ค�มู ือครรู ายวชิ าพื้นฐาน
คมู ือครู รายวชิ าพืน้ ฐาน คณิตศาสตร ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๔ ตามมาตรฐานการเรียนรูแ ละตวั ช้วี ดั กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จัดทาํ โดย สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คํานาํ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) มีหนาที่ในการพัฒนา หลักสูตร วิธีการเรียนรู การประเมินผล การจัดทําหนังสือเรียน คูมือครู แบบฝกทักษะ กจิ กรรม และสื่อการเรยี นรเู พ่อื ใชป ระกอบการเรยี นรใู นกลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ คณติ ศาสตรข องการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน คูมือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๔ นี้ จัดทําตามมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเน้ือหาสาระ ขอเสนอแนะเก่ียวกับการสอน แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน การวัดผลประเมินผล ระหวางเรียน การวิเคราะหความสอดคลองของแบบฝกหัดทายบทกับจุดมุงหมายประจําบท ความรูเพ่ิมเติมสําหรับครูซ่ึงเปนความรูท่ีครูควรทราบนอกเหนือจากเนื้อหาในหนังสือเรียน ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทพรอมเฉลย รวมท้ังเฉลยแบบฝกหัด ซ่ึงสอดคลองกับหนังสือ เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานคณิตศาสตร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๔ ทตี่ องใชค วบคูก ัน สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการจัดการเรียนรู และ เปนสวนสําคญั ในการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษากลุม สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิ บุคลากรทางการศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ ในการจัดทาํ ไว ณ โอกาสนี้ (นางพรพรรณ ไวทยางกูร) ผอู าํ นวยการสถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ
คําชแี้ จง สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจ ดั ทําตัวชี้วัดและสาระ การเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพ่ือตองการพัฒนา ผเู รียนใหมีความรคู วามสามารถท่ที ัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูคณิตศาสตรที่เชื่อมโยงความรู กับกระบวนการ ใชก ระบวนการสืบเสาะหาความรูและแกป ญหาท่ีหลากหลาย มีการทาํ กิจกรรม ดวยการลงมือปฏิบัติเพ่ือใหผูเรียนไดใชทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและทักษะแหง ศตวรรษท่ี ๒๑ สสวท. จงึ ไดจัดทําคูมือครูประกอบการใชหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๔ ที่เปนไปตามมาตรฐานหลักสูตร เพ่ือเปนแนวทางใหโรงเรียนนําไปจัดการเรียน การสอนในชัน้ เรยี น คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ นี้ ประกอบดวยเนื้อหาสาระ ขอเสนอแนะเก่ียวกับการสอน แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน การวัดผลประเมินผล ระหวางเรียน การวิเคราะหความสอดคลองของแบบฝกหัดทายบทกับจุดมุงหมายประจําบท ความรูเพ่ิมเติมสําหรับครูซึ่งเปนความรูที่ครูควรทราบนอกเหนือจากเน้ือหาในหนังสือเรียน ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทพรอมเฉลย รวมท้ังเฉลยแบบฝกหัด ซึ่งครูผูสอนสามารถนําไปใช เปนแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรูใหบรรลุจุดประสงคท่ีตั้งไว โดยสามารถนําไปจัด กจิ กรรมการเรยี นรไู ดตามความเหมาะสมและความพรอมของโรงเรียน ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ ไดรับความรวมมือเปนอยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิ คณาจารย นักวิชาการอิสระ รวมท้ังครูผูสอน นกั วชิ าการ จากสถาบนั และสถานศึกษาทง้ั ภาครัฐและเอกชน จงึ ขอขอบคุณมา ณ ท่ีนี้ สสวท. หวังเปนอยางย่ิงวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร เลมนี้ จะเปนประโยชน แกผูสอน และผูท่ีเก่ียวของทุกฝาย ท่ีจะชวยใหจัดการศึกษาดานคณิตศาสตรไดอยางมี ประสิทธิภาพ หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมน้ีมีความสมบูรณย่ิงขึ้น โปรดแจง สสวท. ทราบดวย จะขอบคุณยงิ่ สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ
แนะนําการใชคมู อื ครู ในหนังสือเลมน้ีแบงเปน 4 บท ตามหนังสือเรียนหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 4 โดยแตละบทจะมีสวนประกอบ ดังน้ี ตัวช้วี ดั ตัวช้ีวัดระบุสิ่งท่ีนักเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมท้ังคุณลักษณะของผูเรียนในแตละ ระดับช้ัน ซ่ึงสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปน รูปธรรม นําไปใชในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑส ําคญั สาํ หรบั การวดั ประเมนิ ผลเพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพผเู รียน จุดมุงหมาย เปา หมายท่ีนักเรยี นควรไปถึงหลงั จากเรียนจบบทนี้ ความรกู อนหนา ความรทู นี่ กั เรยี นจาํ เปน ตองมกี อนท่จี ะเรยี นบทนี้
ประเด็นสําคัญเกี่ยวกบั เน้ือหาและสิ่งที่ควรตระหนกั เกีย่ วกบั การสอน ประเด็นเกี่ยวกับเน้ือหาที่ครูควรเนนยํ้ากับนักเรียน ประเด็นเก่ียวกับเนื้อหาที่ครูควร ระมัดระวัง จุดประสงคของตัวอยางท่ีนําเสนอในหนังสือเรียน เน้ือหาที่ควรทบทวน กอนสอนเนอ้ื หาใหม และประเด็นเก่ยี วกบั การสอนท่ีครูพึงระลึก ความเขา ใจคลาดเคล่ือน ประเดน็ ท่ีนักเรยี นมักเขา ใจผิดเกยี่ วกบั เน้ือหา ประเดน็ สาํ คญั เก่ียวกบั แบบฝก หัด ประเด็นที่ครูควรทราบเกี่ยวกับแบบฝกหัด เชน จุดมุงหมายของแบบฝกหัด ประเด็นท่ีครูควรใหความสําคัญในการทําแบบฝกหัดของนักเรียน เนื้อหาท่ีควร ทบทวนกอนทําแบบฝก หดั กจิ กรรมในคูมอื ครู กิจกรรมทค่ี ูมือครเู ลม น้ีเสนอแนะไวใ หค รูนําไปใชใ นชั้นเรียน ซึง่ มีทงั้ กจิ กรรมนําเขา บทเรียน ท่ีใชเพื่อตรวจสอบความรูกอนหนาท่ีจําเปนสําหรับเนื้อหาใหมที่ครูจะสอน และกิจกรรมท่ีใชสําหรับสรางความคิดรวบยอดในเน้ือหา โดยหลังจากทํากิจกรรม แลว ครคู วรเช่อื มโยงความคดิ รวบยอดทีต่ องการเนน กบั ผลที่ไดจากการทํากิจกรรม กจิ กรรมเหลานีค้ รูควรสง เสรมิ ใหน ักเรยี นไดล งมือปฏิบัตดิ ว ยตนเอง
