Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E book คู่มือธรรมทายาท

Description: E book คู่มือธรรมทายาท

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

คำ น่า การบวช ถือเป็นหลักสูตรอบรมคีลธรรมชั้นยอด เพราะผู้บวชต้อง \"ปวช\" (อ่านว่า ปะ-วะ-ชะ)คือ เว้นจากความประพฤติอย่างฆราวาส มาบำเพ็ญวัตรชองพระ ภิกษุ มีการรักษาศีล ๒๒๗ เป็นต้น สำ หรับผู้บวชโดยทั่วไปนับเป็นการเปลี่ยนแปลง ซวิตอย่างเฉียบพลัน ต้องหักดิบเลิกความคุ้นเคยที่ไม่ดีมากมาย มีลี่งที่ต้องศึกษา เรียนรู้ \"ฝึกฝนในชีวิตพระนานัปการ แต่หากผูใดมีศรัทธา มีฉันทะ ความเพ็ยร และ ความอดทน ฝึกฝนผ่านหลักสูตรการบวชไปไต้ ก็จัดเป็นคน \"สุก\" คือ พร้อมจะสร้าง ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และลังคมได้ และจัดเป็น \"บัณฑิต\" คือผู้ฉลาดในศีล ธรรม สามารถทั่งแนะและนำใหัผู้อื่นทำความดีได้ หนังสือ \"คู่มีอธรรมทายาท\" เล่มนี้ ใช้ประกอบในการเทศน์สอนและฝึก อบรมของพระอาจารย์พระพี่เลี้ยง เพี่อช่วยให้ธรรมทายาททำความเช้าใจธรรมะได้ ง่าย สามารถจับประเด็นได้ถูกต้อง นำ ไปปฏิบัติได้ถูกวิธี และมีผลการปฏิบัติที่ดีขึ้น อย่างรวดเร็ว ฉะบัน แม้ระยะเวลาในการอบรมจะมีจำลัด แต่ธรรมทายาทก็สามารถใช้ เวลาได้อย่างคุ้มค่าเต็มประโยชน์ชองเวลาที่มีให้ อีกทั่งเมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้ว สามารถนำกลับไปศึกษาทบทวน และสามารถทำหนัาที่กัลยาณมิตรเผยแผ่ธรรมะที่ ได้จากการบวชครังนีให้แก่ผู้อื่นต่อไป เมื่อเป็นเช่นนี้ มหาอุปสมบทหมู่ครั้งนี้จะเกิด ผลอัศจรรย์ พลิกพืเนศึลธรรมให้กลับมาเพื่เองฟู กระแสธรรมจะปกแผ่คุ้มลัยให้แผ่น ดินไทยร่มเย็นเป็นสุชตราบนานเท่านาน คณะกรรมการดำเนินการอบรม ๑ มกราคม ๒๕๕๓ www.kalyanamitra.org

สารบัญ ^ ^ เรื่อง โอวาทพระราซภาวนาวิสุทธ ® โอวาทพระภาวนาวิริยคุณ ®^ ความเป็นมาของโครงการอบรมธรรมทายาท ธรรมทายาทคือใคร 'ร® 'ร'ร วัตถุประสงค์การอบรมธรรมทายาท ข้อปฏิบติระหว่างการอบรม 'ร®^ 'ร®^ วัฒนธรรมขาวพทธ ๕ หมวดปิด กวาด เช็ดถู ๓๙ หมวดการซัก ตาก หมวดการทำความสะอาดภาขนะ หมวดการทำความสะอาดห้องนํ้า บวขอย่างไรจึงจะได้บุญมาก อานิสงส์ของการบวข บทแกคุณธรรมเบื้องต้น หมวดอริยาบถ หมวดอาหาร หมวดห้องนํ้า หมวดห้องปฏิบัติธรรม หมวดที่พักอาศัย หมวดผ้าไตรจึวร หมวดการบุ่งห่ม หมวดปกิณกะ พระวิบัย www.kalyanamitra.org

สารบัญ ๅ เรอง ๙๑ หมวดศรัทธา ๙^ ธรรมชาติโลกและฃีวต ๑0๑ ความรู้พื้นฐานชองชีวิต ๑๑๑ กฎแห่งกรรม ๑๑๖ สัมมาทิฐิเบื้องต้น ๑๑๙ ๑๒๖ อริยมรรคมีองค์ ๘ ๑๒๔ คุณค่าการบวช ๑b๙ พระคุณบิดามารดา ปรโลกวิทยา ๑ดา๑ ธรรมที่ส่งเสริมให้เกิดความศรัทธา ๑๓๓ - จกร ๔ ๑๒๔ - อิทธิบาท ๔ ๑๒๘ - สัปปุริสธรรม ๑๓๒ หมวดพัฒนานิสัย ๑๓๔ พระวินัย ๑๓๔ ปาริสุทธิศีล ๑๓๙ คณกโมคคัลลานสูตร ๑๔๓ กจวตร ๑0 ๑๔๔ ศีล ๔ ศล ๘ ศีล ๑0 วินัย เคารพ อดทน ฆารวาสธรรม ห้าห้องแห่งชีวิต www.kalyanamitra.org

สารบัญ หน้า ® เรื่อง วุฒิธรรม ๔ ® เสนาสนสูตร ® หมวดเป้าหมายชีวิต ® การสร้างบารมีของพระสัมมาสัมทุทธเจ้า ® การตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า วเ๕ ประวติวัดพระธรรมกาย ๑๗๗ ประวิตพระมงคลเทพมนี(สด จนฺทสโร) ๑๘0 ประวัติคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ®๘^ ประวัติพระราชภาวนาวิสุทธิ้(หลวงพ่อธมมฃโย) ๑๘^ ทาน ศีล ภาวนา ๑๘^ หลักการตัดสินกรรมดี - กรรมชั่ว ๑๘° หมวดการทำหน้าที่กัลยาณมิตร ๑๘^ โอวาทปาฏิโมกข์ ๑๘๘ สิงคาลกสูตร หลักการทำหน้าที่กัลยาณมิตร *30๖ ๖๑° หลักการเทศน์สอน หมวดสมาธิ ๖๑^ ๖๑๖ ความรู้พื้นฐานเรื่องสมาธิ ๖®๘ ความรู้เรื่องธรรมกาย ๖๖๘ การทำสมาธิเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย ๖๖๙ อานิสงส์การเจริญสมาธิภาวนา วิธิฝ็กสมาธิเบื้องต้น แผนที่เส้นทางมาวัดพระธรรมกาย อ้างอิง www.kalyanamitra.org

_ โอวาทพระราซภาวนาวิสุทธี้(หลวงพ่อธัมมชโย) กิจของมนุษย์ การที่เราเกิดมาเป็นมนุษย์ในโลกนี้ ทุกคนมีกิจอยู่ ๒ อย่าง คือ ศึกษาวิชาในทางโลก ซึ่งก็เป็นวิชาที่สอนแค่เพียงว่าเราจะทำมาหากินอย่างโร จึงมี ปีจจัยสีเป็นเครื่องอาศัยหล่อเลียงร่างกายชองเราให้เป็นอยู่ในทางโลกโด้อย่างรื่นรมย์ ผาสุก สะดวกสบาย ศึกษาวิชชาในทางธรรมมี เป้าหมายเพื่อยกระดับจิตใจชองเราให้สูงขึ้นจน กระทั่งเช้าถึงพระธรรมกายภายในตัว เราจะใดัทราบว่าควรดำเนินชีวิตในโลกนี้ อย่างไร จึงจะเต็มเปียมไปด้วยความสุขอย่างแท้จริง และพบหนทางหลุดพ้นจากทุกข์ ในที่สุด การเกิดมาของมนุษย์มีกิจที่ต้องกระทำอยู่ ๒ อย่างนี้เท่านั้นแต่ว่าที่จริงแล้ว งานที่เป็นเป้าหมายสำคัญชองการเกิดมาในโลกนี้ ก็คือ การแกฝนอบรมจิตใจชองเรา ให้บริสุทธี้ ให้ผ่องใส ให้เช้าถึงธรรมกายเมื่อเราเช้าถึงธรรมกายแล้ว เราจะมีชีวิตที่ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีชีวิตที่มีแต่ความสุช มีความสุขกายสบายใจ และเต็มเปียม ไปด้วยสติป้ญญาอย่างที่เราไม่เคยเป็นมาก่อน เราจะเช้าถึงตัวตนที่แท้จริงที่อยู่ภายใน คือ กายธรรม www.kalyanamitra.org

โอวาทพระภาวนาวิริยคุณ หลวงพ่อทัตตชีโว ถ้าถามว่าทำไมเกิดเป็นชายต้องบวฟ้นใ^ระคุVIธศาสนา ก่อนจะตอบคำถามปี ควรทำความเข้าใจป้ญหาประจำชีวิต ๓ ประการของซาวโลก ชีงเปนเรืองทีไม่มใคร สามารถหลีกเลี่ยงได้ ปีญหา ๓ นี้คือ ๑) ปีญหาจากการคำรงชีพ เซ่น ปีญหาอันเกิดจากแสวงหาทร้พยไม่เป็น จาก ความเป็นหนี้ แม้จากสภาพดินฟ้าอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย เป็นต้น ๒) ป้ญหาจากการอยู่ร่วมกัน เซ่น ปีญหาจากการเอารัดเอาเปรียบ การ เบียดเบียนรังแก การฉกขิงวิ่งราว ตลอดจนบีญหาจากการก่ออาชญากรรม เป็นต้น ๓) ปึญหาจากกิเลสบีบคั้น เซ่น ปีญหาจากความโลภโมโหสัน ความอาฆาต พยาบาท และความลุ่มหลงมัวเมา เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ ชีวิตของคนเราจึงไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ ต้องเผขิญกับ บีญหาสารพัด เพราะไม่สามารถแก้ไขและกำจัดบีญหาประจำชีวิตหั้ง ๓ ประการนึ๋ได้ นั่นเอง ในทางตรงกันข้าม ชีวิตของคนที่พอจะลืมตาอ้าปากขึ้นมาได้ก็เหราะไม่ยอม งอมืองอเท้า พยายามดิ้นรนแสวงหาบีญญา เพื่อแก้ไขบีญหาประจำชีวิตเหล่านี้!■ห้ได้ แม้ไม่อาจแก้บีญหาได้ทั้งหมด อาจแก้ไขได้เพียงระดับใดระดับหปีงกยังดี เพราะยัง พอซ่วยให้ชีวิตมีความสุขได้บ้าง ไม่ต้องทุกข์ทรมานมากเกินไป แต่ทว่าเมือสภาพสิง ๗ www.kalyanamitra.org

