เปิดธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม จนุ ทะ ! อย่างน้ีแล เป็นความไม่สะอาดทาง กาย ๓ อย่าง. จนุ ทะ ! ความไม่สะอาดทางวาจา มี ๔ อย่าง เปน็ อย่างไรเลา่ ? (๑) บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี เปน็ ผมู้ ปี กตกิ ลา่ วเทจ็ ไปสู่สภาก็ดี ไปสู่บริษัทก็ดี ไปสู่ท่ามกลางหมู่ญาติก็ดี ไปสทู่ า่ มกลางศาลาประชาคมกด็ ี ไปสทู่ า่ มกลางราชสกลุ กด็ ี อันเขานำ�ไปเป็นพยาน ถามว่า “บุรุษผู้เจริญ ! ท่านรู้อย่างไร ท่านจงกล่าวไปอย่างน้ัน” ดังน้ี บุรุษนั้น เม่ือไมร่ กู้ ก็ ล่าวว่ารู้ เมอ่ื ไม่เห็นก็กล่าววา่ เห็น เมื่อเหน็ ก็ กลา่ ววา่ ไม่เห็น เพราะเหตตุ นเอง เพราะเหตผุ ู้อ่นื หรือ เพราะเหตเุ หน็ แกอ่ ามิสไรๆ ก็เป็นผ้กู ลา่ วเท็จทง้ั ทร่ี อู้ ย.ู่ (๒) เป็นผู้มีวาจาส่อเสียด คือฟังจากฝ่ายน้ี แล้วไปบอกฝา่ ยโนน้ เพอ่ื ท�ำ ลายฝา่ ยน้ี หรอื ฟงั จากฝา่ ยโนน้ แล้วมาบอกฝ่ายนี้ เพ่ือทำ�ลายฝ่ายโน้น เป็นผู้ทำ�คนที่ สามคั คกี นั ใหแ้ ตกกนั หรอื ท�ำ คนทแ่ี ตกกนั แลว้ ใหแ้ ตกกนั ยง่ิ ขึน้ พอใจ ยินดี เพลิดเพลนิ ในการแตกกันเปน็ พวก เป็นผู้กล่าววาจาทก่ี ระทำ�ใหแ้ ตกกนั เป็นพวก. 125
พุทธวจน - หมวดธรรม (๓) เปน็ ผมู้ วี าจาหยาบ อันเป็นวาจาหยาบคาย กล้าแข็ง แสบเผ็ดต่อผู้อ่ืน กระทบกระเทียบผู้อ่ืน แวดลอ้ มอยูด่ ้วยความโกรธ ไมเ่ ป็นไปเพ่อื สมาธิ เขาเป็น ผกู้ ล่าววาจามรี ปู ลกั ษณะเช่นนน้ั . (๔) เป็นผ้มู วี าจาเพ้อเจ้อ คอื เป็นผกู้ ลา่ วไม่ถูก กาล ไมก่ ลา่ วตามจรงิ กลา่ วไมอ่ งิ อรรถ ไมอ่ งิ ธรรม ไมอ่ งิ วนิ ยั เปน็ ผกู้ ลา่ ววาจาไมม่ ที ต่ี ง้ั อาศยั ไมถ่ กู กาละเทศะ ไมม่ จี ดุ จบ ไม่ประกอบด้วยประโยชน.์ จุนทะ ! อย่างนี้แล เป็นความไม่สะอาดทาง วาจา ๔ อย่าง. จนุ ทะ ! ความไม่สะอาดทางใจ มี ๓ อยา่ ง เป็นอย่างไรเล่า ? (๑) บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ เปน็ ผมู้ ากดว้ ย อภิชฌา (ความโลภเพง่ เล็ง) เปน็ ผ้โู ลภเพง่ เล็งวตั ถอุ ุปกรณ์ แห่งทรพั ย์ของผอู้ ่นื ว่า “สิง่ ใดเป็นของผอู้ น่ื ส่งิ นั้นจงเป็น ของเรา” ดงั นี้ (๒) เป็นผู้มีจิตพยาบาท มีความดำ�ริในใจ เป็นไปในทางประทุษร้ายว่า “สัตว์ท้ังหลายเหล่าน้ี 126
เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ปฐมธรรม จงเดือดร้อน จงแตกทำ�ลาย จงขาดสูญ จงพินาศ อยา่ ได้มอี ยูเ่ ลย” ดังนี้ เปน็ ตน้ (๓) เป็นผู้มีความเห็นผิด มีทัสสนะวิปริตว่า “ทานทใ่ี หแ้ ลว้ ไมม่ ี (ผล) ยญั ทบ่ี ชู าแลว้ ไมม่ ี (ผล) การบชู า ทบ่ี ชู าแลว้ ไมม่ ี (ผล) ผลวบิ ากแหง่ กรรมทส่ี ตั วท์ �ำ ดที �ำ ชว่ั ไม่มี โลกนี้ ไม่มี โลกอื่น ไม่มี มารดา ไม่มี บิดา ไม่มี โอปปาตกิ ะสตั ว์ ไมม่ ี สมณพราหมณท์ ไ่ี ปแลว้ ปฏบิ ตั แิ ลว้ โดยชอบถึงกับกระทำ�ให้แจ้งโลกน้แี ละโลกอ่นื ด้วยปัญญา โดยชอบเอง แลว้ ประกาศใหผ้ อู้ น่ื รู้ กไ็ มม่ ”ี ดงั น.้ี จนุ ทะ ! อยา่ งนแ้ี ล เปน็ ความไมส่ ะอาดทางใจ ๓ อย่าง. จนุ ทะ ! เหลา่ นแ้ี ล เรยี กวา่ อกศุ ลกรรมบถ ๑๐. จนุ ทะ ! บุคคลประกอบด้วยอกุศลกรรมบถ ๑๐ เหล่าน้ี ลุกจากท่ีนอนตามเวลาแหง่ ตนแลว้ แมจ้ ะลบู แผ่นดนิ กเ็ ปน็ คนสะอาดไปไม่ได้ แม้จะไมล่ ูบแผน่ ดนิ ก็เป็นคนสะอาดไปไม่ได้ แม้จะจับโคมัยสด ก็เป็นคน สะอาดไปไม่ได้ แม้จะไม่จับโคมัยสด ก็เป็นคนสะอาด ไปไม่ได้ แม้จะจับหญ้าเขียว ก็เป็นคนสะอาดไปไม่ได้ 127
พุทธวจน - หมวดธรรม แม้จะไม่จับหญ้าเขียว ก็เป็นคนสะอาดไปไม่ได้ แม้จะ บำ�เรอไฟ ก็เป็นคนสะอาดไปไม่ได้ แม้จะไม่บำ�เรอไฟ ก็เป็นคนสะอาดไปไม่ได้ แม้จะไหว้ดวงอาทิตย์ ก็เป็น คนสะอาดไปไม่ได้ แม้จะไม่ไหว้ดวงอาทิตย์ ก็เป็นคน สะอาดไปไม่ได้ แม้จะลงน้ำ�ในเวลาเย็นเป็นคร้ังที่สาม ก็เป็นคนสะอาดไปไม่ได้ แม้จะไม่ลงน้ำ�ในเวลาเย็นเป็น ครงั้ ทีส่ าม ก็เป็นคนสะอาดไปไม่ได.้ ข้อนั้นเพราะเหตไุ ร ? จุนทะ ! เพราะเหตุว่า อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการเหล่านี้ เป็นตวั ความไมส่ ะอาด และเป็นเครื่อง กระทำ�ความไมส่ ะอาด. จนุ ทะ ! อนง่ึ เพราะมกี ารประกอบดว้ ยอกศุ ล- กรรมบถทั้ง ๑๐ ประการเหล่านี้เป็นเหตุ นรกย่อม ปรากฏ กำ�เนิดเดรัจฉานย่อมปรากฏ เปรตวิสัยย่อม ปรากฏ หรอื วา่ ทุคตใิ ดๆ แมอ้ ื่นอีก ย่อมม.ี 128
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ปฐมธรรม กศุ ลกรรมบถ ๑๐ ๔๘ -บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๒๘๓-๒๘๙/๑๖๕. จนุ ทะ ! ความสะอาดทางกายมี ๓ อยา่ ง ความสะอาดทางวาจามี ๔ อย่าง ความสะอาดทางใจมี ๓ อย่าง จุนทะ ! ความสะอาดทางกายมี ๓ อย่างนั้น เป็นอย่างไรเลา่ ? (๑) บุคคลบางคนในกรณีนี้ ละการทำ�สัตว์ มีชีวิตให้ตกล่วง เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้ วางศสั ตรา มคี วามละอาย ถงึ ความเอน็ ดกู รณุ าเกอ้ื กลู แก่ สัตวท์ ัง้ หลายอยู่. (๒) ละการถือเอาส่ิงของที่เจ้าของมิได้ให้ เว้นขาดจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้ ไม่ถือเอา ทรพั ยแ์ ละอปุ กรณแ์ หง่ ทรพั ยอ์ นั เจา้ ของไมไ่ ดใ้ ห้ ในบา้ นกด็ ี ในป่าก็ดี ด้วยอาการแห่งขโมย. (๓) ละการประพฤติผิดในกาม เว้นขาดจาก การประพฤตผิ ดิ ในกาม (คอื เวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ) ในหญงิ ซง่ึ มารดารกั ษา บิดารักษา พนี่ ้องชาย พนี่ ้องหญิง หรือ 129
