Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน ปฐมธรรม

Description: พุทธวจน ปฐมธรรม

Search

Read the Text Version

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม ใหญห่ ลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แผ่ไปส่โู ลกถงึ ทส่ี ดุ ทกุ ทศิ ทาง มบี คุ คลน้ันเปน็ อารมณ์ แลว้ แลอย”ู่ ดังน.ี้ ภกิ ษุทัง้ หลาย !   เธอพึงท�ำ การส�ำ เนยี กอยา่ งน้ี. ภิกษุทั้งหลาย !   เปรียบเหมือนบุรุษถือเอาสีมา เปน็ สคี รง่ั บา้ ง สเี หลอื งบา้ ง สเี ขยี วบา้ ง สแี สดบา้ ง กลา่ วอยวู่ า่ “เราจักเขยี นรูปตา่ งๆ ในอากาศนี้ ท�ำ ใหม้ ีรูปปรากฏอย่”ู ดงั น.้ี ภิกษุท้ังหลาย !   เธอจะสำ�คัญความข้อนี้ว่า อยา่ งไร บรุ ุษนัน้ จะเขยี นรูปตา่ งๆ ในอากาศน้ี ทำ�ใหม้ ีรปู ปรากฏอยูไ่ ด้แลหรอื  ? “ขอ้ น้นั หามไิ ด้ พระเจ้าขา้ !”. เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผ้เู จรญิ ! เพราะเหตวุ า่ อากาศนี้ เปน็ สง่ิ ท่มี รี ปู ไมไ่ ด้ แสดงออกซ่ึงรูปไม่ได้ ในอากาศนน้ั ไม่เปน็ การง่ายที่ ใครๆ จะเขียนรปู ทำ�ใหม้ รี ปู ปรากฏอยู่ได้ รงั แต่บรุ ษุ น้ันจะเปน็ ผู้ มีสว่ นแหง่ ความลำ�บากคบั แคน้ เสียเปล่า พระเจา้ ข้า !”. 225

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย !   ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน  ใน บรรดาทางแห่งถ้อยค�ำ ส�ำ หรับการกล่าวหา ๕ ประการน้นั เม่ือเขากล่าวหาเธอ  ด้วยทางแห่งถ้อยคำ� ประการใดประการหนง่ึ อยู่ เธอพึงทำ�การสำ�เหนียกในกรณีนั้น  อย่างนี้ว่า “จติ ของเราจกั ไมแ่ ปรปรวน เราจกั ไมก่ ลา่ ววาจาอนั เปน็ บาป เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล  มีจิตประกอบด้วยเมตตา  ไม่มีโทสะในภายในอยู่  จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา  แผ่ไปยังบุคคลน้ันอยู่  และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา  อันเป็นจิตไพบูลย์  ใหญ่หลวง  ไม่มีประมาณ  ไม่มีเวร ไมม่ พี ยาบาท  แผไ่ ปสโู่ ลกถงึ ทส่ี ดุ ทกุ ทศิ ทาง  มบี คุ คลนน้ั เปน็ อารมณ ์ แล้วแลอยู”่ ดงั นี.้ (คือมีจิตเหมือนอากาศ  อันใครๆ  จะเขียนให้เป็นรูป ปรากฏไมไ่ ด้ ฉันใดก็ฉนั นน้ั ). ภิกษทุ ้งั หลาย !   เธอพึงท�ำ การส�ำ เหนยี ก อยา่ งนี้ แล... 226

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม (นอกจากนี้ยังทรงอุปมาเปรียบกับบุรุษถือเอาจอบและ กระทอมาขุดแผ่นดิน หวังจะไม่ให้เป็นแผ่นดินอีก เปรียบกับ บุรุษถือเอาคบเพลิงหญา้ มาเผาแม่นำ�้ คงคา หวังจะให้เดือดพล่าน ซึ่งเปน็ ฐานะท่ไี ม่อาจเป็นได้). ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ถ้า โจรผู้คอยหาช่อง พงึ เล่อื ย อวยั วะนอ้ ยใหญข่ องใครดว้ ยเลอ่ื ยมดี า้ มสองขา้ ง ผใู้ ดมใี จ ประทษุ รา้ ยในโจรนน้ั ผนู้ น้ั ชอ่ื วา่ ไมท่ �ำ ตามค�ำ สอนของเรา เพราะเหตทุ ่มี ใี จประทุษรา้ ยต่อโจรนน้ั . ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   ในกรณนี ั้น เธอพึงทำ�การสำ�เหนียกอยา่ งนีว้ า่ “จิตของเรา จกั ไมแ่ ปรปรวน เราจกั ไมก่ ลา่ ววาจาอนั เปน็ บาป เราจกั เปน็ ผมู้ จี ติ เอน็ ดเู กอ้ื กลู มจี ติ ประกอบดว้ ยเมตตาไมม่ โี ทสะใน ภายใน อยู่ จกั มจี ติ สหรคตดว้ ยเมตตาแผไ่ ปยงั บคุ คลนน้ั อยู่ และจกั มจี ติ สหรคตดว้ ยเมตตา อนั เปน็ จติ ไพบลู ย์ ใหญห่ ลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไมม่ ีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสโู่ ลกถงึ ทีส่ ดุ ทุกทิศทาง มบี ุคคลนนั้ เป็นอารมณ์ แลว้ แลอย”ู่ ดังนี.้ ภิกษทุ ้งั หลาย !   เธอพึงท�ำ การส�ำ เหนียก อยา่ งนแ้ี ล. 227

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   เธอพึงกระทำ�ในใจถึงโอวาท อนั เปรยี บด้วยเล่อื ยนี้ อยู่เนอื งๆ เถดิ . ภกิ ษุทงั้ หลาย !   เม่ือเธอทำ�ในใจถึงโอวาทน้ันอยู่  เธอจะได้เห็นทางแห่ง การกลา่ วหาเลก็ หรอื ใหญท่ เ่ี ธออดกลน้ั ไมไ่ ดอ้ ยอู่ กี หรอื  ? “ขอ้ นน้ั หามิได ้ พระเจ้าขา้ !”. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเหตนุ น้ั ในเรอ่ื งน้ี พวกเธอ ทง้ั หลาย จงกระท�ำ ในใจถงึ โอวาทอนั เปรยี บดว้ ยเลอ่ื ยนี้ อยู่เป็นประจำ�เถิด นั่นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล และความสุขแกเ่ ธอทง้ั หลาย ตลอดกาลนาน. 228

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม อานิสงส์แหง่ การปฏบิ ตั สิ มาธิ ๘๕ แบบต่างๆ -บาลี ม. ม. ๑๓/๑๔๐/๑๔๕. ราหลุ ! เธอจง เจรญิ เมตตาภาวนา เถดิ . เม่อื เธอเจรญิ เมตตาภาวนาอยู่ พยาบาท จกั ละไป. ราหุล ! เธอจง เจรญิ กรณุ าภาวนา เถิด. เมอ่ื เธอเจรญิ กรณุ าภาวนาอยู่ วิหิงสา (ความคดิ เบียดเบยี น) จกั ละไป. ราหลุ ! เธอจง เจริญมทุ ติ าภาวนา เถิด. เม่อื เธอเจริญมุทิตาภาวนาอยู่ อรติ (ความไม่ยนิ ดดี ว้ ยใครๆ) จักละไป. ราหุล ! เธอจง เจริญอเุ บกขา เถดิ . เม่ือเธอ เจรญิ อเุ บกขาอยู่ ปฏฆิ ะ (ความหงดุ หงดิ แหง่ จติ ) จกั ละไป. ราหุล ! เธอจง เจรญิ อสภุ ะภาวนา เถิด. เมอ่ื เธอเจรญิ อสุภะภาวนาอยู่ ราคะ จกั ละไป. ราหุล ! เธอจง เจริญอนจิ จสญั ญาภาวนา เถิด. เม่อื เธอเจริญอนจิ จสัญญาภาวนาอยู่ อสั ม๎ ิมานะ (ความ ส�ำ คัญว่าตวั ตนและของตน) จักละไป. 229

