เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม (๓) ความรักเกิดจากความเกลียด ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซ่ึงไม่เป็น ท่ีปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง มีบุคคล พวกอื่นมาประพฤติกระทำ�ต่อบุคคลน้ัน ด้วยอาการที่ ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ บุคคลโน้นก็จะเกิด ความพอใจขึ้นมาอย่างน้ีว่า “บุคคลเหล่าน้ันประพฤติ กระท�ำ ตอ่ บคุ คลทเ่ี ราไมป่ รารถนารกั ใครพ่ อใจ ดว้ ยอาการ ทไี่ มน่ ่าปรารถนาไมน่ า่ รกั ใครพ่ อใจ” ดงั น้ี บุคคลน้นั ชื่อวา่ ย่อมท�ำ ความรักให้เกดิ ข้นึ ในบุคคลเหลา่ น้ัน. ภิกษทุ ั้งหลาย ! อย่างนีแ้ ล เรยี กวา่ ความรักเกิดจากความเกลียด. 25
พุทธวจน - หมวดธรรม (๔) ความเกลยี ดเกิดจากความเกลยี ด ภิกษุท้ังหลาย ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็น ท่ีปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหน่ึง มีบุคคล พวกอ่ืนมาประพฤติกระทำ�ต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการ ที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ บุคคลโน้นก็จะ เกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างน้ีว่า “บุคคลเหล่าน้ัน ประพฤติกระทำ�ต่อบุคคลท่ีเราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ดว้ ยอาการท่ีน่าปรารถนาน่ารักใคร่นา่ พอใจ” ดังน้ี บคุ คลนัน้ ช่ือว่า ยอ่ มท�ำ ความเกลยี ดใหเ้ กดิ ขน้ึ ในบคุ คลเหลา่ นน้ั . ภิกษุทงั้ หลาย ! อยา่ งน้ีแล เรยี กว่า ความเกลียดเกดิ จากความเกลียด. 26
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม ลกั ษณะของ “ฆราวาสชน้ั เลศิ ” ๐๘ -บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๑๙๔/๙๑. คหบดี ! ในบรรดากามโภคี (ฆราวาส) เหลา่ น้นั กามโภคผี ใู้ ด แสวงหาโภคทรพั ยโ์ ดยธรรม โดยไมเ่ ครยี ดครดั (เกนิ ไปจนทรมานตน) ดว้ ย ครน้ั แสวงหาโภคทรพั ยโ์ ดยธรรม โดยไมเ่ ครยี ดครดั แล้ว ทำ�ตนให้เปน็ สขุ ใหอ้ ่ิมหนำ�ด้วย แบง่ ปนั โภคทรัพย์บ�ำ เพญ็ บุญดว้ ย ไมก่ �ำ หนัด ไม่มวั เมา ไม่ลุ่มหลง มีปกติเหน็ โทษ มปี ัญญาเป็นเครือ่ งสลัดออก บรโิ ภคโภคทรัพย์เหล่านัน้ อย่ดู ว้ ย คหบดี ! กามโภคีผู้น้ี ควรสรรเสริญโดย ฐานะทง้ั สี่ คือ ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่หน่ึง ในข้อท่ีเขา แสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไมเ่ ครียดครัด ควรสรรเสริญโดย ฐานะท่ีสอง ในข้อท่ีเขา ท�ำ ตนใหเ้ ป็นสุขใหอ้ ม่ิ หน�ำ ควรสรรเสริญโดย ฐานะท่ีสาม ในข้อที่เขา แบง่ ปันโภคทรัพยบ์ �ำ เพญ็ บญุ 27
พุทธวจน - หมวดธรรม ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่ส่ี ในข้อท่ีเขา ไมก่ �ำ หนดั ไมม่ วั เมา ไมล่ มุ่ หลง มปี กตเิ หน็ โทษ มปี ญั ญา เป็นเครือ่ งสลัดออก บรโิ ภคโภคทรัพยเ์ หล่าน้ัน. คหบดี ! กามโภคีผู้น้ีควรสรรเสริญโดยฐานะ ทั้งสี่เหลา่ น้.ี คหบดี ! กามโภคีจำ�พวกน้ี เป็นกามโภคี ชั้นเลิศ ชั้นประเสริฐ ช้ันหัวหน้า ชั้นสูงสุด ช้ันบวร กวา่ กามโภคที ้ังหลาย เปรียบเสมือนนมสดเกิดจากแม่โค นมส้มเกิด จากนมสด เนยขน้ เกดิ จากนมสม้ เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใสเกิดจากเนยใส หัวเนยใสปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดารสอนั เกิดจากโคท้งั หลายเหล่านัน้ ขอ้ นฉ้ี นั ใด กามโภคจี �ำ พวกน้ี กป็ รากฏวา่ เลศิ กวา่ บรรดากามโภคที ั้งหลายเหล่านนั้ ฉนั น้นั แล. 28
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม หลกั การดำ�รงชพี ๐๙ เพ่ือประโยชน์สุขในวนั น้ ี -บาลี อฏฺก. อ.ํ ๒๓/๒๘๙-๒๙๓/๑๔๔. พ๎ยคั ฆปัชชะ ! ธรรม ๔ ประการ เหล่านี้ เป็นไปเพื่อประโยชน์เก้อื กูล เพอ่ื ความสุข แก่กุลบตุ ร ในปจั จบุ ัน (ทฏิ ฐธรรม). ๔ ประการ อยา่ งไรเล่า ? ๔ ประการ คอื (๑) ความขยนั ในอาชีพ (อุฏฐานสัมปทา) (๒) การรกั ษาทรพั ย์ (อารกั ขสัมปทา) (๓) ความมีมิตรดี (กัลยาณมติ ตตา) (๔) การด�ำ รงชวี ติ สม�ำ่ เสมอ (สมชีวติ า) ความขยนั ในอาชีพ พย๎ คั ฆปชั ชะ ! ความขยนั ในอาชพี (อฏุ ฐานสมั ปทา) เปน็ อยา่ งไรเล่า ? พย๎ คั ฆปชั ชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี ส�ำ เรจ็ การเปน็ อยู่ ดว้ ยการลกุ ขน้ึ กระท�ำ การงานคอื ดว้ ยกสกิ รรมหรอื วานชิ กรรม 29
พทุ ธวจน - หมวดธรรม โครกั ขกรรม อาชพี ผถู้ อื อาวธุ อาชพี ราชบรุ ษุ หรอื ดว้ ย ศลิ ปะอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ในอาชพี นน้ั ๆ เขาเปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญ ไม่เกียจคร้าน ประกอบด้วยการสอดส่องในอุบายน้ันๆ สามารถกระท�ำ สามารถจัดให้กระทำ�. พ๎ยัคฆปัชชะ ! นีเ้ รียกว่า ความขยันในอาชีพ. การรกั ษาทรัพย์ พย๎ ัคฆปชั ชะ ! การรักษาทรัพย์ (อารกั ขสมั ปทา) เป็นอยา่ งไรเลา่ ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กุลบุตรในกรณีนี้ โภคทรัพย์ อันกุลบุตรหาได้มาด้วยความเพียร เป็นเคร่ืองลุกขึ้น รวบรวมมาด้วยกำ�ลังแขน มีตัวชุ่มด้วยเหงื่อ เป็น โภคทรัพย์ประกอบด้วยธรรม ได้มาโดยธรรม เขารกั ษา คุ้มครองอย่างเตม็ ท่ี ดว้ ยหวังว่า “อยา่ งไรเสยี พระราชา จะไมร่ บิ ทรพั ยข์ องเราไป โจรจะไมป่ ลน้ เอาไป ไฟจะไมไ่ หม้ น�ำ้ จะไมพ่ ดั พาไป ทายาทอนั ไมร่ กั ใครเ่ รา จะไมย่ อ้ื แยง่ เอาไป” ดังนี.้ พย๎ คั ฆปัชชะ ! นเี้ รียกว่า การรกั ษาทรัพย์. 30
เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : ปฐมธรรม ความมมี ติ รดี พ๎ยัคฆปัชชะ ! ความมีมิตรดี (กัลยาณมิตตตา) เปน็ อย่างไรเล่า ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กุลบุตรในกรณีน้ี อยู่อาศัย ในบา้ นหรอื นคิ มใด ถา้ มบี คุ คลใดๆ ในบา้ นหรอื นคิ มนน้ั เปน็ คหบดหี รอื บตุ รคหบดกี ด็ ี เปน็ คนหนมุ่ ทเ่ี จรญิ ดว้ ยศลี หรือเป็นคนแก่ที่เจริญด้วยศีลก็ดี ล้วนแต่ถึงพร้อมด้วย ศรัทธา ถึงพรอ้ มดว้ ยศีล ถงึ พร้อมดว้ ยจาคะ ถงึ พรอ้ ม ด้วยปัญญา อยู่แล้วไซร้ กุลบุตรนั้นก็ดำ�รงตนร่วม พูดจาร่วม สากจั ฉาร่วม กับชนเหลา่ นัน้ . เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยศรัทธาโดย อนุรูป แก่บคุ คลผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยศรทั ธา. เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยศีลโดย อนุรปู แกบ่ ุคคลผู้ถึงพร้อมดว้ ยศีล. เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยจาคะโดย อนุรูป แก่บุคคลผู้ถงึ พร้อมดว้ ยจาคะ. เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยปัญญาโดย อนรุ ปู แกบ่ ุคคลผถู้ ึงพรอ้ มด้วยปญั ญา อยู่ในท่นี ัน้ ๆ. พ๎ยัคฆปัชชะ ! นเี้ รยี กวา่ ความมีมิตรด.ี 31
พทุ ธวจน - หมวดธรรม การดำ�รงชวี ติ สม่ำ�เสมอ พ๎ยคั ฆปัชชะ ! การด�ำ รงชวี ติ สม�ำ่ เสมอ (สมชวี ติ า) เป็นอยา่ งไรเลา่ ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กุลบุตรในกรณีนี้ รู้จักความ ไดม้ าแหง่ โภคทรพั ย์ รจู้ กั ความสน้ิ ไปแหง่ โภคทรพั ย์ แลว้ ด�ำ รงชวี ติ อยอู่ ยา่ งสม�ำ่ เสมอ ไมฟ่ มุ่ เฟอื ยนกั ไมฝ่ ดื เคอื งนกั โดยมหี ลกั วา่ “รายไดข้ องเราจกั ทว่ มรายจา่ ย และรายจา่ ย ของเราจักไมท่ ่วมรายรบั ด้วยอาการอย่างน”้ี ดังน้ี. พย๎ ัคฆปัชชะ ! เปรียบเหมอื นคนถอื ตาชงั่ หรอื ลกู มอื ของเขา ยกตาชัง่ ขึน้ แล้ว กร็ ู้ว่า “ยงั ขาดอยเู่ ท่าน้ี หรือเกินไปแล้วเท่านี้” ดังนี้ฉันใด กุลบุตรนี้ ก็ฉันนั้น เขารู้จักความได้มาแห่งโภคทรัพย์ รู้จักความส้ินไปแห่ง โภคทรพั ย์ แลว้ ด�ำ รงชวี ติ อยอู่ ยา่ งสม�ำ่ เสมอ ไมฟ่ มุ่ เฟอื ยนกั ไมฝ่ ดื เคอื งนกั โดยมหี ลกั วา่ “รายไดข้ องเราจกั ทว่ มรายจา่ ย และรายจา่ ยของเราจกั ไมท่ ว่ มรายรบั ดว้ ยอาการอยา่ งน”้ี ดังน้.ี 32
เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : ปฐมธรรม พ๎ยัคฆปัชชะ ! ถา้ กลุ บตุ รน ้ี เปน็ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย แตส่ �ำ เรจ็ การเปน็ อยอู่ ยา่ งฟมุ่ เฟอื ยแลว้ ไซร้ กจ็ ะมผี กู้ ลา่ ววา่ กลุ บุตรน้ีใชจ้ ่ายโภคทรัพย์ (อยา่ งสรุ ่ยุ สรุ า่ ย) เหมือนคนกิน ผลมะเดื่อ ฉนั ใดก็ฉันนนั้ . พ๎ยัคฆปัชชะ ! แต่ถ้ากุลบุตร เป็นผู้มีรายได้ มหาศาล แตส่ �ำ เรจ็ การเป็นอยอู่ ย่างแร้นแคน้ แล้วไซร้ ก็ จะมผี กู้ ลา่ ววา่ กลุ บตุ รนจ้ี กั ตายอดตายอยากอยา่ งคนอนาถา. พ๎ยัคฆปชั ชะ ! เมอ่ื ใด กลุ บตุ รน้ี รจู้ กั ความไดม้ า แหง่ โภคทรพั ย์ รจู้ กั ความสน้ิ ไปแหง่ โภคทรพั ย์ แลว้ ด�ำ รง ชวี ติ อยอู่ ยา่ งสม�ำ่ เสมอ ไมฟ่ มุ่ เฟอื ยนกั ไมฝ่ ดื เคอื งนกั โดย มหี ลกั วา่ “รายไดข้ องเราจกั ทว่ มรายจา่ ย และรายจา่ ยของเรา จักไม่ทว่ มรายรับ ดว้ ยอาการอย่างนี้” ดังน้ี พ๎ยัคฆปัชชะ ! นี้เราเรียกว่า การดำ�รงชีวิต สม่�ำ เสมอ. พ๎ยัคฆปชั ชะ ! ธรรม ๔ ประการเหล่าน้แี ล เป็นธรรม เป็นไปเพ่ือประโยชน์เกื้อกูล เพ่ือความสุข ของกลุ บุตร ในทฏิ ฐธรรม. 33
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฐมธรรม หลกั การด�ำ รงชีพ ๑๐ เพือ่ ประโยชนส์ ขุ ในวันหน้า -บาลี อฏฺ ก. อ.ํ ๒๓/๒๘๙-๒๙๓/๑๔๔. พ๎ยัคฆปัชชะ ! ธรรม ๔ ประการเหลา่ น้ี เปน็ ไป เพอ่ื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ ของกลุ บตุ ร ในเบอ้ื งหนา้ (สัมปรายะ). ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? ๔ ประการ คอื (๑) ความถงึ พร้อมดว้ ยศรัทธา (สัทธาสัมปทา) (๒) ความถงึ พร้อมด้วยศีล (สลี สมั ปทา) (๓) ความถงึ พรอ้ มดว้ ยการบรจิ าค (จาคสมั ปทา) (๔) ความถงึ พรอ้ มดว้ ยปญั ญา (ปญั ญาสมั ปทา) พ๎ยัคฆปชั ชะ ! ความถึงพร้อมด้วยศรัทธา (สทั ธาสมั ปทา) เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? พย๎ คั ฆปัชชะ ! กุลบุตรในกรณีน้ี เป็นผู้มี ศรทั ธา เชอ่ื ในการตรสั รขู้ องตถาคตวา่ “เพราะเหตอุ ยา่ งนๆ้ี พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นน้ั เปน็ ผไู้ กลจากกเิ ลส เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบ ได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ 34
เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม เปน็ ผไู้ ปแลว้ ดว้ ยดี เปน็ ผรู้ โู้ ลกอยา่ งแจม่ แจง้ เปน็ ผสู้ ามารถ ฝึกบรุ ษุ ทสี่ มควรฝึกได้อยา่ งไมม่ ีใครยง่ิ กว่า เป็นครูผสู้ อน ของเทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย เป็นผู้รู้ ผู้ต่ืน ผู้เบิกบาน ดว้ ยธรรม เปน็ ผมู้ คี วามจ�ำ เรญิ จ�ำ แนกธรรมสง่ั สอนสตั ว”์ ดงั น.้ี พย๎ คั ฆปชั ชะ ! นเ้ี รยี กวา่ ความถงึ พรอ้ มดว้ ยศรทั ธา. พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! ความถงึ พรอ้ มดว้ ยศลี (สลี สมั ปทา) เป็นอยา่ งไรเล่า ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากปาณาตบิ าต เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจากอทนิ นาทาน เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากกาเมสมุ จิ ฉาจาร เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจากมสุ าวาท เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากสรุ าเมรยมชั ชปมาทฏั ฐาน. พย๎ คั ฆปชั ชะ ! นเ้ี รยี กวา่ ความถึงพรอ้ มด้วยศลี . พ๎ยัคฆปัชชะ ! ความถึงพร้อมด้วยการบริจาค (จาคสมั ปทา) เป็นอย่างไรเลา่ ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี มใี จปราศจาก ความตระหนี่อันเป็นมลทิน อยู่ครองเรือน มีจาคะอัน ปล่อยอยู่เป็นประจำ� มีฝ่ามืออันชุ่มเป็นปกติ ยินดีแล้ว ในการสละ ควรแก่การขอ ยินดีแล้วในการจำ�แนกทาน. พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! น้เี รยี กวา่ ความถึงพรอ้ มด้วยการบรจิ าค. 35