พุทธวจน - หมวดธรรม ญาติรักษา อนั ธรรมรักษา เป็นหญิงมสี ามี หญิงอยูใ่ น สนิ ไหม โดยที่สดุ แม้หญิงอันเขาหมน้ั ไว้ (ดว้ ยการคลอ้ ง มาลัย) ไมเ่ ปน็ ผ้ปู ระพฤติผิดจารีตในรูปแบบเหล่านัน้ . จนุ ทะ ! อย่างนี้แล เป็นความสะอาดทางกาย ๓ อย่าง. จนุ ทะ ! ความสะอาดทางวาจา มี ๔ อยา่ ง นน้ั เป็นอยา่ งไรเลา่ ? (๑) บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ ละมุสาวาท เว้น ขาดจากมุสาวาท ไปสู่สภาก็ดี ไปสู่บริษัทก็ดี ไปสู่ ท่ามกลางหมู่ญาติก็ดี ไปสู่ท่ามกลางศาลาประชาคมก็ดี ไปส่ทู ่ามกลางราชสกุลก็ดี อนั เขานำ�ไปเปน็ พยาน ถามว่า “บุรุษผูเ้ จริญ ! ทา่ นรอู้ ย่างไร ทา่ นจงกลา่ วไปอยา่ งน้นั ” ดังนี้ บรุ ุษนัน้ เมือ่ ไมร่ ู้กก็ ลา่ ววา่ ไมร่ ู้ เมอ่ื ร้กู ก็ ลา่ ววา่ รู้ เมื่อไม่เห็นก็กล่าวว่าไม่เห็น เมื่อเห็นก็กล่าวว่าเห็น เพราะเหตตุ นเอง เพราะเหตุผ้อู ื่น หรือเพราะเหตุเหน็ แก่ อามิสไรๆ กไ็ มเ่ ปน็ ผกู้ ล่าวเทจ็ ทงั้ ท่ีรอู้ ย.ู่ (๒) ละคำ�ส่อเสียด เว้นขาดจากการส่อเสียด ได้ฟงั จากฝ่ายน้แี ลว้ ไม่เก็บไปบอกฝา่ ยโน้น เพื่อแตกจาก ฝา่ ยนี้ หรือไดฟ้ ังจากฝา่ ยโนน้ แล้วไมเ่ กบ็ มาบอกแก่ฝ่ายน้ี 130
เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฐมธรรม เพ่ือแตกจากฝ่ายโน้น แต่จะสมานคนที่แตกกันแล้วให้ กลับพร้อมเพรียงกัน อุดหนุนคนท่ีพร้อมเพรียงกันอยู่ ใหพ้ รอ้ มเพรยี งกนั ยง่ิ ขน้ึ เปน็ คนชอบในการพรอ้ มเพรยี ง เป็นคนยินดีในการพร้อมเพรียง เป็นคนพอใจในการ พร้อมเพรียง กล่าวแต่วาจาทท่ี �ำ ให้พรอ้ มเพรยี งกัน. (๓) ละการกล่าวคำ�หยาบเสีย เว้นขาดจาก การกล่าวคำ�หยาบ กล่าวแต่วาจาที่ไม่มีโทษ เสนาะโสต ให้เกิดความรัก เป็นคำ�ฟูใจ เป็นคำ�สุภาพท่ีชาวเมือง เขาพูดกัน เป็นที่ใคร่ที่พอใจของมหาชน กล่าวแต่วาจา เช่นนั้นอยู่. (๔) ละค�ำ พดู เพอ้ เจอ้ เวน้ ขาดจากค�ำ พดู เพอ้ เจอ้ กล่าวแตใ่ นเวลาอนั สมควร กลา่ วแตค่ �ำ จริง เป็นประโยชน์ เปน็ ธรรม เปน็ วนิ ยั กลา่ วแตว่ าจามที ต่ี ง้ั มหี ลกั ฐานทอ่ี า้ งองิ มเี วลาจบ ประกอบด้วยประโยชน์ สมควรแก่เวลา. จนุ ทะ ! อยา่ งนแี้ ล เปน็ ความสะอาดทางวาจา ๔ อยา่ ง. จุนทะ ! ความสะอาดทางใจ มี ๓ อย่าง เป็น อยา่ งไรเลา่ ? 131
พุทธวจน - หมวดธรรม (๑) บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ เปน็ ผไู้ ม่มากด้วย อภิชฌา คือเป็นผไู้ มโ่ ลภ เพ่งเลง็ วตั ถอุ ุปกรณ์แห่งทรัพย์ ของผู้อน่ื ว่า “สิง่ ใดเป็นของผ้อู นื่ สงิ่ น้นั จงเป็นของเรา” ดังน้ี. (๒) เป็นผไู้ มม่ จี ติ พยาบาท มีความดำ�ริแห่งใจ อันไมป่ ระทษุ รา้ ยวา่ “สัตว์ท้งั หลาย จงเป็นผู้ไมม่ เี วร ไมม่ ี ความเบียดเบียน ไมม่ ีทกุ ข์ มสี ขุ บรหิ ารตนอยูเ่ ถิด” ดังนี้ เป็นตน้ . (๓) เป็นผู้มีความเห็นถูกต้อง มีทัสสนะไม่ วปิ รติ วา่ “ทานท่ใี ห้แลว้ มี (ผล) ยญั ทบ่ี ชู าแล้ว มี (ผล) การบชู าทบ่ี ชู าแลว้ มี (ผล) ผลวบิ ากแหง่ กรรมทส่ี ตั วท์ �ำ ดี ท�ำ ชว่ั มี โลกอน่ื มี มารดา มี บดิ า มี โอปปาตกิ สตั ว์ มี สมณพราหมณ์ท่ไี ปแลว้ ปฏบิ ัตแิ ลว้ โดยชอบ ถึงกับกระทำ� ให้แจง้ โลกน้ีและโลกอ่ืน ด้วยปัญญาโดยชอบเอง แล้ว ประกาศใหผ้ ู้อน่ื รู้ ก็มี” ดังน.ี้ จุนทะ ! อย่างนี้แล เป็นความสะอาดทางใจ ๓ อยา่ ง. จนุ ทะ ! เหลา่ นแ้ี ล เรยี กวา่ กศุ ลกรรมบถ ๑๐. 132
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฐมธรรม จนุ ทะ ! บคุ คลประกอบดว้ ยกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ประการเหล่านี้ ลกุ จากท่ีนอนตามเวลาแห่งตนแล้ว แมจ้ ะ ลูบแผน่ ดิน กเ็ ป็นคนสะอาด แมจ้ ะไม่ลบู แผ่นดิน ก็เปน็ คนสะอาด แมจ้ ะจับโคมัยสด กเ็ ปน็ คนสะอาด แม้จะไม่ จบั โคมัยสด ก็เปน็ คนสะอาด แม้จะจบั หญ้าเขยี ว กเ็ ป็น คนสะอาด แมจ้ ะไม่จบั หญา้ เขยี ว กเ็ ปน็ คนสะอาด แมจ้ ะ บ�ำเรอไฟ กเ็ ปน็ คนสะอาด แมจ้ ะไมบ่ �ำเรอไฟ กเ็ ป็นคน สะอาด แม้จะไหว้พระอาทิตย์ ก็เป็นคนสะอาด แม้จะ ไม่ไหวพ้ ระอาทิตย์ กเ็ ปน็ คนสะอาด แม้จะลงนำ้� ในเวลา เย็นเปน็ ครงั้ ทส่ี ามกเ็ ปน็ คนสะอาด แมจ้ ะไม่ลงน�้ำในเวลา เย็นเป็นครง้ั ทีส่ าม กเ็ ปน็ คนสะอาด. ขอ้ นน้ั เพราะเหตุไร ? จุนทะ ! เพราะเหตวุ า่ กศุ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ เหล่าน้ี เป็นตัวความสะอาด และเป็นเคร่ืองกระทำ� ความสะอาด. จุนทะ ! อน่ึง เพราะมีการประกอบด้วย กุศลกรรมบถท้ัง ๑๐ ประการเหล่าน้ี เป็นเหตุ พวกเทพจึงปรากฏ หรือวา่ สุคติใดๆ แม้อื่นอกี ยอ่ มม.ี 133
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม 134
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม อานสิ งส์สำ�หรบั ผทู้ �ำ ศีลให้บรบิ ูรณ ์ ๔๙ -บาลี มู. ม. ๑๒/๕๘/๗๓. ภิกษุท้ังหลาย ! เธอท้ังหลาย จงมีศีลสมบูรณ์ มปี าติโมกขส์ มบรู ณอ์ ยู่เถดิ พวกเธอทั้งหลาย จงส�ำ รวม ดว้ ยปาตโิ มกขสงั วร สมบรู ณด์ ว้ ยมรรยาทและโคจรอยเู่ ถดิ จงเป็นผู้เห็นเป็นภัยในโทษท้ังหลายที่มีประมาณน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลายเถิด. ภิกษุทั้งหลาย ! ถา้ ภกิ ษหุ ากจ�ำ นงวา่ “เราพงึ เปน็ ที่รัก ท่ีเจรญิ ใจ ทีเ่ คารพ ทย่ี กยอ่ ง ของเพื่อนผูป้ ระพฤติ พรหมจรรย์ด้วยกันทั้งหลาย” ดังน้ีแล้ว เธอพึงทำ�ให้ บริบูรณ์ในศีลทั้งหลาย พึงตามประกอบในธรรมเป็น เคร่ืองสงบแห่งจิตในภายใน เป็นผู้ไม่เหินห่างในฌาน เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา และให้วัตรแห่งผู้อยู่ สุญญาคารท้ังหลาย เจรญิ งอกงามเถิด. ภิกษุท้ังหลาย ! ถา้ ภกิ ษหุ ากจ�ำ นงวา่ “เราพงึ เปน็ ผมู้ ีลาภด้วยบริขารคือ จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คลิ านปจั จัยเภสชั บรขิ ารทง้ั หลาย” ดงั นกี้ ็ดี ...ฯลฯ... 135