แวดล้อมและสังคมเปลี่ยนไป ป้ญญาที่เคยใช้ได้ผล กึกลายเป็นไม่ได้ผล จํๆด้องดิ้นรน แสวงหาป็ญญๆใหม่ต่อไป จนกว่าจะได้พบกับป้ญญาที่สามารถกำจัดปีญหาประจำ ขีวิตทั้งหลายได้หมดสิ้น นั่นจึงจะเป็นการสิ้นสุดการแสวงหาปีญญา จากประจัติศาสตร์อันยาวนานของการแสวงหาปีญญๅ ซาวโลกกึได้พบว่า บุคคลผู้มีป้ญญาสามารถกำจัดปีญหาประจำขีวิตทั้ง ๓ ประการได้หมดสิ้นจริงนั้น มี เพียงมหาบุรุษท่านเดียวในโลก ซึ่งกึคือพระสัมมา-สัมพุทธเจ้า เพราะพระองค์ทรง ปฏิบตอริยมรรคมีองค์ ๘ ด้วยการเจริญสตภาวนาอย่างอุทิศชีวิตเป็นเดิมพัน โดยทรง ประกาศสัจจะอธิษฐานว่า \"แมเลือด เนื้อจะแห้งเหือดหายไป เหลือแต่เอ็น หนัง กระดูกกึตามหื หากยงไม่ บรรลุอบุตรสัมมาสัมโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกขึ้นจากที่นั่ง\" หลังจากนั้น กึทรงหลับตาเจริญภาวนาอย่างไม่อาลัยในชีวิต จนกระทั่ง \"ตรัสรู้\" คือทรงสามารถมองเห็นใจของพระองค์เอง มองเห็นกิเลสที่หุ้มใจ มองเห็น ธรรมขาติบริสุทธี้ที่สุดภายในพระองค์ ที่ทรงใช้กำจัดกิเลสได้ เรียกว่า \"นิพพาน\" และ มองเห็นซัดว่า กิเลสเหล่านั้นได้ถูก พระนิพพานกำจัดออกไปจากใจอย่างเด็ดขาด ส่งผลให้!จของพระองค์มีความ บริสุทธี้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระนิพพานอย่างสมบูรณ์ ปีญหาประจำชีวิตทั้งหลาย จึงถูกกำจัดสินไปอย่างถอนรากถอนโคน พระองค์จึงทรงเป็นบุคคลแรกของโลกที่ สามารถกำจัดกิเลสอันเป็นต้นเหตุแห่งปีญหาทั้งปวงให้หมดสิ้นไปด้วยพระถูงค์เอง นับจากนั้นมา ไม่ว่าโลกจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกึตาม ยังไม่มีบุคคลใดสามารถ พัฒนาชีวิตของตนเองได้สูงสุดเทืยบเท่ากับพระองค์ได้อีก ขาวโลกผู้แสวงหาปีญญาทั้ง หลาย จึงพากันก้มกราบพระองค์ท่านเป็น \"พระบรมครู\" เพื่อศึกษาปีญญาในการกำจัดทุกข์ที่สมบูรณ์แบบจากพระองค์ ศึษย์สาวกที่บรรลุธรรมตามคำสอนของพระองค์ จึงมีทุกระดับขนขั้น ตั้งแต่กษัตริย์ ขุนนาง พ่อค้า ประซาขน ไม่เว้นแม้แต่คนยากจนเข็ญใจ เพราะทุกคนล้วนมีสิทธิเสมอ ภาคในการบรรลุธรรมด้วยกันทั้งสิ้น ในเมื่อมีมหาเอกบุรุษผู้!ปถีงที่สุดแห่งความสุข สามารถกำจัดปีญหาทุกข์ Iiiwirw ๘ www.kalyanamitra.org

ประจ็าชีวิต ๓ ประการของซาวโลกได้อย่างสิ้นเซิง และรู้เส้นทางลัดทีสุดในการกำจัด ป็ญหา ๓ นั้น แล้วทำไมพวกเราจะต้องมัวรีรอซักช้าอยู่ใย ทำ ไมพวกเราจะต้องมัวลอง ผิดลองถูก แก้ป้ญหาประจำชีวิต ๓ ตามวิธีการของผู้ที่ไม่เคยไปถึงที่สุดแห่งการกำจัด ป็ญหา ๓ นี้เล่า ทางที่ถูกแล้ว เราควรเร่งศึกษาเส้นทางการกำจัดปีญหา ๓ ของพระ ลัมมาลัมพุทธเจ้าว่า ทรงทำอย่างไร พระองค์จึงทรงประลบความสำเร็จ ดังนั้น การให้โอกาสตนเองได้ศึกษาเส้นทางการแกพระองค์จนทรงเช้าถึง ความเป็นพระลัมมาลัมพุทธเจ้า จึงเป็นบุญลาภอันสูงสุดของผู้ศึกษา เพราะผู้นันจะได้ ต้นแบบอันประเสริฐในการดำเนินชีวิตที่ปลอดจากภัยที่มาจากป็ญหาห่ระจำซิริต ๓ ของชาวโลกอย่างแน่นอน การบวชในพระพุทธศาสนาเป็นการศึกษา และแกปฏิษัตตนตามคำลังสอน ของพระลัมมาลัมพุทธเจ้าอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อให้เราเกิดการเรียนรู้พัฒนา ตนเองอย่างถูกวิธีตามพุทธประสงค์ เราจะได้มั่นใจว่าเส้นทางการเรียนรู้ที่เรากำลัง เดินนี้ย่อมไปถึงที่สุดแห่งปลายทาง คือ ความสุขอันบริสุทธื้นิรันดร ความทุกข์ทัง หลายจะดับหมดสิ้นเมื่อไปถึงที่สุดนั้นอย่างแน่นอน เพราะพระสัมมาส้มพุทธเจ้าและ เหล่าพระอรหันต์สาวกได้ประสบความสำเร็จมาแล้วจากการเดินตามเสันทางนิ ผู้บวชที่ตั้งใจประพฤติปฏิบ้ตตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด มีความเคารพ และความอดทนต่อการปฏินัติตามคำสั่งสอนของพระอุนิชฌาย์ พระอาจารย์ และ พระพื่เลี้ยง ตลอดจนมีความอดทนต่อการปฏินัติตามกิจวัตรประจำรัน และกิจกรรม ตามโอกาสที่พระอาจารย์ และพระพี่เลี้ยงมอบหมาย ผู้บวซนันย่อมได้อานิสงส์ซันต้น ติดตัวตนเอง ถึงแม้จะต้องสึกออกไปหลังการอบรม ๔๙ วันแล้วก็ตาม คือได้คุณสมนัติ ของผู้ที่มีสติป้ญญากล้าแข็ง พร้อมจะกำจัดป้ญหาประจำชีวิต ๓ ของซาวโลกให้สินไป ซึ่งมีดฺณสมบัติ ๕ ประการดังนี้ ๑) เป็นผู้มีศรัทธากล้าแข็ง หมายถึง เป็นผู้ที่ฮดถึอพระสัมมาส้มพุทธเจ้าไว้ ๙ www.kalyanamitra.org

อย่างมั่นคง ในฐานะทรงเป็นต้นแบบแห่งการกำจัดทุกข์ จึงบุ่งมั่นศึกษาและปฏิบัติ ตามคำสั่งสอนของพระองค์อย่างไม่ย่อท้อ ด้วยกำลังใจที่เต็มเปียมโนการเดินตามรอย บาทพระศาสดาอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ๒) เป็นผู้มีอาพาธน้อย หมายถึง เป็นผู้ที่สามารถดูแลรักษาสุขภาพร่างกาย ตนเองไต้อย่างดี ด้วยวิธีง่ายๆ และประหยัด คือการรู้ประมาณในการแสวงหา การ บริโภคใช้สอย และการเก็บรักษาปีจจัย ๔ ใท้เหมาะสมกับเพศ ภาวะ และฐานะของ ตน ๓) เป็นผู้Iมโอ้อวด - ไมมมารยา หมายถึง เป็นคนตรง จริง แท้ ทั้งต่อหน้าที่ ต่อการงาน ต่อวาจา ต่อบุคคล และต่อคุณงามความดี โดยไมมช้อแมใดๆ ๔) เป็นผู้ปรารภความเพียร หมายถึง เป็นผู้ที่บุ่งมั่นในการพัฒนานิสัยของ ตนเองตลอดเวลา และหมั่นเจริญภาวนาเป็นนิจ ๔) เป็นผู้มีปิญญาถึกซึ้งสามารถเห็นชัดด้วยตนเองว่า ชีวิตนี้เป็นทุกข์ ด้วย ตระหบักว่า ไม่มีใครหถึกพันความเกิด ความแก่ ความเจึบ และความตายได้ ลังนั้นใน ขณะที่ต้องทำมาหาเลี้ยงชีพก็ทำด้วยความสุจริตและทุ่มเท ขณะเดียวกันก็ตั้งใจศึกษา และปฏิบัติตามพระธรรมคำสั่งสอนอย่างเคร่งครัด โดยไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก ใดๆ เพื่อหวังลักตวงบุญไว้เป็นเสปึยงในภายภาคหน้า ผู้ที่มาบวชในโครงการอุปสมบทหมู่ ๑ แสนรูปทุกหมู่บ้านทั่วไทยครั้งนี้ จะได้ รับอานิสงส์จากการบวชมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับความเคารพ ความมีวินัย และ ความอดทนของผู้นั้นว่าจะตั้งใจปฏิบัติให้ถูกส่วนตามพระธรรมวินัยอย่างเอาชีวิตเป็น เดิมพันมากน้อยเพียงใด อย่าได้ประมาทดูเบาว่าการบวช การอบรมเพียง ๗ สัปดาห์ เท่านั้น จะทำให้บรรลุคุณวิเศษอะไรได้ เพราะแท้ที่จริงแล้วธรรมะของพระพุทธองค์ เป็น อกาลิโก คือไม่จำกัดด้วยกาล แม้อย่างน้อยที่สุดหากไม่ได้บรรลุคุณวิเศษใดๆ ก็ ย่อมได้นิสัยดีๆ ติดตัวไปทั้งในปิจจุบันชาติ และชาติหน้า ทำ ให้เป็นสุขได้ช้ามชาติ อานิสงส์การบวชมิได้ส่งผลเฉพาะผู้บวชเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อเนื่องไปถึง nmwn ๑๐ www.kalyanamitra.org

บุคคลรอบข้าง ประเทศขาติ และพระพทธศาลนาอีกด้วย กล่าวคือ หากไม่ลาสิกขา พระพุทธศาสนาก็จะมีพุทธบุตรแก้วไว้เป็นกำลังสืบหอดอายุพระพุทธศาสนาให้ยืน ยาวต่อๆ ก้นไป ส่วนผู้ที่ลาสิกขาก็จะเป็นผู้มีศีลธรรมประจำใจอย่างนั่นคง จึงกลายเป็นลูก แก้วของคุณพ่อคุณแม่ เป็นสามีแก้วของภรรยา เป็นพ่อแก้วของลูกๆ เป็นสมาขิก แก้วของขุมขน เป็นหัวหน้าแก้ว - ลูกน้องแก้วของที่ทำงาน และทแน่นอนทีสุด ประเทศไทยจะได้พลเมืองแก้วไว้เป็นกำลังพัฒนาประเทศขาติต่อไป ด้วยอานภาพแห่งบุญอันไม่มีประมาณ ซึ่งเกิดจากความตังใจแกหัดขัดเกลา ตนเองจากการบรรพขาอุปสมบทตามโครงการอุปสมบหหมู่ ๑ แสนรูปทุกหมู่บ้านทั่ว ไทยของพวกเราในครั้งนี้ จงประมวลรวมก้บบุญบารมี รัศมี กำ ลังฤทธิ้ ของพระลัมมา สัมพุทธเจ้า ของพระป็จเจกพุทธเจ้า และของพระอรหันต์เจ้าทังหลาย ตลอดจนบุญ บารมี รัศมี กำ ลังฤทธี้ของบูรพาจารย์ทั้งหลาย อันมีพระเดขพระคุณพระมงคล เทพมุนี (สด จนุทสโร} พระผู้ปราบมาร เป็นต้น จงดลบันดาลให้ทุกห่านมีสุขภาพ พลานามัยแข็งแรง สามารถรวมใจให้หยุดนิ่ง ณ ศูนย์กลางกายได้โดยง่าย เข้าถึง พระธรรมกายได้โดยเร็วพลัน เป็นอัศจรรย์ เทอญ ๔ มกราคม ๒๕:๕๓ www.kalyanamitra.org