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : ปฐมธรรม ลักษณะของผทู้ ี่งา่ ยต่อการเข้าสมาธิ ๘๖ -บาลี ปญฺจก. อ.ํ ๒๒/๑๕๕/๑๓๓. ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ ไม่ควร เพื่อเขา้ ถงึ สมั มาสมาธิ แลว้ แลอยู.่ ๕ ประการ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษุทัง้ หลาย !   ๕ ประการ คอื ภกิ ษุในกรณีนี้ (๑) เป็นผู้ ไมอ่ ดทนต่อรูปท้งั หลาย (๒) ไม่อดทนตอ่ เสียงทง้ั หลาย (๓) ไม่อดทนต่อกล่นิ ทัง้ หลาย (๔) ไม่อดทนต่อรสท้งั หลาย (๕) ไม่อดทนตอ่ โผฏฐพั พะท้ังหลาย ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ภิกษทุ ป่ี ระกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้ ไม่ควร เพ่ือเข้าถงึ สัมมาสมาธิ แลว้ แลอยู่. 230

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : ปฐมธรรม ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ภิกษุที่ประกอบด้วย ธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ ควร เพื่อเข้าถึงสัมมาสมาธิ แล้วแลอยู่. ๕ ประการ อย่างไรเลา่  ? ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ๕ ประการ คือ ภิกษุในกรณีนี้ (๑) เปน็ ผู้ อดทนตอ่ รปู ทัง้ หลาย (๒) อดทนต่อเสยี งทั้งหลาย (๓) อดทนต่อกล่นิ ท้ังหลาย (๔) อดทนต่อรสทงั้ หลาย (๕) อดทนตอ่ โผฏฐพั พะทงั้ หลาย ภิกษทุ ั้งหลาย !   ภกิ ษทุ ป่ี ระกอบดว้ ยธรรม ๕ ประการเหล่านแ้ี ล เป็นผู้ ควร เพ่อื เข้าถึงสมั มาสมาธิ แลว้ แลอยู่. 231

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ปฐมธรรม เจรญิ สมาธิให้ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย ๘๗ วันละ ๓ คร้ัง -บาลี ติก. อํ. ๒๐/๑๔๕/๔๕๘. ภิกษุทั้งหลาย !   ชาวร้านตลาดท่ีประกอบด้วย องค์ ๓ ประการ เป็นผู้ควรเพ่อื จะไดผ้ ลก�ำ ไรท่ยี งั ไม่ได้ หรือเพ่ือทำ�ผลก�ำ ไรท่ไี ด้รับอย่แู ลว้ ให้งอกงามออกไป. ๓ ประการ อยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุทง้ั หลาย !   ๓ ประการ คือ ชาวรา้ นตลาด ในกรณนี ้ี ย่อมจดั ยอ่ มทำ�กิจการงานอยา่ งดีที่สดุ ในเวลาเช้า ย่อมจัดยอ่ มท�ำ กจิ การงานอย่างดีท่สี ุดในเวลากลางวัน ย่อมจัดยอ่ มท�ำ กจิ การงานอยา่ งดีทส่ี ุดในเวลาเยน็ . ภิกษุทัง้ หลาย !   ชาวรา้ นตลาดที่ประกอบด้วยองค์ ๓ ประการเหลา่ นแ้ี ล เปน็ ผ้คู วรเพอ่ื จะได้ผลกำ�ไรท่ียงั ไมไ่ ด้ หรือเพอ่ื ท�ำ ผลก�ำ ไรทไ่ี ดร้ บั อยแู่ ลว้ ใหง้ อกงามออกไป นฉ้ี นั ใด. 232

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฐมธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   ข้อน้ีก็ฉันนั้นเหมือนกัน  ภิกษุ ทปี่ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ เป็นผ้คู วรเพื่อจะบรรลุ กศุ ลธรรมทย่ี งั ไมบ่ รรลุ หรอื เพอ่ื ท�ำ กศุ ลธรรมทบ่ี รรลแุ ลว้ ใหง้ อกงามยง่ิ ขึน้ ไป. ๓ ประการ อยา่ งไรเล่า ? ภิกษุทงั้ หลาย !   ๓ ประการ คอื ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ย่อมก�ำ หนดสมาธนิ ิมติ โดยเอ้อื เฟือ้ ในเวลาเช้า ยอ่ มก�ำ หนดสมาธนิ ิมติ โดยเอ้อื เฟือ้ ในเวลากลางวนั ย่อมกำ�หนดสมาธนิ ิมิตโดยเออ้ื เฟือ้ ในเวลาเยน็ . ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษทุ ป่ี ระกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่าน้แี ล ยอ่ มเป็นผคู้ วรเพื่อจะบรรลกุ ศุ ลธรรมท่ยี งั ไม่บรรลุ หรือเพ่ือท�ำ กศุ ลธรรมทบี่ รรลุแลว้ ใหง้ อกงามยง่ิ ขนึ้ ไป. 233

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ปฐมธรรม การอยูป่ ่ากบั การเจริญสมาธิ ๘๘ ส�ำหรับภกิ ษุบางรูป -บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๒๑๖/๙๙. “ข้าแตพ่ ระองค์ผู้เจรญิ ! ข้าพระองค์ มคี วามประสงค์ จะเสพเสนาสนะอันสงดั คือปา่ หรือป่าเปลีย่ ว”. อุบาลี ! เสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ หรอื ปา่ เปลย่ี วอยไู่ ดย้ าก ปวเิ วกท�ำ ได้ยาก ความอยู่คนเดยี วเป็นสง่ิ ทยี่ ินดีได้ยาก ป่ามักจะนำ�ไปเสยี ซึ่งใจของภกิ ษุผ้ไู มไ่ ด้สมาธอิ ย.ู่ อบุ าลี ! ผ้ใู ดพดู วา่ “เราไม่ไดส้ มาธิ เราจักไปอยู่ ในเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ หรอื ปา่ เปลย่ี ว” ดงั น.้ี เขานน้ั พงึ หวงั ผลขอ้ น้ี คอื จิตจะจมลงหรอื จติ จักปลวิ ไป. อบุ าลี ! เปรียบเหมือนห้วงนำ้�ใหญ่  มีอยู่. ชา้ งพลายสงู เจด็ รตั น์ หรอื เจด็ รตั นค์ รง่ึ มาสทู่ น่ี น้ั แลว้ คดิ วา่ “เราจะลงสู่ห้วงน�ำ้ น้ี แล้วเลน่ น้�ำ ล้างหบู ้าง เล่นนำ้� ล้าง หลงั บ้าง ตามปรารถนา” ดงั นี้ ชา้ งน้นั กระท�ำ ไดด้ ังนนั้ 234