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เรา บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคลิ านปจั จัยเภสชั - บรขิ ารของทายกเหลา่ ใด การกระท�ำ เหลา่ นน้ั พงึ มผี ลมาก มอี านสิ งส์มากแกท่ ายกเหล่านน้ั ” ดังน้กี ด็ ี ...ฯลฯ... ภิกษุท้ังหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “ญาติ สายโลหิตท้ังหลาย ซึ่งตายจากกันไปแล้ว มีจิตเล่ือมใส ระลึกถึงเราอยู่ ข้อน้ันจะพึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก แก่เขาเหล่านน้ั ” ดังนก้ี ็ด ี ...ฯลฯ... ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง อดทนได้ซง่ึ ความไมย่ ินดแี ละความยินดี อน่ึง ความไม่ ยนิ ดอี ยา่ เบียดเบียนเรา เราพงึ ครอบงำ�ยำ่�ยีความไมย่ ินดี ซึง่ ยงั เกิดขนึ้ แล้วอยูเ่ ถิด” ดังนี้ก็ด ี ...ฯลฯ... ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง อดทนความขลาดกลัวได้ อนึ่ง ความขลาดกลัวอย่า เบียดเบียนเรา เราพึงครอบงำ�ย่ำ�ยีความขลาดกลัว ทบี่ งั เกิดข้ึนแลว้ อยเู่ ถิด” ดังน้ีกด็ ี ...ฯลฯ... ภิกษุท้ังหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง ได้ตามต้องการ ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำ�บาก ซึ่งฌานทั้งส่ี 136
เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม อันเป็นไปในจิตอันยิ่ง เป็นทิฏฐธรรมสุขวิหาร” ดังนี้ก็ดี ...ฯลฯ... ภิกษุท้ังหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง เป็นโสดาบัน เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำ�เป็นธรรมดา ผู้เท่ียงต่อพระนิพพาน มกี ารตรสั รู ้ อย่ขู า้ งหนา้ ” ดังนี้กด็ ี ...ฯลฯ... ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง เป็นสกทาคามี เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะ โทสะ และโมหะ พึงมาสู่เทวโลกอีกครั้งเดียวเท่านั้น แล้วพึงทำ�ท่ีสุด แหง่ ทุกข์ได้” ดงั น้กี ็ด ี ...ฯลฯ... ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง เป็นโอปปาติกะ (พระอนาคามี) เพราะความส้ินไปแห่ง สังโยชน์เบื้องตำ่�ห้า พึงปรินิพพานในภพน้ัน ไม่กลับ จากโลกน้นั เปน็ ธรรมดา” ดงั นีก้ ด็ ี ...ฯลฯ... ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง แสดงอิทธิวธิ มี อี ยา่ งตา่ งๆ ได้” ดังน้กี ็ด ี ...ฯลฯ... 137
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง มที พิ ยโสต” ดงั น้ีกด็ ี ...ฯลฯ... ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เรา ใคร่ครวญแล้ว พึงรู้จิตของสัตว์เหล่าอ่ืน ของบุคคล เหล่าอ่ืน ด้วยจิตของตน” ดังน้ีก็ด ี ...ฯลฯ... ภิกษุท้ังหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง ตามระลกึ ถึงภพทีเ่ คยอยใู่ นกาลกอ่ นได้หลายๆ อยา่ ง...” ดังน้ีก็ด ี ...ฯลฯ.. ภิกษุท้ังหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง เห็นสัตว์ท้ังหลายด้วยจักษุทิพย์ อันหมดจดเกินจักษุ สามญั ของมนุษย์” ดงั นกี้ ด็ ี ...ฯลฯ... ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าภิกษุหากจำ�นงว่า “เราพึง ทำ�ให้แจ้งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะทง้ั หลาย ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เอง ในทิฏฐธรรมเทยี วเขา้ ถึงแลว้ แลอย”ู่ ดงั นี้ก็ดี เธอพึงทำ�ให้บริบูรณ์ในศีลท้ังหลาย พึงตาม ประกอบในธรรมเป็นเครื่องสงบแห่งจิตในภายใน เปน็ ผไู้ มเ่ หนิ หา่ งในฌานประกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยวปิ สั สนา และใหว้ ตั รแหง่ ผอู้ ยสู่ ญุ ญาคารทง้ั หลายเจรญิ งอกงามเถดิ . 138
เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม ค�ำ ใดทเ่ี ราผูต้ ถาคตกล่าวแล้วว่า “ภิกษทุ ั้งหลาย ! เธอท้ังหลาย จงมศี ีลสมบูรณ์ มปี าตโิ มกข์สมบรู ณ์อยเู่ ถดิ เธอทั้งหลาย จงสำ�รวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณด์ ว้ ยมรรยาทและโคจรอยเู่ ถดิ จงเป็นผู้เห็นเป็นภัยในโทษท้ังหลายที่มีประมาณเล็กน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททงั้ หลายเถดิ ” ดงั น้ี. ค�ำ นนั้ อนั เราตถาคต อาศัยเหตผุ ลดงั กลา่ วน้ีแล จึงได้กล่าวแลว้ . 139
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ปฐมธรรม ผลของการมศี ลี ๕๐ -บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๓๑๑/๑๙๓. ภิกษุท้ังหลาย ! สัตว์ท้ังหลายเป็นผู้มีกรรม เปน็ ของตน เปน็ ทายาทแห่งกรรม มกี รรมเปน็ ก�ำ เนดิ มีกรรมเป็นเผ่าพันธ์ุ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กระทำ� กรรมใดไว้ ดกี ต็ ามชว่ั กต็ าม จกั เปน็ ผรู้ บั ผลแหง่ กรรมนน้ั . ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลบางคน ในกรณีนี้ ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้ วางศัสตรา มคี วามละอาย ถงึ ความเอน็ ดกู รุณาเก้ือกลู แก่ สตั วท์ ง้ั หลาย. เขาไมก่ ระเสอื กกระสนดว้ ย (กรรมทาง) กาย ไมก่ ระเสอื กกระสนดว้ ย (กรรมทาง) วาจา ไมก่ ระเสอื กกระสน ด้วย (กรรมทาง) ใจ กายกรรมของเขาตรง วจีกรรมของ เขาตรง มโนกรรมของเขาตรง คติของเขาตรง อุปบัติ ของเขาตรง. ภิกษุท้ังหลาย ! ส�ำ หรบั ผมู้ คี ตติ รง มอี ปุ บตั ติ รงนน้ั เรากลา่ วคตอิ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ในบรรดาคตสิ องอยา่ งแกเ่ ขา คือ เหล่าสัตว์ผ้มู ีสุขโดยส่วนเดียว หรือว่าตระกูลอันสูง 140
เปิดธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม ตระกูลขัตติยมหาศาล ตระกูลพราหมณ์มหาศาล หรอื ตระกลู คหบดมี หาศาลอนั มง่ั คง่ั มที รพั ยม์ าก มโี ภคะมาก มีทองและเงินมาก มอี ุปกรณ์แห่งทรพั ยม์ าก... (ในกรณีแห่งบุคคลผู้ไม่กระทำ�อทินนาทาน ไม่กระทำ� กาเมสุมิจฉาจาร ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความอย่างเดียวกันกับ ในกรณีของผู้ไม่กระทำ�ปาณาติบาต ดังกล่าวมาแล้วข้างบน ทกุ ประการ). 141