กจิ กรรมในหนังสือเรียน กิจกรรมท่ีนักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดดวยตนเอง เพ่ือชวยพัฒนาทักษะการ เรียนรแู ละนวตั กรรม (learning and innovation skills) ท่ีจําเปนสําหรับศตวรรษที่ 21 อันไดแก การคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (creative and innovation) การคิด แบบมีวิจารณญาณและการแกปญหา (critical thinking and problem solving) การสื่อสาร (communication) และการรวมมอื (collaboration) เฉลยกิจกรรมในหนังสือเรียน เฉลยคาํ ตอบหรือตัวอยางคาํ ตอบของกจิ กรรมในหนงั สือเรียน แนวทางการจดั กิจกรรมในหนงั สอื เรียน ตัวอยางการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน ที่มีข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม ซึ่งเปด โอกาสใหน ักเรยี นไดใ ชแ ละพฒั นาทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร
สารบญั บทท่ี 1 – 2 บทที่ เนอื้ หา หนา 1 บทท่ี 1 เซต 1 1.1 เน้อื หาสาระ 2 เซต 1.2 ขอเสนอแนะเกย่ี วกบั การสอน 4 1.3 การวัดผลประเมินผลระหวา งเรยี น 15 d 1.4 การวิเคราะหแบบฝก หดั ทายบท 17 1.5 ความรเู พิม่ เติมสาํ หรับครู 22 2 1.6 ตวั อยา งแบบทดสอบประจาํ บทและ 23 เฉลยตวั อยา งแบบทดสอบประจําบท ตรรกศาสตรเบอื้ งตน 1.7 เฉลยแบบฝกหดั 35 บทที่ 2 ตรรกศาสตรเบอ้ื งตน 46 2.1 เนือ้ หาสาระ 47 2.2 ขอ เสนอแนะเก่ียวกบั การสอน 48 2.3 การวัดผลประเมนิ ผลระหวางเรียน 57 2.4 การวเิ คราะหแบบฝก หัดทายบท 58 2.5 ความรเู พ่มิ เตมิ สาํ หรบั ครู 62 2.6 ตัวอยา งแบบทดสอบประจําบทและ 63 เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจาํ บท 2.7 เฉลยแบบฝก หัด 67
สารบัญ บทที่ 3 – 4 บทท่ี เน้ือหา หนา 3 บทที่ 3 หลักการนบั เบอ้ื งตน 72 3.1 เนอื้ หาสาระ 73 หลักการนบั เบอ้ื งตน 3.2 ขอ เสนอแนะเก่ียวกับการสอน 74 3.3 แนวทางการจดั กจิ กรรมในหนังสอื เรยี น 85 d 3.4 การวดั ผลประเมนิ ผลระหวา งเรยี น 88 3.5 การวเิ คราะหแบบฝกหัดทายบท 89 4 3.6 ความรเู พ่ิมเตมิ สําหรบั ครู 92 3.7 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบทและ 92 ความนาจะเปน เฉลยตวั อยางแบบทดสอบประจําบท 3.8 เฉลยแบบฝก หดั 97 บทที่ 2 ความนา จะเปน 101 4.1 เนื้อหาสาระ 102 4.2 ขอ เสนอแนะเกี่ยวกับการสอน 103 4.3 แนวทางการจัดกิจกรรมในหนังสอื เรียน 107 4.4 การวดั ผลประเมินผลระหวา งเรยี น 114 4.5 การวิเคราะหแบบฝกหัดทายบท 115 4.6 ตวั อยางแบบทดสอบประจาํ บทและ 119 เฉลยตวั อยางแบบทดสอบประจาํ บท 4.7 เฉลยแบบฝก หัด 126
สารบญั เนอ้ื หา หนา บทท่ี เฉลยแบบฝก หัดและวธิ ที าํ โดยละเอียด 131 บทท่ี 1 เซต 131 แหลงเรียนรู บทที่ 2 ตรรกศาสตรเบื้องตน 167 เพ่ิมเตมิ บทท่ี 3 หลกั การนับเบ้ืองตน 178 บทท่ี 4 ความนา จะเปน 198 บรรณานกุ รม 236 คณะผจู ดั ทํา 237 239
บทท่ี 1 | เซต 1 คูมอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานคณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4 บทที่ 1 เซต การศึกษาเรื่องเซตมีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปนรากฐานและเคร่ืองมือที่สําคัญ ในการพัฒนาองคความรูในวิชาคณิตศาสตรสมัยใหมทุกสาขา เน้ือหาเรื่องเซตที่นําเสนอ ในหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 มีจุดมุงหมายเพื่อใหนักเรียน เรียนรูเก่ียวกับสัญลักษณและภาษาทางคณิตศาสตร ซ่ึงเพียงพอท่ีจะใชในการส่ือสารและ สื่อความหมายทางคณิตศาสตรเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรูเน้ือหาคณิตศาสตรในหัวขอตอไป ในบทเรียนน้ีมุง ใหนกั เรยี นบรรลุตวั ช้วี ดั และจดุ มงุ หมายดังตอไปน้ี ตวั ชว้ี ดั เขาใจและใชความรูเก่ียวกับเซตและตรรกศาสตรเบื้องตน ในการสื่อสารและส่ือความหมาย ทางคณิตศาสตร จดุ มุงหมาย 1. ใชส ญั ลักษณเกยี่ วกบั เซต 2. หาผลการดาํ เนนิ การของเซต 3. ใชแผนภาพเวนนแ สดงความสัมพนั ธร ะหวางเซต 4. ใชความรเู กยี่ วกับเซตในการแกป ญหา สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 2 คูมือครูรายวชิ าพืน้ ฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4 ความรกู อนหนา • ความรเู กย่ี วกบั จาํ นวนและสมการในระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 1.1 เนือ้ หาสาระ 1. ในวชิ าคณติ ศาสตร ใชคาํ วา “เซต” ในการกลาวถึงกลุมของส่ิงตาง ๆ และเม่ือกลาวถึงกลุม ใด แลวสามารถทราบไดแนนอนวา ส่ิงใดอยูในกลุม และสิ่งใดไมอยูในกลุม เรียกส่ิงท่ีอยูใน เซตวา “สมาชิก” คําวา “เปนสมาชิกของ” หรือ “อยูใน” เขียนแทนดวยสัญลักษณ “∈” คําวา “ไมเปน สมาชิกของ” เขียนแทนดวยสญั ลักษณ “∉” 2. การเขยี นแสดงเซตเบอื้ งตนมสี องแบบ คือ แบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเง่ือนไขของ สมาชิก 3. เซตทไ่ี มมสี มาชิก เรียกวา “เซตวา ง” เขียนแทนดวยสัญลักษณ “{ }” หรือ “∅” 4. เซตทีม่ จี าํ นวนสมาชกิ เปนจํานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย เรียกวา “เซตจํากัด” เซตที่ไมใช เซตจาํ กัด เรียกวา “เซตอนนั ต” 5. ในการเขยี นเซตจะตองกําหนดเซตท่ีบงบอกถึงขอบเขตของสิ่งที่จะพิจารณา เรียกเซตน้ีวา “เอกภพสัมพทั ธ” ซึง่ มกั เขยี นแทนดว ย U เอกภพสัมพัทธทีพ่ บบอย ไดแ ก แทนเซตของจํานวนนบั แทนเซตของจํานวนเตม็ แทนเซตของจํานวนตรรกยะ ' แทนเซตของจาํ นวนอตรรกยะ แทนเซตของจํานวนจรงิ สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 3 คมู อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 4 6. เซต A เทากับ เซต B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และ สมาชิกทกุ ตัวของเซต B เปน สมาชิกของเซต A เขยี นแทนดว ย A = B เซต A ไมเทา กับ เซต B หมายถึง มีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต A ท่ีไมใชสมาชิก ของเซต B หรือมีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของเซต B ท่ีไมใชสมาชิกของเซต A เขยี นแทนดวย A ≠ B 7. เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B เขยี นแทนดวย A ⊂ B เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B ก็ตอเม่ือ มีสมาชิกอยางนอยหน่ึงตัวของเซต A ท่ีไม เปนสมาชิกของเซต B เขียนแทนดว ย A ⊄ B 8. เรียกแผนภาพแสดงเซตวา “แผนภาพเวนน” การเขียนแผนภาพมักจะแทนเอกภพสัมพัทธ U ดวยรปู สเ่ี หลยี่ มผนื ผา หรือรปู ปดใด ๆ สวนเซตอนื่ ๆ ซึ่งเปนสบั เซตของ U นน้ั อาจเขียนแทนดว ยวงกลม วงรี หรอื รูปปดใด ๆ 9. การดําเนนิ การระหวา งเซต 1) อินเตอรเ ซกชันของเซต A และ B เขียนแทนดวย A ∩ B โดยที่ A ∩ B= { x x ∈A และ x∈ B} 2) ยเู นียนของเซต A และ B เขียนแทนดว ย A ∪ B โดยท่ี A ∪ B= { x x ∈A หรือ x∈ B} 3) คอมพลเี มนตของเซต A เม่ือเทียบกับ U หรือคอมพลีเมนตของเซต A เขียนแทน ดว ย A′ โดยท่ี A′ = { x | x ∈U และ x∉ A} 4) ผลตา งระหวา งเซต A และ B หมายถึง เซตที่มีสมาชิกอยูในเซต A แตไมอยูในเซต B เขยี นแทนดวย A− B โดยท่ี A − B= { x x ∈A และ x∉ B} สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 4 คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 4 10. สมบตั ขิ องการดาํ เนนิ การของเซต ให A, B และ C เปนสับเซตของเอกภพสมั พัทธ U จะได 1) A ∪ B = B ∪ A A∩B = B∩ A 2) ( A ∪ B) ∪ C = A ∪ ( B ∪ C ) (A∩ B)∩C = A∩(B∩C) 3) A ∪ ( B ∩ C ) = ( A ∪ B) ∩ ( A ∪ C ) A∩(B∪C) = (A∩ B)∪(A∩C) 4) ( A ∪ B)′ =A′ ∩ B′ ( A ∩ B)′ =A′ ∪ B′ 5) A − B = A ∩ B′ 6) A=′ U − A 11. ถาเซต A, B และ C เปนเซตจํากัดใด ๆ ที่มีจํานวนสมาชิกเปน n( A), n(B) และ n(C) ตามลาํ ดบั แลว n( A ∪ B)= n( A) + n(B) − n( A ∩ B) n( A∪ B ∪C) = n( A) + n(B) + n(C) − n( A∩ B) − n( A ∩C) − n(B ∩C) + n(A∩B∩C) 1.2 ขอ เสนอแนะเกยี่ วกับการสอน เซต ครูอาจนําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนเขาใจแนวคิดเก่ียวกับเซตและสมาชิกของเซต โดยใช กจิ กรรมการจดั กลมุ ดังนี้ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 5 คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานคณิตศาสตร ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 4 กจิ กรรม : การจดั กลุม ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ 1. ครูแบงกลุมนักเรียนกลุมละ 3 – 4 คน แบบคละความสามารถ จากน้ันครูเขียนคําตอไปนี้ บนกระดาน หญิง จนั ทร A พุธ อาทติ ย ชาย E อังคาร ศุกร U I พฤหัสบดี O เสาร 2. ครูใหน กั เรียนแตละกลมุ อภิปรายวาจะจัดกลมุ คาํ ท่ีเขียนบนกระดานอยางไร 3. ครูใหตัวแทนนักเรียนแตละกลุมนําเสนอการจัดกลุมคํา แลวรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ กลมุ คําท่ีจัด ในประเด็นตอไปนี้ 3.1 จดั กลมุ คาํ ไดกีก่ ลมุ พรอมใหเ หตผุ ลประกอบ 3.2 กลุมคําที่กลุมของตนเองจัดไดเหมือนหรือแตกตางจากกลุมคําของเพ่ือนกลุมอ่ืน หรือไม อยา งไร หมายเหตุ • แนวคําตอบ เชน จัดเปน 3 กลุม ไดแก กลุมคําท่ีแสดงเพศ กลุมคําท่ีแสดงช่ือวัน ในหนึ่งสัปดาห และกลุมคําที่แสดงสระในภาษาอังกฤษ คําตอบของนักเรียนอาจมีได หลากหลาย ข้ึนกับเหตุผลประกอบคาํ ตอบ • ครูอาจเปลี่ยนเปนคําอื่น ๆ หรือรูปภาพอ่ืน ๆ เพื่อใหนักเรียนสามารถจัดกลุม ไดห ลายแบบ • ครูอาจจดั กิจกรรมนอกหองเรยี น เชน ในสวนพฤกษศาสตร แลวใหนักเรยี นจัดกลุมพนั ธุพืช สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 6 คูมอื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 4 ครูสามารถเชื่อมโยงการจัดกลุมในกิจกรรมน้ีกับเน้ือหาเรื่องเซต โดยแตละกลุมคําที่นักเรียนจัด เปรียบไดกับเซต และคําที่อยูในแตละกลุมเปรียบไดกับสมาชิกของเซต เม่ือนักเรียนไดศึกษา เกยี่ วกับการเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกแลว ครูอาจให นกั เรยี นเขียนกลุมของคาํ ในรปู ของเซต ทัง้ แบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเง่อื นไขของสมาชกิ ประเดน็ สําคัญเกย่ี วกบั เน้ือหาและส่งิ ที่ควรตระหนกั เกยี่ วกบั การสอน สมาชิกของเซต ตัวอยา งที่ 1 ให A = {0, 1, 2} จงพจิ ารณาวาขอความตอ ไปน้ีเปน จริงหรือเทจ็ 1) 0 ∈ A 2) {0} ∈ A 3) {1, 2} ∉ A ตัวอยางนี้มีไวเพ่ือสรางความเขาใจเกี่ยวกับการเปนสมาชิกของเซต และการใช สญั ลกั ษณแ ทนการเปนสมาชกิ ของเซต โดยเฉพาะอยา งยิง่ ในขอ 1) และ 2) ครูควรให นักเรียนรวมกันอภิปรายทีละขอเก่ียวกับการเปนสมาชิกหรือไมเปนสมาชิกของเซต ทีก่ ําหนดให และอาจใหตวั อยา งเพิม่ เติมเพ่ือตรวจสอบความเขา ใจของนักเรียน การเขียนแสดงเซต ในการเร่ิมตนยกตัวอยางการเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิกน้ัน ครูควรเร่ิมตน จากการยกตัวอยางเซตที่หาสมาชิกของเซตไดงาย เพื่อเปนการใหความสําคัญกับ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 7 คูม อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานคณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 การเขียนแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิกมากกวาการคํานวณเพื่อหาสมาชิกของเซต เชน เซตของพยัญชนะในภาษาไทย เซตของจํานวนคู เซตของจํานวนนับท่ีนอยกวา 5 เซตของ จํานวนเต็มที่ยกกาํ ลังสองแลว ได 16 เอกภพสัมพัทธ ในการเขยี นเซตจะตอ งกําหนดเซตทบี่ ง บอกถึงขอบเขตของสิ่งทีจ่ ะพิจารณา เรียกเซตน้ีวา เอกภพสัมพัทธ โดยมีขอตกลงวา เมื่อกลาวถึงสมาชิกของเซตใด ๆ จะไมกลาวถึง ส่ิงอื่นที่นอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ ดังน้ันเอกภพสัมพัทธจึงมีความสําคัญ ในการพิจารณาสมาชิกของเซต โดยเซตที่มีเงื่อนไขเดียวกันแตมีเอกภพสัมพัทธตางกัน อาจมสี มาชกิ ตา งกนั เชน A ={x ∈ } x2 =4} และ B ={x ∈ }x2 =4 เขียน A และ B แบบแจกแจงสมาชิกไดเ ปน A = { 2} และ B= { − 2, 2} เซตวาง • เซตวา งเปน สับเซตของเซตใด ๆ สบั เซต • เซตวา งเปนสบั เซตของเซตทกุ เซต • เซตทุกเซตเปน สับเซตของตัวเอง • ไมสามารถหาสบั เซตทเ่ี ปนไปไดทงั้ หมดของเซตอนนั ต สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 8 คมู อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 4 ความเขาใจคลาดเคลือ่ น เซตจาํ กัด • นกั เรียนคดิ วาเซตวา งไมใ ชเซตจํากดั ซงึ่ ครคู วรช้ีใหนักเรียนเห็นวาเซตวางเปนเซต ทไ่ี มมีสมาชกิ หรอื มีสมาชิก 0 ตัว ดังนนั้ เซตวา งจึงเปนเซตจาํ กัด • นักเรียนเขาใจวา { x | x∈ , 0 ≤ x ≤ 1} เปนเซตจํากัด เนื่องจากเขาใจวา มีสมาชิกตัวแรกคือ 0 และสมาชิกตัวสุดทายคือ 1 ซึ่งครูควรใหนักเรียนพิจารณา เอกภพสัมพัทธข องเซตน้ี ซึง่ เปน เซตของจาํ นวนจริง จึงไดวา เซตนเี้ ปนเซตอนนั ต เซตวาง นักเรียนสับสนเกี่ยวกับการใชสัญลักษณแทนเซตวาง เชน ใช { ∅} แทนเซตวาง ซึ่งเปนการใชสัญลักษณที่ไมถูกตอง ครูควรใหนักเรียนพิจารณาจํานวนสมาชิกของ { ∅} จะไดวาเซตน้ีมีสมาชิก 1 ตัว ดังน้ัน เซตน้ีจึงไมใชเซตวาง นอกจากนี้ครูอาจ ยกตัวอยางเปรียบเทียบเซตวางกับกลองเปลา โดยเซตวางคือเซตท่ีไมมีสมาชิกและ กลองเปลาคือกลองท่ีไมมีอะไรบรรจุอยูภายในเลย แตถานํากลองเปลาใบที่หนึ่ง ใสลงไปในกลองเปลาใบที่สองแลว จะพบวากลองใบท่ีสองไมใชกลองเปลาอีกตอไป เพราะมีกลอ งเปลา ใบแรกบรรจอุ ยภู ายใน สับเซต นักเรียนมีความสับสนเกี่ยวกับความหมายและสัญลักษณท่ีใชแทนการเปนสมาชิก ของเซต (∈) และการเปน สับเซต (⊂) สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 9 คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 4 ประเดน็ สําคญั เกย่ี วกับแบบฝกหดั แบบฝก หดั 1.1ก 2. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบบอกเงอื่ นไขของสมาชิก 1) {1, 3, 5, 7, 9} 2) {..., − 2, −1, 0, 1, 2, ...} 3) {1, 4, 9, 16, 25, 36, ...} 4) {10, 20, 30, ...} แบบฝกหัดนี้มีคําตอบไดหลายแบบ เนื่องจากการเขียนแสดงเซตแบบบอกเง่ือนไขของสมาชิก สามารถเขียนไดหลายแบบ ควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนเง่ือนไขของสมาชิกของเซต ซ่ึง เงอ่ื นไขของนกั เรียนไมจ ําเปน ตอ งตรงกับทค่ี รคู ดิ ไว การดําเนินการระหวางเซต เม่ือนักเรียนมีความเขาใจเก่ียวกับการเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซตแลว ครูใชกิจกรรมตอไปนี้ เพ่ือสรางความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของอินเตอรเซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต และผลตาง ระหวางเซต สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 10 คูมือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 4 กิจกรรม : หาเพอื่ น ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ 1. ครใู หนกั เรียนจบั คูกนั แลวครูเขยี นแผนภาพน้ลี งบนกระดาน 2. ครใู หน ักเรยี นแตละคูอภปิ รายในประเด็นตอไปนี้ 2.1 สมาชิกตวั ใดบา งทเ่ี ปนสมาชกิ ของทัง้ เซต A และเซต B 2.2 สมาชกิ ตัวใดบา งทเ่ี ปน สมาชิกของเซต A หรือเซต B หรอื ทัง้ สองเซต 2.3 สมาชิกตวั ใดบางที่เปนสมาชกิ ของ U แตไ มเปนสมาชกิ ของเซต A 2.4 สมาชกิ ตัวใดบา งท่ีเปน สมาชกิ ของ U แตไมเ ปนสมาชกิ ของเซต B 2.5 สมาชกิ ตวั ใดบางท่ีเปนสมาชกิ ของเซต A แตไมเปนสมาชิกของเซต B 2.6 สมาชิกตัวใดบางทเ่ี ปนสมาชิกของเซต B แตไ มเปนสมาชกิ ของเซต A 3. ครูและนกั เรยี นรว มกนั อภิปรายเกีย่ วกับคําตอบท่ไี ดในขอ 2 ครูสามารถเช่ือมโยงคําตอบที่ไดในกิจกรรมนี้กับเนื้อหาเร่ืองการดําเนินการระหวางเซต ไดแก อนิ เตอรเ ซกชัน ยูเนียน คอมพลเี มนต และผลตา งระหวา งเซต สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 11 คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานคณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 ประเดน็ สาํ คญั เกยี่ วกับเนอ้ื หาและสง่ิ ท่คี วรตระหนกั เก่ยี วกบั การสอน ลาํ ดบั การดําเนนิ การระหวา งเซต การเขียนวงเล็บมีความสําคัญกับลําดับการดําเนินการระหวางเซตในกรณีท่ีมีการ ดําเนินการตางชนิดกัน เชน ( A∪ B) ∩ C มีลําดับการดําเนินการแตกตางกับ A∪ (B ∩ C) เพื่อไมใหเกิดการสับสนเก่ียวกับลําดับในการดําเนินการ จึงจําเปนตองใส วงเลบ็ เพ่ือบอกลําดบั การดาํ เนินการระหวา งเซตเสมอ ประเด็นสาํ คญั เก่ียวกบั แบบฝกหัด แบบฝก หดั 1.2 3. จงแรเงาแผนภาพที่กาํ หนดใหเพ่อื แสดงเซตตอไปนี้ 1) A′ 2) B′ 3) A′ ∩ B′ 4) ( A ∪ B)′ 5) A′ ∪ B′ 6) ( A ∩ B)′ 7) A − B 8) A ∩ B′ สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 12 คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 4 แบบฝกหัดนี้มีไวเพ่ือเปนตัวอยางของการแสดงสมบัติของการดําเนินการระหวางเซต จากการแรเงาแผนภาพนักเรียนจะสังเกตเห็นวา แผนภาพท่ีแรเงาไดในบางขอเปน แผนภาพเดยี วกันซึ่งสอดคลอ งกับสมบัตขิ องการดําเนนิ การระหวา งเซต 4. จงแรเงาแผนภาพทีก่ ําหนดใหเพื่อแสดงเซตตอไปนี้ 1) ( A ∪ B) ∪ C 2) A ∪ ( B ∪ C ) 3) ( A ∩ B) ∩ C 4) A ∩ ( B ∩ C ) 5) ( A ∪ B) ∩ C 6) ( A ∩ C ) ∪ ( B ∩ C ) แบบฝกหัดนี้มีไวเพ่ือเปนตัวอยางของการแสดงสมบัติของการดําเนินการของเซต จากการ แรเงาแผนภาพนักเรียนจะสังเกตเห็นวา แผนภาพที่แรเงาไดในบางขอเปนแผนภาพ เดยี วกนั ซ่งึ สอดคลอ งกับสมบัติของการดําเนินการของเซต สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 13 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 การแกป ญ หาโดยใชเ ซต เม่ือนักเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซตและการดําเนินการแลว ครูอาจใชกิจกรรมตอไปน้ีเพ่ือสรางความเขาใจเก่ียวกับความหมายของอินเตอรเซกชัน ยูเนียน คอมพลเี มนต และผลตางระหวางเซต กจิ กรรม : แรเงา ขน้ั ตอนการปฏิบัติ 1. ครูใหน ักเรียนจับคูกัน แลวครูเขียนแผนภาพนีล้ งบนกระดาน 2. ครูถามนักเรียนวาจํานวนสมาชิกของเซต A เปนเทาใด เม่ือนักเรียนตอบไดแลว ใหค รแู นะนาํ วา จาํ นวนสมาชกิ ของเซต A เขียนแทนดว ย n( A) 3. ครใู หน ักเรยี นแตล ะคูหา 3.1 n( B) 3.2 n( A ∪ B) 3.3 n( A ∩ B) 4. ครูใหนักเรียนแตละคูพิจารณาวา n( A ∪ B) มีความสัมพันธกับ n( A), n(B) และ n( A ∩ B) อยา งไร โดยครูอาจใหนกั เรยี นพิจารณาจากแผนภาพ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 14 คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 5. จากแผนภาพตอไปนี้ ครูใหนักเรียนแรเงาเซต A จากน้ันแรเงาเซต B โดยใชอีกสีหนึ่ง และใหนักเรียน พจิ ารณาวา 5.1 สว นท่ีแรเงาท้ังหมดแทนเซตใด 5.2 สว นทแี่ รเงา 2 ครงั้ แทนเซตใด 5.3 จากการแรเงา n( A ∪ B) มีความสัมพันธกับ n( A), n(B) และ n( A ∩ B) อยา งไร ครูสามารถเชอ่ื มโยงคําตอบทไี่ ดในกจิ กรรมนี้กับเน้ือหาเรื่องการแกปญหาโดยใชเซต ในการหา จํานวนสมาชิกของเซต A∪ B และครูยังสามารถทํากิจกรรมในทํานองเดียวกันนี้ในการหา จํานวนสมาชิกของเซต A ∪ B ∪ C ประเดน็ สาํ คัญเก่ียวกบั เนอื้ หาและส่ิงท่ีควรตระหนกั เกย่ี วกับการสอน • ในการแกปญหาโดยใชเซตน้ัน ครูอาจเสนอแนะใหนักเรียนใชวิธีเขียนแผนภาพแสดง เซตเพอ่ื ชวยในการหาคาํ ตอบ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 15 คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4 • ตัวเลขท่ีแสดงในแผนภาพแสดงเซตอาจหมายถึง สมาชิกของเซต หรือจํานวนสมาชิกของเซต ดังนนั้ ครคู วรเนนใหน ักเรียนมคี วามเขาใจท่ชี ดั เจน ประเด็นสําคญั เกย่ี วกบั แบบฝก หดั แบบฝก หัดทา ยบท 2. จงเขียนเซตตอไปน้ีแบบบอกเง่ือนไขของสมาชิก 1) {1, 4, 7, 10, 13} 2) {−20, −19, −18, , −10} 3) {5, 9, 13, 17, 21, 25, } 4) {1, 8, 27, 64, 125, 216, } แบบฝกหัดน้ีมีคําตอบไดหลายแบบ เน่ืองจากการเขียนแสดงเซตแบบบอกเง่ือนไขของสมาชิก สามารถเขียนไดหลายแบบ ควรใหนักเรียนมีอิสระในการเขียนเงื่อนไขของสมาชิกของเซต ซึ่ง เง่อื นไขของนักเรียนไมจ าํ เปน ตอ งตรงกับที่ครคู ดิ ไว 1.3 การวัดผลประเมนิ ผลระหวา งเรียน การวัดผลระหวางเรียนเปนการวัดผลการเรียนรูเพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน และ ตรวจสอบนักเรียนแตละคนวามีความรูความเขาใจในเร่ืองท่ีครูสอนมากนอยเพียงใด การให นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนแนวทางหนึ่งท่ีครูอาจใชเพื่อประเมินผลดานความรูระหวางเรียนของ นกั เรยี น ซึง่ หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐานคณติ ศาสตร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 ไดนาํ เสนอแบบฝกหัด ที่ครอบคลุมเนื้อหาที่สําคัญของแตละบทไว สําหรับในบทท่ี 1 เซต ครูอาจใชแบบฝกหัดเพื่อ วดั ผลประเมนิ ผลความรใู นแตละเน้ือหาไดดงั น้ี สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 16 คูม ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 4 เน้อื หา แบบฝกหัด 1.1ก ขอ 3, 4, 5 ความหมายของเซต สมาชิกของเซต จํานวนสมาชิกของเซต เซตวา ง เอกภพสัมพทั ธ 1.1ก ขอ 1, 2 การเขยี นแสดงเซตแบบแจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไข 1.1ก ขอ 6 ของสมาชกิ 1.1ก ขอ 7, 8 1.1ข ขอ 1 – 4 เซตจาํ กดั และเซตอนันต 1.1ค ขอ 1, 2, 3 เซตทเ่ี ทากัน 1.2ก ขอ 1 – 6 สบั เซต การเขียนแผนภาพเวนนแสดงเซต 1.3ก ขอ 1 – 9 การดาํ เนินการระหวางเซต (อนิ เตอรเซกชัน ยเู นยี น คอมพลีเมนต ผลตา งระหวางเซต) การแกปญหาโดยใชเ ซต สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 17 คมู ือครรู ายวชิ าพื้นฐานคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 1.4 การวเิ คราะหแบบฝก หดั ทายบท หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีจุดมุงหมายวาเมื่อนักเรียน ไดเ รียนจบบทที่ 1 เซต แลว นักเรียนสามารถ 1. ใชส ัญลักษณเก่ียวกบั เซต 2. หาผลการดาํ เนินการของเซต 3. ใชแผนภาพเวนนแ สดงความสัมพันธระหวางเซต 4. ใชค วามรูเ ก่ียวกับเซตในการแกปญหา ซ่ึงหนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานคณติ ศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ไดนําเสนอแบบฝกหัดทายบท ท่ปี ระกอบดวยโจทยเพ่ือตรวจสอบความรูหลังเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือวัดความรูความเขาใจ ของนักเรียนตามจุดมุงหมาย ซึ่งประกอบดวยโจทยฝกทักษะท่ีมีความนาสนใจและโจทยทาทาย ครูอาจเลือกใชแบบฝกหัดทายบทวัดความรูความเขาใจของนักเรียนตามจุดมุงหมายของบทเพ่ือ ตรวจสอบวานักเรียนมคี วามสามารถตามจดุ มงุ หมายเมือ่ เรียนจบบทเรียนหรอื ไม ทั้งนี้ แบบฝกหัดทายบทแตละขอในหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 บทท่ี 1 เซต สอดคลองกบั จุดมุงหมายของบทเรยี น ดงั นี้ สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 18 คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 จุดมงุ หมาย ขอ ขอ ใชส ญั ลักษณ หาผลการ ใชแ ผนภาพ ใชค วามรู ยอ ย เกย่ี วกับเซต ดาํ เนนิ การ เวนนแสดง เกีย่ วกบั เซต ของเซต ความสมั พันธ ในการแกป ญ หา ระหวา งเซต 1. 1) 2) 3) 4) 5) 2. 1) 2) 3) 4) 3. 1) 2) 3) 4) 5) 4. 1) 2) สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 19 คูมือครรู ายวิชาพืน้ ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4 จดุ มุงหมาย ขอ ขอ ใชสัญลกั ษณ หาผลการ ใชแผนภาพ ใชค วามรู ยอย เกี่ยวกับเซต ดาํ เนินการ เวนนแ สดง เก่ียวกบั เซต ของเซต ความสมั พันธ ในการแกป ญ หา ระหวางเซต 3) 4) 5) 6) 5. 1) 2) 3) 4) 5) 6) 6. 1) 2) 3) 7. 1) 2) 3) สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 20 คูม ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 จดุ มุงหมาย ขอ ขอ ใชสัญลักษณ หาผลการ ใชแ ผนภาพ ใชค วามรู ยอ ย เกย่ี วกับเซต ดําเนนิ การ เวนนแ สดง เกีย่ วกบั เซต ของเซต ความสมั พนั ธ ในการแกปญหา ระหวา งเซต 8. 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 9. 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 21 คมู อื ครูรายวชิ าพื้นฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4 จดุ มุงหมาย ขอ ขอ ใชส ัญลกั ษณ หาผลการ ใชแ ผนภาพ ใชความรู ยอ ย เกย่ี วกับเซต ดาํ เนนิ การ เวนนแสดง เกยี่ วกับเซต ของเซต ความสัมพันธ ในการแกป ญหา ระหวา งเซต 10. 1) 2) 3) 11. 1) 2) 3) 4) 5) 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 1) 2) สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 22 คูมอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานคณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 จดุ มงุ หมาย ขอ ขอ ใชส ัญลักษณ หาผลการ ใชแผนภาพ ใชความรู ยอย เกีย่ วกับเซต ดําเนนิ การ เวนนแ สดง เก่ียวกับเซต ของเซต ความสัมพนั ธ ในการแกปญหา ระหวา งเซต 3) 19. 