนาเสนอสารใช้วธิ ีโฆษณาตามสื่อต่าง ๆ ซ้า ๆ หลายวัน

337 ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า อิทธิพลของส่ือท่ีมีต่อการประพฤติทางเพศของวัยรุ่นนั้นมีมากมาย เชน่ การแสดงบทรกั และความสัมพันธ์ของตวั ละคร และผู้แสดงภาพยนตร์ ภาพโปต๊ ่าง ๆ ในนิตยสาร หนังสือต่าง ๆ การ์ตูนลามก วีซีดีลามก เป็นต้น ผู้บริโภคซ่ึงเป็นวัยรุ่นจะต้องใช้วิจารณญาณ ในการบริโภค อย่าเอาอย่างส่ิงที่ไม่ดี และผู้ใหญ่ควรเป็นหูเป็นตา เป็นที่ปรึกษาในการบริโภคส่ือ ที่ถูกต้องแก่เด็กด้วย เร่ืองเพศในสังคมไทยน้ัน เป็นเรื่องท่ีถูกตีกรอบโดยวัฒนธรรมให้เป็นเร่ือง ท่ีน่าอาย และเป็นเรื่องต้องห้ามที่จะพูดคุยได้อย่างเปิดเผย ประเด็นปัญหานี้มีส่วนทาให้เยาวชน เข้าถึงข้อมูลในเร่ืองสุขภาพภาวะทางเพศได้ยากลาบาก และอาจได้รับข้อมูลท่ีไม่ถูกต้อง ซ่ึงการท่ี สังคมยังไม่ยอมรับท่ีจะพูดเรื่องเพศกันอย่างเปิดเผย ทาให้เกิดปัญหาตามมามากมายในหมู่เยาวชน เช่น ปัญหาการตั้งครรภ์ในขณะที่ยังไม่พร้อม ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนการขาด ความร้ใู นการดูแลสุขภาวะทางเพศของตนเองอย่างถูกต้อง ถ้าผู้ท่ีอยู่ในวัยเด็กหรือวัยรุ่นเข้าไปเกี่ยวข้องกับสื่อทางเพศด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ก็อาจเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีช่วยยั่วยุให้เกิดความต้องการทางเพศ และมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรได้ นอกจากนี้ผู้ใหญ่ท่ีอ่านหรือดูส่ือทางเพศ ทั้งในขณะท่ีมีสติ หรือขาดสติ เนื่องจากการเมาสุรา หรือ เสพสารเสพติด อาจเกิดความต้องการทางเพศจนไม่สามารถควบคุมได้ ซ่ึงอาจทาให้เกิดการไป ลว่ งละเมดิ ทางเพศกบั ผู้อืน่ โดยเฉพาะกบั ผทู้ อี่ ยใู่ นวยั เด็กได้ ด้วยเหตุน้ี ทุกคนโดยเฉพาะวัยเด็กและวัยรุ่นจึงไม่ควรเข้าไปเก่ียวข้องกับส่ือทางเพศ เหล่าน้นั เพราะสอ่ื เหล่านนั้ แทบจะไม่มปี ระโยชน์เลย ซ่ึงวธิ กี ารหลกี เลี่ยงส่อื ทางเพศสามารถทาได้ดงั นี้ 1. ศึกษาส่ือท่ีมีประโยชน์และให้ความรู้และความเพลิดเพลินแก่เรา ข่าว นิทาน สารคดี เป็นต้น 2. รู้จักใช้เวลาว่างในการทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น เล่นดนตรี เลน่ กีฬา บาเพ็ญประโยชน์ต่อ ชมุ ชน เป็นต้น 3. พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูควรให้คาแนะนาแก่เด็กถึงอันตรายของส่ือทางเพศ รวมทั้ง ดูแลเด็กอย่างใกล้ชดิ 4. หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งควรควบคุมการเผยแพรส่ ือ่ ทางเพศอย่างเข้มงวด 5. ถ้าพบเห็นท่ีน้องหรือเพอ่ื นศึกษาส่อื ทางเพศ ควรรีบบอกผใู้ หญ่ท่ีเราไว้ใจได้ เพ่ือหาทาง แก้ไขตอ่ ไป โดยสื่อที่มีอิทธิพลต่อการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นมากท่ีสุด ได้แก่ อินเทอร์เน็ต เพราะใน ปัจ จุบั น ความ ก้าวห น้ าท าง เทค โน โลยี มีม ากข้ึ น จึง ทาให้ ข้ อมู ลข่ าวส าร ส่ง ถึง กัน ได้ อย่ างร วด เ ร็ว อินเทอร์เน็ตก็มีกิจกรรมต่างๆ ให้วัยรุ่นได้เรียนรู้มากขึ้น เช่น Chat, MSN, Hi5, Line, Facebook เป็นต้น ซ่ึงกิจกรรมเหล่าน้ีเป็นช่องทางให้มีการสื่อสาร การนัดหมายกันได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลถึง พฤตกิ รรมทางเพศ โดยเฉพาะแนวโน้มของการมเี พศสัมพนั ธข์ องวยั ร่นุ ท่ีจะเพมิ่ ข้นึ อกี เป็นจานวนมาก

338 สทิ ธิในการแสดงออกตามวิถที างเพศ สิทธิทางเพศเปน็ สทิ ธมิ ูลฐานและเป็นรากฐานของสิทธิมนุษยชน ซึง่ เป็นมิติหน่ึงของมนุษย์ ที่มีการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สิทธิทางเพศเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง ภายในของสังคมเอง และของแต่ละบุคคลในเวลาเดียวกัน โดยปรากฎให้เห็นทางวงจรชีวติ ของบคุ คล ที่ประสานความเป็นตวั ของตวั เอง และสร้งสริมความผูกพันซง่ึ กันและกันใหแ้ นน่ แฟ้นย่งิ ข้ึน 1. แนวคิดเก่ยี วกบั การเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผู้อนื่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย กรอบที่สาคัญในการดารงตนอย่างเหมาะสม ของประชาชนคือ การยึดมั่นในสิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ี ตามที่รัฐธรรมนูญกาหนด หากประชาชน ทุกคนรู้ถึงสิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ีท่ีรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ และต่างปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ประชาชนในชาติย่อมอยู่ร่วมกันอย่งมีความสุข และชาติบ้านเมืองก็จะพัฒนาและเจริญก้าวหน้าได้ อยา่ งรวดเร็ว สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิขั้นพ้ืนฐานที่พึงมีโดยเสมอภาคกัน เพื่อการดารงชีวิตได้ อย่างมีศักด์ิศรี มีโอกาสเท่าเทียมกันในการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มท่ีและ สร้างสรรค์ ดังน้ันจึงเป็นสิทธิท่ีได้มาพรอ้ มกับการเกิด และเป็นสิทธิติดตวั บุคคลนั้นตลอดไป ไม่วา่ จะ อยใู่ นเขตปกครองใด หรอื เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาใดๆ กต็ าม (ศยิ พร กล่าทวี และประพล นิลใหญ่, 2562, น. 125) สิทธิของตนเองและผู้อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองภายใต้กรอบรฐั ธรรมนญู โดยไม่กระทบสิทธิบุคคลอ่ืน ย่อมได้ช่ือว่า บคุ คลนนั้ เป็นผู้มีส่วนนาพาบ้านเมืองให้พัฒนา ในทีน่ ้ีจะกล่าวถึงการปฏิบัติตนในการรักษาและเคารพ สทิ ธิเสรีภาพของตนองและผู้อ่ืน ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติตามท่ีรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยกาหนดไว้ ดังน้ี (ชุมาภรณ์ ฝาชัยภมู ,ิ 2559, น. 180-181) 1.1 การเคารพสิทธขิ องตนเองและผ้อู ืน่ ที่มตี อ่ ครอบครัว ครอบครัวประกอบด้วยพ่อ แม่ และลูก ทุกครอบครัวมีสิทธิที่จะได้รับ ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญในหลายประเด็นด้วยกัน โดยเฉพาะเรื่องการใช้ความรุนแรงและ การปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม หมายความว่า พ่อ แม่ และลูกจะต้องไม่ใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติต่อกัน อย่างไม่เป็นธรรม กรณีระหว่างสามีภรรยาจะต้องเคารพและรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน ไม่ตดั สินปญั หาโดยใช้กาลัง กรณีระหว่างบุตรกับบิดามารดา บุตรตอ้ งเชือ่ ฟงั คาส่ังสอนของบดิ ามารดา บิดามารดาจะต้องอบรมสั่งสอนบุตรโดยใช้เหตุผล ไม่ใช่การแก้ไขพฤติกรรมลูกด้วยการเฆี่ยนตี

339 เลี้ยงลูกด้วยความรักความเข้าใจ และใช้สิทธิเสรีภาพในการแสวงหาความสุขส่วนตัว แต่ต้องอยู่ใน ขอบเขตและไมท่ าให้เกดิ ความเดือดรอ้ นหรือสรา้ งปญั หาใด ๆ ให้แกบ่ ดิ ามารดา 1.2 การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อน่ื ทีม่ ีตอ่ ชุมชนและสงั คม สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิเท่าเทียมกันในการดารงชีวิตในสังคม โดยสิทธิ ดังกล่าวจะต้องไม่ละเมดิ สิทธขิ องสมาชิกคนอืน่ ในสงั คม แนวทางการปฏิบัตติ นในการเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผู้อ่นื มีดงั นี้ การปฏิบัตติ นตามสทิ ธิของตนเองและผู้อืน่ ในสงั คม เป็นสิง่ ที่ช่วยจัดระเบยี บให้กบั สังคม สงบสุข โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดงั น้ี 1) เคารพสิทธขิ องกันและกนั โดยไม่ละเมดิ สทิ ธเิ สรีภาพของผูอ้ ืน่ สามารถแสดงออกได้ หลายประการ เช่น การแสดงความคดิ เห็น หรอื การยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อื่น เปน็ ต้น 2) รจู้ กั ใชส้ ทิ ธขิ องตนเองและแนะนาใหผ้ อู้ นื่ รู้จักใช้สทิ ธิของตนเอง 3. เรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสิทธิเสรีภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น สิทธเิ สรีภาพของความเป็นมนุษย์ หรือสทิ ธิเสรีภาพในเคหสถาน เป็นต้น 4) ปฏิบัติตามหน้าที่ของชาวไทยตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรมนูญ เช่น การออกไปใช้สิทธิ เลอื กตง้ั หรือการเสยี ภาษีให้รัฐพื่อนาเงนิ มาพัฒนาประเทศ เปน็ ต้น 2. ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกบั สทิ ธิทางเพศ สิทธิทางเพศ (Sexual Right) คือ สิทธิท่ีจะควบคุมและตัดสินใจอย่างเป็นอิสระ และ มคี วามรับผดิ ชอบเกยี่ วกับวถิ ีชีวิตดา้ นเพศ สขุ ภาพทางเพศ และอนามัยเจรญิ พนั ธ์ขุ องตนเอง โดยตอ้ ง ปราศจากการขบู่ ังคบั การถกู เลือกปฏบิ ัติ และความรุนแรง รวมถงึ การมคี วามสมั พันธ์ท่สี มดุลระหวา่ ง หญิงชายในเร่ืองต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเพศและการเจริญพันธ์ุ การเคารพในความเป็นบุคคล ความ สมัครใจ และการแบง่ ปันความรับผิดชอบในเรือ่ งทเี่ กี่ยวข้องกบั พฤติกรรมทางเพศและผลทตี่ ามมา อนามัยเจริญพันธ์ุ หมายถึง บุคคลต้องมีวิถีชีวติ ด้านเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย หรือเป็นท่ี พึงพอใจ สามารถตัดสินใจได้อย่างเป็นอิสระว่าจะมีหรือไม่มีลูก จะมีเมื่อไร จะมีกี่คน และจะเว้น ระยะห่างของบุตรแต่ละคนอย่างไร ในการนี้บุคคลทั้งหญิงและชายต้องได้รับข้อมูลและต้องเข้าถึง วิธีการคุมกาเนิดที่ปลอดภัย มีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับ ในราคาที่สามารถจ่ายได้โดยไม่ลาบาก รวมถึงวิธีควบคุมการเจริญพันธุ์อย่างอ่ืน ๆ ที่บุคคลต้องการ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย นอกจากนี้แล้ว บุคคลยังมีสิทธิการเข้าถึงบริการสุขภาพที่เหมาะสมกับตัวเอง อันจะช่วยให้ผู้หญิงสามารถผ่านพ้น ภาวะการตั้งครรภ์และการคลอดอยา่ งปลอดภัย และช่วยให้ค่สู มรสมโี อกาสที่จะไดบ้ ตุ รท่ีสขุ ภาพดี นอกจากนี้ ยังเห็นได้ชัดว่า “อนามัยเจริญพันธ์ุ” เป็นเร่ืองของหญิงและชาย นโยบาย และการปฏิบตั งิ านด้านอนามยั เจรญิ พันธุ์จึงเข้าไปเก่ยี วข้องกับผู้หญงิ มากกวา่ ผู้ชายด้วยเหตแุ หง่ ภาระ

340 ที่มีมากกว่านี้ กล่าวโดยสรุป อนามัยเจริญพันธ์ุท่ีดีนั้นมีอยู่ 4 อย่าง ประกอบด้วย (กิจจา บานช่ืน ฐณิ ีวรรณ วฒุ วิ กิ ัยการ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 138-139) 1) เพศสัมพันธ์ทุกครั้งต้องเกิดข้ึนโดยสมัครใจ ปราศจากการถูกบังคับ และปลอด การตดิ เชือ้ โรค 2) การตั้งครรภ์ทุกครง้ั ตอ้ งเกดิ ข้ึนโดยตั้งใจ 3) การเกดิ ทกุ คร้ังจะตอ้ งเป็นการเกดิ อย่างมีสุขภาพดีทงั้ ผู้หญงิ และทารก 4) เดก็ ต้องเกิดมาด้วยความพรอ้ ม ข้อสรุปท้ัง 4 ข้อน้ีใช้เป็นกรอบในการพิจารณายกร่างกฎหมายอนามัยเจริญพันธุ์ โดยคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาการยกร่างกฎหมายอนามัยเจริญพันธุ์ ในคณะกรรมการธิการ การสาธารณสุข สภาผ้แู ทนราษฎรชุดท่ีผ่านมา ความริเริ่มในการยกร่างแม้ว่าจะเกิดโดยความจาเป็น ของสถานการณ์ปัญหาทสี่ ุกงอมในบ้านเรา ซึง่ ประสบความสาเร็จในการควบคมุ อัตราเกิดแต่คงเหลือ เรือ่ งคุณภาพชีวิตในดา้ นอนามัยเจริญพันธุ์ของประชาชนในภาพรวม ยังเกิดจากพันธะสญั ญาท่ีรฐั บาล ไทยสมัยหนง่ึ ให้ไว้ร่วมกบั ประชาคมโลกในการประชมุ นานาชาติเรอื่ งประชากรและการพัฒนาครัง้ ท่ี 4 ซึ่งจัดข้ึน ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ในปี พ.ศ. 2537 ซึ่งผลของการประชุมครั้งนี้นับได้ว่าเป็น การเปลี่ยนแปลงทางอุดมการณ์ครั้งใหญ่ จากแนวคิดควบคุมจานวนประชากรมาสู่แนวคิด การคมุ้ ครองสทิ ธิอนามยั เจริญพันธ์ุ 3. สทิ ธทิ างเพศ สิทธิทางเพศ เป็นสิทธิมนุษชนขั้นมูลฐานที่ได้รับการประกาศไว้ในปี ค.ศ. 1994 ทก่ี รุงวาเลนเซีย ประเทศสเปน เพอื่ ความเขา้ ใจที่ถูกต้องในสิทธขิ องบุคคลทกุ เพศ ตามท่ีถกู ท่ีควร คาประกาศสิทธิทางเพศ กล่าวว่า “เพศเป็นมิติหน่ึงของมนุษย์และเป็นปกติ ท่ีมีการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพศเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างภายใน ของสังคมเองและของแต่ละบุคคลในเวลาเดยี วกัน ปรากฎให้เห็นทางวงจรชีวิตของบุคคลที่ประสาน ความเป็นตัวของตัวเอง และสร้างหรือเสริมความ ผูกพันซ่ึงกันและกันให้แน่นแฟ้นย่ิงขึ้น โดยนัยดังกล่าวข้างต้น สังคมจะต้องเป็นผู้สรา้ งเงอ่ื นไขทจ่ี ะกาหนดความพอใจของบุคคล เพอ่ื ให้บรรลุ ถึงพัฒนาการสูงสุดและจะต้องเคารพในสิทธิทางเพศ ซึ่งได้แก่สิทธิดังต่อไปนี้ (พันธ์ศักด์ิ ศุกระฤกษ์, 2546, น. 15) 1) สิทธิท่ีจะมีเสรีภาพ จะต้องขจัดการบังคับข่มขู่ทางเพศ การแสวงหาผลประโยชน์ และการล่วงเกินทางเพศทุกรูปแบบ ไม่ว่าในเวลาหรือสถานการณ์ใด ๆ การต่อสู้เพื่อต่อต้าน ความรนุ แรงทางเพศ เป็นส่งิ ท่สี ังคมควรให้ความสาคัญเปน็ อันดบั แรก