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : ปฐมธรรม ผลของการไมม่ ีศีล ๕๑ -บาลี อฏก. อ.ํ ๒๓/๒๕๑/๑๓๐. ภิกษุทั้งหลาย ! ปาณาติบาต ท่ีเสพท่ัวแล้ว เจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื นรก เปน็ ไป เพื่อกำ�เนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย วิบากแห่ง ปาณาติบาตของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบากว่าวิบากทั้งปวง คอื วบิ ากทเ่ี ป็นไปเพื่อ มีอายสุ ้นั . ภิกษุท้ังหลาย ! อทินนาทาน ท่ีเสพท่ัวแล้ว เจรญิ แล้ว ทำ�ให้มากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื นรก เป็นไป เพ่ือกำ�เนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย วิบากแห่ง อทินนาทานของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบากว่าวิบากท้ังปวง คือ วิบากที่เปน็ ไปเพ่อื ความเสอื่ มแหง่ โภคทรพั ย.์ ภิกษทุ งั้ หลาย ! กาเมสมุ จิ ฉาจาร ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือนรก เป็นไปเพ่ือกำ�เนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย วิบากแห่งกาเมสุมิจฉาจารของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่า วบิ ากท้ังปวง คือ วบิ ากที่เป็นไปเพ่ือ ก่อเวรด้วยศัตร.ู 142
เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! มุสาวาท ท่ีเสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อนรก เป็น ไปเพ่ือกำ�เนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพ่ือเปรตวิสัย วิบาก แห่งมุสาวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากท้ังปวง คอื วบิ ากทีเ่ ป็นไปเพ่ือ การถูกกล่าวตดู่ ว้ ยคำ�ไมจ่ รงิ . ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! ปิสณุ าวาท (ค�ำ ยยุ งใหแ้ ตกกนั ) ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื นรก เป็นไปเพือ่ กำ�เนดิ เดรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย วิบาก แห่งปิสุณาวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากท้ังปวง คือ วิบากท่ีเป็นไปเพอ่ื การแตกจากมติ ร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ผรุสวาท (ค�ำ หยาบ) ทเ่ี สพท่วั แล้ว เจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือนรก เปน็ ไปเพอื่ กำ�เนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพ่อื เปรตวิสยั วบิ าก แห่งผรุสวาทของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบากว่าวิบากท้ังปวง คือ วิบากที่เปน็ ไปเพ่อื การไดฟ้ ังเสียงทไี่ มน่ า่ พอใจ. 143
พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุทั้งหลาย ! สัมผัปปลาปวาท (คำ�เพ้อเจอ้ ) ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื นรก เปน็ ไปเพือ่ กำ�เนดิ เดรจั ฉาน เปน็ ไปเพอ่ื เปรตวิสยั วิบาก แห่งสัมผัปปลาปวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบาก ทงั้ ปวง คอื วบิ ากทเี่ ป็นไปเพือ่ วาจาทีไ่ มม่ ีใครเชอ่ื ถือ. ภิกษุท้ังหลาย ! การดม่ื น�ำ้ เมาคอื สรุ าและเมรยั ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื นรก เปน็ ไปเพอื่ ก�ำ เนดิ เดรัจฉาน เปน็ ไปเพื่อเปรตวิสยั วบิ าก แหง่ การดม่ื น�ำ้ เมาของผเู้ ปน็ มนษุ ยท์ เ่ี บากวา่ วบิ ากทง้ั ปวง คอื วบิ ากท่ีเปน็ ไปเพอื่ ความเปน็ บ้า (อุมฺมตฺตก). 144
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : ปฐมธรรม ทำ�ดี ได้ด ี ๕๒ -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๓๗๗-๓๘๔/๕๘๓-๕๙๕. มาณพ ! บุคคลบางคนในโลกน้ีจะเป็นสตรี กต็ าม บรุ ษุ กต็ าม ละปาณาตบิ าตแลว้ เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจาก ปาณาติบาต วางอาชญา วางศัสตราได้ มคี วามละอาย ถงึ ความเอน็ ดู อนเุ คราะหด์ ว้ ยความเกอ้ื กลู ในสรรพสตั วแ์ ละ ภตู อยู่ เขาตายไป จะเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ เพราะกรรมนน้ั อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ มสมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี หากตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ถา้ มาเปน็ มนษุ ยเ์ กดิ ณ ทใ่ี ดๆ ในภายหลงั จะเป็นคนมีอายยุ ืน. มาณพ ! บุคคลบางคนในโลกน้ีจะเป็นสตรี ก็ตาม บุรุษก็ตาม เป็นผู้มีปกติไม่เบียดเบียนสัตว์ ด้วยฝ่ามือ หรือก้อนดิน หรือท่อนไม้ หรือศัสตรา เขาตายไป จะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะกรรมน้ัน อันเขาให้พรั่งพร้อมสมาทานไว้อย่างนี้ หากตายไป ไมเ่ ข้าถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ถ้ามาเปน็ มนุษยเ์ กิด ณ ทใี่ ดๆ ในภายหลัง จะเป็นคนมโี รคนอ้ ย. 145
พุทธวจน - หมวดธรรม มาณพ ! บุคคลบางคนในโลกนี้จะเป็นสตรี ก็ตาม บรุ ุษกต็ าม ยอ่ มเปน็ ผู้ใหข้ า้ ว น�้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เคร่อื งลบู ไล้ ที่นอน ทอ่ี ยอู่ าศยั เครอ่ื งตาม ประทีปแก่สมณะหรือพราหมณ์ เขาตายไป จะเข้าถึง สุคติโลกสวรรค์ เพราะกรรมน้ัน อันเขาให้พร่ังพร้อม สมาทานไว้อยา่ งนี้ หากตายไป ไมเ่ ข้าถึงสคุ ติโลกสวรรค์ ถา้ มาเปน็ มนุษยเ์ กิด ณ ท่ีใดๆ ในภายหลัง จะเปน็ คน มโี ภคทรัพย์มาก. มาณพ ! บุคคลบางคนในโลกนี้จะเป็นสตรี ก็ตาม บุรุษก็ตาม เป็นคนไม่มักโกรธ ไม่มากด้วย ความแค้นเคือง ถูกเขาว่ามากก็ไม่ขัดใจ ไม่โกรธเคือง ไม่พยาบาท ไมม่ าดรา้ ย ไม่ทำ�ความโกรธ ความร้าย และ ความขง้ึ เคยี ดใหป้ รากฏ เขาตายไป จะเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ เพราะกรรมน้ัน อันเขาให้พร่ังพร้อมสมาทานไว้อย่างน้ี หากตายไป ไม่เข้าถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ถ้ามาเปน็ มนษุ ย์ เกิด ณ ทีใ่ ดๆ ในภายหลัง จะเปน็ คนน่าเล่อื มใส. 146
