\\ ^*} <1 <?• f } {i <» f i {■ ♦ ■> ถสบถ รักดีหมายดี ว่ากระนี้แหละใจคน แต่ดีจะมีผล ก็เพราะรูประพฤติดี ชนะคบ ชนะใดฤาจะเท่า ชนะเราสินะจะเลิศ พลผล ณ จะเกิด ก็เพราะด้วยชนะตน ชนะใจชนะยาก สิลำ บากทุรชน ทุรกรรมจะนำไป ก็เพราะเหตุอกุศล ป้งเน้เวละเบวหลง ^ มียศศักดี้สูงเยี่ยมจงเอี่ยมจิต อย่ามัวคิดฟ้งเฟัอละเมอหลง ^ รู้ประมาณดีจริงเกียรติยี่งยง ยิงถ่อมลงยี่งเหื่เองกระเดื่องนาม I 0
A/ ยิ่งทะนงยิ่งเร้าให้เซาหยาม ยิ่งลวนลามยิ่งด้อยถดถอยลง ฯ -[ < > . {f \\ ถ้าทะนงองอาจซาติคนหลง ยิ่งหัวสูงมุ่งใหญ่ยิ่งใจทราม อปาเสีบส์ถบิ เสียชีพอย่าเสียสัตย์ กิจวัตรอย่ากสับกลาย ชีวิตจะสลาย ก็บ่ยอมด้องน้อมทำ พดแล้วอย่าเสียสัตย์ กิจวัตรอย่าถลำ รักษามโนกรรม ที่พูดไว้มิให้เสีย เกิดมาเป็นคน เกิถเป็นกน ได้ดีอย่าลืมดี จงทำตนให้มีดี ความดีที่มีแล้ว รักษาดีให้คงทน หากคลาดแคล้วก็ไร้ผล มีดีประจำตน ยอมส่งผลให้ตนดี ■1 ■{•4 ^} » 1 - V< 0 i/ \\ _ i/ \\ . £
ความดีที่ควรคง คือความตรงต่อเวลา ความดีที่นำหน้า ความดีที่เป็นหลัก คือจรรยาสุภาพขน คือรู้จักรักษาตน โดยคุณคืออดทน อีกรักลัตย์ปฏิญญา หนึ่งใจตนมีเมตตา หนึ่งหนักในเหตุผล สติตั้งระวังตน คุณประจำคนทุกคน คุมกายและวาจา ดั่งตราดีประกันตัว นี้คือคติธรรม จะได้พิทักษ์ตน ๔ด ดีหนึ่งคือความร้วทยา ดีสองคือกิริยาอ่อนน้อม ดีสามคือวาจาสุภาพ ดีสี่คือกิจการพร้อม
บารบาทส่อส์นถาน ก้านบัวบอกลึกตื้น ซลธาร มารยาทส่อสันดาน ชาติเชื้อ โฉดฉลาดเพราะคำขาน ควรทราบ หย่อมหญ้าเหี่ยวแห้งเรื้อ บอกร้าย แสลงดิน เกิถlOนคนบ่อนเหนักเนา ธรรมซาติของสุนัข ฤาจะรักเกียรติคุณ เป็นสัตว์อยู่ใต้ถุน คือบาปบุญบ่รู้นา แต่ส่วนมนุษย์เรา คือหนักเบาพอรู้หนา ควรยังซึ่งโทษา อย่าเห็นว่าทำไต้เอย ถม่อมชนะชั๋ว คบคนชั่วยั่วเย้าให้เราชั่ว อย่าเมามัวหลงลมหรือข่มเหง คอยทำดีตอบโต้ไปให้เขาเกรง ความดีเองชนะชั่วหายมัวเมา
J? ri \\. :/' อุปสรรคม่านบันไถ้ คนเราอุบัติขึ้น ณ ภาคพื้นพิภพนี้ จำ เป็นจะต้องมี อุปสรรคสกัดหาง รวมแสวงสหายช่วย พละอวยอุบายวาง น่าแนะสลัดขวาง กลพันมิหม่นศรี เฉกเช่นพระบวชใหม่ พระวินัยมิรู้ดี หากปล่อยปละลืมขึ้ ซักขอกชํ้าระกำศีล เช่นนั้นประดาท่าน ฤดีห่วงป็ดมลทิน ประลุหลุดพิสุหธิหมาย บอกทางประพฤติสิ้น บุญคุณคณานับ ปลงหลงกลืมเลือน ฃึ่อสัถบักถ้ณญ พิงลัตย์ซื่อถือมั่นกตัญณู ต่อท่านผู้เกื้อหนุนมีคุณหลาย พ่อแม่ครป่ย่าและตายาย ต้องน้อมกายเคารพให้ครบครัน 0 0} ■'ii vi-
\\ ^ ^ ''\"\"I'\" . - i :,'\"^'1'^,.\\ ร.'^ เ1าควาบดี ทำ ความดีมีในตนทุกคนรัก ทำ ความดีให้ประจักษ์เป็นหลักฐาน ทำ ความดีเป็นศรีพ้นให้ภัยพาล ทำ ความดีดีอภิบาลทุกท่านเอย ความอถทบนานาซึ่งนระโบชนสุข ทนลำบากตรากตรำตนซํ่าจิต ขันติติดกายร่างไม่ห่างเหิน ย่อมเกิดทรัพย์นับเกียรติละเอียดเกิน ไร้ขันติพลันประเชิญจำเริญลง บับชาเบาปอบไดัรับการบชาถอน แม้น^ดบูชาด้วยอามิส หริอด้วยคิดแนะธรรมจำเริญศรี ผ้ได้รับก็มีจิตคิดยินดี เกิดอารีอารอบตอบแทนกัน
