Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน ปฐมธรรม

Description: พุทธวจน ปฐมธรรม

Search

Read the Text Version

เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม (๓)  ภกิ ษพุ จิ ารณาเหน็ ชดั แจง้ วา่ “บดั น้ี ขา้ วกลา้ งามดี บณิ ฑะ (กอ้ นข้าว) หาไดง้ า่ ย เปน็ การสะดวกท่จี ะ ยังชีวิตให้เป็นไปด้วยความพยายามแสวงหาบิณฑบาต แต่จะมีสักคราวหนึ่งที่  ภิกษาหายาก  ข้าวกล้าเสียหาย บิณฑะหาได้ยาก ไมเ่ ปน็ การสะดวกท่จี ะยังชีวิตให้เปน็ ไป ด้วยความพยายามแสวงหาบณิ ฑบาต เมือ่ ภิกษาหายาก ที่ใดภิกษาหาง่าย  คนท้ังหลายก็อพยพกันไปท่ีน้ัน  เม่ือ เปน็ เชน่ นัน้ ความอยูค่ ลุกคลปี ะปนกันในหมู่คนก็จะมขี ึน้ เมอ่ื มกี ารคลกุ คลปี ะปนกนั ในหมคู่ น จะมนสกิ ารถงึ ค�ำ สอน ของทา่ นผรู้ ทู้ ง้ั หลายนน้ั ไมท่ �ำ ไดส้ ะดวกเลย. กอ่ นแตส่ ง่ิ อนั ไมเ่ ปน็ ทต่ี อ้ งการ ไมน่ า่ ใคร่ ไมน่ า่ ชอบใจ (คอื ภกิ ษาหายาก) นน้ั จะมาถงึ เรา เราจะรบี ท�ำ ความเพยี ร เพอ่ื ถงึ สง่ิ ทย่ี งั ไมถ่ งึ เพื่อบรรลุส่งิ ท่ียังไมบ่ รรลุ เพือ่ ท�ำ ให้แจ้งสิง่ ทยี่ ังไม่ท�ำ ให้ แจง้ เสยี โดยเรว็ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทท่ี �ำ ใหผ้ ถู้ งึ แลว้ จกั อยเู่ ปน็ ผาสกุ แม้ในคราวท่ีเกิดทุพภิกขภัย”  ดังน้ี.  ภิกษุทั้งหลาย !   ข้ออืน่ ยงั มีอีก 175

พุทธวจน - หมวดธรรม (๔)  ภกิ ษพุ จิ ารณาเหน็ ชดั แจง้ วา่ “บดั นี้ คนทง้ั หลาย สมัครสมานชื่นบานต่อกัน ไม่วิวาทกัน เข้ากันได้ดุจด่ัง นมผสมกับน้�ำ มองแลกนั ด้วยสายตาแห่งคนที่รกั ใคร่กัน เป็นอยู่  แต่จะมีสักคราวหน่ึงท่ี  ภัย  คือโจรป่าก�ำเริบ ชาวชนบทผู้ข้ึนอยู่ในอาณาจักรแตกกระจัดกระจาย แยกยา้ ยกนั ไป เมอ่ื มภี ยั เชน่ น้ี ทใี่ ดปลอดภยั คนทงั้ หลาย ก็อพยพกันไปท่ีน้ัน  เม่ือเป็นเช่นน้ัน  ความอยู่คลุกคลี ปะปนกนั ในหมคู่ นกจ็ ะมขี น้ึ เมอ่ื มกี ารอยคู่ ลกุ คลปี ะปนกนั ในหมู่คน  จะมนสิการถึงค�ำสอนของท่านผู้รู้ท้ังหลายน้ัน ไม่ท�ำได้สะดวกเลย ก่อนแต่สิ่งอันไม่เป็นที่ต้องการ ไม่น่าใคร่ไม่น่าชอบใจ  (คือโจรภัย)  นั้น  จะมาถึงเรา เราจะรีบท�ำความเพียร  เพ่ือถึงส่ิงที่ยังไม่ถึง  เพ่ือ บรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุเพ่ือท�ำให้แจ้งส่ิงที่ยังไม่ท�ำให้ แจ้งเสียโดยเร็วซึ่งเป็นส่ิงที่ท�ำให้ผู้ถึงแล้ว  จักอยู่เป็น ผาสกุ แม้ในคราวทเ่ี กิดโจรภยั ” ดังน้.ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ข้ออนื่ ยงั มอี กี 176

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ปฐมธรรม (๕)  ภกิ ษพุ จิ ารณาเห็นชดั แจง้ วา่ “บดั นี้ สงฆ์ สามคั คปี รองดองกนั ไมว่ วิ าทกนั มอี เุ ทศเดยี วกนั อยเู่ ปน็ ผาสุก  แต่จะมีสักคราวหน่ึงที่สงฆ์แตกกัน  เม่ือสงฆ์ แตกกนั แลว้   จะมนสกิ ารถงึ ค�ำสอนของทา่ นผรู้ ทู้ ง้ั หลายนน้ั ไม่ท�ำได้สะดวกเลย ก่อนแต่ส่ิงอันไม่เป็นที่ต้องการ ไม่น่าใคร่ ไม่นา่ ชอบใจ (คือสงฆ์แตกกนั ) นั้นจะมาถงึ เรา เราจะรบี ท�ำความเพยี ร เพ่อื ถึงสงิ่ ที่ยงั ไมถ่ ึง เพอ่ื บรรลุ ส่ิงที่ยังไม่บรรลุ  เพื่อท�ำให้แจ้งส่ิงท่ียังไม่ท�ำให้แจ้งเสีย โดยเร็ว  ซึ่งเป็นส่ิงที่ท�ำให้ผู้ถึงแล้ว  จักอยู่เป็นผาสุก  แม้ในคราวเม่อื สงฆ์แตกกัน” ดงั นี.้ ภกิ ษุทัง้ หลาย !   ภัยในอนาคต ๕ ประการเหลา่ นแี้ ล ซ่ึงภิกษผุ ู้มองเหน็ อยู่ ควรแทท้ ่ีจะเปน็ ผู้ไมป่ ระมาท มีความเพยี รเผากิเลส มตี นสง่ ไปแลว้ ในการทำ�เชน่ น้ันอยตู่ ลอดไป เพือ่ ถงึ สงิ่ ท่ียังไม่ถึง เพ่อื บรรลุสิ่งทยี่ ังไมบ่ รรลุ เพ่อื ท�ำ ให้แจ้งสง่ิ ทีย่ งั ไมท่ ำ�ให้แจง้ เสยี โดยเรว็ . 177

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม วธิ แี ก้ความหดห่ ู ๖๕ -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๕๕/๕๖๘. ภิกษทุ ัง้ หลาย !   ก็สมยั ใด จติ หดหู่ สมยั นน้ั มใิ ชก่ าล เพอ่ื เจรญิ ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค์ มิใชก่ าล เพื่อเจริญสมาธิสมั โพชฌงค์ มใิ ชก่ าล เพื่อเจริญอเุ บกขาสมั โพชฌงค.์ ข้อนั้นเพราะเหตไุ ร ? เพราะจติ หดหู่ จติ ทห่ี ดหนู่ น้ั ยากทจ่ี ะใหต้ ง้ั ขน้ึ ได้ ด้วยธรรมเหล่านนั้ . เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะก่อไฟดวงน้อยให้ ลกุ โพลง เขาจึงใส่หญ้าสด โคมัยสด ไมส้ ด พ่นน�ำ้ และ โรยฝนุ่ ลงในไฟน้นั บรุ ุษนัน้ จะสามารถก่อไฟดวงน้อยให้ ลุกโพลงขึ้นไดห้ รือหนอ ? “ไมไ่ ด้เลย พระเจา้ ข้า !”. ฉนั นนั้ เหมอื นกนั ... 178

เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   สมยั ใด จิตหดหู่ สมยั นน้ั เปน็ กาล เพอ่ื เจรญิ ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค์ เปน็ กาล เพื่อเจรญิ วิริยสัมโพชฌงค์ เปน็ กาล เพอ่ื เจริญปตี สิ ัมโพชฌงค.์ ข้อน้ันเพราะเหตุไร ? เพราะจิตหดหู่  จิตท่ีหดหู่น้ันให้ตั้งข้ึนได้ง่าย ดว้ ยธรรมเหลา่ นนั้ . เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะก่อไฟดวงน้อยให้ ลกุ โพลง เขาจงึ ใสห่ ญา้ แหง้ โคมยั แหง้ ไมแ้ หง้ เอาปากเปา่ และไมโ่ รยฝนุ่ ในไฟนน้ั บรุ ษุ นน้ั สามารถจะกอ่ ไฟดวงนอ้ ย ใหล้ ุกโพลงขน้ึ ได้หรอื หนอ ? “ได้ พระเจ้าขา้ !”. ฉันน้ันเหมอื นกัน... 179