เปิดธรรมท่ีถูกปิด : ปฐมธรรม เพราะเหตุไร ? อบุ าลี ! เพราะเหตวุ า่ ช้างนน้ั ตัวใหญ่ จงึ อาจหยง่ั ลงในหว้ งน�ำ้ ลกึ ได.้ ครง้ั นน้ั กระตา่ ยหรอื แมวปา่ มาเหน็ ชา้ งนน้ั แลว้ คดิ วา่ “ชา้ งจะเปน็ อะไรทไ่ี หนมา เรากจ็ ะเปน็ อะไรทไ่ี หนไป ดงั นัน้ เราจะลงสหู่ ้วงนำ�้ น้ี แล้วเล่นนำ�้ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ� ล้างหลังบ้าง แลว้ พึงอาบ พงึ ดม่ื พงึ ขน้ึ จากหว้ งน�ำ้ แลว้ หลีกไปตามปรารถนา”  ดังน้ี  กระต่ายหรือแมวป่าน้ัน กระโจนลงสู่ห้วงน�้ำ น้นั โดยไม่พจิ ารณา ผลทม่ี นั หวังได้ก็ คอื จมดง่ิ ลงไป หรือลอยไปตามกระแสน้ำ�. ขอ้ นน้ั เพราะ เหตุไรเล่า ?  เพราะว่ากระต่ายหรือแมวป่านั้นตัวมันเล็ก จึงไม่อาจหย่ังลงในห้วงน้ำ�ลึก นีฉ้ นั ใด อุบาลี ! ข้อนกี้ ็ฉนั นน้ั กล่าวคือ ผู้ใดพูดว่า “เราไม่ไดส้ มาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอนั สงดั คือ ป่าหรอื ปา่ เปล่ียว” ดงั น.ี้ เขานั้น พงึ หวงั ผลขอ้ น้ี คอื จิตจะจมลง หรือจิต จักปลิวไป. 235

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (เนื้อความข้อนี้แสดงว่า  การออกไปอยู่ป่ามิได้เหมาะ ส�ำ หรับทกุ คน. ผูใ้ ดคดิ ว่าจักบรรลุปฐมฌาน ทตุ ยิ ฌาน กระทง่ั ถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอันไม่มีอาสวะ  ด้วยเหตุเพียงสักว่าอยู่ป่า อยา่ งเดียวน้นั ไม่อาจจะสำ�เร็จได้ เพราะไมช่ ือ่ ว่า เปน็ ผู้ตามถึง ประโยชน์ตน  (อนุปฺปตฺตสทตฺถ)  ได้ด้วยเหตุสักว่าการอยู่ป่า ดงั นน้ั พระองค์จงึ ตรสั กะภิกษอุ บุ าลีวา่ ) อบุ าลี ! เธอ จงอยูใ่ นหมสู่ งฆเ์ ถิด ความผาสกุ จักมแี ก่เธอผู้อยใู่ นหมสู่ งฆ์ ดงั น้ี. 236

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : ปฐมธรรม ผลของการกระท�ำ ทท่ี �ำ ได้ ๘๙ เหมาะสมกบั เวลา -บาลี จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๘๘/๑๔๗. ภิกษทุ ั้งหลาย !   กาล ๔ ประการนี้ อนั บุคคล บ�ำ เพญ็ โดยชอบ ใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ ยอ่ มใหถ้ งึ ความสน้ิ อาสวะ โดยล�ำ ดับ.  กาล ๔ ประการ เปน็ อยา่ งไรเลา่ คอื ๑. การฟงั ธรรมตามกาล (กาเลน ธมฺมสสฺ วน) ๒. การสนทนาธรรมตามกาล (กาเลน ธมมฺ สากจฉฺ า) ๓. การทำ�สมถะตามกาล (กาเลน สมโถ) ๔. การทำ�วปิ สั สนาตามกาล (กาเลน วิปสฺสนา) ภกิ ษุท้ังหลาย !   กาล ๔ ประการน้แี ล อนั บุคคล บ�ำ เพญ็ โดยชอบ ใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ ยอ่ มใหถ้ งึ ความสน้ิ อาสวะ โดยลำ�ดับ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เม่อื ฝนเม็ดใหญ่ตกบนภเู ขา น�ำ้ ไหลไปตามทล่ี มุ่ ยอ่ มยงั ซอกเขา ล�ำ ธารและหว้ ยใหเ้ ตม็ ซอกเขา ล�ำ ธารและหว้ ยเต็มแลว้ ย่อมยังบึงนอ้ ยให้เต็ม บงึ น้อยเต็มแล้ว ย่อมยังบงึ ใหญใ่ หเ้ ตม็ บงึ ใหญเ่ ต็มแล้ว ยอ่ มยงั แมน่ �ำ้ นอ้ ยใหเ้ ตม็ แมน่ �ำ้ นอ้ ยเตม็ แลว้ ยอ่ มยงั แมน่ �ำ้ ใหญ่ ใหเ้ ตม็ แมน่ �ำ้ ใหญเ่ ตม็ แลว้ ยอ่ มยงั สมทุ รสาครใหเ้ ตม็ แมฉ้ นั ใด กาล ๔ ประการน้ี อนั บคุ คลบ�ำ เพญ็ โดยชอบ ใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ ยอ่ มใหถ้ งึ ความสน้ิ อาสวะโดยล�ำ ดบั ฉนั นน้ั เหมอื นกนั แล. 237

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม จงเปน็ ผ้มู สี ตคิ ู่กันไปกบั สมั ปชัญญะ ๙๐ -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๑๒/๙๐. ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   ภกิ ษุ พงึ เป็นผมู้ สี ติอยู่ อยา่ งมีสัมปชญั ญะ น้ีเปน็ อนุสาสนขี องเราแกพ่ วกเธอท้งั หลาย. ภกิ ษุทัง้ หลาย !   ภกิ ษุเป็นผู้มีสติ เป็นอยา่ งไรเล่า ? ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ภิกษุในกรณนี ี้ เปน็ ผเู้ หน็ กายในกายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพยี ร เผากิเลส มสี ัมปชญั ญะ มสี ติ น�ำ ออกเสยี ได้ซงึ่ อภิชฌา และโทมนสั ในโลก เปน็ ผเู้ หน็ เวทนาในเวทนาอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วาม เพียรเผากิเลส  มีสัมปชัญญะ  มีสติ  นำ�ออกเสียได้ซ่ึง อภิชฌาและโทมนสั ในโลก เป็นผเู้ ห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจ�ำ มีความเพยี ร เผากเิ ลส มสี มั ปชัญญะ มีสติ น�ำ ออกเสียไดซ้ ่งึ อภชิ ฌา และโทมนสั ในโลก 238

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : ปฐมธรรม เป็นผู้เห็นธรรมในธรรมท้ังหลายอยู่เป็นประจำ� มคี วามเพียรเผากเิ ลส มสี มั ปชัญญะ มีสติ นำ�ออกเสียได้ ซงึ่ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลก. ภกิ ษุทัง้ หลาย !   อย่างนแ้ี ล เรยี กวา่ ภิกษเุ ปน็ ผูม้ สี ต.ิ ภิกษุทั้งหลาย !   ภกิ ษุเป็นผู้มสี มั ปชญั ญะ เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุในกรณีนี้  เป็นผู้รู้ตัว รอบคอบในการกา้ วไปขา้ งหนา้ การถอยกลบั ไปขา้ งหลงั การแลดู การเหลียวดู การคู้ การเหยยี ด การทรงสังฆาฏิ บาตร จวี ร การฉัน การดื่ม การเคยี้ ว การล้ิม การถ่าย อจุ จาระ ปัสสาวะ การไป การหยดุ การนั่ง การนอน การหลับ การตืน่ การพูด การนงิ่ . ภิกษุทงั้ หลาย !   อย่างน้ีแล เรยี กวา่ ภิกษเุ ป็นผู้มีสมั ปชัญญะ. ภิกษทุ ั้งหลาย !   ภกิ ษุ พึงเป็นผู้มีสติอยู่ อยา่ งมีสมั ปชัญญะ นี้เปน็ อนสุ าสนีของเราแกพ่ วกเธอท้ังหลาย. 239