ความเป็นมาของ โครงการอบรมธรรมทายาท การอบรมธรรมทายาทรุ่นแรกของวัดพระธรรมกายเริ่มขืนในภาคฤดูร้อนของ ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ในสมัยแรกๆ นั้นยังไม่มีการบวช มีแต่การมาถือศีล ๘ รักษาธุดงด วัตร ปีกกลดบนท้องทุ่งนากลางแจ้ง ปฏิยัติธรรมอย่างต่อเนื่องประมาณ ๑๕ วัน โดย ไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกใดๆ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๒๒ การอบรมธรรมทายาทรุ่นที่ ๗ เป็นรุ่นแรก ที่ มีการบวชโดยขยายระยะเวลาการอบรมเป็น ๒ เดือน คือ เดือนแรกเป็นการ เตรียมตัวก่อนบวช ซี่งก็เป็นธรรมเนียมของชายไทยมาแต่โบราณแล้วว่า บิดา มารดาจะพากุลบุตรมาฝากตัวไว้ที่วัด แล้วปีกหัดถือศีล ๘ ท่องบทสวดมนต์ ทำ วัตรเช้า-เย็น ท่องคำขานนาค และจะต้องท่องบทให้พรใหไค้แล้วจึงจะบวช ฉะนั้น ใครจะบวชต้องมาถือศีล ๘ อยู่ที่วัดก่อน ที่สำคัญที่สุด จะต้องปีกสมาธิ อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จะไค้เตรียมความพร้อมทั้งภายนอกและภายใน การเตรียม เรื่องภายนอก คือ เตรียมกายและวาจา โดยมาปีกถือศีล งดอาหารเย็น งดร้องรำทำ เพลง มาปีกนั่ง นอน ยืน และเติน ในอิริยาบทของนักบวชกันก่อน ดังนั้นพระภิกษ สามเณรธรรมทายาท แมับวชวันแรกก็สวดมนต์ให้พรไค้เลย ส่วนการเตรียมภายใน คือ การปีกสมาธิให้ใจผ่องใส ช่วงที่สอง หลังจากบวชแล้วก็จะปีกฝนตนเองตามพระธรรมวินัยอิกหนึ่งเดือน ออานิสงส์นี้จะไค้ทั้งกับตนเอง พ่อแม่ และผู้สนับสนุนการบวชทุกคน (Tsnnrtii ๑๒ www.kalyanamitra.org

หลังจากที่ได้เริ่มมีการบวชมาไม่นาน จำ นวนผู้เช้ารับการอบรมก็เพิ่มมากขืน จากจำนวนเป็นร้อยมาเป็นจำนวนพัน ทำ ให้การเรียกรวมกลุ่มทำกิจกรรมสงฆ์แต่ละ ครั้ง กว่าจะเป็นระเบียบเรียบร้อยได้ด้องใช้เวลามาก เพราะฉะนั้น จึงต้องให้ทหารมา ช่วยแกระเบียบวินัยให้ ใช้เวลาประมาณ ๓-๔ วัน ธรรมทายาทก็มีระเบียบวินัยดีขืน การมารวมตัวกันทำกิจกรรมสงฆ์ เช่น การบิณฑบาต การตื่นมาสวดมนต์ก็เร็วขึ้น ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ การอบรมธรรมทายาทรุ่นที่ ๑๔ นับเป็นรุ่นแรกที่ มีการเดินธุดงค์ จนถึงรุ่นที่ ๒๒ เป็นรุ่นสุดท้ายที่มีการเดินธุดงค์ โดยรุ่นถัดมาได้ปรับ เป็นการไปปฏินัตธรรมแทน เพิ่อที่จะให้ธรรมทายาทไดิใช้พื้นที่ลัปปายะ ที่มีความ เหมาะสมทั้ง ๔ ด้าน คือ สถานที่เป็นที่สบาย อาหารเป็นที่สบาย บุคคลเป็นที่สบาย และธรรมะเป็นที่สบาย ทำ ให้ธรรมทายาทมีผลการปฏิบตธรรมที่ดีขึ้น โครงการอบรมธรรมทายาทและอุปสมบทหมู่ เป็นโครงการปลูกศีล คุณธรรม ให้แก่เยาวชนของฃาดิตามพุทธวิธี ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุดเพียงวิธีเดียวที่ใช้พัฒนาเยาวชน ชองชาดิอย่างได้ผล ด้วยการบีกกลดอยู่ธุดงค์ พีงธรรม รักษาศีล ๘ อย่างเคร่งครัด แต่ไม่เคร่งเครียด และ!!กสมาธิอย่างจรีงจังติดต่อ กันเป็นเวลา ๑ เดือน เพื่อเตรียม กายและใจให้พร้อมที่จะบวช iiWT'm (ร)๓ www.kalyanamitra.org

ธรรมทายาทคือใคร ? โดยคำแปลแล้ว ธรรมทายาทคือผู้รับมรดกธรรมจากพระสัมมาล้มพุทธเจ้า โดยความหมาย ธรรมทายาทคือผู้ตั้งใจแกหัดอบรมตนตามคำสั่งสอนของพระ สัมมาล้มพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด มีความประพฤติดีงาม ขนตั้งหลายสามารถถือเป็น แบบอย่างได้ ยอมสละความสุขส่วนตนทางโลก โดยไม่หวังเอาลาภ ยศ สรรเสริญ และ ประโยชน์สุขส่วนตัวเป็นสิ่งตอบแทน แต่มุ่งที่จะประกอบบุญกุศล สร้างสมบารมี ตาม อย่างพระสัมมาล้มพุทธเจ้าสมัยเมื่อยังทรงบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ การที่จะบำเพ็ญตนตังนี้ได้ จำ เป็นต้องหมั่นศึกษาแกฝนอบรมตนให้มีความรู้ ความสามารถตั้งทางโลกและทางธรรม และสร้างนสัยความเป็นผู้น์าให้เกิดขึ้นแก่ ตนเองอีกด้วย ธรรมทายาทที่แท้จริง จงจำเป็นต้องแกหัดอบรมตนเองให้มีคุณสมบํตดังต่อไป นี้ ๑. ต้องตั้งใจศึกษาหาความรู้โดยไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก ให้เป็นบัณฑิต เป็นพหูสูตตั้งทางโลกและทางธรรม ๒ . ต้องมีหิริโอตตัปปะ ตั้งใจละชั่ว ประพฤติขอบ ประกอบความเพียร เพื่อให้ กายและใจใสสะอาดอยู่เป็นปิตย์ ๓. ต้องแกตนให้เป็นผู้มีขันติ เข้มแข็ง อดทน อดกลั้นต่ออำนาจฝ่ายตํ่าฃอง กิเลส ๔.ต้องแกตนให้เป็นคนรักสงบ รังเกียจการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต การรังแก เบียดเบียน ขึ่งกันและกัน ๕.ต้องสำรวมระวังความประพฤติให้ดีงาม รักศึลยิ่งกว่าชีวิต แกอบรมกิริยา มารยาทให้เรียบร้อยอยู่เสมอ ๖. ต้องแกตนให้เป็นคนรู้จักประมาณตน ไม่เห็นแก่กิน ไม่ฟุมเพีอย หรูหรา ๗. ตั้งใจแกสมาธิให้แก่กล้ายิ่งขึ้น โดยไม่ทอดธุระ MaBnaw ๑๔ www.kalyanamitra.org

วัตถุประสงค์การอบรมธรรมทายาท ๑. เพื่อเป็นการอบรมการ!!กสมาธิอย่างถูกต้อง ณ สถานที่อันร่มรื่น เหมาะ สมอับการ!!กสมาธิ ภายใต้การดูแลของคณะพระอาจารย์พระพื่เลี้ยง ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมไดใช้เวลาให้เป็นประโยฃน์ ในการ!กอบรม ตนเอง ให้เป็นผู้ที่มีความอดทน มีความตั้งใจมั่นคง และมีความเพียร ไม่ย่อท้อ ต่อ อุปสรรคต่างๆ ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม ไต้เรียนรู้พระพุทธศาสนาภาคปฏิบัติด้วย ตนเอง เป็นการขจัดข้อสงสัย ข้อโต้แย้งนานาประการ เกี่ยวอับการ!กสมาธิ และ หลักธรรม ในพระพุทธศาสนา ๔. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำหลักธรรมคำสั่งสอนของ พระ สัมมาลัมพุทธเจัา มาประอุกต่ใข้1ห้เหมาะสมอับการดำเนินชีวิตประจำวัน อันเป็น ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ๔. เพื่อสร้างธรรมทายาทผู้เป็นทายาททางธรรมแห่งองค์สมเดจ พระสัมมา สัมพุทธเจ้า เป็นผู้มีสัมมาทิฐิ ไม่งมงาย ไม่ยึดมั่นในสิ่งผิด เป็นผู้มีสติ ตังอยู่ในความไม่ ประมาท เป็นผู้มีคุณธรรมเพียบพร้อมครบครัน ทั้งปิญญา ทางโลกและทางธรรม ๑๔ www.kalyanamitra.org

ขข้ออปปฏภิิบบัตัิตริ;ระหว่างการอบรม ๑. สมาทานรักษาศีล ๘ อย่างเคร่งครัด เพื่อทำใจให้สงบไม่ฟังซ่าน ๖. อยูในเสนาสนะที่กำหนดให้ ๓.งดการสูบบุหรี่ หรือยาเสพย์ติดอื่นๆ อย่างเด็ดขาด ๔.ไม่พกพาหรือครอบครองสิ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการอบรม เซ่น อาวุธ ยา เสพติด วิทยุเทป หนังสือเริงรมย์ เดรี่องประดับมีค่า อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น ๔. อยู่ในเขตการอบรมที่กำหนดให้ หากจำเป็นต้องออกนอกเขตการอบรม ต้องไต้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากคณะผู้ดำเนินการอบรมก่อนทุกครั้ง ๖.ในซ่วงปฏิบัติธรรมก่อนบวช ควรหลีกเลี่ยงการนัดหมายให้ผู้อื่นมาพบ หรือโทรศัพทํไปสนทนา เพื่อหลีกเลี่ยงจากความไม่สงบใจ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อความบุ่ง มั่นในการ'ฝิกฝนอบรมตนได้ หมายเหตุ ในช่วงหลังบวชแล้ว ช่วงม่ายวันอาทิตยเป็นเวลาสำหรับญาติโยม ได้พบปะสนทนากับพระภิกษุสามเณรธรรมทายาท เพราะในช่วงเวลาอื่นอาจไม่ได้รับ ความสะดวกเท่าที่ควร ๗.จงอดทนอดกลั้นต่ออุปสรรคทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นความสำบากทางกาย หรือความไม่ชอบใจใดๆ ก็ตาม เพราะสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นบทฟิกอันดีเยี่ยม ที่ฟิกฝน ให้ศีลธรรมและความสามารถชองเราเพิ่มพูนยิ่งขึ้นไป ๘.ให้ความเคารพเชื่อฟังต่อคณะผู้ดำเนินการอบรม ไม่ฝ่าฟินกฎระเบียบของ การอบรม ๙. การลา ให้ลาได้ในกรณีพิเศษ เช่น เกณฑ์ทหาร พ่อแม่ป่วยหนัก หรือเลีย ชีวิต เป็นต้น ถ้าลาในกรณีทั่วไป จะต้องถูกดัดคะแนน ๓ คะแนนในวันแรก และดัด อีกวันละ ๑ คะแนนในวันต่อๆ มา ถ้าถูกดัดถึง ๑๐ คะแนน จะหมดสืทธบวช ส่วน หลังบวชแล้วไม่อนุญาตให้ลาในกรณีทั่วไป ๑๖ www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

