การเจริญสมาธิในวัตถุประสงค์ประการที่ ๑ นี้ ผู้ปฏิบัติ ต้องปฏิบตใหได้ถึงขั้นอัปปนาสมาธิ คือบรรลุฌานที่ ๑-๔ อย่าง แคล่วคล่องชำนาญที่เรียกว่ามี \"วสิ๕'\"ผู้!ต้เรียกว่าเป็น\"ฌานลๆภี บุคคล\" อย่างแท้จริง เพราะจะเข้าฌานเพื่อสงบระงับความ กระวนกระวายกายใจ เพื่อความสุขสงบกายใจเมื่อใด ก็สามารถ เข้าฌานไต้ท้นทีตามต้องการ ดังเช่นที่พวก ฤๅษี ดาบส นิยมใข้กัน และยังเป็นบาทฐานในการทำฤทธี้ต่างๆอีกด้วยหากพอใจติดใจเพียง ขั้นนี้ก็จัดเป็น \"เปลือก\"ของพรหมจรรย์ คือ เปลือกของมรรคผล แต่ถ้าต้องการให้เป็นบาทฐานวิปัสสนาเพื่อกำจัดอาสวะ กิเลส ก็ต้องเปลี่ยนฐานที่ตั้งใจ โดยให้นำฌานที่ไต้มาตั้งไวั ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ดังกล่าวแล้ว ใร!. สมาธิภาวนาที่บุคคลเจริญทำให้มากแล้วย่อมเป็นไป เพื่อได้ญาณห้สสนะ® เนื่องจากการบำเพ็ญสมาธิภาวนาในวัตถุประสงค์ประการที่๑ ผู้บำ เพ็ญมีประสบการถเไนเรื่องแสงสว่างภายในอันเกิดจากการ รวมเป็นหนึ่งของดวงจิดแล้ว ดังนั้น ถ้าพากเพียรบำเพ็ญฌาน ๔ รอบแล้วรอบเล่า ความสว่างย่อมทวีปริมาณยิ่งๆ ขึ้นอีก ย่อมจะ เอื้อให้ผู้บำเพ็ญภาวนาเกิดญาณท้สสนะ หรีอทีพยจักขุญาณ มี ดาทิพย์อันบริสุทธ สามารถเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำ ลังเกิด ทั้ง ข้นตั้าและขั้นสูง ทั้งงามและไม่งาม เกิดดีและเกิดไม่ดี สามารถรู้ ข้ดถึงหมู่ลัดว์ผู้เป็นไปดามกรรมว่า สมาธิภาวนาสูตร ะ อัง.จตุกก.(ไทย)๒๑/๔๑/๖๙ ทุฑรประาผ ฉบับการส์นฟูสิล!โรรมโลก ^ ๑๙๐ บฑฑึ๋ ๙ อานุภาพแท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
\"หมู่สัตว์ที่ประกอบกายทุจริตวจีทุจริตและมโนทุจริต กล่าวร้ายพระอริยะ มีดวามเห็นผิต และชักชวนผู้อื่นให้ ทำ กรรมตามความเห็นผิต พวกเขาหสังจากตายแล้ว จะ ไปเกิตในอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แตํหมู่สัตว์ที่ประกอบกายสุจริตวจีสุจริตและมโนสุจริต ไม่กล่าวร้ายพระอริยะ มีความเห็นชอบ และชักชวนผู้อื่น ให้ทำกรรมตามความเห็นชอบ พวกเขาหสังจากตายแล้ว จะไปเกิตในสุคติโลกสวรรค์''^ การบำเพ็ญสมาธิภาวนาเพื่อได้ญาณทัสสนะนี้ แม้ผู้บำเพ็ญ จะได้ญาณหัสสนะ มีตาทิพย์สามารถเห็นความเป็นไปของสัตว โลกตามกฎแห่งกรรม ซึ่งเป็นความสามารถพิเศษเหนือมนุษย์ ปุถุชนโตยทํ่วไปก็ตาม ถ้าเปรียบกับด้นไมีใหญ่ ก็เปรียบได้กับ \"กระพี้\" เท่านั้น กังไม่ใช่แก่นไม้ อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ต่างๆ เหล่านี้ ย่อมส่งเสริมให้ผู้ บำ เพ็ญ มีแรงปันตาลใจ ภูมิปัญญา และภูมิธรรมสูงขึ้นอีกมาก ซึ่งนอกจากจะช่วยให้ผู้บำเพ็ญสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างถูกด้อง เหมาะสม และมีความสุขแล้ว กังจะเป็นบาทฐานอันแข็งแกร่งใน การบำเพ็ญเพียรเพื่อการกำจัตอวิชชาสวะต่อไปอีกด้วย ๓. สมาธิภาวนาที่บุคคลเจริญทำให้มากแล้วย่อมเป็นไป เพื่อเพิ่มพูนสติสัมปชัญญะ^ ®> สัมปสาทนียสูตร ะ ที.ปา.(ไทย)๑๑/๑๔๙/๑๑๙ ^ สมาธิภาวนาสูตร ะ อัง.จตุกก.(ไทย)๒๑/๔๑/๖๙ ฑฑธป'!ะวัสิ ฉบับกา'!ส์นฟสืลธรรมโลก ๑«'๑ น*•ฑี๋ of อานุกาพนทํงการลรัลรู้ www.kalyanamitra.org
การบำเพ็ญสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มพูนสติสัมปชัญญะ ก็คือ การบำเพ็ญฌาน ๔ ที่แก่รอบยิ่งกว่าในระดับที่ ๒ ดังนั้น ความ สว่างที่ศูนย์กลางกายของผู้บำเพ็ญจึงทวีปริมาณยิ่งขึ้น ซึ่งมีผล ให้ผู้ปาเพ็ญรู้แจ้งถึงการเกิดขึ้นของเวทนา คือความรู้สึกเป็นสุข เป็นทุกข์ และไม่สุขไม่ทุกข์ที่แทรกซ้อนขึ้นมาในจิตใจที่กํๆสัง หยุดนิ่งของตน รู้แจ้งถึงภาวะที่เวทนาทั้ง ๓ ยังตั้งอยู่ แต่เมื่อ สามารถรักษาใจให้หยุดนิ่งเป็นสมาธิต่อไปไดั เวทนาทั้ง ๓ จึงดับ ไปดัวยอำนาจสมาธิก็รู้แจ้งว่าเวทนาดับไป นอกจากเรื่องเวทนาแล้ว ผู้ปาเพ็ญสมาธิยังรู้แจ้งถึงการ เกิดขึ้นของสัญญา คือความจำไดัหมายรู้ในบุคคล สิ่งของ และ เหตุการถไต่างๆ เป็นดัน ขณะที่ปาเพ็ญเพียร เมื่อสัญญาเกิดขึ้นก็ รู้แจ้งสัญญาที่เกิดแทรกซ้อนขึ้นในสมาธิของตน จึงเพียรรักษาจิต ให้เป็นสมาธิอย่างต่อเนิ่อง ครั้นเมื่อสัญญาดับไปดัวยอำนาจสมาธิ ก็รู้แจ้งว่าสัญญาดับไป นอกจากเรื่องเวทนาและสัญญาแล้ว ขณะที่บำเพ็ญเพียร ผู้บำ เพ็ญยังรู้แจ้งถึงการเกิดของวิตก คือ อกุศลวิตก ไดัแก่ ความ นึกคิตที่ไม่ดีมี ๓ อย่าง คือ ๑)กามวิตก ๒)พยาบาทวิตก และ ๓) วิหิงสาวิตก (คิดในทางเบียตเบียนผู้อื่น) ซึ่งเกิดแทรกซ้อนขึ้นมา ในจิตที่เป็นสมาธิ จึงเพียรรักษาจิตให้เป็นสมาธิแน่วแน่ต่อไปอีก ครั้นเมื่อวิตกดับไปดัวยอำนาจสมาธิ ผู้ปาเพ็ญก็รู้แจ้งว่าวิตกดับไป ความรู้แจ้งต่างๆ ดังกล่าว ซึ่งเกิตขึ้นขณะกำสังปาเพ็ญ ภาวนานี้ เมื่อเกิดขึ้นมากๆ ย่อมส่งเสริมให้ผู้ปาเพ็ญมีสติ สัมปชัญญะดียิ่งขึ้น ซึ่งจะอำนวยผลดีต่อการปาเพ็ญเพียรใน ทุทธประวัต ฉบับการฟ้นฟูสิลธรรมโลก ^ ©ffllo บฑฑึ๋ ๔ อาพุาพแท่งการครัสรู้ www.kalyanamitra.org
ระดับต่อไป อย่างไรก็ตามผลการบำเพ็ญสมาธิภาวนาในระดับนี้ ถ้าเปรียบกับดันไ3Jใหญ่ ก็เปรียบไดักับกระพี้ชั้นใน หรีอกระพี้ที่ แกร่งยิ่งขึ้นเท่านั้น แต่ยังไม่ใช่แก่น ๔. สมาธิภาวนาที่บุคคลเจริญทำให้มากแล้วย่อมเป็น ไปเพื่อความสินอาสวะ® การบำเพ็ญสมาธิภาวนาเพื่อความสิ้นอาสวะ เป็นการ บำ เพ็ญฌาน ๔ ที่แก่รอบยิ่งกว่าในระดับที่ ๓ จิตจึงเป็นสมาธิยิ่งขึ้น ความสว่าง ณ ศูนย์กลางกายก็ทวีขึ้นอีกมากมาย ผู้บำ เพ็ญจึง สามารถเห็นความเกิตขึ้นและความเสื่อมไปของขันธ์ ๕ อันเป็นที่ ตั้งแห่งอุปาทาน คือ ความยึตมั่นถือมนดัวยอำนาจกิเลส ซึ่งมีครบ ทั้ง ๕ ขันธ์ คือ ความเกิด และความดับของรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ความสว่างอันเกิตจากการบำเพ็ญสมาธิภาวนาที่แก่รอบยิ่งขึ้น ย่อมเอื้อให้ผู้บำเพ็ญเกิตปัญญาสามารถขจัตอุปาทานให้หมตไป จากใจโตยสิ้นเชิง ซึ่งมีผลให้ผู้บำเพ็ญสิ้นอาสวะทั้งปวงในที่สุต ผลการบำเพ็ญสมาธิภาวนาในระดับที่ ๔ นี้ ถ้าเปรียบกับดันไม้ ใหญ่ย่อมเปรียบไดักับ \"แก่นไม้\"ฉะนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไดัตรัสถึงความหมายของสมาธิภาวนา ทั้ง ๔ระดับ'°นี้ใว้เป็นเชิงสรุปว่า ® สมาธิภาวนาสูตร ะ อัง.จตุกก.(ไทย)๒๑/๔๑/๖๙ ^ สมาธิภาวนาสูตร ะ อัง.จตุกก.(ไทย)๒๑/๔๑/๗๐ พุทธประวัสิ ฉบับทารส์นฟูสิรธรรมโลก ^ ®1*๓ ^ บทที อานุภาพแท่งกๆ'!ดรัรรู้ www.kalyanamitra.org