บัไหวัเบาปอมไถัรับการไหว้ตอบ ผู้ไหว้ย่อมได้รับไหว้ตอบ ตามระบอบที่เราทำผลกรรมใfน เซ่นปลูกกล้วยได้กล้วยเป็นด้วยพันธุ รสจะมันหรือหวานเพราะพันธุเดิม ความอถทนอถกลั้น ความอดทนท่านว่าเป็นขันติ , เป็นปฏิปักษ์ต่ออกุศล อันโลภโกรธโฉดหลงไม่คงทน เอาขันติตัดตนผลเจริญ อกจิค เป็นมนุษย์สุดดีอยู่ที่จิต ทำ พูดคิดในแนวธรรมพระพรํ่าสอน จะดีอื่นหมื่นแสนล้วนแคลนคลอน ดีแน่นอนคือดวงจิตปิดอบาย «3
.ไ^ ะ?^ บิมีเกีบรติ ผู้มีเกียรติคือผู้ประพฤติธรรม เป็นประจำฝิงจิตติดนิสัย แม้เศรษฐีมีอำนาจกาจเกรียงไกร ขาดธรรมไซร้ได้เกียรติก็จอมปลอม ลั้นคืออศาจ ลิ้นมนุษย์ดุจนํ้าผึ้งหวานตรึงจิต ทั้งมีพีษยิ่งกว่านํ้ายาขม พูดแต่เพราะเสนาะหูมีผู้ซม ล้าคารมขวานผ่าซากไม่อยากพีง เพียงนํ้าผึ้งหนึ่งหยดที่รดพื้น มดนับหมื่นมาติดตายเพราะใจหวัง เอายาขมไปไว้จนใกล้รัง อย่านึกหวังเลยว่าจะมากิน ใช้ไม่เป็นเกิดโทษคนติฉิน ผู้ใดใช้ลิ้นเป็นเห็นประโยชน์ เรื่องโคนันทวิศาลท่านคงยิน ก็เพราะลิ้นมีประโยขน์และโทษเอย
t s ^ i' ไ.\" \"* V -> \\ <f i ^ •♦> ^ •[ •♦ -*/ i- -•. .. ♦ 4. \\ *. .N, .ใ, .!. f\\■>f' ■ /\" '^. ๙\\ i/ \\ ' .'/ ^:. ^' \\ ' ^ \\ ' น'่ \\ ประนฤดิถนสุจริค เว้นจากทุจริตสามตามบุสนธื้ ประพฤติตนสุจริตจิตอาจหาญ ย่อมห่างโทษเวรไกลร้ายรุกราน มีแต่ความชื่นบานสำราญรมย์ อปาหางรรรม เราปรีชาสามารถควรอาจหาญ อย่าทิ้งงานฟ้งเฟ้อแล้วเห่อเหิม ล้าห่างแสงแห่งธรรมประจำเจิม ลองริเริ่มเสรีธรรมช่วยคำซู บู้น่านับถอใช่เนราะเกิดนาน เบนคนแก่แต่เกิดนานก็ผ่านได้ เป็นผู้ใหญ่นั้นยากสำบากยิ่ง ด้องวางตนวางตัวเหมาะสมจริง จะอ้างอิงเพียงเกิดก่อนนั้นอ่อนความ ด้องมีหลักอันจะให้ใครนบถือ สำ คัญคือทีท่าน่าเกรงขาม i ไม่หสุกหลิกสุกลนให้คนลาม รู้แบ่งความตามเหมาะเฉพาะกาล ฐ ร่ i- ไ -* 4 ^ V' V
\\ \\ 'a\" \\ /' \\ .^ / \\ Z' ^ \\ /\\ /'■••./' ' '\" ' ไ/''l ' \"',/'/i ^ \\๙'\\ ^ ' ๙''' ' ไ ๙ มิทำ เล่นเป็นเด็กไร้เดียงสา เจรจาพาทีมีแก่นสาร ใช่เพียรพเานํ้าลายพองนานสองนาน รู้จักกาลพูดแต่ดีมีคำคม ชธตถัองฮความหวัง ชีวิตนี้มีความหวังพลังเลิศ อาจยังชีพให้ประเสริฐและสุขลันต์ ขอแต่เพียงอย่าก้มหน้าลงจาบัลย์ รอสวรรค์ช่วยตนตลอดกาล อ่อนนอนถ่อมตบ อ่อนเอ๋ยอ่อนน้อม สุภาพพร้อมละม่อมละไมถือไว้มั่น ใครมั่งมีดีจนคนทุกขั้น เสมอก้นปฏิบัติเป็นอัตตา เราอ่อนโยนแต่มิใช่อ่อนแอ ถืงถูกแหย่หยามเย้าเอาซึ่งหน้า อย่าตอบพาลลันดานบาปด้วยหยาบช้า ใช้วาจาสุภาพเถิดประเสริฐเอย ๙ { * ร-*■๙ \\* Vy \"* y . '^ไ๙ . . \\๙ *• .■} ^ * i { * '๙ ^ ,'7 Tไ*\"^^!-^ * ,J ไt\" *\"^!^', . >; *^ ช้ * <• } • ,'^^ V, ,- ๙^๙ , / ๙ ' ๙ ๙/ ไ ๙๙ / ๙ ๙, '\" ๙๙,