20. แบบฝกหัดทาทาย 1.5 ความรูเพม่ิ เตมิ สาํ หรบั ครู • เซตอนันต จาํ แนกไดเปน 2 แบบ คอื แบบที่ 1 เปนเซตอนันตนบั ได (countable infinite) เชน เซตของจํานวนนับ เซตของจาํ นวนเต็ม เซตของจํานวนตรรกยะ { x ∈ − x ≤ 1} {x∈ x ≠ 0} แบบท่ี 2 เปนเซตอนันตนับไมได (uncountable infinite) เชน เซตของจาํ นวนจริง { x ∈ 1 < x < 2} ซ่ึงเซตเหลานี้ไมสามารถเขยี นแจกแจงสมาชิกท้ังหมดได • สมบตั ขิ องการดาํ เนินการของเซต สมบัติของการดําเนินการของเซตเทียบเคียงไดกับสมบัติบางขอในสัจพจนเชิงพีชคณิต ของระบบจํานวนจริง ดงั น้ี สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 23 คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 ให A, B และ C เปนสับเซตของเอกภพสมั พัทธ U จะได 1) สมบัติการสลับที่ A∪B = B∪ A A∩B = B∩ A 2) สมบตั ิการเปลีย่ นหมู (A∪ B)∪C = A∪(B∪C) (A∩ B)∩C = A∩(B∩C) 3) สมบัติการแจกแจง A∪(B∩C) = (A∪ B)∩(A∪C) A∩(B∪C) = (A∩ B)∪(A∩C) 1.6 ตัวอยางแบบทดสอบประจาํ บทและเฉลยตัวอยา งแบบทดสอบประจําบท ในสวนนี้จะนําเสนอตัวอยางแบบทดสอบประจําบทท่ี 1 เซต สําหรับรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ซ่ึงครูสามารถเลือกนําไปใชไดตามจุดประสงคการเรียนรูที่ตองการ วัดผลประเมินผล ตัวอยางแบบทดสอบประจาํ บท 1. จงเขียนเซตตอไปน้ีแบบแจกแจงสมาชิก 1) เซตของจํานวนเฉพาะท่ีอยูร ะหวาง 0 และ 20 { }2) x ∈ 2x2 − x − 3 =0 สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 24 คมู อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 2. จงเขยี นเซตตอไปนี้แบบบอกเงื่อนไขของสมาชกิ 1) 1, 1, 1, 1, 2, 4 8 4 2 2) { 0.1, 0.2, 0.3, 0.4, } 3. ให A = { a, b, c, {d}} จงพิจารณาวา ขอความตอไปนเี้ ปนจริงหรือเท็จ 1) a ∈ A 2) {d}∉ A 4) { a, b } ∈ A 3) {{d}} ⊂ A 4. จงหาจํานวนสมาชกิ ของเซตตอไปนี้ 1) {{1, 2, 3, …}} { }2) x ∈ x2 < 150 5. กาํ หนดให A, B เปนเซตอนนั ต และ A ≠ B จงพิจารณาวาขอความตอไปน้เี ปน จรงิ หรอื เท็จ ถาเปนเท็จจงยกตัวอยา งคาน 1) A ∩ B เปนเซตอนนั ต 2) A ∩ B เปนเซตจํากัด 3) A − B เปนเซตอนนั ต 4) A − B เปนเซตจาํ กดั 6. กาํ หนดให A = {a, b, c, d, e} 1) จงหาจํานวนสบั เซตของ A ท่ีมี a เปน สมาชิก 2) จงหาจํานวนสับเซตของ A ที่ไมมี a เปนสมาชกิ 3) จงหาจาํ นวนสับเซตของ A ทม่ี ี a หรือ b เปน สมาชกิ 7. ให A, B และ C เปนเซตใด ๆ ที่ไมใ ชเซตวา ง จงเขยี นแผนภาพแสดงเซตตอ ไปนี้ 1) ( A ∪ C ) ∪ ( B − A) 2) (( A − B) − ( A − C )) ∪ ( B − ( A ∪ C )) 8. จงพิจารณาวา ( A − B) ∪ (B − A) และ ( A ∪ B) − ( A ∩ B) เทากันหรือไม สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 25 คูม ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 4 9. ถา A มีจํานวนสมาชิกมากกวา B อยู 1 ตัว และ n( A ∪ B) + n( A ∩ B) =75 จงหาจํานวนสมาชิกของ A 10. กําหนดให U = {1, 2, , 100} จงหาจํานวนสมาชิกของ U ที่เปนจํานวนคูแตหารดวย 3 ไมลงตวั 11. กําหนดให U = {1, 2, , 60} จงหาจํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือหาร ดว ย 4 ลงตวั หรือหารดวย 5 ลงตัว 12. ในหอ งเรยี นหนึ่งมนี กั เรียนที่เล้ียงสุนัข 32 คน มีนักเรียนที่เล้ียงแมว 25 คน และมีนักเรียนที่ เล้ียงสนุ ขั หรอื แมวเพยี งชนิดเดียว 47 คน จงหาจาํ นวนของนักเรยี นท่ีเลี้ยงท้งั สุนัขและแมว 13. ในการสํารวจงานอดิเรกของคน 140 คน พบวา 72 คน ชอบดูภาพยนตร 65 คน ชอบออกกําลงั กาย 58 คน ชอบอา นหนงั สือ 23 คน ชอบดูภาพยนตรและออกกําลงั กาย 18 คน ชอบดูภาพยนตรและอา นหนังสอื 40 คน ชอบออกกาํ ลงั กายและอา นหนงั สอื 10 คน ไมสนใจงานอดิเรกขา งตน จงหาจาํ นวนคนที่ชอบท้งั ดภู าพยนตร ออกกาํ ลงั กาย และอา นหนังสอื 14. ในงานเล้ียงแหงหนงึ่ มผี ูเขารวมงาน 200 คน โดยท่ีทุกคนชอบรับประทานกุง ปลา หรือปู จากการสํารวจปรากฏวามีคนท่ีชอบรับประทานกุง ปลา และปู 63% , 42% และ 55% ตามลําดับ มีคนท่ีชอบรับประทานกุงและปลา 24% ชอบรับประทานปลาและปู 17% และชอบรบั ประทานทัง้ สามอยา ง 9% จงหาจํานวนของคนทช่ี อบรบั ประทานท้ังกุงและปู 15. ในการสํารวจขอมูลเก่ียวกับการทองเท่ียวของนักทองเที่ยวชาวตางชาติจํานวน 500 คน พบวานักทองเท่ียวทุกคนเคยไปเชียงใหม กระบี่ หรือชลบุรี โดยมีนักทองเที่ยวที่เคยไป สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 26 คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 4 ท้ังเชียงใหม กระบี่ และชลบุรี จํานวน 39 คน เคยไปเชียงใหมและกระบี่เทานั้น 78 คน เคยไปเชียงใหมและชลบุรีเทาน้ัน 96 คน เคยไปกระบ่ีและชลบุรีเทานั้น 111 คน และมี คนทไ่ี มเคยไปกระบ่ี 208 คน จงหาจาํ นวนคนท่เี คยไปกระบีเ่ พยี งจังหวดั เดยี ว เฉลยตวั อยางแบบทดสอบประจําบท 1. 1) {2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19} 2) จาก 2x2 − x − 3 = 0 (2x − 3)( x +1) = 0 นน่ั คือ x=3 หรอื x= −1 2 เน่ืองจาก 3 ไมเปน จํานวนเต็ม จึงได −1 เปน คาํ ตอบของสมการ 2 ดงั นัน้ เขยี น {x∈ 2x2 − x − 3 =0} แบบแจกแจงสมาชิกไดเปน {−1} {2. 1) x x = 2n−4 เมือ่ n ∈ และ n ≤ 6} 2) {x x = n เมื่อ n ∈ }} 2) เทจ็ 10 3. 1) จรงิ 3) จริง 4) เทจ็ 4. 1) เนือ่ งจาก {{1, 2, 3, …}} มีสมาชิก คือ {1, 2, 3, …} ดังน้นั {{1, 2, 3, …}} มจี ํานวนสมาชิก 1 ตัว { }2) เนอ่ื งจาก x ∈ x2 < 150 ={−12, −11, … , 0, 1, … , 12} นัน่ คือ {x ∈ x2 < 150} มีสมาชิก คือ −12, −11, … , 0, 1, … , 12 ดังนนั้ {−12, −11, … , 0, 1, … , 12} มจี ํานวนสมาชิก 25 ตัว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 27 คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 5. 