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : ปฐมธรรม วิธีแกค้ วามฟุ้งซา่ น ๖๖ -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๕๕/๕๖๘. ภกิ ษุทัง้ หลาย !   สมยั ใด จิตฟงุ้ ซ่าน สมยั นน้ั มใิ ชก่ าล เพอ่ื เจรญิ ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค์ มใิ ช่กาล เพื่อเจริญวริ ยิ สัมโพชฌงค์ มิใชก่ าล เพอื่ เจรญิ ปตี ิสมั โพชฌงค.์ ขอ้ นน้ั เพราะเหตไุ ร ? เพราะจติ ฟุง้ ซา่ น จิตทฟี่ ุ้งซ่านนนั้ ยากท่จี ะให้ สงบได้ดว้ ยธรรมเหล่านั้น. เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะดับไฟกองใหญ่ เขาจงึ ใสห่ ญ้าแห้ง โคมยั แห้ง ไม้แห้ง เอาปากเป่า และไม่ โรยฝนุ่ ลงไปในกองไฟใหญน่ ั้น บรุ ษุ นั้นสามารถจะดบั ไฟ กองใหญ่ไดห้ รือหนอ ? “ไม่ได้เลย พระเจ้าขา้ !” ฉันน้นั เหมือนกัน… 180

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฐมธรรม ภิกษุทั้งหลาย !   สมยั ใด จติ ฟุ้งซ่าน สมยั นน้ั เปน็ กาล เพอ่ื เจรญิ ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค์ เปน็ กาล เพ่ือเจรญิ สมาธสิ ัมโพชฌงค์ เปน็ กาล เพ่อื เจรญิ อุเบกขาสมั โพชฌงค.์ ข้อนนั้ เพราะเหตุไร ? เพราะจิตฟุ้งซ่าน  จิตท่ีฟุ้งซ่านนั้น  ให้สงบได้ งา่ ยดว้ ยธรรมเหล่าน้ัน. เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะดับไฟกองใหญ่ เขาจึงใสห่ ญ้าสด โคมยั สด ไมส้ ด พน่ นำ�้ และโรยฝุน่ ลงใน กองไฟใหญน่ น้ั บรุ ษุ นน้ั จะสามารถดบั กองไฟกองใหญน่ น้ั ได้หรอื หนอ ? “ได้ พระเจา้ ข้า !”. ฉนั นนั้ เหมือนกนั ... ภิกษุทัง้ หลาย !   เรากล่าว “สติ” แลวา่ มีประโยชน์ในทท่ี ั้งปวง. 181



การทําสมาธิ และ อานิสงสของการทําสมาธิ

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม สมาธภิ าวนา ๔ ประเภท ๖๗ -บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๕๗/๔๑. ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   สมาธิภาวนา ๔ อยา่ ง เหล่าน้ี มอี ยู่. ๔ อย่าง อย่างไรเลา่  ? ๔ อยา่ ง คอื ภกิ ษุท้งั หลาย !   มี สมาธภิ าวนา อนั บคุ คลเจรญิ กระท�ำ ใหม้ ากแล้ว ยอ่ มเป็นไปเพอื่ ๑. ความอยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั (ทฏิ ธมมฺ สขุ วหิ าร) ๒. การไดเ้ ฉพาะซงึ่ ญาณทัสสนะ (าณทสฺสนปฏิลาภ) ๓. สตสิ ัมปชัญญะ (สติสมปฺ ชญฺ) ๔. ความสิน้ แห่งอาสวะ (อาสวกฺขย) ภิกษทุ ง้ั หลาย !   สมาธภิ าวนา อันเจริญกระท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความอยเู่ ปน็ สขุ ในทฏิ ฐธรรม นน้ั เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษุท้งั หลาย !   ภิกษใุ นกรณนี ้ี สงดั แลว้ จากกาม ทัง้ หลาย สงดั แลว้ จากธรรมที่เปน็ อกศุ ลทัง้ หลาย เขา้ ถึง ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีตแิ ละสขุ อันเกิด 184

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฐมธรรม จากวิเวก  แล้วแลอยู่  เพราะความที่วิตกวิจารท้ังสอง ระงับลง เขา้ ถึง ทุตยิ ฌาน เปน็ เครอ่ื งผ่องใสแหง่ ใจใน ภายใน ใหส้ มาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขน้ึ ไมม่ ีวติ ก ไม่มี วิจาร มีแต่ปตี แิ ละสุขอนั เกดิ จากสมาธิ แลว้ แลอยู่ อนงึ่ เพราะความจางคลายไปแหง่ ปตี ิ ยอ่ มเปน็ ผอู้ ยอู่ เุ บกขา มสี ติ และสัมปชัญญะ  และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย  ชนิดที่ พระอริยเจา้ ทัง้ หลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผนู้ ัน้ ว่า “เปน็ ผู้ อย่อู เุ บกขา มีสติ อยเู่ ป็นปกติสขุ ” ดงั น้ี เข้าถงึ ตติยฌาน แล้วแลอยู่ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกขเ์ สยี ได้ เพราะความดบั ไปแหง่ โสมนสั และโทมนสั ทง้ั สองในกาลกอ่ น เขา้ ถึง จตุตถฌาน ไม่มที กุ ข์ไม่มีสขุ มแี ตค่ วามทส่ี ตเิ ปน็ ธรรมชาตบิ รสิ ทุ ธ์ิ เพราะอุเบกขา แลว้ แลอยู่. ภิกษุท้ังหลาย !   นี้คือสมาธิภาวนา  อันเจริญ กระทำ�ให้มากแล้ว  ย่อมเป็นไปเพ่ือความอยู่เป็นสุขใน ทิฏฐธรรม. ภิกษุทง้ั หลาย !   สมาธภิ าวนา อนั เจรญิ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื การไดเ้ ฉพาะซง่ึ ญาณทสั สนะ นน้ั   เป็นอยา่ งไรเล่า ? 185

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ภกิ ษใุ นกรณีนี้ กระทำ�ไวใ้ นใจ ซง่ึ อาโลกสญั ญา อธษิ ฐานทิวาสญั ญา วา่ กลางวันฉันใด กลางคนื ฉนั นั้น กลางคืนฉนั ใด กลางวันฉันนนั้ เธอมจี ติ อันเปดิ แลว้ ด้วยอาการอย่างน้ี ไมม่ อี ะไรห่อหุ้ม ยงั จิตทม่ี ี แสงสวา่ งทวั่ พร้อม ใหเ้ จริญอย.ู่ ภิกษุทั้งหลาย !   น้ีคือ  สมาธิภาวนา  อันเจริญ กระทำ�ให้มากแล้ว  ย่อมเป็นไปเพ่ือการได้เฉพาะซึ่ง ญาณทสั สนะ. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   สมาธิภาวนา อันเจริญกระท�ำ ให้มากแล้ว  ย่อมเป็นไปเพ่ือสติสัมปชัญญะนั้น  เป็น อย่างไรเล่า ? ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ภิกษุในกรณีนี้ เวทนา เกิดขึ้น (หรอื ) ตง้ั อยู่ (หรอื ) ดบั ไป ก็เปน็ ที่แจ่มแจ้งแก่ภกิ ษุ สัญญา เกดิ ขนึ้ (หรือ) ต้ังอยู่ (หรอื ) ดับไป ก็เป็นทีแ่ จ่มแจง้ แกภ่ ิกษุ วติ กเกิดข้ึน (หรือ) ตั้งอยู่ (หรือ) ดับไป ก็เปน็ ท่ี แจ่มแจง้ แกภ่ กิ ษุ. ภิกษุทั้งหลาย !   น้ีคือสมาธิภาวนา  อันเจริญ กระทำ�ใหม้ ากแลว้   ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ สติสัมปชญั ญะ. 186

เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : ปฐมธรรม ภิกษทุ ง้ั หลาย !   สมาธิภาวนา อันเจริญกระทำ� ให้มากแล้ว  ย่อมเป็นไปเพื่อความส้ินแห่งอาสวะน้ัน เปน็ อย่างไรเลา่  ? ภกิ ษุทงั้ หลาย !   ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี มปี กตติ ามเหน็ ความต้ังขึ้นและเสือ่ มไปในอุปาทานขันธท์ ั้งห้า ว่า รปู เปน็ อย่างน้ี ความเกดิ ข้ึนแหง่ รูปเปน็ อย่างนี้ ความดบั ไป แห่งรูปเป็นอย่างน้ี  เวทนาเป็นอย่างนี้  ความเกิดขึ้น แหง่ เวทนาเปน็ อยา่ งน้ี ความดบั ไปแหง่ เวทนาเปน็ อยา่ งน้ี สัญญาเป็นอย่างน้ี  ความเกิดขึ้นแห่งสัญญาเป็นอย่างนี้ ความดับไปแห่งสัญญาเป็นอย่างนี้  สังขารเป็นอย่างน้ี  ความเกดิ ขน้ึ แหง่ สงั ขารเปน็ อยา่ งน ้ี ความดบั ไปแหง่ สงั ขาร เปน็ อยา่ งน้ี วญิ ญาณเปน็ อยา่ งน้ี ความเกดิ ขน้ึ แหง่ วญิ ญาณ เปน็ อย่างนี้ ความดับไปแหง่ วญิ ญาณเป็นอย่างนี้ ดังน้.ี ภิกษุท้ังหลาย !   นี้คือ  สมาธิภาวนา  อันเจริญ กระทำ�ใหม้ ากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่อื ความสิน้ แหง่ อาสวะ. ภิกษุทั้งหลาย !   เหล่าน้ีแล  คือ  สมาธิภาวนา ๔ อย่าง. 187