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฐมธรรม มาณพ ! บุคคลบางคนในโลกนี้จะเป็นสตรี ก็ตาม บุรุษก็ตาม เป็นผู้มีใจไม่ริษยา ย่อมไม่ริษยา ไม่มุ่งร้าย ไม่ผูกใจอิจฉาในลาภสักการะ ความเคารพ ความนบั ถือ การไหว้ และการบูชาของคนอนื่ เขาตายไป จะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะกรรมนั้น อันเขาให้ พรั่งพร้อมสมาทานไว้อย่างนี้ หากตายไปไม่เข้าถึง สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ถา้ มาเปน็ มนษุ ยเ์ กดิ ณ ทใ่ี ดๆ ในภายหลงั จะเปน็ คนมศี ักดามาก. มาณพ ! บุคคลบางคนในโลกน้ีจะเป็นสตรี ก็ตาม บรุ ษุ ก็ตาม เป็นคนไมก่ ระด้าง ไมเ่ ย่อหยงิ่ ยอ่ ม กราบไหวค้ นทค่ี วรกราบไหว้ ลกุ รบั คนทค่ี วรลกุ รบั ใหอ้ าสนะ แก่คนที่สมควรแกอ่ าสนะ ใหท้ างแก่คนท่ีสมควรแกท่ าง สกั การะคนทคี่ วรสกั การะ เคารพคนทค่ี วรเคารพ นับถอื คนทคี่ วรนับถือ บูชาคนท่คี วรบชู า เขาตายไป จะเข้าถงึ สุคติโลกสวรรค์ เพราะกรรมน้ัน อันเขาให้พรั่งพร้อม สมาทานไว้อยา่ งนี้ หากตายไป ไม่เขา้ ถึงสุคติโลกสวรรค์ ถา้ มาเกิดเป็นมนษุ ยเ์ กดิ ณ ทีใ่ ดๆ ในภายหลงั จะเปน็ คนเกดิ ในสกุลสูง. 147
พุทธวจน - หมวดธรรม มาณพ ! บุคคลบางคนในโลกนี้จะเป็นสตรี ก็ตาม บุรุษก็ตาม ย่อมเป็นผู้เข้าไปหาสมณะหรือ พราหมณแ์ ลว้ สอบถามวา่ อะไรเปน็ กศุ ล อะไรเปน็ อกศุ ล อะไรมโี ทษ อะไรไมม่ ีโทษ อะไรควรเสพ อะไรไม่ควรเสพ อะไรเมอ่ื ท�ำ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ไมเ่ กอ้ื กลู เพอ่ื ทกุ ขส์ น้ิ กาลนาน หรอื ว่าอะไรเม่ือท�ำ ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ประโยชน์เกื้อกลู เพื่อ ความสขุ สิน้ กาลนาน เขาตายไป จะเขา้ ถึงสุคตโิ ลกสวรรค์ เพราะกรรมน้ัน อันเขาให้พร่ังพร้อมสมาทานไว้อย่างน้ี หากตายไป ไมเ่ ข้าถงึ สคุ ติโลกสวรรค์ ถา้ มาเปน็ มนุษย์ เกิด ณ ท่ีใดๆ ในภายหลัง จะเปน็ คนมีปญั ญามาก. 148
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ปฐมธรรม ธรรมดาของโลก ๕๓ -บาลี อฏก. อ.ํ ๒๓/๑๕๙/๙๖. มลี าภ เส่ือมลาภ มียศ เส่อื มยศ นนิ ทา สรรเสริญ สขุ และ ทกุ ข์ แปดอย่างนเ้ี ปน็ ส่ิงทไ่ี มเ่ ทีย่ งในหมู่มนุษย์ ไม่ย่ังยืนมคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา. ผู้มปี ัญญา มสี ติ รคู้ วามขอ้ นแี้ ลว้ ย่อมเพ่งอยใู่ นความแปรปรวน เป็นธรรมดาของโลกธรรมนนั้ . 149
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ปฐมธรรม กรรมท่ีท�ำ ให้ไดร้ ับผล ๕๔ เปน็ ความไมต่ กต่ำ� -บาลี อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๔๐/๒๐๐. ภิกษุท้ังหลาย ! แต่ชาติที่แล้วมาแต่อดีต ตถาคตได้เคยเจริญเมตตาภาวนาตลอด ๗ ปี จึงไม่ เคยมาบังเกิดในโลกมนุษย์น้ี ตลอด ๗ สังวัฏฏกัปป์ และวิวัฏฏกัปป์ ในระหว่างกาลอันเป็นสังวัฏฏกัปป์น้ัน เราได้บังเกิดในอาภัสสรพรหม ในระหว่างกาลอันเป็น ววิ ฏั ฏกปั ป์นัน้ เราก็ได้อยู่พรหมวมิ านอันวา่ งเปลา่ แล้ว. ภิกษุท้ังหลาย ! ในกัปป์น้ัน เราได้เคยเป็น พรหม ไดเ้ คยเปน็ มหาพรหมผยู้ ง่ิ ใหญ่ ไมม่ ใี ครครอบง�ำ ได้ เปน็ ผเู้ หน็ สง่ิ ทง้ั ปวงโดยเดด็ ขาด เปน็ ผมู้ อี �ำ นาจสงู สดุ . ภิกษุทั้งหลาย ! เราได้เคยเป็นสักกะ ผู้เป็น จอมแห่งเทวดา นับได้ ๓๖ คร้ัง เราได้เคยเป็น ราชาจักรพรรดิผู้ประกอบด้วยธรรม เป็นพระราชา โดยธรรม มแี วน่ แควน้ จรดมหาสมุทรท้งั ๔ เปน็ ท่สี ุด เป็นผู้ชนะแล้วอย่างดี มีชนบทอันบริบูรณ์ประกอบด้วย แกว้ เจด็ ประการ นบั ดว้ ยรอ้ ยๆ ครง้ั ท�ำ ไมจะตอ้ งกลา่ วถงึ ความเปน็ ราชาตามธรรมดาด้วย. 150
เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! ความคิดได้เกิดขึ้นแก่เราว่า ผลวบิ ากแห่งกรรมอะไรของเราหนอ ทีท่ �ำ ใหเ้ ราเป็นผ้มู ี ฤทธม์ิ ากถงึ อยา่ งน้ี มอี านภุ าพมากถงึ อยา่ งน้ี ในครง้ั นน้ั ๆ. ภิกษุท้ังหลาย ! ความรู้สึกได้เกิดขึ้นแก่เราว่า ผลวิบากแห่งกรรม ๓ อย่างนแ้ี ล ท่ที ำ�ใหเ้ รามีฤทธิ์มาก ถงึ อย่างน ี้ มีอานภุ าพมากถึงอย่างนี้ วบิ ากแห่งกรรม ๓ อยา่ ง ในครงั้ นั้น คอื (๑) ผลวิบากแหง่ ทาน การให้ (๒) ผลวบิ ากแหง่ ทมะ การบีบบงั คบั ใจ (๓) ผลวิบากแหง่ สัญญมะ การสำ�รวมระวัง ดงั น.ี้ 151
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม ทานทีใ่ หแ้ ล้วในสงฆ์แบบใด ๕๕ จงึ มีผลมาก -บาลี อฏก. อํ. ๒๓/๓๐๑/๑๔๙. ภิกษุทงั้ หลาย ! บุคคล ๘ จ�ำ พวกเหล่าน้ี เป็นผคู้ วรแกข่ องบชู า ควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่ของทำ�บุญ ควรทำ�อัญชลี เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ๘ จำ�พวกอะไรบ้างเล่า ? ๘ จำ�พวก คือ (๑) พระโสดาบนั (๒) พระผูป้ ฏบิ ัติเพือ่ ทำ�ใหแ้ จง้ โสดาปตั ติผล (๓) พระสกทาคาม ี (๔) พระผปู้ ฏิบัตเิ พ่อื ท�ำ ให้แจ้งสกทาคามิผล (๕) พระอนาคามี (๖) พระผู้ปฏิบตั เิ พอ่ื ทำ�ให้แจ้งอนาคามผิ ล (๗) พระอรหนั ต ์ (๘) พระผปู้ ฏิบตั เิ พ่อื ความเป็นอรหนั ต์ 152
เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : ปฐมธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! บคุ คล ๘ จ�ำ พวกเหลา่ นแ้ี ล เปน็ ผคู้ วรแกข่ องบชู า ควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่ของทำ�บุญ ควรทำ�อัญชลี เปน็ เนอ้ื นาบญุ ของโลกไมม่ นี าบญุ อน่ื ยิ่งกว่า. “ผู้ปฏบิ ตั ิแลว้ ๔ จ�ำ พวก และผูต้ ้งั อย่ใู นผลแลว้ ๔ จ�ำ พวก นี่แหละ ! สงฆ์ทเี่ ป็นคนตรง เปน็ ผ้ตู ้ังม่นั แลว้ ในปญั ญาและศีล ยอ่ มกระท�ำ ใหเ้ กดิ บญุ อน่ื เนอ่ื งดว้ ยอปุ ธแิ กม่ นษุ ยท์ ง้ั หลาย ผมู้ คี วามตอ้ งการดว้ ยบุญ กระท�ำ การบชู าอยู่ ทานที่ใหแ้ ลว้ ในสงฆ์ จงึ มีผลมาก”. 153