341 2) สิทธิที่จะมีความเป็นอิสระ ความเป็นตัวของตัวเองเละความปลอดภัยในร่างกาย รวมถึงการควบคุม และการแสวงหาความสุขจากร่างกายของตนเอง โดยปราศจากการทารุณกรรม และความรนุ แรงในทุกรูปเเบบ 3) สิทธิเท่าเทียมทางเพศ มีเสรีภาพท่ีปราศจากการกีดกัน แบ่งแยกในทุกรูปแบบ รวมกับการให้ความเคารพในความหลากหลายทางเพศ ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง และไม่ว่าจะมอี ายุ เช้อื ชาติ ศาสนา ชนชน้ั หรือมีรสนยิ มทางเพศแบบใด 4) สิทธิที่จะมีสุขอนามัยทางเพศที่ดี รวมท้ังได้รับทรัพยากรสาหรับการวิจัย และ การวนิ จิ ฉัยโรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์และการรกั ษาพยาบาลมากข้นึ 5) สิทธิท่ีจะไดร้ ับความรู้เรอื่ งเพศที่กวา้ งขวางและเปน็ ข้อเท็จจริงท่ีไม่เบี่ยงเบน เพือ่ ช่วย ให้การตดั สินใจเกี่ยวกบั การดาเนนิ ชวี ติ ทางเพศกระทาไดด้ ีข้ึน 6) สิทธิที่จะได้รับความรู้ด้านเพศศึกษาที่กว้างขวาง และครอบคลุมต้ังแต่เกิดไปจน ตลอดชวี ติ สถาบันทางสังคมทุกสถาบันควรมสี ว่ นร่วมในขบวนการทว่ี ่านี้ 7) สิทธิท่ีจะดาเนินชีวิตร่วมอย่างอิสระ จะแต่งงานหรือไม่ก็ได้ จะหย่าร้างหรือไม่ก็ได้ หรือจะมีรูปแบบการใชช้ วี ิตรว่ มทางเพศอน่ื ๆ ท่ตี นเองประสงค์ 8) สทิ ธิท่ีจะตัดสินใจโดยเสรแี ละรบั ผิดชอบในการเจริญพันธ์ุ สามารถเลอื กจานวนบุตร ระยะห่างระหวา่ งการมีบุตรแตล่ ะคน และโอกาสได้รับความช่วยเหลือให้ตั้งครรภ์ได้ โดยท่ีเด็กทุกคน ควรเปน็ ทร่ี กั และตอ้ งการของพอ่ เเม่ 9) สิทธิในความเป็นส่วนตัว สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตทางเพศโดยอสิ ระ ภายใต้เนื้อหาของจริยธรรมทางสังคมและบุคคล ประสบการ ณ์ทางเพศ ที่ให้ความพึงพอใจ และมเี หตผุ ลเท่านน้ั ท่จี ะสนบั สนุนพฒั นาการของมนุษย์ได้ 10) สุขภาพทางเพศเป็นสิทธิมลู ฐานและรากฐานของมนุษยชน เร่ืองเพศเป็นต้นกาเนิด ของความผูกพัน ท่ีลึกชึ้งท่ีสุดของมนุษย์เป็นส่ิงที่จาเป็นสาหรับความสุขในชีวิตของบุคคล คู่สมรส ครอบครวั และสงั คม ดงั นน้ั การเคารพในสทิ ธทิ างเพศ เปน็ สง่ิ ทค่ี วรสนบั สนนุ ในทกุ วถิ ที าง สิทธิทางเพศตามประกาศขององคก์ ารอนามยั โลก องค์การอนามัยโลกและหน่วยงานต่างๆ ของสหประชาชาติได้ประกาศรับรองคา ประกาศสิทธิเร่ืองเพศ ของสมาคมเพศศาสตร์โลก มีทั้งหมด 11 ข้อ ดังต่อไปน้ี (กิจจา บานชื่น ฐิณวี รรณ วฒุ วิ ิกยั การ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 140-141) 1) สิทธิที่จะมีอิสระทางเพศ สามารถแสดงออกเก่ียวกับสิ่งซ่อนเร้นทางเพศได้ อย่างเต็มท่ี

342 2) สิทธิท่ีจะมีอิสระและคุณธรรมทางเพศ สามารถตัดสินใจเก่ียวกับชีวิตทางเพศ อย่างเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมของบุคคลและสงั คม มคี วามปลอดภัยทางร่างกายอันสืบเนื่อง จากเรอื่ งทางเพศ เชน่ การทรมานทางเพศ ความรนุ เรงทางเพศ เป็นตน้ 3) สิทธิท่ีจะมีความเป็นส่วนตัวทางเพศ สาหรับพฤติกรรมและการตัดสินใจเก่ียวกับ ความใกล้ชดิ สนิทสนมทางเพศ ตราบใดทีไ่ มล่ ะเมดิ สทิ ธิทางเพศของผู้อ่ืน 4) สิทธิที่จะมีความทัดเทียมทางเพศ เป็นอิสระจากการแบ่งแยกกีดกันทุกรูปแบบ ไม่ว่าโดยเพศลักษณะเพศ การกาหนดเพศ อายุ เช้ือชาติ สถานะทางสังคม ศาสนา ความบกพร่อง ทางร่างกายและจิตใจ 5) สทิ ธิท่จี ะมีความพอใจและยินดที างเพศ ในด้านรา่ งกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ 6) สิทธิที่จะแสดงออกทางเพศ ตั้งแต่ความพอใจและการปฏิบัติ ไม่ว่าผ่าน การตดิ ตอ่ สื่อสาร การสมั ผสั การแสดงออกทางอารมณแ์ ละความรัก 7) สิทธิท่ีจะมีอิสระ เรื่องทสี่ ัมพันธก์ ับเรอ่ื งเพศ ตัง้ แต่การสมรส ไม่สมรส หย่าร้าง และ สร้างความสมั พนั ธ์ทางเพศในรูปแบบท่ตี ้องการ 8) สิทธิท่จี ะมีบุตร ตั้งแตม่ บี ุตรหรือไม่มบี ุตร จานวนบตุ ร และการคุมกาเนิด 9) สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องเพศ โดยอิงกับหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ โดยไมช่ กั ชา้ 10) สทิ ธิท่ีจะไดร้ ับความรเู้ รอ่ื งทางเพศแบบบรู ณาการ 11) สิทธิที่จะไดร้ บั การดแู ลเกยี่ วกับสขุ ภาพทางเพศ 4. สิทธิในการแสดงออกทางเพศ การแสดงออกทางเพศ อาจเปน็ การแสดงออกในรปู ของการลูบคลา กอด ไปจนถึงการมี เพศสัมพันธ์ ลักษณะที่รุนแรงท่ีสุดคือ การล่วงละเมิดทางเพศ นอกจากนั้นยังรวมไปถึงการร่วมเพศ ทางทวารหนัก หรือทางปากด้วย ดังน้ี (กิจจา บานช่ืน ฐณิ ีวรรณ วุฒิวิกัยการ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 141-143 และศยิ พร กล่าทวี และประพล นลิ ใหญ่, 2562, น. 141-142) 4.1 การลว่ งละเมดิ ทางเพศ การล่วงละเมิดทางเพศ เป็นภัยทางเพศท่เี กิดขนึ้ ได้ทุกเวลาและสถานท่ี ไม่จากดั ว่า ต้องเป็นสถานท่ีเปลี่ยวเท่าน้ัน ภัยล่วงละเมิดทางเพศ อาจเกิดข้ึนได้ท้ังท่ีทางาน บนถนนหนทาง สถานทร่ี าชการ โรงเรียน ตลอดจนสถานที่ท่ีคิดวา่ ปลอดภัยที่สุดคือบ้าน และการล่วงละเมิดทางเพศ สามารถเกิดได้กับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกสาขาอาชีพ ส่วนผู้กระทาการล่วงละเมิดทางเพศ นั้นมีต้ังแต่ คนใกล้ชิดท่ีสุดในครอบครัว เช่น พ่อ พ่อเลี้ยง ปู่ ตา น้า น้องชาย รวมถึงบุคคลที่ได้รับการเคารพ

343 นับถือ เช่น ครู พระ ผู้บังคับบัญชา หัวหน้างาน ตลอดจนเพื่อน เพื่อนบ้าน และบุคคลแปลกหน้า ซ่ึงนับวันภัยล่วงละเมิดทางเพศจะทวีความรุนแรงมากยิ่งข้ึน ส่งผลกระทบต่อชีวิตเละความมั่นคง ปลอดภยั ของคนทีต่ กเป็นเหย่ือและสงั คม 4.2 รูปแบบของการลว่ งละเมดิ ทางเพศ รูปแบบของการล่วงละเมิดทางเพศ แบ่งกว้าง ๆ เช่น การล่วงละเมิดทางเพศ ตวั ต่อตวั การโทรมหญงิ การล่วงละเมิดทางเพศแล้วฆา่ การลว่ งละเมิดทางเพศโดยอาศัยอานาจหนา้ ที่ การล่วงละเมิดทางเพศในสถานการณ์สงคราม การล่วงละเมิดทางเพศภายในครอบครัว และ การล่วงละเมดิ ทางเพศโดยกล่มุ ชน เปน็ ต้น 4.3 สาเหตุของการล่วงละเมิดทางเพศ 4.3.1 สาเหตทุ างสงั คม คอื การทสี่ ังคมใหฝ้ า่ ยชายมอี านาจเหนือกว่า ความตอ้ งการ ทกุ อยา่ งได้มาซ่ึงอานาจ สามารถจะทาอะไรกบั ทุก ๆ อยา่ งได้ 4.3.2 การกระต้นุ จากสือ่ ต่าง ๆ 4.3.3 ตัวผู้กระทาผิด เช่น ความผิดปกตทิ างจิตของผกู้ ระทาความผดิ เปน็ ต้น 4.3.4 สงิ่ เสพติด 4.3.5 ความออ่ นแอของผู้ถกู กระทา ทาอย่างไรหลังจากถูกทารณุ กรรมทางเพศหรอื ถูกลว่ งละเมิดทางเพศ 1) หลังเกดิ เหตุ ไมค่ วรชาระล้างร่างกายหรือเปลีย่ นเส้ือผา้ เพ่ือเกบ็ เป็นหลกั ฐานพสิ ูจน์ 2) ไปพบแพทย์โดยเร็วท่ีสุด เพ่ือตรวจร่างกายไว้เป็นหลักฐานทางกฎหมาย และ ยงั สามารถปอ้ งกนั การตง้ั ครรภ์ได้ดว้ ย (ที่ไดผ้ ลคอื ภายใน 48 ช่วั โมง หลงั ถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ) 3) ต้องแจ้งความหรือร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนหรือตารวจ เพราะการไม่บอก ผู้ปกครองหรือไม่แจ้งความนั้นอาจทาให้ผู้กระทาผิดได้ใจ และย้อนกลับมาล่วงละเมิดทางเพศอีก และยังเป็นอันตรายต่อสังคมอย่างมาก เพราะเหตุการณ์นี้อาจเกิดข้ึนกับบุคคลอื่นอีกหลาย ๆ คน ซึ่งการแจ้งความปฏบิ ัติดังน้ี 3.1) กรณีผู้ถกู ล่วงละเมิดทางเพศมีอายตุ ่ากว่า 20 ปี ให้พ่อเม่ หรือผู้ปกครองพาไป แจ้งความ 3.2) กรณีผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศมอี ายุ 20 ปขี น้ึ ไป สามารถแจ้งความไดด้ ว้ ยตนเอง (อายุ 16 ปีขึ้นไป ก็อนโุ ลมแจ้งความด้วยตนเองได้) 4.4 การปอ้ งกันการถูกทารณุ กรรมทางเพศหรอื ถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ ควรไดร้ ับการปลกู ฝังมาตง้ั แตใ่ นครอบครวั เชน่ 4.4.1 ผ้ปู กครองควรเป็นตัวอยา่ งที่ดี ไมค่ วรแสดงการพลอดรกั ต่อหนา้ เดก็ 4.4.2 เมื่อถึงวัยอันสมควร ควรสอนให้เดก็ เรยี นรู้ถงึ เรือ่ งเพศศกึ ษา

344 ผปู้ กครอง 4.4.3 อยา่ อยู่ตามลาพัง ทง้ั บุคคลใกลช้ ดิ และไมร่ ู้จกั เป็นต้น 4.4.4 ถ้าเดก็ ไมเ่ ต็มใจ อย่าบังคบั ใหก้ อด หรือหอมใคร ถึงแมจ้ ะเปน็ ญาติกต็ าม 4.4.5 หากมีใครชักชวนให้ถอดเสื้อผ้า ขอถ่ายรูป หรือพูดเร่ืองเพศ ให้รีบบอก 4.4.6 ไม่รบั ของจากคนแปลกหนา้ 4.4.7 หลีกเล่ยี งการแต่งกายทีด่ งึ ดูดกวามสนใจ 4.4.8 ว่ิงหนี เมือ่ มคี นมาสมั ผสั ร่างกายในทางทไี่ ม่เหมาะสม เช่น จบั ก้น จับหน้าอก 5. ความผดิ เกี่ยวกับเพศ ความผดิ ทางเพศเป็นความผดิ อีกลกั ษณะหน่ึงทพี่ บมากในวยั รุ่น ความเปลี่ยนแปลงทาง ร่างกายและฮอร์โมนท่ีเพิ่มขึ้นในช่วงวัยจริญพันธุ์ ทาให้วัยรุ่นส่วนใหญ่เกิดความต้องการในทางเพศ อาการอยากรู้อยากลองท่ีเพิ่มมากขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุท่ีนาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน หลายคนหาทางออกด้วยการช่วยตัวเองในการบาบัดความต้องการทางเพศ หลายคนเร่ิมรู้จักการเทีย่ ว ผหู้ ญิง แต่บางคนหาทางออกด้วยวธิ ีการท่ีผดิ โดยการไปหลอกผู้หญิงมาล่วงละเมิดทางเพศ หรือไม่ก็ รวมกลุ่มกันไปฉุดคร่าผู้หญิงมาล่วงละเมิดทางเพศ เร่ืองเหล่านี้เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วง ทั้งในแง่ สวัสดิภาพของการใช้ชีวิตของสาววัยรุ่นที่มีแต่อันตรายรอบด้านและอนาคตของผู้กระทาความผิด ซงึ่ มีโทษท่หี นักกว่าการทะเลาะวิวาทของวัยรุ่นหลายเท่านัก ดังนี้ (กิจจา บานชนื่ ฐิณีวรรณ วุฒิวิกัย การ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 143-144; ปานเดชา ทองเลิศ, 2562, น. 96-97 และศิยพร กล่าทวี และประพล นิลใหญ่, 2562, น. 147-152) 5.1 การล่วงละเมดิ ทางเพศ การล่วงละเมิดทางเพศผู้อ่ืน คือ การท่ีผู้นั้นไม่ยินยอมให้มีเพศสัมพันธ์ กฎหมาย กาหนดว่าเป็นความผิดท่ีจะต้องถูกระวางโทษจาคุกต้ังแต่ 4 ปี และปรับต้ังแต่ 8,000 บาท ถึง 40,000 บาท และถา้ การลว่ งละเมิดทางเพศไดก้ ระทาโดยมีอาวุธปนื หรอื วัตถรุ ะเบิดหรือมลี กั ษณะเป็น การโทรมหญิง ผ้กู ระทาจะต้องจาคกุ ต้ังแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี และปรับต้ังแต่ 30,000 บาท ถึง 40,000 บาท จาคุกตลอดชีวิต แต่อย่างไรก็ตามสาหรับวัยรุ่นท่ีอายุไม่เกิน 15 ปี แม้จะให้ความยินยอมที่จะมี เพศสัมพันธ์ แต่กฎหมายก็ถือว่าเป็นวัยท่ีเด็กไป ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจการมีเพศสัมพันธ์ท่ีดีพอ กฎหมายจึงกาหนดบทลงโทษสาหรับผู้ท่ีมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นท่ีอายุไม่เกิน 15 ปี ซ่ึงผู้กระทาจะต้อง จาคุกต้ังแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี และปรับต้ังแต่ 30,000 บาท ถึง 40,000 บาท และถ้าการล่วงละเมิด ทางเพศได้กระทาโดยมีอาวุธปืน หรือวัตถุระเบิด หรือมีลักษณะเป็นการโทรมหญิง ผู้กระทาต้อง รบั โทษจาคุกตลอดชีวติ