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : ปฐมธรรม อานุภาพของสมาธิ (นยั ท่ี ๑) ๖๘ -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔. ภิกษุทั้งหลาย !   พวกเธอจงเจรญิ สมาธิเถิด. ภิกษุทั้งหลาย !   ภกิ ษผุ มู้ จี ติ ตง้ั มน่ั เปน็ สมาธแิ ลว้ ย่อมรู้ไดต้ ามท่ีเป็นจริง  ซ่ึงอะไรเลา่  ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐว่า “นเ้ี ปน็ ทกุ ข์ นเ้ี ปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ นเ้ี ปน็ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งทุกข์  และนี้เป็นทางดำ�เนินให้ถึงความดับไม่เหลือ แหง่ ทกุ ข”์ ดังน.ี้ ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุท้ังหลาย !   ภกิ ษผุ มู้ จี ติ ตง้ั มน่ั เปน็ สมาธแิ ลว้ ยอ่ มรไู้ ด้ตามท่เี ปน็ จรงิ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเหตนุ น้ั ในกรณนี ้ี พวกเธอ พึงกระทำ�ความเพียรเพ่ือให้รู้ว่า  “นี้เป็นทุกข์  นี้เป็น เหตุให้เกิดทุกข์  นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์  และนี้เป็นทางดำ�เนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” ดงั นเ้ี ถดิ . 188

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม อานภุ าพของสมาธิ (นัยที่ ๒) ๖๙ -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๑๘/๒๗. ภิกษุทั้งหลาย !   พวกเธอทั้งหลาย  จงเจริญ สมาธิเถดิ . ภิกษุท้ังหลาย !   ภกิ ษผุ มู้ จี ติ เปน็ สมาธติ ง้ั มน่ั แลว้ ยอ่ มรชู้ ดั ตามทเ่ี ปน็ จรงิ กภ็ กิ ษนุ น้ั ยอ่ มรชู้ ดั ตามทเ่ี ปน็ จรงิ ซง่ึ อะไรเลา่  ? ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มรชู้ ดั ตามทเ่ี ปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ และความดับไปแห่งรูป  ...แห่งเวทนา  ...แห่งสัญญา ...แหง่ สังขารทง้ั หลาย  ...แห่งวญิ ญาณ. ภิกษุทั้งหลาย !   ก็การเกิดขึ้นแห่งรูป  ...แห่ง เวทนา ...แหง่ สญั ญา ...แหง่ สงั ขารทง้ั หลาย ...แหง่ วญิ ญาณ เปน็ อย่างไรเลา่  ? ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ยอ่ มเพลดิ เพลนิ ย่อมพรำ่�สรรเสริญ  ย่อมเมาหมกอยู่  ภิกษุน้นั   ย่อม เพลดิ เพลนิ ยอ่ มพร�ำ่ สรรเสรญิ ยอ่ มเมาหมกอยู่ ซง่ึ อะไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุน้ัน  ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร�่ำสรรเสริญ  ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป  เมื่อภิกษุนั้น 189

พุทธวจน - หมวดธรรม เพลดิ เพลนิ พรำ่� สรรเสรญิ เมาหมกอยซู่ ง่ึ รปู ความเพลนิ (นนั ท)ิ ยอ่ มเกดิ ขนึ้ ความเพลนิ ใด ในรปู ความเพลนิ นนั้ คือ  อุปาทาน  เพราะอุปาทานของภิกษุน้ัน  เป็นปัจจัย จงึ มภี พ เพราะมภี พ เปน็ ปจั จยั จงึ มชี าติ เพราะมชี าติ เปน็ ปจั จยั ชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขะ โทมนสั อปุ ายาสทงั้ หลาย จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ ม แหง่ กองทุกขท์ ัง้ ส้ินน ้ี ย่อมม ี ด้วยอาการอย่างนี.้ ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุนั้น  ย่อมเพลิดเพลิน ยอ่ มพร่ำ�สรรเสรญิ ย่อมเมาหมกอยซู่ ่งึ เวทนา ... ความ เกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ท้ังสิ้นนี้  ย่อมมี  ด้วยอาการ อย่างน้.ี ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุน้ัน  ย่อมเพลิดเพลิน ยอ่ มพร�ำ่ สรรเสรญิ ยอ่ มเมาหมกอย่ซู งึ่ สัญญา ... ความ เกิดข้ึนพร้อมแห่งกองทุกข์ท้ังสิ้นนี้  ย่อมมี  ด้วยอาการ อย่างนี้. ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุนั้น  ย่อมเพลิดเพลิน ยอ่ มพร�ำ่ สรรเสรญิ ยอ่ มเมาหมกอยซู่ ง่ึ สงั ขารทง้ั หลาย ... ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ท้ังส้ินนี้  ย่อมมี  ด้วย อาการอย่างนี.้ 190

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : ปฐมธรรม ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุนั้น  ย่อมเพลิดเพลิน ยอ่ มพร�ำ่ สรรเสรญิ ยอ่ มเมาหมกอยซู่ ง่ึ วญิ ญาณ เมอ่ื ภกิ ษุ นน้ั เพลิดเพลิน พร่�ำ สรรเสรญิ เมาหมกอยู่ซึ่งวิญญาณ ความเพลนิ (นันทิ) ย่อมเกิดขน้ึ ความเพลินใด ใน วญิ ญาณ ความเพลินนนั้ คอื อุปาทาน เพราะอปุ าทาน ของภกิ ษนุ ้ันเป็นปัจจยั จงึ มีภพ เพราะมภี พเป็นปัจจยั จึงมชี าติ เพราะมชี าติเปน็ ปจั จัย ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทกุ ขะ โทมนสั อปุ ายาสทง้ั หลาย จงึ เกดิ ขึน้ ครบถ้วน ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ ทั้งสิ้นนี้ ย่อมม ี ด้วยอาการอย่างน้ี. ภิกษุท้ังหลาย !   นี้คือ  ความเกิดข้ึนแห่งรูป ...แหง่ เวทนา ...แหง่ สัญญา ...แห่งสงั ขารท้งั หลาย ...แหง่ วญิ ญาณ. ภกิ ษุท้ังหลาย !   กค็ วามดบั แหง่ รปู ...แหง่ เวทนา ...แห่งสัญญา  ...แห่งสังขารทั้งหลาย  ...แห่งวิญญาณ เปน็ อย่างไรเลา่  ? ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุในกรณีนี้  ย่อมไม่ เพลดิ เพลิน ยอ่ มไม่พรำ�่ สรรเสริญ ย่อมไมเ่ มาหมกอยู่ 191

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุนั้น  ย่อมไม่เพลิดเพลิน  ย่อมไม่พร่ำ�สรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู ่ ซึง่ อะไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุน้นั   ย่อมไม่เพลิดเพลิน ยอ่ มไมพ่ ร�ำ่ สรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยูซ่ ่ึงรปู เม่อื ภกิ ษุ นน้ั ไมเ่ พลดิ เพลนิ ไม่พร่ำ�สรรเสริญ ไมเ่ มาหมกอยซู่ ึง่ รูป ความเพลนิ (นนั ท)ิ ใด ในรปู ความเพลนิ นน้ั ยอ่ มดบั ไป เพราะความดับแห่งความเพลินของภิกษุน้ัน  จึงมี ความดบั แหง่ อปุ าทาน เพราะมคี วามดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแหง่ ภพ เพราะมีความดบั แห่งภพ จึงมี ความดบั แหง่ ชาติ เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขะ โทมนสั อปุ ายาสทง้ั หลาย จงึ ดบั สน้ิ ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุน้ัน  ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พรำ�่ สรรเสริญ  ย่อมไม่เมาหมกอย่ซู ่ึงเวทนา  ... ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุน้ัน  ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พรำ�่ สรรเสริญ  ย่อมไม่เมาหมกอย่ซู ่งึ สัญญา  ... ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี 192