ทาน ศล กาวนา ซอว่าทานให้เร่งให้ ซื่อว่าศีลให้เร่งจำ ซื่อว่าบุญให้เร่งทำ คำ พระเจ้าเร่งภาวนา ฯ ถนแลเรนที่(ปึ่งบองถน พึ่งคนอื่นซื่นใจเป็นบางครั้ง ไม่เหมือนดังพึ่งตนผลฉวึ พึ่งเซาได้ก็เพราะเราทำความดี ตนเป็นศรีของตนผลจึงตาม ท บัชเกีบรติ ผู้มืเกียรติคือผู้ประพฤติธรรม เเปป็็บนประจำฝิงจิตติดนิสัย แม้เศรษฐีมีอำนาจกาจเกรียงไกร ขขาา^ดธรรมไซร้ได้เกียรติก็จอมปลอม
บัประนฤถิรรรบไม่ไปส่ทคดั ประพฤติธรรมนำผลสมตนคิด มีดวงจิตป้จจุบันไม่ผันผิน มีธรรมมาติดตนพ้นมลทิน ทุคติก็ย่อมสินจากอินทรีย์ ช่วบกันคิถจักถ ตั้งแต่นี้จำไปอย่าใจหาญ จะทำการสิ่งใดให้ปรีกษา ช่วยกันคิดเป็นกิจวัฒนา จึงจะพาถาวรเจริญดี ความถ่อมถม ความถ่อมกายเป็นสง่าชูราคิ ส่งความดีให้สูงเลิศเด่นเฉิดฉาย เหมีอนเรีอนทองรองเพชรให้รุ้งพราย แม้นซือขายราคาลำเพชรนำงาม
y^=,' y ชนะดัวบรรรม: ถ้าชนะด้วยอาวุธ จะสิ้นสุดด้วยความแค้น ใช้ธรรมะชนะแทน ความขุ่นแค้นจะหายไป is^ นอกทรามงามใบ ช้างนอกงามทรามในใช้ไม่ได้ เหมีอนนกยางนอกใสบอกว่าสวย อันนกแร้งนอกทรามไม่สำรวย แต่ในสวยใจบุญการุณย์ดี เบอเธานลาถ เมือเราหลับมีคนปลุกรีบลุกเถิด เมื่อเราเปิดมืคนปิดอย่าคิดหยาม เมื่อเราช้ามีคนลูงรีบมุ่งตาม ให้ถูกยามถูกถิ่นน่ายินดี ,V y ;. i- '■ ' ,; Vr ■■ • ' - ' .]■ ไ' ■' ^-V ^ - ; { *v-'- ; ว่ -'\\<?> * !- t ♦ -y z'- } ..y/''. y ' V ' ไ. '
■.ไ' ,4., '.ไ* 'ไ\" -.t, -ไ •ไ'' ■ไ* ■ไ'^ '■ไ' rv, ■.ไ' 'ไ' . . ]•■ •> ; > . ]• •• < v> ;• } -■ - ■'•- ;. ^■■■\" . } { •> \\ V >^' '■ } ■' ' ^ .-*' > 7 ■' '■ \"■'■ '■\" } i * \\ ''' a\" ' I' i '' '* คนทอกคีแล้วเป็นแสงสว่างบองบุรุษ ถ้าขาดการแกฝนผลคือโง่ เขลาเป็นโล่ปิดความดีอย่างผีสิง ถ้า'ผีกดีมีราคาประซาขิง ตนเองยิงสุขสวัสดีเพราะหัดดี บลงานสรางคุณค่า อันคนดีมีผลงานเป็นคุณค่า กิริยาน่ารักเป็นคักดีศรี กล่าววาจาปราศรัยผูกไมตรี ประพฤติดีมีผลคนเมตตา ละซึ่งกิเลส คราวเป็นสงฆ์ทรงเหลืองกระเดื่องเพศ จงไกลเหคุมัวหมองให้ผ่องศรี เราเป็นสงฆ์ทรงคืลมุนินทรีซี อย่าให้มีคาวร้ายระคายองค์ ปฏิบัติอย่าให้กลัดเป็นแผลใน อย่าทำให้พรตร้าวคาวแก่สงฆ์ อย่านอกรีตดีดร้ายทำลายวงค์ อย่าเอาสงฆ์บังหน้าให้ราคื สงวนศีลยินดียอมพลืร่าง ไม่ลบล้างศีลสงฆ์พระทรงศรี หมดศรัทธาลาศีลมุนินทรีซี ไปครองที่ฆราวาสซูซาดีไป -V* \"r:: ... ... -ไ •ไ' ??^ ... • '■■ไ'/'' 'X \\ \"'ไ A \\ไ'-'^ \\ , \\ ,/ \\ jf \\ !f \\\\ ^\\ ๕ ■-> A ^■ vv ^ ^ -- '''
อย่าเอาอย่างเสือสางพรางสีเสือ ลวงให้เนื้อเชื่อลงไม่สงสัย ' เหนเหลืองเรือคิดว่าเนือใช่เสือไพร จวบบรรสัยจึงรู้จักพยัคฆา ฯ ถัาจะบวช สักวาพระท่านว่าถ้าจะบวช ต้องเข้มงวดทางใจให้ได้ผล จะคิดบวชปฏิบติข้ดกมล สืบนสนธี้ทุหธศาสน์ปราศมลทิน อย่าคิดบวชแก้รำคาญผลาญข้าวสุก บวชสบุกตามเพื่อนแชเชือนสิ้น เมือบวชแล้วกด้องเรืยนเพียรอาจิณ' ' บวชนอนกินบาปนักหนาอย่าบวชเลย ถูตัวคบ ความฃัวตัวมืมากมายมองไม่เห็น คอยเที่ยวเฟ้นขุดด้นคนอื่นเขา ความซัวดีมือยู่ทิตัวเรา ทำ ไมเล่าไม่พินิจเพ่งพิศดู 1