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม ผ้ปู ระสบบญุ ใหญ ่ ๕๖ -บาลี ปญจฺ ก. อํ. ๒๒/๒๗๑/๑๙๙. ภกิ ษุท้ังหลาย ! นกั บวชผมู้ ศี ลี เขา้ ไปสสู่ กลุ ใด มนุษย์ทงั้ หลายในสกลุ นนั้ ย่อมประสบบญุ เปน็ อันมาก ดว้ ยฐานะ ๕ อย่าง. ฐานะ ๕ อยา่ ง อะไรบา้ งเล่า ? ๕ อยา่ ง คอื (๑) ในสมัยใด จิตของมนษุ ย์ทงั้ หลาย ยอ่ ม เลื่อมใส เพราะได้เห็นนักบวชผู้มีศีล ซึ่งเข้าไปสู่สกุล ในสมยั นน้ั สกุลนัน้ ช่ือว่า ปฏิบัตขิ ้อปฏิบัตทิ ี่เปน็ ไปเพ่ือ สวรรค.์ (๒) ในสมยั ใด มนุษย์ทั้งหลาย พากนั ตอ้ นรับ กราบไหว้ ให้อาสนะแก่นกั บวชผ้มู ีศลี ซ่งึ เขา้ ไปสสู่ กลุ ในสมัยนน้ั สกุลนนั้ ช่ือวา่ ปฏิบัติขอ้ ปฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ ไปเพื่อ การเกิดในสกุลสูง. (๓) ในสมัยใด มนษุ ย์ทัง้ หลาย ก�ำ จดั มลทิน คอื ความตระหนเ่ี สยี ไดใ้ นนกั บวชผมู้ ศี ลี ซง่ึ เขา้ ไปสสู่ กลุ ในสมยั นน้ั สกุลนั้น ช่ือวา่ ปฏิบตั ิข้อปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นไปเพอ่ื การได้เกียรติศักดอ์ิ นั ใหญ.่ 154
เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ปฐมธรรม (๔) ในสมยั ใด มนษุ ยท์ ง้ั หลาย ยอ่ มแจกจา่ ยทาน ตามสติ ตามกำ�ลังในนักบวชผู้มีศีล ซ่ึงเข้าไปสู่สกุล ในสมัยนน้ั สกุลน้ัน ชื่อว่า ปฏิบัติขอ้ ปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นไปเพอ่ื การได้โภคทรพั ยใ์ หญ.่ (๕) ในสมยั ใด มนุษยท์ ั้งหลาย ย่อมไตถ่ าม สอบสวน ยอ่ มฟงั ธรรมในนกั บวชผมู้ ศี ลี ซง่ึ เขา้ ไปสสู่ กลุ ในสมยั น้ัน สกลุ นัน้ ชือ่ วา่ ปฏิบตั ขิ อ้ ปฏิบัติท่ีเปน็ ไปเพอ่ื การได้ปญั ญาใหญ.่ ภกิ ษุทง้ั หลาย ! นกั บวชผ้มู ีศีล เขา้ ไปสสู่ กลุ ใด มนษุ ยท์ ั้งหลายในสกุลนนั้ ย่อมประสบบุญเปน็ อันมาก ดว้ ยฐานะ ๕ อยา่ งเหล่านี้ แล. 155
ธรรมะกับการสอบ
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม ต้องขึงสายพิณพอเหมาะ ๕๗ -บาลี ฉกฺก. อํ ๒๒/๔๑๘/๓๒๖. โสณะ ! เธอมีความคิดในเรื่องนี้ เป็นอย่างไร เมอ่ื ก่อนแตค่ รั้งเธอยงั เปน็ คฤหัสถ์ เธอเชย่ี วชาญในเรอ่ื ง เสียงแหง่ พิณ มิใชห่ รือ ? “เปน็ เช่นน้ี พระเจา้ ขา้ !”. โสณะ ! เธอจะสำ�คัญข้อน้ันเป็นไฉน เม่ือใด สายพิณของเธอขึงตึงเกินไป เม่ือน้ัน พิณของเธอจะมี เสียงไพเราะนา่ ฟงั หรอื จะใช้การไดห้ รอื ? “ไม่เป็นเชน่ นน้ั พระเจ้าข้า !”. โสณะ ! เธอจะสำ�คัญข้อน้ันเป็นไฉน เมื่อใด สายพณิ ของเธอขึงหยอ่ นเกนิ ไป เมอ่ื นัน้ พณิ ของเธอจะมี เสยี งไพเราะน่าฟงั หรอื จะใช้การไดห้ รอื ? “ไมเ่ ป็นเช่นนัน้ พระเจ้าขา้ !”. โสณะ ! แตว่ า่ เมอ่ื ใด สายพณิ ของเธอ ไมต่ งึ นกั หรือไม่หย่อนนัก ขึงได้ระเบียบเสมอๆ กันแต่พอดี เมอ่ื นน้ั พณิ ของเธอยอ่ มมเี สยี งไพเราะนา่ ฟงั หรอื ใชก้ ารไดด้ ี มใิ ช่หรอื ? “เป็นเช่นนั้น พระเจา้ ขา้ !”. 158
เปิดธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม โสณะ ! ขอ้ นีก้ ็เป็นเช่นนัน้ แล กล่าวคอื ความเพยี รท่ีบคุ คลปรารภจัดเกินไป ย่อมเปน็ ไปเพ่ือความฟุง้ ซา่ น ยอ่ หย่อนเกินไป ย่อมเปน็ ไปเพ่อื ความเกยี จคร้าน. โสณะ ! เหตผุ ลนน้ั แล เธอจงต้ังความเพียรแต่พอดี จงเขา้ ใจความทอ่ี ินทรยี ์ท้งั หลาย ต้องเป็นธรรมชาติท่เี สมอๆ กัน จงกำ�หนดหมายในความพอดนี ั้นไวเ้ ถิด. “พระเจ้าขา้ ! ข้าพระองค์จกั ปฏิบตั ิอย่างนน้ั ”. 159
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ปฐมธรรม ผู้เห็นแก่นอน ๕๘ -บาลี ฉกกฺ . อํ. ๒๒/๓๓๓/๒๘๘. ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอท้ังหลาย จะเข้าใจ เรอ่ื งน้ีกันอยา่ งไร ? พวกเธอเคยได้เหน็ ได้ฟังมาบ้างหรอื วา่ พระราชา ผเู้ ปน็ กษตั ริยไ์ ด้รับมรุ ธาภเิ ษกแลว้ ทรงประกอบความสขุ ในการประทม หาความสขุ ในการเอนพระวรกาย หาความสขุ ในการประทมหลับ ตามแต่พระประสงค์อยู่เนืองนิจ ยงั คงทรงปกครองราชสมบตั ใิ หเ้ ปน็ ทร่ี กั ใคร่ ถกู ใจพลเมอื ง จนตลอดพระชนม์ชีพไดอ้ ยู่หรือ ? “อย่างน้ี ไมเ่ คยไดเ้ ห็นได้ฟงั เลย พระเจ้าขา้ !”. ดแี ล้ว ภิกษุท้งั หลาย ! ขอ้ ที่กลา่ วน้ี แมเ้ ราเองก็ ไม่เคยไดเ้ หน็ ไดฟ้ งั อยา่ งนั้นเหมือนกัน. ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอทั้งหลาย จะเข้าใจ เร่อื งนกี้ ันอย่างไร ? พวกเธอเคยไดเ้ หน็ ไดฟ้ งั มาบา้ งหรอื วา่ ผคู้ รองรฐั กด็ ี ทายาทผ้สู ืบมรดกกด็ ี เสนาบดีก็ดี นายบ้านก็ดี และ หวั หนา้ หมบู่ า้ นกด็ ี ประกอบความสขุ ในการนอน หาความสขุ 160
เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : ปฐมธรรม ในการเอนกาย หาความสขุ ในการหลบั ตามสบายใจอยู่ เนืองนจิ ยงั คงดำ�รงตำ�แหน่งน้ันๆ ใหเ้ ปน็ ทรี่ ักใคร่ ถูกใจ ของ (ประชาชนทุกเหล่า) กระท่ังลูกหมู่ จนตลอดชีวิตได้ อยูห่ รือ ? “อยา่ งนี้ ไม่เคยได้เห็นได้ฟงั เลย พระเจา้ ข้า !”. ดแี ล้ว ภิกษุท้ังหลาย ! ข้อทก่ี ลา่ วนี้ แมเ้ ราเองก็ ไมเ่ คยได้เห็น ได้ฟัง อย่างนัน้ เหมอื นกัน. ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอทั้งหลาย จะเข้าใจ เรื่องน้กี ันอย่างไร ? พวกเธอเคยได้เห็นได้ฟังมาบ้างหรือว่า สมณะ หรือพราหมณ์ ที่เอาแต่ประกอบความสุขในการนอน หาความสขุ ในการเอนกาย หาความสุขในการหลบั ตาม สบายใจอยูเ่ สมอๆ ท้งั เป็นผ้ไู ม่คมุ้ ครองทวารในอินทรยี ์ ท้ังหลาย ไม่รปู้ ระมาณในการบรโิ ภค ไมต่ ามประกอบ ธรรมเปน็ เครอ่ื งตน่ื ไมเ่ หน็ แจม่ แจง้ ซง่ึ กศุ ลธรรมทง้ั หลาย ไมต่ ามประกอบการท�ำ เนอื งๆ ในโพธปิ กั ขิยธรรม ทงั้ ใน ยามต้นและยามปลาย แล้วยังจะกระทำ�ให้แจ้งได้ซึ่ง เจโตวมิ ุตติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั หาอาสวะมไิ ด้ เพราะความ 161