1) เปนเท็จ เชน เมอื่ A เปน เซตของจาํ นวนคู และ B เปน เซตของจํานวนคี่ จะได A ∩ B =∅ ซง่ึ ∅ เปน เซตจํากดั ดงั นั้น A ∩ B ไมเ ปนเซตอนนั ต 2) เปนเทจ็ เชน เมอื่ A = และ B = จะได A ∩ B = ซง่ึ เปน เซตอนนั ต ดงั นน้ั A ∩ B ไมเปน เซตจาํ กดั 3) เปนเทจ็ เชน เม่ือ A= ∪{0} และ B = จะได A − B ={0} ซึง่ {0} เปนเซตจํากัด ดังนัน้ A − B ไมเ ปนเซตอนนั ต 4) เปน เท็จ เชน เมอ่ื A = และ B เปน เซตของจาํ นวนคี่ จะได A − B คือเซตของจาํ นวนคู ซ่งึ เซตของจํานวนคูเ ปนเซตอนันต ดังน้นั A − B ไมเ ปนเซตจาํ กดั 6. จาก A = {a, b, c, d, e} จะได สับเซตของ A ท่ีมสี มาชิก 0 ตัว ไดแก ∅ สบั เซตของ A ท่ีมสี มาชกิ 1 ตัว ไดแ ก {a}, {b}, {c}, {d}, {e} สบั เซตของ A ที่มีสมาชกิ 2 ตวั ไดแก {a,b}, {a,c}, {a,d}, {a,e}, {b,c}, {b,d}, {b,e}, {c,d}, {c,e} และ {d,e} สับเซตของ A ทีม่ ีสมาชกิ 3 ตัว ไดแก {a,b,c}, {a,b,d}, {a,b,e}, {a,c,d}, {a,c,e},{a,d,e}, {b,c,d}, {b,c,e}, {b,d,e} และ {c,d,e} สบั เซตของ A ทม่ี สี มาชกิ 4 ตวั ไดแ ก {a,b,c,d}, {a,b,c,e}, {a,b,d,e}, {a,c, d,e} และ {b,c,d,e} สับเซตของ A ทีม่ สี มาชิก 5 ตัว ไดแก {a,b,c,d,e} สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 28 คมู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานคณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 1) สบั เซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก มอี ยู 16 สับเซต 2) สับเซตของ A ทไ่ี มมี a เปนสมาชกิ มีอยู 32 −16 =16 สบั เซต 3) ให S เปน เซตของสบั เซตของ A ที่มี a เปนสมาชิก T เปน เซตของสบั เซตของ A ทม่ี ี b เปนสมาชิก จะไ=ด n(S ) 1=6, n(T ) 16 และ n(S ∩T ) =8 จาก n(S ∪T ) = n(S ) + n(T ) − n(S ∩T ) = 16 +16 − 8 = 24 ดงั นน้ั สับเซตของ A ที่มี a หรือ b เปน สมาชิก มีอยู 24 สบั เซต 7. 1) เขียนแผนภาพแสดง ( A − B) ∪ (B − A) ไดดังนี้ 2) เขยี นแผนภาพแสดง (( A − B) − ( A − C )) ∪ (B − ( A ∪ C )) สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 29 คูม ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานคณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 8. เขียนแผนภาพแสดง ( A − B) ∪ (B − A) และ ( A ∪ B) − ( A ∩ B) ไดดงั นี้ ( A − B) ∪ (B − A) (A∪ B)−(A∩ B) จากแผนภาพ จะไดว า ( A − B) ∪ (B − A) = ( A ∪ B) − ( A ∩ B) ดังนน้ั ( A − B) ∪ (B − A) และ ( A ∪ B) − ( A ∩ B) เทา กนั 9. จาก n( A∪ B) = n( A) + n(B) − n( A∩ B) จะได n( A ∪ B) + n( A ∩ B) = n( A) + n(B) เนือ่ งจาก n( A ∪ B) + n( A ∩ B) =75 และ n=(B) n( A) −1 นนั่ คือ 75 = n( A) + n( A) −1 2 n( A) = 76 จะได n( A) = 38 ดังนน้ั จํานวนสมาชกิ ของ A คือ 38 10. ให A แทนเซตของจํานวนทเ่ี ปน สมาชกิ ของ U ซึง่ เปน จาํ นวนคู จะได n( A) = 50 B แทนเซตของจาํ นวนท่ีเปนสมาชกิ ของ U ซ่ึงหารดวย 3 ลงตวั จะได n(B) = 33 A ∩ B แทนเซตของจํานวนท่เี ปน สมาชกิ ของ U ซึ่งเปนจาํ นวนคแู ละหารดว ย 3 ลงตวั เน่ืองจาก จํานวนคูที่หารดว ย 3 ลงตัว คือ จํานวนทห่ี ารดว ย 6 ลงตวั จะได n( A ∩ B) =16 ดังน้ัน จาํ นวนสมาชกิ ของ U ซง่ึ เปน จํานวนคูทห่ี ารดว ย 3 ไมลงตัว มีอยู n( A) − n( A ∩ B) = 50 −16 = 34 ตัว สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 30 คูม ือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 4 11. ให A แทนเซตของจํานวนท่ีเปน สมาชกิ ของ U ซึง่ หารดว ย 3 ลงตัว B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชิกของ U ซง่ึ หารดวย 4 ลงตัว C แทนเซตของจาํ นวนท่ีเปน สมาชิกของ U ซงึ่ หารดวย 5 ลงตัว จะได A = { 3, 6, , 60} น่ันคือ n( A) = 20 B = { 4, 8, , 60} นนั่ คือ n(B) =15 C = { 5, 10, , 60} นนั่ คอื n(C ) =12 ให A ∩ B แทนเซตของจํานวนที่เปนสมาชกิ ของ U ซึง่ หารดวย 3 และ 4 ลงตัว A ∩ C แทนเซตของจาํ นวนทีเ่ ปน สมาชกิ ของ U ซึ่งหารดวย 3 และ 5 ลงตวั B ∩ C แทนเซตของจํานวนท่เี ปน สมาชกิ ของ U ซึ่งหารดว ย 4 และ 5 ลงตวั A ∩ B ∩ C แทนเซตของจํานวนทีเ่ ปนสมาชิกของ U ซึง่ หารดวย 3 และ 4 และ 5 ลงตวั จะได A ∩ B ={12, 24, 36, 48, 60} นัน่ คอื n( A ∩ B) =5 A ∩ C ={15, 30, 45, 60} น่นั คอื n( A ∩ C ) =4 B ∩ C ={ 20, 40, 60 } นน่ั คอื n(B ∩ C) =3 A ∩ B ∩ C ={ 60 } นน่ั คอื n( A ∩ B ∩ C) =1 วิธที ี่ 1 เขียนแผนภาพแสดงจาํ นวนสมาชกิ ของ A, B และ C ไดดังนี้ จากแผนภาพ จะได n( A ∪ B ∪ C ) = 12 + 8 + 6 + 4 + 3 + 2 +1 = 36 สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 31 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 4 ดงั นน้ั จํานวนสมาชิกของ U ทีห่ ารดวย 3 ลงตวั หรือหารดว ย 4 ลงตวั หรือหาร ดว ย 5 ลงตัว มอี ยู 36 ตัว วธิ ีที่ 2 จาก n( A ∪ B ∪ C ) = n( A) + n(B) + n(C ) − n( A ∩ B) − n( A ∩ C ) −n(B ∩ C) + n( A ∩ B ∩ C) จะได n( A ∪ B ∪ C ) = 20 +15 +12 − 5 − 4 − 3 +1 = 36 ดังน้ัน จํานวนสมาชิกของ U ที่หารดวย 3 ลงตัว หรือหารดวย 4 ลงตัว หรือหาร ดว ย 5 ลงตัว มีอยู 36 ตัว 12. ให A แทนเซตของนักเรยี นท่ีเลี้ยงสุนัข จะได n( A) = 32 B แทนเซตของนักเรยี นท่ีเลย้ี งแมว จะได n(B) = 25 x แทนจํานวนนักเรยี นท่ีเลยี้ งทัง้ สนุ ขั และแมว เขยี นแผนภาพแสดงจาํ นวนสมาชิกของ A และ B ไดด ังนี้ เนอื่ งจาก มีนกั เรียนทเ่ี ลยี้ งสนุ ัขหรอื แมวเพยี งชนดิ เดียว 47 คน จะได (32 − x) + (25 − x) = 47 57 − 2x = 47 2x = 10 x =5 ดังนนั้ จาํ นวนของนกั เรียนท่เี ลยี้ งทง้ั สนุ ัขและแมว เทากบั 5 คน สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 32 คูมอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 4 13. ให A แทนเซตของคนทีช่ อบดูภาพยนตร จะได n( A) = 72 B แทนเซตของคนท่ชี อบออกกําลังกาย จะได n(B) = 65 C แทนเซตของคนทช่ี อบอานหนังสือ จะได n(C) = 58 A ∩ B แทนเซตของคนที่ชอบดภู าพยนตรและออกกําลังกาย จะได n( A ∩ B) =23 A ∩ C แทนเซตของคนทชี่ อบดูภาพยนตรและอา นหนังสอื จะได n( A ∩ C) =18 B ∩ C แทนเซตของคนทชี่ อบออกกําลังกายและอา นหนงั สือ จะได n(B ∩ C) =40 ( A ∪ B ∪ C)′ แทนเซตของคนที่ไมช