วัฒนธรรมชาวพุทธ วัฒนธรรมชาวพุทธ คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบตกิจวัตรประจำวัน เพื่อ ปลูกฝืงคืลธรรมของซาวพุทธ หมวดปิด,กวาด, เช็ด, ถู หลักการทำความสะอาด ๑ เลือกใช้อุปกรณ์กวาดและถูให้เหมาะสมกับงานและพื้นผิวที่จะทำ ๒ ทำ ความสะอาดจากด้านบนลงล่าง ๓ ทำ ความสะอาดจากพื้นที่ยากไปสู่พื้นที่ง่าย เซ่น เริ่มจากซอกมุมก่อน ๔ กวาดหรือถฺไปในทิศทางเดียวกัน การเตรียม เตรียมร่างกาย โดยแต่งกายให้รัดกมเหมาะสมต่อการปฏิบ้ติงาน เตรียมอุปกรณ์ โดยเตรียมอุปกรณ์ต่อไปนี๋ให้พร้อม ๑.ไม้กวาดหยากไย่ ๒.ไม้กวาดดอกหญ้า ๓.ไม้บีดฃนไก่ ๔.ไม้ถูพื้น และผ้าถูพื้น ๔. ผ้าเช็ดโต๊ะ ๖. ที่ตักผง ๗. กะละมัง ๘. กังนํ้า ๙. ผงซักฟอก การใช้ไม้ขนไก' วางไม้ขนไกให้!ด้ฉากกับพื้นผิว แล้วกดลากไปใน ทิศทางเดียวกัน ถ้าปึดไปมา ฝ่นจะกลับมาสกปรกบนพื้นผิว อีก ฉะนั้นจึงด้องทำความสะอาดไปในทิศทางเดียวกัน ๑๘ www.kalyanamitra.org

การกวาด ๑. ควรกวาดหยากไย่หรือฝ่นผงจากด้านบนของห้อง หรืออาคารที่จะหำความสะอาดก่อน เซ่น เพดาน หลงตู้ เป็นด้น ๒. ดูทิศทางลม ควรกวาดไปในทิศทางเดียวกับทิศทางที่ ลมพัดไป ๓ จับไม้กวาดบริเวณปลายด้ามให้กระขับมือ โดยใช้นิ้ว ชี้บังคับทิศทาง ๔. ขณะกวาดหลังตรง ออกแรงกดพอประมาณ กวาดไปช้างหน้า โดยกวาดตามชอกมุมก่อน กวาดจาก ด้านในออกด้านนอก ไม่ตวัดปลายไม้กวาดสูงจากพื้น เกิน ๑ ฝ่ามือ เพื่อไมให้ฝ่นละอองฟ้งกระจาย การถู ๑. จับไม้ถูพื้นให้ถูกด้องเหมาะสม เพื่อป้องกันไมให้ไม้กระแทกตัวหากเกิด การสะดุดชี้น ดังรูป ๒. ถูบริเวณที่ยากก่อน เซ่น ซอกมุม และถูไปในทิศทางเดียวกัน ๓.ขณะถูควรออกแรงกดพอประมาณ แล้วตันไม้ถูไปช้างหน้า ๑๙ www.kalyanamitra.org

การใช้ผ้าเช็ดโต๊ะเก้าอี้ ๑. นำ ผ้าซุบป้าปีบหมาดๆ และพบให้พอดีกับ ฝ่ามือ ๒. ถูตามพื้นผิวโต๊ะด้วยป้าหนักสมํ่าเสมอไปใน ทิศ ทางเดียวกัน เพื่อป้องกันไมให้ฝ่นละอองที่เราเช็ดแล้ว กลับมาเปรอะเปีอนอีก อานิสงส์การปัด, กวาด, เช็ด, ถู ๑. เกิดอุปนิลัยรักความสะอาด จนส่งผลให้รักการรักษากาย วาจา ใจ สะอาด บรัสุทธิ้ตามไปด้วย ๒.ทำ ให้ผิวพรรณและจิตใจผ่องใส เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา ๓. ทำ ให้เป็นคนละเอียด รอบคอบ ประณีต ช่างลังเกต รู้จักวางแผนงาน ๔.ทำ ให้เป็นที่รักของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ๒๐ www.kalyanamitra.org

หมวดการซัก, ตาก การซักผ้า และหัวใจสำคณฃองการซัก ๑.ให้นำผ้าลงซักด้วยนํ้าฟล่าก่อน เพื่อให้เหงื่อและฝ่นพองตัว และทำให้ใยผ้า ขยายตัว ทำ ให้ซักผ้าได้เร็วและสะอาดยิ่งขึ้น ๒. จากนั้นนำผ้าลงแขในผงซักฟอกหรือนํ้ายาซักผ้าที่ผสมนํ้าในอัตราส่วนที่ เหมาะสมประมาณ ๕. - ๓0 นาที จากนั้นให้เริ่มซักบริเวณที่สกปรกมากก่อน แล้วจึง ค่อยซักบริเวณอื่นจนทั่ว ๓.ในขั้นตอนการซักนั้า ให้ล้างให้สะอาด ๒ ครั้ง โดยไม่บิดผ้า เพราะจะทำให้ ใยผ้าและตะเข็บเสียรูปทรง แต่ให้บีบผ้าพอหมาดๆ แล้วจึงนำผ้าไปตาก หมายเหไม่ควรแซ่ผ้าค้างคืน เพราะจะทำให้ผ้าเปีอยเร็ว การตากผ้า ๑. ผ้าสบงจึวรที่ซักแล้ว ให้ตากโดยเอาตะเข็บออกด้านนอก เพื่อบีองกันสีซีด จางจากแสงแดด ๒. สะบัดผ้าให้เรียบ และควรดึงชายผ้าให้เรียบร้อยเพื่อบีองกันผ้าอับย่น ๓. ดึงชายผ้าให้เหลื่อมกัน ชายสั้นอยู่เหนือลม เพื่อให้ผ้าแห้งเร็ว ๔.ใฃไม้หนีบผ้าให้แน่น เพื่อไมให้ปลิวตก ๒๑ www.kalyanamitra.org

๕. เมื่อผ้าแห้งให้รบเก็บ เพื่อป้องกันสีผ้าซีดจาง n-ฟ้- หมายเหๆ ในการตากผ้าทุกครั้ง ให้ตากในหี่ที่กำหนดให้ เพื่อสะดวก ต่อการ จัดเก็บและหาง่าย แถมยังเป็นระเบียบเรียบร้อยอีกด้วย หมวดการทำความสะอาดภาซน ห้วใจสำคัญของการหำความสะอาดภาชนะ ๑. หำ ความสะอาดจากด้านในออกด้านนอก ๒. กดและถุไปในทิศทางเดียวกัน อุปกรณ์ที่ใ'ร ๑. กระดาษทิชชู ๒. ฟองนํ้าเซลลโลส ๓. นายาลางจาน ๔. กะละม้งหรีออ'างล้างจาน ๕. ผ้าแห้งสำหรับเข็ดจาน Mltew ๒๒ www.kalyanamitra.org

ขั้นตอนการล้างภาชนะ ๑ เข็ดภาฃนะด้วยกระดาษทิฃฃูเพื่อขจัดเศษอาหารและคราบมัน ๒ ล้างนํ้าธรรมดา กดและถูด้วยฟองนํ้า ๓ ล้างด้วยนํ้ายาล้างจาน กดและถูด้วยฟองนํ้าจากข้างในออกข้างนอก ๔ ล้างนํ้าธรรมดาอีก ๒ ครั้งด้วยฟองนํ้า ๕ เข็ดด้วยผ้าสะอาด แล้วผึ่งลม ๖ ทำ ความสะอาดอ่างล้างภาขนะ แล้วควั่าไว้ อานิสงส์การล้างภาชน^ ๑ ทำ ให้จิตใจใสสะอาด ๒ เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาของผู้พบเห็น ๓ เป็นที่รักของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ๔ ผิวพรรณวรรณะผ่องใส วิมานสว่างไสว ๕ ทำ ให้เป็นคนละเอียด รอบคอบ และรักความสะอาด ๖ เข้าถึงธรรมได้โดยง่าย ๒๓ www.kalyanamitra.org

หมวดการทำความสะอาดห้องนํ้า ฟัวใจสำคัญของการทำความสะอาดห้องนํ้า ๑. ทำ ความสะอาดจากบนลงล่าง และด้านในออกด้านนอก ๒. ทำ ความสะอาดในบริเวณที่ยากล่อน เข่น ทำ ตามซอกมุมล่อน ๓. เช็ดถูไปในทิศทางเดียวกัน ๔.ใช้อุปกรณไห้เหมาะสมกับวัสคุและเนื้องาน อุปกรณ์ที่ใซ้ ๒. ถุงมือยาง ๑. แปรงเตารีด ๔. ฟองนื้าเซลลูโลส ๓. ผ้าเช็ดฝาผนัง ๔. แปรงสีฟ้น ๖. นื้ายาล้างห้องนื้า ๗. ไม้กวาดทางมะพร้าว ๘. กังและขันนื้า ๑ ๕ น่า!)•เ.noWijjui ๒๔ www.kalyanamitra.org

วิธีการขัดห้องนํ้า ๑. ปิดกวาดฝ่นและหยากไย่บนเพดานห้องนํ้าด้วยไม้กวาด ๒. เข็ดฝาผนังทุกด้าน ๓. ล้างขันนํ้าและถังด้วยผ้าซุบนํ้ายาทั้งด้านในและด้านนอก เพื่อขจัดคราบ สกปรก ๔. ราดนํ้ายาลงบนพื้นให้ทั้ว แล้วขัดพื้นด้วยแปรงเตารีด อย่าใช้แปรง ลวด เพราะจะทำให้เป็นรอย ๔.ขัดโถส้วมด้วยฟองนํ้าเซลลูโลสซุบนํ้ายา อย่าลืมใส่ลุงมือป้องถันเชื้อโรค ๖. ทำ ความสะอาดร่องระบายนํ้าด้วยแปรงเตารีด หรือไม้กวาดทางมะพร้าว เพื่อขจัดคราบตะไคร่นํ้าที่มักเกิดชื้น และกำจัดสิ่งอุดตันเพื่อให้นํ้าระบายได้ดี มาทำความสะอาดอุปกรณ์ถันเถอะ ๒๔ ๑. ทำ ความสะอาดแปรงเตารีด โดยใช้แปรงลืฟินขัด ขนแปรง (ตังรูป ๑) ๒.ทำ ความสะอาดลุงมือยางทั้งด้านในและด้านนอก แล้วนำไปผึ่งลม ไม่ควรตากแดด เพราะจะทำให้ลุงมือยาง ชำ รุดได้ง่าย (ตังรูป ๒) ๓. ทำ ความสะอาดฟองนํ้าเซลลูโลส โดยหยอดนํ้ายา และขยี้จากขอบนอกเช้าสู่ตรงกลาง และอย่าลืมล้างมือและ เท้าให้สะอาดทุกครั้งหล้งเสร็จงานเพื่อป้องถันเชื้อโรค (ตังรูป ๓) www.kalyanamitra.org

อานิสงส์ของการล้างห้องนํ้า ๑. ทำ ให้จิตใจผ่องใส ๒. ลดทิเมานะ ๓. ทำ ให้ผิวพรรณวรรณะผ่องใส ๔. ทำ ให้เป็นคนละเอียด รอบคอบ ซ่างสังเกต ๔. วิมานสว่างไสว ๖. เป็นที่รักของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ๗. เป็นที่ทั้งแห่งศรัทธาของผู้พบเห็น ๘. ทำ ให้เข้าถงธรรมไดโดยง่าย ๙. ทำ ให้เป็นคนรักความสะอาด ๒๖ www.kalyanamitra.org

บวชอย่างไรจึงจะได้บุญมาก เพื่อให้ธรรมทายาททุกท่านได้บุญมาก แต่ละท่านจึงสมควรประพฤติปฏิบต ตนอย่างเคร่งครัด เหมาะสม ๓ ประการ ดังต่อไปนี้ ๑. สำ รวมกาย วาจา และใจอยู่เสมอ ยิ่งธรรมทายาทท่านใดมีความสำรวม ระวังมากและต่อเนื่อง ก็ยิ่งได้บุญมาก กล่าวคือ สำ รวมกาย ตลอดระยะเวลาอบรม ควรปฎิฟ้ติดังนี้ ๑) นุ่งห่มให้เรียบร้อย ๒) สำ รวมกิริยามารยาท ไม่คะนองมือ คะนองเท้า ๓) ช่วยกันรักษาความสะอาด ทั้งของตนเองและของวัด รวมทั้งทิ้ง ขยะใน ที่ที่กำ หนดให้ ๔) ไม่สูบบุหรี่และยาเสพย์ติดให้โทษ ๕) ไม่ก่อการวิวาทต่อยตีกัน ไม่ว่าในกรณีใดๆ ทั้งสัน ๒๗ www.kalyanamitra.org