ชาบหญิงคอกัน รใซ่ชายฝ่ายเดียวเจียวเปรื่องปราชญ์ หญิงก็อาจเลิศลบในภพสาม ชายเป็นเดชหญิงเป็นศรีประจำยาม โลกจะงามเพราะมีเดชมีศรีเอย จิคที่อกถีบ่อมนำสุบมาใหั จิตแกแล้วก็ย่อมแคล้วจากความชั่ว กายเป็นรั้วจิตเป็นหลักเช้าปิกห้าม เลิกพยศคดโกงทุกโมงยาม เพราะจิตงามสุขจึงตามมาหาตน บาคีไปถี อบู่ถีกินถี มา ให้ดีมีธรรมประจำจิต ดี จะติดต่อตั้งเมื่อยังอยู่ ไป ให้ดีมีธรรมช่วยคํ้าฃ ดี จะอยู่แปงภาคเมื่อจากเอย อยู่ ที่ไหนอยู่ได้ให้เขารัก ดี ประจักษ์ดีช่วยอำนวยผล กิน อะไรให้รู้กินสิ้นลังวล ดี เป็นผลดลสนองต้องใจเอย
! '>^'m
ะ ^'. m m 'พ■๗\"
๒
จิถไจ-อารมก]
เวลาใด ใจบ่องแบัว ให้ผ่องแผ้ว เหมือนได้แก้ว เป็นราศี เวลาใด ทำ ใจ ให้ราศี เหมือนมณี มืค่า ทำ ใจ ลดราคา แตกหมด (แ(ร่^ บกบิครด้วบไบครี ผกสนิท ชิดเขื้อ นี้เหลือยาก ถึงเหล็กฟาก ก็ไม่มั่น จะผูกด้วย มนต์เสก ลงเลขยันต์ ด้วยไมตรี ก็ไม่มั่น เหมือนผูกไว้ ร ^น>7ทุ^ ■ร 0 ■5
จิถกนเหมีอนลิงใลถ อันจิตคน ที่จริง จะกำหนด ให้ทัน เกิดปีญญา ต้องเจริญ วิปีสสนา เกิดสฃ สิ้นทุกข์เอย โลกนื้1ซร้ ใลกถูกจิตนำไป ซึ่งหมู่สัตว์ ดวงมนัส หมายเอว ทางชำนิ ตัวอริ ถ้าจิตชั่ว เป็นผู้นำ ผลิดีเอง ถ้าจิตดื ก็ทำ ชั่ว
หัดปล่อยวาง นล่อบวาง มันเสียบ้าง ถ้าไม่วาง ข้าวเปลือกน้อย ช่างมัน หนักสุดแสน แล้วจะหนัก ก็คือแสน ทั่วดินแดน แบกไปทั่ว ทับเราโทรม ตันหับ วาสนา จงเจิบมตน อย่าชวนซื่น ไม่คู่ควร เห็นนํ้าตื้น เรือไปหา รู้ว่าจน อย่าซักใบ อย่าเจรจา บุญโรยรา จงเจียมตน ห่างไกลเอย สิริร้าง 5 \"5
ท R / ไ- G (>4- ^, rr โn น _ ไะเ If ไ ■G''' ราคะ โทสะ โมหะ อันราคJ โทสะ โมหร:น เป็นในที่ เผานัก ยากจักถอน เป็นพวงไฟ ไม่ดับ ไม่ลับจร เผาจนมรณ์ มอดม้วย ไปด้วยกัน ว่าแก่ แปรลังขาร ถ้าเขาพูด ก็อาจดาล โทโส เพราะโมหันธ์ ว่ายังสาว ยังหน่ม เป็นพุ่มพรรถ! แล้วก็พลัน พอใจ ในถ้อยคำ ควานโลกถั๋งงู□ษ ดัวความโลภ นั่นเป็น เข่นงูพิษ หากจับจิต ใครแล้ว เกิดอยากได้ ส่วนหาเหยื่อ ไม่เคยเบื่อ ในอะไร แม้ได้ไว้ ลักนิด คิดยินดี G, sP ni is aG GG J ไ!G Q : ■ร\"\"'^ ^ o : o Ho ff > ไ; ?r ไG G 'น G ไ
เห็นเหวลึก เหวลก เหวรัก ว่าเหวตื้น ปากเหวลื่น อย่านึก ไปลองผลัก อย่าคะนอง ได้ง่ายนัก ตกเหวหิน ปีนป่าย ไปจนตาย ตกเหวรัก กระเสือกกระสน สุบทุกข์อบู่ที่ใจ สุขหรือทุกข์อยู่ที่ใจมิใซ่หรือ ถ้าใจถือก็เป็นทุกข์ไม่สุกใส ถ้าไม่ถือก็เป็นสุขไม่ทุกข์ใจ เราอยากได้ความสุขหรือทุกข์นา สุขหรือทุกข์อยู่ที่ใจมิใข่หรือ ถ้าเราถือเป็นทุกข์ไม่สุขสันต์ หากปล่อยวางก็ว่างทุกข์สุขนิรันดร เพราะฉะนั้นจงเสือกทางวางทุกข์เอย ins't^eipK^xJj^hM (ll{ร่^ รุ;<37 I %
r^ t ชวถโม่หนีไปไหน ชั่วหรือดีที่ทำกรรมทั้งหลาย ไม่หนีหายสูญลิ้นไปถิ่นไหน ย่อมอยุ่ดีกินดีไม่มีภัย รวมเก็บไว้ที่จิตติดตัวเรา ฯ (.แ^^ โอโลโภโทโลโมโหนี ราคีชองไจ เป็นมูลรากราดินลิ้นทั้งปวง เป็นราคีของใจอันใหญ่หลวง คอยเหนี่ยวหน่วงให้นุงยุ่งหัวใจ yvsi=e^^ul^hu (tltS94 ■•ไ.•■•^^ \" โ'''\" ■'•'•.ไ'' -.