พุทธวจน - หมวดธรรม พย๎ ัคฆปัชชะ ! ความถึงพร้อมด้วยปัญญา (ปัญญาสัมปทา) เป็นอย่างไรเลา่ ? พย๎ ัคฆปัชชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี เปน็ ผมู้ ปี ญั ญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงสัจจะแห่งการเกิดดับ เปน็ เครื่องไปจากข้าศกึ เป็นเครอื่ งเจาะแทงกเิ ลส เปน็ เครอ่ื งถงึ ซง่ึ ความสน้ิ ไปแหง่ ทกุ ขโ์ ดยชอบ. พ๎ยัคฆปัชชะ ! นี้เรยี กว่า ความถงึ พร้อมด้วยปัญญา. พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! ธรรม ๔ ประการเหลา่ น้แี ล เป็นธรรม เป็นไปเพ่ือประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ของกุลบุตร ในเบือ้ งหน้า. 36
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม เหตุเส่ือมและเหตเุ จริญแหง่ ทรัพย์ ๑๑ -บาลี อฏฺก. อํ. ๒๓/๒๘๙-๒๙๓/๑๔๔. เหตเุ สอ่ื มแหง่ ทรัพย์ ๔ ประการ พย๎ ัคฆปชั ชะ ! โภคทรัพย์ท่เี กิดข้นึ โดยชอบ… ย่อมมที างเส่อื ม ๔ ประการ คือ (๑) ความเปน็ นกั เลงหญิง (๒) ความเป็นนกั เลงสรุ า (๓) ความเป็นนกั เลงการพนัน (๔) ความมมี ติ รสหายเพอื่ นฝูงเลวทราม พ๎ยัคฆปัชชะ ! เปรยี บเหมอื นทางน�ำ้ เขา้ ๔ ทาง ทางน้ำ�ออก ๔ ทาง ของบึงใหญม่ ีอยู่ บรุ ษุ ปดิ ทางน�้ำ เข้า เหล่านั้นเสีย และเปิดทางน้ำ�ออกเหล่านั้นด้วย ทั้งฝนก็ ไม่ตกลงมาตามทคี่ วร. พย๎ คั ฆปชั ชะ ! เมอ่ื เปน็ อยา่ งนน้ั ความเหอื ดแหง้ เทา่ นน้ั ทห่ี วงั ไดส้ �ำ หรบั บงึ ใหญน่ น้ั ความเตม็ เปย่ี ม ไมม่ ีทาง ท่ีจะหวงั ได้ น้ีฉันใด 37
พทุ ธวจน - หมวดธรรม พ๎ยคั ฆปัชชะ ! ผลที่จะเกิดข้ึนก็ฉันน้ันสำ�หรับ โภคทรัพยท์ ่เี กดิ ข้นึ โดยชอบอย่างนี้แลว้ ย่อมมีทางเสอื่ ม ๔ ประการ คอื (๑) ความเปน็ นกั เลงหญิง (๒) ความเป็นนกั เลงสรุ า (๓) ความเปน็ นกั เลงการพนัน (๔) ความมีมติ รสหายเพอ่ื นฝูงเลวทราม. เหตุเจริญแห่งทรพั ย์ ๔ ประการ พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! โภคทรัพย์ท่ีเกิดข้ึนโดยชอบ… ย่อมมที างเจรญิ ๔ ประการ คอื (๑) ความไม่เปน็ นกั เลงหญิง (๒) ความไม่เปน็ นักเลงสุรา (๓) ความไม่เปน็ นักเลงการพนนั (๔) ความมมี ติ รสหายเพ่อื นฝูงทดี่ ีงาม 38
เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ปฐมธรรม พ๎ยคั ฆปัชชะ ! เปรยี บเหมอื นทางน�ำ้ เขา้ ๔ ทาง ทางน้ำ�ออก ๔ ทาง ของบึงใหญ่ บุรุษเปิดทางนํ้าเข้า เหลา่ น้ันด้วย และปิดทางน้ำ�ออกเหล่านั้นเสีย ทั้งฝนก็ ตกลงมาตามทค่ี วรด้วย. พย๎ คั ฆปัชชะ ! เมอ่ื เปน็ อยา่ งนน้ั ความเตม็ เปย่ี ม เทา่ นน้ั ทห่ี วงั ไดส้ �ำ หรบั บงึ ใหญน่ น้ั ความเหอื ดแหง้ เปน็ อนั ไม่ตอ้ งหวัง นี้ฉนั ใด พ๎ยคั ฆปัชชะ ! ผลท่ีจะเกิดขึ้นก็ฉันน้ันสำ�หรับ โภคทรัพย์ที่เกิดข้ึนโดยชอบอย่างนี้แล้ว ย่อมมีทางเจริญ ๔ ประการ คือ (๑) ความไม่เปน็ นักเลงหญิง (๒) ความไม่เปน็ นกั เลงสรุ า (๓) ความไมเ่ ป็นนกั เลงการพนัน (๔) ความมมี ติ รสหายเพอื่ นฝูงท่ดี ีงาม. 39
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ปฐมธรรม ๑๒อบายมขุ ๖ (ทางเสอ่ื มแห่งทรพั ย์ ๖ ทาง) -บาลี ปา. ที. ๑๑/๑๙๖-๑๙๘/๑๗๘-๑๘๔. คหบดีบุตร ! อริยสาวก ไม่เสพทางเส่ือม แห่งโภคทรัพย์ ๖ ทาง (อบายมุข ๖) คอื (๑) การประกอบเนืองๆ ซึ่งการด่ืมน้ำ�เมา คือ สุราและเมรัย อันเป็นท่ีตั้งแห่งความประมาท เปน็ ทางเสือ่ มแหง่ โภคทรัพย์ (๒) การประกอบเนืองๆ ซึ่งการเท่ียวไป ในตรอกต่างๆ ในเวลากลางคืน เป็นทางเสื่อมแห่ง โภคทรัพย์ (๓) การเท่ียวไปในที่ชุมนุมแห่งความเมา (สมชชฺ าภิจรณ) เป็นทางเสอื่ มแหง่ โภคทรัพย์ (๔) การประกอบเนืองๆ ซ่งึ การพนนั อันเปน็ ท่ตี ้งั แห่งความประมาท เปน็ ทางเสอ่ื มแหง่ โภคทรพั ย์ (๕) การประกอบเนืองๆ ซ่ึงการคบคนช่ัว เป็นมติ ร เป็นทางเสอ่ื มแหง่ โภคทรัพย์ (๖) การประกอบเนืองๆ ซ่งึ ความเกียจคร้าน เปน็ ทางเสอื่ มแหง่ โภคทรพั ย์. 40
เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ปฐมธรรม โทษของอบายมขุ แตล่ ะขอ้ คหบดีบตุ ร ! โทษในการประกอบเนืองๆ ซึ่ง การดม่ื น�ำ้ เมา คอื สรุ าและเมรยั อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความประมาท มี ๖ ประการ คือ (๑) ความเสอื่ มทรพั ยอ์ นั ผูด้ มื่ พงึ เหน็ เอง (๒) กอ่ การทะเลาะววิ าท (๓) เป็นบ่อเกิดแหง่ โรค (๔) เปน็ เหตเุ สยี ช่ือเสียง (๕) เปน็ เหตไุ มร่ ู้จักละอาย (๖) เปน็ เหตทุ อนกำ�ลังปญั ญา คหบดีบุตร ! เหลา่ น้แี ล คอื โทษ ๖ ประการ ในการประกอบเนอื งๆ ซง่ึ การดม่ื น�ำ้ เมา คอื สรุ าและเมรยั อนั เป็นทตี่ ้ังแหง่ ความประมาท. คหบดีบุตร ! โทษในการประกอบเนอื งๆ ซง่ึ การเทย่ี วไปในตรอกตา่ งๆ ในเวลากลางคืน มี ๖ ประการ คอื (๑) ผูน้ ้นั ชือ่ วา่ ไมค่ ุ้มครอง ไม่รักษาตัว (๒) ผนู้ น้ั ชอ่ื วา่ ไมค่ มุ้ ครอง ไมร่ กั ษาบตุ รภรรยา 41
พุทธวจน - หมวดธรรม (๓) ผนู้ น้ั ชอ่ื วา่ ไมค่ มุ้ ครอง ไมร่ กั ษาทรพั ยส์ มบตั ิ (๔) ผู้นั้นชื่อว่า เป็นที่ระแวงของคนอื่น (๕) ค�ำ พดู อนั ไมเ่ ปน็ จรงิ ในทน่ี น้ั ๆ ยอ่ มปรากฏในผนู้ น้ั (๖) เหตแุ หง่ ทกุ ขเ์ ปน็ อนั มาก ยอ่ มแวดลอ้ มผนู้ น้ั คหบดีบุตร ! เหลา่ นีแ้ ล คือ โทษ ๖ ประการ ในการประกอบเนอื งๆ ซง่ึ การเที่ยวไปในตรอกตา่ งๆ ในเวลากลางคืน. คหบดบี ตุ ร ! โทษในการเท่ียวไปในท่ีชุมนุม แห่งความเมา มี ๖ ประการ คอื (๑) รำ�ที่ไหน ไปทนี่ น่ั (๒) ขบั รอ้ งท่ไี หน ไปที่นัน่ (๓) ประโคมที่ไหน ไปท่นี ัน่ (๔) เสภาท่ไี หน ไปท่ีนั่น (๕) เพลงท่ไี หน ไปท่ีนนั่ (๖) เถิดเทงิ ที่ไหน ไปท่นี ่นั คหบดบี ุตร ! เหล่านี้แล คือ โทษ ๖ ประการ ในการเทย่ี วไปในทช่ี ุมนุมแหง่ ความเมา. 42
เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม คหบดบี ุตร ! โทษในการประกอบเนืองๆ ซ่งึ การพนนั อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความประมาท มี ๖ ประการ คอื (๑) ผูช้ นะยอ่ มกอ่ เวร (๒) ผ้แู พย้ อ่ มเสยี ดายทรัพย์ทีเ่ สยี ไป (๓) ย่อมเสือ่ มทรพั ย์ในปัจจบุ ัน (๔) ถ้อยคำ�ของคนเล่นการพนัน ซ่ึงไปพูดในท่ี ประชมุ ฟังไมข่ น้ึ (๕) ถูกมติ ร อมาตยห์ ม่นิ ประมาท (๖) ไมม่ ใี ครประสงคจ์ ะแตง่ งานดว้ ย เพราะเหน็ วา่ ชายนกั เลงเล่นการพนัน ไม่สามารถจะเล้ียงภรรยาได้ คหบดีบุตร ! เหล่านีแ้ ล คือ โทษ ๖ ประการ ในการประกอบเนืองๆ ซ่ึงการพนันอันเป็นที่ตั้งแห่ง ความประมาท. คหบดีบตุ ร ! โทษในการประกอบเนืองๆ ซ่ึง การคบคนช่ัวเป็นมติ ร มี ๖ ประการ คือ (๑) น�ำ ให้เป็นนกั เลงการพนนั (๒) นำ�ใหเ้ ปน็ นักเลงเจ้าชู้ (๓) น�ำ ใหเ้ ป็นนกั เลงเหลา้ 43
พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๔) นำ�ให้เป็นคนลวงผอู้ น่ื ดว้ ยของปลอม (๕) น�ำ ใหเ้ ปน็ คนโกงเขาซง่ึ หนา้ (๖) นำ�ให้เป็นคนหวั ไม้ คหบดบี ุตร ! เหล่านี้แล คอื โทษ ๖ ประการ ในการประกอบเนืองๆ ซึ่งการคบคนชว่ั เปน็ มติ ร. คหบดบี ตุ ร ! โทษในการประกอบเนอื งๆ ซงึ่ ความเกยี จครา้ น มี ๖ ประการ คอื (๑) ชอบอา้ งว่า หนาวนกั แลว้ ไมท่ ำ�การงาน (๒) ชอบอา้ งวา่ ร้อนนกั แล้วไมท่ �ำ การงาน (๓) ชอบอา้ งวา่ เวลาเยน็ แลว้ แลว้ ไมท่ �ำ การงาน (๔) ชอบอ้างว่า ยงั เช้าอยู่ แล้วไมท่ ำ�การงาน (๕) ชอบอ้างว่า หิวนกั แล้วไมท่ ำ�การงาน (๖) ชอบอ้างวา่ กระหายนัก แล้วไม่ท�ำ การงาน เม่ือเขามากไปด้วยการอา้ งเลศ ผลัดผ่อนการงาน อย่อู ย่างน้ ี โภคทรัพย์ท่ยี ังไม่เกิดก็ไม่เกิดข้นึ ท่เี กิดข้นึ แล้ว กถ็ งึ ความส้นิ ไป. คหบดีบุตร ! เหล่าน้ีแล คือ โทษ ๖ ประการ ในการประกอบเนอื งๆ ซ่งึ ความเกยี จคร้าน. 44
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ปฐมธรรม การบรโิ ภคกามคณุ ทง้ั ๕อยา่ งไมม่ โี ทษ ๑๓ -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๓๓๑-๓๓๓/๓๒๗-๓๒๘. ภิกษุทั้งหลาย ! กามคณุ เหลา่ นม้ี ี ๕ อย่าง. ๕ อยา่ ง อยา่ งไรเลา่ ? ๕ อยา่ ง คอื รปู ทเ่ี หน็ ดว้ ยตา เสยี งทฟ่ี งั ดว้ ยหู กลน่ิ ทด่ี มดว้ ย จมกู รสทล่ี ม้ิ ดว้ ยลน้ิ และโผฏฐพั พะทส่ี มั ผสั ดว้ ยผวิ กาย อันเปน็ สิง่ ท่นี ่าปรารถนา น่ารักใคร่ นา่ พอใจ มีลกั ษณะ น่ารัก เป็นท่ีเข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นท่ีต้ัง แห่งความกำ�หนัด. ภิกษุท้ังหลาย ! กามคุณมี ๕ อย่าง เหล่านแ้ี ล. ภิกษุทัง้ หลาย ! ชนเหลา่ ใด จะเปน็ สมณะหรอื พราหมณก์ ต็ าม ติดอกตดิ ใจ สยบอยู่ เมาหมกอยู่ ใน กามคณุ ๕ อยา่ งเหลา่ นแี้ ล้ว ไม่มองเห็นสว่ นทเี่ ปน็ โทษ ไม่เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเครื่องออกไปจากทุกข์ ทำ�การบริโภคกามคุณทั้ง ๕ นั้นอยู่ ชนเหล่านั้น อัน คนทง้ั หลายพงึ เขา้ ใจเถดิ วา่ เปน็ ผถู้ งึ ความพนิ าศยอ่ ยยบั แลว้ แตม่ ารผมู้ บี าปตอ้ งการจะท�ำ ตามอ�ำ เภอใจอยา่ งใด ดงั นี้. 45
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! เปรียบได้ดังเน้ือป่าท่ีติดบ่วง นอนจมอยใู่ นกองบว่ ง ในลกั ษณะทใ่ี ครๆ พงึ เขา้ ใจไดว้ า่ มนั จะถงึ ซง่ึ ความพนิ าศยอ่ ยยบั เปน็ ไปตามความประสงค์ ของพรานทกุ ประการ เมอ่ื พรานมาถงึ เขา้ มนั จะหนไี ปไหน ไมพ่ น้ เลย ดังน ี้ ฉันใดก็ฉนั นน้ั . ภกิ ษุทัง้ หลาย ! ส่วนชนเหล่าใด จะเป็นสมณะ หรือพราหมณ์ก็ตาม ไม่ติดใจ ไม่สยบอยู่ ไมเ่ มาหมกอยู่ ในกามคณุ ๕ เหลา่ น้ีแลว้ มองเห็นสว่ นท่เี ป็นโทษอยู่ เป็นผู้รู้แจ่มแจ้งในอุบายเป็นเคร่ืองออกไปจากทุกข์ บรโิ ภคกามคณุ ทง้ั ๕ นน้ั อยู่ ชนเหลา่ นน้ั อนั คนทง้ั หลาย พึงเข้าใจได้อย่างนี้ว่า เป็นผู้ไม่ถึงความพินาศย่อยยับ ไปตามความประสงคข์ องมารผมู้ บี าปแตอ่ ยา่ งใด ดงั น.้ี ภิกษุท้ังหลาย ! เปรียบเหมือนเน้ือป่าตัวท่ี ไมต่ ดิ บว่ ง แมน้ อนจมอยบู่ นกองบว่ ง มนั กเ็ ปน็ สตั วท์ ใ่ี ครๆ พงึ เขา้ ใจไดว้ า่ เปน็ สตั วท์ ไ่ี มถ่ งึ ความพนิ าศยอ่ ยยบั ไปตาม ความประสงค์ของพรานแตอ่ ยา่ งใด เมื่อพรานมาถึงเข้า มนั จะหลีกหนีไปไดต้ ามทตี่ อ้ งการ ดังน้ี ฉันใดก็ฉนั นน้ั . 46
เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ปฐมธรรม ภิกษทุ ั้งหลาย ! (อีกอย่างหนึ่ง) เปรียบเหมือน เนอ้ื ปา่ เทย่ี วไปในปา่ กวา้ ง เดนิ อยกู่ ส็ งา่ งาม ยนื อยกู่ ส็ งา่ งาม หมอบอยกู่ ส็ งา่ งาม นอนอยกู่ ส็ งา่ งาม. เพราะเหตไุ รเลา่ ? ภิกษุท้ังหลาย ! เพราะเหตวุ า่ เนอ้ื ปา่ นน้ั ยงั ไมม่ า สู่คลองแห่งจักษุของพราน ข้อนฉ้ี นั ใด ภิกษุท้ังหลาย ! ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน สงัดแล้วจากกามและอกุศลธรรมท้ังหลาย เข้าถึงซ่ึง ปฐมฌาณ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แลว้ แลอย.ู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษนุ ้ี เรากลา่ ววา่ ไดท้ �ำ มาร ใหเ้ ปน็ ผตู้ าบอดไมม่ รี อ่ งรอย ก�ำ จดั เสยี แลว้ ซง่ึ จกั ษแุ หง่ มาร ไปแลว้ สทู่ ีซ่ ง่ึ มารผมู้ ีบาปมองไม่เห็น. (ตอ่ ไปนี้ ไดต้ รัสถึงการบรรลุ ทุตยิ ฌาน-ตตยิ ฌาน- จตุตถฌาน-อากาสานัญจายตนะ-วิญญาณัญจายตนะ- อากิญจัญญายตนะ-เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยนัย เดียวกันกับการบรรลุปฐมฌาน เป็นลำ�ดับไป จนกระทั่งถึง สญั ญาเวทยติ นิโรธ โดยข้อความสบื ต่อไปว่า) 47