ความสําคัญ ของ คําพระผูมีพระภาคเจา

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม 242

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ปฐมธรรม เหตุผลทีต่ ้องรบั ฟงั เฉพาะค�ำตรสั ๙๑ ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๙๒/๒๙๒., -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓., -บาลี มู. ม. ๑๒/๔๖๐/๔๓๐., -บาลี อิตวิ ุ. ข.ุ ๒๕/๓๒๑/๒๙๓., -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑., -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๗๘/๑๔๑., -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๑๗/๗๔๐., -บาลี สตตฺ ก. อ.ํ ๒๓/๒๑/๒๑. ทรงกำ�ชับให้ศึกษาปฏิบตั เิ ฉพาะ จากคำ�ของพระองคเ์ ทา่ นน้ั อย่าฟังคนอนื่ ภกิ ษุทง้ั หลาย !   พวกภิกษบุ ริษทั ในกรณีน้ี สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ ค�ำ รอ้ ยกรอง ประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอ่ื งนอกแนว เปน็ ค�ำ กลา่ วของสาวก เมอ่ื มผี นู้ �ำ สตุ ตนั ตะ เหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมต่ ง้ั จติ เพอ่ื จะร้ทู วั่ ถึง และจกั ไมส่ �ำ คัญวา่ เปน็ สงิ่ ทต่ี นควรศกึ ษา เลา่ เรยี น. 243

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ ัง้ หลาย !   สว่ นสุตตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ป็น คำ�ของตถาคต  เป็นข้อความลึก  มีความหมายซึ้ง เป็นชั้นโลกุตตระ  ว่าเฉพาะด้วยเร่ืองสุญญตา  เมื่อมี ผู้นำ�สุตตันตะเหล่านั้นมากล่าวอยู่  เธอย่อมฟังด้วยดี  ย่อมเง่ียหูฟัง  ย่อมต้ังจิตเพื่อจะรู้ท่ัวถึง  และ ย่อมสำ�คัญว่าเปน็ ส่ิงที่ตนควรศกึ ษาเล่าเรยี น จึงพากนั เล่าเรียน ไตถ่ าม ทวนถามแกก่ ันและกนั อยูว่ า่ “ขอ้ น้ีเป็น อยา่ งไร ? มคี วามหมายกี่นัย ?” ดังน.้ี ดว้ ยการท�ำ ดงั น้ี เธอยอ่ มเปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ ไวไ้ ด.้   ธรรมทย่ี งั ไมป่ รากฏ เธอกท็ �ำ ใหป้ รากฏได้ ความสงสยั ในธรรมหลายประการทีน่ ่าสงสัยเธอกบ็ รรเทาลงได.้ ภิกษทุ งั้ หลาย !   ภิกษบุ รษิ ัทเหลา่ นี้ เราเรียกว่า บรษิ ทั ทม่ี กี ารลลุ ว่ งไปได้ ดว้ ยการสอบถามแกก่ นั และกนั เอาเอง  หาใช่ด้วยการชี้แจงโดยกระจ่างของบุคคล ภายนอกเหล่าอ่นื ไม่  (ปฏิปุจฉาวินีตาปริสาโนอุกกาจิตวินีตา) จดั เปน็ บรษิ ทั ทเ่ี ลศิ แล. 244

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฐมธรรม หากไมส่ นใจค�ำ ตถาคต จะทำ�ให้เกดิ ความอันตรธานของคำ�ตถาคต เปรยี บดว้ ยกลองศกึ ภิกษุทั้งหลาย !   เรอื่ งน้ีเคยมีมาแล้ว กลองศึก ของกษัตรยิ ์พวกทสารหะ เรียกว่า อานกะ มอี ยู่ เม่ือ กลองอานกะนี้ มแี ผลแตก หรือลิ พวกกษตั รยิ ์ทสารหะ ไดห้ าเนอ้ื ไมอ้ น่ื ท�ำ เปน็ ลม่ิ เสรมิ ลงในรอยแตกของกลองนน้ั (ทกุ คราวไป). ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   เมอื่ เชอื่ มปะเขา้ หลายครงั้ หลายคราวเช่นนั้น นานเข้ากถ็ ึงสมยั หนึง่ ซ่ึงเนื้อไมเ้ ดิม ของตวั กลองหมดสน้ิ ไป เหลอื อยแู่ ตเ่ นอ้ื ไมท้ ท่ี �ำ เสรมิ เขา้ ใหมเ่ ทา่ นัน้ ภกิ ษุทั้งหลาย !   ฉันใดก็ฉนั นั้น ในกาลยดื ยาว ฝ่ายอนาคต  จักมีภิกษุท้ังหลาย  สุตตันตะเหล่าใด  ท่ี เปน็ ค�ำ ของตถาคต  เปน็ ขอ้ ความลกึ   มคี วามหมายซง้ึ   เป็นช้ันโลกุตตระ  ว่าเฉพาะด้วยเรื่องสุญญตา  เมื่อมี ผู้นำ�สุตตันตะเหล่านั้นมากล่าวอยู่  เธอจักไม่ฟังด้วยดี จกั ไมเ่ งย่ี หฟู งั จกั ไมต่ ง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ ว่ั ถงึ และจกั ไมส่ �ำ คญั วา่ เป็นสงิ่ ท่ีตนควรศกึ ษาเลา่ เรยี น. 245

พุทธวจน - หมวดธรรม ส่วนสุตตันตะเหล่าใด  ท่ีนักกวีแต่งขึ้นใหม่ เปน็ ค�ำ รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอันวิจิตร เป็นเร่อื งนอกแนว เปน็ ค�ำ กลา่ ว ของสาวก  เมื่อมีผู้นำ�สูตรที่นักกวีแต่งขึ้นใหม่เหล่าน้ัน มากลา่ วอยู่ เธอจักฟงั ด้วยดี จกั เง่ยี หูฟงั จักตัง้ จติ เพ่อื จะรทู้ ว่ั ถงึ และจกั ส�ำ คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น. ภิกษุทั้งหลาย !   ความอนั ตรธานของสตุ ตนั ตะ เหล่าน้ันท่ีเป็นคำ�ของตถาคต  เป็นข้อความลึก  มี ความหมายซึง้ เป็นชน้ั โลกุตตระ ว่าเฉพาะด้วยเร่ือง สุญญตา จกั มไี ด้ดว้ ยอาการอยา่ งนี้ แล. 246

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฐมธรรม พระองค์ทรงสามารถก�ำ หนดสมาธิ เม่อื จะพดู ทกุ ถ้อยคำ� จงึ ไมผ่ ดิ พลาด อคั คเิ วสนะ ! เรานนั้ หรือ จำ�เดมิ แต่เร่มิ แสดง กระทงั่ ค�ำ สุดทา้ ยแหง่ การกล่าวเรอ่ื งนั้นๆ ยอ่ มตง้ั ไวซ้ ง่ึ จติ ในสมาธนิ มิ ติ อนั เปน็ ภายในโดยแท้ ให้จิตดำ�รงอยู่ ให้จิตตงั้ มัน่ อยู่ กระท�ำ ให้มีจติ เปน็ เอก ดังเช่นที่คนท้ังหลายเคยได้ยินว่าเรากระทำ�อยู่เป็นประจำ� ดังน้ี. 247

พุทธวจน - หมวดธรรม คำ�พดู ที่ตรสั มาทงั้ หมดนบั แต่วันตรสั รนู้ น้ั สอดรับไมข่ ัดแยง้ กนั ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   นับตั้งแต่ราตร ี ท่ตี ถาคตได้ตรสั รู้ อนุตตรสมั มาสมั โพธิญาณ  จนกระทง่ั ถึงราตรที ่ตี ถาคตปรนิ พิ พาน ด้วยอนุปาทิเสสนพิ พานธาตุ ตลอดเวลาระหว่างนนั้   ตถาคตไดก้ ล่าวสอน พร�ำ่ สอน แสดงออก ซง่ึ ถอ้ ยค�ำ ใด ถอ้ ยค�ำ เหลา่ นน้ั ทง้ั หมด ยอ่ มเข้ากนั ได้โดยประการเดยี วทงั้ ส้นิ   ไมแ่ ยง้ กนั เปน็ ประการอ่ืนเลย. 248

เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : ปฐมธรรม แต่ละค�ำ พดู เป็นอกาลิโก คือ ถกู ตอ้ งตรงจรงิ ไม่จ�ำ กดั กาลเวลา ภิกษทุ ัง้ หลาย !   พวกเธอทง้ั หลายเปน็ ผทู้ เ่ี ราน�ำ ไปแลว้ ดว้ ยธรรมน้ี อนั เป็น ธรรมที่บุคคลจะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนทฺ ฏิ โิ ก) เป็นธรรมใหผ้ ลไม่จ�ำ กัดกาล (อกาลโิ ก) เปน็ ธรรมทีค่ วรเรยี กกนั มาดู (เอหิปสสฺ ิโก) ควรน้อมเข้ามาใสต่ ัว (โอปนยิโก) อนั วิญญูชนจะพงึ รไู้ ดเ้ ฉพาะตน (ปจฺจตฺตํ เวทติ พโฺ พ วิญฺญหู )ิ . 249

พุทธวจน - หมวดธรรม ทรงให้ใช้ธรรมวนิ ยั ทต่ี รสั แลว้ เป็นศาสดาแทนต่อไป อานนท์ ! ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างน้ีว่า “ธรรมวนิ ยั ของพวกเรามพี ระศาสดาลว่ งลบั ไปแลว้ พวกเรา ไมม่ พี ระศาสดา” ดงั น.้ี อานนท์ ! พวกเธออยา่ คดิ อยา่ งนน้ั . อานนท์ ! ธรรมก็ดี วนิ ัยก็ดี ท่ีเราแสดงแลว้ บญั ญัติแลว้ แก่พวกเธอทง้ั หลาย ธรรมวินัยน้ัน จักเปน็ ศาสดาของพวกเธอท้ังหลาย โดยกาลล่วงไปแหง่ เรา. อานนท์ ! ในกาลบัดนก้ี ด็ ี ในกาลลว่ งไปแหง่ เรากด็ ี ใครกต็ ามจักตอ้ งมตี นเป็นประทีป มตี นเป็นสรณะ ไมเ่ อาส่งิ อน่ื เป็นสรณะ มธี รรมเป็นประทปี มธี รรมเปน็ สรณะ ไม่เอาสงิ่ อ่นื เป็นสรณะ เป็นอยู.่ อานนท์ ! ภิกษุพวกใด  เป็นผู้ใคร่ในสิกขา ภิกษพุ วกนนั้ จักเปน็ ผู้อยูใ่ นสถานะอันเลิศที่สดุ แล. 250

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม ทรงห้ามบัญญัตเิ พม่ิ หรอื ตัดทอน สงิ่ ที่บญั ญตั ิไว้ ภิกษุท้งั หลาย !   ภกิ ษทุ ้งั หลาย จักไม่บญั ญตั สิ งิ่ ทีไ่ ม่เคยบญั ญัติ จกั ไมเ่ พกิ ถอนสง่ิ ท่ีบัญญตั ิไวแ้ ล้ว จกั สมาทานศกึ ษาในสกิ ขาบททบ่ี ญั ญัตไิ ว้แลว้ อยา่ งเครง่ ครดั อยเู่ พยี งใด ความเจรญิ ก็เปน็ สง่ิ ท่ีภิกษุทั้งหลายหวงั ได้ ไม่มคี วามเส่อื มเลย อยเู่ พยี งน้นั . 251

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม อริยมรรคมีองค์ ๘ คอื กลั ยาณวัตร ๙๒ ทตี่ ถาคตทรงฝากไว ้ -บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓. อานนท์ ! ก็กัลยาณวัตรอันเราต้ังไว้ในกาลน้ี ย่อมเป็นไป  เพ่ือความเบื่อหน่ายโดยส่วนเดียว  เพื่อ คลายกำ�หนัด  เพื่อดับ  เพื่อความสงบระงับ  เพ่ือรู้ย่ิง เพอ่ื รพู้ ร้อม  เพือ่ นิพพาน. อานนท์ ! กลั ยาณวัตรนี้ เป็นอยา่ งไรเล่า ? นี้คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ กลา่ วคอื สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัปปะ  สัมมาวาจา  สัมมากัมมนั ตะ  สมั มาอาชวี ะ  สัมมาวายามะ  สัมมาสติ  สมั มาสมาธิ. อานนท์ ! เกย่ี วกบั กลั ยาณวัตรนัน้ เราขอกลา่ วกะเธอ โดยประการท่ีเธอทง้ั หลาย จะพากันประพฤติตามกลั ยาณวตั รท่ีเราตง้ั ไวแ้ ล้วนี้ เธอท้ังหลายอยา่ เป็นบุรุษพวกสดุ ท้ายของเราเลย. 252

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฐมธรรม อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกลั ยาณวตั รนี้มีในยคุ แห่งบุรษุ ใด บุรษุ นนั้ ชอ่ื ว่าบรุ ุษคนสดุ ท้ายแหง่ บรุ ุษทง้ั หลาย. อานนท์ ! เกยี่ วกับกลั ยาณวัตรนั้น เราขอกล่าว (ยำ้�) กับเธอ โดยประการที่เธอท้ังหลาย จะพากันประพฤตติ ามกัลยาณวตั รที่เราต้งั ไว้แล้วน้ี เธอท้งั หลายอยา่ เปน็ บุรษุ พวกสุดท้ายของเราเลย. 253



การปรินิพพาน ของตถาคต

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม เหตกุ ารณ์ชว่ งปรินพิ พาน ๙๓ -บาลี มู. ม. ๑๒/๑๖๓/๑๙๒., -บาลี มหาวาร. สํ ๑๙/๒๘๗/๙๖๓., -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๔๑/๑๐๘. สารีบตุ ร ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งกล่าว อยา่ งนี้ เห็นอย่างนว้ี ่า ช่ัวเวลาที่บรุ ุษนีย้ งั เปน็ หนุม่ มผี ม ด�ำ สนทิ ประกอบดว้ ยความหนมุ่ แน่น ต้งั อยใู่ นปฐมวัย ก็ ยงั คงประกอบดว้ ยปญั ญาอนั เฉยี บแหลมวอ่ งไวอยเู่ พยี งนน้ั เมื่อใดบุรุษนี้แก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลนาน ผ่านวัย ไปแลว้ มอี ายุ ๘๐ ปี ๙๐ ปหี รือ ๑๐๐ ปี จากการเกดิ เมอ่ื น้ัน เขายอ่ มเป็นผู้เส่อื มสน้ิ จากปญั ญาอนั เฉียบแหลม ว่องไว. สารีบุตร ! ขอ้ น้ี เธออยา่ พงึ เหน็ อยา่ งนน้ั เรานแ้ี ล ในบัดนเ้ี ป็นคนแกเ่ ฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยมาแล้ว วัยของเรานับได้ ๘๐ ปี ...ฯลฯ... สารบี ุตร ! ธรรมเทศนาที่แสดงไปนนั้ ก็มไิ ดแ้ ปรปรวน บทพยญั ชนะแหง่ ธรรมของตถาคต ก็มิไดแ้ ปรปรวน ปฏภิ าณในการตอบปัญหาของตถาคต กม็ ิไดแ้ ปรปรวน ...ฯลฯ... 256