' s \"'C-^}ร^''c ®^'C\"•'■'^v' เลอกที่รกมักที่ชัง เรารักท่านท่านก็จักรักสนอง ถ้าซังท่านท่านก็ต้องเอาซั่วสู่ โบราณยอมว่าไว้ให้เป็นครู รู้มิตรจิตแล้วก็รู้มิตรใจ ใครมีปากอยากพูดก็พูดไป เรื่องอะไรก็ซ่างอย่าฟ้งขาน เราอย่าต่อก่อก้าวให้ร้าวราน ความรำคาญก็จะหายสบายใจ ฯ WJ't๘จว(^X4l^fhน (แ^^ ความรก อันความรักเหมีอนนํ้าอมฤต ไต้ดื่มแล้วขื่นจิตพิศวง ระงับโรคสูญพูนพะวง เพราะรักรื่นยืนยงยั่วยวนใจ \"5 ■เ i % \"2 71 ■■ไ:> น 'ui rz ;:3 ;:,1 i:' i;.i 'น r-i ^ cV -;V c:; t> J -ไไ- 'H' o oo โ;; ไ:■ ไ:: -.-. s น''a
a /- e: iE \"\" น •' ' vi ::ไ : :: El E -• ' ; i;-} s . ! v- v 'o \"ไ E ^-: :f-6 o a-:; ว O'-i ะไ^ ไ'Hไ o o !■' ไ: 'U; > y \" ;V ■'1 i-j' ., , \"Li IE 1- แ ไ:; น-ไ ,,...tน~ irf ,.,^ ti a' '•'-^ -v., รสใดไม่เหมือนรสรัก รสรัก แต่มิได้เซยซมสมใจ หวานนักหวานใดจะเปรียบได้ ขมใดไม่เทียบเปรียบปาน wxtu-? แ^^ๆน^®^\\^ อม่าไวัใจมนษบ จับให้มั่นคั้นหมายให้วายวอด ซ่วยให้รอดรักให้ซิดพิสมัย ตัดให้ซาดปรารถนาหาสิ่งใด เพียรจงได้ตังประสงค์คงจะดี แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสนสุดลึกลํ้าเหลือกำหนด ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในนํ้าใจคน มนุษย์นี้มืรักอยู่สองสถาน บิดามารดารักมักเป็นผล ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน เกิดเป็นคนคิดเห็นจึ่งเจรจา แมืใครรักรักมั่งซังซังตอบ ให้รอบคอบคิดอ่านนะหลานหนา รู้สิ่งใดไม่ล้รู้วซา รัรักษาตัวรอดเป็นยอดดี ^i4>7S'^ r;: น s E: i:j El \"■ ;;:i \"■' p ^ El ไ:; ^:ไ p _ p p ^ p p _ p ว่;ไ .,,/:;; น' ''■ ' -r ไ' p V - ฯ\"V ,u E/ .. p ฝี', fe ฝี , -E' p •<>
ใจมนุษบบากกำหนถ อันคดอื่นหมื่นคดกำหนดแน่ เว้นเสียแต่ใจมนุษย์สุดกำหนด ทั้งลวงล่องอเงี่'ยวทั้งเลี้ยวลด ถึงคลองคดก็ไม่เหมือนใจคน ปากหวาน เจ้าของตาลรักหวานขึ้นปีนต้น ระวังตนตีนมือระมัดมั่น เหมือนคบคนคำหวานรำคาญครัน ถ้าพลั้งพลันเจ็บอกเหมือนตกตาล 1 § ■5
นราศอเหนา A จะหกอื่นขืนหักก็จักได้ หักอาลัยนึ้1ม่หลุดสุดจะหัก สารพัดตัดขาดประหลาดนัก แต่ตัดรักนึ๋ใม่ชาดประหลาดใจ จะสร้างพรตอดรักหักสวาท เผื่อจะขาดข้อคิดพิสมัย แม้นน้องบุฃบุษบานิคาลัย จะไดไปสู่สวรรค์ชั้นโสฬส จงหยุดทัพยับยั้งตั้งอาศรม รักษาพรหมจรรย์ด้วยกันหมด ปะตาปาอายันอยู่บรรพต อุตส่าห์อดอาลัยก็ไม่คลาย ภาวนาว่าจะตั้งปลงสังเวช ก็หลับเนตรเห็นดู่ไม่รู้หาย จะสวดมนต์ด้นถกถึงผกปลาย ก็กลับกลายเรื่องราวเป็นกล่าวกลอน
n.''\" ท ^ ;,I n ^ r:^ '''ri ^ ::\\ 'ท ::; V- 4-■ ■^ • ■ ?' -v o ;V-/- 0^ ?;><. o รสลั้นกลี่นหวาน แม้นรู้จักรักร่างเป็นอย่างยิ่ง จะเพริศพริ้งสมสวาทเป็นราชหงส์ จงกำหนดอุตส่าห์รักษาทรง อย่าลุ่มหลงด้วยอุบายของชายพาล อันคำคมลมบุรุษนั้นสุดกล้า เชาย่อมว่ารสลิ้นนี้กินหวาน จงระวังตั้งมั่นในสันดาน อย่าลนลานหลงละเลิงด้วยเชิงชาย ฯ ^uy7S''h เบลิงโทสา ร้อนอะไรในมนุษย์ที่จุดจบ ไม่ร้อนลบแรงราดซํ้ายากเผา เพลิงโมโหโทสามิซาเซา ร้อนรุมเราลุกลนไปจนตาย อันร้อนกายไข้หนักพอรักษา ใข้หยูกยาถูตรงก็คงหาย แต่ร้อนจิตติดแน่นสุดแคลนคลาย เป็นโรคร้ายเริ้อรังไม่ฟ้งยา ๆ C9CU 0o c? f?-รุ o CiH4?' o ij s 'v::i ' ... t: ■'พ,''' '\"'รุ\"'