พุทธวจน - หมวดธรรม สน้ิ ไปแห่งอาสวะท้งั หลาย ดว้ ยปญั ญาอันประเสริฐยง่ิ เอง ในทฏิ ฐธรรมเทียว เขา้ ถึงแล้วแลอยู่ ? “ข้อน้ัน ก็ยงั ไมเ่ คยได้เห็นไดฟ้ ังเลย พระเจ้าข้า !”. ดีแล้ว ภิกษทุ ้ังหลาย ! ขอ้ ทก่ี ลา่ วถงึ น้ี แมเ้ ราเอง กไ็ มเ่ คยได้เหน็ ได้ฟังอย่างนั้นเหมือนกนั . ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! เพราะฉะนน้ั ในเรอ่ื งนพ้ี วกเธอ ท้ังหลาย พงึ สำ�เหนียกใจไว้วา่ “เราท้ังหลาย จักคุม้ ครองทวารในอินทรยี ท์ ัง้ หลาย เปน็ ผรู้ ู้ประมาณในการบรโิ ภค ตามประกอบธรรมเปน็ เคร่อื งต่ืน เปน็ ผเู้ ห็นแจ่มแจ้งซง่ึ กศุ ลธรรมทัง้ หลาย และจักตามประกอบอนโุ ยคภาวนาในโพธปิ ักขยิ ธรรม ทงั้ ในยามต้นและยามปลายอยู่เสมอๆ” ดงั นี.้ ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอทง้ั หลายพงึ ส�ำ เหนยี กใจ อย่างนี้แล. 162
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ปฐมธรรม ลักษณะของ ๕๙ “ผมู้ ีความเพียรตลอดเวลา” -บาลี จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๑๗/๑๑. ภิกษุท้ังหลาย ! เม่ือภิกษุกำ�ลังเดิน...ยืน... น่งั ...นอนอยู่ ถ้าเกิดครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทางเดือดแค้น หรือ ครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทางทำ�ผู้อื่นให้ลำ�บากเปล่าๆ ขน้ึ มา และภกิ ษุ กไ็ มร่ บั เอาความครนุ่ คดิ นน้ั ไว้ สละทง้ิ ไป ถา่ ยถอนออก ท�ำ ให้สนิ้ สุดลงไปจนไม่มีเหลอื ภกิ ษทุ เ่ี ปน็ เชน่ น้ี แมก้ �ำ ลงั เดนิ ...ยนื ...นง่ั ...นอนอยู่ กเ็ รยี กวา่ เปน็ ผทู้ �ำ ความเพยี รเผากเิ ลส รสู้ กึ กลวั ตอ่ สง่ิ ลามก เป็นคนปรารภความเพียร อุทิศตนในการเผากิเลสอยู่ เนอื งนจิ . 163
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : ปฐมธรรม ลกั ษณะของ ๖๐ “ผู้เกยี จครา้ นตลอดเวลา” -บาลี จตกุ ฺก. อ.ํ ๒๑/๑๖/๑๑. ภิกษุท้ังหลาย ! เม่ือภิกษุกำ�ลังเดิน...ยืน... น่ัง...นอนอยู่ ถ้าเกิดครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทางเดือดแค้น หรือ ครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทางทำ�ผู้อ่ืนให้ลำ�บากเปล่าๆ ขึ้นมา และภิกษุก็รับเอาความครุ่นคิดนั้นไว้ ไม่สละทิ้ง ไม่ถ่ายถอนออก ไมท่ ำ�ใหส้ ดุ สน้ิ ไป จนไม่มเี หลอื ภกิ ษุทเ่ี ป็นเช่นนี้ แมก้ ำ�ลังเดนิ ...ยนื ...นัง่ ...นอน อยู่ ก็เรยี กว่า เป็นผไู้ ม่ท�ำ ความเพยี รเผากเิ ลส ไมร่ ้สู กึ กลัว ต่อส่งิ ลามก เปน็ คนเกยี จคร้าน มคี วามเพยี รอนั เลวทราม อยเู่ นืองนจิ . 164
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ปฐมธรรม วิธกี ารตามรกั ษาไว้ซึ่งความจรงิ ๖๑ (สจจฺ านุรกฺขณา) -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๐๑/๖๕๕. “ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ ! การตามรกั ษาไวซ้ ่งึ ความจรงิ (สจจฺ านรุ กขฺ ณา) น้นั มไี ดด้ ว้ ยการกระทำ�เพียงเท่าไร? บุคคล จะตามรักษาไวซ้ ึง่ ความจริงนัน้ ได้ ด้วยการกระทำ�เพียงเท่าไร? ขา้ พเจา้ ขอถามพระโคดมผเู้ จรญิ ถงึ วธิ กี ารตามรกั ษาไวซ้ ง่ึ ความจรงิ ”. ภารทว๎ าชะ ! ถ้าแม้ ความเชื่อ ของบุรุษ มีอยู่ และเขาก็ ตามรักษาไว้ซึ่งความจริง กล่าวอยู่ว่า “ขา้ พเจา้ มีความเชื่ออยา่ งนี้” ดังน้ี เขาก็ อย่าพึงถงึ ซงึ่ การสันนิษฐานโดยสว่ นเดยี ว วา่ “อยา่ งนี้เท่านัน้ จริง อย่างอ่ืนเปลา่ ” ดังน้กี อ่ น ... ภารทว๎ าชะ ! ถา้ แม้ ความชอบใจ ของบรุ ษุ มอี ยู่ และเขาก็ ตามรกั ษาไว้ซ่งึ ความจริง กลา่ วอยู่วา่ “ข้าพเจา้ มคี วามชอบใจอย่างน”ี้ ดงั น้ี เขาก็ อย่าพงึ ถงึ ซ่ึงการสนั นิษฐานโดยสว่ นเดียว วา่ “อย่างนี้เทา่ นั้นจรงิ อยา่ งอืน่ เปลา่ ” ดังนกี้ อ่ น ... 165
พุทธวจน - หมวดธรรม ภารทว๎ าชะ ! ถ้าแม้ เรือ่ งทฟ่ี ังตามๆ กนั มา ของบรุ ุษ มีอยู่ และเขากต็ ามรกั ษาไว้ซึง่ ความจรงิ กลา่ วอย่วู า่ “ข้าพเจา้ มเี รอื่ งทฟ่ี งั ตามๆ กนั มาอยา่ งน้”ี ดังน้ี เขาก็ อยา่ พึงถงึ ซึง่ การสันนิษฐานโดยสว่ นเดียว วา่ “อย่างนเ้ี ทา่ นั้นจริง อย่างอื่นเปล่า” ดังน้ีกอ่ น ... ภารท๎วาชะ ! ถา้ แม้ ความตรติ รกึ ไปตามเหตผุ ลทแ่ี วดลอ้ ม ของบรุ ษุ มอี ยู่ และเขากต็ ามรักษาไว้ซง่ึ ความจรงิ กลา่ วอยู่วา่ “ขา้ พเจา้ มคี วามตริตรกึ ไปตามเหตผุ ลท่แี วดล้อมอย่างน้”ี ดังนี้ เขาก็ อยา่ พึงถึงการสันนษิ ฐานโดยส่วนเดยี ว ว่า “อยา่ งนี้เท่านน้ั จรงิ อย่างอน่ื เปล่า” ดงั นก้ี ่อน ... ภารทว๎ าชะ ! ถ้าแม้ ข้อยุติท่ีทนได้ต่อการเพ่งพินิจด้วยความเห็น ของบุรุษ มอี ยู่ และเขาก็ตามรักษาไว้ซงึ่ ความจริง กลา่ วอยู่ว่า “ข้าพเจ้ามีข้อยุติที่ทนได้ต่อการเพ่งพินิจด้วยความเห็น อยา่ งน”ี้ ดังน้ี 166
เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ปฐมธรรม เขาก็ อยา่ พงึ ถึงซึ่งการสันนิษฐานโดยสว่ นเดยี ว ว่า “อยา่ งนเ้ี ท่าน้ันจริง อยา่ งอ่นื เปล่า” ดังน้ีก่อน. ภารท๎วาชะ ! ด้วยการกระท�ำ เพยี งเท่านแี้ ล การตามรักษาไว้ซ่ึงความจรงิ ย่อมมี บุคคลชอื่ ว่า ย่อมตามรกั ษาไว้ซึ่งความจริง ดว้ ยการกระทำ�เพียงเท่านี้ และเราบญั ญตั กิ ารตามรักษาไวซ้ ง่ึ ความจริง ด้วยการกระทำ�เพยี งเทา่ น้ี แต่ว่านัน่ ยงั ไม่เปน็ การตามร้ซู ่ึงความจริง. 167
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม 168
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฐมธรรม การตามรูซ้ งึ่ ความจริง ๖๒ (สจจฺ านโุ พโธ) -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๐๒/๖๕๖. “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! การตามรู้ซึ่งความจริง (สจฺจานโุ พโธ) มไี ด้ ดว้ ยการกระทำ� เพียงเท่าไร? บุคคลชอ่ื ว่า ตามรู้ซึ่งความจริง ด้วยการกระท�ำเพยี งเท่าไร? ขา้ พเจา้ ขอถาม พระโคดมผู้เจรญิ ถงึ การตามรู้ซงึ่ ความจริง”. ภารท๎วาชะ ! ได้ยินว่า ภิกษุในธรรมวินัยน้ี ได้เข้าไปอาศัยอยู่ในบ้านหรือในนิคมแห่งใดแห่งหนึ่ง. คหบดหี รอื คหบดบี ตุ ร ไดเ้ ขา้ ไปใกลภ้ กิ ษนุ น้ั แลว้ ใครค่ รวญ ดอู ย่ใู นใจเก่ยี วกบั ธรรม ๓ ประการ คือ ธรรมเป็นทีต่ ง้ั แห่งโลภะ ธรรมเปน็ ทีต่ ัง้ แหง่ โทสะ ธรรมเป็นทตี่ ้ังแห่งโมหะ... เมอ่ื เขาใครค่ รวญดอู ยซู่ ง่ึ ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มเลง็ เหน็ วา่ เป็นผู้บริสุทธ์ิจากธรรมอันเป็นที่ต้ังแห่งโลภะ ต่อแต่นั้น เขาจะพิจารณาใคร่ครวญภิกษุน้ันให้ย่ิงข้ึนไปในธรรม ทั้งหลายอันเป็นท่ีต้ังแห่งโทสะ… ในธรรมท้ังหลาย 169