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฐมธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุน้ัน  ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำ�สรรเสริญ  ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่งสังขาร ทัง้ หลาย ... ความดบั ลงแห่งกองทกุ ข์ทงั้ สนิ้ นี้ ย่อมมี ด้วยอาการอยา่ งน.ี้ ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุน้ัน  ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไมพ่ รำ่�สรรเสรญิ ยอ่ มไมเ่ มาหมกอยู่ซง่ึ วญิ ญาณ เม่อื ภกิ ษนุ น้ั ไมเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ สรรเสรญิ ไมเ่ มาหมกอยซู่ ง่ึ วญิ ญาณ ความเพลนิ (นนั ท)ิ ใด ในวญิ ญาณ ความเพลนิ นน้ั ยอ่ มดบั ไป เพราะความดบั แหง่ ความเพลนิ ของภกิ ษุ นน้ั จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั แหง่ ชาติ เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนสั อุปายาสทง้ั หลาย จึงดับส้ิน   ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งส้ินน้ี  ย่อมมี ดว้ ยอาการอยา่ งนี.้ ภกิ ษุท้ังหลาย !   น้ีคอื ความดบั แหง่ รปู ...แหง่ เวทนา ...แหง่ สัญญา ...แหง่ สงั ขารทั้งหลาย ...แหง่ วญิ ญาณ ดงั น้ี แล. 193

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ปฐมธรรม แมเ้ พียงปฐมฌาน ก็ชือ่ วา่ ๗๐ เป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร -บาลี นวก. อ.ํ ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓. (พระผู้มีพระภาคเจ้า  ได้ตรัสข้อความปรารภ การสงครามระหวา่ งเทวดากบั อสูร ... ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ ติดตามไปจนถึงภพเปน็ ท่ีอยแู่ ห่งตน ก็จะพ้นจากการถกู ไล่ติดตาม แลว้ ตรัสตอ่ ไปอีกว่า) ภิกษุทั้งหลาย !   ฉันใดก็ฉันนั้น   ในสมัยใด ภกิ ษุสงดั จากกาม สงดั จากอกุศลธรรม เข้าถงึ ปฐมฌาน อนั มวี ติ กมวี จิ าร มปี ตี แิ ละสขุ อนั เกดิ จากวเิ วกแลว้ แลอยู่ ภิกษุท้ังหลาย !   ในสมัยน้ัน  ภิกษุย่อมคิดอย่างน้ีว่า “ในการน้ี  เรามีตนอันถึงแล้ว  ซึ่งท่ีต้านทานสำ�หรับ สัตวผ์ ู้กลัวอยู่ มารจะไมท่ ำ�อะไรได”้ . ภกิ ษุทั้งหลาย !   แม้มารผู้มีบาป  ก็คิดอย่างน้ีว่า  “ในการนี้  ภิกษุมีตน อันถึงแล้ว  ซ่ึงที่ต้านทานสำ�หรับสัตว์ผู้กลัวอยู่  เราจะทำ� อะไรไม่ได้”.... (ในกรณีแห่งทุติยฌาน  ตติยฌาน  และจตุตถฌาน กไ็ ดต้ รัสขอ้ ความทำ�นองเดียวกัน). 194

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม สมาธริ ะงับความรกั -เกลียด ๗๑ ทม่ี ีอยตู่ ามธรรมชาติ -บาลี จตุกกฺ . อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐. ภิกษุทั้งหลาย !   ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่าน้ี ย่อมเกดิ อยู่เป็น ๔ ประการ. ๔ ประการอยา่ งไรเล่า ? ๔ ประการ คือ ความรักเกิดจากความรัก ความเกลียดเกดิ จากความรกั ความรักเกิดจากความเกลยี ด ความเกลยี ดเกิดจากความเกลยี ด. (ดูรายละเอยี ดไดใ้ นเรอื่ ง “วา่ ด้วยความรกั ๔ แบบ” หน้า ๒๓) ภิกษุท้ังหลาย !   สมัยใด  ภิกษุสงัดจากกาม สงดั จากอกศุ ลธรรม เขา้ ถงึ ปฐมฌาน อนั มวี ติ กวจิ าร มปี ตี ิ และสุขอันเกดิ แตว่ เิ วก แล้วแลอยู่ สมยั นัน้ ความรักใด ท่ีเกิดจากความรัก  ความรักนั้นก็ไม่มี  ความเกลียดใด ที่เกิดจากความรัก  ความเกลียดน้ันก็ไม่มี  ความรักใด ทเ่ี กดิ จากความเกลยี ด  ความรกั นน้ั กไ็ มม่  ี ความเกลยี ดใด ทเ่ี กิดจากความเกลยี ด  ความเกลยี ดนนั้ กไ็ ม่ม.ี 195

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุทง้ั หลาย !   สมยั ใด ภกิ ษุ เขา้ ถงึ ทตุ ยิ ฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ... แลว้ แลอยู่ สมัยน้นั ความรักใดที่เกิดจากความรัก  ความรักนั้นก็ไม่มี  ความเกลียดใดท่เี กิดจากความรัก  ความเกลียดน้นั ก็ไม่มี ความรักใดท่ีเกิดจากความเกลียด  ความรักนั้นก็ไม่มี ความเกลียดใดท่ีเกิดจากความเกลียด  ความเกลียดนั้น ก็ไมม่ .ี 196

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม ความสำ�คัญของสมถะและวิปสั สนา ๗๒ -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๗๗/๒๕๗. ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ธรรม ๒ อย่างเหล่านี้ เป็นสว่ น แหง่ วชิ ชา (ความรแู้ จง้ ). ๒ อย่าง อะไรเลา่  ? ๒ อย่าง คือ สมถะ และ วิปสั สนา ภิกษทุ ง้ั หลาย !   สมถะ เมื่ออบรมแลว้ จะไดป้ ระโยชน์อะไร ? อบรมแลว้ จิตจะเจริญ จิตเจริญแลว้ จะได้ประโยชนอ์ ะไร ? เจริญแล้ว จะละราคะได.้ ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   วปิ สั สนาเลา่ เมอ่ื เจรญิ แลว้ จะไดป้ ระโยชนอ์ ะไร ? เจรญิ แล้ว ปัญญาจะเจริญ ปัญญาเจริญแลว้ จะได้ประโยชนอ์ ะไร ? เจริญแลว้ จะละอวชิ ชาได้ แล. 197

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ปฐมธรรม ผูก้ �ำ ลังโนม้ เอียงไปสนู่ พิ พาน ๗๓ -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๓๙๒/๑๓๐๑-๑๓๐๒. ภิกษุท้ังหลาย !   คงคานที  ลุ่มไปทางทิศ ตะวันออก  ลาดไปทางทิศตะวันออก  เทไปทางทิศ ตะวนั ออก  ขอ้ นี้ฉนั ใด ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุเจริญฌานท้ัง  ๔  อยู่ กระท�ำ ฌานทง้ั ๔ ใหม้ ากอยู่ กย็ อ่ มเปน็ ผลู้ มุ่ ไปทางนพิ พาน ลาดไปทางนพิ พาน  เทไปทางนพิ พาน  ฉนั นน้ั กเ็ หมอื นกนั . ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุเจริญฌานทั้ง  ๔  อยู่ กระท�ำ ฌานทง้ั ๔ ใหม้ ากอยู่ ยอ่ มเปน็ ผลู้ มุ่ ไปทางนพิ พาน ลาดไปทางนพิ พาน  เทไปทางนพิ พาน  เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุในกรณีน้ี  สงัดแล้วจาก กามทั้งหลาย  สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย  เข้าถึง ปฐมฌาน อนั มีวติ ก วิจาร มีปีตแิ ละสขุ อนั เกดิ จากวิเวก แลว้ แลอยู่ เพราะความที่วิตก  วิจารท้ังสองระงับลง  เข้าถึง ทุติยฌาน  เป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน  ให้สมาธิ 198

เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : ปฐมธรรม เปน็ ธรรมอันเอก ผดุ มีขน้ึ ไมม่ ีวติ ก ไม่มีวจิ าร มีแต่ปีติ และสขุ อนั เกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ อนง่ึ เพราะความจางคลายไปแหง่ ปตี ิ ยอ่ มเป็น ผอู้ ยอู่ เุ บกขา มสี ตแิ ละสมั ปชญั ญะ และยอ่ มเสวยความสขุ ด้วยนามกาย  ชนิดท่ีพระอริยเจ้าทั้งหลาย  ย่อมกล่าว สรรเสรญิ ผนู้ น้ั วา่ “เปน็ ผอู้ ยอู่ เุ บกขา มสี ติ อยเู่ ปน็ ปกตสิ ขุ ” ดงั น ้ี เขา้ ถงึ ตติยฌาน แลว้ แลอยู่ เพราะละสุขเสียได้  และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดบั ไปแหง่ โสมนสั และโทมนสั ทง้ั สอง ในกาลกอ่ น เข้าถงึ จตุตถฌาน อันไม่มีทุกขไ์ ม่มสี ขุ มแี ตค่ วามทสี่ ติ เปน็ ธรรมชาติบรสิ ุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษทุ ้ังหลาย !   อยา่ งนแ้ี ล ภกิ ษเุ จรญิ ฌานทง้ั ๔ อยู่ กระทำ�ฌานท้ัง ๔ ให้มากอยู่ ย่อมเปน็ ผลู้ มุ่ ไปทาง นิพพาน ลาดไปทางนพิ พาน เทไปทางนพิ พาน. 199