345 5.2 การอนาจาร การอนาจาร ได้แก่ การกระทาให้อับอายขายหน้าในทางเพศโดยกระทาต่อเนื้อตัว ร่างกายโดยตรง เชน่ กอด ปล้า สัมผสั จับต้องอวัยวะเพศของผหู้ ญงิ เช่น การจับนม หรอื จะเป็นกรณี ท่ีบังคับผู้อื่นให้กระทาตนเองก็เป็นการอนาจารได้ เช่น นายเอ บังคับให้นางสาวบี จับของลับของ ตนเอง การอนาจารนั้นกฎหมายไม่ได้กาหนดว่าจะต้องเป็นชายต่อหญิง ดังน้ันการกระทาความผิด อาจจะเกดิ กบั ชายตอ่ ชายกไ็ ด้ ผทู้ ี่กระทาความผิดในเรื่องน้ีจะต้องถูกระวางโทษไม่เกนิ 15 ปี หรือปรับ ไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาท้ังปรับ เช่นเดียวกับเรื่องล่วงละเมิดทางเพศ ผู้ที่ทาอนาจารกับเด็ก อายุไม่เกิน 15 ปี ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ก็ตามก็จะต้องได้รับโทษจาคกุ ไม่เกิน 10 ปี หรือปรับไม่ เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจาท้ังปรับ ถ้าการกระทาอนาจารผู้กระทาได้ขู่หรือใชก้ าลังทาร้ายก็จะได้รับ โทษหนักข้ึนก็ได้ เนื่องจากธรรรมชาติของการเจริญพันธ์ุ ทาให้ผู้ชายอยากจะมีเพศสัมพนั ธ์ “ผสมพันธุ์” และธรรมชาติแหง่ ความรัก ทาใหผ้ ้หู ญิงแสวงหาความรัก และรอการมีเพศสัมพนั ธ์ น่ันเปน็ ธรรมชาติที่ สามารถควบคุมได้ ปรุงแต่งได้ ปรับปรุงได้ ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม และไม่ให้ ความต้องการตามธรรมชาติมาอยู่เหนือ หิริโอตัปปะ รวมทั้งต้องมีสติย้ังคิด ในการกระทาเพ่ือ ตอบสนองตอ่ ความต้องการตามธรรมชาิติ การเรียนรู้เร่ืองเพศจึงเป็นการเรียนรู้ผู้ชาย เข้าใจผู้หญิง เรียนรู้ถึงการมีความรัก กามารมณ์ท่ปี ระสานสอดคล้องกัน ดว้ ยการคานงึ ถงึ ความปลอดภยั เป็นอันดับเรก 6. ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแสดงออกทางเพศ 6.1 เร่ืองเพศ เป็นเรื่องของธรรมชาติ การเปล่ียนแปลงของร่างกายในวัยต่าง ๆ ต้ังแต่ วัยเด็กทารก วยั เจริญพนั ธ์ุ วัยทอง วยั สงู อายุ ฯลฯ 6.2 ความต้องการทางเพศและการตอบสนองทางเพศนั้น เป็นธรรมชาติพ้ืนฐานของ การเจรญิ พันธุ์ แต่กามารมณ์ของมนุษยน์ ้ัน สามารถที่จะควบคุมให้มีการเสนอและสนองตามครรลอง ของขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมท่ีดีงามของแตล่ ะชนชาติ รวมทั้งสามารถควบคุมในการแสดงออกของ พฤติกรรมทางเพศได้ 6.3 ความรู้เก่ียวกับเพศศึกษานั้น เป็นความรู้ที่ครอบคลุมถึงการเปลี่ยนแปลงของ ร่างกาย และระบบการเจริญพันธุ์ท้ังชายและหญิงท่ีสัมพันธ์กับระดับของฮอร์โมนเพศในร่างกาย อารมณ์เพศ ความรัก และกามารมณ์ ของชายหญิง การครองชีวิตคู่ การวางแผนครอบครัว การคุมกาเนิด การต้ังครรภ์ และมีบุตร รวมท้ังการดูแลสุขอนามัยของอวัยวะเพศ และอวัยวะที่ เกี่ยวข้องใหเ้ หมาะสมกับเพศเเละวยั

346 6.4 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นโรคท่ีควบคุมป้องกันได้ ถ้ามีความรู้ความเข้าใจใน การมีความสัมพันธ์ทางเพศท่ีปลอดภัยหรือ SAFE SEX และยึดถือปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว อย่างเครง่ ครดั 6.5 การมีเพศสัมพันธ์ ควรจะเป็นเพศสัมพันธ์ท่ีมีความรับผิดชอบ และเม่ือเกิด ความต้องการทางเพศขึ้นแล้ว การตอบสนองต่ออารมณ์และสื่อเร้าทางเพศนั้นไม่จาเป็นท่ีจะต้องมี เพศสัมพันธ์เสมอไป การอดทน อดกลั้น หรือหาทางเบี่ยงเบน ไม่สนใจเร่ืองอ่ืนเมื่อยังไม่สมควร จะมีเพศสมั พันธ์ เปน็ ทางออกทเ่ี หมาะสมกวา่ 6.6 ความเข้าใจผิดและความเช่ือผิดๆ เกี่ยวกับเร่ืองเพศน้ัน เกิดเพราะคนมองว่า เร่อื งเพศเป็นเร่ืองน่าอาย ต้องปกปิด ข่าวลือต่างๆ จึงออกมามาก การได้รับความรู้เรื่องเพศท่ีถกู ต้อง จะแกไ้ ขความกังวลใจเกีย่ วกับเรอื่ งเพศไปได้ 6.7 สิทธทิ างเพศ เป็นสิทธิของความเท่าเทียม เสมอภาคกัน ทั้งชายและหญิง ซ่ึงมสี ิทธิ ในการดูแลตนเอง รวมท้ังตอบสนองต่อความต้องการทางเพศไปในทางที่ถูกท่ีควร ท่ีเป็นมาตรฐาน การดาเนนิ ชวี ติ กฎหมายว่าดว้ ยเพศและความเสมอภาคทางเพศ กฎหมาย คือข้อบังคับ กติกาของรฐั หรือของชาติ กาหนดขึ้นมาเพื่อใช้บังคับ ควบคมุ ความ ประพฤติของบุคคลในสังคม ให้ปฏิบตั ิตาม หากมีการฝา่ ฝืน ไม่ปฏบิ ัติตามจะมีความผดิ และได้รับโทษ ตามทกี่ าหนดไว้ กฎหมายว่าดว้ ยเพศและความเสมอภาคทางเพศ ไดต้ ราขึ้นเพ่ือให้เกิดความสงบท่ีเกิด จากการกระทาผิดทางเพศ ซ่ึงมีรายละเอียดดังต่อไปน้ี (กิจจา บานช่ืน ฐิณีวรรณ วุฒิวิกัยการ และ วรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 155-158; ชุมาภรณ์ ฝาชัยภูมิ, 2562, น. 188-199; ปานเดชา ทองเลิศ, 2562, น. 80-97 และศยิ พร กล่าทวี และประพล นลิ ใหญ่, 2562, น. 141-152) 1. ลกั ษณะกฎหมายคมุ้ ครองทางเพศ กฎหมายเป็นข้อบังคับที่บัญญัติขึ้นโดยอานาจรัฐ เพ่ือความเป็นปกติสุขและคุ้มครอง ประชาชนของรัฐ ความสงบเรียบร้อยและดารงศีลธรรมอันดีในสังคม ในเร่ืองเพศแม้ว่าจะเป็นเร่ือง สว่ นตัว เป็นความต้องการตามธรรมชาติของมนษุ ย์ แต่ก็มสี ่วนทีก่ ฎหมายบังคับไวว้ ่า เป็นสิง่ ตอ้ งห้าม หรือผดิ กฎหมายอยดู่ ว้ ยซึ่งหากพดู รวม ๆ จะมี 3 ลักษณะดงั นี้ 1.1 พฤติกรรมทางเพศทลี่ ะเมดิ ต่อร่างกาย สิทธิ และเสรีภาพของผู้อืน่ โดยท่ัวไปเราจะ นกึ ถงึ การล่วงละเมิดทางเพศ กระทาชาเรา หรืออนาจารเป็นหลัก แต่ในข้อเทจ็ จริงแล้วยังมีเรอื่ งอน่ื ๆ อีกมากที่เป็นความผิดในกลุ่มน้ีด้วย เช่น การละเมิดผู้อื่นด้วยวาจา การหม่ินประมาทท่ีเกี่ยวกับเพศ

347 ท่ีฮิตท่ีสุดในยุคน้ี คือ การเอารูปทางเพศของคนอื่นไปเผยแพร่ หรือบางเรื่องเราอาจจะนึกไม่ถึง เช่น การตามตอ้ื คนรกั จนเป็นการคกุ คามสทิ ธิและเสรีภาพของอีกฝา่ ย 1.2 พฤติกรรมทางเพศที่กฎหมายถือว่าผิดต่อศีลธรรมอันดี เช่น การเผยเพร่ส่ือลามก อนาจาร การร่วมเพศในท่ีสาธารณะ การกระทาหรือเปิดเผยร่างกายอันควรละอายในท่ีสาธารณะ เปน็ ต้น 1.3 พฤติกรรมทางเพศท่ีกฎหมายบัญญัติไวว้ ่าเป็นความผิด เช่น การมีเพศสัมพันธก์ ับ บุคคลอายุต่ากวา่ 15 ปี แมว้ ่าบคุ คลน้ันจะยินยอมหรือไม่กต็ าม ความผิดทางเพศส่วนใหญ่ หรือเกือบท้ังหมดป็นความผิดทางอาญา บางอย่างก็ผิด ทัง้ ทางอาญาและทางแพ่ง เม่ือกฎหมายมีไว้บังคับใช้กับทุกคนในสังคม บุคคลจึงควรศึกษาและระวัง ในพฤติกรรมทางเพศทผี่ ิดกฎหมาย จะถือปฏิบตั ิตามแต่ใจว่าเป็นเรอื่ งสว่ นตัวของแต่ละคนไมไ่ ด้ 2. สิทธกิ ารแสดงออกภายใตก้ ฎหมายวา่ ดว้ ยเพศ สิทธกิ ารแสดงออกภายใตก้ ฎหมายว่าด้วยเพศ (Sexual Right) คือ สิทธิของบุคคลท่ีถูก ระบุไว้ในกฎหมายและขอ้ ตกลงต่าง ๆ ว่าเป็นสิทธิมนุษยชน ทุกคนจะตอ้ งไดร้ ับโดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ไมม่ กี ารบงั คบั และไมม่ คี วามรุนแรงในเรือ่ งต่อไปน้ี 2.1 การได้รับบรกิ ารด้านสขุ ภาพทางเพศและอนามยั การเจริญพนั ธุ์ท่ีมีมาตรฐาน 2.2 การได้รบั ข้อมูลที่ถกู ต้องเกย่ี วกบั วิถที างเพศ 2.3 การควบคมุ เน้อื ตวั รา่ งกายของตนเอง 2.4 การเลอื กคู่ครอง 2.5 การตัดสนิ ใจวา่ จะมีเพศสมั พนั ธห์ รอื ไม่มี 2.6 การสมัครใจมคี วามสมั พนั ธ์ทางเพศ 2.7 การสมัครใจท่จี ะแต่งงาน 2.8 การตดั สินใจว่าจะมีบุตรหรอื ไม่ และมเี มื่อใด 2.9 การมีชีวิตที่พึงพอใจและปลอดภยั 3. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ว่าดว้ ยความเสมอภาคทางเพศ เมือ่ กล่าวถึงความเสมอภาคทางเพศนั้น รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 บัญญัติไว้ในมาตรา 4 ว่า “ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ยอ่ มได้รับความคุม้ ครอง ปวงชนชาวไทยยอ่ มได้รบั ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนญู เสมอกนั ” มาตรา 27 บัญญัติไว้ว่า “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพ และ ไดร้ ับความค้มุ ครองตามกฎหมายเท่าเทียมกนั ชายและหญิงมสี ทิ ธเิ ท่าเทยี มกนั การเลือกปฏิบตั โิ ดยไม่

348 เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเร่ืองถ่ินกาเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือ ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะกระทามิได้” มาตรา 48 บัญญัติไว้ว่า “สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอดบุตร ย่อมไดร้ บั ความคุ้มครองและช่วยเหลือตามท่กี ฎหมายบญั ญตั ิ” มาตรา 54 บัญญัติไว้ว่า “รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา สบิ สองปี ตั้งแตก่ อ่ นวนั เรยี นจบจบการศกึ ษาภาคบงั คับอย่างมคี ุณภาพโดยไมเ่ กบ็ ค่าใชจ้ ่าย” มาตรา 71...วรรค 3 บัญญัติไว้ว่า “รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาสให้สามารถดารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ และคุ้มครองป้องกันมิให้ บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม รวมตลอดท้ังให้การบาบัด ฟื้นฟูและ เยยี วยาผู้ถกู กระทาการดังกล่าว” มาตรา 90 ...วรรค3 บัญญัตไิ ว้วา่ “การจัดทาบัญชีรายช่ือตามวรรคสองต้องให้สมาชิก ของพรรคการเมืองมีส่วนร่วมในการพิจารณาด้วย โดยต้องคานึงถึงผู้สมัครรับเลือกตั้งจากภูมิภาค ตา่ งๆ และความเทา่ เทยี มกนั ระหว่างชายเละหญงิ จากมาตราข้างต้นในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 เป็นมาตรการทาง กฏหมายท่ีรัฐกาหนดขึ้นเพ่ือขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพได้ เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองหรืออานวยความสะดวกให้แก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุคนพิการ หรือผู้ดอ้ ยโอกาส ยอ่ มไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบตั ิโดยไม่เป็นธรรม สิทธิมนุษยชนครอบคลุมถึงเรื่อง ความแตกต่างในถิ่นกาเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกาย หรอื สุขภาพ สถานะ ของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็น ทางการเมือง สิทธิมนุษยชนเป็นเร่อื งสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค ซงึ่ ในอดีตที่ผ่านมา และยังมี บางสังคมในปจั จุบันที่ให้บรุ ุษเปน็ ใหญ่กวา่ สตรี มีความไมเ่ สมอภาคในสิทธิ เช่น หญิงไทย ท่ีสมรสตอ้ ง ใช้คนหน้าว่านาง มีการกดขี่ข่มเหงทางเพศ เช่น ชายข่มขืนหญิงท่ีเป็นภรรยาของตนไม่มีความผิด ถึงแม้ในปัจจุบันได้มีการแก้ไขประมวลกฏหมายในเร่ืองดังกล่าวแล้วก็ตาม แต่ในบางทีก็ยังไม่มี การบังคับใช้กฎหมายอย่างเพียงพอ ปัญหาของความไม่เสมอภาคทางเพศที่เห็นในประเทศไทย ซ่ึงพอจะสังเกตได้ในสังคม เป็นในรูปแบบของการเลือกปฏิบัติต่อสตรี ความไม่เป็นธรรมทางเพศ ชายได้เปรียบกว่าหญิง การเหยียดหยามทางเพศ ความรุนแรงและการทาร้ายสตรี การไม่ยอมรับ การมีอัตลักษณ์ทางเพศท่ีแตกต่าง

