รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๑๐๗ แม่ (พอ่ ) และลกู ทปี่ ระเสรฐิ (๑๒ สิงหาคม วนั แม,่ ๕ ธันวาคม วนั พ่อแห่งชาติ) มีสุภาษิตกล่าววา่ บคุ คลจำตอ้ งสละทรพั ยเ์ พือ่ รกั ษาอวัยวะ และสละอวยั วะเพอ่ื รกั ษาชีวติ อวัยวะหาทดแทนไม่ได้ หากจำเป็นต้องสละ ทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ แม้มากก็ต้องยอม แต่ชีวิต สำคัญกว่าอวัยวะ เพราะชีวิตคือทั้งหมดของอวัยวะ หากจำต้องสละอวัยวะ เพอ่ื รกั ษาชีวิตกต็ ้องยอม จะเห็นว่าอวัยวะและชีวิตมีค่าประมาณด้วย ทรพั ย์ไม่ได้ อวัยวะและชีวิตน้ัน ได้มาจากไหน ถ้าไม่ได้ แม่ (พ่อ) 249 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ปากของเราเอาไว้พูด เอาไว้กิน ได้มาจาก ไหนถ้าไมใ่ ช่แม่ (พ่อ) ตาของเรา หู จมูก ศีรษะ แขน ขา และชีวิต ได้มาจากไหนถา้ ไมใ่ ชแ่ ม่ (พ่อ) แม่ (พ่อ) จึงไดช้ อื่ วา่ เป็นผใู้ หท้ ุกอย่างแกบ่ ตุ ร แต่แม่ (พอ่ ) ทป่ี ระเสริฐกวา่ นี้ ทา่ นใหช้ วี ิตแล้ว ยังให้หนทางสวรรคแ์ ละพระนิพพานแกบ่ ตุ ร ด้วยการ ชักนำให้บุตร มาทำทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา ปลูกฝังสัมมาทิฏฐิ คือ ความเข้าใจถูกในเร่ืองโลกและ ชวี ิตแกบ่ ตุ รต้ังแตเ่ ยาวว์ ยั บุตรคนใดได้แม่ (พ่อ) เช่นนี้ จึงได้ช่ือว่า เป็น ผู้สั่งสมบุญไว้ดแี ลว้ ในกาลกอ่ น แมบ้ ุตรจะทำการตอบแทนพระคณุ ทา่ น ดว้ ย การสถาปนาท่านไว้ในตำแหน่งพระเจ้าจักรพรรดิ์ ก็ยัง 250 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) ไม่ชื่อว่าตอบแทนคุณท่าน เพราะแม่ (พ่อ) และลูก อยูร่ ว่ มกันกไ็ ม่เกนิ ๑๐๐ ปี กแ็ ยกย้ายกนั ไปตามกำลัง บุญบาปของตน บุตรคนใดชักชวนแม่ (พ่อ) ผู้ยังไม่มีศรัทธา ให้มีศรัทธา๑ ให้ทำทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิ ภาวนา จึงได้ช่ือว่า ตอบแทนคุณแล้วแก่ท่าน เหมือน พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อตรัสรู้แล้วเสด็จไปโปรด เทพบุตรพุทธมารดาบนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ จนท่านได้ บรรลุธรรมเป็นโสดาบันบุคคล ปิดประตูอบาย เป็น ตัวอยา่ งการตอบแทนคุณบิดามารดาอันสูงสดุ วันนี้วันแม่ (พ่อ) คุณแม่ (พ่อ) ได้พาลูกหรือ ลูกได้พาแม่ (พ่อ) มาบำเพ็ญทานกุศล หรืออุทิศส่วน กุศลให้ท่าน จึงได้ช่ือว่า ได้ทำกิจท่ีควรทำแล้ว เป็น มารดา (บิดา) และบุตรผปู้ ระเสริฐ เปน็ แบบอย่างอนั ดี งามแกอ่ นุชนทจี่ ะตามมาในภายหลัง. ๑ บคุ คล ๒ ท่านท่ีทำการตอบแทนคุณไม่ได้ง่าย มก. ๓๓/๓๕๗ , มจ. ๒๐/๗๗ 251 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๑๐๘ อานิสงส์ของกฐนิ ทาน กฐนิ ทาน คำนเ้ี กดิ ข้ึนได้ยากในโลก เพราะจะ ต้องมีการบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งต้อง ใช้เวลาในการบำเพ็ญบารมีอย่างน้อ ๒๐ อสงไขยเศษ แสนมหากัป จะต้องมีคณะสงฆ์บวชอุทิศชีวิตสืบอายุ พระพุทธศาสนา และต้องมีทายกผู้มีศรัทธาน้อมนำผ้า กฐินมาทอดถวาย กฐินทานมีข้อจำกัดมากมายหลายประการ เชน่ ๑. จำกดั ดว้ ยประเภทของทาน คือ ตอ้ งถวาย เปน็ สังฆทานเทา่ นั้น ๒. จำกัดด้วยระยะเวลา คือ ถวายได้ในช่วง ๑ เดือน หลังจากออกพรรษา 252 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) ๓. จำกัดด้วยพิธี คือ จะต้องประกอบพิธีให้ เสร็จภายในวนั กรานกฐนิ ๔. จำกดั ดว้ ยไทยธรรม คือ ผ้าไตรถกู ต้องตาม พระวินัย ๕. จำกัดด้วยผู้รับ คือ พระภิกษุจำพรรษา ครบถ้วนไตรมาส และมีคณะสงฆ์จำพรรษาต้ังแต่ ๕ รปู ขน้ึ ไป ๖. จำกัดจำนวน คอื วัดหนงึ่ รับกฐนิ ทานได้ ปี ละ ๑ ครง้ั เทา่ นั้น ๗. เป็นพุทธประสงค์ คือ พระสัมมาสัมพุทธ เจ้าทรงมีพระประสงค์จะให้ภิกษุมีโอกาสได้ผลัด เปลี่ยนผ้าจีวรที่เก่า ซ่ึงแตกต่างจากทานอื่นๆ ที่มี ทายก เปน็ ผู้ทลู ขอถวายกฐินทานน้นั มีอานิสงสท์ ั้งผูร้ บั ผอู้ นุโมทนา และผ้ถู วาย ผู้รับและผู้อนุโมทนาจะมีอานิสงส์ได้รับการ ผ่อนปรนทางพระวินัย ๕ ประการเพื่อสะดวกในการ บำเพ็ญสมณธรรม 253 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ส่วนผู้ถวายมีอานิสงส์ ทำให้ได้เกิดในร่มเงา ของพระพุทธศาสนา ได้บังเกิดในตระกูลสูง มีผิว พรรณวรรณะเปล่งปล่ัง มีผ้านุ่ง ผ้าห่มท่ีประณีต งดงาม รองรับการสรา้ งบารมี มีสขุ ภาพแข็งแรง สำหรบั ทา่ นชาย ยอ่ มไดบ้ วชแบบเอหภิ กิ ขอุ ปุ - สัมปทา คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทานการ บวชให ้ สำหรับท่านหญิง ย่อมได้เครื่องประดับมหา ลดาปสาธน์ เฉพาะผู้มีบุญเท่านั้น จึงจะสวมใส่ได้ เพราะมนี ้ำหนกั มากเกนิ กว่าสตรที ่ัวไปจะรองรับได ้ ผา้ ไตรจีวร เป็นบริขารท่ไี ช้ในวนั บวช ทำให้ สำเร็จความเป็นพระภิกษุใช้ปกป้องความหนาว ความ รอ้ น ลม แดด แมลงมพี ษิ และปกปิดความนา่ ละอาย เปน็ เคร่ืองเตือนสตใิ ห้เกดิ สมณสญั ญา เปน็ สญั ลกั ษณ์ ของอายพุ ระพุทธศาสนา เปน็ ทบี่ ำเพ็ญบญุ ของสาธุชน 254 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) และรองรับการบำเพ็ญศาสนกิจเพื่อความสุขของ มหาชนทงั้ หลาย กฐินทาน จึงเป็นมหากุศลอันย่ิงใหญ่ ย่อม อำนวยผลให้ผู้ถวายประสบสุขท้ังในโลกน้ี โลกหน้า และสขุ อยา่ งย่งิ คอื พระนิพพาน. 255 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ทม่ี าของ การกลา่ วสัมโมทนียกถา การกล่าวอนโุ มทนาสำหรับพระภกิ ษนุ น้ั เป็น พระบรมพุทธานุญาตที่พระพุทธเจ้าตรัสให้ภิกษุสงฆ์ ถอื เป็นหลักปฏบิ ตั ิ และเปน็ ขนบธรรมเนียมประเพณที ี่ ต้องทำเป็นกิจวัตรประจำ ซ่ึงมีปรากฏหลักฐานในพระ วินยั ปฎิ ก จุลวรรค วตั ตขนั ธกะ๑ “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้อนุโมทนา ในโรงฉนั ” “ดูกรภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้เถระ อนโุ มทนาในโรงฉัน” “ดูกรภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุ เถรานุเถระ ๔ – ๕ รูป รออยู่ในโรงฉัน” 256 ๑ วัตตขันธกะ มก. ๙/๓๔๓ , มจ. ๗/๒๒๘ www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ในงานประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา น้ัน มคี าถา หรือถ้อยคำท่พี ระภกิ ษตุ ้องสวด ขาดมไิ ด้ คือ อนุโมทนากถา ซ่ึงท่านจะสวดตอนสุดท้ายก่อน เสรจ็ พิธสี งฆ์ทุกคร้งั ชาวบ้านเรียกวา่ พระใหพ้ ร และ ชาวบ้านก็จะต้ังใจ รับพรพระ คือบทข้ึนต้นที่คนส่วน มากพดู ติดปากวา่ ยถา – สัพพี เมื่อครั้งสมัยพุทธกาล พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสอนุโมทนากถา ซึ่งมีปรากฏหลักฐานในพระวินัย ปิฎก มหาวรรค เภสชั ชขนั ธกะ๒ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ใน พระนครพาราณสี ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จ พระพุทธดำเนินมุ่งไปทางอันธกวินทชนบท พร้อม ด้วยพระภิกษุสงฆ์หมใู่ หญ่ประมาณ ๑,๒๕๐ รปู ครงั้ นั้น พราหมณผ์ ูห้ นง่ึ ไดถ้ วายยาคแู ละขนม ปรุงด้วยน้ำหวานมากมายด้วยมือของตน โดยมี พระ สมั มาสัมพทุ ธเจา้ เปน็ ประมขุ ๒ เภสชั ชขนั ธกะ มก. ๗/๑๐๑ , มจ. ๕/๘๗ 257 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) เม่ือพระผู้มีพระภาคเจ้าเสวยเสร็จ ล้าง พระหัตถ์แล้ว ทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตร ห้ามภัต แล้วจึงน่งั อยู่ ณ ทคี่ วรสว่ นข้างหนง่ึ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระพุทธพจน์นี้กับ พราหมณ์ผู้นัง่ อยู่ ณ ท่ีควรสว่ นขา้ งหน่งึ วา่ “ดกู อ่ นพราหมณ์ ขา้ วยาคมู คี ณุ ๑๐ อยา่ ง ๑๐ อย่างเป็นไฉน คือ ผู้ให้ข้าวยาคู ช่ือว่าให้อายุ ๑ ให้ วรรณะ ๑ ใหส้ ขุ ๑ ใหก้ ำลงั ๑ ใหป้ ฏภิ าณ ๑ ขา้ วยาคทู ่ี ดมื่ แลว้ กำจดั ความหวิ ๑ บรรเทาความกระหาย ๑ ทำ ลมใหเ้ ดนิ คลอ่ ง ๑ ลา้ งลำไส้ ๑ ยอ่ ยอาหารใหมท่ เ่ี หลอื อยู่ ๑ ดกู อ่ นพราหมณ์ ขา้ วยาคมู คี ณุ ๑๐ อยา่ งนแี้ ล” พระผู้มีพระภาคเจ้า คร้ันตรัสไวยากรณภาษิต นแี้ ลว้ จึงตรสั อนุโมทนากถาต่อไปน ี้ 258 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) คาถา อนุโมทนา ทายกใดถวายข้าวยาคูโดยเคารพตามกาล แก่ ปฏิคาหก ผู้สำรวม แล้วบริโภคโภชนะอันผู้อื่นถวาย ทายกนั้นช่ือว่า ให้ซ่ึงสถานะ ๑๐ อย่างแก่ปฏิคาหก นัน้ อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏภิ าณ ยอ่ มเกดิ แก่ ปฏิคาหกนั้น แต่นั้นยาคูย่อมกำจัดความหิว ความ กระหาย ทำลมให้เดินคล่อง ลา้ งลำไส้ และย่อยอาหาร ยาคนู นั้ พระสุคตตรัสสรรเสรญิ ว่าเปน็ เภสัช เพราะเหตุ นั้นแล มนุษยชนที่ต้องการสุขยั่งยืน ปรารถนาสุขที่ เลิศ หรืออยากไดค้ วามงามอนั เพริศพริ้งในมนุษย์ จึง ควรแท้เพ่อื ถวายขา้ วยาค ู 259 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) ความหมาย อนุโมทนาวิธี คอื วธิ แี สดงความยินดีในเม่อื มีผู้ ทำบญุ ประกอบการกุศลทำความดโี ดยอนโุ มทนากถา สัมโมทนียกถา เป็นคำศัพท์ของพระ มาจาก คำวา่ สํ = พรอ้ ม, กับ, ดี โมทนยี = ความบันเทงิ , ยินดี, พลอยยนิ ดี กถา = ถ้อยคำ, คำพูด สมั โมทนียกถา = การกล่าวถ้อยคำที่ทำใหเ้ กดิ ความยินดี หรอื บันเทิงใจโดยพรอ้ มกนั สัมโมทนียกถา กับ อนุโมทนากถา มีความ หมายเดียวกัน คือ ถ้อยคำสำหรับกล่าวแสดงความ ยินดี ความพอใจ เป็นคำกลา่ วตอบทำนองเดียวกับคำ 260 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) วา่ ขอบใจ จะตา่ งกนั กแ็ ตว่ ่า คำวา่ ขอบใจ ผกู้ ล่าวใช้ เม่ือมีผ้ปู ฏบิ ัตสิ ิง่ ชอบใจแต่ตนโดยเฉพาะ ส่วนสัมโมทนียกถา ใช้กล่าวเม่ือเห็นชัดว่ามี บุคคลประกอบกรรมดี เป็นกุศลต่อตัวเองหรือต่อ สังคม เป็นคำกล่าวสนับสนุนส่งเสริมให้ภูมิใจในการ กระทำนั้น พร้อมกับขออานุภาพคุณของพระรัตนตรัย คุณธรรมความดีน้ันให้คุ้มครองป้องกันภัยพิบัติอย่างท่ี ชาวบา้ นเรียกว่า ให้พร 261 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ประเภท ของการอนุโมทนา ถ้อยคำที่พระสงฆ์สวดอนุโมทนากถาน้ัน แยก เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๒ ประเภท คอื ๑. บทอนโุ มทนาทวั่ ไป หรือ สามญั อนโุ มทนา ๒. บทอนโุ มทนาเฉพาะพธิ ี หรอื วเิ ศษอนโุ มทนา ๑. บทอนโุ มทนาทวั่ ไป บทอนุโมทนาทั่วไป หรือสามัญอนุโมทนา ได้แก่บทที่พระสงฆ์สวดตอนจบพิธีเม่ือมีการสวดหรือ การเจริญพระพุทธมนต์ หรือพิธีที่ทายกถวายสิ่งของ ตามพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น การถวายภัต- ตาหาร ถวายเคร่อื งไทยธรรม เป็นตน้ คาถาท่ีพระภิกษุใช้สวดในการอนุโมทนาท่ัวไป 262 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ตามที่ได้ยินได้ฟังกันอยู่เป็นประจำนั้น ได้แก่ บท “ยถา วารวิ หา ฯลฯ” และ “สพพฺ ตี ิโย ฯลฯ” ตลอด จนถึง “ภวตุ สพฺ ฯลฯ” ไปจนจบ มหี ลกั ฐานอา้ งองิ อนั เปน็ ทมี่ าของบทอนโุ มทนา สามัญนี้ เท่าท่ีปรากฏอยู่ในอรรถกถาธรรมบทคือ ตำราท่ีอธิบายเร่ืองราวหัวข้อธรรมต่างๆ ในประวัติ- ศาสตร์ทางพระพุทธศาสนาบอกไว้ว่า เป็นคำที่พระ ปัจเจกพุทธเจ้าใช้อนโุ มทนามากอ่ น พระปัจเจกพุทธเจา้ ทา่ นตรสั รู้เฉพาะตวั ทา่ น แสดงธรรมสอนคนอื่นอย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ไม่ มาก เมื่อมีคนมาทำบุญกับท่าน เช่น ตักบาตรถวาย ทานเปน็ ต้น ท่านก็ใช้อนโุ มทนาแบบเบด็ เสร็จ คือ เป็น แบบของพระปัจเจกพทุ ธเจ้าทกุ ๆ องค์ เป็นถอ้ ยคำท่ีมี ข้อความอย่างเดยี วกันท่ีใชแ้ กท่ กุ คน ทุกๆ งาน ซึ่งพระ สงฆใ์ ช้เปน็ แม่บทในการสวดมนตใ์ ห้พร ดงั ตอ่ ไปน้ี 263 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) พระภิกษุประธานสงฆ์สวดนำ ยถา วาริวหา ปรู า๑ ห้วงน้ำใหญเ่ ตม็ แล้ว ปริปเู รนตฺ ิ สาครํ ย่อมไหลไปยังสาคร (มหาสมุทร) ให้เต็ม ฉนั ใด เอวเมว อโิ ต ทนิ ฺน ํ ทานทที่ า่ นให้แลว้ แตโ่ ลกนี ้ เปตานํ อปุ กปฺปต ิ ย่อมสำเรจ็ แกญ่ าตผิ ูล้ ะโลกไปแล้ว ฉนั นน้ั อิจฺฉิตํ ปตฺถติ ํ ตุมฺห ํ ผลทท่ี ่านตอ้ งการ ที่ท่านปรารถนา ขปิ ฺปเมว สมชิ ฺฌต ุ จงสำเร็จแก่ทา่ นฉับพลนั ทนั ที ๑ เจา้ ภาพเรมิ่ เทนำ้ กรวด ลงในภาชนะทีร่ องรบั - เริม่ กรวดนำ้ 264 (อธิษฐาน) www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) สพฺเพ ปเู รนฺตุ สงกฺ ปฺปา เหมือนความดำรทิ ุกอยา่ งจงบรบิ รู ณ์ จนโฺ ท ปณฺณรโส ยถา เหมือนดวงจนั ทร์วันเพ็ญ มณีโชติ รโส ยถา๒ เหมือนแก้วมณีโชติรส (แก้วสารพัดนึก) อัน โชตชิ ่วง ฉะนน้ั พระภกิ ษรุ ปู อน่ื ในพธิ นี น้ั สวดตอ่ พรอ้ มกนั วา่ สพฺพตี โิ ย ววิ ชชฺ นตฺ ุ ขอเสนียดจัญไรทง้ั หลายจงสญู สนิ้ ไป สพพฺ โรโค วนิ สฺสนฺตุ ขอสรรพโรคทง้ั หลายจงเหอื ดหายหมดไป มา เต ภวตวฺ นฺตราโย ขออนั ตรายจงอยา่ ได้มีแกท่ ่าน ๒ เทนำ้ ทเี่ หลอื ให้หมดลงภาชนะนนั้ แลว้ วางที่กรวดน้ำ 265 นั่งประนมมือรับพรพระต่อไป www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) สุข ี ขอจงมคี วามสุข ทฆี ายโุ ก ภว ขอใหม้ ีอายยุ นื อภวิ าทนสีลสฺส นจิ ฺจ ํ ผู้มีปกติอภิวาทอย่เู ปน็ เนอื งนจิ วฑุ ฒฺ าจาปจายโิ น ผปู้ ระพฤติอ่อนน้อมถอ่ มตนต่อผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จตตฺ าโร ธมฺมา คณุ ธรรม ๔ ประการ วฑฒฺ นตฺ ิ ย่อมเจริญ (แกเ่ ขา) อายุ วณโฺ ณ สขุ ํ พล ํ คอื อายุ วรรณะ สขุ ะ และ พละ 266 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) ๒. บทอนุโมทนาเฉพาะพิธ ี บทอนุโมทนาเฉพาะพธิ ีไดแ้ ก่ บทอนุโมทนาที่ พระสงฆใ์ ช้สวดแทรก เมือ่ จบคำว่า อายุ วณโฺ ณ สุขํ พลํ กอ่ นจะข้ึนบทว่า ภวตุ สพ.ฺ .. เนอื่ งจากพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ มไิ ดว้ างระเบยี บ เกี่ยวกับเรื่องบทอนุโมทนาไว้ จึงเป็นหน้าท่ีของพระ ภิกษุสงฆ์ผู้จะทำอนุโมทนา ต้องเลือกบทพุทธธรรม ท่ี มเี นอ้ื ความตรงหรอื เกี่ยวเนือ่ งกับงานพธิ ีนัน้ ๆ เชน่ ยสมฺ งิ ปเทเส….ฯลฯ ทำบญุ ขึ้นบ้านใหม่ เปดิ ทท่ี ำงานใหม ่ โส อตถฺ ลทโฺ ธ….สา อตถฺ ลทฺธา….เต อตถฺ ล ทธฺ า…ฯลฯ ทำบญุ วนั คล้ายวันเกิด อทาสเิ ม….