\"บุคคลใด^งสูงตา\"' ในโลก'ปี ไม่มีกิเลสเป็นเหตุให้หวั่นไหว'\" ในโลกไหนๆ\"^ เรากล่าวว่า บุคคลเป็นผู้สงบ'^ ไม่มีควันคือความโกรธ ไม่มีกิเลสกระทบจิต ไม่มีความหวัง ข้ามพ้นชาติและชราได้แล้ว\" สาระสำคัญของพุทธพจน1นตอนท้ายนี้ อาจกล่าวโดยสรุป ได้ว่า บุคคลที่รู้จักสภาพชีวิตทั้งของตนเองและ^นอย่างถูกด้อง ตามความเป็นจริง ย่อมไม่ตกอยู่ใด้อำนาจกิเลสทุกประเภท ทุกกรณี ย่อมสามารถหลุดพ้นจากวัฏสงสาร ผู้กล่าวคู่พระสัมมาส้มพุทธเจ้า ในสมัยก่อนพุทธกาลจนถึงสมัยพุทธกาล มีบัณฑิตนัก ปราชญ์มากมายต่างแสวงหาธรรม เพื่อพาตนให้พ้นจากความทุกข์ และความกลัวจำนวนมากมายด้วยวิธีการหลากหลายแตกต่างคันไป แต่ก็ไม่ปรากฏว่ามีผู้Iดพบธรรม เห็นอริยสัจ ๔ หรือบรรลุอาสวัก- ขยญาณด้งเช่นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า • , ® สิงสูงตํ่า ในที่นี้หมายถึง อัตภาพของผู้อื่นและอ้ตภาพของตน ^ โลก ในที่นี้หมายถึง สัตวํโลก ไม่มีกิเลสเห็นเหตุให้หวั่นไหวนี้หมายถึงไม่มีกิเลสเป็นเหตุให้หวั่นไหว ๗ประการ คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ กิเลส และทุจริต ในโลกไหนๆ ในที่นี้หมายถึง ขันธ์ อายตนะ ธาตุ และอารมณ์ เป็นผู้สงบ หมายถึง สงบกิเลสที่เป็นข้าศึก พุทธประว« ฉบับการฟ้นฟูสืลธรรมโลก ๑๙๔ บทที่ ๔ อา!บุฑพนห่งการครัลเ www.kalyanamitra.org
ด้วยเหตุนี้ เมื่อพระพุทธองค์ทรงประกาศพระศาสนา และ มีผู้มาสมัครเป็นสาวกจำนวนมาก จึงเป็นเหตุให้นักบวชนอก พระพุทธศาสนา และผู้ที่มิได้เป็นสาวก ต่างพากันกล่าววิพากษ์ วิจารณ์และคอยจ้องจับผิดเกี่ยวกับเรื่องญาณทัสสนะ พระธรรม เทศนา ตลอดจนความเป็นอยู่ของพระองค์ตลอดมา ซึ่งล้วน เป็นการกล่าวผิดจากความจริงทั้งสิ้น ด้งที่เรียกว่า \"กล่าวตู\" ผู้ที่กล่าวตู่พระตถาคตมี๒ จำ พวก® คือ ๑. คนเจ้าโทสะซึ่งมีโทษคือความคิดร้ายอยู่ภายในใจ ๒. คนที่เชื่อโดยถือความเห็นผิด ผู้กล่าวตู่จำพวกแรก คือ ผู้ที่มีความโกรธ ความเกลียด ความริษยา ย่อมหาทางจับผิดผู้ที่ตนไม่ชอบอยู่แล้ว หากหาข้อ บกพร่องที่จ้องจับผิดไม่ได้ ก็ใข้วิธีการใส่ความ กล่าวตู่ ด้องการ ให้เขาเสียหายด้วยอกุศลเจตนา คนแบบนี้ย่อมกล่าวตู่พระตถาคต เช่น สุนักขัตตลิจฉวี กล่าวว่า อุตริมนุสธรรมของพระสมณโคตม หามีไม่ ผู้ที่กล่าวตู่จำพวกที่ โอ คือ ผู้ที่มีศรัทธาแก่กล้า ด้วย ศรัทธาที่เว้นจากญาณและมีความเลื่อมใสอ่อนนั้นถือผิด ๆ ก็มัก กล่าวตู่พระตถาคต เช่นเป็นด้นว่า ขึ้นชื่อว่าพระพุทธเจ้านั้นเป็น โลกุตระทั้งพระองค์ พระอาการ ๓๒ มีพระเกศา เป็นด้น ของ พระองค์ล้วนเป็นโลกุตระทั้งนั้น คนพวกนี้ก็ชื่อว่า กล่าวตู่ คลาด เคลื่อนจากความจริง แต่เป็นไปด้วยกุศลเจตนา ซึ่งทำให้เกิดผลเสีย ต่อมาได้ ® พาลวรรคที่ ๓ สูตรที่ ๒ : อัง.ทุก.อ.(ไทย)๓๓/๒๖๘/๓๔๖ ¥{ฑรป'รรวัฬ ฉบับการฟ้นฟูสืลธ'ร'รมโลก ๑Of๕ บทกี่ ๔ อานุภาพนท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
ในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง คนที่ชอบกล่าวตู่พระตถาคต ประเภทแรก คือมีความโกรธอยู่ภายใน เช่น ปริพาชกชื่อ มาตัณฑิยะ กล่าวตู่พระพุทธองค์ว่า \"พระสมณโคดมเป็นผู้' ทำ ลายความเจริญ\"® นิครนถ์ชื่อ ฑืฆตปัสสี กล่าวตู่พระพุทธองค์ว่า \"พระสมณ โคดมเป็นคนมีมารยา รู้มายาเป็นเครื่องกลับใจพวกสาวกของ อัญเดียรถีย็ได้\"'\" เวขณสปริพาชก ขณะที่ไปเฝืาเพื่อสนทนาธรรมลับ พระพุทธองค์เขารูสึกโกรธไม่พอใจ พระดำรัสดอบของพระพุทธองค์ จึงตังใจจะทำให้พระองค์เสียหาย โดยกล่าวว่า \"สมณพราหมณ์ บางพวกในโลกนี้ ไม่รู้เงื่อนเบื้องตัน ไม่เห็นเงื่อนเบื้องปลาย แต่ ยังยืนยันอยู่ว่า ๚าติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำ กิจที่ควร ทำ เสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป' คำ กล่าว ของสมณพราหมณ์เหล่านั้นถึงความเป็นคำน่าห้วเราะ เป็นคำตาช้า เป็นคำเปล่า เป็นคำเหลวไหลทีเดียว'\"\" ยิ่งกว่านั้น แม่โอรสเจ้าลิจฉวี พระนามว่า สุนักขัตตะ ซึ่งลา สิกขาจากพระธรรมวินัยนี้ไปไม่นานนัก ยังได้กล่าวตู่พระพุทธ องค็ในชุมชน ณ กรุงเวสาลีว่า ® มาคัณทิยสูตร : ม.ม.(ไทย)๑๓/๒๐๗/๒๔๕ ^ อุปาลิวาทสูตร : ม.ม.(ไทย)๑๓/๖๐/๕๗ \" เวขณสสูตร : ม.ม.(ไทย)๑๓/๒๘๑/๓๓๕ พุทรป'รรวัด ฉบ้บการฟ้นฟูศลธร•รมโลก ๑พ๖ ^ บททึ๋ ๔ อานุภาพแท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
\"สมณโคดมไม่มีญาณทัสสนะที่ประเสริฐอันสามารถ'' วิเศษยิ่งกว่าธรรมของมนุษย์ ^ สมณโคดมแสดงธรรมที่ ประมวลด้วยความตรึก ที่ไดร่ดรองด้วยการด้นคิด แจ่ม แจ้งได้เอง ธรรมที่สมณโคดม แสดงเพื่อประโยชน์แก่บุคคล ย่อมนำไปเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบสำหรับบุคคลผู้ ปฎิป้ติดามธรรมนั้น\"\" สุนักขัดดะเป็นโมฆบุรุษ ในเช้าวันเดียวกับที่สุนักขัตตะกล่าวตู่พระพุทธองค์นั้น ท่าน พระสารีบุตรได้เขัาไปบิณฑบาตยังกรุงเวสาลี จึงได้สดับถ้อยคำที่ สุนักขัตตะกล่าวตู่ทั้งหมต ครั้นกลับจากบิณฑบาต ภายหลังฉัน ภัตตาหารเสร็จแล้ว ท่านพระสารีบุตรจึงเขัาไปกราบทูล ถึงเรื่องที่ สุนักขัตตะกล่าวตู่ให้ทรงทราบ พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า \"สารึบุดร โอรสเจ้าลิจฉวีพระนามว่า สุนักขัตตะ เป็นโมฆบุรุษ (คนโง่เขลา) มักโกรธ เธอกล่าววาจานั้น เพราะความโกรธสุนักขัตตะโมฆบุรุษคิดว่า'จ้กกล่าวติเตียน' แด'กอับสรรเสริญคุณของตถาคตอยู่นั้นแล แท้จริงขัอที่ บุคคลจะพึงกล่าวอย่างนี้ 'ธรรมที่สมณโคดมแสดงเพื่อ ® ญาณฑัสสนะที่ประเสริฐอ้นสามารถ หมายถึง โลกุตตรปัญญาอ้นประเสริฐ บริสุทธิ้ สูงสุด สามารถกำจัดกิเลสได้ ^ ธรรมของมนุษย์ในที่นี้หมายถึง กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ มหาสีหนาทสูตร: ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๔๖/๑๔๑ ทุทรประาฬ ฉบับการฟ้นฟูศลธรรมโรก ^ ๑«'๗ ^ บทที อาโนุฑพแท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
ประโยชน์แก่บุคคล ย่อมนำไปเพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบ สำ หรับบุคคลผู้ปฏิบัติตามธรรมนั้น' เป็นการกล่าว สรรเสริญคุณของตถาคต\"^ ครั้นแล้วพระพุทธองค็ได้ตรัสแสดงคุณวิเศษเหนือมนุษย์ ของพระพุทธองค์ที่สุนักขัตตะย้งไม่รูอีกหลายเรื่องด้งนี้ \"สุนักขัตตะโมฆบุรุษไม่มีปัญญารู้ธรรมในตถาคตว่า 'แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นพระ อรหันต์ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโตยชอบเพียบพรัอมด้วยวิชชา และจรณะ เสด็จไปดีรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฟืกผู้ที่ควรฟืกได้ อย่างยอตเยี่ยม เป็นศาสดาของเทวตาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระผู้มีพระภาค' สุนักขัตตะโมฆบุรุษจ้กไม่มีปัญญารู้ธรรมในตถาคตว่า 'แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรงแสดงฤทธ ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวแสดงเป็นหลายคนก็ได้หลายคน แสดงเป็นคนเดียวก็ได้ แสดงให้ปรากฏหรือให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงและภูเขาไปไดีไม่ติดขัดเหมีอนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นหรือดำลงในแฝนตินเหมีอนไปในนั้าก็ได้ เตินบนนั้า โดยที่นั้าไม่แยกเหมีอนตินก็ได้ ใช้ฝามีอลูบคสำตวงจันทร์ และตวงอาทิตย์อันมีฤทธมาก มีอานุภาพมากก็ได้ ใช้ อำนาจทางกายไปจนถีงพรหมโลกก็ได้' «> มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๔๗/๑๔๒ ทุทธประวัติ ฉบับการฟินฟูศลธรรมโลก ^ ๑«'๘ บฑฑี ๔ อานุภาพนห่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