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ โมหะ… เมอ่ื เขาใครค่ รวญดอู ยซู่ ง่ึ ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มเลง็ เหน็ วา่ เปน็ ผบู้ รสิ ทุ ธจ์ิ ากธรรมอนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ โทสะ... ธรรมอันเปน็ ที่ต้ังแหง่ โมหะ ลำ�ดับนัน้ เขา (๑) ปลกู ฝงั ศรทั ธา ลงไปในภิกษุนนั้ ครนั้ มี ศรทั ธาเกดิ แลว้ (๒) ยอ่ ม เขา้ ไปหา ครน้ั เขา้ ไปหาแลว้ (๓) ยอ่ ม เขา้ ไปนง่ั ใกล้ ครน้ั เขา้ ไปนง่ั ใกลแ้ ลว้ (๔) ยอ่ ม เง่ียโสตลง ครัน้ เงีย่ โสตลง (๕) ย่อม ฟังซึ่งธรรม ครนั้ ฟงั ซึ่งธรรมแลว้ (๖) ย่อม ทรงไวซ้ งึ่ ธรรม (๗) ย่อม ใคร่ครวญ ซึ่งเน้ือความแห่งธรรม ท้ังหลาย อันตนทรงไว้แล้ว เม่ือใคร่ครวญซึ่งเน้ือความ แหง่ ธรรมอยู่ (๘) ธรรมทง้ั หลายยอ่ มทนตอ่ ความเพง่ พนิ จิ เมอื่ การทนตอ่ การเพง่ พนิ ิจของธรรมมอี ยู่ (๙) ฉันทะย่อมเกิดขน้ึ ผมู้ ีฉนั ทะเกดิ ขนึ้ แล้ว (๑๐) ย่อม มอี ุสสาหะ ครน้ั มีอสุ สาหะแลว้ 170
เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม (๑๑) ยอ่ ม พจิ ารณาหาความสมดลุ ยแ์ หง่ ธรรม ครัน้ มคี วามสมดลุ ย์แหง่ ธรรมแลว้ (๑๒) ย่อม ต้ังตนไว้ในธรรมนั้น เขาผู้มีตน สง่ ไปแลว้ อยา่ งนอ้ี ย ู่ ยอ่ ม กระท�ำ ใหแ้ จง้ ซง่ึ ปรมตั ถสจั จะ (ความจริงโดยความหมายสูงสุด) ด้วยนามกาย ด้วย ยอ่ ม แทงตลอดซง่ึ ธรรมนน้ั แลว้ เหน็ อยดู่ ว้ ยปญั ญา ดว้ ย. ภารท๎วาชะ ! การตามรซู้ ง่ึ ความจรงิ ยอ่ มมี ดว้ ยการกระท�ำ เพยี งเท่าน้ี บคุ คลชือ่ วา่ ย่อมตามรู้ซ่ึงความจรงิ ด้วยการกระทำ�เพียงเท่านี้ และเราบญั ญตั ิการตามร้ซู ง่ึ ความจรงิ ด้วยการกระทำ�เพยี งเท่าน้ี แตว่ า่ นน่ั ยงั ไมเ่ ปน็ การตามบรรลถุ งึ ซง่ึ ความจรงิ . 171
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ปฐมธรรม การตามบรรลุถึงซ่งึ ความจริง ๖๓ (สจจฺ านุปตฺติ) -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๐๕/๖๕๗. “ขา้ แตพ่ ระโคดมผเู้ จรญิ ! การตามบรรลถุ งึ ซง่ึ ความจรงิ (สจจฺ านปุ ตตฺ )ิ มไี ด้ ดว้ ยการกระทำ�เพยี งเทา่ ไร? บคุ คลชอ่ื วา่ ยอ่ ม ตามบรรลุถงึ ซง่ึ ความจริง ด้วยการกระทำ�เพยี งเทา่ ไร ? ขา้ พเจ้า ขอถามพระโคดมผูเ้ จรญิ ถงึ การตามบรรลุถงึ ซง่ึ ความจรงิ ”. ภารทว๎ าชะ ! การเสพคบ การทำ�ให้เจริญ การกระทำ�ให้มาก ซ่ึงธรรมทั้งหลายเหล่านั้นแหละ (ท้งั ๑๒ ขอ้ ขา้ งต้น) เปน็ การตามบรรลถุ ึงซ่ึงความจรงิ . ภารท๎วาชะ ! การตามบรรลถุ ึงซึง่ ความจรงิ ย่อมมี ด้วยการกระท�ำ เพียงเท่านี้ บคุ คลชอื่ ว่า ยอ่ มตามบรรลถุ ึงซงึ่ ความจรงิ ดว้ ยการกระทำ�เพยี งเทา่ นี้ และเราบัญญตั กิ ารตามบรรลุถึงซงึ่ ความจริง ดว้ ยการกระทำ�เพียงเท่านี้. 172
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม ท�ำ ความเพยี รแข่งกบั อนาคตภยั ๖๔ -บาลี ปญจฺ ก. อ.ํ ๒๒/๑๑๗/๗๘. ภิกษุทั้งหลาย ! ภัยในอนาคตเหล่าน้ี มีอยู่ ๕ ประการ ซึ่งภิกษุผู้มองเห็นอยู่ ควรแท้ที่จะเป็น ผไู้ มป่ ระมาท มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มตี นสง่ ไปแลว้ ใน การท�ำ เชน่ นน้ั อยตู่ ลอดไป เพอ่ื ถงึ สง่ิ ทย่ี งั ไมถ่ งึ เพอ่ื บรรลุ สิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพ่ือทำ�ให้แจ้งส่ิงท่ียังไม่ทำ�ให้แจ้งเสีย โดยเรว็ . ภัยในอนาคต ๕ ประการน้ัน คอื อะไรบ้างเล่า ? ๕ ประการ คอื (๑) ภิกษุในกรณีน้ี พิจารณาเห็นชัดแจ้งว่า “บดั น้ี เรายงั หนมุ่ ยงั เยาวว์ ยั ยงั รนุ่ คะนอง มผี มยงั ด�ำ สนทิ ตง้ั อยใู่ นวยั ก�ำ ลงั เจรญิ คอื ปฐมวยั แตจ่ ะมสี กั คราวหนง่ึ ที่ความแก่ จะมาถึงร่างกายน้ี ก็คนแก่ ถูกความชรา ครอบง�ำ แลว้ จะมนสกิ ารถงึ ค�ำ สอนของทา่ นผรู้ ทู้ ง้ั หลายนน้ั ไม่ทำ�ได้สะดวกเลย และจะเสพเสนาสนะอันเงียบสงัด ซึ่งเปน็ ป่าชฏั กไ็ มท่ �ำ ได้งา่ ยๆ เลย. ก่อนแต่สง่ิ อนั ไม่เปน็ 173
พุทธวจน - หมวดธรรม ที่ตอ้ งการ ไมน่ ่าใคร่ ไม่นา่ ชอบใจ (คอื ความแก่) นน้ั จะมาถงึ เรา เราจะรีบทำ�ความเพยี ร เพื่อถงึ สิ่งท่ยี งั ไมถ่ ึง เพอื่ บรรลสุ ่ิงทยี่ ังไม่บรรลุ เพ่ือท�ำ ใหแ้ จง้ สิ่งที่ยงั ไมท่ ำ�ให้ แจ้งเสียโดยเรว็ ซงึ่ เป็นสิง่ ทที่ �ำ ให้ผถู้ ึงแลว้ แม้จะแก่เฒ่า ก็จกั อยเู่ ป็นผาสกุ ” ดงั นี้. ภิกษุท้งั หลาย ! ขอ้ อนื่ ยงั มีอกี (๒) ภกิ ษพุ ิจารณาเหน็ ชดั แจ้งวา่ “บัดน้ี เรามี อาพาธนอ้ ย มโี รคนอ้ ย มีไฟธาตใุ หค้ วามอบอุ่นสม่ำ�เสมอ ไมเ่ ยน็ นกั ไมร่ อ้ นนกั พอปานกลาง ควรแกก่ ารท�ำ ความเพยี ร แต่จะมีสักคราวหน่ึงท่ีความเจ็บไข้จะมาถึงร่างกายน้ี ก็คนที่เจ็บไขถ้ กู พยาธคิ รอบง�ำ แล้ว จะมนสิการถงึ ค�ำ สอน ของทา่ นผูร้ ทู้ ง้ั หลายนน้ั ไม่ทำ�ไดส้ ะดวกเลย และจะเสพ เสนาสนะอนั เงยี บสงดั ซง่ึ เปน็ ปา่ ชฏั กไ็ มท่ �ำ ไดง้ า่ ยๆ เลย. ก่อนแตส่ งิ่ อนั ไม่เปน็ ทตี่ อ้ งการ ไมน่ ่าใคร่ ไมน่ า่ ชอบใจ (คอื ความเจบ็ ไข้) นั้น จะมาถงึ เรา เราจะรีบทำ�ความเพยี ร เพอ่ื ถงึ สง่ิ ทย่ี งั ไมถ่ งึ เพอ่ื บรรลสุ ง่ิ ทย่ี งั ไมบ่ รรลุ เพอ่ื ท�ำ ใหแ้ จง้ ส่งิ ท่ยี ังไม่ทำ�ให้แจ้งเสียโดยเร็ว ซ่งึ เป็นส่งิ ท่ที ำ�ให้ผ้ถู ึงแล้ว แม้จะเจ็บไข้ กจ็ กั อยเู่ ปน็ ผาสกุ ” ดงั นี้. ภิกษทุ งั้ หลาย ! ขอ้ อ่นื ยังมอี กี 174
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388