รา่ เริงบนั เทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) สังฆทาน แด่คณะสงฆ์หมู่ใหญ่ นำทรัพย์หยาบมา เปลีย่ นเป็นทรพั ย์ละเอยี ด คอื บุญ บญุ มคี ุณสมบตั อิ ย่างนอ้ ย ๒ ประการ คือ ประการแรก เป็นของเฉพาะตน ไม่ใช่ของ สาธารณะแกค่ นท่วั ไป ภยั ใดๆ ไมส่ ามารถทำอันตราย ได ้ ประการทส่ี อง บญุ นนั้ ติดตามผ้เู ป็นเจ้าของไป ในภพเบ้ืองหน้าได้ เป็นเหตุให้ได้ทั้งมนุษยสมบัติ ทิพยสมบัติ และนพิ พานสมบตั ิ. 49 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๑๕ ผู้เอาชนะความตระหน ่ี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า “บุคคลพึงนำ ความตระหน่ีออกไปเสีย พึงข่มความตระหนี่ซึ่งเป็น มลทิน แล้วพึงให้ทาน เพราะบุญทั้งหลายเป็นที่พึ่ง ของสัตว์ในโลกหน้า๑” การให้ทานเป็นความสุขของผู้เอาชนะความ ตระหนี่ได้ เพราะคนส่วนใหญ่มักถูกความตระหนี่ ครอบงำ แต่เม่ือใด เรากำจัดความตระหนี่หวงแหน ออกไปด้วยความหวังว่า สิ่งที่ให้ไปแล้วจะก่อให้เกิด ประโยชน์ เม่ือน้ัน ความสุขจะบังเกิดขึน้ กระแสแหง่ บุญก็จะเข้ามาแทนท่ีความตระหนี่ที่หมักหมมอยู่ในใจ การเสียสละ การดำรงตนอยูใ่ นสถานะของผใู้ ห้ จงึ เปน็ สญั ลกั ษณข์ องผู้มชี ยั ชนะอนั ประเสริฐ ๑ อนั นสูตร มก. ๒๔/๒๔๓ , มจ. ๑๕/๕๙ 50 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ผู้ให้ทานย่อมมี อานสิ งส์ ๕ ประการ๒ คือ ประการแรก ย่อมเปน็ ทร่ี ักของชนเป็นอันมาก ประการท่ีสอง สปั บรุ ุษผู้สงบยอ่ มคบหา ประการท่ีสาม ชื่อเสียงอันดีงามย่อมขจร ขจาย ไปทั่วสารทศิ ประการท่ีส่ี ย่อมเข้าสู่ที่ประชุมอย่างผู้องอาจ กล้าหาญ ประการที่ห้า เม่ือละโลก ย่อมเข้าถึงสุคติโลก สวรรค์ ท่านทานบดีทั้งหลาย ไฟไม่อิ่มด้วยเชื้อ ทะเล ไม่อม่ิ ดว้ ยนำ้ ทานบดียอ่ มไมอ่ ่มิ ด้วยการให้ทาน. ๒ สหี สตู ร มก. ๓๖/๗๙ , มจ. ๒๒/๕๔ 51 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๑๖ ทานกับการรบ ท่านทานบดีทั้งหลาย แพทย์ย่อมเป็นที่พ่ึง ของคนไข้ อาหารย่อมเป็นที่พ่ึงของคนหิวกระหาย บญุ ก็ย่อมเป็นทพ่ี ง่ึ ของพวกเราท้ังหลาย วันน้ี ทา่ นทานบดที ้ังหลาย ได้มากระทำทพ่ี ึง่ ใหบ้ งั เกดิ ขนึ้ แก่ตน ด้วยการถวายภัตตาหารแด่คณะ สงฆ์หม่ใู หญ่ ซึ่งเปน็ บุญเขตอนั เยยี่ ม นักปราชญ์ในกาลก่อนกล่าวไว้ว่า ทานกับการ รบ มสี ภาพเสมอกัน๑ นกั รบแมจ้ ะมีน้อย กส็ ามารถเอาชนะขา้ ศึกหมู่ มากได้ เครื่องบริจาคแม้จะน้อย แต่เต็มเป่ียมด้วย ๑ อาทิตตชาดก มก. ๕๙/๕๗๑ , มจ. ๒๗/๒๙๖ 52 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) ศรทั ธา กส็ ามารถชนะหมู่กิเลสแม้มากได้ นักรบท่ีเอาชนะข้าศึกมาทั่วสารทิศ ยังไม่ได้ ชื่อว่าเป็นผู้ชนะที่แท้จริง และยังไม่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ ประเสริฐท่แี ท้จริง เพราะเมอื่ กรรมหมนุ กลบั ผ้ฆู า่ ยอ่ ม ถูกฆ่า ผู้ชนะกลบั เปน็ ผูแ้ พ้ แต่หากบุคคลใด พึงสละทรัพย์ออกบริจาค เพื่อยังประโยชน์ให้เกิดขึ้น บุคคลนั้นย่อมได้ช่ือว่า เป็นผู้กล้าท่ีแท้จริง คือกล้าที่จะกำจัดความโลภออก จากใจ เป็นผู้ชนะท่ีแท้จริง คือชนะความตระหน่ีที่ หมักหมมอยูใ่ นใจ บุคคลใดทำได้เช่นนี้ ย่อมได้ช่ือว่า เป็นผู้ ประเสริฐกว่านักรบท้งั ปวง. 53 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๑๗ องคแ์ ห่งทานที่มผี ลมาก ๓ ประการ การทำทานที่มีอานิสงส์มาก มีองค์ประกอบ ๓ ประการ คอื ประการแรก วัตถุบริสุทธ์ิ หมายถึง จตุปจั จัย ไทยธรรมทน่ี ำมาทำทาน เป็นวตั ถบุ รสิ ทุ ธิ์ หามาได้โดย ชอบธรรม ไม่ได้ไปลกั ไปขโมยมา ประการทสี่ อง เจตนาบริสุทธ์ิ หมายถึง ความ ตั้งใจท่ีจะมาถวาย เป็นเจตนาท่ีเปี่ยมล้นไปด้วยความ เลอ่ื มใสศรทั ธา เชือ่ ในผลของทาน ท้ังกอ่ นให้ ขณะให้ และหลังจากใหแ้ ล้ว 54 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) ประการที่สาม บุคคลบริสุทธ์ิ หมายถึง ทั้ง ผู้รับและผู้ให้ มีความบริสุทธ์ิ มีศีลมีธรรมตามเพศ ภาวะของตน เหมือนชาวนาหว่านเมล็ดข้าวพันธุ์ดีลง ในนาที่อุดมสมบูรณ์ รวงข้าวท่ีออกมาย่อมเกินควร เกนิ คาด พชื แมน้ อ้ ยหวา่ นลงในนาดี ยอ่ มมผี ลอนั ไพบลู ย์ ชาวนาก็ปลมื้ ใจ ฉนั ใด ทานแม้เลก็ น้อยทบ่ี ุคคลทำในบญุ เขต ในท่าน ผู้มีศีล ต้ังใจประพฤติปฏิบัติธรรม ย่อมอำนวยผลอัน ไพบลู ย์ ยังจิตของผใู้ หใ้ หร้ า่ เริงยนิ ดี ฉนั นน้ั ภัตตาหารที่ท่านทานบดีถวายแล้วในวันนี้ ได้ชื่อว่า เป็นทานที่มีอานิสงส์มาก เพราะครบองค์ ประกอบทัง้ ๓ ประการ. 