ฯลฯ ทำบุญอุทิศให้ผตู้ าย 267 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) หลักการ กล่าวสัมโมทนยี กถา การกล่าวสัมโมทนียกถา มีหลักต้องกล่าว ๓ ขัน้ ตอน ดงั นี้ ๑. ปรารภเหตุ ได้แก่ เริ่มต้นบอกถึงความ รสู้ ึกของตน เนื่องในเหตุใด เช่น ยินดีในการต้อนรับ, การ ได้รับหรือเล่ือนยศตำแหน่ง, การมอบหรือรับสิ่งของ ฯลฯ กล่าวเท้าความถึงความเป็นมาเล็กน้อย เช่น ถ้า กล่าวต้อนรับผู้เยือนวัด ก็อาจกล่าวถึงประวัติวัด, ถ้า กล่าวแสดงความยินดีต่อผู้ฟังท่ีได้รับหรือเล่ือน ตำแหน่ง ก็เท้าความถึงความสำคัญของยศ ตำแหน่ง นัน้ 268 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) ถ้ากล่าวคำไว้อาลัยผู้จากไป ก็เท้าความถึง ความดขี องผ้ทู ่ีจากไป ฯลฯ ๒. กลา่ วยกย่อง หมายถงึ แสดงการยกยอ่ งผู้ นั้น โดยกลา่ วถึงความดขี องผู้นน้ั ตามความเปน็ จริง ๓. คล้องนำ้ ใจ เนอื่ งจากผ้พู ดู เป็นพระ ดงั นัน้ ก็ต้องใช้คำของพระเป็นเครื่องคล้องใจผู้นั้นไว้ คำของ พระก็คือ ข้อคิด คติธรรมส้ันๆ ท่ีเหมาะสมกับ เหตุการณ์นั้น และลงท้ายด้วยการให้พร คติธรรมกับ คำอวยพรถือว่าเป็นมาลัยอันประเสริฐที่มอบให้ เป็นการคลอ้ งใจของผฟู้ งั 269 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) การใหพ้ ร คนไทยโบราณน้ันเม่ือพบกัน ก่อนจะจากกัน ผู้อาวุโสกว่าจะกล่าวคำอวยพรแก่ผู้ที่จะจากไป แต่ ปัจจุบันนิยมให้พรแก่ผู้ที่มอบ (หรือถวาย) ของให้ เท่านั้น ที่จริงการให้พรแก่กัน สามารถให้กันได้ทุก โอกาส ไมจ่ ำเป็นตอ้ งใหพ้ รเฉพาะเมือ่ มผี ใู้ หข้ องเทา่ นัน้ น่คี อื วฒั นธรรมไทย พร แปลว่า “ประเสริฐ” การใหพ้ รก็คอื การ กลา่ ววาจาทีม่ ่งุ ให้เกดิ ความประเสรฐิ แกก่ นั พรน้ีจะสำเร็จด้วยอานุภาพของบุญ คือผล ของความดี และอำนาจสัจวาจา เช่น พระสัมมาสัม- พุทธเจา้ ตรสั ให้พรพระอานนท์ ก่อนท่ีพระองค์จะเสด็จ ดบั ขันธปรนิ พิ พานว่า “พระอานนทต์ ง้ั เมตตา ทางกาย 270 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) วาจา ใจ ในพระองคม์ าตลอดกาลนาน ไดช้ ื่อวา่ ทำบุญ ไวแ้ ล้ว จงเรมิ่ ตั้งความเพียรเถดิ จะเปน็ ผสู้ ิน้ อาสวะโดย พลนั ” หลงั จากพทุ ธปรนิ พิ พานแลว้ พระอานนท์ก็ตัง้ ความเพียรจนได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ตามพรที่ พระพทุ ธองค์ตรสั ใหไ้ ว ้ อีกตัวอย่างหน่ึง คือ พระองคุลีมาลเห็นหญิง ครรภ์แก่ แต่คลอดบุตรไม่ได้ ปรารถนาอนุเคราะห์ หญิงน้ัน หลังกลับจากบิณฑบาตฉันภัตตาหารเสร็จ แลว้ เขา้ ไปเฝา้ กราบทลู ถามพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า พระองค์ตรัสให้พระองคุลีมาลกลับไปหาหญิง น้ันแล้วตั้งสัจวาจาว่า “ต้ังแต่เราเกิดแล้วในอริยชาติ จะไดแ้ กลง้ ปลงสัตว์จากชวี ติ หามไิ ด้ ด้วยสัจวาจาน้ขี อ ความสวัสดี จงมแี ก่ครรภ์ของน้องหญงิ เถิด” 271 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) พระองคุลีมาลทำตามท่ีพระบรมศาสดาตรัส สอน หญงิ มีครรภ์แก่ก็คลอดบุตรโดยงา่ ย ดังนัน้ การให้พร หากกระทำถกู ต้องตามหลกั ธรรม ก็จะเป็นพิธกี รรมทมี่ ีความศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ข้อควรระวงั ในการให้พร คือ ไมค่ วรกลา่ วคำ ให้พรโดยเจตนาล้อเล่น เช่น “ขอให้ท่านมีอายุยืน หลายหมื่นปี” เพราะจะทำให้การให้พรกลายเป็นของ เล่น สนกุ สนานไป. 272 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) สกมั าโรมกทลนา่ ยีวกบถทา ของคณะสงฆว์ ดั พระธรรมกาย การกล่าวสัมโมทนียกถาของคณะสงฆ์วัดพระ ธรรมกาย ได้นำธรรมะจากพระไตรปิฎกและคำสอน ของครูอาจารย์มาเรียบเรียงเป็นแบบอย่างให้กับพระ ภิกษุ สามเณรใช้เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติ และได้จัดขั้นตอนรวมทั้งข้อปฏิบัติในการกล่าว สมั โมทนียกถาไว้ ดังนี ้ ๑. ขน้ั ตอนการกล่าวสัมโมทนยี กถา การกล่าวสัมโมทนียกถาก็เพ่ือยังความปีติ เบิกบานใจ ประทับใจ เพ่ิมความเล่ือมใสศรัทธาแก่ 273 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) เจ้าภาพผู้เป็นทานบดี เป็นการรักษาบุญหลังจากได้ ถวายทานไปแล้ว ให้เกิดความชุ่มชื่นใจ และทำให้ ทานบดีเกิดแรงบันดาจใจท่ีจะส่ังสมบุญบารมีอย่างต่อ เนื่องให้ยิ่ง ๆ ขน้ึ ไป ดังน้ัน ก่อนท่ีจะเชิญชวนให้เจ้าภาพกรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศล และรับพรพระ มีขั้นตอนการกล่าว สัมโมทนยี กถาอยู่ ๔ ขนั้ ตอน คอื ๑.๑ ทกั ทาย ๑.๒ กลา่ วสัมโมทนียกถา ๑.๓ อำนวยพร ๑.๔ สวดมนตใ์ ห้พร โดยมีรายละเอยี ดดังน ้ี ๑.๑ ตัวอยา่ งบททักทาย เจริญพรท่านทานบดีทุกท่าน ก่อนที่จะได้รับ พรพระตามอริยประเพณีสืบต่อไปนั้น ขอเรียนเชิญ 274 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ทุกทา่ น หลับตารวมใจ ตามระลกึ นึกถงึ บญุ กศุ ลทีเ่ รา ต้ังใจ จัดเตรียมปัจจัยไทยธรรม มารักษาศีล และ ถวายภตั ตาหารเปน็ สังฆทานในวนั นส้ี กั ครู่หนึง่ นะ ๑.๒ ตัวอย่างบทสัมโมทนียกถา หน้า ๑๗- ๒๕๕ ๑.