สุนักขัตตะโมฆบุรุษจักไม่มีปัญญารู้ธรรมในตถาคตว่า าเม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรงสดับเสีย ๒ชนิด คือ๑)เสียงทิพย์๒)เสียงมนุษย์ทั้งที่อยูไกลและอยู่ ใกล้ด้วยหูทิพย์อันบริสุทธิ้เหนือมนุษย์ สุนักขัตตะโมฆบุรุษจักไม่มีปัญญารู้ธรรมในตถาคตว่า าเม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นทรงกำหนด รู้ใจของสัตว์และบุคดลอื่นดัวยใจ คือ จิตมีราคะก็รู้ว่า 'จิตมีราคะ' หรือจิตปราศจากราคะก็รู้ว่า 'จิตปราศจากราคะ' จิตมีโทสะก็รู้ว่า 'จิตมีโทสะ' หรือจิตปราศจากโทสะก็รู้ว่า 'จิตปราศจากโทสะ' จิตมีโมหะก็รู้ว่า 'จิตมีโมหะ' หรือจิต ปราศจากโมหะก็รู้ว่า 'จิตปราศจากโมหะ' จิตหดหูก็รู้ว่า 'จิตหตหู่' หรือจิตฟืงชำนก็รู้ว่า 'จิตฟืงชำน' จิตเป็น มหัคคตรf ก็รู้ว่า 'จิตเป็นมหัคคตะ' หรือจิตไม่เป็นมหัคค ตะก็รู้ว่า 'จิตไม่เป็นมหัคคตะ' จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่าก็รู้ว่า 'จิต มีจิตอื่นยิ่งกว่า' หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่าก็รู้ว่า 'จิตไม่มีจิต อื่นยิ่งกว่า' จิตเป็นสมาธิก็รู้ว่า 'จิตเป็นสมาธิ' หรือจิตไม่ เป็นสมาธิกรู้ว่า 'จิตไม่เป็นสมาธิ' จิตหลุตพ้นก็รู้ว่า 'จิตหสุตพ้น'หรือจิตไม่หลุดพ้นก็รู้ว่า'จิตไม่หสุตพ้น' ® มหัคคด หมายถึง เข้าถึงฌาน หรือถึงระดับวิกข้มภนวิมตติ คือ พ้นจากกิเลสและ อกุศลธรรมดัวยกำลังฌาน แต่เมื่อฌานเสื่อมกิเลสอาจเกิดขึ้นอีก เขียนอย่างสันสกฤต เป็นมหรคด ะ- พระราชวรมุนี(ประยุทธ์ ปยุดโด) พจนานุกรมทุทธศาสน์ ^ มหาสีหนาทสูดร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๔๗/๑๔๒-๑๔๓ ทฑรปรรวัติ ฉบบการส์นฟูสืลธรรมโลก ©ffl\"®\" มฑที๋ อานุภาพนท่งการตรัสรู้ « ^'' IP www.kalyanamitra.org
จากพุทธดำรัสที่แสดงแก่ท่านพระสารีบุตร เพื่อเป็นการเพิ่ม เติมในเรื่องที่ธุนักขัตตะยังไม่รูถึงคุณวิเศษของพระพุทธองค์ที่จบไปนี้ ย่อมทำให้เราท่านทั้งหลาย ซึ่งนอกจากจะได้รับความรู้เกี่ยวกับ คุณวิเศษเหล่านี้ ที่ไม่ใคร่ปรากฏในหนังสือธรรมะโตยทั้วไปแล้ว ยังจะเป็นเครื่องชี้ขัตถึงอานิสงส์ของสัมมาสมาธิที่บำเพ็ญเพียร อย่างอุกฤษฏ์ และมีประสบการณ์สูงสุต ว่าสามารถพ็ฒนาผู้ บำ เพ็ญซึ่งเคยเป็นปุถุชน ให้เป็นผู้ทรงคุณวิเศษ มีอานุภาพ เหนือมนุษย์เทวตา และพรหมทั้งหลายด้วยประการทั้งปวงอีกด้วย กำ ลังของพระตถาคต ๑๐ ประการ กำ ลังของพระตถาคต หมายถึง พระญาณเป็นกำลังของ พระพุทธเจ้า เรียกตามบาลีว่า ตถาคตพลญาณ มีอยู่ ๑๐ ประการ จึงเรียกว่า ทศพลญาณ(ทสพลญาณ ก็ได้) นอกจากการตรัสแสตงเกี่ยวกับคุณวิเศษต่างๆ ที่สุนักขัตตะ โมฆบุรุษไม่มีปัญญารู้แล้ว พระพุทธองค์ยังได้ตรัสแสตงแก่ท่าน พระสารีบุตรเกี่ยวกับทศพลญาณต่อไปอีก ทั้งนี้เพราะทศพล ญาณเป็นเหตุให้พระพุทธองค์ ปฏิญญาฐานะที่องอาจ คือทรง ประกาศยืนยันฐานะที่ประเสริฐสุตที่ทรงเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยการบ้นลือสีหนาท คือตรัสพระวาจาด้วยท่าทีองอาจด้งพญา ราชสืห์ ไม่ทรงหวั่นเกรงผู้Iต เพราะทรงมนพระกัยในศีล สมาธิ และปัญญาของพระองค์ ด้วยการประกาศพรหมจ้กรในหมู่สัตว์ ตลอตโลก ๓ และมารโลก ทุทธประวัติ ฉบับการฟ้นฟูสืลรรรมโลก ๒00 บททึ๋ ๙ อานุภาพนฟ่งการตรัสรู้ NT H, www.kalyanamitra.org
พรหมจักรนั้น หมายถึง ธรรมจักรอันประเสริฐยอดเยี่ยม บริสุทธี้๒ ประการคือ ปฏิเวรญาณได้แก่ ญาณระดับโลกุตดระ อัน แสดงถึงพระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจัา กับ เทสนาญาณ ได้แก่ ญาณระดับโลกียะ อันแสดงถึงพระมหากรุณาของพระพุทธเจัาที่ ดรัสเทศนาสั่งสอนบริษัททั้งหลาย ทศพลญาณ หรือกำอังของพระตถาคด ๑๐ ประการ®นั้น มี สาระสำ คัญโดยอังเขปด้งนี้ ๑. ตถาคดรู้ชดฐานะโดยเป็นฐานะ คือ รู้ชดถึงเหตุปัจจัยที่ ก่อให้เกิดผลต่าง ๆรู้ชัดอฐานะโดยเป็นอฐานะคือรู้ชัดจำสิงใดมิได้ เป็นเหตุปัจจัยที่ก่อให้เกิดผลต่าง ๆในโลกนี้ตามความเป็นจริง ๒. ตถาคตรูชัดถึงวิบากหรือผลของกรรมทั้งหลาย อย่าง ถูกด้อง เมื่อได้เห็นเหตุปัจจัยแห่งกรรมเหล่านั้น ทั้งในอดีต อนาคต และปัจจุบัน ตามความเป็นจริง ๓. ตถาคตรู้ชัดถึงการปฏิบัติที่ทำใหไปสู่สุคติหรือทุคติ ในภพชาติต่อไปตามความเป็นจริง ๔. ตถาคตรู้ชัดถึงธาตุ ๑๘ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นตัวตน ของบุคคลตามความเป็นจริง และเพราะเหตุที่ธาตุในด้วแต่ละคน มีอักษณะแตกต่างกัน จึงทำให้เกิดความแตกต่างระหจำงบุคคล ๕. ตถาคตรู้ชัดจำ หมู่สัตว์เป็นผู้มิอัธยาศัยต่างกัน ตาม ความเป็นจริง ® มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๔๘/๑๔๔-๑๔๘ าเแฑธประวัตํ ฉบบการส้นฟูสิลธรรมโสก ๒0® นทฑี๋ ๔ อานุภาพแห่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
๖. ตถาคตรู้ชัดถึงความหย่อนและยิ่งแห่งอินทรีย์ของ สัตวฑงหลายตามความเป็นจริง คือรู้ว่าสัตว์พวกไหนมีอินทรีย์คือ ศรัทธาอ่อนหรีอแก่กล้า พวกไหนมีจิตสัธยาศัยที่ทำให้สอนยาก หรีอสอนง่าย เป็นต้น ๗. ตถาคตรู้ชัตถึงความเศร้าหมอง คือธรรมฝ่ายเสื่อมที่ เป็นอุปสรรคต่อการเจริญฌาน ตามลำดับขั้นของผู้ที่ยังบำเพ็ญฌาน ไม่คล่องแคล่ว และรู้ชัตถึงความผ่องแผ้ว คือธรรมฝ่ายเจริญ ซึ่งมี คุณค่าต่อการเจริญฌานไห่ยิ่งขื้นไปของผู้ที่บำเพ็ญฌานไต้คล่องแคล่ว ลำ หรับทศพลญาณ ประการที่ ๗ นี้ แสตงให้เห็นชัดว่า พระพุทธองค์ทรงเชี่ยวชาญในการปฏิบัติสัมมาสมาธิอันประกอบ ต้วยองค์ ๗ เป็นอย่างยิ่ง จึงทรงรู้ชัดทั้งอุปสรรคของการเจริญฌาน และรู้ทั้งเทคนิควิธีที่ทำให้การเจริญฌานก้าวหน้าไปอย่างคล่องแคล่ว ๘. ตถาคตระลึกชาติในอคืตของพระองคืได้มาก- มายหลายชาติ ตั้งแต่ ๑ ชาติ จนถึง ๑๐๐,๐0๐ บัาง ตลอด สังวัฏฎก้ป คือก้ปฝ่ายเสื่อม ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาที่โลกกำสังพินาศบัาง ตลอตวิวัฏฏก้ป คือก้ปฝ่ายเจริญ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่โลกกำสังฟิน ขึ้นมาใหม่บัาง ตลอดทั้งสังวัฏฎก้ปและวิวัฎฎก้ปบัางพร้อมทั้ง อัตชีวประวิตในแต่ละชาติอย่างละเอียดพิสดาร ถึงขั้นจุติจากภพ หนึ่งแล้วไปบังเกิดในอีกภพหนึ่งก็รู้ชัตทีเดียว ๙. ตถาคตเห็นหมู่สัตว์ผู้กำสังจุติ (เคลื่อน) กำ สังเกิดทั้ง ขั้นตั้าและขั้นสูง งามและไม่งาม เกิดดีและไม่ดีต้วยดาทิพย์อัน บริสุทธิ้เหนือมนุษย์ รู้ชัดถึงหมู่สัดว์ผู้เป็นไปดามกรรมว่า ^หมู่ สัดว์ที่ประกอบกายทุจริด วจีทุจริด และมโนทุจริด กล่าวร้ายพระอริยะ ทุฑธประวัดํ ฉบับการฟ้นฟูสิลธรรมโลท ๒๐๒ ฆทที๋ ๔ อานุภาพแห่งการครัสเ www.kalyanamitra.org