สำ รวมวาจา ควรปฏิบตดังนี้ ๑)ไม่พูดจาบจ้วงล่วงเกินพระรัตนตรัย ๒)ไม่คะนองปาก อันอาจเป็นเหตุให้เกิดการกระทบกระทั่ง ๓)ไม่วิพากษ์วิจารณ์ผู้อื่นในทางเสิยหาย ๔)ไม่พูดเสียงดังเกินไป อันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้อื่น ๔)พูดแต่ถ้อยคาอันเป็นวาจาสุภาษิต คือพูดแต่เรื่องจริง ไม่กล่าวเท็จ พูดแต่สิ่งที่มีประโยซน์ พูดให้ถูกกาลเทศะ พูดคำสุภาพน่าฟ้ง พูดด้วยจิตเมตตา สำ รวมใจ ด้วยการหมั่นตริกระลึก ดังนี้ ๑) ตริกระลึกลึงคุณฃองคืล ว่าเป็นเครื่องขำระกายและวาจา ของเรา ให้สะอาดบริสุทธิ้ และซ่วยให้การประพฤติพรหมจรรย์ของเราบริสุทธิ บริบูรณ์ยิ่งขึ้น ๒)ตริกระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัยอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ด้วยการ นอมน่าใจมาตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายตลอดเวลา ๒. ให้ความร่วมมือกบพระพี่เลี้ยงด้วยความเต็มใจ โปรดระลึกเสมอว่า พระ พี่เลี้ยงผู้ให้ความสะดวกแก่ทุกๆ ท่าน ล้วนเป็นนักสร้างบารมีที่ตั้งใจปฎิบตงานอย่าง เต็มกำลัง เพื่อให้ธรรมทายาทได้บุญมาก จึงขอให้ทุกท่านให้ความรัก ความเคารพ เแพเพ่ไ* ๒๘ www.kalyanamitra.org

ซ่วยถนอมทั้งกายและใจของพระพี่เลี้ยงด้วยการให้ความร่วมมือ ตามที่ท่านแนะนำ อย่างเต็มใจ เพี่อให้เกิดความเป็นนํ้าหนึ่งใจเคียวกัน ๓. ตั้งใจรกษาและปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ตามที่พระ อาจารย์และพระพี่เลี้ยงจะอบรมให้เป็นลำด้นๆ สืบต่อไป ๒๙ www.kalyanamitra.org

อานิสงส์การบวช การบวชเป็นพระภิกชุในพระพุทธศาสนา มิได้มีความหมายเพียงการโกน หนวดปลงผมบ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ เปลี่ยนจากอยู่บ้านมาอยู่วัดเท่านั้น แต่ความ หมายที่แท้จริงของการบวช คือ การเว้นจากบาปอกุศล เว้นจากการดำเนินชีวิตอยาง ฆราวาส เพราะเห็นว่าเป็นทางคับแคบ โอกาสทำความดีมีบ้อย โอกาสทำความชั่วมี มาก แต่การบรรพชาหรือการบวชเป็นทางปลอดโปร่ง เพราะมีเวลาและโอกาสในการ สร้างบุญ ผึเกฝนตนเองได้อย่างเต็มที่ โดยอาคัยพระธรรมวินัยที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงวางกรอบการปฎิบ้ตไว้อย่างดียิ่ง ทำ ใท้ผู้บวชร้ดี - ชั่ว, ถูก - ผิด, ควร - ไม่ควร IJsS, V 9 a-\" ร-' ^ A «-> VI , และ เดฝกนสัย เหรกการสรางความดตดตว เปตลอดชวิต หากเป็นเซ่นนี้ แม้ผู้บวชจะดำรงตนในเพศสมณะเป็นระยะเวลาไม่นาน ก็ย่อม ๓๐ www.kalyanamitra.org

ได้อานิสงส์มากมาย เกิดประโยซน์ต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และพระพุทธศาสนา อย่างแน่นอน อานิสงส์ต่อผู้บวช ๑. ได้โอกาสในการสร้างความดี สั่งสมบุญกุศลอย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องมี กังวลกับภาระการทำมาหากินเลี้ยงชีวิตอย่างฆราวาส เนื่องจากผู้บวขได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นพระสงฆ์ เป็นส่วนหนื่งของพระ รัตนตรัย เมื่อบำเพ็ญตนอยู่โนพระธรรมวินัย เป็นเนื้อนาบุญของโลก จึงได้รับการ อุปถัมภ์บำรุงด้วยข้าวปลาอาหาร ปึจจัย ๔ และการเคารพกราบไหว้จากสาธุขนผู้หวัง บุญ ซึ่งจะเป็นผลให้พระภิกชุมีเวลา มีโอกาสสำหรับการดีกษาพระธรรมวินัย เจริญ ภาวนา และ13กนิสัยแกิไขตนเองอย่างเต็มที่ อีกทั้งมีความสำนึกตนว่าจะต้องสำรวม กาย วาจา ใจ พากเพียรบำเพ็ญดีล สมาธิ ปีญญา ให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป ให้สมกับที่ขาว บ้านมากราบไหว้ มาถวายปีจวัย ๔ ซึ่งหามาได้[ดยยาก ข่วงเวลาแห่งการบวขจึงเป็นเวลาที่มีคุณค่าที่สุดในชีวิต เพราะได้!ข้เวลา อย่างคุ้มค่าไปกบการสร้างความดี สั่งสมความบริสุทธให้แก่ตนเองอย่างที่ไม่เคยได้ทำ มาก่อนตลอดชีวิต สามารถแกไขนิสัยไม่ดีได้หลายอย่าง และได้นิสัยทีดีติดด้วไปอีก มากมาย ด้งนั้น การบวชจึงกลายเป็น \"จุดเปลี่ยนชีวิต\" สำ หรับผู้บวข เพราะเปลี่ยน จากผู้ดำเนินชีวิตอย่างไม่มีเป้าหมาย ให้มีเป้าหมายชีวิตอันสูงส่งและดำเนินไปอย่าง ถูกต้อง เป็นสุขทั้งภพขาตินื้และขาติหน้า กระทั่งเข้าส่ฝืงพระนิพพานในที่สุด ๒. ไต้ความสุขจากใจที่ปลอดกังวล และสุขอย่างยิ่งจากการเจริญสมาธิ ภาวนา บุคคลทั่วไปมักเข้าใจว่าชีวิตพระเป็นชีวิตที่ลำบาก ไม่มีอิสระ ต้องอยู่ในกรอบ การปฏิบํตของพระวินัย จะขบฉันเที่ยวเตร่เฮฮาตามใจปรารถนาก็ไม่ได้ แต่เมีอผู้บวข ได้มาสัมผัสด้วยตนเอง จะพบว่าการเป็นอยู่ด้วยปีจวัย ๔ เท่าที่จำเป็นทำให้ปลอด กังวล จิตใจโปร่งแจ่มใส มีเวลาและพลังใจในการทำสิ่งที่เป็นสารประโยขน์ต่อชีวิตอีก มากมาย เป็นความสุขที่ถูกยกระดับขึ้นมาพ้นจากความสุขด้วย รูป รส กสิ่น เสียง 6ท๑ www.kalyanamitra.org

สัมผัส ที่เป็นความสุขขั้นตํ่า เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ เติมไม่มีวันเต็ม ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อผู้บวชได้เจริญสมาธิภาวนาชำระจิตให้บริสุทธิ้จากนิวรณ์ คือ กิเลสที่ปีดกั้นความสุขไว้ เซ่น ความติดในกาม ความหงุดหงิด พยาบาท ความท้อแท้ เบื่อหน่าย จิตจะชำแรกเข้าไปในกลางใจพบกับความสุขอันยิ่งใหญ่ สุขมากกว่าความ สุขที่พระเจ้าจักรพรรดิได้รับ เป็นความสุฃที่เอิบอาบไปทั้งตัวและห้วใจ สุขอย่างชนิด ที่พูดไม่ออกบอกไม่ถูก ไม่รู้จะไข้ถ้อยคำใดมาบรรยายให้รู้ถึงเศษเสี้ยวของความสุขนั้น ได้ บุคคลจะพีงเได้ด้วยการลงมีอปฎิบตด้วยตนเองเท่านั้น ๓.ได้สั่งสมบุญบารมีอย่างเข้มข้น ซึ่งสามารถคุ้มครองผู้บวชไปได้ยาวนาน นับภพนับชาติไม่ถ้วน ชีวิตนักบวชเป็นชีวิตที่ประเสริฐสุด เป็นเพศสุดท้ายในวัฏสงสาร เซ่นเดียวกับ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย เพราะไดโอกาสในการศึกษาความรู้ อันบริสุทธในพระพุทธศาสนา มีวัตรปฏิบติอันดีงามที่เป็นไปเพื่อการทำพระนิพพาน ให้แจ้ง ดังนั้นปริมาณและคุณภาพของบุญบารมีที่ได้จากการบวชจึงมากมหาศาล และ เข้มข้นอย่างชนิดที่ฆราวาสไม่สามารถปฏินัติได้ เมื่อผู้บวชได้ปรับความเห็นให้ตรง เป็นสัมมาทิฐิ เหมือนการตั้งเข็มทิศชีวิต ให้ถูกด้อง และระหว่างบวชก็ได้รับการปลูกฝิงนิสัยที่ดีจากพระธรรมวินัย จึงทำให้ได้ นิสัยรักการสร้างความดี มีโอกาสสั่งสมบุญไปตลอดชีวิต เพราะเหตุนี้ บุญทั้งจากการบวชและการสร้างความดีตลอดชีวิต จึงคุ้มครอง ผู้บวชไปได้ยาวนานข้ามภพข้ามชาติถึง ๖๔ กัป'^ ไปเกิดภพชาติเบื้องหน้า จะได้เกิด ในดินแดนพระพุทธศาสนา เป็นสัมมาทิฐิบุคคล มีโอกาสสร้างความดีได้ง่าย สามารถ ตัดรอนอกุศล วิบากกรรม ย่นหนทางการสร้างบารมีให้สามารถไปสู่บรมสุข คือ นิพพานได้อย่างรวดเร็ว ๔. ได้ซึ่อว่าเป็นการตอบแทนพระคุณพ่อแม่ผู้ให้กำเนิดอย่างดียิ่ง ให้พ่อแม่ ได้เกาะชายผ้าเหลืองพระลูกชายไปสวรรค์ โดยส่วนใหญ่การตอบแทนพระคุณพ่อแม่ของชาวโลก มักเป็นการเลี้ยงดู ทะนุถนอมให้ท่านอยู่ดีกินดี และพยายามให้ท่านมีความสุข ซึ่งหลายคนก็ล้มเหลว กัป หมายถึง ระยะเวลาที่ยาวนานมาก คือนานเท่ากับช่วงเวลาตั้งแต่โลกก่อตัวเกิดขึ้นตั้งอยู่จนกระทั้ง แตกหำลายไป ๓๒ www.kalyanamitra.org