55 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๑๘ เหตุที่ทำให้ไดอ้ ายุ สรรพส่ิงในโลก ตั้งอยู่ได้ต้องอาศัยแผ่นดิน ขาดแผ่นดินแล้วสรรพส่ิงไม่สามารถทรงอยู่ได้ ฉันใด โภคทรัพยส์ มบัติ ยศ บรวิ าร หรอื ความเป็นใหญ่ ลว้ น ต้องอาศัยอายุเป็นเครื่องรองรับ ฉันนั้น ขาดอายุแล้ว โภคทรพั ยส์ มบัติ ยศ บรวิ าร หรอื ความเปน็ ใหญ่ แม้ มีก็เหมือนไม่มี แม้การบำเพ็ญบุญบารมีเพื่อความหลุด พ้นจากกองทุกข์ในวัฏสงสาร ก็ต้องอาศัยอายุเป็น เครือ่ งรองรบั บุคคลแม้จะเคยประพฤติผิดพลาดมาในอดีต เพราะความประมาท หรือความรู้เทา่ ไม่ถึงการณ์ หาก มีอายุยืน ก็ยังสามารถส่ังสมความดี แก้ไขความผิด พลาดที่ผา่ นมา ใหค้ วามดสี ่งผลกอ่ น มีสคุ ติเปน็ ทไี่ ป ประดุจหนิ ก้อนโต อาศัยเรือลำใหญ่ กข็ ้ามไปสฝู่ งั่ ได ้ 56 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) อายุจึงมีคณุ ค่าตอ่ ชีวิตอย่างประมาณมิได้ ในพระพุทธศาสนา กล่าวถึงเหตุให้ได้อายุไว้ อยา่ งนอ้ ย ๕ ประการคอื ประการแรก ไมท่ ำปาณาติบาต๑ ประการท่สี อง การให้ชวี ติ สตั วเ์ ปน็ ทาน ประการทสี่ าม การมปี กตกิ ราบไหว้ ออ่ นนอ้ ม ตอ่ ท่านผู้เจรญิ อยู่เป็นนิตย๒์ ประการทส่ี ่ี ใหย้ ารกั ษาโรคเปน็ ทาน ประการสดุ ทา้ ย การให้อาหารเปน็ ทาน๓ วันน้ี ท่านทานบดีได้ต้ังใจมาถวายภัตตาหาร เปน็ สังฆทาน แดค่ ณะสงฆห์ มู่ใหญ่ พระสมั มาสมั พุทธ- เจ้าตรัสว่า “ผู้ให้อาหาร ๓ ย่อมได้อายุท้ังที่เป็นของ มนษุ ย์ และทีเ่ ป็นของทพิ ย”์ บคุ คลหวา่ นพืชเช่นใด กย็ ่อมไดผ้ ลเช่นนัน้ . ๑ จูฬกมั มวภิ ังคสตู ร มก. ๒๓/๒๕๑ , มจ. ๑๔/๓๔๙ 57 ๒ โภชนทานสตู ร มก. ๓๖/๘๕ , มจ. ๒๒/๕๘ ๓ โภชนทานสูตร มก. ๓๖/๘๕ , มจ. ๒๒/๕๘ www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๑๙ สิ่งใดที่นำออก สงิ่ น้นั เปน็ ของเรา บัณฑิตในกาลก่อนกล่าวว่า เม่ือเรือนถูกไฟ ไหม้ ภาชนะใดท่ีเจ้าของนำออกไปได้ ภาชนะนั้นย่อม เป็นประโยชน์แก่เขา ส่วนสิ่งของท่ีมิได้ขนออกไป ยอ่ มถูกไฟไหม้๑ ฉนั ใด โลกถูกชราและมรณะเผาแล้ว ก็ฉันน้ัน ควร นำออกดว้ ยการใหท้ าน เพราะทานท่บี ุคคลให้แลว้ ช่ือ ว่านำออกดแี ลว้ พระเดชพระคณุ พระราชภาวนาวสิ ทุ ธ์ิ หลวงพอ่ ธัมมชโย เคยให้โอวาทไวว้ า่ เราจะมชี ีวติ ในโลกนอ้ี กี ไม่ นานเท่าไร เด๋ียวก็วัน เด๋ยี วกค็ นื เด๋ยี วก็จะหมดเวลาไป แล้ว ใชว้ นั เวลาและทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ ใหเ้ ป็นประโยชน์ ในการสร้างบารม ี ๑ อทติ ตสูตร มก. ๒๔/๒๓๖ , มจ. ๑๕/๕๗ 58 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) ส่ิงใดที่เราให้ คือนำออกด้วยการบริจาค ฝากฝังไว้ในวัตถุอันเลิศ คือทักขิไณยบุคคล ส่ิงนั้นก็ เปน็ ของเรา สงิ่ อะไรท่เี รายังไม่ให้ ไม่ได้บริจาค ยังไม่ ได้นำออก มันกย็ ังไมไ่ ดเ้ ปน็ ของเรา เหมือนไฟไหมบ้ า้ น เพิ่งไหม้บานประตูหนา้ ต่าง เรานำตู้ โตะ๊ เตียง ต่ัง เส้ือผ้าออกมาแค่ไหน เราก็นำไปใช้ได้ ส่วนไหนเราไม่ ไดน้ ำออกมา ก็ถกู ไฟไหม้ไป เอามาใชไ้ ม่ได ้ ชีวิตก็ถูกความแก่ ความเจ็บ ความตาย ประดุจไฟท่ีเผาลนเราอยู่ตลอดเวลา เรือนกาย เรือน ใจน้ี จงึ มีแตว่ ันเสอื่ มสลายไปเรือ่ ย เพราะฉะนั้น สงิ่ ใดทเี่ ราได้นำออก สิ่งนั้นจะเป็นของเราอยา่ งแท้จริง. 59 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๒๐ คนจน ๓ ประเภท พระสัมมาสมั พุทธเจา้ ตรัสว่า “ความยากจน เป็นทุกขข์ องผู้ครองเรอื นในโลก๑” พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ หลวง พอ่ ธมั มชโย เคยใหโ้ อวาทไวว้ า่ คนจนมี ๓ ประเภท ประเภทแรก คนยากจน เพราะในอดีตถูก ความตระหนี่เข้าครอบงำ จึงไม่ให้ทาน วิบากแห่ง ความตระหนี่จึงผลักสมบัติออกไป ทำให้ลำบาก ยากจน ประเภทท่ีสอง คนอยากจน หมายถึงคนที่ ดำเนินชีวิตด้วยความประมาท ตระหนี่หวงแหนทรัพย์ ไม่สงั่ สมทานกศุ ล แมม้ ีทรพั ยม์ ากก็ไม่ยอมให้ เพราะ 60 ๑ อณิ สตู ร มก. ๓๖/๖๖๔ , มจ. ๒๒/๕๐๗ www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) กลัวทรัพย์จะหมดไป วิบากแห่งความตระหนี่นี้ จะ ทำใหก้ ลบั เปน็ คนยากจนอกี จงึ เรยี กวา่ คนอยากจน ประเภทที่สาม คนจนยาก หมายถึง คนที่จะ กลับมาจนอีก เป็นไปได้ยาก เพราะหม่ันสั่งสมทาน กศุ ลอย่เู ป็นนติ ย์ บุญจากการให้ทานน้ี จะมอี านภุ าพ ดึงดูดโภคทรัพย์สมบัติให้เกิดขึ้น เป็นเสบียงไว้ใช้ใน ระหว่างการเวียนว่ายตายเกิด แสวงหาหนทาง มรรคผลนิพพาน ท่านทานบดีทั้งหลาย ชีวิตของผู้สั่งสมทาน กุศลอยู่เป็นนิตย์ ย่อมไม่รู้จักกับคำว่า ลำบากยากจน จะมีโภคทรัพย์สมบัติเกิดขึ้นไว้หล่อเล้ียงชีวิต และ รองรบั การสรา้ งบารมี ทง้ั ยงั เปน็ แบบอยา่ งของผดู้ ำเนนิ ชีวิตอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นต้นบุญและต้นแบบ ของชนทั้งหลายสบื ไป. 61 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๒๑ คนเราเลอื กเกิดได้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า สัตว์ทั้งหลายมี กรรมเป็นของตน๑ มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่า พันธุ์ มกี รรมเป็นที่พงึ่ อาศัย พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ หลวง พ่อ ธัมมชโย เคยให้โอวาทไว้ว่า คนเรานี้เลือกเกิดได้ โอกาสที่เราจะเลือกเกิดน้ีมีอยู่ตลอดเวลา ข้ึนอยู่กับว่า เราจะใช้โอกาสน้ันหรือไม่ ถ้าเราไม่ได้ใช้โอกาสน้ัน เวลามาเกิดเป็นผู้มีฐานะยากจน เราจะได้ยินแต่ ถ้อยคำปลอบใจว่า คนเราเลือกเกิดไม่ได้ และก็ให้ กำลงั ใจตอ่ วา่ แต่เราเลือกเป็นได ้ เพราะฉะน้ัน เพื่อไม่ให้เราได้ยินได้ฟังคำเหล่า ๑ จูฬกัมมวภิ ังคสตู ร มก. ๒๓/๒๕๑ , มจ. ๑๔/๓๔๙ 62 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) นี้อีก ขณะน้ีเรามีโอกาสเลือกเกิดได้ เม่ือขณะสมัยมา ถึง ทักขิไณยบุคคลมีอยู่ พระพุทธศาสนามีอยู่ พระ รัตนตรัยมีอยู่ เราซ่ึงเป็นทายกทายิกา (ผู้ให้ทาน) มี ความพรอ้ ม มวี ตั ถทุ าน มีศรทั ธา พึงทำในตอนนี้ แล้ว เราจะเลือกเกิดได้ ถ้าอยากเกิดเช่นเดียวกับท่านอนาถบิณฑิก เศรษฐี หรือมหาอุบาสิกาวิสาขา มหาเศรษฐีผู้เป็นเลิศ ในการให้ทาน ซ่งึ ทา่ นเลอื กมาเกิดในตระกูลเศรษฐี จง หมน่ั บรจิ าคทาน. 63 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๒๒ ผ้ใู หโ้ ภชนะชอื่ ว่า ใหฐ้ านะ ๕ ประการ แกป่ ฏคิ าหก วันนี้ ท่านทานบดีท้ังหลาย ได้พร้อมใจกันมา ถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานแก่คณะสงฆ์หมู่ใหญ่ บ้างก็ปรารภเหตุวันคล้ายวันเกิด บ้างก็ปรารภเหตุ ทำบุญอุทิศให้หมู่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว บ้างก็ปรารภ เหตุสั่งสมทานบารมีตามรอยบาทพระบรมโพธิสัตว์ใน กาลก่อน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคลผู้ให้ โภชนะ ได้ช่ือว่าให้ฐานะ ๕ ประการแก่ปฏิคาหก (ผู้รับทาน) ผู้ให้ก็ย่อมได้รับฐานะทั้ง ๕ ประการน้ัน ดว้ ย๑ ฐานะ ๕ ประการนค้ี ือ ๑ โภชนทานสตู ร มก. ๓๖/๘๕ , มจ. ๒๒/๕๘ 64 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ประการแรก ให้อายุ ย่อมมีอายุขัยที่ยืนยาว ทั้งทเ่ี ปน็ ของมนษุ ยแ์ ละของทพิ ย์ ประการทส่ี อง ใหว้ รรณะ ยอ่ มมรี ปู กายท่ี งดงาม มีผิวพรรณวรรณะผ่องใสท้ังท่ีเป็นของมนุษย์ และของทพิ ย์ ประการท่ีสาม ให้ความสุข ย่อมมีความสุข กาย สบายใจ ทั้งที่เปน็ ของมนุษย์และของทิพย ์ ประการท่ีสี่ ให้พละ ย่อมมีกำลังกายที่ สมบูรณ์แข็งแรง มีกำลังใจเป็นเลิศ ทั้งที่เป็นของ มนษุ ยแ์ ละของทพิ ย์ ประการที่ห้า ให้ปฏิภาณ ย่อมมีปัญญามาก ฉลาดปราดเปรื่องแทงตลอดท้ังทางโลกและทางธรรม ทั้งท่ีเป็นของมนุษยแ์ ละของทพิ ย์ 65 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ทา่ นทานบดที งั้ หลาย ดวงจันทรย์ อ่ มสวา่ งกว่า หมู่ดาวท้ังหลายในนภากาศ ฉันใด ทานบดีผู้ถึงพร้อม ด้วยอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ และปฏิภาณ กย็ อ่ ม เปน็ แสงสว่างใหแ้ ก่ชาวโลก ฉันน้ัน. 66 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๒๓ ฐานะ ๕ ประการท่เี งนิ ซ้ือไมไ่ ด ้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ทายกผู้ให้ โภชนะ๑ ชื่อว่าให้ฐานะ ๕ ประการแก่ปฏิคาหก ผู้ให้ ย่อมได้รับฐานะท้ัง ๕ ประการนั้นด้วย ฐานะทั้ง ๕ ประการคอื อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ พระเดชพระคณุ พระราชภาวนาวสิ ทุ ธ์ิ หลวงพอ่ ธมั มชโย เคยให้โอวาทไวว้ ่า ถ้าใครอยากไดฐ้ านะทง้ั ๕ ประการนี้ คอื ฐานะท่ี ๑ มีอายุขัยยืนยาว ไม่ตายก่อนถึง เวลาอันควร