349 4. พระราชบญั ญัติความเท่าเทียมระหวา่ งเพศ พ.ศ. 2558 เป็นกฏหมายท่ีบัญญัติขึ้นเพ่ือคุ้มครองผู้ถูกเลือกปฏบิ ัติด้วยเหตุแห่งเพศ ป้องกันมิให้มี การเลือกปฏิบัติท่ีไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ สอดคล้องกับหลักการสิทธมิ นุษยชนสากลตามพันธกรณี ระหว่างประเทศท่ีไทยเข้าเป็นภาคี สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ซ่ึงคาจากัดความ ทเ่ี ก่ียวข้องมดี งั น้ี (ชุมาภรณ์ ฝาชัยภมู ิ, 2562, น. 189-191) การเลือกปฏิบัติ หมายถึง การกระทาหรือไม่กระทาการใดอันเป็นการแบ่งแยก กีดกัน หรอื จากัดสิทธิประโยชนใ์ ด ๆ ไมว่ ่าทางตรงหรือทางออ้ ม การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ หมายถึง การกระทาหรือไม่กระทา การใดอันเป็นการแบ่งแยก กีดกัน หรือจากัดสิทธิประโยชน์ใด ๆ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม โดยปราศจากความชอบธรรม เพราะเหตุที่บุคคลนั้นเป็นเพศชายหรือหญิง หรือมีการแสดงออก แตกต่างจากเพศใดโดยกาเนิด อัตลกั ษณ์ทางเพศ หมายถึง ลักษณะเฉพาะของบุคคล หรือตวั ตนของบุคคล ซง่ึ รวมท้ัง จิตใจและพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกเกีย่ วกบั ลกั ษณะทางเพศสภาพ หรือเพศภาวะของบุคคล เพศโดยกาเนิด หมายถึง เพศซึ่งถูกระบุไว้แรกเกิด โดยใช้ลักษณะเพศทางสรีระ หรือ อวยั วะเพศเปน็ ฐานกาหนด เพศสภาพ หรือเพศภาวะ หมายถึง การแสดงพฤติกรรม การปฏิบัติ หรือการแสดง บทบาทเพศของบคุ คล ซึ่งอาจตรงหรือไมต่ รงกบั ลักษณะเพศโดยกาเนิด การนา พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 มาใช้ในการปฏิบัติใน ประเดน็ ต่าง ๆ ประเด็นท่ี 1 เร่อื งการแตง่ กาย 1) หนว่ ยงาน/สถาบันการศกึ ษา ควรใหส้ ิทธิบุคลากร/นักศึกษา แต่งกายตามอตั ลักษณ์ ทางเพศสภาพ หรอื เพศภาวะของบคุ คลนัน้ ตามขอ้ บังคบั ของหน่วยงาน หรอื สถาบนั การศกึ ษา 2) หนว่ ยงาน/สถาบันการศึกษา ไม่ควรออกประกาศ ระเบียบ กาหนดแนวปฏิบัตใิ ด ๆ เกยี่ วกับการแตง่ กายของบุคลากร นักศกึ ษา อันเป็นการเลือกปฏิบัตไิ ม่เป็นธรรมตอ่ บคุ คลที่อัตลักษณ์ เพศสภาพไมต่ รงเพศโดยกาเนดิ ประเด็นที่ 2 การจัดพื้นทท่ี ่ีเหมาะสม หนว่ ยงานควรจัดให้มีพนื้ ท่ีให้เหมาะสมกบั จานวน ของบุคคล อตั ลกั ษณ์ทางเพศสภาพ หรือเพศภาวะของบุคคล และข้อจากัดของบคุ คล โดยการจัดให้มี พื้นท่ใี หเ้ หมาะสม แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะคอื 1) หน่วยงานควรจัดให้มีห้องน้าอย่างน้อย 1 ห้อง สาหรับให้คนทุกเพศสภาพ หรือ ทกุ เพศภาวะ รวมถึงผู้สูงอายุ หรือผู้พิการ นอกจากนี้ ควรมีการเพิ่มจานวนหอ้ งนา้ หญิงใหม้ ีเพียงพอ กับจานวนผหู้ ญิงที่มีอย่ใู นหน่วยงาน/องคก์ ร หรอื ท่ีเขา้ มาใชบ้ ริการในหนว่ ยงาน หรอื องค์กร

350 2) หน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบพื้นที่เฉพาะด้าน เช่น โรงพยาบาล สถานีตารวจ ด่านตรวจคนเข้าเมือง เรือนจา ควรจัดให้มีพื้นที่เฉพาะและมีการปฏิบัติที่เหมาะสมโดยคานึงถึง อตั ลกั ษณท์ างเพศ เพศสภาพ/เพศภาวะ ประเดน็ ที่ 3 ประกาศรบั สมคั รงาน-คุณสมบัติผ้สู มัครงาน เพ่ือให้เป็นไปตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 การประกาศรบั สมัครงานของหน่วยงาน รัฐและภาคเอกชน สามารถระบุคุณสมบัติเฉพาะด้านวุฒิการศึกษา หรือความสามารถเฉพาะท่ี สอดคล้องกับลักษณะงานได้แต่ต้องไม่นาลักษณะเฉพาะทางเพศ ไม่ว่าจะเป็นเพศโดยกาเนิด หรือ เพศสภาพ/เพศภาวะมากาหนดเป็นคุณสมบตั ิเฉพาะสาหรบั การประกาศรบั สมัครงาน หรือมากาหนด คุณสมบัติของผู้สมัครงาน ยกเว้นโดยลักษณะงานมีความเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของเพศ หรือมคี วามจาเป็นตอ้ งใช้เพศใดเพศหนึง่ ประเด็นที่ 4 การใช้ถ้อยคา ภาษา-กิริยาทาทาง และเอกสารต่าง ๆ การใช้วาจาท่ี เช่ือมโยงกับอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ หรือเพศภาวะของบุคคล หน่วยงานภาครัฐและเอกชนควรให้ ความรู้ ความเข้าใจแก่บุคลากรเก่ียวกับคาศัพท่ีเหมาะสม และไม่เหมาะสมในการใช้เรียกอัตลักษณ์ ทางเพศสภาพ หรือเพศภาวะของบุคคล โดยให้ละเว้นการใช้คาศัพท์ท่ีไม่เหมาะสมต่อไปนี้ต่อบุคคล แตล่ ะกลมุ่ เฉพาะ ตัวอย่างเช่น คาท่ีไม่สมควรใช้กับกลุ่มบุคคลผู้มีความแตกต่างจากเพศโดยกาเนิด เช่น เบี่ยงเบนทางเพศ เพศท่ีสามผิดปกติ วิปริตผิดเพศ ตุ๊ด รักร่วมเพศ เก้งกวาง อีแอบ ไม้ป่าเดียวกัน เป็นต้น คาที่ไม่สมควรกับเพศหญิง เช่น ชะนี สาวแก่ อี แม่ใจยักษ์ เป็นต้น คาท่ีไม่สมควรใช้กับ เพศชาย เชน่ ตุด๊ นุ่งผ้าถุง แมงดา หน้าตวั เมีย เปน็ ต้น นอกจากการใชว้ าจาหรือถอ้ ยคาที่ไม่เหมาะสมแล้ว การแสดงลักษณะทางกิริยาท่าทาง ของบุคคลท่ีเป็นการแสดงออกถึงการล้อเลียน ดูหมิ่นเหยียดหยามในความเป็นหญิงความเป็นชาย หรือเพศสภาพอื่นเปน็ สิ่งท่ไี มค่ วรทา ประเด็นท่ี 5 การสรรหาคณะกรรมการ-ผู้ดารงตาแหน่งต่าง ๆ หน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ควรส่งเสริมการสรรหาบุคคลทั้งเพศชาย เพศหญิง หรือผู้มีการแสดงออกท่ีแตกต่างจากเพศ โดยกาเนิด เข้ารว่ มเป็นกรรมการในทกุ ระดับ ในสัดสว่ นทีเ่ หมาะสม ประเด็นที่ 6 การป้องกันแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในท่ีทางาน การล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทางาน หรือเกี่ยวเนื่องจากการทางานอาจเกิดขึ้นได้ กบั ทุกคน ท้ังชาย หญิง และบุคคลผู้มีการแสดงออกแตกต่างจากเพศโดยกาเนิด จากการกระทาของ นายจ้างหรอื ผูบ้ ังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ซ่ึงละเมิดสิทธิส่วนตัวและสทิ ธิในการทางาน ท่ีบุคคลควรได้ อยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมรวมท้ังขัดขวางโอกาสต่าง ๆ ในการทางานที่มีประสิทธิภาพ และถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศโดยตรง หน่วยงานต้องแสดงเจตนารมณ์

351 สง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ และสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับพฤติกรรมการลว่ งละเมิดหรือ คุกคามทางเพศ พร้อมจัดทาแนวทางปฏิบัติป้องกันและแก้ไขปัญหา กรณีต้องจัดการแก้ไขปัญหา ให้ดาเนนิ การอย่างจรงิ จังโดยทนั ที 5. กฎหมายทางเพศในความผิดทางอาญาท่ีควรรู้ กฎหมายทางเพศในความผิดทางอาญาทค่ี วรรู้ มดี ังนี้ 5.1 ความผดิ ฐานกระทาชาเรา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ลักษณะ 9 มาตรา 276 กล่าวถึง ความผิด ฐานข่มขืน กระทาชาเรา โดยบญั ญัตวิ ่า “ผู้ใดขม่ ขนื กระทาชาเราหญงิ ซึ่งมิใช่ภรรยาของตน โดยขูเ่ ข็ญ ดว้ ยประการใด ๆ โดยใช้กาลังประทุษร้าย โดยหญิงอยใู่ นภาวะท่ไี มส่ ามารถขัดขนื ได้หรือโดยทาหญิง เข้าใจผดิ ว่าตนเป็นคนอืน่ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ต้ังแต่ 4 ปี ถงึ 20 ปี และปรับตง้ั แต่ 8,000 ถงึ 40,000 บาท องค์ประกอบความผดิ ฐานกระทาชาเรา ตามมาตรา 276 แยกไดด้ ังน้ี 1) มีการขม่ ขืนกระทาชาเรา 2) ทากับหญิงซงึ่ มใิ ชภ่ รรยาของตน 3) มวี ิธีการกระทาอย่างหน่งึ อยา่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี 3.1) กระทาโดยขูเ่ ข็ญด้วยประการใด ๆ 3.2) กระทาโดยใช้กาลังประทุษรา้ ย 3.3) กระทาโดยหญงิ อยูใ่ นภาวะทไี่ ม่สามารถขัดขนื ได้ 3.4) กระทาโดยทาให้หญงิ เขา้ ใจผดิ ว่าตนเปน็ บคุ คลอื่น 3.5) มีเจตนาในการกระทา ตัวอย่าง คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1133/2509 จาเลยได้กระทาชาเราผู้เสียหาย จนของลับของจาเลยได้เข้าไปในของลับของผู้เสียหายรวม 1 องคุลี เช่นนี้ ถือได้ว่าเป็นการกระทา ชาเราสาเร็จตามความหมายของประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 276 แล้ว การที่ทางพิจารณา ไม่ปรากฏว่ามีน้าอสุจิของจาเลยออกมาอยู่ท่ีของลับของผู้เสียหายนั้น เป็นเร่ืองสาเร็จความใคร่แล้ว หรือไมเ่ ป็นอกี สว่ นหนึ่ง ไมเ่ ป็นเหตใุ หเ้ ห็นว่าจาเลยกระทาชาเราไม่สาเรจ็ หรือเป็นเพียงข้ันพยายาม ในความผิดฐานกระทาชาเราตามกฎหมาย แม้ตามสภาพแห่งการกระทาผู้กระทา ต้องเปน็ ชายกระทาต่อหญิงเท่านั้น แตท่ ้ังน้ไี ม่ได้หมายความว่า หญิงซึ่งร่วมกันกับชายทล่ี งมือกระทา ชาเราจะไมต่ ้องรับผดิ ในเรอ่ื งกระทาชาเราด้วย ดังเช่น

352 ตวั อย่าง คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 250/2510 (ประชุมใหญ่) ความผิดในเรื่องข่มขืน กระทาชาเราเป็นความผิดท่ีร่วมกันกระทาผิดได้ โดยผู้ร่วมกระทาผิดมิต้องเป็นผู้ลงมือกระทาชาเรา ดว้ ยทกุ คน เพยี งแตค่ นใดคนหนึง่ กระทาชาเราผ้ทู ีร่ ่วมกระทาผดิ ทุกคนก็มคี วามผดิ ฐานเป็นตัวการตาม ประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 83 และมาตรา 276 ก็หาได้บัญญัติให้ลงโทษเฉพาะชายเท่านั้นไม่ เพราะใช้คาว่า “ผู้กระทาผิดฯ” เท่านั้น แม้จาเลยท่ี 2 จะเป็นหญิง เม่ือฟังได้ว่าสมคบกับจาเลยท่ี 1 ร่วมกันกระทาความผดิ ศาลก็ลงโทษเปน็ ตัวการได้ ความผิดฐานข่มขืนกระทาชาเรา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 วรรค สอง บญั ญตั ิไวว้ ่า ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคแรกไดก้ ระทาโดยมีหรือใช้อาวุธปืนหรือวตั ถุระเบิด โดยร่วมกระทาความผิดด้วยกันอันมลี ักษณะเป็นการโทรมหญิง ต้องระวางโทษจาคกุ ตั้งแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี และปรบั ตง้ั แต่ 30,000 บาทถึง 40,000 บาท หรอื จาคุกตลอดชีวิต ตามมาตรา 276 วรรค 2 เป็นการเพ่ิมโทษให้สูงข้ึน เมือ่ ผู้กระทามหี รือใชอ้ าวธุ ปืน หรอื วัตถรุ ะเบิดโดยรว่ มกระทาความผิดด้วยกันอันมีลักษณะเป็นการโทรมหญิง จึงตอ้ งมอี งคป์ ระกอบ เพม่ิ ขึ้นดังนี้ 1) มกี ารข่มขืนกระทาชาเรา 2) ทากบั หญิงซ่ึงมใิ ช่ภรรยาของตน 3) มีวิธกี ารกระทาอยา่ งหนึ่งอยา่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี 3.1) กระทาโดยขู่เขญ็ ด้วยประการใด ๆ 3.2) กระทาโดยใช้กาลังประทษุ ร้าย 3.3) กระทาโดยหญงิ อยใู่ นภาวะทไี่ ม่สามารถขัดขนื ได้ 3.4) กระทาโดยทาให้หญิงเขา้ ใจผิดวา่ ตนเป็นบุคคลอน่ื 3.5) กระทาโดยมีหรอื ใช้อาวธุ ปืน หรอื วัตถุระเบดิ 3.6) โดยร่วมกระทาความผดิ ด้วยกนั อนั มลี กั ษณะเปน็ การโทรมหญิง 3.7) มีเจตนาในการกระทา สรุปไดว้ ่าผู้กระทาผิดต้องได้รับโทษเพ่ิมมากข้ึนหากมอี งค์ประกอบความผิด ในข้อ ท่ี (5) และ (6) เป็นองคป์ ระกอบความผิด ดงั เช่น ตัวอย่าง คาพิพากษาฎีกาที่ 374/2526 โจทก์ร่วมยอมไปโรงแรมกับจาเลยท่ี 2 เพราะหลงกลอุบายหลอกลวงว่าสามีโจทก์ร่วมนอกใจให้ไปจับผิดสามี แล้วจาเลยที่ 1 สามีจาเลยที่ 2 ได้เข้ามาช่วยถอดเสื้อผ้าและจาเลยท่ี 2 ได้ใช้ปืนบังคับขู่เข็ญขณะท่ีจาเลยท่ี 1 ข่มขืนกระทาชาเรา โจทกร์ ว่ ม โดยมีและใชอ้ าวธุ ปืนตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 วรรคสอง