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! ยงิ่ ไปกวา่ นั้นอีก ภกิ ษกุ ้าวลว่ ง เนวสญั ญานาสญั ญายตนะโดยประการทง้ั ปวง เขา้ ถงึ ซง่ึ สญั ญาเวทยติ นโิ รธ แลว้ แลอย.ู่ อนง่ึ เพราะเหน็ แลว้ ดว้ ย ปัญญา อาสวะท้งั หลายของเธอกส็ ้ินไปรอบ. ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุน้ีเรากล่าวว่า ได้ทำ�มาร ใหเ้ ปน็ ผตู้ าบอด ไมม่ รี อ่ งรอย ก�ำ จดั เสยี แลว้ ซง่ึ จกั ษแุ หง่ มาร ไปแลว้ สทู่ ซ่ี ง่ึ มารผมู้ บี าปมองไมเ่ หน็ ไดข้ า้ มแลว้ ซง่ึ ตณั หา ในโลก. ภิกษุน้ันยืนอยู่ก็สง่างาม เดินอยู่ก็สง่างาม นงั่ อย่กู ส็ ง่างาม นอนอยกู่ ็สง่างาม. เพราะเหตุไรเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย ! เพราะเหตุว่า ภิกษุน้ันไม่ได้ มาสูค่ ลองแห่งอ�ำ นาจของมารผู้มีบาป ดังนีแ้ ล. 48
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม หลกั การพดู ๑๔ -บาลี ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๗๑/๑๙๘. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! วาจาอันประกอบดว้ ยองค์ ๕ ประการ เปน็ วาจาสภุ าษติ ไมเ่ ปน็ วาจาทพุ ภาษติ เปน็ วาจา ไมม่ โี ทษและวิญญูชนไมต่ เิ ตยี น. องค์ ๕ ประการ อยา่ งไรเลา่ ? ๕ ประการ คอื (๑) กล่าวแลว้ ควรแก่เวลา (กาเลน ภาสติ า โหต)ิ (๒) กล่าวแลว้ ตามสัจจ์จริง (สจฺจ ภาสติ า โหติ) (๓) กลา่ วแลว้ อยา่ งออ่ นหวาน (สณหฺ า ภาสติ า โหต)ิ (๔) กล่าวแลว้ อย่างประกอบด้วยประโยชน์ (อตฺถสญหฺ ติ า ภาสติ า โหต)ิ (๕) กลา่ วแล้วดว้ ยเมตตาจิต (เมตตตฺ จตเฺ ตน ภาสติ า โหติ). ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕ ประการ เหลา่ นแ้ี ล เปน็ วาจาสภุ าษติ ไมเ่ ปน็ วาจาทพุ ภาษติ เป็นวาจาไมม่ โี ทษและวิญญชู นไม่ติเตยี น. 49
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ปฐมธรรม 50
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฐมธรรม ลกั ษณะการพูดของตถาคต ๑๕ -บาลี ม. ม. ๑๓/๙๑/๙๔. ราชกมุ าร ! ตถาคตรู้ชดั ซง่ึ วาจาใด อนั ไมจ่ รงิ ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่เป็นที่รัก ทพ่ี งึ ใจของผอู้ ่ืน ตถาคตยอ่ ม ไมก่ ลา่ ววาจานนั้ . ตถาคตรูช้ ัดซง่ึ วาจาใด อนั จริง อนั แท้ แตไ่ ม่ ประกอบด้วยประโยชน์และไม่เป็นท่รี ักท่พี ึงใจของผ้อู ่นื ตถาคตยอ่ ม ไม่กลา่ ววาจานนั้ . ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจรงิ อนั แท้ ประกอบ ดว้ ยประโยชน์ แตไ่ มเ่ ปน็ ทร่ี กั ทพ่ี งึ ใจของผอู้ น่ื ตถาคตยอ่ ม เลอื กใหเ้ หมาะกาล เพ่ือกลา่ ววาจาน้นั . ตถาคตรู้ชัดซ่ึงวาจาใด อันไม่จริง ไม่แท้ ไมป่ ระกอบด้วยประโยชน์ แตเ่ ป็นท่รี กั ทพี่ ึงใจของผูอ้ ืน่ ตถาคตยอ่ ม ไมก่ ล่าววาจาน้นั . ตถาคตรูช้ ัดซงึ่ วาจาใด อันจริง อันแท้ แต่ไม่ ประกอบด้วยประโยชน์ แต่ก็เปน็ ทรี่ กั ท่พี งึ ใจของผู้อื่น ตถาคตย่อม ไม่กล่าววาจานัน้ . 51
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อนั จริง อนั แท้ ประกอบ ด้วยประโยชน์และเป็นท่ีรักที่พึงใจของผู้อื่น ตถาคต ย่อมเปน็ ผู้ รจู้ ักกาละทเี่ หมาะ เพ่อื กลา่ ววาจาน้ัน. 52
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ปฐมธรรม ลักษณะการพูดของสัตบรุ ุษ ๑๖ -บาลี จตุกกฺ . อ.ํ ๒๑/๑๐๐/๗๓. ภิกษทุ ้งั หลาย ! บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ เป็นทร่ี กู้ ันว่า เปน็ สตั บุรษุ . ๔ ประการ อยา่ งไรเลา่ ? ๔ ประการ คือ (๑) ภกิ ษุทงั้ หลาย ! สัตบุรุษในกรณนี ี้ แมม้ ี ใครถามถึง ความไมด่ ีของบุคคลอนื่ กไ็ มเ่ ปิดเผยให้ ปรากฏจะกล่าวทำ�ไมถึงเมื่อไม่ถูกใครถาม ก็เมื่อถูก ใครถามถึงความไมด่ ขี องบุคคลอน่ื กน็ �ำ เอาปัญหาไป ท�ำ ใหห้ ลีกเล้ยี วลดหยอ่ นลง กล่าวความไม่ดีของผู้อื่น อยา่ งไมพ่ สิ ดารเตม็ ท.่ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถดิ วา่ คนคนน้ี เป็น สตั บุรษุ . (๒) ภิกษุทั้งหลาย ! สัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คอื แมไ้ มถ่ กู ใครถามถงึ ความดขี องบคุ คลอน่ื กย็ งั นำ� มาเปิดเผยให้ปรากฏ จะต้องกล่าวทำ�ไมถึงเม่ือถูก ใครถาม ก็เมื่อถูกใครถามถึงความดีของบุคคลอื่น ก็นำ�เอาปัญหาไปทำ�ให้ไม่หลีกเล้ียวลดหย่อน กล่าว ความดีของผู้อ่ืนโดยพิสดารบริบูรณ์. ภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนีพ้ ึงรกู้ ันเถิดว่า คนคนนี้ เป็น สตั บรุ ุษ. 53
พุทธวจน - หมวดธรรม (๓) ภิกษุทั้งหลาย ! สัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แมไ้ มม่ ใี ครถามถึง ความไม่ดขี องตน กย็ งั น�ำ มา เปดิ เผยใหป้ รากฏ ท�ำ ไมจะตอ้ งกลา่ วถงึ เมอ่ื ถกู ถามเลา่ กเ็ มอ่ื ถกู ใครถามถงึ ความไมด่ ขี องตน กไ็ มน่ �ำ เอาปญั หา ไปหาทางทำ�ให้ลดหย่อนบิดพลิ้ว แต่กล่าวความไม่ดี ของตนโดยพสิ ดารเตม็ ท.่ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถิดวา่ คนคนน้ี เป็น สตั บรุ ษุ . (๔) ภิกษุท้ังหลาย ! สัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คอื แมม้ ใี ครถามถงึ ความดขี องตน กไ็ มเ่ ปดิ เผยใหป้ รากฏ ทำ�ไมจะต้องกล่าวถึงเมื่อไม่ถูกใครถามเล่า กเ็ มื่อถูก ใครถามถึงความดีของตน ก็นำ�เอาปัญหาไปกระทำ� ให้ลดหย่อนหลีกเลี้ยวเสีย กล่าวความดีของตนโดย ไม่พิสดารเต็มที่. ภิกษุท้ังหลาย ! ข้อน้ีพึงรู้กันเถิดว่า คนคนนี้ เปน็ สัตบุรษุ . ภิกษุท้ังหลาย ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหลา่ น้ีแล เปน็ ท่ีรู้กนั วา่ เป็น สัตบรุ ุษ. 54