ไม่สามารถทำให้ท่านมีความสุขใจได้ และถึงแม้จะทำได้ดีเพียงใด ก็ให้ท่านมีความ สุขได้เพียงแค่ซาตินี้ แต่ภพซาตเบื้องหน้าจะเป็นอย่างไร ก็ได้แต่ปล่อยให้เป็นไปตาม ยถากรรมของท่านเอง แต่การบวชจะเป็นการตอบแทนพระคุณพ่อแม่ทั้งภพขาตินี้และขาติต่อๆ ไป ได้ถึง ๓๒ กัปทีเดียว เพราะพ่อแม่เป็น^ห้กำเนิดกายเบื้อ ถือเป็นต้นบุญใหญ่ให้มี โอกาสได้บวช จึงได้บุญมากกว่าผู้สนับสนุนการบวขทั่วไป และยังได้บุญจากความ ปลื้มใจที่เห็นลูกขายบวช ได้โอกาสสร้างบุญในพระพุทธศาสนา มีความร้กความผูกพัน กับพระกับวัด เพราะอาศัยความร้กที่มีต่อลูกขายเป็นเครื่องชักนำ เมื่อสร้างบุญ ทำ ทาน รักษาสืล เจริญภาวนาอยู่ปอยๆ จิตใจก็ยิ่งเลื่อมใสในพระรัตนตรัย ทำ ให้มีหลักมี ที่พึ่งให้แก่ตนเองในยามขรา และเป็นผู้หลักผู้ใหญ่ที่มีความสุขใจ เป็นต้นแบบให้แก่ลูก หลานได้อย่างดี จากบุญที่ท่านได้ให้กำเนิดพระลูกขาย เป็นต้นบุญให้มีพระแท้เกิดขึ้นในโลก และบุญที่ท่านได้สร้างด้วยตนเองด้วยการทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา พ่อแม่ของผู้ บวฃย่อมไต้บุญคุ้มครองไปสู่สวรรค์ และเป็นผู้มีศรัทธา มีสัมมาทิฐิติดตัวไปในภพเบื้อง หน้ายาวนานถึง ๓๒ กัป ก็ยิ่งจะมีโอกาสได้สร้างบุญไปทุกชาติๆ ที่เกิดมา ทำ ให้ยิ่งได้ รับความสุขความเจริญมากขึ้นไปอย่างจะนับจะประมาณมีได้ ๕.ได้โอกาสในการบรรลุคุณวิเศษ และกระทำพระนิพพานให้แจ้ง วิขซาความร้อันบริสุทธื้ เซ่น การระถึกขาติ การเห็นการไปเกิดมาเกิดของสัตว์ ทั้งหลาย หรือการทำลายกิเลสที่ฃีมซาบอยูในใจ เป็นต้น เป็นความรู้ที่ฆราวาสปุลุขน ไม่สามารถเรียนรู้ได้ แต่เป็นโอกาสของพระภิกษุผู้เจริญจิตภาวนาจนมีใจหยุดนิ่ง สว่างไสว เข้าถึงพระธรรมกายภายในไต้ ซึ่งมีใซ่สิ่งที่เหลือวิสัยที่จะทำได้ในป็จจุบัน ดัง ที่พระราชภาวนาวิสุทธิ้(หลวงพ่อธัมมขโย) กล่าวว่า \"มรรคผลนิพพานไม่ได้ล้าสมัย ป้จจุบนนี้ก็สามารถบรรลุได้ เพราะมันอยู่ ในตัวของเรา มรรค ๔, ผล ๔, นิพพาน ๑ มันอยู่ในตัวของเรา ไม่ได้อยู่นอกโลก ของหี่อยู่ในตัวของเราถือว่าเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวที่สุด อยูโนวิสัยที่เราสามารถไปศีกษา ไปแสวงหา ไปทำให้แจ้งได้\" iiMHwni ๓๓ www.kalyanamitra.org

และชีวิตสมณะก็เป็นชีวิตที่เอื้ออำนวยให้เกิดความสงบกาย สงบใจ มีเวลาและ อารมณ์ในการเจริญภาวนาให้[จหยุดนิ่งได้ง่าย และแม้จะไม่สามารถทำพระนพพาน ให้แจ้งได้ในปีจจุบัน แต่ก็ได้เริ่มต้นก้าวที่หนิ่งไปแล้ว ก้าวที่สอง สาม สี่ ห้า และเป้า หมายแห่งความสำเร็จก็จะมาถึงในที่สุด แต่ล้ายังไม่ไต้เริ่ม ก็ยังอยู่ที่ศูนย์ เสียเวลาไป เปล่าอีกชาติหนิ่ง สำ หรับอานิสงส์ที่จะเกิดแก่ครอบครัว สังคม และพระพุทธศาสนา มีโดย สังเขปดังนี้ ๑. ครอบครัวได้เป็นญาติของพระศาสนา มีโอกาสในการสั่งสมบุญมากกว่า ธรรมดา และเมื่อนำหลักธรรมไปใซในการดำเนินชีวิต ก็จะเป็นครอบครัวที่อบอุ่น ทุก คนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ๒. สังคมได้เนี้อนาบุญอันบริสุหธเพิ่มขึ้น ประชาชนต่างได้โอกาสสั่งสมบุญ ทำให้บุญโดยรวมของคนในประเทศมีปริมาณมากพอที่จะขจัดภัย ปิญหาต่าง ๆ ทั้ง ลังคม การเมือง เศรษฐกิจ ให้มลายหายไปเป็นอัศจรรย์ และคิริมงคลความเจริญก็จะ บังเกิดขึ้นแก่ประเทศชาติด้วยอำนาจแห่งบุญ ๓. ประเทศขาติได้เครื่องมือในการสร้างคนดีอย่างยั่งยืนจากประเพณีการ บวช หากฟ้นฟูประเพณีการบวชให้กลับคืนมาสู่วิถึชีวิตของสังคมไทยได้ จะกลาย เป็นเครื่องมือในการหล่อหลอมสร้างคนดีให้แก่ลังคมอย่างยั่งยืน ศีลธรรมในลังคมจะ เที่องฟู ถือหลักธรรมเป็นใหญในการดำเนินชีวิตและการปกครองบ้านเมือง คนดีจะได้ เป็นผู้นำ คนชั่วกลัวเกรงต่อกฎหมาย จารีตประเพณี และกฎแห่งกรรม สังคมก็เจริญ ร่งเรีอง ประชาชนก็อย่เย็นเป็นสข ขจ ๔. พระพุทธศาสนาได้ผู้สิบทอดจากพุทธบุตรที่ตั้งใจบวชระยะยาว หรือ แม้แต่บวชระยะสั้น ก็ยังไต้ชาวพุทธที่เป็นธรรมทายาท เป็นชาวพุทธที่แท้จริง มีความ รักความห่วงใยต่อพระพุทธศาสนา คอยทำนุบำรุงให้อยู่คู่แผ่นดินไปตลอดอายุขัยของ ตน ๓๔ www.kalyanamitra.org

บทแกคุณธรรมเบื้องต้น หมวดอิริยาบถ \"ผู้ที่สำรวมมือ สำ รวมเท้า สำ รวมวาจา สำ รวมตน ยินดึในอารมณ์ภายใน มืจิตมั๋นอยู่ผู้เดียว สันโดษ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า เป็นภิกชุ\" เราต้องสร้างความเคารพให้เกิดขึ้นก่อน คือ การปรับปรุงตนเองให้มี คืลธรรม น่าไหว้ น่าเคารพ ความประพฤติภายนอก ทั้งการนุ่งห่ม คำ พูด กิริยาท่าทาง เพราะ ญาติโยมเขาไม่อาจล่วงรู้ภาวะจิตของเรา แต่เขาอาศัยดูจากความประพฤติภายนอก เหล่านี้ มาเป็นเครื่องตัดสินศีลธรรมภายในของเรา เพราะฉะนั้น เมื่อเป็นเข่นนี้ เราจึง มีความจำเป็นต้อง^กอิริยาบถอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การลุกขึ้นยืน เดิน นั่ง หรือนอน ของพระภิกชุนั้น ถ้าเราจะปฏิบัติเหมือน ฆราวาสแล้วก็จะดูไม่งาม เนื่องจากเครื่องนุ่งห่มของพระภิกษุไม่เหมือนฆราวาส การลุกขึ้นยืน มีทั้งหมด ๔ จังหวะ เรื่มจากท่านั่งพับเพียบ จังหวะที่ ๑ นั่งคุกเข่า I ะ. ๕ จังหวะที ๒ ตังเข่าขวาขืน จังหวะที่ ๓ ยืนขึ้น เท้าซ้ายอยู่ด้านหลัง จังหวะที่ ๔ ดิงเท้าซ้ายมาขิดเท้าขวา หมายเหคุ การลุกขึ้นยืนจะต้องมั่นคง ไม่เซไปข้างหน้าหรือข้างหลัง เป็นการแกสติ และจะทำให้ดูสง่างาม น่าเลี่อมใส ๓๕ www.kalyanamitra.org

มีทั้งหมด ๔ จังหวะ เริ่มจากทำเตรียม คือ ยืนตรง จังหวะที่ ๑ ถอยเท้าซ้ายไปด้านหลัง จังหวะที่ ๒ ย่อเข่าซ้าย ตั้งเข่าขวา จังหวะที่ ๓ นั่งคุกเข่า จังหวะที่ ๔ นั่งพับเพียบซ้ายหรีอขวา หมายเหคุ ควรเอามีอลูบสบงด้านหลังให้เรียบร้อยก่อนนั่ง แล้วเก็บชาย สบงด้านหน้าให้ปิดขาทั้งหมด (5) Ig) ลา Ci การกลับเท้าในท่านั่งพับเพียบ มีทั้งหมด ๔ ขั้นตอน จังหวะที่ ๑ ใซ้มีอขวาแบฝ่ามีอลงบนพื้นเฉียงไปทางซ้ายเล็กน้อย จังหวะที่ ๒ น้อมตัวไปซ้างหน้าเล็กน้อยพร้อมยกก้นขึ้น จังหวะที่ ๓ กลับเท้าด้านหลัง จังหวะที่ ๔ นั่งพับเพียบลงไปและเก็บปลายเท้าให้เรียบร้อย 1ม่ควรกลับเท้าด้านหน้า เพราะดไม่งาม และสบงเปิดได้ง่าย www.kalyanamitra.org

การนั่งเฃืยนหนังสิอ นั่งตัวตรง พับเพียบหรือขัดสมาธิ วางสมุดลงบนหน้าตัก ก้มศีรษะเลึกน้อย ไม่ งอตัวหรือก้มลงไปมาก เพื่อป้องกันการปวดหสัง ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้เมื่อต้องนั่งเป็น ระยะเวลานานๆ การพนมมือ มืออยู่ระหว่างลิ้นปี ตั้งขันขึ้น ๔๕ องศา นิ้วชิดติดกัน มือไม่แบนเกินไป ไม่ตูม เกินไป นิ้วไม่กาง มือไม่ตก นั่งตัวตรง หลังไม่งอ ทั้งกรณีที่นั่งและยืน การกราบ การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ ซึ่งประกอบด้วยองค์ ๔ คือเข่าทั้งสอง มือ ทั้งสอง และหน้าผาก มืขั้นตอนการปฏิบตทั้งหมด ๔ จังหวะ โดยเริ่มจากทำเตรืยม คือ นั่งคุกเข่าให้หัวเข่าห่างกันประมาณ ๑ คืบ นั่งทับสันเท้าตั้งฝ่าเท้าทั้งสองขึ้นให้ตรง และชิดกัน ตั้งกายตรง ๓๗ www.kalyanamitra.org