มีความเห็นผิด และช้กชวน^นให้ทำตามความเห็นผิด พวกเขา หลังจากตายแล้วจะไปเกิดในอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แต่หมู่ ลัตว์ที่ประกอบกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต ไม่กล่าวร้าย พระอริยะ มีความเห็นชอบ และชักชวนผูอื่นให้ทำตามความเห็นชอบ พวกเขาหลังจากตายแล้วจะไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ๑๐.ตถาคตทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ ลันไม่มี อาสวะ เพราะอาสวะสิ้นไปด้วยปัญญาลันยิ่งเองเข้าไปถึงอยู่ใน ปัจจุบัน พุทธดำร้สชัอนี้ ย่อมแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ปัญญา ลันเกิดจากการบำเพ็ญลัมมาสมาธิลันประกอบด้วยองค์ ๗ นั่นเอง ที่ทำ ให้อาสวะกิเลสสิ้นไปจากพระทัยของพระองค์ ซึ่งพระองค็ใชั คำ ว่า เจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิต) เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิด เจโตวิมุตติก็คือ ปัญญาที่สามารถกำจัดอวิชชาให็สิ้นไป เนื่องจาก การเห็นแจ้งอริยสัจ ๔ ด้วยอำนาจความสว่างโพลงลันเกิดจาก สัมมาสมาธิ ซึ่งพระองคืใชัคำว่า ปัญญาวิมุตติ (ความหลุดพ้นด้วย ปัญญา)ด้งนั้น จึงกล่าวได้ว่า เจโตวิมุตติ และปัญญาวิมุตติ เป็น สิงที่เกิดคู่กันหรือพร้อมกัน มาถึงตรงนี้ท่านผู้อ่าน คงเห็นแล้วว่า ทศพลญาณประการที่ ๘,๙ และ ๑๐ นี้ก็คือ วิชชา ๓ ซึ่งได้กล่าวมาในเรื่องอาการแห่งการ ตร้สรู้นั่นเอง ด้งนั้น จึงเท่ากับเป็นการตอกยํ้าถึงการตรัสรู้ของพระพุทธ องค์ว่า มีเหตุปัจจัยมาจากการปฏิบํตสัมมาสมาธิลันประกอบด้วย องค์๗หรือการปฎิบํติอริยมรรคมีองค์๘อย่างอุกฤษฏ์บริสุฑธี้บริบูรณ์ พุฑรประาต ฉบับการฟ้นฟูสืลธรรมโลก ๒0๓ บททึ๋ ๙ อานุภาพแท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
จนถึงขั้นบรรลุสัมมาส้มโพธิญาณ เป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ หาใช่เกิดจากการไตร่ตรองด้วยการค้นคิด ด้งเช่นการกล่าวตู่ของ สุนักขัตตะโมฆบุรุษไม่ ตอนท้ายของการตรัสทศพลญาณแต่ละประการ พระพุทธ องค้ใด้ทรงตรัสยืนยันในคุณวิเศษที่เป็นเหตุให้ทรงสามารถบันลือ สีหนาทว่า \"...นี้เป็นกำลังของตถาคตที่ตถาคตอาศัยแล้ว ปฏิญญาฐานะที่องอาจ บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร ในบริษัท\" ® วิบากแห่งวจืทุจริต เมื่อพระพุทธองค์ตรัสเรื่องทศพลญาณจบลงแล้ว จึงทรง ยัอนไปตรัสแสดงโทษภัยอันจะเกิตแก่ผู้กล่าวตู่พระพุทธองค์ ตราบ ใดที่บุคคลผู้กล่าวตู่นั้น ยังไม่ละความคิดเห็นผิดๆ นั้น และยัง กล่าวตู่อยู่เรื่อยๆหสังจากดายแล้ว เขาย่อมไปเกิดในนรก ด้งนี้ \"สารีบตร บคคลไตแลพึงว่ากล่าวเราผรอย เห็นอย่ 99 ข่ข์ <น y อย่างนีว่า'สมณโคดมไม่มีญาณบัสสนะที่ประเสริฐลันสามารถ วิเศษยิ่งกว่าธรรมของมนุษย์ สมณโคตมแสตงธรรมที่ประ มวลมาด้วยความตรีก ที่ไตร่ตรองด้วยการด้นคิต แจ่มแจัง ได้เอง' บุคคลนั้นไม่ละวาจานั้น ไม่ละความศิตนั้น ไม่สลัด ทิง้ทิฏฐินั้นย่อมดำรงอยู่ ในนรกเหมีอนถูกนำไปฝ็งไจัอุปมา ® มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๔๘/๑๔๔-๑๔๘ ททรปรราฬิ ฉบับกา•รฟ้[นฟูสืลธรรมโรก ๒๐๙ ฆทที่ ๔ อานุภาพนพ่งการตรัสรู้ a www.kalyanamitra.org
เหมือนภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยศีล สมบูรณ์ด้วยสมาธิ สมบูรณ์ ด้วยปัญญา พึงยินดีอรหัตดผลในปัจจุบันนั่นแล แม้ฉันใด เรากล่าวข้ออุปไมยนี้ ฉันนั้น บุคคลนั่นไม่ละวาจานั่น ไม่ ละความคิดนั่น ไม่สลัดทิฏฐินั่น ย่อมดำรงอยูในนรก เหมือนถูกนำไปฝังไว้\" ® อนึ่ง จากพุทธดำรัสนี้ ยังก่อให้เกิดความเข้าใจโดยอ้อม อีกอย่างน้อย ๒ ประการ คือ ๑) ถึงแม้ผู้กล่าวตู่จะละความคิดเห็นผิดๆ เช่นนั้น จึงเลิก กล่าวตู่อย่างเด็ดขาด ชึ่งมีผลให้ไม่ต้องตกนรกก็ตาม แต่เขาย่อมต้องเสวยวิบากแห่งวจีทุจริต ตามสมควร แก่กรรมของเขา ซึ่งเป็นไปดามกฎแห่งกรรม ๒) การบรรลุญาณทัสสนะของพระพุทธองค์นั้น ทำ ให้ทรง เห็นแจ้ง รู้แจ้งทุกสิ่งอย่างไม่มีขอบเขตจำกัด อวิชชา หรือความไม่รู้จึงอันตรธานไปโดยสิ้นเชิง เวสารัชชญาณ ๔ เวสารัชชญาณ คือพระปรีชาญาณ อันเป็นเหตุให้พระ สัมมาส้มพุทธเจ้าทรงมีความแกล้วกล้าไม่ครั่นคร้ามต้วยไม่ทรง เห็นว่าจะมีใครทักท้วงพุทธดำรัสของพระองค์ใต้ ซึ่งเป็นเหตุให้ พระพุทธองค์ปฏิญญา (ยืนยัน) ฐานะที่องอาจ บันลือสีหนาท ประกาศพรหมจักรในบริษัท ® มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๔๙/๑๔๘ พุทธประวัด ฉบับทารฟ้นฟูสืลธรรมโลก _^ ๒๐๕ บทที๋ rf อานุภาพแท่งการตรัทุ้ 0« www.kalyanamitra.org
พระสัมมาส้มพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงเวสาร้ชชญาณของตถาคต ๔ประการ®แก่ท่านพระสารีบุตรต่อไปอีกซึ่งประกอบด้วยสาระสำด้ญ ด้งนี้ ๑. ไม่มีสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆ ในโลกจะกล้าทักท้วงว่า *ฟานปฏิญญาว่าเป็นล้มมา ล้มพุทธะ แต่ธรรมเหล่านี้ท่านก็ยังไม่f ๒. ไม่มีใครๆ ในโลกจะกล้าทักท้วงว่า *ท่านปฏิญญาว่า เป็นพระขีณาสพอาสวะเหล่านี้ของท่านก็ยังไม่สิ้นไป* ๓. ไม่มีใครๆ ในโลกจะกล้าท้กท้วงว่า 'อันตรายิกธรรม (คือธรรมที่เป็นอันตรายต่อการบรรลุมรรคผล เช่น เมถุนธรรม)ที่ท่านกล่าวไม่ก่ออันตรายแกํผู้เสพได้จริง* ๔. ไม่มีใครๆ ในโลกจะกล้าท้กท้วงว่า'ท่านแสตงธรรมเพื่อ ประโยชน์อย่างใต ประโยชน์อย่างนั้นไม่สำเร็จ เพื่อ ความสิ้นทุกข์โตยชอบแก่ผู้ทำตามได้จริง* จากพุทธดำรัสเรื่องเวสารัชชญาณ ๔ นี้ ย่อมชี้ชัตว่า พระพุทธองคใม่ทรงครั่นครัามเกรงกสัว^ตในโลกทั้งสิ้น เนื่องจาก ทรงเห็นแจ้ง รู้แจ้งแทงตลอตทุกๆ สิ่งในโลก ซึ่งเป็นคุณวิเศษของ พระองค์เหนือสัตว็โลกทั้งปวง ปกิณกธรรม เพื่อเป็นการเน้นยํ้าว่า พระพุทธองค์ทรงเป็นพระอรหันต สัมมาส้มพุทธเจ้า โตยการตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณอันเป็น ® มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๐/๑๔๘ พุทธประวัต ฉบับการส์นฟูศีลธรรมโลก ^ ๒๐๖ ^ บทฑี๋ ๔ อานุภาพแห่งทา■ร?!รัสเ www.kalyanamitra.org
อานิสงส์ของการบำเพ็ญสัมมาสมาธิประกอบด้วยองค์ ๗ อย่าง อุกฤษฏ์บริสุทธิ้บริบูรณ์อย่างแท้จริง จึงมีญาณท้สสนะ เห็นแจ้งรู้ แจ้งอริยสัจ ๔ ตลอดจนสัจธรรมท้งปวง ถ้าผู้ใดกล่าวตู่ว่า พระพุทธองค์ใม่มีญาณท้สสนะ แสดงธรรมที่ประมวลมาด้วยความ ดรึก ที่ไดร่ดรองด้วยการด้นคิด ผู้นั้นเมื่อดายแล้วย่อมไปเกิด ในนรก เมื่อพระพุทธองค์ทรงแสดงทศพลญาณ และเวสารัชช- ญาณจบลงแล้ว จึงดรัสปกิณกธรรมแก่ท่านพระสารีบุดรต่อไปอีก ซึ่งนอกจากจะเป็นการยืนยันคุณวิเศษเหนือมนุษย์ของพระองค์แล้ว ยังเป็นการขยายความธรรมะบางเรื่องใท้ละเอียด ชัดเจน เข้าใจ ได้ดียิ่งขึ้นอีก ด้งต่อไปนี้ บริษัท ๘ ดามที่พระพุทธองค์ทรงแสดงว่า \"ดถาคดปฏิญญา (ยืนยัน) ฐานะที่องอาจบันลือสีหนาท ประกาศพรหมจักรในบริษัท\" พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ท่านพระสารีบุตรว่าบริษัทหมายถึง บุคคล ๘ จำ พวก คือ ๑. ชัดติยบริษัท ๒. พราหมณบริษัท ๓. คหบดีบริษัท ๔. สมณบริษัท ๕. จาตุมหาราชบริษัท ๖. ดาวดึงสบริษัท ๗. มารบริษัท ๘. พรหมบริษัท 11ฑรประวัด ฉบับการส์นฟูศีรธรรมโลก ๒๐๗ บทที อาโนุ!าพแท่งการตรัสรู้ V '^0 www.kalyanamitra.org