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : ปฐมธรรม อานิสงสส์ งู สุดแหง่ อานาปานสติ ๗๔ ๒ ประการ -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๓๙๖-๓๙๗/๑๓๑๑-๑๓๑๓. ภิกษุท้ังหลาย !   อานาปานสติอันบุคคลเจริญ กระทำ�ให้มากแล้ว  ย่อมมีผลใหญ่  มีอานิสงส์ใหญ่  ก็ อานาปานสติ อันบคุ คลเจรญิ แลว้ อยา่ งไร กระทำ�ให้มาก แล้วอย่างไร จงึ มผี ลใหญ่ มีอานสิ งส์ใหญ ่ ? ภิกษุท้ังหลาย !   ในกรณีนี้  ภิกษุไปแล้วสู่ป่า หรือโคนไม้  หรือเรือนว่างก็ตาม  นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบ ตงั้ กายตรง ด�ำ รงสตเิ ฉพาะหน้า เธอน้นั มีสตหิ ายใจเขา้ มสี ติหายใจออก เม่ือหายใจเข้ายาว  ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว เมอ่ื หายใจออกยาว  กร็ ู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้าสั้น  ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าส้ัน เมอื่ หายใจออกส้ัน  ก็ร้ชู ัดวา่ เราหายใจออกสน้ั เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่   “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซ่ึงกายท้ังปวง  (สพฺพกายปฏิสํเวที)  หายใจเข้า” วา่   “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะซง่ึ กายทง้ั ปวง  หายใจออก” 200

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผู้ทำ� กายสังขารให้รำ�งับ  (ปสฺสมฺภยํ  กายสงฺขารํ)  หายใจเข้า” วา่ “เราเป็นผ้ทู �ำ กายสังขารใหร้ �ำ งบั   หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่   “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซ่งึ ปีต ิ (ปีตปิ ฏิสเํ วท)ี หายใจเข้า” วา่ “เราเปน็ ผู้รู้ พรอ้ มเฉพาะซ่งึ ปตี  ิ หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่   “เราเปน็ ผรู้ พู้ ร้อม เฉพาะซง่ึ สุข (สุขปฏิสํเวท)ี หายใจเข้า” ว่า “เราเปน็ ผรู้ ู้ พร้อมเฉพาะซง่ึ สุข  หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผ้รู ้พู ร้อม เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร  (จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที)  หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้รู้พรอ้ มเฉพาะซึง่ จิตตสงั ขาร  หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผู้ทำ� จติ ตสงั ขารใหร้ �ำ งบั   (ปสสฺ มภฺ ย ํ จติ ตฺ สงขฺ าร)ํ   หายใจเขา้ ” ว่า “เราเป็นผู้ท�ำ จติ ตสงั ขารใหร้ �ำ งบั   หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซ่ึงจิต  (จิตฺตปฏิสํเวที)  หายใจเข้า”  ว่า  “เราเป็น ผ้รู ู้พร้อมเฉพาะซึ่งจติ   หายใจออก” 201

พุทธวจน - หมวดธรรม เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผู้ทำ�จิต ให้ปราโมทย์ย่ิง  (อภิปฺปโมทยํ  จิตฺตํ)  หายใจเข้า”  ว่า “เราเปน็ ผ้ทู ำ�จิตใหป้ ราโมทย์ยิง่   หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผู้ทำ�จิต ใหต้ ง้ั มน่ั (สมาทหํ จิตฺตํ) หายใจเข้า” วา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ จติ ใหต้ ัง้ มน่ั หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผู้ทำ�จิต ใหป้ ลอ่ ยอยู่ (วโิ มจยํ จติ ตฺ )ํ หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ จติ ให้ปลอ่ ยอยู่ หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝึกหัดศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความไมเ่ ทย่ี งอยเู่ ปน็ ประจ�ำ (อนจิ จฺ านปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความไมเ่ ทย่ี งอยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝกึ หัดศึกษาวา่ “เราเปน็ ผเู้ ห็นซง่ึ ความจางคลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ (วริ าคานปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ” ว่า “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความจางคลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝึกหดั ศกึ ษาว่า “เราเปน็ ผเู้ ห็นซ่ึง ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ (นโิ รธานปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” 202

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฐมธรรม เธอย่อมทำ�การฝึกหดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซ่ึง ความสลดั คนื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ (ปฏนิ สิ สฺ คคฺ านปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ”  วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความสลดั คนื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” ภิกษุท้งั หลาย !   อานาปานสติ อนั บคุ คลเจรญิ แล้ว  กระทำ�ให้มากแล้ว  อย่างนี้แล  ย่อมมีผลใหญ่ มอี านสิ งสใ์ หญ่ ภกิ ษุท้ังหลาย !   เมอ่ื อานาปานสติ อนั บคุ คลเจรญิ ทำ�ให้มากแล้วอยู่อย่างน้ี  ผลอานิสงส์อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผล ๒ ประการ เป็นส่ิงท่ีหวงั ได้ คอื อรหตั ตผลในปัจจุบัน หรือวา่ ถ้ายงั มีอปุ าทิเหลอื อยู่ ก็จกั เปน็ อนาคาม.ี 203

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม อานาปานสติ ๗๕ ระงบั ได้ซึง่ อกศุ ลทง้ั หลาย -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๐๗/๑๓๕๒-๑๓๕๔. (ทรงปรารภเหตุท่ีภิกษุทั้งหลายได้ฆ่าตัวตายบ้าง ฆา่ กันและกนั บา้ ง เน่ืองจากเกดิ ความอดึ อดั ระอา เกลียด กายของตน เพราะการปฏิบัตอิ สภุ ภาวนา จงึ ได้ทรงแสดง อานาปานสติสมาธแิ กภ่ กิ ษเุ หลา่ นนั้ ) ภกิ ษุทัง้ หลาย !   อานาปานสติสมาธิน้ีแล  อันบุคคลเจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นของรำ�งับ  เป็นของประณีต เป็นของเย็น  เป็นสุขวิหาร  และย่อมยังอกุศลธรรม อันเป็นบาป  อันเกิดขึ้นแล้ว  และเกิดขึ้นแล้ว  ให้ อันตรธานไป ให้รำ�งับไป โดยควรแก่ฐานะ. ภิกษทุ ัง้ หลาย !   เปรียบเหมือนฝุ่นธุลีฟุ้งขึ้นแห่งเดือนสุดท้าย ของฤดูร้อน  ฝนหนักท่ีผิดฤดูตกลงมา  ย่อมทำ�ฝุ่นธุลี เหลา่ นน้ั ใหอ้ นั ตรธานไป ใหร้ �ำ งบั ไปได้ โดยควรแกฐ่ านะ ข้อนฉ้ี นั ใด 204

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ปฐมธรรม ภกิ ษุทัง้ หลาย !   อานาปานสติสมาธิ  อันบุคคลเจริญแล้ว  ทำ�ให้ มากแลว้ กเ็ ปน็ ของระงบั เปน็ ของประณตี เปน็ ของเยน็ เปน็ สขุ วหิ าร และยอ่ มยงั อกศุ ลธรรมอนั เปน็ บาป ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ และเกดิ ขน้ึ แลว้ ใหอ้ นั ตรธานไป โดยควรแกฐ่ านะได้ ฉนั นน้ั . 205

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : ปฐมธรรม เจรญิ อานาปานสติ ๗๖ ชอ่ื ว่าไม่เหนิ ห่างจากฌาน -บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๕๕/๒๒๔. ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ถา้ ภกิ ษุ เจริญอานาปานสติ แมช้ ั่วกาลเพียงลดั นิว้ มือ ภกิ ษุนเ้ี รากล่าววา่ อยไู่ มเ่ หนิ ห่างจากฌาน ทำ�ตามคำ�สอนของพระศาสดา ปฏิบัติตามโอวาท ไมฉ่ นั บิณฑบาตของชาวแวน่ แคว้นเปลา่ กจ็ ะป่วยกลา่ วไปไยถึง ผ้กู ระท�ำ ใหม้ ากซ่งึ อานาปานสติ นน้ั เล่า. 206

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ปฐมธรรม ลมหายใจก็คอื “กาย” ๗๗ -บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๑๙๕/๒๘๙. ภิกษุท้งั หลาย !   สมยั ใด ภิกษุ เม่ือหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกยาว ก็รชู้ ัดว่าเราหายใจออกยาว เมือ่ หายใจเข้าส้ัน ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าส้ัน เม่อื หายใจออกสัน้ กร็ ชู้ ดั วา่ เราหายใจออกสั้น เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาวา่ “เราเป็นผรู้ ูพ้ ร้อม เฉพาะซ่ึงกายทั้งปวง หายใจเข้า” ว่า “เราเปน็ ผู้รูพ้ ร้อม เฉพาะซึ่งกายท้ังปวง หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผู้ทำ� กายสังขารให้รำ�งับ  หายใจเข้า”  ว่า  “เราเป็นผู้ทำ� กายสงั ขารใหร้ �ำ งบั   หายใจออก” ภกิ ษุทงั้ หลาย !   สมยั นัน้ ภกิ ษนุ ้นั ชอื่ วา่ เปน็ ผู้ เหน็ กายในกายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ เปน็ ผมู้ คี วามเพยี รเผากเิ ลส มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ น�ำ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกออกเสยี ได.้ 207