จังหวะที่ ๑ ยกมือขึ้นประนมหว่างอก นิ้วชิดติดกัน มือไม่ตก จังหวะที่ ๒ ยกมือที่ประนมขึ้อเสมอหน้า ไม่น้อมสืรษะมารับให้นิ้วหัวแม่มือ จรดระหว่างคิ้ว จังหวะที่ ๓ หมอบลงกราบ โดยให้ลดมือทั้งสองเรียบลงมาตามสำดับแล้วจึง ค่อยยื่นฝ่ามือไปข้างหน้า พร้อมทั้งน้อมดัวลง จังหวะที่ ๔ กราบลงไปกับพื้น ศอกต่อเข่า หน้าผากติดพื้น ฝ่ามือห่างกัน ประมาณ ๑ คืบ พอให้ศีรษะวางกับพื้นได้ หลังยือออกเล็กน้อยอย่าให้หลังโกง เมื่อยกดัวขึ้นมาให้เงยหน้าทั้งดัวตรง เริ่มจังหวะที่ ๑-๒-๓-๔ ใหม่ ติดต่อกันไป จนครบ ๓ ครั้ง แล้วให้เงยหน้าทำจังหวะที่ ๑ - ๒ อีกครั้งหนึ่ง จึงเสร็จพิธี ขณะกราบพระพุทธรูป ควรน้อมใจระลึกถึงคุณของพระสัมมาส้ม พุทธเจ้าว่ามีพระคุณต่อเราและผู้อื่นอย่างไร และควรกำหนดใจว่าจะทั้งใจทำความ ดีเยี่ยงท่านให้1ด้ ดังนิ้จึงจะเป็นการกราบที่ถูกต้องสมบูรณ์แบบที่สุด แล้วจะเกิด ประโยชน์ต่อดัวผู้กราบได้มากที่สุด การเดินแถว เมื่อเดินเข้าห้องปฏิบัติธรรมหรีอเดินภายในรัด มีข้อปฏิบัติดังนิ้ ๑. ไมใข้ผ้าโพกศีรษะหรีอหนังสือบังแดดขณะเดิน ๒.ไม่พูดคุยกันจนเอีกเกรีกเฮฮา ๓. เดินให้ตรงคอคนหน้า ๔. เดินยกเท้า ไม่เดินลากเท้าจนเกิดเสียงดังและฝ่นฟ้ง ๓๘ www.kalyanamitra.org

หมวดอาหาร การรับประทานอาหาร / การฉัน ทางโลกเขาได้ข้าวปลาอาหารแล้ว กินเพื่อความอร่อยก็มี กินเพื่อความบันเทิง ก็มี กินเพื่อความสวย ความหล่อ ทั้งเพื่อไปบำรุงเรี่ยวแรงให้กามกำเริบก็มี กินเพื่อเล่น กินเพื่อตบแต่ง กินเพื่อความฟ้งซ่านก็มี ฯลๆ เพราะฉะนั้นพอบวชแล้วฉันเพียงสอง มื้อ ก่อนจะฉันก็พิจารณาอย่างแยบคาย เป็นด้นว่า เราฉันเข้าไปแล้วก็เพื่อเอาเรี่ยวแรง มาทำความดี ศึกษาด้นคว้าพระธรรมวิบัย และขณะฉันเราก็ต้องรู้จักประมาณอีกด้วย เป็นด้นว่า เวลาฉันอีก ๔ - ๕ คำจะอี'ม แล้วหยุด เพราะเมื่อเรารู้สึกว่า ๔- ๕ คำ จะอิ่ม ความจริงอิ่มแล้ว อาหารก็จะพอเลี้ยงร่างกาย ไม่ง่วงเหงาซึมเซา ความรู้สึกทางเพศไม่ กำ เริบ แต่ว่าถ้ากินจนกระทั้งอิ่มแล้วแถมไปอีก ๔ - ๕ คำ ส่วนเกินนี้จะทำให้ง่วง พีง เทศน์ก็ไม่รู้เรี่อง คำ ว่า \"ฉัน\" ซึ่งไข้สำหรับพระภิกษุสามเณร ความจริงก็คือการกินอย่าง พิจารณานั่นเอง กินด้วยความรู้ตัว แสวงหาก็แสวงหามาโดยขอบ ถึงคราวจะกินก็กิน ด้วยสต กันอย่างรู้จัตลุประสงค์ เพราะฉะนั้น เราเป็นพระภิกษุสามเณร ก็ฃอให้ฉัน อย่างสำรวม ฉันอย่างระมัดระวัง ไม่อย่างนั้นจะผิดพลาดไปจากพระวินัย ผิดพลาดไป จากวัตลุประสงค์ทิพระสัมมาล้มพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ การเตรียมตัวก่อนรับอาหาร เนื่องจากการอบรมมีผู้เข้าร่วมการอบรมมาก ฉะนั้นจึงจำเป็นด้องมีระเบียบ วินัยในการรับอาหาร เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และประหยัดเวลาอันมีค่าใน การอบรม ซึ่งมีข้อปฏิบัติตังต่อไปนี้ อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมมา คือ ซองข้อน กระบอกนํ้า หนังสือสวดมนต์ สมุด บันทึก หนังสึอค่มือ ปากกา และกระดาษทิซซ lUMiHai ๓๙ www.kalyanamitra.org

วิธีการรับอาหาร กลุ่มใดพร้อม ให้เดินไปรับอาหารก่อน โดยเดินแถวเรียงเดี่ยวจากที่นั่ง ออก ทางแนวกลาง ไม'ควรเดินออกทางด้านข้าง เพราะเป็นทางเดินขากลับของผู้ ที่ได้รับอาหารมาแล้ว จะทำให้ติดขัดล่าข้า ไม่สะดวก เมื่อถึงจุดรับอาหาร ให้ แปรแถวตามจำนวนแถวที่จัดไว้ และควรรับอาหารให้พอดีอิ่ม เมื่อเดินกลับเข้าที่นั่ง ให้จัดวางภาชนะใส่อาหารและอุปกรณโห้เรียบร้อย ดูภาพประกอบ และปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ การวางอาหาร รงด้พระ ด้านฟ้าย ด้านขาา 9านฟ้าว s 0 พนังสิORวทมนท์ ทระ\\)0ท11า ก่อนรับประทานอาหาร/ ฉัน ๑. นั่งหลับตารอความพร้อมเพรียงลันของหมู่คณะ ๒. พระอาจารย์นำสวดมนต์และพิจารณาอาหาร เพื่อแกสติและใข้ปิญญา พิจารณาก่อนรับประทานอาหาร / ฉัน ๓. นั่งรอให้พระอาจารย์เริ่มฉันก่อน จึงค่อยเริ่มทาน / ฉันอาหาร เป็นการให้ความเคารพท่าน IIMiWIll ๔๐ www.kalyanamitra.org

ขณะรับประทานอาหาร/ฉน ๑. นั่งตัวตรง ไม่ก้มลงไปหาจานข้าว เพราะเป็นกิริยาที่ดูแล้วไม่งาม ๒. ตักอาหารให้พอดีคำ ไม่กัดคำข้าว ล้าอาหารชิ้นใหญ่หรือยาว ให้ตัดพอดีคำ อย่าใข้ปากกัดฉีกชิ้นอาหาร ๓.ไม่อ้าปากรออาหาร ๔.ไม่เคี้ยวเสียงตัง ขณะเคี้ยวไม่อ้าปาก ๕.ไม่พูดคุยขณะมีอาหารอยู่ในปาก ๖.ไม่เอานิ้วล้วงเข้าไปในปาก ๗. ไม่ขูดจานข้าวหรือบาตรเสียงตัง โดยขณะเกลี่ยอาหาร ให้นอนข้อนขนาน กับจานอาหารหรือบาตร หรืออาจใข้ล้อมจิ้มชิ้นอาหารเพื่อป้องกันเสียงตัง ๘.ไม่ฉนหกเรี่ยราด ๙. เกลี่ยอาหารในจานให้เรียบเอย ให้อยู่บริเวณตรงกลางและกลมอยู่เสมอ เป็นการแกให้ใจคุ้นเคยกับที่ศูนย์กลางกาย หลังรับประทานอาหาร/ ฉัน ๑. เมื่อฉันเสร็จแล้ว ให้ใข้กระดาษทิซฃูทำความสะอาดจานหรือบาตร ข้อน- และล้อมให้สะอาดเรียบร้อย เพื่อขจัดคราบไขมันและสิ่งสกปรกออกไป ๒. เก็บเศษอาหารห่อใส่กระดาษทิซซูให้เรียบร้อย จะได้ดูไม่บ่ารังเกียจ ๓. ล้าฉันเสร็จก่อน ให้นั่งหลับตาทำสมาธิรอเพื่อน เพื่อความพร้อมเพรียงของ หม่คณะ ๔๑ www.kalyanamitra.org

การฉันอาหารเป็นวง การฉันอาหารวงให้ปฏิบติดังนี้ ๑.กลุ่มบุญอาหารจัดเตรียมอาหารก่อนเวลา ๓๐ นาที นอกนั้นตั้งแถวรอด้าน นอก เมื่อจัดอาหารพร้อมจึงเดินเรียงแถวเข้ามา ๖. การนั่งฉันเป็นวงให้นั่งคละกลุ่มกัน เพื่อสร้างความคุ้นเคยกัน ๓.ให้กันเตฉันก่อน และให้อาวุโสบริการกันเต ประโยซน์ที่จะได้รับจากการฉันเป็นวง คือ ติกความใจเย็น ทาให้เป็นคนสุขุม สง่างาม มีสติ เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา ได้ติกการเข้าสังคมและความเสียสละ การดื่มนํ้า นั้าเป็นส่วนประกอบสำดัญที่จะช่วยรักษาความสมดุลของระบบต่างๆ ภายใน ร่างกาย ให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธภาพ ดังนั้นจึงควรดื่มนั้าอย่างถูกริธีและ เพียงพอ เพื่อป้องกันร่างกายขาดนั้า จุดประสงค์ของการดื่มนํ้ามีดังนี้ ๑. เพื่อรักษาความสมดุลของร่างกาย ๒. เพื่อป้องโรคที่อาจเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากภาวะการขาดนี้า ๓. เพื่อให้ร่างกายสดชื่น พร้อมที่จะทำกิจวัตรและกิจกรรม วิธืการปฏิบ้ติ ๑. ดื่มนํ้ามากพอ อย่างน้อยวันละ ๑.๕:- ๓ ลิตร ๒.หสังอาหารดื่มนั้าทํนที ๑ แก้ว เพื่อช่วยในการย่อยอาหาร ๓. ควรดื่มนั้าในเวลาที่เหมาะสม คือ ๓.๑ ดื่มนํ้าทันทีเมื่อดื่นนอน ๓.๒ ไม่ควรดื่มนั้าก่อนเข้าห้องปฏิน้ติธรรม ๓.๓ ควรดื่มน้าให้มากๆ ในระหว่างทีมีการพักนานๆ ๓.๔ เมื่อร้สีกว่าร่างกายขาดนํ้า เช่น ป้สสาวะมีสีเหลือง หรีอคอแห้ง ควรดื่มนํ้าพันที ๔๒ www.kalyanamitra.org

หมายเหg[ ไม่ควรยืนดื่มนํ้า ไม่ควรอมขอบแก้วนํ้า ไม่กระดกแก้วนํ้าสูงเกิน- ควร และไม่ดื่มนํ้าเสียงดัง หากเดินทางไกล ก่อนออกเดินทาง ๑ ชั่วโมง ไม่ควรดื่มนํ้า ขณะเดินหาง เพราะจะทำให้ปวดปืสสาวะขณะเดินทางได้เมื่อถึงที่หมายจึงค่อยดื่ม หมวดห้องนํ้า การพห้องนํ้า ๑. ควรถอดรองเท้าก่อนเข้าห้องนํ้า เพื่อป้องกันเศษหินดินทรายเลอะเทอะ ห้องนํ้า และจะทำให้ผิวเซรามิคของคอห่านขำรุดเสียหายเร็วกว่าปกติ ๒. เคาะประดูทุกครั้งก่อนเข้าห้องนํ้า ๓. เปิดนํ้าเพื่อกลบเสียง และราดนํ้าปอยๆ เพื่อกันกลิ่นรบกวนผู้อื่น ๔. ควรนั่งถ่ายทุกครั้ง ไม่ควรยืนถ่ายป้สสาวะ เพื่อฟิกความเป็นสมณะ ๕. ควํ่าขันทุกครั้งเมื่อไข้ห้องนํ้าเสร็จ เพื่อป้องกันคราบตะกอน หรือตะไคร่นํ้า จับที่ขันนํ้า ๖.ปีดก็อกนํ้าแค่พอสนิทเท่านั้น ไม่ควรปิดแน่นเกินไป เพราะจะทำให้ก็อกนํ้า เสียได้ ๔๓ www.kalyanamitra.org