๓ ตวั อยา่ งบทอำนวยพร คณะสงฆ์ จงึ ขออนโุ มทนาสาธุการ ในจติ อนั เปน็ กศุ ล ทท่ี ่านทานบดีท้ังหลาย ได้ต้ังใจมาถวายภัต ตาหารในวนั นี้ พร้อมกันนี้ คณะสงฆ์จะได้พร้อมใจกัน ต้ังจิต อธิษฐาน อาราธนาบารมีธรรมแห่งองค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย พระ อรหันตเจ้าท้ังปวง ตลอดจนบารมีธรรมของพระเดช พระคุณพระมงคลเทพมุนี หลวงปวู่ ดั ปากน้ำภาษีเจรญิ ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย บารมีธรรมของพระเดช พระคุณพระราชภาวนาวิสุทธ์ิ ผู้เป็นอธิบดีสงฆ์ ณ อาวาสแห่งนี้ บารมีธรรมของพระเดชพระคุณพระ 275 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทิงใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) ภาวนาวิริยคุณ ผู้เป็นครูบาอาจารย์ของพวกเรา ท้ังหลาย บารมีธรรมของคุณยายอาจารย์มหารัตน อบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู ผู้ให้กำเนดิ วดั พระธรรมกาย รวมท้ังอำนาจทานกุศล ท่ีท่านทานบดีท้ังหลาย ได้ ต้งั ใจกระทำไว้ดีแล้วในอดีต และได้กระทำในวันนี้ ขออำนาจบารมีธรรมทั้งหลายเหล่าน้ี จง ประมวลรวมกันเขา้ ใหเ้ ปน็ ตบะ เดชะ พลวะปัจจยั สง่ ผลดลบนั ดาลอภบิ าล ค้มุ ครอง ปกปอ้ ง รักษา ใหท้ ่าน ทานบดที ัง้ หลาย จงเป็นผู้ปราศจากเสยี ซึง่ สรรพทกุ ข์ สรรพโศก สรรพโรค สรรพภยั อุปทั วนั ตรายใดๆ อย่า ได้มาพ้องพาล ให้มีความสุขความเจริญยิ่งยืนนาน ในร่มเงาบวรของพระพุทธศาสนา ให้เจริญยิ่งด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารบริวารสมบัติ ปรารถนาสิ่งใดอันเป็นไปในทางที่ชอบ ประกอบด้วย กุศล ขอให้สัมฤทธิผลดังกมล ที่มุ่งมาดปรารถนาไว้ ดแี ลว้ ต้ังใจไว้ดแี ล้วจงทุกประการ 276 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) อน่ึง เมื่อถงึ คราวเจรญิ สมาธิภาวนา ใหม้ ดี วง ตาเห็นธรรม เข้าถึงพระธรรมกายได้โดยง่าย บรรลุ มรรคผลนพิ พานได้โดยงา่ ย โดยเรว็ พลัน จงทกุ ท่าน ทุกประการเทอญ. ๑.๔ สวดมนตใ์ หพ้ ร บทสวดมนต์ให้พรประจำ กรณีให้พรท่ีหอฉัน คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง โดยมีเจ้าภาพหลาย ๆ คณะ ควรใช้บทกลาง ๆ ไม่ เจาะจงเจา้ ภาพคณะใดคณะหนง่ึ หลงั ฉันเชา้ สัพพโร... ฯลฯ บทนำ บทตอ่ ๑ บทต่อ ๒ ยถา วาริวหา... อายโุ ท... ฯลฯ หรอื รตนตตฺ ยา... ฯลฯ ฯลฯ อคคฺ โตเว... ฯลฯ ภวตุ... ฯลฯ สพพฺ ตี ิโย... ฯลฯ สพพฺ พทุ ฺธานภุ าเวน... ภวตุ... ฯลฯ ฯลฯ 277 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) หลงั ฉันเพล ประกอบด้วย บทให้พรในวาระโอกาสพิเศษไปฉันนอกวัด เช่น กรณีเจ้าภาพเจาะจงนิมนต์เป็นคณะใดคณะหนึ่ง ควรให้พรตามลกั ษณะของงานทีเ่ จ้าภาพนิมนต ์ บท ยสมฺ งิ ปเทเส... ฯลฯ นิยมใช้ในโอกาสทำบุญขึ้นบ้านใหม่ เปิดท่ี ทำงานใหม่ บท โส อตถฺ ลทโฺ ธ... สา อตฺถลทฺธา... เต อตฺ ถลทธฺ า...ฯลฯ นยิ มใช้ในโอกาสทำบญุ วนั คล้ายวันเกดิ บท อทาสเิ ม... ฯลฯ นิยมใช้ในโอกาสทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย (กรณีท่ี ยังไมเ่ ผา) บท อยญจฺ โข... ฯลฯ นยิ มใชใ้ นโอกาสทำบญุ อุทิศใหผ้ ตู้ าย (กรณที ่ีเผาหรือฝงั แล้ว ) 278 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) ๒. ข้อปฏิบัติในการกลา่ วสมั โมทนยี กถา ๒.๑ นัง่ พับเพียบ มอื ทัง้ สองวางทหี่ น้าตัก ๒.๒ จัดไมค์ให้อยู่ในตำแหน่งระดับคาง ห่าง จากปากประมาณ ๑ ฝ่ามือ ไม่เกิน ๑ คืบ (สังเกต ความดงั ของเสยี ง) ๒.๓ เชิญชวนเจ้าภาพให้หลับตา จรดใจไว้ที่ ศนู ย์กลางกายฐานที่ ๗ ตามนกึ ถึงบุญ ๒.๔ กลา่ วสมั โมทนียกถาด้วยนำ้ เสียงทสี่ ุภาพ ถอ้ ยคำชัดเจน อักขระถูกต้อง เวน้ จังหวะใหเ้ หมาะสม ๒.๕ กล่าวสัมโมทนียกถาเสร็จแล้ว เชิญชวน ให้เจ้าภาพกรวดน้ำอทุ ศิ สว่ นกศุ ล และรับพรพระ (ไม่ ใชค้ ำวา่ เปน็ ภาษาบาล)ี ๒.๖ ผรู้ บั สพั พี ฯ ใหซ้ ้อมใช้ระดบั เสยี งทพี่ อดี อย่าให้เสียงสูงหรอื ตำ่ เกนิ ไป ๒.๗ สวดมนตใ์ หพ้ รเสร็จ พิธกี รนำเจ้าภาพ กราบคณะสงฆ์แลว้ กล่าว… 279 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ๒.๗.๑ อนุโมทนาบญุ กบั เจา้ ภาพ ๒.๗.๒ เชิญชวนเจ้าภาพรับประทาน อาหาร ๒.๗.๓ ลาเจ้าภาพไปปฏบิ ตั ิศาสนกจิ ๓. ขอ้ ควรระวงั ในการกลา่ วสัมโมทนยี กถา ๓.๑ หากเสียงเบาเกนิ ไป ตอ้ งขยบั ไมค์ใหใ้ กล้ ปากมากขึ้นทันที ต้องระลึกเสมอว่า แม้บทกล่าวจะดี เพยี งใด แตผ่ ้ฟู งั ได้ยนิ ไมช่ ัดเจน พูดก็เหมือนไม่ได้พดู ๓.๒ การออกเสียงอักขระ “ร, ล” มักผิด พลาดบอ่ ยๆ ควรฝึกออกเสียงมากอ่ น ๓.๓ พระภิกษุต้นเสียงรับ “สพฺพี” ต้องคัด เลือกผู้มีระดับเสียงไม่สูงหรือต่ำจนเกินไป เพราะจะ ทำให้คณะสงฆ์ได้รับความลำบากในการสวดมนต์ ทั้ง 280 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ไม่เป็นทตี่ งั้ แหง่ ศรทั ธาเล่ือมในของผูฟ้ ัง ๓.๔ เมอ่ี จะลาเจ้าภาพไปปฏิบตั ศิ าสนกิจ ให้ ใช้คำว่า “ลา” ไม่นยิ มใช้คำวา่ “ขอโอกาส” 281 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) บรรณานุกรม มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฏกภาษาไทย พระวินัยปิฏก. พิมพ์คร้ังที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฏกภาษา ไทย พระสุตตันตปิฏก. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระวินัยและอรรถกถาแปล. พิมพ์เน่ืองในวโรกาสครบ ๒๐๐ ปี แห่งราชวงศ์จักรีฯ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม์ หามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๒๕. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระสูตรและอรรถกถาแปล. พิมพ์เน่ืองในวโรกาสครบ ๒๐๐ ปี แห่งราชวงศ์จักรีฯ กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๒๕. ปุ้ย แสงฉาย. พระไตรปิฏก พระวินัยปิฏกมหาวิตถาร นยั ๕๐๐๐ กัณฑ.์ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ลูก ส. ธรรม ภุกดี, ๒๕๒๐. 282 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) ปุ้ย แสงฉาย. พระไตรปิฏก พระสุตตันตปิฏกมหา วิตถารนยั ๕๐๐๐ กณั ฑ.์ กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พล์ กู ส. ธรรมภกุ ด,ี ๒๕๒๐. สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปิฏกสำหรับประชาชน. พิมพ์คร้ังท่ี ๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราช วิทยาลยั , ๒๕๒๕. พระไตรปฏิ กสำหรับเยาวชน เลม่ ๑-๘. พมิ พ์คร้ังที่ ๕. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สำนักพิมพ์ ไทยวฒั นาพานชิ จำกดั , ๒๕๔๒. พระสมชาย ฐานะวุฑโฒ. มงคลชีวิต ฉบับธรรม ทายาท (ปรับปรุงใหม่ ๒๕๔๒). กรุงเทพฯ : บริษัท ฐานการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๒. 283 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) พระไพบลู ย์ ธัมมวปิ โุ ล. ดรรชนีธรรม ฉบับมงคลสตู ร. พิมพ์คร้ังท่ี ๑. กรุงเทพฯ : บริษัท ฐานการพิมพ์ จำกดั , ๒๕๔๓. พระไพบลู ย์ ธัมมวิปโุ ล. ดรรชนีธรรม ฉบับมงคลสูตร. พิมพ์คร้ังท่ี ๒. กรุงเทพฯ : หจก.เอส.พี.เค.เปเปอร์ แอนด์ฟอร์ม, ๒๕๔๕. พระไพบูลย์ ธัมมวิปุโล. ดรรชนีธรรม ฉบับธรรมะใน วันสำคัญประจำปี. พิมพ์คร้ังท่ี ๑ กรุงเทพฯ : หจก. เอส. พี. เค. เปเปอร์ แอนด์ ฟอรม์ ,๒๕๔๕. พระไพบูลย์ ธัมมวิปุโล. ตัวอย่างบทสัมโมทนียกถา. วัดพระธรรมกาย ปทมุ ธานี, ๒๕๔๖. พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตโต). พจนานกุ รมพทุ ธ- ศาสตร์ ฉบบั ประมวลศพั ท.์ พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพ : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๓. 284 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต). พจนานุกรมพุทธ- ศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๗. กรงุ เทพ : โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๓. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตย สถาน พ.ศ.๒๕๒๕. พมิ พ์คร้งั ที่ ๖. กรุงเทพฯ : บริษทั อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกดั , ๒๕๓๙. บณุ เรอื ง อนิ ทวรนั ต.์ พทุ ธมนตแ์ ละคณุ คา่ ทางจรยิ ธรรม. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๗. พิเนตร น้อยพุทธษ. นักพูด นกั เทศน.์ กรงุ เทพฯ : วัด พระพุทธบาท สระบุรี. ๒๕๓๘. 285 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) อักษรยอ่ มก. ๒๖/๒๖๕ หมายถงึ พระไตรปิฎกและ อรรถกถาแปล ฉนับมหามกุฏราชวิทยาลัย ใน พระบรมราชูปถมั ภ์ พทุ ธศักราช ๒๕๒๕ เลม่ ท่ี ๒๖ หน้า ๒๖๕ มจ. ๑๕/๒๘๕ หมายถงึ พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ พุทธ ศกั ราช ๒๕๓๘ เล่มที่ ๑๕ หนา้ ๒๘๕ 286 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) วธิ ฝี กึ สมาธเิ บ้ืองต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึก เป็นสุขอย่างย่ิงท่ีมนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นส่ิงที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้ เป็นข้อควร ปฏิบัติเพื่อการดำรงชีวิตอย่างเป็นสุขไม่ประมาท เต็ม ไปด้วยสติสัมปชัญญะ และปัญญา อันเป็นเร่ืองไม่ เหลอื วสิ ยั ทกุ คนสามารถปฏิบตั ไิ ด้งา่ ยๆ ดังวธิ ปี ฏบิ ตั ิ ที่ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) หลวงพ่อวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ได้เมตตาส่ังสอนไว้ ดังน ้ี ๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัว เตรยี มใจให้นมุ่ นวลไวเ้ ปน็ เบ้ืองต้น แลว้ สมาทานศลี ๕ หรือศีล ๘ เพ่อื ย้ำความมัน่ คงในคุณธรรมของตนเอง ๒. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบายๆ ระลึกถึง 287 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ความดี ทไ่ี ด้กระทำแลว้ ในวนั น้ี ในอดตี และที่ตั้งใจจะ ทำต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายท้ังหมด ประกอบขึ้นดว้ ยธาตุแหง่ คณุ งามความดีลว้ นๆ ๓. น่งั ขดั สมาธิ ขาขวาทับขาซา้ ย มอื ขวาทับ มือซา้ ย น้ิวชข้ี วาจรดนว้ิ หัวแมม่ อื ซา้ ย น่งั ใหอ้ ยู่ในท่าท่ี สบายๆ ไม่ฝืนรา่ งกายมากจนเกนิ ไป ไมถ่ งึ กับเกร็ง แต่ อย่าให้หลังโค้งงอ หลับตาพอสบายๆ คล้ายกับกำลัง พักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อตาหรือขมวดค้ิว แล้วต้ังม่ัน 288 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) ทำใจสบายๆ สร้างความรู้สึกให้พร้อมท้ังกายและใจว่า กำลงั จะเขา้ ไปสู่ภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง ๔. กำหนดนิมิต เป็นดวงแก้วกลมใส ขนาด เทา่ แก้วตาดำ ใสบริสุทธ์ิ ปราศจากราคีหรือรอยตำหนิ ใดๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจดงั ประกายของดวงดาว ดวง แกว้ กลมใสน้เี รยี กวา่ บรกิ รรมนมิ ิต นึกสบายๆ เหมือน ดวงแก้วนั้นมาน่ิงสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นกึ ไปภาวนาไปอย่างน่มุ นวลเปน็ พทุ ธานสุ ติว่า “สัมมา อรหัง” หรือค่อยๆ น้อมนึกดวงแก้วกลมใสให้ค่อยๆ เคล่ือนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเร่ิมต้นต้ัง แต่ ฐานท่ี ๑ เป็นต้นไป น้อมด้วยการนึกอย่างเบาๆ สบายๆ ใจเยน็ ๆ พร้อมกบั คำภาวนา อน่ึง เมื่อนิมิตดวงใสกลมสนิทปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น จน เหมือนกับว่า ดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หาก ดวงนิมิตน้ันอันตรธานหายไปก็ไม่ต้องนึกเสียดาย ให้ วางอารมณ์สบายๆ แล้วนึกนิมิตข้ึนมาใหม่แทนดวง เก่า หรือเม่ือนิมิตนั้นไปปรากฏที่อ่ืนท่ีไม่ใช่ศูนย์กลาง 289 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) กาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไมม่ กี ารบังคับ และเม่ือนิมติ มาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลาง กาย ให้วางสติลงไปยังจดุ ศนู ยก์ ลางของดวงนมิ ิต ด้วย ความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวเล็กๆ อีกดวงหนึ่งซ้อนอยู่ ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจ เอาใจใส่แต่ดวง เล็กๆ ตรงกลางน้ันไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดได้ถูก ส่วน เกิดการตกศูนย์และเกิดดวงสว่างข้ึนมาแทนท่ี ดวงน้ีเรียกว่า ดวงธรรม หรือ ดวงปฐมมรรค อันเป็น ประตูเบ้ืองต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรคผล นิพพาน 290 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) การระลึกนึกถึงนิมิตหรือดวงปฐมมรรคน้ี สามารถทำไดใ้ นทุกแห่ง ทกุ ที่ ทุกอริ ยิ าบถ เพราะดวง ธรรมน้ี คอื ที่พึง่ ทีร่ ะลกึ อนั ประเสรฐิ สุดของมนุษย ์ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สม่ำเสมอเป็น ประจำ ทำเร่ือยๆ อยา่ งสบายๆ ไมเ่ รง่ ไม่บังคับ ทำได้ แค่ไหนให้พอใจแค่น้ัน ซึ่งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิด ความอยากจนเกินไป จนถึงกับทำให้ใจต้องสูญเสีย ความเป็นกลาง และเม่ือการปฏบิ ัติบังเกิดผลจนไดด้ วง ปฐมมรรคท่ีใสเกินใส สวยเกินสวย ติดสนิทมั่นคงที่ ศนู ยก์ ลางกายแล้ว ให้หมั่นตรึกระลกึ นกึ ถึงอยูเ่ สมอ อย่างน้ีแล้ว ผลแห่งสมาธิ จะทำให้ชีวิตดำรง อยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความสำเร็จ และความไม่ ประมาทได้ตลอดไป ท้ังยังจะทำให้สมาธิลุ่มลึกไปตาม ลำดับอกี ดว้ ย 291 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ขอ้ ควรระวัง ๑. อย่าใช้กำลัง คือ ไม่ใช้กำลังใดๆ ทั้งส้ิน เช่น ไม่บีบกล้ามเนื้อตา เพื่อจะให้เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่ เกร็งแขน ไม่เกร็งกล้ามเน้ือหน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย ก็ตาม จะทำใหจ้ ติ เคลือ่ นจากศูนยก์ ลางกายไปสจู่ ุดนน้ั ๒. อย่าอยากเห็น คือ ทำใจให้เป็นกลาง ประคองสติมิให้เผลอจากบริกรรมภาวนาและบริกรรม นิมิต สว่ นจะเหน็ นมิ ิตเม่ือใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถงึ เวลา แล้วย่อมเห็นเอง การบังเกิดของดวงนิมิตนั้นอุปมา เหมือนการขนึ้ และตกของดวงอาทติ ย์ เราไม่อาจจะเร่ง เวลาได ้ ๓. อย่างกังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้า ออก เพราะการฝึกสมาธิเจริญภาวนาเพ่ือให้เข้าถึง ธรรมกายอาศัยการกำหนด อาโลกกสิน คือ กสิณ ความสว่างเป็นบาทเบื้องต้น เมื่อเกิดนิมิตเป็นดวง สว่างแล้วค่อยเจริญวิปัสสนาในภายหลัง จึงไม่มีความ จำเปน็ ตอ้ งกำหนดลมหายใจเขา้ ออกแตป่ ระการใด 292 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) ๔. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ต้ังใจไว้ท่ี ศูนย์กลางกายท่ีเดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็ตาม เช่น ยืน เดนิ นอน หรอื น่งั ก็ดี อย่าย้ายฐานที่ตั้งจิตไป ไว้ที่อื่นเป็นอันขาด ให้ต้ังใจบริกรรมภาวนาพร้อมกับ นึกถึงบริกรรมนมิ ติ เป็นดวงแกว้ ใสควบคกู่ ันตลอดไป ๕. นิมติ ตา่ งๆ ที่เกิดข้ึนจะต้องนอ้ มไปตง้ั ไว้ ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้านิมิตเกิดข้ึนแล้วหายไปก็ ไม่ต้องตามหา ให้ภาวนาประคองใจตอ่ ไปตามปกติ ใน ท่สี ุดเม่ือจิตสงบ นิมติ ย่อมปรากฏขนึ้ ใหมอ่ ีก การฝึกสมาธิเบ้ืองต้นเท่าที่กล่าวมาท้ังหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้พอสมควร เม่ือซัก ซ้อมปฏิบัติอยู่เสมอๆ ไม่ทอดท้ิง จนได้ดวงปฐมมรรค แล้ว ก็ให้หมั่นประคองรักษาดวงปฐมมรรคนั้น ไว้ ตลอดชีวิต ดำรงตนอยู่ในศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลัก ประกันได้ว่า ได้ท่ีพ่ึงของชีวิตที่ถูกต้องดีงาม ท่ีจะส่ง ผลให้เป็นผู้มีความสุขความเจริญ ท้ังในภพชาติน้ีแล ภพชาตหิ น้า 293 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) คณะผู้จัดทำ หนงั สือรา่ เรงิ บนั เทงิ ใจ ดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) ISBN 978-616-7200-21-7 บรรณาธิการ พระครูธรรมธรไพบลู ย์ ธมฺมวปิ ุโล ฝา่ ยจดั ทำต้นฉบับ พระครูธรรมธรไพบลู ย์ ธมมฺ วปิ ุโล พระทวีศักดิ์ ฐานารโห พระธรรมนูญ ธมมฺ นิ ทฺ ชโย พระวรทรรศ กติ ตฺ ิวโร พระสมคิด ชยาภิรโต พระกมล สหุ ชโฺ ช พระธีรพล พลธโร พระบุญญฤทธิ์ อิทฺธิปญุ ฺโญ พระประคอง ภทฺทวีโร พระธีรพล คเุ ณสโน พระชนินทร์ อินทฺ ปญโฺ ญ พระสขุ สวสั ดิ์ โสตฺถิสุโข พระกำธร ติทธฺ โร พระมหาวฒุ ชิ ยั วุฑฺฒิชโย พระสมเพชร วชริ ธมฺโม ผศ.สภุ าศริ ิ พะหชู นม์ ผศ.สชุ ีพ พะหชู นม ์ สภุ ัทรา วงษศ์ รจี นั ทร์ วรลกั ษณ์ นารักษ ์ ประสานงานการผลิต พระสมบตั ิ รกฺขิตจติ โฺ ต ออกแบบปก คาซาโกะ รปู เลม่ คาซาโกะ, สุพัตรา ปญั ญาแสง พมิ พ์ คร้งั ท่ี ๒ จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ท ่ี บรษิ ทั เอสเอม็ เค ปริ้นตร้งิ จำกดั ลิขสทิ ธ์ ิ มลู นธิ พิ ฒั นาการศึกษาเพือ่ ศีลธรรม 294 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) ประวัติผูเ้ รยี บเรยี ง ฉายา ธมมฺ วปิ โุ ล ภกิ ขฺ ุ (พระครธู รรมธรไพบลู ย์ ธมฺมวิปุโล) นามเดมิ นายไพบลู ย์ ธรรมคำ้ จนุ อตุ สาหกรรม- ศาสตรบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยกี าร ผลติ รนุ่ ที่ ๕ คณะวศิ วกรรม- ศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขต พระนครเหนอื ประวตั ิ เกดิ วันองั คารท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๒ เป็นบุตรคนท่ี ๓ ในจำนวนบุตร ๔ คนของ นายกมิ ฮะ แซ่เอง็ และ นางบุหงา ธรรมค้ำจุน เกิด บา้ นเลขท่ี ๑๑๘ ถนนมหาจกั รพรรดิ ตำบลหนา้ เมอื ง อำเภอเมอื ง จังหวดั ฉะเชิงเทรา 295 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) การศึกษาทางโลก ป. ๑ – ป. ๗ โรงเรยี นปญั จพทิ ยาคาร จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ม.ศ. ๑ – ม.ศ. ๓ โรงเรยี นเบญจมราชรงั สฤษฎ์ิ จังหวัดฉะเชิงเทรา ปวช. - ปวส. วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขต พระนครเหนอื ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า วทิ ยาเขตพระนครเหนือ กจิ กรรมระหวา่ งศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๑ หัวหน้านักศึกษา แผนกช่าง เครอ่ื งจกั รกลงานไม ้ พ.ศ. ๒๕๒๔ นักกีฬารักบ้ีฟุตบอลของ สถาบันฯ ประสบการณ์การทำงาน พ.ศ.๒๕๒๖ วิศวกรฝ่ายโรงงาน บริษัท บูติค นวิ ซติ ี้ จำกัด กรุงเทพฯ 296 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) พ.ศ.๒๕๒๗ รองผจู้ ดั การฝ่ายผลิต บริษทั ซีเอ เลเทอร์ จำกดั จงั หวัดปทมุ ธาน ี อบรมธรรมทายาท ภาคฤดูรอ้ น รนุ่ ที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๒๕ ภาคเข้าพรรษา รุ่นที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๘ อปุ สมบท วันเสารท์ ่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๒๘ ณ พระอโุ บสถ วดั เบญจมบพิตรดสุ ติ วนาราม พระอุปัชฌาย์ คอื พระพทุ ธวิ งศมนุ ี พระกรรมวาจาจารย์ คอื พระโสภณพทุ ธธิ าดา พระอนุสาวนาจารย์ คือ พระกิตติวงศเ์ วที การศกึ ษาทางธรรม นักธรรมเอก หน้าที่การงานในทางธรรม พ.ศ. ๒๕๓๓ – พ.ศ. ๒๕๓๕ 297 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) • เป็นผู้ดูแลการอบรมธรรมทายาท และ อปุ สมบทหมภู่ าคฤดรู อ้ น และภาคเขา้ พรรษา • เปน็ ผดู้ ูแลการเผยแผธ่ รรมะ และการอบรม หน่วยงานราชการและสถาบันต่างๆ ภายนอกที่เข้ารับ การอบรม ณ วดั พระธรรมกาย พ.ศ. ๒๕๓๖ • เป็นผู้ดูแลงานการศึกษาและการพัฒนา บคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๔๓ • เปน็ ผู้ดูแลงานบุคลากร • เป็นผู้ดูแลพระภิกษุที่อยู่ประจำ ณ อาคาร ทีพ่ ักสงฆ์ วัดพระธรรมกาย • เป็นผูด้ ูแลการจัดงานบญุ ใหญ่ พ.ศ. ๒๕๔๔ • เปน็ ผดู้ แู ลงานสัมมนาพระสงั ฆาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๕ • เปน็ ผ้ดู แู ลงานอบรมพระกลั ยาณมติ ร พ.ศ. ๒๕๔๙ • รองผอู้ ำนวยการสำนกั ประธานคณะกรรมการ 298 www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304