:;ไ ' r:; !•ไๆ1 r; ! จิถไจที่เจริญแลัว เจริญทางวัตถุ จะคุกรุ่นเป็นไฟ เจริญหางจิตใจ จะแจ่มใสสงบดี เมตคา เมตเอ๋ยเมตตา แปลความว่าให้สมัครจิตรักใคร่ ภาวนาประจำตัวแผ่ทั่วไป แล้วจักได้อานิสงส์ส่งรุนแรง ที่เคยเกลียดกลับชอบตอบด้วยรัก ที่หาญหักอาฆาตอาจกำแหง กลับอ่อนน้อมด้วยกถาเมตตาแสดง คํ้าจุนแหส่งโลกามานานเอย ความอถทบชนะความไกรร ขันติความอดทน นี้คือมนต์วิเศษศรี ท่องไว้ใครราวี ขันติปราบให้ราบไป ความโกรธคือศัตรู มาโจมจู่หวังขิงขัย ชำ นะความโกรธได้ ด้วยขันติสิปราชญ์ซม ■C\"
สวรรค์อยู่ในอก อม่ที่ใจ นิพพานอยู่ไม่ไกล นรกอยู่ในใจ ก็ที่ใจเรานี้เอง '•)โ•ไ ศรัทธา เมื่อศรัทธาตั้งมั่นถึงขั้นแล้ว เหมือนมีแล้วดวงวิเศษหมายเหตุฝืน ย่อมนำ.สุขมาให้สูใจพลัน . . เมื่อตั้งมั่นด้วยศรัทธาสุขมาแล ฯ ไจบนษบ์ ลักวาข่างกระไรใจมนุษย์ ไม่มียุติแน่ย่อมแปรผัน ใจของตัวยังกลัวไม่เที่ยงธรรม์ จะเป็นฉันใดหนอในข้อนี้ ใข้วิซาผูกใจได้ขั้วครั้ง ก็ไม่ยั่งยืนอยู่กับที่ ^ เพราะรักโกรธกลัวหลงมั่นควรมี อคติทั้งสี่นี้ร้ายเอย \"2 7เ
ระงับเวร แม้นเกิดเวรเวราผูกอาฆาต ด้วยประมาทมัวเมาเป็นเจ้าขันธ์ จะระงับเวราสารพ'น ด้วยหมายมั่นปีนใจไม่มีเวร ไปไกลไจอบู่ ยามด้องร้างห่างไกลไปเซ่นนี้ เปรียบฤดีเหว่ว้าห่วง่หาขวัญ หนึ่งนๆทีซาบซึ้งเหมือนหนึ่งวัน , . หกปีนั้นรักอยู่คู่ฤดี ถวงจิคอดอมาบ เป็นมนุษย์สุดดีอยู่ทจิต ทำ พูดคิดในแนวธรรมพระพรํ่าสอน จะดีอื่นหมื่นแสนล้วนแคลนคลอน ดีแน่นอนคือดวงจิตปิดอบาย 'จ^
.^> ap น Q <>-v o d>-v o -H -V ^ to L-I i3. a p tน/ ุ-:'. ul o (^-^- o i Et 'p' ti 11 เมตตาเบาถัวบใจอันเรนกุศล จะเมตตาปรานีอารีเขา ใจของเราก็ต้องเห็นเป็นกุศล อย่าให้เขาต้องตอบสนองตน บุญส่งผลความดีอยู่ที่ใจ ไจเJนรัเาสนาบ การปส่อยใจตามตัวนั้นขั่วนัก เพราะใจรักสบายมิใข่หรีอ การปล่อยตัวตามใจเหมือนไฟฮือ นั้นแหละคือความทรมานจะตามมา เมตตาเม่ราฮ ความเมตตาปรานีนั้นมืมาก ทุกคนอยากไต้รับสนับสนุน เมตตารักเมตตาคิดจิตการุญ จะเป็นบุญแก่ผู้รับนับปรานี เมื่อเมตตาปรานีผู้ที่ยาก ผู้ลำ บากจะสนองให้ผ่องศรี ^ ช่วยคนทุกข์ปลุกปลอบขอบฤดี กลับทวีราศีตนคนเมตตา 1 I la p^ a\"'ไ n ท ':/•ท a V Li-vV p a -ชุ; n ap a.ทุ^^ p ap o a & iv a fa o ff ff a f V a o o 0f i -.9..-๖ □'^,.๖ a<a- น ช ti a ui a/-^V^-ไ;; itน;-.'n\" ไทนุ;?.ไ2 นน:>f; น-d ^\"ti