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : ปฐมธรรม สารบี ตุ ร ! แมว้ า่ เธอท้ังหลาย จักนำ�เราไปด้วย เตียงน้อย (สำ�หรับหามคนทุพพลภาพ) ความแปรปรวน เป็นอย่างอ่นื แห่งปัญญาอันเฉียบแหลมว่องไวของตถาคต กม็ ไิ ด้มี. สารีบุตร ! ถ้าผใู้ ดจะพงึ กล่าวใหถ้ ูกใหช้ อบว่า “สัตวม์ ีความไมห่ ลงเปน็ ธรรมดา บงั เกิดขน้ึ ในโลก เพ่ือประโยชนเ์ กื้อกลู เพอ่ื ความสุขแกม่ หาชน เพอ่ื อนเุ คราะห์โลก เพอ่ื ประโยชน์ เพื่อความเก้ือกูล เพอื่ ความสุขแก่เทวดาและมนษุ ยท์ ัง้ หลาย” ดังนแ้ี ล้ว ผู้น้ันพงึ กลา่ วซงึ่ เราผเู้ ดยี วเทา่ นั้น. ลำ�ดับน้ัน  พระอานนท์ผู้มีอายุ  ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มี พระภาค ถงึ ที่ประทบั ถวายอภิวาทแลว้ ลูบคลำ�ทัว่ พระกายของ พระผู้มีพระภาคอยู่ พลางกล่าวถอ้ ยคำ�น้ี ว่า “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ขอ้ นน้ี า่ อศั จรรย์ ข้อนไ้ี ม่เคยมี มากอ่ น. ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! บดั น้ี ฉววี รรณของพระผมู้ พี ระภาค ไมบ่ รสิ ทุ ธผ์ิ ดุ ผอ่ งเหมอื นแตก่ อ่ น และพระกายกเ็ หย่ี วยน่ หยอ่ นยาน มพี ระองคค์ อ้ มไปขา้ งหนา้ อนิ ทรยี ท์ ง้ั หลาย กเ็ ปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื ไปหมด ท้งั พระจกั ษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ”. 257

พทุ ธวจน - หมวดธรรม อานนท์ ! นัน่ ตอ้ งเปน็ อยา่ งน้ัน คอื ความชรามี (ซอ่ น) อยู่ในความหนมุ่ ความเจ็บไข้มี (ซอ่ น) อยู่ในความไมม่ โี รค ความตายมี (ซ่อน) อยู่ในชวี ิต ฉวีวรรณจงึ ไม่บรสิ ทุ ธิ์ผุดผอ่ งเสียแลว้ และกายก็ เหีย่ วยน่ หย่อนยาน มีตัวคอ้ มไปขา้ งหน้า อินทรยี ท์ ้งั หลาย กเ็ ปลี่ยนเปน็ อย่างอนื่ ไปหมด ทง้ั ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ดงั นี้. พระผู้มีพระภาค  ครั้นตรัสคำ�นี้แล้ว  ได้ตรัส ข้อความนี้ (เป็นคำ�กาพยก์ ลอน) อีกวา่ โธเ่ อย๋ ! ความแกอ่ นั ชว่ั ช้าเอย๋ ! อนั ท�ำ ความน่าเกลียดเอย๋ ! กายทน่ี า่ พอใจ บดั นก้ี ถ็ กู ความแกย่ �ำ่ ยหี มดแลว้ . แม้ใครจะมีชีวิตอยูต่ ัง้ รอ้ ยปี ทกุ คนก็ยงั มีความตายเป็นท่ไี ปในเบ้ืองหนา้ . ความตายไมย่ กเว้นให้แก่ใครๆ มันย่�ำ ยหี มดทุกคน. 258

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ปฐมธรรม อานนท์ ! บดั น้ี เรามีสติสมั ปชญั ญะ ปลงอายุ สังขารแลว้ ณ ปาวาลเจดีย์น.้ี (พระอานนท์ไดส้ ตจิ งึ ทูลขอให้ ดำ�รงพระชนม์ชีพอยู่ด้วยอิทธิบาทภาวนา  กัปป์หน่ึงหรือยิ่งกว่า กัปป์ ทรงปฏิเสธ) อานนท์ ! อย่าเลย  อย่าวิงวอนตถาคตเลย มิใช่เวลาจะวิงวอนตถาคตเสียแลว้ . (พระอานนท์ทูลวงิ วอน อีกจนครบสามคร้ัง  ได้รับพระดำ�รัสตอบอย่างเดียวกัน  ตรัสว่า เปน็ ความผดิ ของพระอานนทผ์ เู้ ดยี ว แลว้ ทรงจาระไนสถานท่ี ๑๖ แหง่ ท่ีเคยให้โอกาสแก่พระอานนท์ในเร่ืองน้ี  แต่พระอานนท์รู้ไม่ทัน สักครั้งเดียว) อานนท์ ! ในท่ีน้ันๆ  ถ้าเธอวิงวอนตถาคต ตถาคตจักหา้ มเสยี สองครงั้ แล้วจักรับคำ�ในคร้ังทีส่ าม อานนท์ ! ตถาคตไดบ้ อกแล้วมิใชห่ รอื วา่ สัตว์ จะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น  สัตว์จะ ได้ตามปรารถนา  ในสังขารนี้แต่ท่ีไหนเล่า  ข้อท่ีสัตว์ จะหวังเอาส่ิงที่เกิดแล้ว  เป็นแล้ว  มีปัจจัยปรุงแต่งแล้ว มีการแตกดับเป็นธรรมดา  ว่าส่ิงนี้อย่าฉิบหายเลย  ดังนี้ ยอ่ มไมเ่ ป็นฐานะทม่ี ีได้ เปน็ ได้. 259

พทุ ธวจน - หมวดธรรม สัตวท์ งั้ ปวง ทงั้ ที่เปน็ คนหนุ่ม คนแก่ ท้ังท่ีเปน็ คนพาลและบัณฑติ ทงั้ ท่มี งั่ มี และ ยากจน ล้วนแตม่ คี วามตายเป็นที่ไปถงึ ในเบอื้ งหน้า. เปรียบเหมอื นภาชนะดนิ ทีช่ า่ งหมอ้ ป้นั แลว้ ทัง้ เลก็ และใหญ่ ทง้ั ทีส่ กุ แล้ว และยงั ดิบ ลว้ นแต่มกี ารแตกท�ำ ลายเปน็ ทีส่ ดุ ฉนั ใด ชวี ติ แหง่ สตั วท์ ง้ั หลายกม็ คี วามตายเปน็ เบอ้ื งหนา้ ฉนั นน้ั วยั ของเรา แกห่ ง่อมแลว้ ชวี ิตของเรารบิ หรแี่ ลว้ เราจกั ละพวกเธอไป สรณะของตัวเองเราได้ทำ�ไวแ้ ล้ว ภกิ ษุท้ังหลาย !  พวกเธอจงเป็นผูไ้ มป่ ระมาท มีสติ มศี ีลเปน็ อย่างดี มีความดำ�ริอนั ตั้งไวแ้ ลว้ ด้วยดี ตามรกั ษาซงึ่ จติ ของตนเถิด ในธรรมวินัยนี้ ภิกษุใดเปน็ ผไู้ มป่ ระมาทแลว้ จักละชาตสิ งสาร ทำ�ท่ีสุดแหง่ ทกุ ข์ได.้ 260