พระพุทธองค์ตรัสแสดงต่อไปว่า \"ตถาคตมีเวสารัชชญาณ ๔ ประการ นี้ จึงเข้าไป คบหาบริษัท ๘ จำ พวกนี้ เราเข้าไปยังข้ตติยบริษัทหลาย รัอยบริษัทย่อมรู้ว่าแมีในบริษัทนั้นเราเคยนั้งใกล้เคยทักทาย เคยปราศรัย เคยสนทนาทัน เราไม่เห็นนิมิต(วี่แวว)ว่า'ความ กล้วหรือความสะทกสะทัานจักกลํ้ากรายเราในบริษัทนั้น ได้เลย' เราเมื่อไม่เห็นนิมิตแม้นี้ จึงถึงความเกษมไม่มี ความกล้ว แกล้วกล้าอยู่\" \"อนึ่ง เราเข้าไปยังพรๆหมณบริษัทหลายร้อยบริษัท ฯลฯ คหบดีบริษัท,.. สมณบริษัท... จาตุมหาราช บริษท...ดาวดีงสบริษัท... มารบริษัท เข้าไปยังพรหม บริษัทหลายร้อยบริษัท ย่อมรู้ว่า แม่ในบริษัทนั้นๆ เราก็เคย นัง้ ใกล้ เคยทักทาย เคยปราศรัย เคยสนทนาทัน เราไม่ เห็นนิมิตว่า 'ความกล้วหรือความสะทกสะทัานจัก กลากรายเราในบริษัทนั้นได้เลย'เราเมื่อไม่เห็น นิมิตแม้นี้ จึงถึงความเกษม ไม่มีความกล้ว แกล้วกล้าอยู่\"\" การที่พระพุทธองค์ทรงเข้าสู่บริษัททั้ง ๘ หลายรัอยหลาย พันครั้ง โดยไม่ทรงรูสึกสะทกสะท้าน แต่กลับมีความองอาจกล้า หาญตลอดเวลา ก็เพราะทรงมีเวสารัชชญาณ ๔ ประการนั่นเอง ซึ่งทำให้พระองค์มั่นพระท้ยว่าไม่มี^ตมีคุณวิเศษเหมือนพระองค์ ครั้นแล้วพระพุทธองค์ก็ตรัสยํ้าแก่ท่านพระสารีบุตรฐกว่า มหาร็หนาทรตร:ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๑/๑๕0 ทุฑธประวัติ ฉบับการหึ๋เนพ่สืลธรรมโลก ^ ๒๐๘ บทที่ ๔ อาเนุ!าพแห่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
\"บุคคลใดพึงว่ากล่าวเราผ้ร้อย่เห็นอย่อฝางนี้ว่า*สมณ 9 v<u V 'น โคดมไม่มีญาณทัสสนะ.,, แสดงธรรมที่ประมวลมาด้วย ความตรึก ที่ไตร่ดรองด้วยการด้นคิด แจ่มแจ้งได้เอง'บุคคล นั้นไม่ละวาจานั้น,,. ย่อมดำรงอยู่ในนรกเหมีอนถูกนำไป ฝ็งไว้\" ® กำ เนิด ๔ เมื่อตรัสแสดงเรื่องบริษัท ๘ จบลงแล้ว พระพุทธองค์ก็ ตรัสแสดงกำเนิด ๔ แก่พระสารีบุดรต่อไปอีกว่า กำ เนิด ๔ได้แก่ ๑. กำ เนิดอ้ณฑชะ(การเกิดในไข่) ๒. กำ เนิดชลาพุชะ(การเกิดในครรภ์) ๓. กำ เนิดสังเสทชะ(การเกิดในเถ้าไคลหรือที่ชื้นแฉะ) ๔. กำ เนิดโอปปาติกะ(การเกิดผุดชื้น) กำ เนิดอัณฑซะคือเหล่าสัตว์ที่เจาะทำลายเปลือกไข่แล้วเกิด เข่น ไก่ นก งู เป็นด้น กำ เนิดชลาพุชะคือ เหล่าสัตว์ที่เกิดในครรภ์เซ่นมนุษย์และ สัตว์ติรัจฉานที่ออกลูกเป็นตัว กำ เนิดสังเสทชะ คือ เหล่าสัตว์ทเกิตในปลาเน่า ซากศพเน่า ขนมบูด นํ้าครำ หรือเถ้าไคลคือที่ชื้นและสกปรก เช่น หนอน บางชนิด เป็นด้น ® มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๑/๑๕๑ ทุทธประวัตํ ฉบับการฟ้นฟูสืลธรรมโลก ^ ๒0๙ ^ ฆทที่ ๔ อา!บุฑพนห่งการดรัสรุ้ www.kalyanamitra.org
กำ เนิดโอปปาติกะ คือ สัตว์เกิดผุดขนมาและโตเต็มที่ใน ทันทีทันใด เมื่อดายก็ไม่มีซากปรากฎได้แก่ เทวดา สัตว์นรก มนุษย์ บางจำพวก และเปรตบางจำพวก ครั้นแล้วพระพุทธองค์ก็ดรัสยํ้าแก่ท่านพระสารีบุตรอีกว่า \"บคคลใดพึงว่ากล่าวเราผ้ร้อย เห็นอยอย่างนี้ว่า 'สมณโค 9 •บ่•น •นุ y ดมไม่มีญาณทัสสนะ... แสดงธรรมที่ประมวลมาด้วยความตรึก ที่ ไตร่ดรองด้วยการด้นคิด แจ่มแจ้งได้เอง' บุคคลนั้นไม่ละวาจานั้น... ย่อมดำรงอยู่ในนรกเหมีอนถูกนำไปฝ็งไว้\"'' คติ ๕'^ คติ ในที่นี้หมายถึง ภพที่สัตว์ใปเกิด พระพุทธองค์ได้ตร้สแสดงคติ ๕แก่ท่านพระสารีบุตรต่อไปว่า คติ ๕ ประการ ได้แก่ ๑. นรก ๒. กำ เนิดติรัจฉาน ๓. เปดวิสัย ๔. มนุษย์ ๕. เทวดา ® มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๒/๑๕๒ ^ ในคติ ๕ นั้น ๓)เปรตคติ ทรงรวมอสุรกายด้วย ๕)เฑวคติ คือ เทวดา ทรงรวม เทวดา รูปพรหม อรูปพรหมทั้งหมด คือตั้งแต่เทพชั้นจาตุมหาราชิกาจนถึงอรูป พรหมชั้นเนวส้ญญานาสัญญายตนะ พุทธปรรวัติ ฉบับการส์นฟูศีลธรรมโลก ๒๑๐ บฑที๋ ๔ อานุภาทนห่งทารตรัสรู้ - v**0 www.kalyanamitra.org
พระพุทธองค์ตรัสแสดงว่า ทรงรู้ชัดคติทั้ง ๕ประการ® ดังนี้ \"เรารู้ชดนรก ทางที่นำสัตว็ให้ถึงนรก ข้อปฏิบติที่นำ สัตว์ให้ถึงนรก และรู้ข้ตข้อปฏิบัติที่สัตว์ปฏิบัติแสัว เป็น เหตุให้หสังจากตายแล้วย่อมไปเกิตในอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เรารู้ข้ตกำเนิตติรัจฉาน ทางที่นำสัตว์ให้ถึงกำเนิต ติรัจฉาน ข้อปฏิบัติที่นำสัตว์ให้ถึงกำเนิตติรัจฉาน และรู้ ข้ตข้อปฏิป้ติที่สัตว์ปฏิบติแสัว เป็นเหตุให้หสังจากตายแล้ว ย่อมไปเกิตในกำเนิตติรัจฉาน เรารู้ข้ตเปตวิสัย ทางที่นำสัตว์ให้ถึงเปตวิสัย ข้อ ปฏิบัติที่นำสัตว์ให้ถึงเปตวิสัย และรู้ข้ตข้อปฏิบัติที่สัตว์ ปฏิบัติแล้ว เป็นเหตุให้หสังจากตายแล้วย่อมไปเกิตใน เปตวิสัย เรารู้ข้ตหมู่มนุษย์ ทางที่นำสัตว์ให้ถึงมนุษยโลก ข้อปฏิบัติที่นำสัตว์ให้ถึงมนุษยโลก และรู้ข้ตข้อปฏิบัติที่ สัตว์ปฏิบติแล้ว เป็นเหตุให้หสังจากตายแล้ว ย่อมไปเกิต ในหมู่มนุษย์ เรารู้ข้ตเทวตาทั้งหลาย ทางที่นำสัตว์ให้ถึงเทวโลก ข้อปฏิป้ติที่นำสัตว์ให้ถึงเทวโลก และรู้ข้ตข้อปฏิบัติที่สัตว์ ปฏิบัติแล้ว เป็นเหตุให้หสังจากตายแล้ว ย่อมไปเกิตใน สุคติโลกสวรรค์ ^ มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๓/๑๕๒-๑๕๓ พุทธประวัติ ฉบับการฟ้นฟสืลธรรมโอก ๒®® น\"ฑี๋ อาt๓าพนท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
เรารู้ชัดนิพพาน ทางที่นำส้ตว์ให้ถึงนิพพาน ข้อ ปฏิบัติที่นำสัตว็ให้ถึงนิพพาน และรู้ชัดข้อปฏิบัติที่สัตว์ ปฏิบติแล้ว เป็นเหตุให้ทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ ป้ญญาวิมุตติ ที่ไม่มีอาสวะ เพราะอาสวะสิ้นไปด้วยปัญญาสันยิ่งเอง เข้า ถึงอปูในปัจจุบัน\" รู้เห็นการไปทุคติและสุคติของบุคคล พระพุทธองคใด้ตรัสยืนยันเกี่ยวกับการไปเกิดในทุคติและ สุคติของบุคคลบางคนซึ่งเป็นจริงตามการรู้เห็นของพระพุทธaงค์ดังนี้ \"เรากำหนดรู้Iจของบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจ อย่างนี้ว่า 'บุคคลผู้ปฏิบัติอย่างนั้น เป็นไปอย่างนั้น และ ดำ เนินทางนั้นแล้วหสังจากตายแล้วสักไปเกิดในอบายทุคติ วินิบาต นรก* ต่อมา เราเห็นเขาหล้งจากตายแล้วไปเกิด ในอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เสวยทุกขเวทนาโดยส่วน เดียวสันแรงกล้าเผ็ดร้อนด้วยดาทิพย์สันบริสุทธี๋■เหนือมนุษย์ เรากำหนดรู้ใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจ อย่างนี้ว่า 'บุคคลผู้ปฏิบัติอย่างนั้น เป็นไปอย่างนั้น และ ดำ เนินทางนั้นแล้ว หล้งจากตายแล้วสักไปเกิดในกำเนิด ติรัจฉาน* ต่อมา เราเห็นเขาหล้งจากตายแล้วไปเกิดใน กำ เนิดติรัจฉาน เสวยทุกขเวทนาสันแรงกล้า เผ็ดร้อน ด้วยดาทิพย์สันบริสุทสิ้เหนือมนุษย์ เรากำหนดรู้Iจของบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ ว่า 'บุคคลผู้ปฏิบัติอย่างนั้น เป็นไปอย่างนั้น และดำเนิน พุฑรปรรวัติ ฉบับการฟ้นฟูสิลธทมโรก ๒๑๒ บฑที๋ ๔ อานุภาพนหํงทารตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
ทางนั้นแล้ว หล้งจากตายแล้วจักไปเกิดในเปตวิสัย' ต่อมา เราเห็นเขาหล้งจากตายแล้วไปเกิดในเปตวิสัย เสวย ทุกขเวทนาเป็นอันมาก ด้วยตาทิพย์อันบริสุทธื้เหนือมนุษย์ เรากำหนดรู1จของบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจ อย่างนี้วำ *บุคคลผู้ปฎิบดอย่างนั้น เป็นไปอย่างนั้น และ ดำ เนินทางนั้นแล้ว หล้งจากตายแล้วจักไปเกิดในหมูมนุษย์ ต่อมา เราเห็นเขาหล้งจากตายแล้วไปเกิดในหมู่มนุษย์เสวย สุขเวทนาเป็นอันมากด้วยตาทิพย์อันบริสุทธื้เหนือมนุษย์ เรากำหนตรูIจของบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจ อย่างนี้ว่า 'บุคคลผู้ปฏิป้ตอย่างนั้น เป็นไปอย่างนั้น และ ดำ เนินทางนั้นแล้วหล้งจากตายแล้วไปเกิดในสุคติโลกสวรรย์ ต่อมา เราเห็นเขาหล้งจากตายแล้วไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ เสวยสุขเวทนาโดยส่วนเดียว ด้วยตาทิพย์อันบริสุทธเหนือ ๔ เรากำหนตรูIจของบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจ อย่างนี้ว่า 'บุคคลผู้ปฏิปตอย่างนั้น เป็นไปอย่างนั้น และ ดำ เนินทางนั้นแล้ว จักทำให้แจังเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ เพราะอาสวะสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง เข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน' ต่อมา เราเห็นบุคคลนั้นผู้ทำให้แจัง เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ เพราะอาสวะสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง เข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน เสวยสุขเวทนา ไปโตยส่วนเดียว'' ®> มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๔/๑๕๓-๑๕๗ พุทธประวัติ ฉบบการส์นฟูสิลธรรมโลก ๒®๓ ม\"\" อาภาพแห่งการทรัลรู้ www.kalyanamitra.org
จากพุทธดำร้สเรื่องกำเนิด ๔และคติ ๕ ย่อมเป็นการยืนยันว่า พระพุทธองค์ทรงมีพระญาณหยั่งรู้เรื่องเหล่านี้อย่างแจ่มแจ้ง มิใช่ ประมวลมาด้วยความตรึก นอกจากนี้ยังเป็นการยืนยันอีกด้วยว่า อวิชชาคือความไม่รู้ ผนวกกับความกลัวได้ครอบงำมนุษย์มานาน แสนนาน เมื่อตร้สแสดงคติ ๕ จบลงแล้ว พระพุทธองค์ก็ทรงแสดง ยํ้าเช่นเดียวกับที่ผ่านมาว่า \"บคคลใดพึงจำกล่าวเราผ้ร้อย เห็นอย่อย่างนี้จำ 9 'ป'น 'น 'น *สมณโคดมไม่มีญาณทัสสนะ... แสดงธรรมที่ประมวลมา ด้วยความดรึก ที่ไตร่ดรองด้วยการด้นคิด แจ่มแจ้งได้เอง* บุคคลนั้นไม่ละวาจานั้น... ย่อมดำรงอยู่โนนรกเหมีอนถูก นำ ไปฝังไว้** ® พรหมจรรย์มีองค์ ๔ พรหมจรรย์มีองค์ ๔ นี้ เป็นการประพฤติพรหมจรรย์ของ พระพุทธองค์ ในสมัยที่ยังเป็นพระโพธิสัตว์ เป็นการประพฤติ พรหมจรรย์ที่ไม่ช่วยให้บรรลุญาณทัสสนะใดๆ เป็นการประพฤติ ที่แตกต่างจากพรหมจรรย์มีองค์๘หรืออริยมรรคมีองค์๘โดยสิ้นเชิง เหตุที่พระพุทธองค์ตรัสแสดงพรหมจรรย์มีองค์ ๔ นี้ ก็ เพราะสุนักข้ตตะ โอรสเจ้าลิจฉวี เป็นผู้มีความเชื่อว่า *บุคคลจะ บริสุทธึ๋ได้ด้วยการประพฤติทุกกรกิริยา'จึงทรงมุ่งขจ้ดความเชื่อนั้น มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๔/๑๕๗ พุทธป'!ะวัติ ฉบับการฟ้นฟูศีลธรรมโลก ^ ๒๑or ^ บททึ๋ ๔ อานุภาพนห่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ท่านพระสารีบุตรว่า เรารู้ยิ่ง ความประพฤติพรหมจรรย์มีองค์๔® คือ ๑. เราเป็นผู้บำเพ็ญตบะ และเป็นผู้บำเพ็ญตบะอย่าง ยอตเยี่ยม ๒. เราเป็นผู้ประพฤติถือสิ่งเศร้าหมอง และเป็นผู้ ประพฤติถือสิ่งเศร้าหมองอย่างยอตเยี่ยม ๓. เราเป็นผู้ประพฤติรังเกียจ (บาป) และเป็นผู้ ประพฤติรังเกียจบาปอย่างยอตเยี่ยม ๔. เราเป็นผู้ประพฤติสงัต และเป็นผู้ประพฤติสงัตอย่าง ยอตเยี่ยม ๑. เราเป็นผู้บำเพ็ญตบะ และเป็นผู้บำเพ็ญตบะ อย่างยอดเยี่ยม พระพุทธองค์ตรัสเล่าการบำเพ็ญตบะอย่างยอตเยี่ยมในสมัย ก่อนการตรัสรู้1หท่านพระสารีบุตรฟังดังนี้ \"เราเคยเป็นอเจลก'° ไม่มีมารยาท เลียมีอ เขาเชิญ ใหใปรับอาหารก็ไม่ไป เขาเชิญให้หยุดรับอาหารก็ไม่หยุด ไม่รับอาหารที่เขาแปงไว้ ไม่รับอาหารที่เขาทำเจาะจง ไม่ รับอาหารจากปากหม้อปากภาชนะ ไม่รับอาหารคร่อม ธรณีประตู คร่อมฟอนไม้ คร่อมสาก ไม่รับอาหารของคน ๒ คน ที่กำ ลังบริโภคอยู่ ไม่รับอาหารของหญิงมีครรภ์ หญิง ที่กำ ลังให้บุดรดื่มนม หญิงที่คลอเคลียชาย ไม่รับอาหารที่ ® มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๕/๑๕๗ ^ อ่านว่า อะ-เจ-ละ-กะ แปลว่า ชีเปลือย ททรปรรวัติ ฉบับการฟ้นฟูสืรธรรมโลก ^ ๒๑๕ ^ ร\"าฑี๋ a:อานุกาพแพ่งทารตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
นัดแนะกันทาไว้ ไม่รับอาหารในที่เลี้ยงสุนัข ในที่แมลงรัน ไต่ตอมเป็นกลุ่มๆ ไม่กินปลา เนื้อ ไม่ดื่มสุรา เมรัย ยาดอง รับอาหารในเรือนหลังเดียว ยังชีพด้วย ข้าวคำเดียว รับ อาหารในเรือน ๒ หลัง ยังชีพด้วยข้าว ๒ คำ ฯลฯ รับ อาหารในเรือน ๗ หลัง ยังชีพด้วยข้าว ๗ คำ ยังอาชีพ ด้วยอาหารในถาดนัอย ๑ ใบ ๒ ใบ .... ๗ ใบ กินอาหารที่ เก็บไว้ด้าง คืน ๑ รัน ๒ รัน .... ๗ รัน ถือการบริโภค อาหารตามวาระ ๑๕รันต่อมื้อ เรานั้นกินผักดองเป็นอาหาร กินข้าวฟาง ลูกเดือย กากข้าว สาหร่าย รำ ข้าวด้ง กำ ยาน หญ้า มูลโค กินเหง้า และผลไม้ปาบริโภคผลไม้หล่นยังชีพ เรานั้นนุ่งห่มผัาปาน ผัาแกมกัน ผัาห่อศพ ผ้ายังสุกุล ผ้าเปลือกไม้ หนังเสือ หนังเสือมีเล็บ ผ้าคากรอง (เครื่อง ปกป็ดร่างกายที่ทำด้วยหญ้า) ผ้าเปลือกปอกรอง (เครื่อง นุ่งห่มทำจากเปลือกปอ) ผ้าผลไม้กรอง (เครื่องนุ่งห่มทำ ด้วยผลไม้) ผ้ากัมพล ผมมนุษย์(ผ้าทอด้วยเส้นผม) ผ้า กัมพลขนส้ดว์ ผ้าขนปีกนกเด้า ถือการถอนผมหนวด รน อย่างเดียวไม่ยอมนั้ง ถือการเดินกระโหย่ง (เดินด้วย ปลายเท้า) ถือการนอนบนที่นอนซึ่งทำด้วยหนาม ถือการ อาบนั้ารันละ ๓ ครั้ง ถือการย่างและการอบกายหลายรูป แบบ'® ® มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๕/๑๕๙ ทฑรปรราดิ ฉบับการสืนฟูศร!nรมโลก ^ ๒๑๖ ฆฑที่ ๙ อานุภาพแท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
จากประสบการถ?Iนการบำเพ็ญตบะที่ตรัสแสดงแก่ท่านพระ- สารีบุตรนี้ย่อมใหขอคิตแก่เราฟานทั้งหลายอย่างกว้างขวางเป็นต้นว่า ๑. พระพุทธองค์ทรงมีขันติอย่างยอดเยี่ยม ๒. การที่ทรงเพียรบำเพ็ญตบะเช่นนี้อย่างยอดเยี่ยม ก็เพื่อเป้าหมายสูงสุดเพียงประการเดียวนับแต่ว้นเสด็จออกบรรพชา คือ การแสวงหากุศลธรรมโดยแท้ ๓. การบำเพ็ญตบะเช่นนั้น เป็นธรรมเนียมปฎิบํตกัน ในหมู่นักบวช ซึ่งถือกันว่า เป็นบัณฑิตนักปราชญ์ผู้มุ่งแสวงหา ความพ้นทุกข์และความกลัวที่มีมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาลแล้ว ๔. การบำเพ็ญตบะเช่นนั้น ถือไต้ว่า พระพุทธองค์ใต้ ทรงทดลองพิสูจน์ ความเชื่อที่ถือปฏิบัติกันมาช้านานว่าถูกต้อง ไต้ผลดีจริงหรีอไม่ ๒. เราเป็นผู้ประพฤติถือสิงเศร้าหมอง และเป็นผู้ ประพฤติถือสิงเศร้าหมองอย่างยอดเยี่ยม พระพุทธองค์ใต้ตรัสแสดงการประพฤติสิ่งเศร้าหมองแก่ ท่านพระสารีบุดร ต้งนี้ \"มลทิน คือ ธุลีที่หมักหมมอยู่ในกาย (ของเรา) นับ หลายปี จนเป็นสะเก็ด ตอตะโกที่ตั้งอยู่นับหลายปี มีเปลีอก แตกแยกจนเป็นสะเก็ต แมัฉนไต มลทินคือธุลีที่หมักหมม อยู่ในกายของเรานับหลายปีจนเกิตเป็นสะเก็ต ก็ฉันนั้น เหมือนมันเรานั้นมิได้มีดวามคิตอย่างนี้ว่า'ถ้าอย่างไรเราควร ปัตละอองธุลีนี้ด้วยฝามือ หรือคนเหล่าอื่นพึงป้ตละอองธุลี นีข้องเราด้วยฝามือ'ความฅิตอย่างนี้มิได้มืแก่เรา\" ® • — • ® มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๖/๑๕๙ ทุทรปรราดิ ฉบับกาใส์นฟูศลnรมโลก ๒®๗ นฑทึ๋ อานุภาพนท่งการตรัลรู้ www.kalyanamitra.org