353 5.2 ความผดิ ฐานอนาจาร ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ลักษณะ 9 มาตรา มาตรา 278 บัญญัติว่า “ผู้ใดกระทาอนาจารแกบ่ ุคคลอายกุ ว่า 15 ปี โดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ โดยใช้กาลงั ประทุษร้ายโดย บุคคลน้ันอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทาให้บุคคลน้ันเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอ่ืน ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน 10 ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กิน 20,000 บาทหรือทง้ั จาทงั้ ปรับ” การกระทาอนาจาร หมายความถึง การกระทาท่ีไม่สมควรในทางเพศตามประเพณี นิยมและตามกาลเทศะรวมถึงการกระทาให้อับอายขายหน้าแต่ข้อจากัดว่า ต้องเป็นการกระทาต่อ เนอื้ ตัวหรอื ต่อร่างกายของบุคคลอน่ื เช่น กอด จูบ ลูบ คลา รา่ งกายของหญิงหรือชาย เป็นการแสดง ความใคร่ทางเพศ การกล่าวถ้อยคาหรือเขียนภาพไม่เปน็ การอนาจาร แต่อาจเป็นสิ่งลามก ถ้าไม่เป็น การข่มขืนกระทาชาเราหรือพยายามข่มขืนกระทาชาเราและการกระทาไม่เป็นการสมควรตาม ประเพณีนยิ มและกาลเทศะเปน็ การกระทาอนาจาร องคป์ ระกอบความผิดฐานกระทาชาเรา ตามมาตรา 278 แยกไดด้ ังน้ี 1) มีการกระทาชาเรา แก่บุคคลอายกุ ว่า 15 ปี 2) กระทาโดยวธิ ีการใดวิธกี ารหนง่ึ ดงั นี้ 2.1) กระทาโดยขูเ่ ข็ญด้วยประการใด ๆ 2.2) กระทาโดยใช้กาลังประทุษรา้ ย 2.3) กระทาโดยบคุ คลนั้นอยใู่ นภาวะไมส่ ามารถขดั ขืนได้ ตวั อยา่ ง คาพิพากษาฎกี าท่ี 829/2532 ขณะผู้เสยี หายนอนกบั ลูกในหอ้ งนอนยังไม่ ทนั หลับ จาเลยเข้ามาน่ังยอง ๆ ท่ีปลายเทา้ ผู้เสียหายถามถงึ จุดประสงคเ์ ข้ามาจาเลยก็ห้ามส่งเสียงดัง มิฉะน้นั จะเชือดคอ พอจาเลยใชม้ ือซ้ายจบั มอื ขวาของผู้เสยี หาย ใช้มือขวาซึ่งถอื มดี กดหัวเข่าผู้เสยี หาย ไว้ ผ้เู สียหายด้ิน ศอกผู้เสียหายไปถูกลูกคนเล็กรอ้ งขึ้น พอผู้เสียหายพูดข้ึนว่าสามีผูเ้ สยี หายมา จาเลย ก็หนีไป การกระทาของจาเลยเป็นความผิดฐานบุกรุกตามมาตรา 365 และฐานกระทาอนาจารตาม มาตรา 278 เป็นการกระทากรรมเดยี วผดิ กฎหมายหลายบท 5.3 ความผดิ ฐานขม่ ขนื กระทาชาเราและกระทาอนาจารที่ยอมความได้ มาตรา 281 บัญญัติว่า การกระทาความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรกและมาตรา 278 นั้นมิได้กระทาต่อหน้าธารกานัล ไม่เป็นหตุให้ผู้ถูกกระทาอันตรายสาหัสหรือแก่ความตาย หรือมไิ ดก้ ระทาแก่บคุ คลดงั ระบไุ วใ้ นมาตรา 285 เปน็ ความผดิ อันขอมความได้ องคป์ ระกอบ 1) กระทาความผดิ ตามมาตรา 286 วรรคแรก และมาตรา 278 2) มไิ ดเ้ กดิ ต่อหน้าธารกานลั 3) ไม่เปน็ เหตใุ ห้ผูถ้ ูกกระทารับอนั ตรายสาหสั หรอื ถงึ แกค่ วามตาย

354 4) มไิ ด้เปน็ การกระทาแก่บุคคลตามมาตรา 285 ข้อพจิ ารณา 1) มิได้เกิดต่อหน้าธารกานัล คือ ในท่ที ี่ประชาชนอาจเหน็ ได้ ส่วนสถานทีท่ ่ีกระทา นั้นจะเป็นสถานทร่ี ัฐหรือท่เี อกชนไม่สาคัญ 2) ไม่เปน็ เหตใุ ห้ผู้กระทารบั อันตรายสาหัสหรือถึงแก่ความตาย 3) มไิ ด้เป็นการกระทาตอ่ บคุ คลตามมาตรา 285 คือ 3.1) ผู้สืบสันดาน 3.2) ศษิ ย์ผู้อย่ใู นความดแู ล 3.3) ผ้อู ยู่ในความปกครอง 3.4) ผอู้ ยู่ในความควบคมุ ตามหน้าทร่ี าชการ 3.5) ผูอ้ ยพู่ ทิ ักษ์หรืออนบุ าล 6. กฎหมายทางเพศในความผดิ ทางแพง่ ท่คี วรรู้ กฎหมายทางเพศในความผดิ ทางแพง่ ทีค่ วรรู้ มดี ังน้ี 6.1 การหม้นั การหมั้นเป็นนิติกรรมสัญญาที่ฝ่ายชายตกลงกับฝ่ายหญิงว่า จะทาการสมรสกัน ในอนาคต สัญญาหมั้นไม่สามารถฟ้องรอ้ งบังคับคดีใหอ้ ีกฝา่ ยหนึ่งทาการสมสได้ ถึงแมว้ ่าจะมีข้อตกลง ในเร่อื งเบี้ยปรับกนั เอาไว้ ขอ้ ตกลงนน้ั กเ็ ปน็ อันใชบ้ ังคบั ไม่ได้ ตวั อย่าง นายสุดหล่อและนางสาวสดุ สวยได้ทาการหมั้นกัน ต่อมานางสาวสุดสวย เห็นว่านายสุดหล่อยากจนไม่อยากจะสมรสด้วย ท่ีตกลงรับหมั้น ในตอนแรกนั้นเพราะคิดว่า นายสุดหล่อเป็นคนมีฐานะดี นายแดงจะมาขออานาจ ศาลบังคับให้นางสาวสุดสวยทาการสมรส กับตนไม่ได้ เพราะในเมื่อฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่สมัครใจที่จะเป็นสามีภริยากันแล้ว หากว่าบังคับให้ทา การสมรสกัน ก็จะก่อใหเ้ กิดปัญหาในครอบครัวอยา่ งแนน่ อน ชายและหญิงท่ีจะหมั้นกันได้น้ัน ต้องมีอายุอย่างน้อย 17 ปีบริบูรณ์ กฎหมาย กาหนดอายุของท้ัง 2 คน ว่าแต่ละคนต้องมอี ายุ ข้ันตา่ 17 ปีบริบูรณ์ ดงั น้ันหากชายอายุ 17 ปี หม้ัน กบั หญงิ อายุ 15 ปี การหมัน้ ย่อมเปน็ โมฆะ ข้อยกเว้นของชายและหญิง แม้มีอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์แล้ว แต่ทาการหม้ันกัน ไม่ได้ หากอย่ใู นเงื่อนไข ดงั น้ี 1) เปน็ คนวกิ ลจรติ คนบ้า หรือคนที่ถูกศาลสง่ั ให้เป็นคนไร้ความสามารถ 2) บุคคลผู้เป็นบุพการี (พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด) จะหมั้นกับผู้สืบสันดาน (ลูก หลาน เหลน ล้ือ) ไม่ได้

355 3) บุคคลท่ีเป็นพ่ีน้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน หรือร่วมแต่มารดา หรือบิดาเพียง อย่างเดยี ว 4) บุคคลทม่ี คี สู่ มรสอยู่แล้ว บุคคลท่ีจะให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการทาการหมั้น ได้แก่ บิดาและมารดา ในกรณที ม่ี ีทั้งบดิ าและมารดา 1) บดิ าหรือมารดาเพียงคนใดคนหนึ่ง ในกรณที ี่อีกคนหน่ึงถึงแกก่ รรม หรอื ถกู ถอน อานาจปกครองหรือไม่อยู่ในสภาพ หรือฐานะท่ีอาจให้ความยินยอมหรอื โดยพฤติการณ์ผู้เยาว์ ไม่อาจ ขอความยนิ ยอมจากมารดา หรือบดิ าได้ 2) ผู้รับบตุ รบญุ ธรรมใหค้ วามยนิ ยอมแกผ่ เู้ ยาว์ท่เี ป็นบตุ รบุญธรรม 3) มารดา ในกรณีที่บดิ ามารดาไม่ไดจ้ ดทะเบยี นสมรสกนั 4) ผู้ปกครองในกรณีท่ีไม่มีบุคคลซ่ึงอาจให้ความยินยอมโดยตรง หรือมีบุคคล ดังกลา่ วแต่ถกู ถอนอานาจปกครอง การหมั้นท่ีปราศจากการให้ความยินยอม ในกรณีที่ต้องให้ความยินยอมนั้นเป็น การหมัน้ ที่ไมส่ มบรู ณ์อาจถกู เพิกถอนได้ 6.2 การผิดสญั ญาหม้ัน ถา้ ชายหรอื หญิงคหู่ ม้ัน ไม่ยอมทาการสมรสกบั คู่หม้ันของตนโดยปราศจากมูลเหตุ อนั จะอ้างกฎหมายไดถ้ อื วา่ คู่หม้นั ฝา่ ยน้นั ผิดสัญญาหมั้น เมื่อฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงผิดสัญญาหม้ัน เช่น หญิงมีคู่หมั้นอยู่แล้วไปทาการสมรสกับ ชายอน่ื ทีไ่ ม่ใช่ค่หู ม้ันของตน หรอื หนีตามชายอื่นไป ชายคูห่ ม้นั จะฟ้องร้องต่อศาลให้ศาลบังคบั ใหห้ ญิง ทาการสมรสกับตนไม่ได้ เพราะการสมรสน้ันต้องเกิดจากความสมัครใจ ศาลจะใช้อานาจไปบังคับให้ ชายและหญิง ทาการสมรสกันไม่ได้ แม้ว่าจะมีการตกลงกันว่าถ้าฝ่ายใดเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้นจะให้ ปรบั เป็นจานวนเท่ได ข้อตกลงน้ันก็ใช้บังคับกันไมไ่ ด้ แต่คู่หม้ันซึ่งเป็นฝ่ายผิดสัญญาหม้ัน ต้องรับผิด จ่ายคา่ ทดแทนดงั ตอ่ ไปน้ี - คา่ ทดแทนความเสยี หายตอ่ กาย หรอื ช่ือเสียง - ค่าทดแทนความเสียหายท่ีเกิดข้ึน เนื่องจากคู่หม้ัน บิดามารดา หรือบุคคล ผู้กระทาการในฐานะ เช่น บิดามารดาได้ใช้จ่าย หรือตกเป็นลูกหนี้ เนื่องจากการเตรียมการสมรส โดยสุจรติ และตามสมควร เชน่ ฝา่ ยหญิงไดซ้ อื้ เคร่ืองนอนเคร่ืองครัวไวแ้ ลว้ ชายไปแต่งงานกับหญงิ อื่น ชายต้องรบั ผดิ ในคา่ ใชจ้ ่ายเหลา่ นี้ - ค่าทดแทนความเสียหาย เน่ืองจากการที่คู่หม้ันได้จัดการทรัพย์สินหรือการอื่น อนั เกย่ี วกับอาชพี หรือทางทามาหาไดข้ องตนไปโดยสมควรด้วยการคาดหมายว่าจะมีการสมรส

356 ตัวอย่าง สาหรับค่าทดแทนที่ 3 นายแดงอยู่กรุงเทพฯ หมั้นกับนางสาวนุสรา ซง่ึ มอี าชีพเปน็ พยาบาลอยตู่ ่างจังหวัด มีการกาหนดวันทจ่ี ะทาการสมรส นางสาวนุสราจงึ ลาออกจาก พยาบาลเพื่อที่จะเป็นแม่บ้าน เมื่อนางสาวนุสราได้ลาออกจากการเป็นพยาบาลแล้ว นายแดงไม่ยอม ทาการสมรสด้วย เน่ืองจากได้ไปสมรสกับผู้หญิงอื่น เช่นนี้นายแดงต้องรับผิด ใช้ค่าทดแทนความ เสียหาย อันเกิดจากการที่นางสาวนุสราลาออกจากงาน (สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนน้ี มีอายุความ 6 เดือน นับแตว่ ันผิดสญั ญาหมั้น) 6.3 การสมรส การแต่งงานหรือการสมรสน้ี คือการท่ีชายหญิง 2 คน ตกลงปลงใจท่ีจะใช้ชีวิตคู่ ร่วมกันฉันสามีภริยา ซึ่งตามกฎหมายปัจจุบันนั้น กาหนดว่าการสมรสต้องมีการจดทะเบียนสมรส จงึ จะมีผลตามกฎหมาย ดังน้ันถ้าไม่มีการจดทะเบียนสมรสแม้จะมีการจัดงานพิธีมงคลสมรลใหญ่โต เพยี งใดกฎหมายก็ไม่ถอื วา่ ชายหญิงคู่นน้ั ไดท้ าการสมรสกันเลย การจดทะเบียนสมรสน้ัน ให้ไปจดกับนายทะเบียน ณ ที่ว่าการอาเภอ หรือ กิ่งอาเภอ โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใด ๆ เลย และต้องมีการแสดงถึงความยินยอมของทั้ง 2 ฝ่าย ว่าต้องการที่จะทาการสมรสกันต่อหน้านายทะเบียนด้วย แล้วให้นายทะเบียนบันทึกความยินยอม นัน้ ไว้ การสมรสจึงจะมผี ลตามกฎหมายเม่ือได้มกี ารจดทะเบยี นแลว้ 6.3.1 ประโยชน์ของการจดทะเบียนสมรส นอกจากฎหมายจะถือว่า ชายหญิงคู่น้ันได้เป็นสามีภริยากันตามกฎหมาย แลว้ การจดทะเบียนสมรสยงั มีผลท่ตี ามมาอกี หลายประการ เชน่ 1) ถ้าได้มีการจดทะเบียนแล้ว คู่สมรสอีกฝ่ายจะไปจดทะเบียนสมรสอีก ไม่ได้ ถ้าฝ่าฝืนไปทาการจดทะเบียนเข้า ผลคือการจดทะเบียนสมรสครั้งน้ี กฎหมายถือว่าเป็นโมฆะ (ใช้ไม่ได)้ ผู้มสี ่วนได้เสียคนใดคนหนงึ่ จะแจ้งให้นายทะเบียนเพิกถอน หรอื จะร้องขอให้ศาลพพิ ากษา กไ็ ด้ นอกจากนี้คสู่ มรสฝา่ ยทีไ่ ปจดทะเบยี นซ้อน กอ็ าจมีความผดิ ฐานแจ้งความเทจ็ ด้วย 2) ไดร้ ับการลดหยอ่ นคา่ ภาษเี งินได้ 3) ในกรณีที่เป็นความผิดที่กระทาระหวา่ งสามีภรรยา เช่น สามี หรือภริยา ฝ่ายใดฝา่ ยหน่ึงลักทรัพย์ของอกี ฝ่ายหน่งึ หรอื ในความผดิ ฐานอื่น เชน่ ฉ้อโกง ยักยอก ทาให้เสยี ทรพั ย์ หรอื บกุ รุก ซงึ่ มผี ลคอื สามีหรอื ภรยิ าน้ันไม่ตอ้ งรบั โทษตามกฎหมาย 4) ในเรอ่ื งอานาจในการดาเนินคดอี าญาแทน ถ้าสามีภริยาถูกทาร้ายถงึ ตาย หรือบาดเจ็บจนไมส่ ามารถฟ้องคดีไดเ้ อง ภริยาหรือสามีท่ียงั มชี ีวติ อยู่ (ทไี่ ดจ้ ดทะเบยี นตามกฎหมาย) สามารถร้องทุกข์ (แจ้งความ) ต่อตารวจหรอื ฟ้องศาลแทนได้ แต่อย่างไรก็ตาม ต้องเป็นกรณีท่ีผู้ตาย หรอื ผบู้ าดเจ็บไม่มีสว่ นรว่ มในการกระทาความผดิ ด้วย นอกจากนี้ในคดีหมิ่นประมาทท่ีกระทาตอ่ สามี