ท''\" IX ■-^ 4^\"V ^ '^''V ■'- ''i'\" ^' ''^ ^ V'i^ '^ .^^'\"'' po o '^ ^ โJ น ช' t: n 'D a V ..^ น ir .. Ii i;/ „^, ไ:! ไ:! nf lii 1:3^1 4- s ■<> -•> ■^ \"9\" ความเมตตาถ้าผู้ใดได้ประพฤติ ผู้ใดยึดจะได้ขื่อลือถามหา ว่าบ้านใครเขาปรานีมีกรุณา จักเชิดหน้าซูตามากกว่าใคร ถ้าผู้ใดขาดเมตตาปรานีแล้ว ถึงจะขัดจะถูดูกระไร เหมีอนดวงแล้วลืนลืมณีใส ความเมตตาปรานีไม่มีโทษ เพราะเหตุไร้เมตตฺาและปรานี เมตตาธรรมคํ้าจุนโลกโขคทวี ความปราโมทย์มีมาเสริมราสิ ให้คนดีมีเมตตาไม่จาบ้ลย์ ไจเบา ไจ!รา ใจของเราเป็นไฉนคิดให้แน่ แล้วตรองแลใจเขาเหมีอนเราบ้าง เรารักสุขเกลืยดทุกข์เดียดทุกทาง ใจเขาบ้างก็เป็นเซ่นเราแล หญงชามหมาบชื่น อันหญิงขายย่อมหมายเป็นคู่ขื่น ภิรมย์รื่นร่วมจิตพิสมัย ตาประสบตารักสมัครไซร้ ใจกับใจต่อติดสนิทกัน ฯ a P ti p, ท p n p p U P p p p p a p a, ๐ d'V o Q โ^4 ^ o 0 (^4 o © V tj' p t3 Ef \\1 ซ p et^ a Xi p p p ^-P p ^ p p„
ปรุงแต่ง ความเอ๋ยความปรุงแต่ง 3?นเสียดแทงจิตใจให้ฟ้งซ่าน ความคิดถึงดีซั่วยั่ววิญญาณ หลงสังขารมาลวงห่วงอาลัย จิตถูกปรุงยุ่งยากทุกข์มากนัก คิดซังรักมักต้องนั่งร้องไห้ เที่ยวจัดแจงแต่งเติมเพิ่มเชื้อไฟ จิตร้อนรนทนไม่ได้ทั่วไปเอย ติดโกรร!หบอนติถตะราง ถึงรูปสวยรวยทรัพย์นับหมื่นแสน แต่ขาดแคลนประทีปธรรมนำดวงจิต โลภ โกรธ หลง บังใจให้มืดมิด เหมือนสถิตอยู่ในทุกข์คุกตะราง ความคิดติง เมื่ออยูใกล้กลัวพลั้งพลาดหวาดผวา ครั้นแรมราก็พรึงพรั่นยิ่งหวั่นไหว 1 ใกล้หรือไกลก็ร้อนหนาวไต้เท่ากัน ^ โอ้ความรักคงเป็นเหมือนเซ่นไฟ \"I v* ร^*' ^พ
IP® จิถที่อกถีปอมนำสุบบาไหั จิต!!กแล้วก็ต้องแคล้วจากความชั่ว กายเป็นรั้วจิตเป็นหลักเข้าปีกห้าม เลิกพยศคดโกงทุกโมงยาม เพราะจิตงามสุขจึงตามมาหาตน การอกจิถเรบความถี จิตเป็นนายกายเป็นบ่าวขอ.งเหล่าสัตว์ สารพัดการงานทุกฐานที่ ถ้าจิตชั่วย่อมทำลายกายวจึ ถ้าจิตดีกายวาจาก็มาตา^ม เวลาใดทำใจให้ผ่องแผ้ว เหมือนไต้แก้วมีค่าเป็นราคี เวลาทำใจให้ราคี เหมือนมณีแตกหมดลดราคา สมัยใดทำใจให้ผุดผ่อง ไม่หม่นหมองต้วยราคีนสิ้นทั้งหลาย จะพบสุขสดใสใจสบาย เพื่อนหญิงขายทำเถิดประเสริฐเอย
% Mli 2 MM
vt^c?๑ Cf)
การศึกษา
ปาก■รนเวทเลบเรนโท ปากเป็นเอก เลชเป็นโท โบราณว่า หนังสือตรี ไม่เสืยหลาย มีปัญญา ลำ บากกาย ถึงรู้มาก เห็นป่วยการ มีอุบาย ไม่มีปาก ปัญญามาก ถึงเป็นครู พูดไม่เป็น ไม่รู้จัก รู้วิชา ให้จัดจ้าน เหมีอนเต่าฝืง ใช้ปาก ฮื้อรำคาญ นั่งซื่อ วิชาชาญ มากเปล่า ไม่เช้าที ฯ ^\\QQ^ s .-'.Y '!■' เ^^'' .:-^^7 A ^ / , - , '' -4 I
เพึบรสกษา ดูท่องเขียน เพียรจำ ตำ ราตัด อย่าได้เผลอ เป็นสมบัติ ของมนุษย์ คิดเจอะเจอ มวลหนังสือ คือมิตร เชิดฃูตน อ่านเสมอ หาความรู้ รอบรู้ ผุดผ่องผล ยามว่างเพียร ค้นคว้า โชคอำพล ก้าวหน้าไกล เปีดประตู สมอง รู้รอบตัว ' รอบโลก ค่าของคน คืกษา ควานรัค่คนแสวงหา สุภาษิต ส่งผล แก่คนขอบ มีระบอบ บุ่งทำ ตามคำสอน เปรียบบาลี สืพร้อม หอมขจร ดูสลอน คนเล็ง เข้าเพ่งมอง <-รอ(3^