สุขภาพแขง็ แรง มรี ูปสมบตั ิท่งี ดงาม ฐานะท่ี ๒ มีผิวพรรณท่ผี ุดผ่อง งามไปทุกวยั ตั้งแต่ปฐมวัย กระท่ังปัจฉิมวัย แก่เฒ่าแค่ไหนคนก็ ๑ โภชนทานสูตร มก. ๓๖/๘๕ , มจ. ๒๒/๕๘ 67 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) อยากเข้าใกล้ เพราะเห็นวรรณะผ่องใส สะอาด เกล้ยี งเกลา ละเอยี ดเนียน ฐานะท่ี ๓ มีความสขุ กาย สุขใจ คือ กายจะ ไมค่ อ่ ยปวดเมอื่ ย ไมม่ นึ ซมึ งง นั่งสมาธกิ ็นงั่ ไดน้ าน มคี วามสบายกาย และความสบายใจ ฐานะที่ ๔ มีกำลังใจทีเ่ ขม้ แขง็ ย่อทอ้ ไมเ่ ป็น ไม่ว่างานใหญ่โตแค่ไหน มีกำลังความคิด จะมอง ปัญหา มองงานได้ทะลปุ ระโปร่ง แก้ปัญหาได้ มีกำลัง วาจาทพ่ี ดู ไปแลว้ ใครก็เช่ือฟงั น่าทำตาม และมกี ำลงั กายท่ีแขง็ แรง ไม่เหน็ดเหนือ่ ย ฐานะท่ี ๕ มีปฏิภาณ คือ ไหวพริบเฉลียว ฉลาด รแู้ จง้ แทงตลอดทั้งทางโลกและทางธรรม ฐานะท้ัง ๕ ประการน้ี เราจะใชเ้ งนิ ซ้ือมาไม่ได้ จะเอาสิง่ ของอะไรไปแลกเปลย่ี นกไ็ ม่ได้ จะไดม้ ากด็ ว้ ย เหตเุ พียงประการเดียวคอื การให้ทาน. 68 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๒๔ มหาสมุทรไมอ่ มิ่ ดว้ ยนำ้ ท่านทานบดีทั้งหลาย มหาสมุทรย่อมไม่อิ่ม ดว้ ยน้ำ ไฟย่อมไม่อ่มิ ด้วยเชือ้ ฉันใด ทานบดยี ่อมไม่อิ่ม ดว้ ยการใหท้ าน ฉนั น้นั ผ้ทู ี่มีจิตเล่ือมใส เมื่อใหท้ านแลว้ ย่อมมบี ญุ เป็น ผลเสมอ เสมอื นโยนก้อนหนิ ขึ้นไปบนอากาศ กอ้ นหิน นัน้ ย่อมตกลงสู่พน้ื ดินเสมอ บุญเป็นส่ิงที่อยู่เบ้ืองหลังความสุขและความ สำเร็จของชีวิต การเข้าถึงฐานะของความเป็นเศรษฐี มหาเศรษฐีก็เพราะบุญ การเข้าถึงฐานะของความเป็น กษัตริย์พระเจ้าจักรพรรด์ิก็เพราะบุญ แม้แต่การตรัสรู้ เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากเ็ พราะบุญ 69 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บุญเพียงคำเดียวส้ันๆ แต่ทรงอานุภาพท่ียิ่ง ใหญ่ สามารถกำหนดวิถชี ีวติ ของสตั ว์ทง้ั หลายได้ วันนี้ ท่านทานบดีท้ังหลายได้มาสั่งสมบุญ ด้วยการถวายสังฆทานแด่คณะสงฆห์ ม่ใู หญ ่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงผลของการถวาย สงั ฆทานกับพระอานนทไ์ ว้ว่า อานนท์.... เราไมก่ ลา่ วว่า ปาฏิปุคคลิกทาน หมายถึงทานท่ีให้เฉพาะเจาะจง ว่ามีผลมากกว่า สังฆทานโดยปริยายใดๆ๑ สังฆทานเป็นประมุขของผู้ หวงั บญุ คณะสงฆเ์ ปน็ ประมขุ ของผบู้ ชู า และคณะสงฆ์ น้ีแหละเป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีเน้ือนาบุญอ่ืนยิ่ง กวา่ . ๑ ทักษิณาวภิ ังคสตู ร มก. ๒๓/๓๙๑ , มจ. ๑๔/๔๒๔ 70 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๒๕ การทำทานที่มีผลมาก พระสมั มาสัมพุทธเจ้าตรสั ว่า อานนท.์ .. เราไม่กล่าวปาฏบิ คุ กลกิ ทาน คือ ทานที่ให้เฉพาะเจาะจงว่ามีผลมากกว่าสังฆทานโดย ปรยิ ายใดๆ๑ สงั ฆทานเป็นประมุขของผู้หวงั บุญ พระ สงฆเ์ ปน็ ประมขุ ของผ้บู ูชา พระสงฆเ์ ป็นเน้ือนาบุญของ โลก ไม่มีเน้อื นาบุญอน่ื ยงิ่ กว่า ในวัฏสงสารอันยาวไกล บุคคลใดที่ได้สั่งสม มหาทานบารมีไว้เป็นเสบียง ก็ย่อมเดินทางข้ามวัฏ สงสารอันยาวไกลนไ้ี ด้โดยสะดวก ครั้งใด ทีป่ รารถนาจะลงมาเกดิ เพือ่ สรา้ งบารมี กจ็ ะมที รพั ยส์ มบตั ริ อคอยเอาไว้ เพราะไดป้ ระกอบเหตุ ๑ ทกั ษิณาวิภงั คสตู ร มก. ๒๓/๓๙๑ , มจ. ๑๔/๔๒๔ 71 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา คือ การให้ท่ีถึง พรอ้ มด้วยศรทั ธา ไทยธรรม และเนอ้ื นาบุญ ศรัทธา คือ ความเชื่อในผลของการทำทาน ได้เกิดข้ึนแล้ว ในจิตใจของทา่ นทานบดีทงั้ หลาย ไทยธรรม คือ ภัตตาหารที่ประณีต ถวายเป็น สงั ฆทาน ท่านทานบดีทง้ั หลาย กไ็ ดก้ ระทำแล้ว เน้ือนาบุญ คือ คณะสงฆ์ ท่านทานบดีก็ได้ บำรุงเลยี้ งแลว้ ทรัพย์ คือ บุญย่อมติดตามตัวไปในภพเบื้อง หน้า เป็นเสบียงในการเดินทางข้ามวัฏสงสารอันยาว ไกล เปน็ เหตุให้ได้ทง้ั มนษุ ยสมบตั ิ ทิพยสมบัติ และ นิพพานสมบัติ. 