357 หรือภริยา ถ้าต่อมาสามีหรือภริยาน้ันได้ตายก่อนร้องทุกข์ (แจ้งความ) ภริยาหรือสามีที่ยังมีชีวิตอยู่ ก็ร้องทุกข์หรือฟอ้ งหมิ่นประมาทไดเ้ องด้วย เพราะกฎหมายให้ถอื วา่ เป็นผู้เสยี หาย 5) ถ้าคู่สมรสเป็นผู้เยาว์ที่มีอายุ 17 ปีขึ้นไป เมื่อได้จดทะเบียนสมรสแล้ว กฎหมายถอื ว่าผู้นั้นได้บรรลุนิตภิ าวะแลว้ และสามารถทากจิ การงานต่างๆ ไดเ้ อง โดยไมต่ ้องเปน็ ได้รับ ความยินยอมจากบิดามารดา หรือผู้ปกครอง และแม้จะหย่ากันก่อนอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ก็ยังคงเป็น ผ้บู รรลุนติ ิภาวะอยู่ 6.3.2 คุณสมบัตขิ องผ้ทู จ่ี ะขอจดทะเบยี นสมรส มดี ังนี้ 1) มอี ายคุ รบ 17 ปบี รบิ ูรณ์ 2) ไมเ่ ปน็ คนวิกลจรติ หรือไร้ความสามารถ 3) ไม่เป็นญาตสิ บื สายโลหติ โดยตรงขนึ้ ไปหรือลงมา 4) ไม่เป็นพี่นอ้ งร่วมบิดามารดา หรอื ร่วมแต่บดิ าหรือมารดา 5) ผูร้ บั บุตรบญุ ธรรมจะสมรสกบั บุตรบุญธรรมไมไ่ ด้ 6) ไม่เป็นคสู่ มรสของบุคคลอ่ืน 7) หญิงหม้ายจะสมรสใหม่เมื่อการสมรสครั้งก่อนส้ินสุดไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วนั เวน้ แต่ 7.1) คลอดบุตรแลว้ ในระหวา่ งน้ัน 7.2) สมรสกบั ค่สู มรสเดิม 7.3) มีใบรับรองแพทยว์ ่ามไิ ดต้ ้ังครรภ์ 7.4) ศาลมคี าส่ังใหส้ มรสได้ 8) ชายหญงิ ท่มี ีอายุไม่ครบ 17 ปบี รบิ ูรณ์ ศาลอาจอนุญาตใหส้ มรสได้ 6.3.3 หลักฐานทต่ี อ้ งนาไปแสดง มดี ังนี้ 1) คสู่ มรสต้องไปปรากฎตัวตอ่ หน้านายทะเบยี นทั้ง 2 คน 2) บตั รประจาตวั ประชาชน หรอื บัตรประจาตวั ข้าราชการของคูส่ มรส 3) พยานบุคคล 2 คน ถ้าไม่มีนายทะเบียนจะหาให้แต่ต้องเสียเงินค่าช่วย การพยาน 4) ถ้าคู่สมรสทั้ง 2 ฝ่ายหรือฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงเป็นผู้เยาว์ (อายุไม่ครบ 20 ปี บรบิ ูรณ์) ถ้าบิดามารดาไม่ใหค้ วามยินยอมด้วยตนเองให้นาหนังสือแสดงความยนิ ยอมของบิดามารดา ไปด้วย 5) ค่าธรรมเนียมไม่ตอ้ งเสีย เวน้ แต่ชว่ ยการหาพยานท่นี ายทะเบียนหาให้ 6) คู่สมรสอาจขอให้นายทะเบียนแห่งท้องท่ีที่จะประกอบพิธีสมรสไป จดทะเบียนสมรสนอกสถานที่ได้ โดยย่ืนคาร้องต่อนายทะเบียนพร้อมแจ้งความประสงค์และ

358 รายละเอียด ช่ือตัว ชื่อสกุล ของคู่สมรส ระบุวันเวลา สถานท่ีที่จะให้ไปจดทะเบียน และเพื่อ ความสะดวกควรจัดยานพาหนะรับ-ส่งด้วย กรณีนี้ต้องเสียค่าธรรมนียม 200 บาท หลักฐานท่ีต้อง นาไปแสดงเช่นเดียวกบั การจดทะเบียนในสานักทะเบยี น 6.3.4 การสิ้นสุดการสมรส เมื่อมีการสมรสที่ถูกต้องตามกฎหมายแล้ว การสมรส นน้ั จะส้นิ สดุ ลงดว้ ยเหตตุ ่าง ๆ ดังน้ี 1) สิ้นสุดเมื่อฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงตาย 2) สน้ิ สดุ เมอ่ื ศาลพิพากษาให้เพกิ ถอน เพราะการสมรสนน้ั ตกเป็นโมฆะ 3) ส้ินสุดโดยการหยา่ ซึ่งการหยา่ นน้ั ทาได้ 2 วิธคี อื 3.1) หยา่ โดยความยินยอม คือกรณีที่ทง้ั คู่ตกลงจะหย่ากนั ได้เอง 3.2) หย่าโดยคาพากษาของศาล กรณีนี้คู่สมรสฝ่ายหนึ่งประสงค์จะหย่า แต่อกี ฝ่ายหนง่ึ ไม่ตอ้ งการหย่า ซึง่ ตอ้ งมเี หตทุ จี่ ะฟ้องหยา่ ตามที่กฎหมายกาหนด 6.3.5 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสามีภรยิ า แบง่ ได้ 2 ประการคอื 1) ความสัมพันธ์ในทางทรัพย์สิน เมื่อชายหญิงคู่น้ันได้ทาการสมรสกันตาม กฎหมายแล้ว ทรัพย์สินต่าง ๆ ของแต่ละฝ่าย ที่มีอยู่ก่อนสมรสหรือจะมีข้ึนภายหลังจากการสมรสก็ ต้องมกี ารจัดระบบใหม่ ซ่ึงกฎหมายกไ็ ด้แยกทรัพยส์ ินออกเป็น 2 ประเภทคอื 1.1) สินส่วนตัว (สินเดิม) เป็นทรัพย์สินท่ีฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงมีอยู่ก่อนสมรส หรือเปน็ เครือ่ งใชส้ อยส่วนตัว 1.2) สนิ สมรส เปน็ ทรพั ยส์ นิ ท่ีค่สู มรสได้มาในระหวา่ งสมรส 2) ความสัมพันธ์ส่วนตัวระหว่างสามีภริยา เมื่อมีการสมรสกันโดยถูกต้อง ตามกฎหมายแล้ว ชายหญิงคูน่ ั้นก็ต้องมีความสมั พันธก์ นั ตามกฎหมายคือ 2.1) ตอ้ งอยกู่ นิ ด้วยกันฉันสามีภริยา 2.2) ต้องช่วยเหลืออุปการะเล้ียงดูซึ่งกันและกัน ตามความสามารถละ ฐานะของตน 2.3) ภรยิ ามสี ิทธใิ ชน้ ามสกลุ ของสามีได้ 2.4) ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือน ไรค้ วามสามารถ อีกฝ่ายหนึ่งยอ่ มเปน็ ผอู้ นุบาล หรือผู้พิทกั ษแ์ ล้วแตก่ รณี 6.3.6 ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่และบุตร เด็กที่เกิดมาในระหว่างที่พ่อแม่ ยังคงเป็นสามีภริยากันอยูห่ รือภายใน 310 วัน นับแต่วันที่การสมรสส้ินสุดลง กฎหมายสันนิษฐานว่า เปน็ บุตร โดยชอบด้วยกฎหมายของชายผู้เปน็ สามี

359 6.3.7 สทิ ธิหน้าที่ระหวา่ งบดิ ามารดา และบตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย มีดงั นี้ 1) พ่อแม่ต้องให้การอุปการะเล้ียงดู และให้การศึกษาแก่บุตรตามสมควร ในระหว่างท่ีบุตรยังเป็นผู้เยาว์ (อายุไม่เกิน 20 ปีบริบูรณ์) ถ้าบุตรบรรลุนิติภาวะแล้ว พ่อแม่ กไ็ มจ่ าเป็นต้องอปุ การะเล้ียงดูบุตร เว้นแต่บุตรจะเป็นคนพิการ และหาเล้ียงตัวเองไม่ได้ พ่อแม่ก็ยังมี หน้าทตี่ อ้ งอุปการะเลี้ยงดูต่อไป 2) บตุ รจาตอ้ งอุปการะเลย้ี งดูพ่อแม่ 3) บุตรมสี ิทธใิ ชน้ ามสกลุ ของพอ่ 4) บุตรจะฟ้องบุพการีของตน เป็นคดีแพ่ง หรือคดีอาญาไม่ได้ แต่สามารถ รอ้ งขอให้อัยการเป็นผู้ดาเนินคดีแทนได้ กฎหมายห้ามเฉพาะการฟ้องแต่ไม่ห้ามในกรณีที่บุตรถูกฟ้อง แล้วตอ่ สู้คดี กรณีนย้ี ่อมทาได้ 5) บุตรผู้เยาวจ์ ะต้องอยู่ภายใต้อานาจปกครองของพ่อแม่โดยพ่อแมม่ ีอานาจ ดังน้ี 5.1) กาหนดท่ีอยู่ของบตุ ร 5.2) เมอื่ บตุ รทาผดิ กล็ งโทษได้ตามสมควร 5.3) ใหบ้ ตุ รทางานตามสมควรแกค่ วามสามารถและฐานานรุ ปู 5.4) เรียกบุตรคืนจากบุคคลอื่น ซ่ึงกักบุตรของตนไว้โดยไม่ชอบด้วย กฎหมาย 5.5) มอี านาจจดั การทรัพย์สนิ ของบตุ รดว้ ยความระมัดระวงั บทสรุป ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมส่งผลให้วยั รุ่นมีค่านิยมในการดารงชีวิตแตกต่างไปจากอดีต ค่านิยมทางเพศ เป็นหลักการพ้ืนฐานที่บุคคลยึดเป็นหลักในการปฏิบัติเพ่ือดาเนินชีวิตซึ่งเก่ียวกับ เร่ืองเพศ โดยค่านิยมทางเพศของบุคคลย่อมแตกต่างกัน มักเกิดจากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ ในสถาบันครอบครัว ระบบการศึกษา ประสบการณ์ กระบวนการขัดเกลาและถ่ายทอดทางสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ ซ่ึงค่านิยมทางเพศตามสังคมและ วัฒนธรรมไทย มักมีมุมมองได้ 2 ทาง คือ ค่านิยมทางเพศในเร่ืองที่ค่อนข้างปิดก้ันของคนไทย และค่านิยมทางเพศที่ดขี องสังคมไทย โดยค่านยิ มทางเพศทีเ่ หมาะสมของสังคมไทยต่อการดาเนินชวี ิต ได้แก่ ค่านิยมความรักนวลสงวนตัว ค่านิยมการให้เกียรติและการวางตัว ค่านิยมการสร้างคุณค่า ความดีงามในจิตใจและค่านิยมความเข้าใจในความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างเพศ

360 ความคาดหวังของสังคมที่มีต่อการเปล่ียนแปลงของวัยรุ่น ประกอบด้วย ความสามารถ ในการคิดและตดั สินใจไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง การมพี ฤตกิ รรมทางเพศที่เหมาะสม ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง และสังคมส่วนรวม มีศีลธรรมและจริยธรรมประจาใจ มีความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพที่ลึกซ้ึง และถาวรกับผู้อื่น และสัมพันธภาพท่ีดีกับพ่อแม่และมีความกตัญญูกตเวที ซึ่งบทบาทหน้าท่ขี องวัยรุ่น ต่อสังคม ได้แก่ บทบาทหน้าที่ต่อครอบครัว บทบาทต่อชุมชนและสังคม และบทบาทหน้าที่ต่อรัฐ ส่วนความรบั ผดิ ชอบของวยั ร่นุ ไดแ้ ก่ ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง ต่อการศึกษาเล่าเรยี น ต่องานท่ไี ดร้ ับ มอบหมาย ต่อการกระทาของตน ต่อครอบครัว ต่อเพื่อน ต่อโรงเรียน และต่อสังคม นอกจากนี้ วัฒนธรรมทางเพศ ยังเป็นวฒั นธรรมท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศ ไดแ้ ก่ ระเบียบจารีตประเพณี ศีลธรรม และจรยิ ธรรมอันดีงามของคนไทยในดา้ นความประพฤตเิ กี่ยวกับเพศ ซึ่งเป็นท่ียอมรบั นับถือ และสืบทอดปฏิบตั ติ ่อเนอ่ื งกันมายาวนาน ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปจั จุบันซงึ่ ได้สง่ ผลให้ครอบครัวและ สงั คมไทยมคี วามสงบสุขรม่ เย็น ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า อิทธิพลของส่ือท่ีมีต่อการประพฤติทางเพศของวัยรุ่นนั้นมีมากมาย หากวัยรุ่นมีพฤติกรรมทางเพศท่ไี ม่เหมาะสมจนเกิดการมีเพศสัมพันธ์อาจทาให้เกิดปัญหาการติดโรค เอดส์และโรคทางเพศสัมพันธอ์ ่นื ๆ ตามมา และในวัยรุน่ หญิงอาจทาให้เกดิ การตั้งครรภโ์ ดยไมต่ ้งั ใจได้ จงึ ควรส่งเสรมิ ใหว้ ัยรุ่นเข้าใจในสทิ ธิทางเพศ ซึ่งเปน็ สทิ ธิทจี่ ะควบคุมและตัดสนิ ใจอยา่ งเป็นอิสระและ มีความรบั ผิดชอบเก่ยี วกับวิถีชีวิตด้านเพศ สุขภาพทางเพศ และอนามัยเจริญพนั ธุ์ของตนเอง รวมถึง กฎหมายที่เกี่ยวกับเพศมีอยหู่ ลากหลายทั้งทก่ี าหนดในรฐั ธรรมนญู และในพระราชบัญญัตไิ ม่ว่าจะเป็น รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ว่าด้วยความเสมอภาคทางเพศ พระราชบัญญัติความ เท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 และอ่ืน ๆ ท้ังนี้กฎหมายเหล่าน้ีมีเจตนารมณ์เพ่ือปกป้องคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพทางเพศแก่บุคคลมีหลากหลายหน่วยงานในการให้การคุ้มครอง ดูแล ป้องกัน ให้ คาแนะนา คาปรึกษา และให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายต่าง ๆ เชน่ มูลนิธิเพ่ือนหญิงโรงพยาบาล ตา่ ง ๆ ตลอดจนสมาคมท่ีทางานทางดา้ นกฎหมายต่าง ๆ