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม ลกั ษณะการพดู ของอสัตบรุ ุษ ๑๗ -บาลี จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๑๐๐/๗๓. ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นที่รู้กันว่า เป็น อสตั บรุ ุษ. ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? ๔ ประการ คือ (๑) ภิกษุทงั้ หลาย ! อสตั บรุ ษุ ในกรณีน้ี แม้ ไมม่ ใี ครถามถงึ ความไมด่ ขี องบคุ คลอน่ื กน็ �ำ มาเปดิ เผย ใหป้ รากฏ ไมต่ อ้ งกลา่ วถงึ เมอ่ื ถกู ใครถาม กเ็ มอ่ื ถกู ใคร ถามถึง ความไม่ดีของบุคคลอื่น ก็นำ�เอาปัญหาไป ท�ำ ใหไ้ มม่ ที างหลกี เลย้ี วลดหยอ่ น แลว้ กลา่ วความไมด่ ี ของผอู้ ่ืนอย่างเต็มท่โี ดยพิสดาร. ภิกษทุ ้งั หลาย ! ขอ้ นี้ พึงรู้กนั เถิดวา่ คนคนน้ี เป็น อสตั บุรษุ . (๒) ภิกษุท้ังหลาย ! อสตั บรุ ษุ อยา่ งอน่ื ยงั มอี กี คอื แมถ้ กู ใครถามถงึ ความดขี องบคุ คลอน่ื กไ็ มเ่ ปดิ เผย ให้ปรากฏ ไม่ต้องกล่าวถึงเมื่อไม่ถูกใครถาม ก็เม่ือ ถูกใครถามถึงความดีของบุคคลอ่ืน ก็นำ�เอาปัญหา ไปทำ�ให้ลดหย่อนไขว้เขว แล้วกล่าวความดีของผู้อื่น อยา่ งไมพ่ สิ ดารเตม็ ท.่ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถดิ วา่ คนคนนี้ เปน็ อสัตบรุ ษุ . 55
พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๓) ภิกษุท้ังหลาย ! อสตั บรุ ษุ อยา่ งอน่ื ยงั มอี กี คือ แม้ถูกใครถามถึง ความไม่ดีของตน ก็ปกปิด ไมเ่ ปดิ เผยใหป้ รากฏ ไมต่ อ้ งกลา่ วถงึ เมอ่ื ไมถ่ กู ใครถาม กเ็ ม่อื ถูกใครถามถึงความไม่ดีของตน ก็นำ�เอาปัญหา ไปท�ำ ให้ลดหย่อนไขว้เขว แล้วกล่าวความไมด่ ขี องตน อยา่ งไมพ่ สิ ดารเตม็ ท.่ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถดิ วา่ คนคนนี้ เปน็ อสัตบุรษุ . (๔) ภิกษุทั้งหลาย ! อสตั บรุ ษุ อยา่ งอน่ื ยงั มอี กี คือ แมไ้ มม่ ใี ครถามถงึ ความดีของตน ก็นำ�มาโออ้ วด เปิดเผย จะต้องกล่าวทำ�ไมถึงเมื่อถูกใครถาม ก็เมื่อ ถูกใครถามถึงความดีของตน ก็นำ�เอาปัญหาไปทำ�ให้ ไมล่ ดหยอ่ นหลกี เลย้ี ว กลา่ วความดขี องตนอยา่ งเตม็ ที่ โดยพสิ ดาร. ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถดิ วา่ คนคนน้ี เป็น อสัตบุรุษ. ภิกษุท้ังหลาย ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านแี้ ล เปน็ ทร่ี ู้กนั วา่ เป็น อสตั บรุ ุษ. 56
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ปฐมธรรม อยา่ หเู บา ๑๘ -บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕. (๑) อยา่ ถือเอาว่าจรงิ เพราะเหตุสกั ว่า ฟงั ตามๆ กนั มา (อนสุ ฺสว) (๒) อยา่ ถอื เอาว่าจริง เพราะเหตสุ ักว่า กระท�ำ ตามๆ กันมา (ปรมฺปร) (๓) อยา่ ถอื เอาว่าจรงิ เพราะเหตุสกั ว่า เล่าลอื กนั อยู่ (อิตกิ ิร) (๔) อย่าถอื เอาว่าจรงิ เพราะเหตสุ กั ว่า มีทีอ่ า้ งในปฎิ ก (ปิฏกสมปฺ ทาย) (๕) อย่าถือเอาวา่ จรงิ เพราะเหตสุ กั วา่ การใชเ้ หตผุ ลทางตรรกคาดคะเน (ตกกฺ เหต)ุ (๖) อย่าถือเอาวา่ จรงิ เพราะเหตสุ กั วา่ การใช้เหตผุ ลทางนยั ะสันนิษฐาน (นยเหต)ุ 57
พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๗) อยา่ ถอื เอาว่าจริง เพราะเหตสุ ักวา่ การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกกฺ ) (๘) อยา่ ถือเอาวา่ จริง เพราะเหตุสักวา่ ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทฏิ ฺนิ ิชฺฌานกฺขนฺติ) (๙) อย่าถอื เอาวา่ จรงิ เพราะเหตสุ ักว่า ฟงั ดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) (๑๐) อยา่ ถอื เอาวา่ จริง เพราะเหตุสักวา่ สมณะผพู้ ูดเป็นครขู องตน (สมโณ โน คร)ุ . 58
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ปฐมธรรม เข้าใจธรรมเพยี งบทเดียว ๑๙ กเ็ พียงพอ -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๓๘๙/๖๐๕. คามณิ ! ... เพราะเหตวุ ่า ถงึ แมเ้ ขาจะเขา้ ใจธรรม ที่เราแสดงสกั บทเดียว นัน่ กย็ งั จะเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชน์เก้ือกูล และความสุขแก่ชนทัง้ หลายเหล่านัน้ ตลอดกาลนาน. 59
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : ปฐมธรรม ใหเ้ ป็นผูห้ นกั แน่น ๒๐ -บาลี ม. ม. ๑๓/๑๓๘-๑๔๐/๑๔๐-๑๔๔. ราหลุ ! เธอจงอบรมจิตให้เสมอด้วยแผ่นดิน (ปฐวี) เถิด เม่ือเธออบรมจิตให้เสมอด้วยแผ่นดินอยู่ ผัสสะท้ังหลายที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดขึ้นแล้ว จกั ไมก่ ลมุ้ รมุ จติ ตง้ั อย.ู่ ราหลุ ! เปรยี บเหมอื นเมอ่ื คนเขา ทง้ิ ของสะอาดบา้ ง ไมส่ ะอาดบา้ ง ทง้ิ คถู บา้ ง ทง้ิ มตู รบา้ ง ทิ้งนำ้�ลายบ้าง หนองบ้าง โลหิตบ้าง ลงบนแผ่นดิน แผ่นดินก็ไม่รู้สึกอึดอัดระอารังเกียจ ด้วยส่ิงเหล่าน้ัน นฉ้ี นั ใด ราหลุ ! เธอจงอบรมจติ ใหเ้ สมอดว้ ยแผน่ ดนิ เถดิ เมอื่ เธออบรมจิตให้เสมอดว้ ยแผ่นดนิ อยู่ ผัสสะทงั้ หลาย ท่ีน่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดข้ึนแล้ว จักไม่กลุ้มรุม จิตตง้ั อย ู่ ฉนั นัน้ เหมือนกัน. ราหลุ ! เธอจงอบรมจติ ใหเ้ สมอดว้ ยน�ำ้ (อาโป) เถดิ เมอ่ื เธออบรมจิตให้เสมอด้วยน�ำ้ อยู่ ผสั สะท้งั หลาย ที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดขึ้นแล้ว จักไม่กลุ้มรุม จิตต้ังอยู่. ราหุล ! เปรียบเหมือนเม่ือคนเขาล้างของ สะอาดบ้าง ไม่สะอาดบ้าง ล้างคูถบ้าง ล้างมูตรบ้าง 60
เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ปฐมธรรม น�ำ้ ลายบา้ ง หนองบา้ ง โลหติ บา้ ง ลงในน�ำ้ น�ำ้ กไ็ มร่ สู้ กึ อึดอัดระอารงั เกยี จ ด้วยสงิ่ เหล่านนั้ นีฉ้ นั ใด ราหลุ ! เธอจงอบรมจติ ใหเ้ สมอดว้ ยน�ำ้ เถดิ เมอ่ื เธออบรมจติ ใหเ้ สมอ ด้วยน้ำ�อยู่ ผัสสะท้ังหลายท่ีน่าพอใจและไม่น่าพอใจ อนั เกดิ ขน้ึ แลว้ จกั ไมก่ ลมุ้ รมุ จติ ตง้ั อย ู่ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั . ราหุล ! เธอจงอบรมจติ ใหเ้ สมอดว้ ยไฟ (เตโช) เถดิ เมือ่ เธออบรมจติ ให้เสมอดว้ ยไฟอยู่ ผัสสะทงั้ หลาย ท่ีน่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดข้ึนแล้ว จักไม่กลุ้มรุม จติ ตง้ั อย.ู่ ราหลุ ! เปรยี บเหมอื นเมอ่ื คนทง้ิ ของสะอาดบา้ ง ไมส่ ะอาดบ้าง ทง้ิ คูถบา้ ง ท้งิ มูตรบา้ ง น�ำ้ ลายบา้ ง หนอง บา้ ง โลหติ บ้าง ลงไปใหม้ ันไหม้ ไฟกไ็ ม่รู้สกึ อึดอดั ระอา รงั เกยี จ ดว้ ยสง่ิ เหลา่ นน้ั นฉ้ี นั ใด ราหลุ ! เธอจงอบรมจติ ใหเ้ สมอด้วยไฟเถดิ เมอ่ื เธออบรมจติ ให้เสมอดว้ ยไฟอยู่ ผัสสะทั้งหลายที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดข้ึนแล้ว จักไม่กลุม้ รมุ จติ ตง้ั อย ู่ ฉนั นนั้ เหมอื นกัน. ราหุล ! เธอจงอบรมจติ ใหเ้ สมอดว้ ยลม (วาโย) เถดิ เม่อื เธออบรมจติ ให้เสมอด้วยลมอยู่ ผสั สะทง้ั หลาย ท่ีน่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดขึ้นแล้ว จักไม่กลุ้มรุม 61
พทุ ธวจน - หมวดธรรม จิตตั้งอย.ู่ ราหุล ! เปรยี บเหมือนลมพัดผา่ นไปในของ สะอาดบา้ ง ไมส่ ะอาดบ้าง คูถบา้ ง มูตรบ้าง นำ้�ลายบ้าง หนองบา้ ง โลหิตบ้าง ลมก็ไม่ร้สู ึกอึดอัดระอารงั เกยี จ ด้วยสง่ิ เหลา่ นน้ั นฉ้ี ันใด ราหลุ ! เธอจงอบรมจติ ให้ เสมอด้วยลมเถิด เมื่อเธออบรมจิตให้เสมอด้วยลมอยู่ ผัสสะท้ังหลายที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดขึ้นแล้ว จักไม่กลมุ้ รุมจิตตง้ั อยู ่ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั . ราหุล ! เธอจงอบรมจิตให้เสมอด้วยอากาศ เถดิ เมอ่ื เธออบรมจติ ใหเ้ สมอดว้ ยอากาศอยู่ ผสั สะทง้ั หลาย ที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจอันเกิดข้ึนแล้ว จักไม่กลุ้มรุม จิตต้งั อย.ู่ ราหุล ! เปรยี บเหมอื นอากาศ เป็นสง่ิ มิได้ ตง้ั อยเู่ ฉพาะในทไ่ี รๆ นฉ้ี นั ใด ราหลุ ! เธอจงอบรมจติ ให้เสมอด้วยอากาศเถิด เม่ือเธออบรมจิตให้เสมอด้วย อากาศอยู่ ผัสสะท้ังหลายที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจ อนั เกิดขึน้ แลว้ จกั ไม่กลมุ้ รมุ จติ ตั้งอยู่ ฉนั นนั้ เหมือนกัน. 62
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม ลาภสักการะและเสียงเยินยอ ๒๑ เปน็ อันตรายแม้แตพ่ ระอรหันต์ -บาลี นิทาน. สํ. ๑๖/๒๘๐/๕๘๐. ภิกษุท้ังหลาย ! ลาภสักการะและเสียงเยินยอ เป็นอันตรายท่ที ารณุ แสบเผด็ หยาบคาย ตอ่ การบรรลุ พระนพิ พานอนั เปน็ ธรรมเกษมจากโยคะ ไมม่ ธี รรมอน่ื ยง่ิ กวา่ . ภิกษุท้ังหลาย ! เรากล่าว “ลาภสักการะและ เสียงเยินยอ ว่าเป็นอันตราย แม้แก่ภิกษุผู้เป็นอรหันต์ สนิ้ อาสวะแล้ว” ดงั นี้. คร้ันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดังนี้ ท่านพระอานนท์ ได้ทูลถามขึ้นว่า “ลาภสักการะและเสียงเยินยอ เป็นอันตราย แกภ่ ิกษผุ ้สู น้ิ อาสวะแล้ว ชนดิ ไรเล่า พระเจ้าขา้ ?” ดงั น้ี. อานนท์ ! เราหาได้กล่าวลาภสักการะและ เสยี งเยนิ ยอ วา่ เปน็ อนั ตรายตอ่ เจโตวมิ ตุ ตอิ นั ไมก่ ลบั ก�ำ เรบิ แลว้ ไม.่ อานนท์ ! แต่เรากล่าวลาภสักการะและเสยี ง เยนิ ยอ วา่ เปน็ อนั ตรายตอ่ การอยเู่ ปน็ สขุ ในทฏิ ฐธรรมน้ี ซ่ึงภิกษผุ ูอ้ ยู่ด้วยความไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มตี นสง่ ไปแลว้ ในธรรมเครือ่ งสงบ ไดล้ ถุ งึ แลว้ . 63
พุทธวจน - หมวดธรรม อานนท์ ! ลาภสักการะและเสียงเยินยอเป็น อันตรายที่ทารุณ แสบเผ็ด หยาบคายต่อการบรรลุ พระนพิ พานอนั เปน็ ธรรมเกษมจากโยคะ ไมม่ ธี รรมอน่ื ยง่ิ กวา่ ด้วยอาการอย่างน.้ี อานนท์ ! เพราะฉะนน้ั ในเรอ่ื งนพ้ี วกเธอทง้ั หลาย พึงส�ำ เหนียกใจไวอ้ ยา่ งนี้วา่ “เราทงั้ หลาย จักไมเ่ ย่ือใยในลาภสักการะและ เสยี งเยนิ ยอท่ีเกิดขน้ึ . อนง่ึ ลาภสกั การะและเสยี งเยนิ ยอทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ต้องไมม่ าห่อหมุ้ อย่ทู ่จี ติ ของเรา” ดังน้ี. อานนท์ ! พวกเธอทัง้ หลาย พึงสำ�เหนยี กใจไว้ อย่างนแ้ี ล. 64
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ปฐมธรรม ลักษณะของผู้มสี ติและสัมปชญั ญะ ๒๒ -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๒๖๐/๓๗๔-๓๘๑. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ภิกษเุ ปน็ ผมู้ สี ติเป็นอยา่ งไรเล่า ? ภิกษทุ ้งั หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณีนี้ เป็นผเู้ หน็ กาย ในกายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ กำ�จดั อภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได้ เป็นผู้เห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็น ประจำ� ... เปน็ ผเู้ ห็นจิตในจติ อยูเ่ ปน็ ประจ�ำ ... เป็นผู้เห็นธรรมในธรรมท้ังหลายอยู่เป็นประจำ� มคี วามเพยี รเผากิเลส มีสัมปชญั ญะ มสี ติ กำ�จดั อภชิ ฌา และโทมนัสในโลกออกเสียได้. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อยา่ งน้แี ล เรยี กวา่ ภิกษเุ ปน็ ผมู้ สี ต.ิ 65
พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! ภิกษเุ ปน็ ผู้มสี มั ปชัญญะ เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้รู้ตัว รอบคอบในการก้าวไปขา้ งหนา้ การถอยกลบั ไปข้างหลัง การแลดู การเหลียวดู การคู้ การเหยยี ด การทรงสงั ฆาฏิ บาตร จีวร การฉนั การดืม่ การเค้ียว การลม้ิ การถ่าย อุจจาระ ปสั สาวะ การไป การหยุด การนงั่ การนอน การ หลับ การต่ืน การพดู การนิง่ . ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! อยา่ งนี้แล เรยี กว่า ภิกษเุ ปน็ ผู้มีสมั ปชัญญะ. 66
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ปฐมธรรม สิ่งทีพ่ ระศาสดา ๒๓ ถือวา่ เป็นความอศั จรรย์ -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๒๕๔/๓๗๙. อานนท์ ! เพราะเหตนุ น้ั ในเรอ่ื งน ้ี เธอพงึ จ�ำ สง่ิ อนั นา่ อศั จรรย์ ไม่เคยมมี าแต่ก่อนของตถาคตขอ้ นไ้ี ว้. อานนท์ ! ในกรณีนคี้ อื เวทนา เปน็ ของแจม่ แจ้งแกต่ ถาคต แลว้ จงึ เกดิ ขน้ึ แลว้ จงึ ตง้ั อยู่ แลว้ จงึ ดบั ไป สญั ญา เปน็ ของแจ่มแจง้ แกต่ ถาคต แลว้ จงึ เกดิ ขน้ึ แลว้ จงึ ตง้ั อยู่ แลว้ จงึ ดบั ไป วิตก เป็นของแจ่มแจง้ แกต่ ถาคต แลว้ จงึ เกดิ ขน้ึ แลว้ จงึ ตง้ั อยู่ แลว้ จงึ ดบั ไป อานนท์ ! เธอจงทรงจ�ำ สง่ิ อนั นา่ อศั จรรยไ์ มเ่ คยมมี าแตก่ อ่ น ของตถาคตขอ้ นแ้ี ล. 67