72 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๒๖ ทานบารมขี องพระโพธสิ ตั ว์ ชีวติ คอื อายเุ ป็นของนอ้ ย เพราะตอ้ งเสียเวลา ไปกับการพักผ่อน และแสวงหาปจั จยั ๔ มาหล่อเลย้ี ง ชีวิต เวลาของชีวิตจึงเหลือน้อยนิดสำหรับการสร้าง บุญบารมี ยอ้ นไปในอดตี ๔ อสงไขยกบั เศษแสนมหากัป ท่านสเุ มธดาบสโพธสิ ตั ว์ ได้รับพุทธพยากรณจ์ ากพระ ทปี งั กรสมั มาสมั พทุ ธเจา้ วา่ จะไดต้ รสั รเู้ ปน็ พระสมั มา- สัมพุทธเจ้า ท่านจึงสอนตัวเองวา่ หมอ้ นำ้ เต็มเป่ยี ม๑ ใครผู้ ใดผู้หนึ่งควำ่ ปากลง นำ้ ย่อมไหลออกหมด นำ้ ย่อมไม่ ขังอย่ใู นหมอ้ นั้น ฉนั ใด ๑ สุเมธกถา มก. ๗๐/๔๙ 73 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ท่านก็ฉันน้ันเหมือนกัน เห็นยาจกไม่ว่าจะต่ำ ทราม หรือสูงส่งและปานกลาง จงให้ทาน เหมือน หม้อน้ำทเ่ี ขาคว่ำปากลงไว้ ฉันน้ัน เพ่ือจะได้มีมหาสมบัติใหญ่เกิดข้ึนในระหว่าง การเวียนว่ายตายเกิด เพื่อสร้างบารมี แสวงหา หนทางมรรคผลนิพพาน ไม่ต้องเสียเวลาไปกับการ แสวงหาทรัพย์ ในท่ีสุดท่านสุเมธดาบสโพธิสัตว์ก็ได้ตรัสรู้เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งพุทธกาล เพราะอำนาจ ทานบารมีทส่ี ั่งสมมาอยา่ งต่อเนอื่ ง ท่านทานบดีท้ังหลายได้ชื่อว่า ดำเนินรอยตาม ปฏิปทาของพระบรมโพธิสัตว์ท้ังหลาย เป็นผู้ไม่ ประมาทในการดำเนินชีวิต และเป็นแบบอย่างดีงาม ของอนุชนในภายหลงั . 74 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทที่ ๒๗ ทานบารมเี ปน็ เบื้องต้น ของการสร้างบารม ี ย้อนไปในอดีต ๔ อสงไขยเศษแสนมหากัป๑ เม่ือสุเมธดาบสโพธิสัตว์ ได้รับคำพยากรณ์จากพระที ปังกรสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมา สมั พทุ ธเจ้าในอนาคต สเุ มธดาบสโพธสิ ัตว์ จึงใคร่ครวญตรวจตราถงึ ธรรมท่ีทำให้เป็นพระพุทธเจ้า ได้เห็นทานบารมีเป็น ข้อแรก จึงกล่าวสอนตนเองว่า หม้อน้ำท่ีเต็มเปี่ยม ใครผู้ใดผู้หน่ึงคว่ำปากลง น้ำย่อมไหลออกหมด น้ำ ย่อมไม่ขังอยใู่ นหมอ้ น้ำ ฉันใด ๑ สเุ มธกถา มก. ๗๐/๑๒ 75 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) ท่านก็ฉันนั้นเหมือนกัน เห็นยาจกไม่ว่าจะ ต่ำทราม สูงส่งและปานกลาง จงให้ทานให้หมด เหมอื นหมอ้ น้ำที่เขาควำ่ ปากลงไว้ ฉันนัน้ พระเดชพระคณุ พระราชภาวนาวสิ ทุ ธ์ิ หลวงพอ่ ธัมมชโย เคยใหโ้ อวาทไว้วา่ การไปสูน่ พิ พาน ไม่ใชว่ า่ จะไปภพเดียวชาติเดียวได้ เน่อื งจากชีวติ มเี วลาจำกัด จึงต้องอาศัยการเดินทางไปหลายภพหลายชาติ การ เดินทางจึงจำเป็นต้องมีเสบียงติดตัว หล่อเล้ียงชีวิต ให้เราได้อาศัยชีวิตที่มีอยู่ ศึกษาค้นคว้าหนทางพระ นพิ พานได้เต็มที ่ เหมอื นอย่างพระโพธิสตั ว์ของเรา เมือ่ ทา่ นต้ัง ความปรารถนาเป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า ท่านก็ตรวจ ตราพบว่า ทานบารมีนี้ ควรเป็นเบ้ืองต้น ท่ีทำให้การ สร้างบารมีอย่างอ่ืนสะดวกสบาย เพราะถ้าขาด ทานบารมีแล้ว ภพชาติต่อไป ก็จะเป็นคนอดอยาก ยากจนขัดสน สรา้ งบารมีไม่สะดวก เพราะห่วงเร่อื งทำ มาหากิน เม่ือทำมาหากินฝืดเคือง ก็ต้องประกอบ 76 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) มจิ ฉาอาชวี ะ ลักขโมยบ้าง ปลน้ จ้บี า้ ง ในท่ีสดุ ชวี ติ ก็ จะตกต่ำ ท้ังในภพนนั้ และในอบายภูมิ แต่ถ้าหากชีวิตสมบูรณ์ไปด้วยโภคทรัพย์ สมบัติ จะใหท้ านต่อก็สะดวก จะรกั ษาศีลก็สบาย จะ เจริญภาวนาก็ไม่ติดขัด แม้บารมีอื่นๆ ก็สร้างได้อย่าง สะดวกสบาย เพราะไม่ต้องทำมาหากินให้ลำบาก เน่อื งจากอานสิ งสแ์ ห่งทานบารมีที่ตนไดก้ ระทำไว.้ 77 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๒๘ รปู สวย รวยบริวาร การใหท้ านนอกจากจะเปน็ ทม่ี าแหง่ โภคทรพั ย์ สมบัติแล้ว หากทำถูกหลักวิชชา ยังเป็นท่ีมาของรูป- กายที่งดงาม และบรวิ ารท่เี ชือ่ ฟงั อยูใ่ นโอวาทอกี ด้วย พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ทานที่ให้ด้วย ความศรัทธา๑ คือ เชื่อในผลของทาน ย่อมมีอานิสงส์ ทำให้ทานบดีเป็นผู้มีรูปงาม น่าดูน่าเล่ือมใส มีผิว พรรณผุดผอ่ งยิง่ นกั ถ้าให้ทานด้วยเคารพ คือเคารพในวัตถุทาน หมายถึง สิ่งของทจ่ี ะนำมาให้ทานเป็นส่งิ ของท่ปี ระณตี และเคารพในผู้รับทาน คือให้ด้วยอาการท่ีเคารพ นอบน้อม ย่อมมีอานิสงส์ทำให้มีบุตรธิดา บริวาร ๑ สปั ปุรสิ ทานสูตร มก. ๓๖/๓๑๔ , มจ. ๒๒/๒๔๔ 78 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บนั เทิงใจด้วยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) เช่อื ฟังอยู่ในโอวาท ท่านทานบดที ั้งหลาย รูปกายที่งดงามน่าดู น่า เล่ือมใส บุตรธิดาที่เคารพเช่ือฟัง อยู่ในโอวาท เป็นสิ่ง ท่ีใชเ้ งินซ้ือไม่ได้ จะไดม้ าด้วยเหตุ คอื การใหท้ านด้วย ความศรัทธา และความเคารพ บุคคลผู้ให้ทานด้วยความศรัทธา ให้ด้วย ความเคารพ ยอ่ มมีอานสิ งสอ์ ันไพบูลย์ มีสขุ เปน็ ผล. 79 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๒๙ แม่น้ำไมด่ มื่ กนิ นำ้ ของตัวเอง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ธรรมทานเลิศ กว่าทานทง้ั ปวง๑ พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ หลวง พ่อธัมมชโย เคยให้โอวาทไว้ว่า ให้อะไรจะประเสริฐ เท่ากับให้หนทางแห่งความสุขท่ีแท้จริงแก่ชาวโลกนั้น ไม่มี ภิกษทุ ำหน้าทีร่ ะดมธรรม ทานบดีทำหน้าทรี่ ะดม ทนุ สองฝา่ ยตา่ งเกือ้ กูลซ่ึงกนั และกัน สนั ติสขุ ย่อมเกิด ข้ึนแก่โลก ทรัพยข์ องทา่ นทานบดที ง้ั หลาย ท่ีได้สละสรา้ ง ทานบารมีในวนั นี้ เป็นทรพั ย์ทีม่ ีประโยชนต์ ่อชาวโลก อย่างแทจ้ รงิ เหมอื นแมน่ ำ้ ไม่ด่มื กนิ น้ำของตวั เอง แต่ ๑ พลสตู ร มก.๓๗/๗๒๑ , มจ. ๒๓/๔๓๙ 80 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทงิ ใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) เปน็ ประโยชน์ต่อชาวโลก ให้ได้อาบได้ด่ืมกนิ ต้นไม้ทีม่ ี ผลไม้ ไม่กินผลไม้ของตนเอง แตม่ ีไวเ้ พ่อื แจกจ่าย ทรัพย์ของท่านทานบดีท้ังหลาย จึงเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งแก่ตนเองและชาวโลก ต่างจากผู้ ขาดกัลยาณมิตร ไม่พบแสงสว่างแห่งชีวิต มีความ ตระหนี่หวงแหน มีทรัพย์ก็ใช้จ่ายสนุกสนานเพลิด เพลิน ใช้ชีวิตหมดไปวันหนึ่งคืนหนึ่ง ทรัพย์ชนิดน้ัน เรียกว่า ทรัพย์ทุรพลภาพ มีอยู่ก็หมือนไม่มี ไม่มี ประโยชนต์ ่อตนเองและผ้อู ่ืน. 81 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๓๐ ทานเปน็ เครอื่ งหล่อเลย้ี ง พระพทุ ธศาสนา พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคลผู้ใดให้ โภชนะเปน็ ทาน๑ ไดช้ ่ือว่าใหฐ้ านะ ๕ ประการแก่ ปฏิ คาหก ผู้ให้ก็ย่อมได้รับฐานะทั้ง ๕ ประการนั้นด้วย ฐานะ ๕ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ และ ปฏิภาณ พระเดชพระคณุ พระมงคลเทพมุนี หลวงปู่วดั ปากน้ำภาษเี จรญิ เคยใหโ้ อวาทไว้ว่า “ทานนี้เป็นเคร่ืองหล่อเลี้ยงพระพุทธศาสนา ไว้ ถ้าปราศจากการให้ทานแล้ว ศาสนาก็ไม่มีเครื่อง หล่อเลี้ยง ต้องแตกสลายไป ดบั ไป หายไป โลกจะอยู่ ๑ โภชนทานสูตร มก. ๓๖/๘๕ , มจ. ๒๒/๕๘ 82 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) ร่มเย็นเป็นสุขก็เพราะทาน การให้ในทางพระพุทธ- ศาสนา ท่านจงึ ไดว้ างเปน็ ตำราไวว้ ่า ทาน แปลวา่ การใหค้ วามสขุ ซึง่ กนั และกนั พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ ปรากฏขึน้ ไดเ้ พราะอาศัยทาน พระพทุ ธเจา้ ถา้ วา่ ไมไ่ ดเ้ สวยขา้ วของนางสชุ าดา ๔๙ ก้อนน้ัน ก็ไม่ได้พุทธานุภาพเสียแล้ว แตกสลาย เสียแล้ว มนุษย์ถ้าอยู่ในพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ ส่ิงหนึ่งสิ่งใดก็มาทำอันตรายไม่ได้ เพราะ ฉะน้ัน ผู้ให้ทานพึงตั้งใจอธิษฐานว่าด้วยอาหารนี้ ให้ รักษาพุทธานภุ าพ ธรรมานุภาพ สงั ฆานุภาพไว้.๒” ๒ภตั ตานุโมทนากถา ๔ ๑๖ มกราคม ๒๔๙๘ 83 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทงิ ใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๓๑ พระพทุ ธศาสนาดำรงอยูไ่ ด ้ ดว้ ยทาน เมล็ดพืชแม้มีขนาดเล็ก ยังเจริญเติบโตเป็นไม้ ใหญ่ได้ ฉันใด ทานแม้เพียงเล็กน้อยท่ีหว่านลงใน พระพุทธศาสนา ย่อมเจริญงอกงามเกินกว่าจะคาด คำนึงได้ ฉนั น้นั พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี หลวงปู่ วัดปากน้ำภาษีเจริญ ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายเคยให้ โอวาทไว้ว่า พระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า กว่าจะได้ เป็นพระพุทธเจ้าข้ึนได้ ทว่าไม่ฉันข้าวของนางสุชาดา ๔๙ ก้อนน้ัน ก็ไม่ได้พุทธานุภาพเสียแล้ว แตกสลาย เสียแลว้ นั้นก็เพราะอาศยั ขา้ วมธุปายาส ๔๙ กอ้ นฉัน แลว้ ได้เปน็ พระพุทธเจา้ 84 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บันเทิงใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) ทา่ นทานบดีทง้ั หลาย การถวายภัตตาหารเปน็ สังฆทานน้ัน มีอานุภาพที่ย่ิงใหญ่ เกินประมาณ เพราะภัตตาหารเหล่าน้ันได้แปรเปล่ียนมาเป็นเลือด เปน็ เนือ้ เปน็ ชวี ิตของพระภิกษุสามเณร ผเู้ ป็นอายุของ พระพุทธศาสนา ทำให้พระพุทธศาสนาดำรงอยู่ได้ ทำให้สนั ตสิ ุขดำรงอยู่คโู่ ลกสืบไป ทานของท่านทานบดีจึงเป็นทานท่ีย่ิงใหญ่ ประดุจการหว่านพืชในเนื้อนาอันอุดม ให้ไม้ใหญ่ เติบโตเป็นร่มเงาแก่สรรพสัตว์ท้ังหลายให้พ้นภัยใน วัฏสงสาร. 