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ปฐมธรรม ผู้มีธรรมเปน็ ที่พ่งึ ๙๔ -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๑๖/๗๓๖. อานนท์ ! เราไดก้ ลา่ วเตอื นไวก้ อ่ นแลว้ มใิ ชห่ รอื วา่ “ความเปน็ ตา่ งๆ ความพลดั พราก ความเปน็ อยา่ งอน่ื จากของรกั ของชอบใจทั้งสิน้ ยอ่ มม”ี . อานนท์ ! ขอ้ น้ัน จักได้มาแตไ่ หนเลา่  ? สง่ิ ใด เกดิ ขึน้ แล้ว เปน็ แลว้ อันปัจจัยปรุงแล้ว มคี วามชำ�รุดไป เป็นธรรมดา  สิ่งนั้นอย่าชำ�รุดไปเลย  ดังนี้  ข้อนั้น ยอ่ มเปน็ ฐานะท่ีมีไมไ่ ด้. อานนท์ ! เพราะฉะน้ัน  ในเร่ืองน้ี  พวกเธอ ทั้งหลาย  จงมีตนเป็นประทีป  มีตนเป็นสรณะ  ไม่เอา สง่ิ อน่ื เปน็ สรณะ จงมธี รรมเปน็ ประทปี มธี รรมเปน็ สรณะ ไม่มีส่ิงอืน่ เป็นสรณะ. อานนท์ ! ภกิ ษ ุ มีตนเป็นประทีป  มีตนเป็น สรณะ ไมเ่ อาสง่ิ อน่ื เปน็ สรณะ มธี รรมเปน็ ประทปี มธี รรม เปน็ สรณะ ไมเ่ อาสง่ิ อน่ื เปน็ สรณะนน้ั เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? 261

พุทธวจน - หมวดธรรม อานนท์ ! ภิกษุในธรรมวนิ ยั น้ี พจิ ารณาเหน็ กายในกายเนอื งๆ อยู่ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายเนอื งๆ อยู่ พิจารณาเห็นจติ ในจิตเนอื งๆ อยู่ พจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมท้งั หลายเนอื งๆ อยู่ มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มีความร้สู กึ ตวั ทั่วพรอ้ ม มสี ติ ก�ำ จดั อภิชฌาและโทมนสั ในโลกเสียได้. อานนท์ ! ภิกษุ อย่างน้แี ล ชื่อว่ามตี นเป็นประทปี มตี นเปน็ สรณะ ไมเ่ อาสงิ่ อื่นเปน็ สรณะ มีธรรมเป็นประทีป มธี รรมเปน็ สรณะ ไม่เอาสงิ่ อน่ื เปน็ สรณะ เปน็ อย.ู่ อานนท์ ! ในกาลบดั นก้ี ด็ ี ในกาลลว่ งไปแหง่ เรา กด็ ี ใครก็ตาม จักตอ้ งมีตนเป็นประทปี มตี นเป็นสรณะ ไมเ่ อาสง่ิ อน่ื เปน็ สรณะ มธี รรมเปน็ ประทปี มธี รรมเปน็ สรณะ ไมเ่ อาสง่ิ อน่ื เปน็ สรณะ. อานนท์ ! ภิกษุพวกใด  เป็นผู้ใคร่ในสิกขา ภิกษพุ วกนัน้   จักเปน็ ผ้อู ย่ใู นสถานะอนั เลศิ ทสี่ ดุ แล. 262

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ปฐมธรรม หลกั ตัดสินธรรมวินัย ๔ ประการ ๙๕ -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๔-๖/๑๑๓-๖. ๑. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ผมู้ อี าย ุขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั รบั มาเฉพาะพระพกั ตรพ์ ระผมู้ พี ระภาค ว่า “นเี้ ปน็ ธรรม นเ้ี ป็นวินัย นเ้ี ปน็ คำ�สอนของพระศาสดา”... ๒. (หากม)ี ภิกษุในธรรมวินัยน้ีกล่าวอย่างน้ีว่า ในอาวาสชื่อโน้น  มีสงฆ์อยู่พร้อมด้วยพระเถระหัวหน้า ข้าพเจ้าได้สดับมาเฉพาะหน้าสงฆ์น้ันว่า  “น้ีเป็นธรรม  นเ้ี ปน็ วนิ ัย  นีเ้ ป็นคำ�สอนของพระศาสดา”... ๓. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ในอาวาสชื่อโน้น  มีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่จำ�นวนมากเป็น พหูสูตร เรียนคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ัย ทรงมาตกิ า ข้าพเจ้าได้สดับมาเฉพาะหน้าพระเถระรูปนั้นว่า  “น้ีเป็น ธรรม  นีเ้ ป็นวินัย  น้ีเปน็ คำ�สอนของพระศาสดา”... 263

พุทธวจน - หมวดธรรม ๔. (หากม)ี ภิกษุในธรรมวินัยน้ีกล่าวอย่างน้ีว่า ในอาวาสช่ือโน้น  มีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่รูปหน่ึงเป็น พหสู ตู ร เรียนคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ขา้ พเจ้าได้สดบั เฉพาะหนา้ พระเถระรปู นั้นวา่ “นี้เป็นธรรม นี้เปน็ วนิ ัย  น้เี ปน็ คำ�สอนของพระศาสดา”... เธอทั้งหลายยังไม่พึงชื่นชม  ยังไม่พึงคัดค้าน คำ�กลา่ วของผนู้ ัน้ พงึ เรียนบทและพยัญชนะเหล่าน้นั ให้ดี แลว้ พึงสอบสวนลงในพระสูตร เทยี บเคยี งดใู นวินัย ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั สอบลงในสตู รกไ็ มไ่ ด้ เทยี บเข้าในวนิ ยั กไ็ มไ่ ด้ พงึ ลงสนั นิษฐานว่า “นม้ี ใิ ชพ่ ระดำ�รสั ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ น้ั แนน่ อน และภกิ ษนุ ร้ี บั มาผดิ ” เธอทง้ั หลายพงึ ทง้ิ ค�ำ นน้ั เสยี . ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั สอบลงในสตู รกไ็ ด้ เทยี บเขา้ ในวนิ ยั ก็ได้ พงึ ลงสนั นษิ ฐานวา่ “นเ้ี ปน็ พระด�ำ รสั ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ น้ั แน่นอน และภิกษุนนั้ รบั มาด้วยด”ี . เธอทั้งหลาย พึงจำ�มหาปเทส… น้ไี ว้. 264

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : ปฐมธรรม การบูชาตถาคตอย่างสงู สดุ ๙๖ -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๕๙-๖๐/๑๒๘-๙. อานนท์ ! เธอจงจดั ตง้ั ทน่ี อน ระหวา่ งตน้ สาละคู่ มีศีรษะทางทิศเหนือ เราลำ�บากกายนัก จักนอน (ประทับ สีหไสยยาแล้ว มอี ัศจรรย์ ดอกสาละผลิผดิ ฤดกู าลโปรยลงบน พระสรีระ ดอกมณั ฑารพ จรุ ณไ์ ม้จนั ทน์ ดนตรี ล้วนแตข่ องทิพย์ ได้ตกลงและบรรเลงข้ึน เพื่อบูชาตถาคตเจา้ ). อานนท์ ! การบูชาเหล่าน้ี  หาช่ือว่า  ตถาคต เป็นผูท้ ไี่ ดร้ ับสักการะ เคารพนับถอื บชู าแลว้ ไม.่ อานนท์ ! ภิกษุ ภิกษณุ ี อบุ าสก อุบาสิกาใด ประพฤตธิ รรมสมควรแก่ธรรม ปฏบิ ัติชอบยิง่ ปฏิบัติ ตามธรรมอยู่ ผ้นู ัน้ ชือ่ ว่า ย่อมสักการะ เคารพนับถือ บชู าตถาคต ด้วยการบูชาอันสงู สุด. อานนท์ ! เพราะฉะน้ันเธอพึงกำ�หนดใจว่า “เราจักประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม  ปฏิบัติชอบย่ิง ปฏิบัติตามธรรมอยู่” ดังน้.ี 265