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : ปฐมธรรม จติ อธษิ ฐานการงาน ๒๔ -บาลี ฉกฺก. อํ. ๒๒/๓๖๓/๓๐๐. อานนท์ ! ฐานะท่ีตั้งแหง่ อนสุ สติ มีเทา่ ไร ? “มี ๕ อย่าง พระเจ้าขา้ !”. ดีละ ดลี ะ อานนท์ ! ถ้าอยา่ งน้นั เธอจงทรงจำ� ฐานะที่ตั้งแห่งอนุสสติที่ ๖ นี้ไว้ คือ ภกิ ษใุ นกรณีนี้ มสี ต ิ ก้าวไป มสี ต ิ ถอยกลับ มสี ติ ยืนอยู่ มีสติ น่ังอยู่ มีสติ ส�ำ เรจ็ การนอนอยู่ มสี ติ อธิษฐานการงาน อานนท์ ! น้ีเป็นฐานะทีต่ ้ังแหง่ อนุสสต ิ ซ่ึงเมือ่ บคุ คลเจรญิ กระทำ�ใหม้ ากแล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพื่อสติสัมปชัญญะ. 68
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ปฐมธรรม การต้งั จติ กอ่ นนอน ๒๕ -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๒๓๘/๓๔๘. อานนท์ ! ถ้าเมื่อภกิ ษุนั้น ... จิตนอ้ มไปเพอ่ื การนอน เธอก็ นอนดว้ ยการต้ังใจวา่ “บาปอกศุ ลธรรมท้ังหลาย กลา่ วคือ อภิชฌา และโทมนัส จกั ไม่ไหลไปตามเราผู้นอนอยู่ ดว้ ยอาการ อย่างนี”้ ดังน้ี ในกรณีอย่างนี้ ภกิ ษนุ นั้ ชอ่ื ว่า เปน็ ผมู้ ีความรูส้ ึกตัวทว่ั พร้อม ในกรณีแห่งการนอนนน้ั . 69
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ปฐมธรรม มืดมา...สว่างไป ๒๖ สว่างมา...ก็ยังคงสวา่ งไป -บาลี สคา. สํ. ๑๕/๑๓๖-๑๓๘/๓๙๓-๓๙๗. มหาราช ! ก็อย่างไร บุคคลช่ือว่าเป็นผู้มืด แล้วกลับสวา่ งต่อไป. มหาราช ! บุคคลบางคนในโลกน้ี เปน็ คนเกดิ มาภายหลังในตระกูลอันต�ำ่ ทราม คอื ในตระกลู จัณฑาล ตระกลู พราน ตระกลู จักสาน ตระกลู ท�ำ รถ หรอื ตระกลู เทหยากเย่อื ซึ่งเปน็ คนยากจน มีข้าวและน�้ำ นอ้ ย เปน็ อยู่ ฝดื เคือง มอี าหารและเคร่ืองนงุ่ หม่ หาได้โดยยาก เขาเป็น ผู้มผี วิ พรรณทราม ไมน่ า่ ดู เตี้ยค่อม ขโี้ รค ตาบอด งอ่ ย กระจอก มีตวั ตะแคงขา้ ง ไมค่ ่อยจะมีข้าว น�ำ้ เครื่องนงุ่ ห่ม ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เคร่อื งลูบไล้ ท่ีนอน ท่ีอยู่ และประทีปโคมไฟ แม้กระน้ัน เขาก็ประพฤติ สจุ รติ ดว้ ยกาย วาจา ใจ คร้ันเขาประพฤตสิ จุ ริตด้วยกาย วาจา ใจแล้ว คร้ันตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์. มหาราช ! บุรุษพึงข้นึ จากแผ่นดินสบู่ ัลลังก์ หรือพงึ ขนึ้ จากบัลลังก์สู่หลังม้า หรือพึงข้ึนจากหลังม้าสู่คอช้าง 70
เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ปฐมธรรม หรือพึงขึ้นจากคอช้างสู่ปราสาท แม้ฉันใด มหาราช ! ตถาคตย่อมกลา่ วว่า บุคคลนมี้ อี ปุ ไมยฉนั นัน้ . มหาราช ! อยา่ งนแ้ี ล บคุ คลชอ่ื วา่ เปน็ ผมู้ ดื แลว้ กลับสว่างตอ่ ไป. มหาราช ! กอ็ ยา่ งไร บคุ คลชอื่ ว่าเป็นผูส้ ว่าง แลว้ คงสว่างตอ่ ไป มหาราช ! บคุ คลบางคนในโลกน้ี เป็นคนเกิด มาภายหลังในตระกูลสูง คือในสกุลกษัตริย์มหาศาล สกุลพราหมณ์มหาศาล หรือสกุลคหบดีมหาศาล อัน ม่ังค่ัง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินพอตัว มีอุปกรณแ์ หง่ ทรัพย์พอตัว มที รัพย์และข้าวเปลือกพอตัว เขามรี ปู งาม นา่ ดู นา่ เลอ่ื มใส ประกอบดว้ ยความเกลย้ี งเกลา แหง่ ผวิ พรรณอยา่ งยง่ิ ร�ำ่ รวยดว้ ยขา้ ว ดว้ ยน�ำ้ เครอ่ื งนงุ่ หม่ ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครอื่ งลบู ไล้ ท่ีนอน ทอี่ ยู่ และประทปี โคมไฟ เขายอ่ มประพฤตสิ ุจริตดว้ ย กาย วาจา ใจ ครั้นเขาประพฤตสิ ุจรติ ด้วยกาย วาจา ใจ แลว้ ครั้นตายไป ย่อมเข้าถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค.์ มหาราช ! 71
พทุ ธวจน - หมวดธรรม บุรุษพึงก้าวไปด้วยดีจากบัลลังก์ส่บู ัลลังก์ หรือพึงก้าวไป ด้วยดีจากหลังม้าสู่หลังม้า หรือพึงก้าวไปด้วยดีจาก คอช้างสู่คอช้าง หรือพึงก้าวไปด้วยดีจากปราสาทสู่ ปราสาท แมฉ้ นั ใด มหาราช ! ตถาคตยอ่ มกลา่ ววา่ บุคคลนี้มอี ุปไมยฉนั นัน้ . มหาราช ! อยา่ งน้ีแล บคุ คลชอ่ื ว่าเปน็ ผู้สวา่ ง แล้วคงสวา่ งต่อไป. 72
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ปฐมธรรม เหตุของความสามัคคี ๒๗ และความแตกแยก -บาลี ติก. อํ. ๒๐/๒๕๕-๓๖๕/๕๖๔. ภิกษุทั้งหลาย ! ในทิศใดพวกภิกษุ มีความ พรอ้ มเพรยี งกนั มคี วามบนั เทงิ ตอ่ กนั และกนั ไมท่ ะเลาะ ววิ าทกนั เขา้ กนั ไดส้ นทิ เหมอื นน�ำ้ นมกบั น�ำ้ มองดกู นั ดว้ ย สายตาแห่งความรักอยู่ ภิกษุทั้งหลาย ! ทิศนั้น เป็น ท่ีผาสุกแก่เรา แม้ต้องเดินไป (อย่างเหน็ดเหนื่อย) จะ ป่วยกลา่ วไปไย ถึงการที่เพียงแต่นึกถงึ . ในกรณีน้ี เรา เช่ือแน่แก่ใจวา่ เป็นเพราะภกิ ษเุ หล่านัน้ ไดล้ ะทิง้ ธรรม ๓ อย่างเสียแล้ว และพากันมาถือกระทำ�ให้มากใน ธรรม ๓ อย่าง. ธรรม ๓ อยา่ ง อะไรบา้ งเลา่ ทเ่ี ธอละทง้ิ เสยี แลว้ ? ๓ อย่าง คือ ๑. กามวิตก ความตรกึ ในกาม ๒. พ๎ยาปาทวติ ก ความตรกึ ในทางมุ่งร้าย ๓. วิหิงสาวิตก ความตรึกท่ีก่อให้เกิดความ ล�ำ บากทัง้ แกต่ นและผอู้ ่ืน 73
พุทธวจน - หมวดธรรม ธรรม ๓ อย่างเหลา่ นแ้ี ล ทพี่ วกภิกษุเหล่านน้ั ละท้งิ เสยี แลว้ . ก็ธรรม ๓ อยา่ ง อย่างไรเล่า ที่พวกภิกษเุ หลา่ นน้ั พากนั มาถือ กระทำ�เพม่ิ พูนใหม้ าก ? ๓ อย่าง คอื ๑. เนกขัมมวิตก ความตรึกในการหลีกออก จากความพัวพันในกาม ๒. อัพ๎ยาปาทวิตก ความตรึกในการไม่ทำ� ความมุ่งรา้ ย ๓. อวิหิงสาวิตก ความตรึกในการไม่ทำ�ตน และผู้อ่ืนใหล้ �ำ บาก ธรรม ๓ อย่าง เหล่านแ้ี ล ทพ่ี วกภิกษุเหลา่ น้ัน พากนั มาถอื กระทำ�เพมิ่ พนู ให้มาก. 74
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388