อบงานอดิเรกขา งตน เลย จะได n( A ∪ B ∪ C )′ =10 นนั่ คอื n( A ∪ B ∪ C )= 140 −10= 130 วธิ ที ี่ 1 ให x แทนจํานวนคนท่ชี อบท้ังดภู าพยนตร ออกกําลงั กาย และอา นหนังสือ เขียนแผนภาพแสดงจาํ นวนสมาชกิ ของ A, B และ C ไดด ังนี้ จากแผนภาพ จะได (31+ x) + (23 − x) + (2 + x) + (18 − x) + x + (40 − x) + x = 130 x +114 = 130 x = 16 ดงั นน้ั มคี นที่ชอบท้ังดูภาพยนตร ออกกาํ ลังกาย และอานหนังสอื 16 คน สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 33 คูม ือครูรายวิชาพน้ื ฐานคณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 วธิ ที ี่ 2 จาก n( A ∪ B ∪ C ) = n( A) + n(B) + n(C ) − n( A ∩ B) − n( A ∩ C ) −n(B ∩ C) + n( A ∩ B ∩ C) จะได 130 = 72 + 65 + 58 − 23 −18 − 40 + n( A ∩ B ∩ C ) นนั่ คอื n( A ∩ B ∩ C ) = 16 ดงั นนั้ มีคนท่ชี อบทง้ั ดูภาพยนตร ออกกําลังกาย และอา นหนังสือ 16 คน 14. ให A แทนเซตของคนทช่ี อบรับประทานกงุ B แทนเซตของคนที่ชอบรบั ประทานปลา C แทนเซตของคนที่ชอบรบั ประทานปู A ∩ B แทนเซตของคนที่ชอบรับประทานกงุ และปลา B ∩ C แทนเซตของคนท่ีชอบรับประทานปลาและปู A ∩ B ∩ C แทนเซตของคนท่ีชอบรบั ประทานทั้งสามอยาง จะได n( A) = 63 × 200 = 126 100 n( B) = 42 × 200 = 84 100 n(C ) = 55 × 200 = 110 100 n( A ∩ B) = 24 × 200 = 48 100 n( B ∩ C ) = 17 × 200 = 34 100 n( A ∩ B ∩ C )= 9 × 200= 18 100 A ∪ B ∪ C แทนเซตของคนท่ีชอบรบั ประทานกุง ปลา หรอื ปู เนอ่ื งจาก มีคนมารวมงานทั้งหมด 200 คน โดยแตละคนชอบรบั ประทานกุง ปลา หรือปู จะได n( A ∪ B ∪ C ) =200 จาก n( A ∪ B ∪ C ) = n( A) + n( B) + n(C ) − n( A ∩ B) − n( A ∩ C ) สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 34 คมู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานคณติ ศาสตร ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 4 −n(B ∩ C) + n( A ∩ B ∩ C) จะได 200 = 126 + 84 +110 − 48 − n( A ∩ C ) − 34 +18 นัน่ คอื n( A ∩ C) = 56 ดงั นั้น มีคนทช่ี อบรบั ประทานทัง้ กุงและปู 56 คน 15. ให A แทนเซตของนักทองเที่ยวท่เี คยไปเชียงใหม B แทนเซตของนักทองเที่ยวท่ีเคยไปกระบี่ C แทนเซตของนักทองเที่ยวทเ่ี คยไปชลบรุ ี ให a แทนจาํ นวนนกั ทองเทยี่ วท่เี คยไปเชยี งใหมเพยี งจังหวัดเดยี ว b แทนจํานวนนักทองเทย่ี วท่เี คยไปกระบี่เพียงจังหวดั เดยี ว c แทนจํานวนนกั ทองเทย่ี วที่เคยไปชลบรุ ีเพยี งจงั หวัดเดยี ว เขยี นแผนภาพแสดงไดดงั นี้ เน่อื งจากมนี ักทองเทีย่ วทีไ่ มเ คยไปกระบ่ี 208 คน จากแผนภาพ จะไดว า a + c + 96 =208 นัน่ คอื a + c =112 จะได b = 500 − (112 + 78 + 96 +111+ 39) = 64 ดงั นัน้ จาํ นวนคนท่เี คยไปกระบ่ีเพยี งจังหวดั เดยี วมี 64 คน สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 1 | เซต 35 คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 1.7 เฉลยแบบฝก หดั คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 แบงการเฉลยแบบฝกหัดเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 เฉลยคําตอบ และสวนที่ 2 เฉลยคําตอบพรอมวิธีทําอยางละเอียด ซึ่งเฉลย แบบฝก หัดทีอ่ ยูในสวนนี้เปนการเฉลยคําตอบของแบบฝกหัด โดยไมไดนําเสนอวิธีทํา อยางไรก็ตาม ครูสามารถศกึ ษาวธิ ีทาํ โดยละเอยี ดของแบบฝก หัดไดใ นสว นทายของคูม ือครเู ลม น้ี แบบฝก หัด 1.1ก 1. 1) { a, e, i, o, u } 2) { 2, 4, 6, 8} 3) {10, 11, 12, , 99 } 4) {101, 102, 103, } 5) { − 99, − 98, − 97, , −1} 6) { 4, 5, 6, 7, 8, 9 } 7) ∅ 8) ∅ 9) { −14, 14 } 10) {ชลบรุ ,ี ชัยนาท, ชัยภมู ิ, ชมุ พร, เชยี งราย, เชียงใหม} 2. 1) ตัวอยา งคาํ ตอบ {x | x เปนจํานวนค่บี วกทีน่ อยกวา 10} หรอื {x∈ | x เปน จาํ นวนคต่ี ้ังแต 1 ถงึ 9} 2) ตวั อยา งคําตอบ {x | x เปน จาํ นวนเตม็ } 3) ตัวอยา งคาํ ตอบ {x∈ | x มรี ากที่สองเปน จาํ นวนเต็ม} หรือ {x | x = n2 และ n เปน จํานวนนับ} 4) ตัวอยา งคําตอบ {x∈ | x หารดว ยสบิ ลงตัว} หรอื {x | x = 10n และ n เปนจาํ นวนนบั } สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 2) 5 ตวั 36 คมู อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานคณิตศาสตร ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 4) 9 ตัว 3. 1) 1 ตวั 2) เปน จรงิ 3) 7 ตวั 5) 0 ตัว 2) ไมเปนเซตวา ง 4) เปนเซตวา ง 4. 1) เปน เท็จ 3) เปน เท็จ 2) เซตจาํ กดั 4) เซตจํากดั 5. 1) เปน เซตวาง 6) เซตอนนั ต 3) ไมเปน เซตวา ง 5) ไมเปนเซตวาง 2) A ≠ B 4) A = B 6. 1) เซตอนนั ต 3) เซตอนนั ต 5) เซตอนันต 7. 1) A ≠ B จ 3) A = B จ 5) A ≠ B จ 8. A = D จ แบบฝก หดั 1.1ข 2) ผดิ 4) ถูก 1. 1) ถกู 6) ผิด 3) ผดิ 5) ถูก 2. A ⊂ B, C ⊂ A, C ⊂ B จ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 37 คูมือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 4 3. 1) เปนจรงิ 2) เปนจรงิ 3) เปนจรงิ 4. 1) ∅ และ {1} 2) ∅, {1}, { 2} และ {1, 2} 3) ∅, { −1}, { 0 }, {1}, {−1, 0 }, {−1, 1}, { 0, 1} และ {−1, 0, 1} 4) ∅, { x }, { y } และ { x, y } 5) ∅, { a }, { b }, { c }, { a, b }, { a, c }, { b, c } และ { a, b, c } 6) ∅ แบบฝกหดั 1.1ค 1. 2. 1) 2) สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
บทที่ 1 | เซต 38 คมู อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 3) 3. 1) 1 ตัว (คอื a ) 2) 2 ตวั (คอื d และ e ) 3) 3 ตวั (คอื x, y และ z ) แบบฝกหัด 1.2 2) A ∩ B ={ 0, 2 } 4) B − A ={ 4, 7, 9 } 1. 1) A ∪ B ={ 0, 1, 2, 4, 7, 8, 9 } ก 6) B′ = {1, 3, 5, 6, 8} 3) A − B ={1, 8} ก 8) A′∩ B ={ 4, 7, 9 } 5) A′ = { 3, 4, 5, 6, 7, 9 } ก 2) B ∪ C ={1, 3, 4, 5, 6, 7 } 7) A ∪ B′ ={ 0, 1, 2, 3, 5, 6, 8} ก 4) A ∩ C ={ 4, 6 } 6) C′∩ A ={ 0, 2, 8} 2. 1) A ∩ B =∅ ก 8) ( A ∩ B) ∪ B ={1, 3, 5, 7 } 3) B ∩ C ={ 3, 5} 5) C′ = { 0, 1, 2, 7, 8} 7) C′∩ B ={1, 7 } สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256