V ร^ - \"if/ ? yifพ '- 'พ'. 'พ . พ -. ■พ r , พ-, '- พ •-■ ■•: พ''.'- 'พ .^ s ^\" ' 'J^ s '.^ ' '^ ควาบร้เส่อมจากกนเบลา สุภาษิต เสื่อมผล แก่คนเขลา ให้เกิดผล ผู้ไม่เอา เหมือนมาลี หมดสุคนธั ไม่มืขน เหลียวแล เป็นแน่นอน มีหนังสิวช่วบปลอบไจ ผ้อื่นใด ใครเล่า สลัดรัก ใครเล่าหนัก ทรวงต้อง เศร้าหมองศรี หนังสือคง ทรงอยู คู่ฃีวี ไม่หน่ายหนี เติมซํ้า ไม่ซํ้าใจ if ^ . if. , if . :,if .. . ■^, if
D 'C- ■'> g;;.:- ,;G>- WX s ■• t:' . ''■^> -. <> -Xff V- c':'WX ■:, X <4-^..; ะ^ '• ๗>.^-:)3:> X ๗:. -;G> ^''\" ■'■ jk' ' '•' y'k •■' ji\\ ๗ \"■ .;•> ■ ' \" -๗'' นักเรียนดี อย่าริ ก่อหนี้สิน นักเรียนดี หมิ่นเพื่อนหนา นักเรียนดี อย่าดู นักเรียนดี อย่าลบหลู่ คุณครูบา อย่าบ่นด่า พาเกเร fNse^ เรียนอะไร DA D ^ เป็นครูเขา จึงจะเบา มีบริวาร เdรียนเ6>หรyูv้ เร่งขวนขวาย ตัวเป็นนาย ค่อยสบาย แรงตน บ่าวไม่เกรง ฯ ใช้สอย โง่เขลา ■-iXv ::if^:- ,;:• ik »;, .■. ๗ V •/kfy ir <■■ >: k—:)ร:' <•' '๗>-๗ร>> <> -๗/ •Gc> G ๗' ๗' ๗' ๗
วิชาเป็นอากรณิ อันอาภรถ! ผ่อนผ้า สารพัด หลอกให้หลง เป็นสมบัติ ภายนอก ไม่มั่นคง ถึงแต่งงาม ตามวิสัย เป็นอาภรณ์ ฯ ไม่ยืนยง เหมือนวิชา จงตุ่อเลมเสริมถี เมือพากเพียร เรืยนศึกษา มาเพียงนี้ ให้อาจเห็น เป็นเครื่องชี้ ความสามารถ อยู่เป็นเกณฑ์ ดีหรือร้าย เราย่อมรู้ เสริมให้พอ ถ้าดีเด่น จงต่อเติม เร่งมานะ ริบเถิดหนอ หากยังเขลา เบาปัญญา ไม่เบียดกรอ อย่าเลยละ การอาชีพ สิ้นนินทา ถนอมทรัพย์ รู้อดออม มิต้องขอ ใครเขากิน I
กรคษบถ่า\\JIกอกล อันครุดี ย่อมเป็นศรี แก่มวลศิษย์ จำ เรีณวิทย์ วาสนา ชูราศี แม้นศิษย์ดี มีนํ้าใจ ใฝ่ไมตรี ย่อมเป็นศรี แก่ครู ศรีของครู ผู้การุณย์ อันครุดี ชูศรีครู ชูศิษย์ด้วย ยิ่งศิษย์ฃ่วย เพราะทำกิจ ยิ่งชูศรี ครูฃ่วยศิษย์ ช่วยศิษย์ดี งามโสภี ศรีครุศิษย์ เป็นนิจเอย ฯ
♦ <1- ■»> ♦ ♦ <!■ ■►> ♦ ♦ <•-^ ♦ <K ^ >^ ^ ^' ■^ ^ ^ สิบปากว่า จงทาจรง ร« J ก็ไม่เท่า รู้ขัดเจน กว่าฟ้ง สับตาเห็น สัมผัส ถ้าใช้หัตถ์ ใช้ตา มากนักหนา จะดีกว่า ตามตำรา สิ่งใด ฉะนั้นเรียน เพียงแต่ดู ทำ จริง ต้องแกหัด คำ สอน ใหัแจ้งขัด เพียงแต่ฟิง ไม่เปรื่อง อย่านิ่งเฉย ยังเป็นผู้ ตามคุณครู เรื่องวิชา s if. if. .if. if if if f. -'it', ♦ <1- -^ ♦ <■!•■»> ♦ ■ .f. ' -^\" '■^' •^' ■ .$- ■• ■ .$. ■'
-if. .•ff . if -if. if f. -if -if - 4- > <^' <> <> 0> <> 'รชุ;--ท่ะ^ 4 <^-^ <> <]^ <> <^\" s 4■ • ■ #\" %' '4 ' ■ ■ 4' $'' ' $' 4' อันวิซา ใช้วิชาใหัถูกหลัก เรียนทุกอย่าง ตํ่าสูงกลาง ควรเพียร จะเถิดผล เรียนเถิด วิชามนต่ แต่จงรู้ คุณค่า หรีอโทษมี ว่าเล่ห์กล อวยประโยชน์ ไปทุกอย่าง วิชานั้น อย่าใช้ ให้ถ้วนถี่ ทุกที่ทาง ใคร่ครวญ ชื่นบานดี เพราะเรามุ่ง สุขศาสตร์ ให้ชอบธรรม ชุ ดีประกอบ ๒วธ -if . t . :4ร - , พ . % -• .tพA .. tพ . :■ t •■•- - A «> ปี^— 0 เ. - s I- s f s<> «^-=!^ <> 00 เ, 'เ. 'f
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320