361 กิจกรรมการเรยี นรู้ “ครอบครวั ” ขั้นตอนการดาเนนิ การ 1. นาเข้าสู่บทเรียนเร่ืองครอบครัวโดยใช้คาถามว่า “ครอบครัวคืออะไร” เพื่อหานิยาม ความหมายรว่ มกนั 2. ถามคาถามที่ 2 “ครอบครัวสมบูรณ์” มีองค์ประกอบอะไรบ้าง เก็บคาตอบที่ได้ เพ่อื พจิ ารณาเปรยี บเทยี บทา้ ยกิจกรรม 3. จากนั้นแบ่งกลุ่มยอ่ ย 3 คน คละเพศชายหญิง ให้แต่ละกลุ่มวิเคราะห์รูปแบบครอบครัว กลุม่ ละ 1 แบบ ดังน้ี 1) พ่อแมล่ กู 6) ชายรักชายขอลกู มาเลีย้ ง 2) พอ่ กับลกู 7) หญงิ รกั หญิงอยูด่ ว้ ยกนั 3) แมก่ ับลูก 8) เด็กกาพรา้ อย่สู ถานสงเคราะห์ 4) ตายายกบั หลาน 9) พ่อแมต่ ิดเชอื้ มีลกู 5) สามีภรรยา ไมม่ ลี ูก 10) พ่อแม่กับลกู บุญธรรม ให้เวลา 10 นาที และตอบคาถาม ดงั นี้ - สังคมจะมองครอบครัวรูปแบบนอ้ี ยา่ งไร - สมาชิกครอบครัวนี้จะสามารถดาเนนิ ชวี ิตที่มีความสขุ ได้อยา่ งไร 4. แต่ละกลุ่มย่อยนาเสนอ โดยผู้จัดการเรียนรู้ควรบันทึกประเด็นเชิงบวกเกี่ยวกับวิธีการ ดาเนินชีวิตให้มีความสุขจากท่ีแต่ละกลุ่มนาเสนอ เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นชัดเจน เช่น การเอาใจใส่กัน เข้าใจกัน เข้าใจสภาพและความจาเป็นของตัวเองหรือครอบครัว ทากิจกรรมร่วมกัน ม่ันใจ ในครอบครัวของตนเอง ไม่กลา่ วโทษกนั ใหค้ ุณค่ากบั การกระทา 5. ชวนคุย เพ่ือให้ตระหนักถึงสภาพครอบครัวแต่ละรูปแบบที่มีอยู่จริงในสังคม ขณะเดียวกันสมาชิกครอบครวั ก็สามารถสร้างความสุขรว่ มกนั ได้ แม้ว่าไมม่ ีพ่อแม่ หรอื พ่อแม่ไม่ใช่ชาย จริงหญงิ แท้ หรอื อยใู่ นสถานภาพทไี่ ม่เหมือนกับคนอ่ืน เช่น เปน็ ผตู้ ิดเชอ้ื ยากจน โดยใชค้ าถามดังนี้ - ลกู สามารถทาใหค้ รอบครัวมีความสุขอย่างไรไดบ้ ้าง - เราคิดว่ามีความเหมือนหรือความแตกต่างของ “ครอบครัวที่สมบูรณ์” ในเชิงอุดมคติ กับครอบครัวรูปแบบต่างๆ ท่ีได้วเิ คราะห์อย่างไรบา้ ง - ตวั เราจะสามารถสรา้ งครอบครัวให้มคี วามสขุ ได้หรอื ไม่ อย่างไร - เราสามารถใช้เกณฑ์หรอื มาตรฐานเดียวกันวดั ความสุขของครอบครัวต่างๆ ได้หรือไม่ เพราะอะไร

362 กจิ กรรมการเรยี นรู้ “Sexy Body” ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ 1. ผู้จัดการเรียนรู้อธิบายกับผู้เรียนว่า วันน้ีเราจะมาพูดคุยกันถึง “ความเซ็กซ่ีหรือดูดี ของร่างกาย” โดยเกริ่นนาว่า ถ้าพูดถึงดาราหญิงและชายท่ีเซ็กซี่ หรือดูดีในสายตาของเราเป็นใคร ตรงไหนท่คี ิดว่าเซก็ ซ่ี อย่างไร สมุ่ ถาม 3 - 4 คน 2. แจกกระดาษเอสี่ให้คนละ 1 แผ่น ให้แต่ละคนวาด หรือเขียนส่วนของร่างกายตนเองท่ี คดิ ว่าเซ็กซหี่ รือดูดที สี่ ุด และอธบิ ายเหตผุ ลว่าเพราะอะไรจึงคดิ วา่ เป็นสว่ นนน้ั ให้เวลา 5 นาที 3. จากนน้ั แบง่ กลุ่มชายล้วน 2 กลมุ่ และหญงิ ล้วน 2 กลมุ่ จานวนคนเทา่ ๆ กัน - ใหก้ ลมุ่ ชาย 1 หญิง 1 วาดภาพผหู้ ญิงเซก็ ซตี่ ามความคิดเหน็ ของกลุ่ม - ใหก้ ลมุ่ ชาย 2 หญงิ 2 วาดภาพผชู้ ายเซ็กซ่ตี ามความคิดเหน็ ของกลุ่ม 4. ให้เวลา 15 นาทีในการวาด จากน้ันให้ส่งตัวแทนนาเสนอภาพและอธิบายความเซ็กซี่ ของกลุม่ ใช้เวลากลุ่มละ 3 นาที 5. ผูจ้ ดั การเรยี นรู้ ถามผู้เรยี นวา่ - ความคดิ เรื่อง ความเซก็ ซ่ี แบบทีแ่ ต่ละกลมุ่ นาเสนอ เหมอื นหรอื ตา่ งกันอย่างไร - ความคดิ เรือ่ ง ความเซก็ ซี่ ของแตล่ ะคนมาจากไหน - ในความเป็นจรงิ มีคนท่ีมีความเซ็กซ่ี ตามแบบท่ีแต่ละกลุ่มนาเสนอหรือไม่ มากน้อย เพียงใด - ความเซ็กซ่ี หมายถงึ อะไร 6. ผู้จัดการเรียนรู้ ขออาสาสมัครหญิง 3 คน ชาย 3 คน บอกความเซ็กซี่ของตนจากที่ให้ วาดตอนตน้ 7. ผู้จัดการเรียนรู้ชวนคุยและต้ังคาถามเพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจท่ีมาที่ไปเรื่องความเซ็กซ่ีของ รา่ งกายหญิงชาย ที่ถูกให้คุณคา่ จากส่ิงต่างๆ ไม่ว่จะเป็นสอื่ สังคม วัฒนธรรมและมีการเปลี่ยนแปลง ในแต่ละชว่ งเวลาและยุคสมยั เช่น - ความเช็กซ่ขี องผหู้ ญิงและผู้ชายมอี ะไรท่ีเหมือนและแตกตา่ งกนั บา้ ง - เราคิดว่าหญิงชายท่ีมีความเซ็กซ่ี หรือดูดีสมัยนี้ เมื่อเปรียบเทียบย้อนไปประมาณ 30 ปที ่ผี ่านมา เหมอื นหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร - อะไรเป็นตัวกาหนดความเซ็กซี่ หรอื ดูดขี องหญิงชายในแต่ละยคุ สมยั - ถ้าเราเกิดมาไม่ได้มีรูปลักษณ์ท่ีเซ็กซ่ีหรือดูดีตามยุคสมัยเรารู้สึอย่างไร และจะทา อยา่ งไร

363 8. ผู้จัดการเรียนรู้สรุปเรื่องการช่ืนชมกับภาพลักษณ์ของดาราท่ีมีส่วนสาคัญในการสร้าง กรอบอ้างอิงของบุคคล (Frame of Reference) ที่อาจส่งผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของวัยรุ่น เพราะบุคคลล้วนเติบโตมาจากสิ่งแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน มีกรอบอ้างอิงท่ีหลากหลายในการบอกว่า อะไรคือเซ็กซ่ีและดูดี แต่การที่เรายังต้องการการยอมรับและชื่นชมจากคนรอบข้าง ทาให้เราต้อง พยายามปรับตัวเข้าหาส่ิงท่ีจะทาให้ผู้อ่ืนยอมรับ จนอาจส่งผลต่อการยอมรับในความเป็นตัวตนของ เราเอง

364 กจิ กรรมการเรยี นรู้ “โฆษณาขายอะไร” ขัน้ ตอนการดาเนินการ 1. ผู้จัดการเรียนรู้เปิดประเด็นด้วยการชวนคุย เพ่อื นาเข้าส่บู ทเรียนและเข้าใจบทบาทของ โฆษณาท่มี ีต่อการรับรู้ของเรา โดยใชค้ าถาม เชน่ - ในชว่ งนีม้ โี ฆษณาอะไร ทีเ่ รารสู้ ึกชอบมากที่สุด เพราะอะไร - อะไรในโฆษณาทีเ่ ป็นจุดสนใจหรือที่ทาให้เราจดจาได้ดีทสี่ ุด เพราะอะไร 2. จากนั้น ผู้จัดการเรียนรู้เปิดคลิปหนังโฆษณาจากทีวี หรือเลือกสื่อโฆษณาจาก หนังสอื พิมพ์หรอื นิตยสารท่ีเกย่ี วกับผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ ท่ีมกี ลุ่มเป้าหมายเป็นวยั รุ่นประมาณ 3 - 5 ชิ้น เช่น โคโลญจ์ โลช่ัน น้ายาล้างจุดซ่อนเร้น รองเท้า หรืออ่ืน ๆ หลังจากเปิดหนังโฆษณาแต่ละชุด ชวนคุย เพ่ือแยกแยะข้อมูลหรือข้อเท็จจริงจากส่ิงท่ีเห็น สาระหรือเนื้อหาของการโฆษณา และ ผลทค่ี าดหวงั จากการโฆษณาที่มีต่อคนดู โดยใชค้ าถาม เชน่ - ภาพหรือเรื่องราวที่เห็นจากโฆษณากาลังบอกอะไรแก่เรา หรือเรารับรู้จากภาพและ เรอ่ื งราวท่เี หน็ ในโฆษณาวา่ อยา่ งไร - วัตถปุ ระสงคข์ องโฆษณาชุดท่ีเราเห็นคืออะไร - โฆษณาพูดถึงประโยชน์ใช้สอยของสินค้าอย่างไร และใช้วิธีอะไรในการโน้มน้าว ใหค้ นซ้อื - ข้อมูลหรอื ข้อเท็จจริงเกี่ยวกบั โฆษณาที่ดูคืออะไร - เรามีขอ้ สงั เกตอย่างไรอกี บ้าง ตอ่ งานโฆษณาชนิ้ น้ี - มีโฆษณาใดอกี บ้างทีม่ ีลกั ษณะคล้ายกนั 3. เมื่อให้ดูและวิเคราะห์โฆษณาแต่ละชิ้นแล้ว ผู้จัดการเรียนรู้ชวนคุย เพ่ือสรุปให้เห็น รว่ มกันถงึ อิทธพิ ลของโฆษณาที่มผี ลตอ่ การรับรู้ โดยใชค้ าถาม ดงั นี้ - โฆษณามีผลตอ่ ตัวเราในการตัดสนิ ใจเลอื กซื้อสนิ ค้าตา่ ง ๆ หรอื ไมเ่ พราะอะไร - จากตัวอย่างโฆษณาท่ีนามาให้ดู มีความจาเป็นมากน้อยเพียงใดที่จะต้องใช้สินค้า เหลา่ นี้ - ในการเลือกซ้ือสินค้าต่าง ๆ เรามีเกณฑ์ในการเลือกอย่างไร คานึงถึงประโยชน์ใช้สอย หรอื ภาพลักษณ์ของสินค้า อยา่ งไร - จากการวิเคราะห์ตัวอย่างโฆษณา ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลที่เกินจริงหรือไม่เป็นจริง หากเปน็ เช่นนัน้ จะสง่ ผลตอ่ ตวั เรา หรอื ผูบ้ ริโภคสนิ ค้า อย่างไรบ้าง

365 - เราเองในฐานะผู้บริโภคได้เรียนรู้อะไรจากกิจกรรมน้ีและในฐานะท่ีเราจะต้องเป็นครู เราจะสื่อสารเรื่องเหลา่ น้กี ับเดก็ ๆ อยา่ งไร 4. ผู้จัดการเรียนรู้เพ่ิมเติมประเด็นเรื่องโฆษณาส่วนใหญ่ใช้วิธีการสร้างความรู้สึกว่า “จาเป็น” ต้องใช้สินค้าน้ันๆ ให้เกิดข้ึนได้ หรือเล่นกับความเช่ือของคนแทนการให้ข้อมูลที่เป็นจริง เช่น ทาให้ร้สู ึกว่าตัวเองไม่สะอาดเมื่อมีประจาเดือน ทาให้รู้สึกว่ากล่ินอบั จากอวยั วะเพศจะไปรบกวน ผ้อู นื่ หรอื สรา้ งภาพความเปน็ หญิง ความเป็นชาย วิถชี ีวติ ทางเพศท่คี วรจะเป็น