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   เราย่อมกล่าวลมหายใจเข้า และลมหายใจออก วา่ เปน็ กายอนั หนง่ึ ๆ ในกายทง้ั หลาย. ภิกษทุ งั้ หลาย !   เพราะเหตนุ น้ั ในกรณนี ้ี ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มชอ่ื วา่ เปน็ ผเู้ หน็ กายในกายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ   มคี วามเพยี ร เผากิเลส  มีสัมปชัญญะ  มีสติ  นำ�อภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได.้ 208

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม ผู้เจริญอานาปานสติ ๗๘ ย่อมช่ือวา่ เจรญิ กายคตาสต ิ -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๒๐๔/๒๙๔ ภกิ ษุทงั้ หลาย !   ในกรณีนี้ ภิกษุไปแล้วสู่ป่า หรือ โคนไม้ หรอื เรอื นวา่ งกต็ าม นง่ั คขู้ าเขา้ มาโดยรอบ ตง้ั กายตรง ด�ำ รงสตเิ ฉพาะหนา้ เธอนน้ั มสี ตหิ ายใจเขา้ มสี ตหิ ายใจออก เม่ือหายใจเข้ายาว  ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว  เม่ือหายใจออกยาว  กร็ ้ชู ัดวา่ เราหายใจออกยาว เม่ือหายใจเข้าส้ัน  ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าส้ัน เมือ่ หายใจออกส้ัน  ก็รชู้ ดั ว่าเราหายใจออกสัน้ เธอย่อมท�ำ การฝึกหัดศกึ ษาว่า “เราเป็นผ้รู ู้พรอ้ ม เฉพาะซึ่งกายทงั้ ปวง หายใจเข้า” วา่ “เราเป็นผรู้ ้พู รอ้ ม เฉพาะซง่ึ กายทง้ั ปวง หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า  “เราเป็นผู้ทำ� กายสงั ขารใหร้ �ำ งบั หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ กายสงั ขาร ให้ร�ำ งบั   หายใจออก” 209

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เมื่อภิกษุน้ันเป็นผู้ไม่ประมาท  มีความเพียร  มีตนส่งไปแล้วในการทำ�เช่นนั้นอยู่  ย่อมละความระลึก และความด�ำ ริอนั อาศัยเรอื นเสียได้. เพราะละความระลกึ และความด�ำ รนิ น้ั ได้ จติ ของเธอ ก็ต้ังอยู่ด้วยดี สงบร�ำ งับอยดู่ ว้ ยดี เป็นธรรมเอกผุดมีขึน้ เป็นสมาธอิ ยใู่ นภายในนนั่ เทยี ว. ภิกษุทั้งหลาย !   แม้อย่างนี้  ภิกษุน้ันก็ช่ือว่า  เจริญกายคตาสติ. 210

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฐมธรรม ลักษณะของผู้เจริญกายคตาสติ ๗๙ -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๐๔-๒๑๑/๒๙๕-๓๐๗ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี ภกิ ษุ เมอ่ื เดนิ อยู่ ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “เราเดนิ อย”ู่ เมอ่ื ยนื ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “เรายนื อย”ู่ เมอ่ื นง่ั ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “เรานง่ั อย”ู่ เมอ่ื นอน ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “เรานอนอยู่”  เธอ  ต้ังกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ย่อมรู้ท่ัวถงึ กายน้ัน ดว้ ยอาการอย่างนัน้ ๆ … ภิกษทุ ้งั หลาย !   ขอ้ อื่นยังมีอีก ภิกษุย่อมเป็น ผมู้ ปี กตทิ �ำ ความรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม  ในการกา้ วไปขา้ งหนา้ ในการถอยกลับข้างหลัง.  เป็นผู้มีปกติทำ�ความรู้สึกตัว ทั่วพร้อมในการแลดู  ในการเหลียวดู.  เป็นผู้มีปกติ ความรสู้ กึ ตัวทัว่ พรอ้ ม ในการคู้ ในการเหยยี ด (อวยั วะ).  เป็นผู้มีปกตทิ ำ�ความรู้สกึ ตัวทัว่ พรอ้ ม ในการทรงสังฆาฏิ บาตร  จีวร.  เป็นผู้มีปกติทำ�ความรู้สึกตัวท่ัวพร้อม  ในการกนิ การด่มื การเคย้ี ว การลม้ิ . เป็นผมู้ ปี กตทิ �ำ ความรู้สึกตัวทั่วพร้อม  ในการถ่ายอุจจาระ  ปัสสาวะ.  เป็นผมู้ ีปกตทิ ำ�ความรู้สกึ ตวั ท่วั พร้อม ในการไป การหยุด การน่ัง การนอน การหลับ การต่ืน การพดู การนิ่ง. 211

พุทธวจน - หมวดธรรม เมอ่ื ภกิ ษนุ น้ั เปน็ ผไู้ มป่ ระมาท มคี วามเพยี ร มตี น ส่งไปแล้วในการทำ�เช่นน้ันอยู่  ย่อมละความระลึกและ ความดำ�ริอันอาศัยเรือนเสียได้  เพราะละความระลึกและ ความดำ�รินน้ั ได้ จิตของเธอกต็ ง้ั อยดู่ ้วยดี สงบรำ�งับอยู่ ดว้ ยดี เป็นธรรมอันเอกผดุ มขี ึ้น เปน็ สมาธอิ ย่ใู นภายใน น่นั เทยี ว. ภิกษุทั้งหลาย !   แม้อย่างน้ี  ภิกษุนั้นก็ชื่อว่า เจรญิ กายคตาสติ … ภิกษุท้ังหลาย !   กายคตาสติ  อันภิกษุรูปใด รูปหน่ึง  เจริญแล้ว  กระทำ�ให้มากแล้ว  กุศลธรรม อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ซง่ึ เปน็ ไปในสว่ นวชิ ชา ยอ่ มหยง่ั ลงใน ภายในของภิกษุน้ัน  เปรียบเหมือนมหาสมุทรอันผู้ใด ผู้หน่ึงถูกต้องด้วยใจแล้ว  แม่น้ำ�น้อยสายใดสายหน่ึง ซึ่งไหลไปสู่สมุทร  ยอ่ มหย่งั ลงในภายในของผนู้ น้ั ฉะนั้น. (นอกจากนีย้ ังได้ตรัสถงึ การเจรญิ อสภุ ะ ตามท่มี ปี รากฏ ในมหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร (มหา. ท.ี ๑๐/๓๒๕-๓๒๘/๒๗๗-๒๘๘.) และการเจรญิ ฌานทั้ง ๔ โดยตรัสวา่ การกระทำ�เช่นน้ี กเ็ ปน็ เจริญ กายคตาสตเิ ช่นกัน). 212

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : ปฐมธรรม การตง้ั จติ ในกายคตาสติ ๘๐ เปน็ เสาหลักอยา่ งดีของจติ -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๒๔๖,๒๔๘/๓๔๘,๓๕๐. ลักษณะของผไู้ ม่ตั้งจิตอยู่กับกาย ภิกษุทั้งหลาย !   เปรียบเหมือนบุรุษจับสัตว์หก ชนดิ อันมที ีอ่ ยู่อาศัยตา่ งกัน มที ่ีเทย่ี วหากนิ ตา่ งกัน มาผกู รวมกนั ดว้ ยเชอื กอนั มน่ั คง คอื เขาจบั งมู าผกู ดว้ ยเชอื กเหนยี ว เสน้ หนึ่ง จบั จระเข้ จบั นก จบั สนุ ัขบา้ น จับสุนขั จงิ้ จอก จับลิง มาผกู ด้วยเชอื กเหนยี วเส้นหนง่ึ ๆ แล้วผกู รวมเขา้ ดว้ ยกันเป็นปมเดยี วในทา่ มกลาง ปลอ่ ยแลว้ . ภกิ ษุท้งั หลาย !   ครง้ั นน้ั สตั วเ์ หลา่ นน้ั ทง้ั หกชนดิ มีที่อาศยั และทีเ่ ท่ียวตา่ งๆ กัน ก็ยอ้ื แยง่ ฉุดดงึ กนั เพอื่ จะ ไปสทู่ ีอ่ าศยั ท่ีเท่ียวของตนๆ งูจะเข้าจอมปลวก จระเข้ จะลงนำ้�  นกจะบินข้ึนไปในอากาศ  สุนัขจะเข้าบ้าน สนุ ัขจิ้งจอกจะไปป่าชา้ ลงิ กจ็ ะไปป่า คร้ันเหนื่อยลา้ กัน ทง้ั หกสตั วแ์ ลว้ สตั วใ์ ดมกี �ำ ลงั กวา่ สตั วน์ อกนน้ั กต็ อ้ งถกู ลาก ตดิ ตามไปตามอำ�นาจของสัตว์นนั้   ขอ้ น้ฉี นั ใด 213