๓.เราเป็นผู้ประพฤติรังเกียจ(บาป)และเป็นผู้ประพฤติ รังเกียจบาปอย่างยอดเยี่ยม พระพุทธองค์ได'ตรัสแสดงพรหมจรรย์ในการประพฤติ รังเกียจบาปแก่ท่านพระสารีบุดรดังนี้ \"เรานั้นมีสติก้าวไปข้างหน้า มีสติถอยหลัง ความ เอ็นดูของเราปรากฏ แม้กระทงในหยดนั้าว่า 'เราอย่าได้ ลัางผลาญลัตว์เล็กๆ ที่อยู่ในที่ต่างๆ เลย\"® ๔. เราเป็นผู้ประพฤติสงัด และเป็นผู้ประพฤติสงัด อย่างยอดเยี่ยม ความประพฤติเป็นผู้สงัดที่พระพุทธองค์ดรัสแสดงแก่ท่านพระ สารีบุตรนั้น มีสาระสำคัญโดยสรุป ๓ ประการ คือ ๑) ไม่ต้องการพบผู้คนขณะที่อาศัยอยู่ชายป่าใดกีดามเมื่อ แลเห็นคนเลี้ยงโค คนหาหืเน คนหาของป่า กีจะหนี ไปอยู่ในป่าแห่งใหม่ ๒) ฉันอาหารผิดปกติอย่างมาก ทรงเล่าว่า 'เรานั้นคลาน เข้าไปในคอกที่ฝูงโคออกไปแล้ว ไม่มีคนเลี้ยงโคอยู่ กินมูลโคของลูกโคดัวอ่อนที่ยังดื่มนม และกินปัสสาวะ อุจจาระของดนเองนั้นแล ดลอดเวลาที่ปัสสาวะ และ อุจจาระยังไม่สิ้นไป มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๖/๑๕๙ พุทธปรราตํ ฉบับการส์นฟูสิลธรรมโลก ๒๑๘ บทที่ ๔ อานุภาพแท่งการตรัลรู้ o\"\"' (ร. www.kalyanamitra.org
ขณะอาศัยอยู่ในแนวป่า ตอนกลางคืนต้องทนหนาวเหน็บ เพราะมีนํ้าค้างบางหิมะตกบางแต่ตอนกลางวันก็ตากแดดอยู่ในที่แจ้ง พระพุทธองค์ตรัสว่า คาถาอัศจรรย์นี้เราไม่เคยไดยินมาก่อนปรากฏ แก่เราว่า \"มุนีเสาะแสวงหาความหมดจด อาบแดด อาบนํ้าค้าง เปลือยกาย ทัง้มิไค้ผิงไฟอยู่คนเดียว ในปาที่น่ากล้ว\"® ครั้นแล้วตรัสแสตงต่อไปว่า \"เรานอนแอบอิงกระดูกผีในปาช้า พวกเด็กเลี้ยงโค เช้าใกล้เราแล้ว ถ่มนํ้าลายรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะรดบ้าง โปรยฝุนลงบ้าง เอาไม้ยอนที่ช่องหูบ้าง แต่เราไม่รูเลยว่า มีอกุศลจิตเกิดขื้นในเด็กเหล่านั้น นี้เป็นพรหมจรรย์ในการ อยู่ด้วยอุเบกขาของเรา\"^ ลัทธิต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล ในสมัยก่อนพุทธกาลนั้น มีลัทธิความเชื่อต่าง ๆ ซึ่งมี นักบวชและสมณพราหมเน์ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมามากมาย ใน บรรดาลัทธิทั้งหลายนั้นมีอยู่ ๗ ลัทธิ\"' ที่พระพุทธองค์ทรงมี ประสบการโน็ตรง ต้งที่ตรัสเล่าให้แก่ท่านพระสารีบุตรต้งนี้ มหาสีหนาทสูตร ะ ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๗/๑๖๑ ๒ มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๗/๑๖๑ มหาสีหนาทสูตร : ม.มู.(ไทย)๑๒/๑๕๘-๑๖๑/๑๖๑-๑๖๔ ทุทรปรราฬิ ฉบับการฟ้นฟ่ศีลธรรมโลก ๒®๙ ม*'ทึ๋ t* อานุภาพนห่งการดรัสรู้ www.kalyanamitra.org
๑. ลัทธิที่ถือว่า ความบริสุทธมีได้เพราะอาหาร(อาหาร สุทธิ) เป็นลัทธิที่เชื่อว่า ความบริสุทธิ้จะเกิดขึ้นต่อ เมื่อคนเราดำรงชีวิตอยู่ด้วยอาหารอย่างน้อยที่สุด เช่น กินพุทราวันละผลเดียวหรือเมล็ดถั่วเชียว เมล็ดงา เมล็ด ข้าวสาร อย่างหนึ่งอย่างใดเพียงเมล็ดเดียว จะเคี้ยว กินทั้งเม็ด หรือจะแปรรูปเป็นแบบใดก็ได้ทั้งสิ้น ด้งนั้น ถืงแม้จะไม่ชื่อว่าอดอาหาร แต่การประพฤติปฎิบติเช่นนั้น ย่อมไม่แตกต่างจากการอดอาหารนั้นเอง พระพุทธองค์ดวัสแสดงว่า การอดอาหารเช่นนั้น ทำ ให้ร่างกายซูบผอม อ่อนเพลีย ไร้เรี่ยวแรงจนแทบ จะพยุงกายไม่ไหวแต่ก็มิได้บรรลุญาณทัสสนะประการใด ทรงเห็นว่า การทรมานตนเช่นนั้น มิได้ก่อให้เกิด ปัญญาอันประเสริฐ ซึ่งจะเป็นเครี่องช่วยให้พ้นทุกข้ใด้ ๒. ลัทธิที่ถือว่า ความบริสุทธมีได้เพราะสังสารวัฏ(ลังสาร สุทธิ) เป็นลัทธิที่เชื่อว่า ความบริสุทธจะเกิดขึ้นต่อเมื่อ เราเวียนว่ายตายเกิดไปเรี่อยๆ ในที่สุดก็จะบริสุทขึ้เอง ทรงเล่าว่า หลังจากตร้สรู้ พระองค์ก็ทรงทราบว่า ลัทธินี้ใช่ไม่ได้ ทั้งนี้ เพราะพระองค์ทรงท่องเที่ยวใน ภพภูมิต่างๆ มามากแล้ว แต่ก็อังไม่อาจให้บริสุทขึ้ได้ นอกจากพรหมโลกชั้นสุทธาวาส ซึ่งพระองค์อังไม่ เคยไปอุป้ติ เพราะผูใปอุบัติในชั้นนี้ ก็บริสุทธิ้ได้เลย โดยไม่ด้องกลับมาเกิดในมนษยโลกอีก ทุฑรปรรวัผิ ฉบับการฟ้นฟูสืลธรรมโลก ^ ๒๒๐ ^ บฑที่ ๙ อาไนทพนท่งทารครัลรู้ www.kalyanamitra.org
๓. ลัทธิที่ถือว่า ความบริสุทธมีได้เพราะการเกิด (อุปัต ติสุทธิ)ทรงอธิบาย เหมือนข้อ ๒(ลังสารสุทธิ) ๔. ลัทธิที่ถือว่า ความบริสุทธึ๋มได้เพราะอาวาส(อาวาส สุทธิ)ทรงอธิบายไว้เหมือนลัทธิลังสารสุทธิ ๕. ลัทธิที่ถือว่า ความบริสุทธ^มีได้เพราะการบูชายัญ (ยัญญสุทธิ)ทรงอธิบายว่าทรงเคยบูชายัญต่างๆมาแล้ว เมื่อครั้งที่เกิดเป็นพราหมณ์และเป็นกษัตริย์ ๖. ลัทธิที่ถือว่า ความบริสุทธมีได้เพราะการบำเรอไฟ (อัคคิปาริจริยสุทธิ) ทรงอธิบายว่า ทรงเคยบำเรอไฟ มาแล้วเมื่อครั้งที่เกิดเป็นพราหมณ์และเกิดเป็นกษัตริย์ ๗. ลัทธิที่ถือว่า คนที่อยู่ในปฐมวัยเท่านั้นมีฟ้ญญาเฉลียว ฉลาด ครั้นล่วงวัย ๘๐ ปี ๙๐ ปี ๑๐๐ ปี ปัญญาของเขา กิเสื่อมไป ทรงอธิบายว่าไม่จริง ทรงยกพระองค์เอง ซึ่งขณะนั้นมืพระชนมายุ ๘๐ พรรษา เป็นตัวอย่าง สรุป จากธรรมบรรยายทั้งหมดในบทนี้ และจากพระพุทธดำรัส เกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดของ พระพุทธองค์นั้น เป็นเครื่องชี้ชัดว่าพระพุทธองค์ทรงมืข้นติธรรม เหนือมนุษย์ทั้งปวง จึงทรงมืพระทัยมุ่งมั่นแน่วแน่ในเป้าหมาย สูงสุดที่ตั้งไว้แต่เรื่มแรกไม่แปรเปลี่ยน ไม่ท้อถ้อย ไม่เลิกล้ม แม้ จะตัองประสบปัญหาอุปสรรคสาหัสสากรรจ์เพียงใด กิยอมพลี ทฑธประาตั ฉบับการฟ้นฟูศลธรรมโลก ^ ๒๒® ^ บฑทึ๋ 0^ อา1พุฑพแห่งการดรัลรู้ www.kalyanamitra.org