การอาบนํ้า / สรงนํ้า ๑.ให้นั่งอาบนํ้าโดยใช้ผ้าสรงนํ้า ไม่ยืนอาบนํ้า เพราะจะทำให้คราบเหงื่อ ไคลกระเด็นลงตุ่มนํ้า หรือกระเด็นไปหาผู้อื่นได้ ๒.ไมใช้สายยางอาบนํ้า และไม่ฉีดนํ้าจากสายยางเล่นขณะอาบนํ้า เพื่อ ประหยัดนํ้า ๓.ไม่แซ่ผ้าในถังขณะอาบนํ้า เพราะถังจะไม่พอใช้ ๔. เติมนํ้าให้เต็มหลังอาบนํ้าเสร็จแล้ว เพื่อป้องถันยุงวางไข่ และทำให้มีนํ้าใช้ อยู่ตลอดเวลา ไม่ขาดแคลนในกรณีที่นํ้าไม่ไหล ๕. วางขันนํ้าที่ขั้นวางของให้เรียบร้อย ๖. ตากผ้าให้เรียบร้อยในจุดที่จัดไว้ และเอาด้านขื่อออกให้สังเกตได้ง่าย เพื่อ ป้องถันการลับเปลี่ยนถัน ๗. นุ่งห่มให้เรียบร้อยก่อนออกมาจากห้องนํ้า หมวดห้องปฏิบัติธรรม การใช้ห้องปฏิบ้ตธรรม มีช้อปฏิบตดังนี้ ๑. จัดเตรียมอาสนะ นี้าดื่ม และนาฬิกาสำหรับพระอาจารย์ให้พร้อมก่อน เสมอ ๒. ทำ ภารกิจส่วนตัวให้เรียบร้อย และวางรองเท้าในที่ที่จัดไวให้เรียบร้อย ก่อนเช้าห้อง ๓. ล้างเท้าหรือเช็ดเท้าให้สะอาดก่อนเช้าห้องปฏิบตธรรม ๔. เปิดปิดประดูเบาๆ ควรระวังอย่าให้มีเสียงตังขณะเดินในห้อง และไม่ เหยืยบอาสนะที่ปูไว้ จากนั้นให้นั่งรอในที่ของตนให้พร้อมก่อนเริ่มปฏิบตธรรม ๕ นาที และวางของส่วนตัวให้เป็นระเบียบ ๔๔ www.kalyanamitra.org

๕.ไม่ควรลุกเข้าออกห้องปฏิปัติธรรมบ่อยๆ ๖.ไม่ควรทำกิจอย่างอื่นหรืออ่านหนังสือขณะปฏิห้ติธรรม เพื่อแสดงความ- เคารพในธรรม ๗. เมื่อเลิกจากการปฏินัติธรรมทุกครั้ง ให้เก็บอาสนะวางไว้!นที่ที่จัดไว้ให้ เรืยบร้อย และนำของส่วนตัวออกจากห้องให้หมด การฟ้งธรรม เพื่อให้สๅมารถรองรับความรูจากพระอาจารย่ได้เต็มพี่ และเพื่อเป็นการแสดง ความเคารพต่อการฟ้งธรรมและต่อพระอาจารย์ ควรปฏินัติตังนี้ ๑. เตรียมสมุดนันทึกธรรมะ และปากกาให้พร้อมทุกครั้ง ๒. เข้าถึงห้องก่อนเวลา และรักษาใจให้พร้อมพี่จะรับความรู้ ๓.ถ้ามีคำถาม ควรเขียนคำถามในกระดาษให้อ่านง่าย ไม่ถามแทรกขณะพี่ พระอาจารย์แสดงธรรม ควรถามเมื่อพระอาจารย์เปิดโอกาสให้ถาม ๔. นั่งพับเพียบขณะฟิงธรรม ไม่เหยียดขา ไม่เท้าแขน ๕.ไม่ควรหลับตาในขณะพีงธรรม เพื่อป้องลันการเผลอสติหลับ ถ้าต้องการ ทำ สมาธิ ควรจะใข้วธีลิมตาพีงพร้อมลับตรึกธรรมะไปด้วย ๖.ไม่ทำเสืยงตังรบกวนผู้อื่นพี่กำลังพีงธรรมอยู่ เข่น เล่นปากกา หรือหักนี้ว มือ เป็นด้น ๗.ไม่คุยลันขณะพีงธรรม เพื่อให้ความเคารพในการฟ้งธรรม ๘.พยายามจดบันทึกในส่วนพี่สำคัญทุกครั้ง เพราะจำดีกว่าจด ถ้าจำ ไม่ หมดจดดีกว่าจัา ๔๕ www.kalyanamitra.org

การสวดมนต์ ทำ วัตร ในสมัยพุทธกาล พระภิกษุได้เข้าฟ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งเช้าและเย็นเพื่อ รับฟ้งโอวาท ครั้นพระองค์เสด็จดับฃันธปรินิพพานแล้ว ก็ต้องพยายามให้เอวาท ตนเองโดยการสวดมนต์ทำวัตร วัตร แปลว่า สิ่งที่ควรทำ ทำ วัตร หมายถึง การสวดบทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระ สังฆคุณ ถ้าจะสวดให้1ด้ผล ต้องทำความรู้สิกเหมือนกับเราได้เข้าเฝ็าเฉพาะพระพักตร์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขณะที่สวดสรรเสริญพระคุณของพระองค์ ใจก็ซุ่มชื่นเป็นบุญ เป็นกุศล ความคิด คำ พูด และการกระทำของเราจะไม่รั่วไหลไปในทางที่ชั่ว มีแต่คิดดี พูดดี และทำดีตลอดไป การทำวัตร นกถึงคุณความดีต่างๆ ของพระรัตนตรัยเป็นประจำ ทำ ให้ใจของ เราน้อมไปถึงคุณความดี แล้วเกิดความเลื่อมใสศรัทธา เมื่อความเลื่อมใสศรัทธาเกิด ซํ้าแล้วซํ้าอีก ในที่สุดใจของเราจะมั่นในความดี ตั้งใจทำความดีตลอดไป การสวดมนต์ คือ การนำคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาสวดกัน ซึ่งล้วน ถอดมาจากพระไตรปิฎก อันเป็นพระธรรมเทศนาของพระองค์ทั้งสิ้น ๔๖ www.kalyanamitra.org

อานิสงส์ของการสวดมนต์ทำวัตร ๑. ทำ ให้จิตใจผ่องใส ตั้งมั่นเป็นสมาธิ และชุ่มขื่นอยู่ตลอดเวลาที่สวด ๒.ทำ ให้เกิดความพร้อมเพรียงกันของหมู่คณะ ๓. เป็นการรักษาประเพณี ทำ ให้เกิดขวัญและกำลังใจ ๔. เป็นการรักษาพระธรรมคำสั่งสอนให้มั่นคงสืบไป ๔. ทำ ให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง วิธีการสวดมนต์ ควรสวดมนต์ให้เต็มเสียงและถูกอักขระวิธี โดยให้เสียงเสมอกันและพร้อมกัน ควรหลับตาสวดมนต์พร้อมทั้งตรีกธรรมะไปด้วย ใจจะเป็นสมาธิได้ง่ายและเร็วขืน แต่ ถ้าง่วงนอนก็ให้ลืมตาสวดมนต์พร้อมทั้งตรีกธรรมะไปด้วย ไม่ควรสวดเร็วหรือข้าเกิน ไป ควรสังเกตพระอาจารย์ผู้น่าสวดเป็นหลัก หมวดที่พ'กอาสัย การใช้และการดูแลรักษากลด การที่ธรรมทายาททุกคนได้สละความสุขสบายจากการอยู่อาลัยใบบวบหลัง ใหญ่ๆ หรือห้องใหญ่ๆ มาอาลัยอยู่ในกลดหลังน้อย ก็เพื่อที่จะรีเกฝนในเรื่องของความ มักน้อยสันโดษ การรี!กสติ และการรี!กความมีระเบียบวิน้ยของตัวธรรมทายาทเอง การเข้าฟักในกลด มีข้อปฏิบติดังนี้ ๑.ไม่ส่งเสียงตังรบกวนกลดข้างเคียง ๒.ไม่เปิดไฟฉายหลัง ๔ ทุ่ม ๓. ควรจัดสมณบริขารให้อยู่ในรูปแบบเดียวกับ เพื่อความเป็บระเบียบ- ทพเท■ท ๔๗ www.kalyanamitra.org

เรียบร้อยสวยงาม และง่ายต่อการหยิบใช้ ๔. หันศีรษะตรงช้ามกับทิศทางลมโกรก เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย การดูแลรักษากลด มีช้อป่ฏิป้ตในการดูแลรักษากลด ดังนี้ ๑. เก็บมุ้งให้เป็นระเบียบทุกครั้งที่ตื่นนอน เพื่อลกความรับผิดขอบ ๒. พับเสื่อและผ้าพลาสติกให้เรียบร้อย ๓.ไม่ควรขุดร่องนี้ารอบกลด เพื่อป้องกันนํ้าขัง จะทำให้เลอะเทอะได้ ๔.ใช้สอยเครื่องนอนอย่างระมัดระวัง เพื่อเป็นการรักษาสมษัติฃองพระ- ศาสนา ๕. เก็บของเช้าลุงใสทุกครั้ง เพื่อป้องกันฝ่นละอองวับ และป้องกันการเปียก ฝน ๖.วัดของใช้ให้ดูเป็นระเบียบ ทำ ให้หาของได้ง่าย ของหายก็ทราบ ๗.ไม่ปล่อยให้บริเวณรอบกลดสกปรก เพราะจะทำให้ใจคุ้นอยู่แต่ความ สกปรก ๘.ส่งเสริมความมักน้อย สันโดษ มีเฉพาะอัฎฐบริขารเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ๔๘ www.kalyanamitra.org

การจัดวางสิงของเครื่องใช้ การจัดวางสิ่งของเครื่องใช้ใซ้หลกที่ว่า หาก็ง่าย หายก็รู้ ดูสบายตา พาสบายใจ ๑.จีวรควรพบให้เรียบร้อยก่อนวางทุกครั้ง และไมให้วางที่พืนดิน ๒.ไม่เอาสิ่งของใดๆ วางทับบนหนังสือสวดมนต์ ๓. วางของในแนวฉาก ถ้าเป็นของประเภทเดียวกัน เข่น หนังสือ สมด ให้เอา เล่มเล็กวางช้างบน แยกหนังสือสวดมนต์!ว้ต่างหาก หรีอวางทับไว้ช้างบนอีกที กรณีมี ขนาดพอๆ กัน หมวดผ้าไตรจีวร ผ้าไตรจีวร ผ้าไตรจีวร ซึ่งประกอบด้วย สบง จีวร และสังฆาฏิ เป็นเครื่องแบบเฉพาะของ พระภิกษุในพระพุทธศาสนาที่มีมาตั้งแต่สมัยทุทรภาล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมอบ ให้พระอานนท์เป็นผู้ออกแบบผ้าไตรจีวรทีพระภิภษุด้อใช้ทุ่'^ห้ เพอแสดงความเปน หม่คณะช้ดเจน ๔๙ www.kalyanamitra.org