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุใด  ไม่อบรมทำ�ให้มาก ในกายคตาสตแิ ล้ว ตา ก็จะฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารูปท่ีน่าพอใจ รปู ที่ไม่นา่ พอใจก็กลายเป็นส่ิงทเ่ี ธอรสู้ กึ อึดอัดขยะแขยง ห ู ก็จะฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาเสียงท่ีน่าฟัง เสยี งที่ไมน่ า่ ฟงั กก็ ลายเปน็ สิง่ ทีเ่ ธอรู้สึกอึดอดั ขยะแขยง จมูก ก็จะฉุดเอาภิกษุน้นั ไปหากล่นิ ท่นี ่าสูดดม กลน่ิ ทไ่ี มน่ า่ สดู ดมกก็ ลายเปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง ลิ้น ก็จะฉุดเอาภิกษุน้ันไปหารสที่ชอบใจ รสทไี่ มช่ อบใจก็กลายเป็นส่ิงทเ่ี ธอร้สู กึ อดึ อัดขยะแขยง กาย กจ็ ะฉดุ เอาภกิ ษนุ น้ั ไปหาสมั ผสั ทย่ี ว่ั ยวนใจ สมั ผสั ทไ่ี มย่ ว่ั ยวนใจกก็ ลายเปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง ใจ กจ็ ะฉดุ เอาภกิ ษนุ น้ั ไปหาธรรมารมณท์ ถ่ี กู ใจ ธรรมารมณท์ ไ่ี มถ่ กู ใจกก็ ลายเปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง ข้อนกี้ ็ฉันน้นั เหมือนกนั . 214

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ปฐมธรรม ลกั ษณะของผตู้ ้ังจติ อยกู่ ับกาย ภิกษุท้ังหลาย !   เปรียบเหมือนบุรุษจับสัตว์หก ชนดิ อันมีที่อยู่อาศัยตา่ งกัน มที ่ีเทีย่ วหากินต่างกัน มาผกู รวมกนั ดว้ ยเชอื กอันม่นั คง คอื เขาจับงูมาผกู ด้วยเชือก เหนียวเสน้ หนง่ึ จบั จระเข้ จบั นก จบั สุนัขบา้ น จับสุนัข จง้ิ จอกและจบั ลงิ มาผกู ดว้ ยเชอื กเหนยี วเสน้ หนง่ึ ๆ ครน้ั แลว้ น�ำ ไปผกู ไว้กับเสาเขือ่ นหรอื เสาหลกั อกี ต่อหนึ่ง. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ครง้ั นน้ั สตั วท์ ง้ั หกชนดิ เหลา่ นน้ั มที อ่ี าศยั และทเ่ี ทย่ี วตา่ งๆ กนั กย็ อ้ื แยง่ ฉดุ ดงึ กนั เพอ่ื จะ ไปสทู่ ี่อาศยั ที่เที่ยวของตนๆ งูจะเขา้ จอมปลวก จระเข้ จะลงนำ้�  นกจะบินขึ้นไปในอากาศ  สุนัขจะเข้าบ้าน สุนัขจิง้ จอกจะไปป่าชา้   ลิงกจ็ ะไปปา่ . ภิกษุท้ังหลาย !   ในกาลใดแล  ความเป็นไป ภายในของสตั วท์ ง้ั หกชนดิ เหลา่ นน้ั มแี ตค่ วามเมอ่ื ยลา้ แลว้ ในกาลนน้ั มนั ทง้ั หลายกจ็ ะพงึ เขา้ ไปยนื เจา่ นง่ั เจา่ นอนเจา่ อยู่ข้างเสาเขอื่ นหรอื เสาหลักน้ันเอง  ข้อนฉ้ี นั ใด ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุใด  ได้อบรมทำ�ให้มาก ในกายคตาสตแิ ล้ว 215

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ตา ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารูปท่ีน่าพอใจ รูปท่ีไม่นา่ พอใจก็ไมเ่ ปน็ ส่ิงท่ีเธอรู้สกึ อึดอดั ขยะแขยง ห ู ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุน้ันไปหาเสียงท่ีน่าฟัง เสยี งทีไ่ ม่น่าฟงั ก็ไม่เป็นสิง่ ที่เธอรสู้ ึกอดึ อัดขยะแขยง จมกู กจ็ ะไมฉ่ ดุ เอาภกิ ษนุ น้ั ไปหากลน่ิ ทน่ี า่ สดู ดม  กลน่ิ ทไ่ี มน่ า่ สดู ดมกไ็ มเ่ ปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง ลนิ้ ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารสท่ีชอบใจ รสทีไ่ มช่ อบใจกไ็ ม่เปน็ สิ่งทเ่ี ธอรสู้ ึกอดึ อดั ขยะแขยง กาย ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุน้ันไปหาสัมผัสที่ ย่ัวยวนใจ  สัมผัสที่ไม่ย่ัวยวนใจก็ไม่เป็นสิ่งท่ีเธอรู้สึก อึดอัดขยะแขยง ใจ ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาธรรมารมณ์ที่ ถกู ใจ ธรรมารมณ์ทีไ่ มถ่ กู ใจก็ไม่เปน็ สิง่ ที่เธอรู้สกึ อดึ อัด ขยะแขยง ขอ้ นก้ี ฉ็ นั นนั้ เหมือนกนั ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ค�ำ วา่ “เสาเขื่อน หรอื เสาหลัก” น้ี เป็นค�ำ เรยี กแทนชอ่ื แห่ง กายคตาสติ. 216

เปิดธรรมท่ีถูกปิด : ปฐมธรรม ภิกษทุ ัง้ หลาย !   เพราะฉะนนั้ ในเร่อื งน้ี พวกเธอทัง้ หลายพึงสำ�เหนียกใจไว้ว่า “กายคตาสติ ของเราทั้งหลาย จกั เป็นส่งิ ท่เี ราอบรม กระท�ำ ใหม้ าก กระท�ำ ใหเ้ ปน็ ยานเครอ่ื งน�ำ ไป กระทำ�ให้เปน็ ของท่ีอาศยั ได้ เพยี รตงั้ ไวเ้ นอื งๆ เพียรเสริมสรา้ งโดยรอบคอบ เพยี รปรารภสม�ำ่ เสมอดว้ ยด”ี ดงั นี้. ภกิ ษุทง้ั หลาย !   พวกเธอทั้งหลาย  พึงสำ�เหนียกใจไว้ด้วยอาการ อยา่ งน้ี แล. 217

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม ใหต้ ้งั จิตในกายคตาสติ ๘๑ เสมือนเต่าหดอวยั วะไว้ในกระดอง -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๒๒๒/๓๒๐. ภิกษทุ ้งั หลาย !   เรอ่ื งเคยมมี าแตก่ อ่ น เตา่ ตวั หนง่ึ เทย่ี วหากนิ ตามรมิ ล�ำ ธารในตอนเยน็ สนุ ขั จง้ิ จอกตวั หนง่ึ กเ็ ทย่ี วหากนิ ตามรมิ ล�ำ ธารในตอนเยน็ เชน่ เดยี วกนั เตา่ ตวั น้ี ไดเ้ หน็ สนุ ขั จง้ิ จอกซง่ึ เทย่ี วหากนิ (เดนิ เขา้ มา) แตไ่ กล ครน้ั แลว้ จึงหดอวยั วะท้งั หลาย มีศรี ษะเปน็ ท่ี ๕ เขา้ ในกระดอง ของตนเสีย เป็นผขู้ วนขวายน้อยนง่ิ อยู่ แมส้ ุนขั จ้งิ จอก กไ็ ดเ้ หน็ เตา่ ตวั ทเ่ี ทย่ี วหากนิ นน้ั แตไ่ กลเหมอื นกนั ครน้ั แลว้ จึงเดนิ ตรงเข้าไปที่เต่า คอยชอ่ งอยู่ว่า “เมือ่ ไรหนอเต่าจกั โผล่อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งออกในบรรดาอวัยวะท้ังหลาย มศี รี ษะเปน็ ท่ี ๕ แล้ว จกั กัดอวยั วะสว่ นนนั้ คร่าเอาออก มากนิ เสีย” ดงั น.ี้ ภิกษุท้ังหลาย !   ตลอดเวลาทเ่ี ตา่ ไมโ่ ผลอ่ วยั วะ ออกมา  สนุ ขั จง้ิ จอกก็ไมไ่ ดโ้ อกาสตอ้ งหลีกไปเอง 218