85 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๓๒ ทานเปน็ ต้นเหตุของความสขุ การให้ทาน ปราชญก์ ล่าวว่า เป็นตน้ เหตขุ อง ความสุข เป็นที่ตั้งแห่งบันไดท่ีนำไปสู่พระนิพพาน เป็นเคร่อื งปอ้ งกันภัยของมนษุ ย์ การให้ทาน ท่านแสดงว่าเป็นนาวา เพราะ เปน็ เครอ่ื งชว่ ยขา้ มทุกข์ การใหท้ าน ทา่ นสรรเสริญวา่ เปน็ นคร เพราะ ป้องกันภยั ในสังสารวฏั การให้ทาน ท่านกล่าวเป็นอสรพิษ เพราะ ความโลภเข้าใกลไ้ ดย้ าก 86 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทงิ ใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) การให้ทาน เป็นดงั ดอกปทุมทีน่ ้ำซึมซาบไม่ได้ ประดุจมลทนิ คือโลภะ ฉาบทาไมไ่ ด ้ การให้ทาน เป็นความสุขของผู้เอาชนะความ ตระหนี่ได้ เพราะคนส่วนใหญ่มักถูกความตระหน่ี ครอบงำ แต่เม่ือใดเราได้กำจัดความตระหนี่หวงแหน ออกไป ดว้ ยความหวังว่า สง่ิ ที่ให้ไปแลว้ จะก่อให้เกิด ประโยชน์ ความสุขจะบังเกดิ ขนึ้ กระแสแหง่ บญุ ก็จะ เข้ามาแทนท่ีความตระหนี่ที่หมักหมมอยู่ในใจ การ เสียสละ การดำรงตนอยู่ในสถานะของผู้ให้ จึงเป็น สัญลกั ษณข์ องผู้มชี ยั ชนะอนั ประเสริฐ ท่านทานบดีทั้งหลาย ได้พร้อมใจกันเป็น สมานฉันท์มาสั่งสมบุญ ด้วยการถวายภัตตาหารเป็น สังฆทานแก่คณะสงฆ์หมู่ใหญ่ ซึ่งเป็นเน้ือนาบุญอัน เลิศ ไม่มีนาบุญอ่ืนยิ่งกว่า ย่อมได้บุญมาก เปรียบ เหมือนชาวนาผู้ชาญฉลาด ได้หว่านข้าวกล้าลงในผืน นาอนั อดุ ม ย่อมอำนวยผลอันไพบลู ย์. 87 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทิงใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) บทท่ี ๓๓ การใหท้ านของสัตบรุ ุษ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ตรัสว่า การให้ทานของ สตั บรุ ษุ คอื การใหข้ องคนดี คนมีปัญญา ฉลาดใน การดำเนินชีวติ มี ๕ ประการ คอื ๑. สัตบรุ ุษยอ่ มใหท้ านด้วยศรัทธา คือ ให้ ด้วยความเช่ือในผลของทานว่า ทานท่ีให้แล้วมีผลไม่ สูญเปล่า ๒. สัตบรุ ุษย่อมใหท้ านดว้ ยความเคารพ คือ เคารพในวตั ถทุ านท่ีถวาย และ เคารพในผรู้ ับทาน ๓. สตั บรุ ุษย่อมให้ทานตามกาล คอื ให้ใน เวลาทีส่ มควร ให้ตรงตามกาลที่ผูร้ บั ต้องการ 88 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบันเทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเล่ม) ๔. สตั บุรุษย่อมใหท้ านดว้ ยจติ อนเุ คราะห์ คือ จิตประกอบด้วยความกรุณา ปรารถนาให้ผู้รับพ้น จากความทกุ ข์ ๕. สัตบุรุษให้ทานโดยไม่กระทบตนและผู้อื่น คือ การให้โดยไม่ทำลายคุณความดีของตน ไม่ผิดศีล ไมผ่ ดิ ธรรม ไมท่ ำใหต้ วั เองและผูอ้ ื่นเดือดรอ้ น ผู้ให้ของชอบใจ๑ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของ เลิศ ย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของประเสริฐ ย่อมเข้าถึง ฐานะอันประเสริฐ นรชนใด ให้ของเลิศ ให้ของดี และให้ของ ประเสริฐ นรชนนนั้ จะไปเกดิ ณ ที่ใดๆ ยอ่ มมอี ายยุ ืน มียศ. ๑ มนาปทายสี ตู ร มก. ๓๖/๑๐๐ , มจ. ๒๒/๖๙ 89 www.kalyanamitra.org
ร่าเรงิ บันเทงิ ใจด้วยสมั โมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทท่ี ๓๔ ผใู้ หย้ อ่ มเปน็ ท่รี ัก พระบรมโพธิสัตว์เคยกล่าวไวว้ ่า หมู่ญาติยิง่ มี มากยิ่งดี๑ แม้หมู่ไม้เกิดในป่าใหญ่เป็นการดี เพราะ ต้นไมท้ ี่ต้งั อยโู่ ดดเดี่ยว แมจ้ ะเป็นไมใ้ หญ่ ยอมถูกแรง ลมโคน่ ได้ พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธ์ิ หลวง พ่อธัมมชโยเคยให้โอวาทไว้ว่า บางคนเป็นท่ีรังเกียจ ของหมู่ญาติ๒ ไปอยู่กับใครเขาก็รังเกียจ เพราะใน อดีตไมเ่ คยสงเคราะหญ์ าติ และไมเ่ คยสงเคราะห์โลก แต่บางคนเปน็ ทรี่ ักของหม่ญู าติ แมไ้ ปอยูใ่ นท่ี ใดก็เป็นท่ีรักของชนทัง้ หลาย เพราะในอดตี สงเคราะห์ ญาตแิ ละสงเคราะหโ์ ลก ๑ รกุ ขธมั มชาดก มก. ๕๖/๑๙๙ , มจ. ๒๗/๓๑ ๒ Case Study ครง้ั ที่ ๙๑๔ วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๙ 90 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจดว้ ยสมั โมทนียกถา (รวมเล่ม) ท่านทานบดีทั้งหลาย พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรสั ว่า ผ้ใู หท้ านย่อมไดอ้ านสิ งส์ ๕ ประการ๓ ๑. ย่อมเป็นท่รี ักของชนเปน็ อันมาก ๒. คนดยี ่อมคบหา ๓. ช่ือเสียงอันดีงามย่อมขจรขยายไปท่ัว สารทิศ ๔. ย่อมเข้าสู่ท่ีประชุมชนอย่างผู้องอาจ กล้า หาญ ๕. เมื่อละโลกแลว้ ยอ่ มเขา้ ถึงสุคติโลกสวรรค์ ๓ สีหสูตร มก. ๓๖/๗๙ , มจ. ๒๒/๕๔ 91 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) บทที่ ๓๕ ปฏิบตั สิ ะดวก บรรลุไดเ้ ร็ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคลท่ีปฏิบัติ ลำบาก๑ บรรลไุ ด้เร็วกม็ ี บรรลุไดช้ า้ ก็มี บุคคลที่ปฏิบตั ิสะดวก บรรลุไดเ้ ร็วก็มี บรรลุ ได้ชา้ ก็ม ี ในบรรดาบุคคลเหล่าน้ี บุคคลท่ีปฏิบัติสะดวก บรรลไุ ด้เร็ว เป็นเลศิ พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธ์ิ หลวง พ่อธัมมชโย เคยให้โอวาทไว้ว่า บุคคลที่ปฏิบัติลำบาก เพราะในอดีตสง่ั สมทานกศุ ลมานอ้ ย บรรลุได้ช้าเพราะ ปฏบิ ตั สิ มาธภิ าวนามาน้อย ๑ วิตถาวรสูตร มก. ๓๕/๓๘๖ , มจ. ๒๑/๒๒๖ 92 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบนั เทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเล่ม) สว่ นบคุ คลปฏิบัติสะดวก เพราะในอดตี ส่ังสม ทานกศุ ลมามาก บรรลไุ ดเ้ รว็ เพราะปฏบิ ตั สิ มาธภิ าวนา มามาก การให้ทานจึงเป็นประโยชน์เกื้อกูลกับชีวิตใน ทางโลก แม้ชีวิตในทางธรรม คือผู้ปรารภความเพียร เพอื่ ความหลดุ พ้นจากกองทกุ ข์ ก็ตอ้ งอาศยั ทานกุศลที่ ตนไดเ้ คยส่งั สมเอาไว้. 93 www.kalyanamitra.org
บทสัมโมทนียกถา หมวดบญุ www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๓๖ ความปล้มื ปีติเปน็ ทางมาแห่งบญุ ในสมัยพุทธกาล ในวันฉลองวิหาร มหา อบุ าสกิ าวสิ าขาเปล่งอุทานด้วยเสยี งไพเราะ ภกิ ษทุ ้งั หลายไดย้ นิ คดิ ว่านางร้องเพลง จึงทลู ถามพระบรมศาสดา พระองค์ตรัสว่า ธิดาของเราไม่ได้ร้องเพลง แต่เธอดีใจว่าความปรารถนาท่ีจะถวายมหาทานท่ี ต้ังใจไว้ ถึงท่ีสุดแล้ว จึงเดินเปล่งอุทานด้วยความปลื้ม ปีติ พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธ์ิ หลวง พ่อธัมมชโย เคยให้โอวาทไว้ว่า เราใช้บุญเก่ากันไปทุก วัน บุญก็จะหมดลงไปเร่ือยๆ ด้วยเหตุน้ีเขาจึงมีคำว่า 95 www.kalyanamitra.org
รา่ เริงบันเทงิ ใจดว้ ยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) “บุญหมด” พอบุญหมดก็หมดสิทธ์ิ ใช้ในทุกสิ่ง เพราะฉะน้ันเราต้องส่ังสมบุญเอาไว้มากๆ และเมื่อ ส่ังสมบุญแล้วเราต้องรู้สึกปลื้มปีติ เพราะความปลื้ม ปตี ิ สามารถยงั ความสงบกายสงบใจให้เกดิ และยอ่ ม ยังสมาธใิ หเ้ กดิ การทำบุญจนเกิดความปล้ืมปีติ เป็นการ ทำบุญอย่างถูกหลักวิชชา เพราะหากปลื้มมากปีติ มาก จะมีผลทำให้บุญส่งผลได้เร็ว หากปลื้มแล้วยัง ระลึกนึกถึงบุญได้บ่อยคร้ังมากเท่าไร ก็มีผลต่อ จำนวนชาตทิ สี่ ง่ ผลไดม้ ากชาติขนึ้ เทา่ น้นั การทำบุญแล้วปล้ืมปีติเช่นนี้ ยังเป็นต้นบุญ ต้นแบบให้แก่คนรอบข้าง เพราะเราก็จะพูดให้เขา ฟังได้อย่างองอาจ สิ่งน้ีจะเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้ท่ี ได้ฟัง เพราะถ้อยคำใดที่มาจากการกระทำที่แท้จริง ของเรา ถ้อยคำนั้นจะมีพลังไม่มีที่ส้ินสุด มีพลังใน การเปลี่ยนแปลงชวี ิตใหม่ของผฟู้ งั ไมว่ ่าจะเป็นใครถา้ 96 www.kalyanamitra.org
รา่ เรงิ บนั เทิงใจด้วยสัมโมทนียกถา (รวมเลม่ ) ได้ยินได้ฟัง ก็จะเกิดแรงบันดาลใจให้กับผู้ที่ได้ฟัง อยากทำบา้ ง เม่อื นน้ั เรากจ็ ะอยใู่ นฐานะเป็นต้นบญุ ให้ เขา เราก็เป็นผู้ท่ีได้บุญอย่างเต็มท่ีไม่ตกไม่หล่น เพราะเราไดท้ ำบุญอย่างถูกหลักวชิ ชา. 97 www.kalyanamitra.org
ร่าเริงบนั เทิงใจด้วยสมั โมทนยี กถา (รวมเลม่ ) บทที่ ๓๗ อานสิ งสข์ องการทำบุญบอ่ ยๆ และนึกถงึ บญุ บอ่ ยๆ บญุ คอื เครอื่ งชำระลา้ งจติ ใจใหส้ ะอาด บรสิ ทุ ธิ์ ผ่องใส บุญน้ันควรทำบ่อยๆ บุคคลใดส่ังสมบุญอยู่ เป็นประจำทุกวนั ทกุ สัปดาห์ ทุกเดือน ย่อมมีอานสิ งส์ ทำใหบ้ าปอกุศลเข้าแทรกในจิตใจไดย้ าก หากทำบุญบ่อย ๆ แล้วยังตามระลกึ นกึ ถงึ บุญ บ่อยๆ ย่อมมีอานิสงส์ทำให้บาปอกุศลที่เคยผิดพลาด ทำมาในอดีต ไม่ได้โอกาสส่งผล และยังเป็นเหตุให้ไป ดึงเอาผลของบุญกุศล ความดีท่ีเคยส่ังสมไว้ในอดีต มาตามใหผ้ ลอยา่ งต่อเนอ่ื ง 98 www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304