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม 266

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ปฐมธรรม พนิ ยั กรรม ของ “พระสงั ฆบดิ า” ๙๗ -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๗๘/๑๔๑., -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๘๐/๑๔๓. อานนท์ ! ความคดิ อาจมแี กพ่ วกเธออยา่ งนว้ี า่ “ธรรมวินัยของพวกเรา  มีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พวกเราไมม่ ีพระศาสดา” ดงั นี้. อานนท์ ! พวกเธออย่าคิดอย่างนั้น. อานนท์ ! ธรรมกด็ ี วินยั ก็ดี ท่ีเราแสดงแล้ว บญั ญัตแิ ลว้ แกพ่ วกเธอท้ังหลาย ธรรมวินยั น้นั จักเปน็ ศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยกาลล่วงไปแห่งเรา. ภิกษทุ ้ังหลาย !   บดั นี้ เราจกั เตือนพวกเธอทั้งหลายวา่ สงั ขารทั้งหลาย มคี วามเส่ือมไปเปน็ ธรรมดา พวกเธอทัง้ หลาย จงท�ำ ความไม่ประมาทให้ถงึ พร้อม เถดิ ดังน.้ี นแ่ี ล เปน็ พระวาจาทต่ี รสั ครง้ั สดุ ทา้ ยของพระตถาคตเจา้ . 267

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม สงั เวชนยี สถานภายหลัง ๙๘ พทุ ธปรนิ พิ พาน -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๖๓/๑๓๑. “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  ! แตก่ อ่ นน้ี ภกิ ษทุ ง้ั หลายทจ่ี ำ�พรรษา ในทศิ ตา่ งๆแลว้ ยอ่ มมาเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ .พวกขา้ พระองคท์ ง้ั หลาย ไดม้ โี อกาสเหน็ ภกิ ษทุ ง้ั หลายผนู้ า่ เจรญิ ใจเหลา่ นน้ั ไดม้ โี อกาสเขา้ พบปะ ภกิ ษุท้งั หลายผนู้ า่ เจรญิ ใจเหลา่ น้นั . ครน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ลว่ งลบั ไปแลว้ พวกขา้ พระองคท์ ง้ั หลาย ยอ่ มหมดโอกาสทจ่ี ะไดเ้ หน็ หรอื ไดเ้ ขา้ พบปะภกิ ษทุ ง้ั หลายผนู้ า่ เจรญิ ใจเหลา่ นน้ั อกี ตอ่ ไป” อานนท์ ! สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่ กุลบตุ รผู้มีศรัทธา มีอยู่ ๔ ตำ�บล. ๔ ตำ�บล อะไรเล่า ? (๑) สถานท่ี ทค่ี วรเหน็ และควรเกดิ ความสงั เวช แก่กุลบตุ รผู้มศี รทั ธา ว่าตถาคตประสตู ิ แล้ว ณ ที่นี้ (๒) สถานท่ี ที่ควรเหน็ และควรเกิดความสังเวช แก่กุลบตุ รผู้มีศรทั ธา ว่าตถาคตไดต้ รัสรู้อนตุ ตรสัมมา- สมั โพธิญาณแลว้ ณ ทีน่ ้ี 268

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ปฐมธรรม (๓) สถานที่ ท่ีควรเหน็ และควรเกิดความสังเวช แกก่ ลุ บตุ รผมู้ ศี รทั ธาวา่ ตถาคตไดป้ ระกาศอนตุ ตรธรรมจกั ร ให้เปน็ ไปแล้ว ณ ทน่ี ้ี (๔) สถานท่ี ที่ควรเห็นและควรเกดิ ความสงั เวช แกก่ ลุ บตุ รผมู้ ศี รทั ธา วา่ ตถาคตปรนิ พิ พานดว้ ยอนปุ าทเิ สส- นพิ พานธาตุแลว้ ณ ที่น้ี อานนท์ ! สถานที่  ท่ีควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่ กุลบตุ รผูม้ ศี รัทธา มี ๔ ตำ�บลเหล่าน้ี แล. อานนท์ ! ภิกษุทั้งหลาย  หรือภิกษุณีทั้งหลาย หรืออุบาสกท้ังหลาย  หรืออุบาสิกาทั้งหลาย  ผู้มีศรัทธา จักพากันมาสู่สถานท่ี  ๔  ตำ�บลเหล่านี้  โดยหมายใจว่า ตถาคตได้ประสูติแล้ว  ณ  ท่ีน้ีบ้าง  ตถาคตได้ตรัสรู้ อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว  ณ  ท่ีนี้บ้าง  ตถาคตได้ ประกาศอนุตตรธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว  ณ  ที่น้ีบ้าง ตถาคตได้ปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ณ ทนี่ ้ีบ้าง ดังน้ี. 269

พุทธวจน - หมวดธรรม อานนท์ ! ชนเหล่าใด เท่ยี วไปตามเจดียสถาน จักมจี ติ เล่ือมใส ทำ�กาละแลว้ ชนเหล่านั้น จักเขา้ ถงึ สุคติโลกสวรรค์ ภายหลงั แต่การตายเพราะการทำ�ลายแหง่ กาย ดังน้ี. 270

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฐมธรรม สถานทีท่ คี่ วรจะระลกึ ตลอดชวี ติ ๙๙ -บาลี ตกิ . อํ. ๒๐/๑๓๔/๔๕๑. ภิกษทุ งั้ หลาย !   สถานที่ ๓ แห่ง เปน็ ที่ระลกึ ตลอดชวี ิตของพระราชา ผู้เปน็ กษตั ริย์มรุ ธาภิเษกแลว้ . ๓ แหง่ ทไี่ หนบ้างเลา่  ? ๓ แห่ง คือ พระราชา  ผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก  ประสูติ ณ ต�ำ บลใด ต�ำ บลน้ีเปน็ ทรี่ ะลกึ ตลอดชวี ิตของพระราชา พระองค์นน้ั เปน็ แหง่ ทหี่ นง่ึ พระราชา  ได้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษกแล้ว  ณ ต�ำ บลใด ต�ำ บลน้ีเปน็ ท่รี ะลึกตลอดชวี ิตของพระราชา พระองค์นน้ั เป็นแห่งท่สี อง พระราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษกทรงผจญ สงครามได้ชัยชนะแล้ว  เข้ายึดครองสนามรบนั้นไว้ได้ ณ ตำ�บลใด ต�ำ บลนเี้ ปน็ ที่ระลึกตลอดชีวติ ของพระราชา พระองค์น้ัน เปน็ แห่งที่สาม. 271



นิพพาน และ การพนทุกข

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ปฐมธรรม เพราะการเกิด เป็นเหตใุ ห้พบกบั ๑๐๐ ความทกุ ข ์ -บาลี มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๘/๔๕๒-๔๕๓. ภิกษุทั้งหลาย !   การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ยอ่ มมไี ด้ เพราะการประชมุ พรอ้ มของสง่ิ ๓ อยา่ ง. ในสตั วโ์ ลกน้ี แมม้ ารดาและบดิ าเปน็ ผอู้ ยรู่ ว่ มกนั แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู  และคันธัพพะ  (สัตว์ท่ีจะ เขา้ ไปปฏสิ นธใิ นครรภน์ น้ั ) กย็ งั ไมเ่ ขา้ ไปตง้ั อยโู่ ดยเฉพาะดว้ ย การปฏิสนธขิ องสตั วใ์ นครรภ์ ก็ยังมขี นึ้ ไม่ไดก้ ่อน. ในสัตว์โลกน้ี แมม้ ารดาและบดิ าเปน็ ผู้อยู่ร่วมกัน และมารดากผ็ า่ นการมรี ะดู แตค่ นั ธพั พะยงั ไมเ่ ขา้ ไปตง้ั อยู่ โดยเฉพาะ การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ นน่ั เอง. ภิกษุทั้งหลาย !   แต่เม่ือใด  มารดาและบิดา เป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย  มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย  การปฏิสนธิ ของสตั วใ์ นครรภ์ ยอ่ มส�ำ เรจ็ ได้ เพราะการประชมุ พรอ้ มกนั ของส่ิง ๓ อยา่ ง ด้วยอาการอย่างน้ี. 274