366 กจิ กรรมการเรยี นรู้ “อนมุ าน” ข้นั ตอนการดาเนนิ การ 1. ผู้จัดการเรียนรู้ ตั้งคาถามเพื่อเช่ือมโยงกิจกรรม “โฆษณาขายอะไร” กับกิจกรรม “อนุมาน” เพอ่ื ให้เขา้ ใจเรอ่ื งการใชห้ ลักการอนมุ านในการทางานโฆษณา โดยใช้คาถามเชน่ - ทาไมผู้ชมบางคนทด่ี โู ฆษณาแลว้ จึงรู้สึกว่าจาเป็นต้องใชส้ นิ ค้านน้ั เชน่ โคโลญจ์ โลช่นั - การสรา้ ง “ความรู้สึกจาเป็น” ตอ่ สนิ ค้าทีโ่ ฆษณา เป็นข้อเท็จจรงิ หรือไม่ - มอี ะไรอกี บ้างทมี่ กั เปน็ การคาดเดาเอาเอง โดยปราศจากข้อเท็จจรงิ - การคาดเดาดงั กล่าวเกดิ จากปัจจยั อะไรไดบ้ า้ ง 2. จากน้ัน ผู้จัดการเรียนรู้แจกใบงาน “ไก่กับแดง” ให้กับทุกคน และช้ีแจงว่า ให้ทุกคน อา่ นเร่ืองไก่กับแดงจนจบ และพิจารณาข้อความในตารางท้ัง 6 ข้อ ว่าประโยคแตล่ ะประโยคน้ันเป็น “ข้อเท็จจริง” ท่ีมาจากเนื้อเร่ือง หรือเป็น “การอนุมาน” ซึ่งไม่ได้มาจากเน้ือเรื่อง แต่หมายถึง การคาดหมายโดยพจิ ารณาจากกฎไปหาขอ้ เท็จจริง ให้เวลา 5 นาที 3. อ่านข้อความทีละข้อ เพ่ือตรวจสอบคาตอบร่วมกัน โดยถามว่า ใครตอบ “อนุมาน” และใครตอบ “ข้อเทจ็ จรงิ ” และจดจานวนของผ้ตู อบในแตล่ ะขอ้ จนครบทั้ง 6 ข้อ 4. หลังจากนั้น ผู้จัดการเรียนรู้ใช้คาถามเพ่ือให้ผู้เรียนได้เข้าใจที่มาที่ไปของการอนุมาน ในเร่ืองไก่กบั แดง เช่น - เหตุผลท่ีตดั สนิ ใจเลอื กตอบว่าอนมุ าน หรอื ข้อเท็จจรงิ คืออะไร - เราอนุมานข้อความนั้น ๆ จากอะไรบ้าง (เชน่ เหตใุ ดจึงอนุมานวา่ ไก่กับแดงเป็นวยั รุ่น หรือเป็นผู้หญงิ ) 5. ชวนคุย เพื่อเช่ือมโยงกับการดาเนินชีวิตหรือวิถีชีวิตทางเพศวา่ การอนุมานมักเกิดจาก คา่ นิยม ความรู้สึก ประสบการณ์ และสภาพแวดลอ้ ม การเทา่ ทันและตระหนักว่าในการท่ีเราอนมุ าน ผู้อ่ืนนั้นเป็นพียงการคาดหมาย อาจจะเป็นจริงหรือไม่ก็ได้ เราจึงไม่ควร “ตัดสิน” ใครโดยไม่หา ความจรงิ ให้ครบถ้วน เพราะการอนุมานส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างเรากับผ้ถู ูกอนุมาน โดยเฉพาะ ในการอนุมานท่ีเกี่ยวกบั เรือ่ งวิถีชวี ติ ทางเพศ โดยใช้คาถามดังน้ี - การอนมุ านเกิดจากอะไร - เรารูส้ กึ อยา่ งไรเมอ่ื ถกู อนมุ านและมีผลตอ่ เราและผทู้ อ่ี นมุ านเราอย่างไร - ในชีวิตจริงเราเคยถูกอนุมานหรือเคยอนุมานคนอ่ืนหรือไม่ (ขออาสาสมัคร 2 - 3 คน ใหย้ กตัวอยา่ งเหตุการณ์การอนุมานท่ีเกดิ ข้ึน รวมท้ังผลจากการอนุมาน)

367 - การถูกอนุมานเรื่องเพศมีความเหมือน หรือแตกต่างกับการถูกอนุมานเรื่องอ่ืน ๆ อย่างไร - สงิ่ สาคญั ที่เราควรตระหนกั ในเร่อื งของการอนุมานคืออะไร - ในบทบาทความเปน็ ครูข้อคิดทไ่ี ด้จากกจิ กรรม “อนมุ าน” ทจ่ี ะนาไปปรบั ใชค้ อื อะไร

368 คาถามทา้ ยบท จงตอบคาถามต่อไปน้ี โดยอธบิ ายพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ 1. จงอธิบายและยกตัวอยา่ งคา่ นยิ มทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรม 2. วัฒนธรรมไทยในการสร้างสัมพันธภาพทางเพศมีอะไรบ้าง จงอธิบาย 3. จงระบคุ วามคาดหวังของสังคมทีม่ ตี อ่ การเปลยี่ นแปลงของวัยรุน่ 4. บทบาทหน้าทขี่ องวยั รนุ่ ตอ่ สงั คมมอี ะไรบ้าง จงอธบิ าย 5. จงอธบิ ายและยกตัวอย่างความรับผิดชอบของวัยรนุ่ 6. วฒั นธรรมทางเพศคอื อะไร จงอธบิ ายพร้อมยกตัวอยา่ ง 7. จงอธิบายและยกตัวอยา่ งบทบาทของเพศชายและเพศหญงิ 8. จงอธบิ ายและยกตวั อย่างสอ่ื กบั เพศ 9. สิทธิในการแสดงออกตามวิถที างเพศมีบทบาทและความสาคัญอย่างไรต่อบุคคล 10. กฎหมายวา่ ดว้ ยเพศและความเสมอภาคทางเพศมคี วามสาคัญตอ่ บุคคลอยา่ งไร

369 เอกสารอ้างองิ กจิ จา บานชืน่ ฐณิ ีวรรณ วฒุ ิวิกัยการ และวรฑา ไชยาวรรณ. (2562). เพศวถิ ศี ึกษา. นนทบุรี: รัตนโรจนก์ ารพมิ พ.์ ชุมาภรณ์ ฝาชัยภูมิ. (2562). เพศวิถศี กึ ษา. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คช่นั . ปานเดชา ทองเลิศ. (2562). เพศวิถีศกึ ษา. นนทบุรี: รตั นโรจนก์ ารพมิ พ.์ ศยิ พร กล่าทวี และประพล นิลใหญ่. (2562). เพศวิถีศกึ ษา. นนทบุรี: รตั นโรจน์การพมิ พ.์ เสรี วงษม์ ณฑา. (2540). ครบเครื่องเรอื่ งการสือ่ สารการตลาด. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท วิสิทธ์ พัฒนา จากัด. อุทมุ พร แก้วสามศรี และคณะ. (2562). เพศวถิ ศี ึกษา. นนทบุรี: รตั นโรจนก์ ารพิมพ.์

บรรณานกุ รม

372 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2553). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. พมิ พ์ครง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . กฤตยา อาชวนิจกุล. (2554). เพศวิถีทกี่ าลงั เปลี่ยนแปลงไปในสงั คมไทย. วารสารประชากรและสงั คม. 15(1): 43-66. กองอนามยั การเจรญิ พันธุ.์ (2550). การคุมกาเนดิ สาหรับวัยร่นุ . กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก. กิจจา บานชื่น ฐณิ ีวรรณ วุฒวิ กิ ยั การ และวรฑา ไชยาวรรณ. (2562). เพศวิถศี กึ ษา. นนทบุรี: รตั นโรจนก์ ารพิมพ์. จนั ทรว์ ภิ า ดิลกสมั พนั ธ.์ (2548). เพศศกึ ษา. พิมพ์ครั้งท่ี 3. กรงุ เทพฯ: ศลิ ปาบรรณาคาร. เจมิ ศกั ดิ์ ปน่ิ ทอง. (2550). มองพฒั นาการสังคมไทย ผ่านประเดน็ “อตั ตลกั ษณท์ างเพศ” ผา่ นสภา ร่างรฐั ธรรมนญู . สบื ค้น 31 พฤษภาคม 2561 จาก http://www.manager.co.th/Daily/ ViewNews.aspx?NewsID=9500000076558. ชยั วัฒน์ ปญั จพงษ์ และคณะ. (2524). คุยกบั หมอเร่อื งลกู . กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์อักษรสมั พนั ธ.์ ________. (2525). เพศศึกษาแผนใหม่. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ ชุมาภรณ์ ฝาชยั ภูมิ. (2559). เพศวิถศี ึกษา. กรงุ เทพฯ: ซเี อด็ ยเู คชัน่ . ________. (2562). เพศวถิ ีศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยูเคชัน่ . ทวี บณุ ยะเกต.ุ (2516). การครองเรือน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์เฟ่ืองอกั ษร. บุญลือ วนั ทายนต.์ (2520). ครอบครัวและวงศ์วาน. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั รามคาแหง. ประวทิ ย์ สุนทรสมี ะ. (2526). กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรีรวิทยา เลม่ 1,2. กรงุ เทพฯ: ชนะการพมิ พ์. ประสาท อศิ รปรดี า. (2523). จติ วิทยาวยั รุ่น. กรงุ เทพฯ: ศึกษติ สยาม. ปรีชา ธรรมา. (2546). วินยั แห่งตน. สาธานุกรมศกึ ษาศาสตร.์ ฉบบั ที่ 26 หนา้ 33-38. กรงุ เทพฯ: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. ประวทิ ย์ สนุ ทรสีมะ. (2526). กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา เลม่ 1,2. กรงุ เทพฯ: ชนะการพมิ พ.์ ปานเดชา ทองเลิศ. (2562). เพศวิถีศึกษา. นนทบรุ ี: รัตนโรจน์การพิมพ.์ ________. (2559). สงิ่ เสพติดใหโ้ ทษ. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ ศนู ย์ส่งเสรมิ อาชวี ศึกษา จากัด. พนม เกตมุ าน. (2542). โตแลว้ นะ น่าจะรไู้ ว.้ กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . พรรณราย ทรพั ยะประภา. (2548). จิตวิทยาประยุกต์ในชีวิตและการทางาน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

373 พนั ธ์ศกั ด์ิ ศุกระฤกษ์. (2546). “เรียนรู้..เรือ่ งเพศ”. เนชั่นสดุ สปั ดาห์. ปีท่ี 12 ฉบบั ที่ 592. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2545). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: อักษร เจริญพัฒน.์ เรวัฒน์ วัฒนไชย. (2538). ปญั หาการปฏิบตั งิ านดา้ นการเงนิ และบัญชี ในโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สงั กดั กรมสามญั ศึกษา จงั หวดั กาฬสินธ.์ุ ปริญญานิพนธ์การศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบริหาร การศกึ ษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. วิทยา นาควัชระ. (2537). “คยุ เรอ่ื งชวี ติ ”. สกุลไทย. (มนี าคม 2537): 69. วันทนีย์ วาสิกะสิน. (2527). เพศศึกษาเรื่องน่ารู้ ใน นติ ยสารหมอชาวบ้าน. 61(5): 12-15. ศยิ พร กลา่ ทวี และประพล นิลใหญ่. (2562). เพศวิถศี ึกษา. นนทบรุ ี: รัตนโรจน์การพมิ พ์. สมพงษ์ จติ ระดับ. (2551). เดก็ ไทยกบั เพศสมั พนั ธ์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . สมพงษ์ เกษมสิน. (2550). การบริหาร. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . สมวงศ์ อุไรวัฒนา. (2548). “เอดส์ เข้าใจได้ไมย่ าก” 20 ปีท่รี จู้ ักกนั : เรื่องเลา่ และบทเรียนการทางาน เอดส.์ กรุงเทพฯ: ศึกษติ สยาม. สมศรี สกุ มุ ลนันท.์ (2528). นานาสาระกับอาจารย์สมศรี. กรงุ เทพฯ: อกั ษรสัมพันธ์. สรรค์ ศรีเพ็ญ. (2514). เพศศาสตรศ์ กึ ษา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. สนิ ีรัตน์ โชตญิ าณนนท์. (2550). บทบาทของเพศ บทบาททางเพศ และความเป็นปจั เจกนยิ ม- คติรวมหม่ตู ่อการเสียใจภายหลัง และเป้าหมายการควบคมุ . วิทยานพิ นธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวทิ ยาสงั คม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สุชา จันทร์เอม. (2544). จติ วิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ จากดั . สุชาติ โสมประยรู และวรรณี โสมประยูร. (2531). เพศศกึ ษา. พิมพค์ รัง้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนา พานชิ . สุพร เกดิ สวา่ ง. (2536). “Adolescent Reproductive Health.” ใน รายงานการประชุมใหญท่ าง วชิ าการแหง่ ศริ ริ าชคร้งั ที่ 7. หน้า 274-285. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์. สุพตั รา สภุ าพ. (2531). สังคมวทิ ยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . สรุ พล ปราบวณชิ . (2534). เกณฑ์การเลือกคู่ครองท่ีมีผลต่อความม่ันคงของสถาบันครอบครัว. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เสนอ อนิ ทรสุขศรี. (2517). เพศศกึ ษา คณะกรรมการดาเนินงานเน่ืองในปีประชากรโลก 2517: ประชากรกับการอย่รู อด. กรุงเทพฯ: มติ รนราการพิมพ์. เสรี วงษ์มณฑา. (2540). ครบเคร่อื งเรอื่ งการสือ่ สารการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษทั วิสิทธ์ พฒั นา จากัด.

374 องคก์ ารแพธ (PATH). (2550). กา้ วย่างอย่างเขา้ ใจ: คมู่ ือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ รหัสวชิ า 2000-1612. กรงุ เทพฯ: องคก์ ารแพธ (PATH) ภายใต้ การสนับสนนุ ของกองทนุ โลก. ________. (2551). คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรเู้ พศศกึ ษา สาหรับเยาวชนช่วงชนั้ ที่ 3 (มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3). กรุงเทพฯ: องค์การแพธ (PATH) ภายใต้การสนับสนุนของ กองทุนโลก. ________. (2551). คู่มอื การจัดกระบวนการเรยี นรู้เพศศกึ ษา สาหรบั เยาวชนช่วงชั้นท่ี 4 (มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4-6). กรุงเทพฯ: องค์การแพธ (PATH) ภายใต้การสนับสนนุ ของ กองทุนโลก. ________. (2551). คมู่ อื หลักสตู ร “เพศศึกษารอบดา้ น” (Comprehensive Sexuality Education) สาหรับนกั ศึกษาสาขาครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ. กรุงเทพฯ: องคก์ าร แพธ (PATH) ภายใต้การสนบั สนุนของกองทุนโลก. อมรา สุนทรธาดา. (2536). “เพศสมั พันธ์ก่อนวัยอันควร ปัญหาวยั รุน่ ทท่ี ว่ั โลกกาลงั เผชญิ อย.ู่ ” มติชนรายวนั . (21)11: 11-12. อรุณรุง่ บญุ ธนนั ตพงศ์. (2535). พฤตกิ รรมและตัวชี้วัดความสัมพันธ์ระหวา่ งคู่สมรสในเขต กรงุ เทพมหานคร ทจี่ ะนาไปส่คู วามตอ้ งการหย่าร้าง. วทิ ยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑิต. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยมหดิ ล. อานนท์ อาภาภิรมย์. (2546). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: แพรพ่ ิทยา. อุมาพร ตรงั คสมบตั ิ. (2553). Everest พาลูกค้นหาความนับถอื ตนเอง. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทศนู ย์วิจัย และพัฒนาครอบครัว. อุทุมพร แก้วสามศรี และคณะ. (2562). เพศวถิ ศี ึกษา. นนทบรุ ี: รตั นโรจน์การพมิ พ์. เอนก อารพี รรค และสุวัทนา อารพี รรค. (2539). เรยี นรู้เร่ืองเพศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. Burt, J. John, Brower A. Linda. (1970). Education for Sexuality: Concepts and Program for Teaching. Philadelphia: W.B. Saunders Company. Carter V. Good. (2005). Dictionary of Education. (5th ed.) New York: McGraw-Hill Book Company. Freud, Sigmund. (1970). “The Sexual Life of Man.” In Human Sexual Behavior. pp. 20-27. New York: John Wiley. IDRC. (1989). Human Sexuality. Canada: Report of a Workshop Held at International Development Research Center.

375 Kinsey, A.C., et al. (1953). Sexual Behavior in the Human Female. Philadelphia: W.B. Saunders. Kirkendall, Lester A. (1965). “Sex Education.” In Discussion Guide, No.1. pp. 1-11. New York: SIECUS. ________. (1960). “Understanding Sex.” In Guidance Series Booklets 145. pp. 8-13. Illinois: Science Research Associates, Inc. Muuss, R.E. (1990). Adolescent Behavior and Society. 4th ed. Singapore: McGraw-Hill. Nass, Gilbert D. And Fisher Mary, Pat. (1988). Sexuality Today. 2nd ed. Boston: Jones And Bartlett Publishers. Peter A. Jackson, Nerida M. Cook. (1999). Genders & Sexualities in Modern Thailand. Chiang Mai: Silkworm Books. Raymond, J.C. and Bonnie, D.O. (1994). Webster’s encyclopedia unabridged Dictionary of the english language. New York: Grammercy Books. Rubin, G. (1993). Thinking Sex: Notes for a Radical Theory of the Politics of Sexuality. New York: Routledge. Schulz, B. Bohrnstedt., et al. “Explaining Premarital Sexual Intercourse Amon College Students: A Causal Model.” Social Forces. xxxxxvi (1977) : 148 - 165.