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม ภิกษทุ ้ังหลาย !   ฉันใดก็ฉันนั้น มารผู้ใจบาป ก็คอยช่องต่อพวกเธอทั้งหลายติดต่อไม่ขาดระยะอยู่ เหมอื นกนั วา่ “ถา้ อยา่ งไร เราคงไดช้ อ่ ง ไมท่ างตา กท็ างหู หรอื ทางจมูก หรอื ทางล้ิน หรอื ทางกาย หรือทางใจ” ดังน้.ี ภกิ ษุทัง้ หลาย !   เพราะฉะนน้ั ในเรอ่ื งน้ี พวกเธอ ทง้ั หลาย จงเปน็ ผคู้ มุ้ ครองทวารในอนิ ทรยี ท์ ง้ั หลายอยเู่ ถดิ ได้เห็นรูปด้วยตา ไดฟ้ งั เสยี งดว้ ยหู ได้ดมกลิน่ ดว้ ยจมกู ได้ลมิ้ รสด้วยลิน้ ได้สมั ผสั โผฏฐพั พะด้วยกาย หรอื ไดร้ ูธ้ รรมารมณ์ดว้ ยใจแล้ว จงอยา่ ได้ถอื เอาโดยลกั ษณะทเี่ ปน็ การรวบถือทง้ั หมด อยา่ ไดถ้ อื เอาโดยลกั ษณะทเ่ี ปน็ การแยกถอื เปน็ สว่ นๆ เลย สิ่งท่เี ปน็ บาปอกุศล คือ อภิชฌา และโทมนัส จะพงึ ไหลไปตามบคุ คลผไู้ มส่ �ำ รวม ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ เพราะการไมส่ ำ�รวมอินทรีย์เหลา่ ใด เป็นเหต.ุ 219

พทุ ธวจน - หมวดธรรม พวกเธอทง้ั หลาย จงปฏบิ ตั เิ พ่ือการปดิ กน้ั อนิ ทรีย์นน้ั ไว ้ พวกเธอทง้ั หลาย จงรกั ษาและถงึ ความสำ�รวม ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ เถดิ . ภิกษุทั้งหลาย !   ในกาลใด  พวกเธอทั้งหลาย จักเป็นผคู้ ุ้มครองทวารในอินทรยี ์ท้งั หลายอยู่ ในกาลนน้ั มารผู้ใจบาป จักไมไ่ ดช้ อ่ งแมจ้ ากพวกเธอทั้งหลาย และ จักต้องหลีกไปเอง เหมือนสุนัขจิ้งจอกไม่ได้ช่องจาก เต่าก็หลีกไปเอง ฉะนนั้ . “เต่าหดอวัยวะไว้ในกระดอง ฉันใด ภิกษุพงึ ตงั้ มโนวติ ก (ความตริตรกึ ทางใจ) ไว้ใน กระดอง ฉันน้นั เป็นผทู้ ่ีตัณหาและทฏิ ฐิไมอ่ งิ อาศยั ได้ ไมเ่ บียดเบียนผู้อื่น ไมก่ ล่าวร้ายตอ่ ใครท้ังหมด เปน็ ผู้ดบั สนิทแล้ว” ดงั นีแ้ ล. 220

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม ให้ตงั้ จิตในกายคตาสติ ๘๒ เสมอื นบรุ ุษผู้ถอื หม้อนำ้� มนั -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๖๖/๗๖๓. ภิกษุทั้งหลาย !   เปรียบเหมือนหมู่มหาชนได้ ทราบขา่ วว่า มีนางงามในชนบท พึงประชุมกนั ก็นางงาม ในชนบทนนั้ น่าดอู ย่างยิง่ ในการฟ้อนร�ำ น่าดอู ยา่ งย่ิงใน การขับรอ้ ง หมมู่ หาชนไดท้ ราบขา่ วว่า นางงามในชนบท จะฟ้อนรำ�ขับร้อง  พึงประชุมกันย่ิงข้ึนกว่าประมาณ ครง้ั นน้ั บรุ ษุ ผอู้ ยากเปน็ อยไู่ มอ่ ยากตาย ปรารถนาความสขุ เกลียดทุกข์ พงึ มากล่าวกบั หมมู่ หาชนน้ันอยา่ งนว้ี า่ บรุ ุษ ผู้เจริญ !  ท่านพึงนำ�ภาชนะนำ้�มันอันเต็มเปี่ยมน้ีไปใน ระหวา่ งทป่ี ระชมุ ใหญ่กับนางงามในชนบท  และจักมบี รุ ุษ เงอ้ื ดาบตามบรุ ษุ ผู้นำ�หมอ้ น้�ำ มนั น้นั ไปขา้ งหลังๆ บอกวา่ ทา่ นจกั ท�ำ น�ำ้ มนั นน้ั หกแมห้ นอ่ ยหนง่ึ ในทใ่ี ด ศรี ษะของทา่ น จักขาดตกลงไปในทนี่ ั้นทเี ดยี ว ภิกษุทั้งหลาย !   เธอทั้งหลาย  จะสำ�คัญความ ข้อน้นั เปน็ ไฉน ? บรุ ุษผ้นู ้ันจะไมใ่ ส่ใจภาชนะน้ำ�มันโนน้ แลว้ พงึ ประมาทในภายนอกเทียวหรือ ?  “ไมเ่ ป็นอยา่ งนน้ั พระเจ้าขา้ !”. 221

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย !   เราทำ�อุปมานี้  เพื่อให้เข้าใจ เน้ือความน้ีชัดขึ้น  เนื้อความในข้อน้ีมีอย่างนี้แล  คำ�ว่า ภาชนะนำ�้ มันอนั เตม็ เปย่ี ม  เปน็ ช่ือของกายคตาสต.ิ   ภกิ ษุท้ังหลาย !   เพราะเหตนุ น้ั แหละ เธอทง้ั หลาย พงึ ศกึ ษาอยา่ งนว้ี า่ กายคตาสติ จกั เปน็ ของอนั เราเจรญิ แลว้   กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ กระท�ำ ใหเ้ ปน็ ดงั ยานกระท�ำ ใหเ้ ปน็ ทต่ี ง้ั กระท�ำ ไมห่ ยดุ ส่ังสมแลว้ ปรารภดแี ลว้ .   ภกิ ษุทง้ั หลาย !   เธอทง้ั หลายพงึ ศกึ ษาอยา่ งน้ี แล. 222

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม อานสิ งสข์ องการเจริญกายคตาสต ิ ๘๓ -บาลี เอก. อํ. ๒๐/๕๙/๒๓๕,๒๓๙. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ชนเหลา่ ใด ไมบ่ รโิ ภคกายคตาสติ ชนเหล่านั้นชอื่ วา่ ยอ่ มไมบ่ รโิ ภคอมตะ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ชนเหลา่ ใด บรโิ ภคกายคตาสติ ชนเหล่านน้ั ชอ่ื วา่ ยอ่ มบรโิ ภคอมตะ ภิกษุท้ังหลาย !   กายคตาสตอิ ันชนเหล่าใดไม่สอ้ งเสพแล้ว อมตะชื่อวา่ อันชนเหล่าน้นั ไมส่ อ้ งเสพแลว้ ภิกษทุ ง้ั หลาย !   กายคตาสติอนั ชนเหลา่ ใดส้องเสพแลว้ อมตะช่อื วา่ อันชนเหล่านั้นสอ้ งเสพแล้ว ภกิ ษุทั้งหลาย !   กายคตาสติอันชนเหลา่ ใดเบ่อื แล้ว อมตะช่ือว่าอนั ชนเหล่านัน้ เบ่ือแลว้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   กายคตาสติอนั ชนเหล่าใดชอบใจแล้ว อมตะชื่อว่าอนั ชนเหล่านน้ั ชอบใจแล้ว. 223

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม การด�ำ รงสมาธิจติ ๘๔ เม่ือถกู เบยี ดเบียนทางวาจา -บาลี มู. ม. ๑๒/๒๕๔,๒๕๖/๒๖๗,๒๖๙., -บาลี มู. ม. ๑๒/๒๕๘/๒๗๒-๓. ภิกษุท้ังหลาย !   ทางแห่งถ้อยคำ�ที่บุคคลอ่ืน จะพึงกลา่ วหาเธอ ๕ อย่างเหลา่ น้ี มอี ยู่ คอื ๑. กล่าวโดยกาลหรือโดยมิใชก่ าล ๒. กล่าวโดยเรอื่ งจรงิ หรือโดยเรื่องไมจ่ ริง ๓. กลา่ วโดยออ่ นหวานหรอื โดยหยาบคาย ๔. กลา่ วดว้ ยเรอ่ื งมปี ระโยชนห์ รอื ไมม่ ปี ระโยชน์ ๕. กลา่ วด้วยมจี ติ เมตตาหรือมโี ทสะในภายใน ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อเขากล่าวอยู่อย่างนั้น  ในกรณนี ้ันๆ  เธอพึงทำ�การส�ำ เหนยี กอยา่ งน้ีว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจกั ไมก่ ลา่ ววาจาอันเปน็ บาป เราจกั เปน็ ผมู้ ีจติ เอน็ ดูเก้อื กลู มจี ติ ประกอบดว้ ยเมตตา ไมม่ โี ทสะในภายในอยู่ จกั มจี ติ สหรคตดว้ ยเมตตาแผไ่ ปยงั บคุ คลนน้ั อยู่ และจกั มจี ติ สหรคตดว้ ยเมตตาอนั เปน็ จติ ไพบลู ย์ 224