ชีวิตสู้ต่อไปไม่ย่อมแพ้ ในที่สุดก็ประสบผลสำเร็จอย่างงดงาม สม ดังมโนปณิธานที่ม่งมาดปรารถนามานานแสนนาน คือ บรรลุ สัมมาสัมโพธิญาณ เห็นแจ้งรู้แจ้ง สัจธรรมทั้งปวง มีอริยสัจ ๔ เป็นสำคัญ สามารถกำจัดอวิชชา และอาสวะทั้งปวงให็ลิ่นไปโดย เด็ดขาด บรรลุสอุปาทิเสสนิพพาน ดำ รงอยู่ในฐานะผู้ทรงคุณ วิเศษดัวยประการทั้งปวง เหนือมนุษย์เทวดา มาร และพรหม แม้จะทรงคุณวิเศษด้วยประการทั้งปวงก็ดาม พระพุทธ องค์ก็มิได้ทรงใช้คุณวิเศษนั้นดักดวงผลประโยชน์สำหรับพระองค์ ดามสำพ้งด้งเช่นผู้คนทั้งหลายนิยมปฏิบ้ติคันเสมอมาทุกยุคทุกสม้ย ดรงคันช้ามพระพุทธองค์กสับทรงพระมหากรุณาอย่างยิ่งใหญ่ โดยดรัสเทศนาสั่งสอนผู้คนทั้งหลาย ดลอดพระชนม์ชีพของ พระองค์ ทำ ให้มีผู้คนรู้แจ้งเห็นแจ้งอริยสัจ ๔ และบรรลุมรรคผล นิพพานดามพระพุทธองค์โปเป็นจำนวนมาก แม้พวกเราทั้งหลายจะเกิดมาไม่ทันพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ดาม ก็ถือว่ายังเป็นผู้โชคดีอย่างยิ่งอยู่นั้นเอง ที่ได้เกิดมา พบพระธรรมคำสั่งสอนในพระพุทธศาสนาที่ยังหลงเหลืออยู่ ย่อม มีโอกาสรู้ว่า คนเราเกิดมาทำไม เป้าหมายชีวิดที่แทัจริงคืออะไร อะไรคือเหตุแห่งทุกข์ จะต้องทำอย่างไรจึงจะมีชีวิดอยู่อย่างมี ความสุขในโลกนี้ จะต้องทำอย่างไรจึงจะพ้นทุกข์อย่างแทัจริง และสามารถประสบสุขชั่วนิรันดร์ เพียงแต่เราให้ความสนใจ ศึกษาพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธองค็ให้เช้าใจถูกต้อง ย่อม จะได้คาดอบทุกคำถาม โดยไม่ต้องอุทิศชีวิดลองผิดลองถูกด้วย การทรมานดนด้งเช่นพระพุทธองค์สม้ยเป็นพระโพธิสัดว์ พุฑรป-รรวัดิ ฉบับการส์นฟูศลธรรมใรก ๒๒๒ บทที๋ ๔ อานุภาพนห่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
แม้ไม่สามารถศึกษาพระธรรมคำสั่งสอนทั้งหมดใน พระพุทธศาสนาได้ เพียงแค่ศึกษาหลักธรรมสำด้ญ เช่น อริยมรรคมีองค์ ๘ และบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ให้เข้าใจอย่างถูกด้อง แล้วลงมีอปฏิบัติอย่างเคร่งครัดจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ เจริญสมาธิภาวนาเป็นกิจวัตรประจำวัน ย่อมอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน และถ้าตั้งใจปฏิบัติล้มมาสมาธิอันประกอบด้วยองค์ ๗ ให้แก่รอบ ยิ่งขึ้น อย่างเอาชีวิตเป็นเติมพัน ย่อมมีโอกาสบรรลุมรรคผลไป ตามลำด้บสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้า ขณะเดียวกันก็เป็นการสั่งสมบุญบารมีไวัรอพระล้มมาล้มพุทธเจัา องค์ต่อไปซึ่งจะเป็นโอกาสทองแห่งการบรรลุความหลุดพันในที่สุต เมื่อแน่ใจว่าตนเองมีความเข้าใจหลักธรรมถูกด้อง สามารถ ปฏิบัติตามหลักธรรมเป็นนิล้ย และประสบผลดีจริงในระดับหนึ่งแล้ว ก็จำ เป็นด้องทำหน้าที่กัลยาณมิตร ถ่ายทอดความรู้ทางธรรมให้แก่ ผู้คนรอบข้าง น้บตั้งแต่สมาชิกในครอบคุรัว ญาติมิตร ผู้ร่วมงาน ร่วมอาชีพ ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ลังเล ไม่รีรอ ทั้งนี้เพื่อ จุตมุ่งหมายสำคัญยิ่ง ๒ ประการ คือ ๑. เพื่อสร้างวัฒนธรรมกัลยาณมิตร และเครือข่าย กัลยาณมิตร มีความจริงว่า ถ้าผู้คนในลังคมต่างมี วัฒนธรรมกัลยาณมิตรและตั้งใจสร้างเครือข่าย กัลยาณมิตร คนพาลคนบาปย่อมไม่ปรากฏในสังคม อีกต่อไป นั่นคือ ลังคมสันติสุขย่อมแพร่หลายโดยทั้วไป ๒. เพื่ออนุรักษ์พระธรรมคำสั่งสอนที่ถูกต้องใน พระพุทธศาสนาไว้ทั้งในจิตใจผู้ดนและในพระ ทุทรปรรวัผิ ฉบับการฟ้นฟูสิลธใรมโลก ^ ๒๒๓ ^ บฑทึ๋ ๙ อานุภาพแท่งการตรัสรู้ www.kalyanamitra.org
ไตรปีฎก ไว้เป็นมรดกโลก สำ หรับผู้คนที่จะเกิดมาใน อนาคต ตราบใดที่มวลมนุษย์ รู้ เข้าใจถูกต้อง และ ปฎิบตธรรม เป็นนิส้ยย่อมมีจิตใจบริสุทธ ผ่องใสต้วย อำ นาจสัมมาสมาธิ อันเป็นปอเกิดแห่งปัญญา สามารถกำจัดอวิชชาทั้งปวงไต้ อาสวกิเลสที่เคย อิงแอบแนบแน่นอยู่ในจิตใจ ย่อมหมดที่กำบังอาศัย จึงหมดฤทธิ้เดชไปโดยปริยาย ดุจเดียวกับเมล็ดพันธุ พืชที่ไม่สมบูรถ!เ ย่อมไม่สามารถขยายพันธุไต้ฉะนั้น ถ้าเป็นเช่นนั้นสันติภาพโลกย่อมเกิดขึ้นไดีโดยง่าย ทุฑธประว้คฉบบการส์นฟูศีลธรรมโลก ๒๒๔ บฑฑึ๋๔อานุภาพนห่งการตรัลรู้ www.kalyanamitra.org
บฑที่ ๕ บทส่งท้าย การตรัสรู้คือการค้นพบที่ยิ่งใหญ่ การตรัสรู้ของพระสัมมาส้มพุทธเจ้านั้น ถือได้ว่าเป็นการ ด้นพบที่ยิ่งใหญ่และประเสริฐสุดของมนุษยชาติทีเดียว เพราะเป็น สิ่งที่มีคุณค่ามหาศาลต่อมวลมนุษย์อย่างแท้จริง แม้จะมีบัณฑิต นักปราชญ์มากมายในครั้งโบราณกาล ตั้งแต่ก่อนสม้ยพุทธกาล จวบจนถืงสม้ยพุทธกาล ต่างพากเพียรด้นคว้าแสวงหากันด้วยวิธี การต่างๆ ขนาดอุทิศชีวิตเป็นเติมพันก็ไม่ปรากฏว่ามี^ดด้นพบ แม้บรรดาเทวดาในสรวงสวรรค์ หรือพรหมในพรหมโลก ซึ่งมี ฤฑธและมีบุญสูงส่งกว่ามนุษย์ทั้งหลายมากมาย แต่ก็ไม่ปรากฏว่า ทุฑรประรัด ฉบับการพีนใ5jศีลธรรมโลก ๒๒๕ บทที่ <r บทส่งท้าย « ท www.kalyanamitra.org
ตนใดได้ค้นพบสิ่งที่ประเสริฐสุด และยิ่งใหญ่ด้งเช่นการด้นพบ ของพระส้มมาส้มพุทธเจ้า การตรัสรู้หรือการด้นพบของพระองค์นั้น นอกจากจะก่อ ให้เกิดประโยช*แโดยตรงแก่พระพุทธองค์อย่างยิ่งแล้ว ยังสามารถ อำ นวยประโยช*แแก่ส้ดวโลกที่วภพ ๓ ที่มีดถาคดโพธิส้ทธาอีกด้วย การค้นพบที่ยิ่งใหญ่ ๓ ประการ ถึงแม้การตรัสรู้ของพระพุทธองค์ จะทำให้ทรงด้นพบความรู้ และความจริงอย่างกว้างขวางเสมีอนเปิดกรุวิทยาการแห่ง จักรวาลก็ดาม แต่การด้นพบที่ถึอว่ายิ่งใหญ่ที่สุด ที่ควรเทิด*ทูน อย่างยิ่งมีอยู่ ๓ ประการ ได้แก่ ๑. การค้นพบ \"สิงที่ยังไม่รู้\" ที่เรียกว่า \"ธรรม\" คือ \"*นิพพาน\"® ก็ได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่เหล่าบัณฑิต*แกปราชญ์มากมายต่าง *ทุ่มเทชีวิตแสวงหากัน เพื่อเป็นเครื่องกำจัดความ'ทุกข์ ความไม่รู้ และความกส้ว แต่ก็ยังไม่ปรากฏว่ามี^ดด้นพบ พระพุทธองค์ทรงพบว่า \"ธรรม\" คือ \"นิพพาน\" นั้นมีอยู่ แล้วในด้วม*แษย์ทุกคนตั้งแต่ถึอกำเนิดมาใครก็ดามที่ลทมารถเข้าพบ \"ธรรม\"คือ\"นิพพาน\"ในตัวเป็นประจำเสมีอนหนึ่งมิตรในเรือนแล้ว ส้งสารว้ฏของเขาเป็นอันยุติโดยเด็ดขาด ไม่ด้องประสบทั้งทุกข์ ธรรม คือ นิพพาน หรือแปลทับศัพท์เลยว่า นิพพานธรรม ปรากฎเป็นภาษาบาลี ว่า\"นิพพานธมุม\"พบในอรรถกถาประมาณ๒๔ แห่ง เซ่น มหาลิสูตร:ที.สี.อ.(ไทย) ๑๒/๑๐๘ เป็นด้น ฬุทรปรราด ฉบับการฟ้นฟูคลธรรมโลก ๒๒๖ บททึ๋ ๕บทล่งท้าย «> 'v\"® - www.kalyanamitra.org
ประจำและทุกข์จรดังเช่นสัตวโลกทั้งหลาย ทว่าจะไดัโปเสวยสุข อยู่ในอายตนะนิพพานชวนิรันดร์ โฮ. การค้นพบวิรกๆรกำจัดกิเลสให้หมดสินโดยเด็ดขาด ดัวยอำนาจของสัมมาสมาธิที่แก่กล้า ทำ ให้พระพุทธองค์เมื่อครั้ง ยังเป็นพระโพธิสัตว์ทรงเห็นแจ้งรู้แจ้งว่าอาสวะกิเลสทั้งหลาย ล้วน แอบแฝงเกาะติดแนบแน่นในใจของพระองค์ ครั้นเมื่อทรงน้อมใจ เข้าไปยังคูนยกลางของธรรมที่ทำให้เป็นอาสวักขยญาณ ก็ทำ ให้ ทรงรู้แจ้งเห็นแจ้งทั้งอวิชชา และอริยสัจ ๔ ครั้นแล้วดัวยอำนาจ ของธรรมนั้น ใจของพระองค์ก็หลุดพ้นจากอาสวะกิเลสทั้งหมด ดังนั้นจึงกล่าวไดัว่า สัมมาสมาธิที่แก่กล้า อันประกอบดัวยองค์ ๗ ที่เรียกว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ นั้นเอง มีอำ นาจในการกำจ้ดกิเลสให้ หมดสิ้นโดยเด็ดขาด ๓. การค้นพบว่า มนุษย์มีองค์ประกอบ ๓ ส่วน นั่นคือ กาย ใจ และธรรม® อันเป็นองค์ประกอบสำคัญในการกำจัด อาสวะกิเลสให้หมดสิ้นไป • — ® การอธิบายว่า มนุษย์ประกอบด้วย กาย + ใจ + ธรรม นี้ ผู้เขียนมุ่งอธิบายเพื่อ แยกกันให้เด่นชัดขึ้นเท่านั้นคือ กายที่เป็นอาศัยของใจใจเป็นที่อาศัยของธรรมหรือ พูดสั้นๆ ว่า ธรรมอยู่ในใจ ใจอยู่ในกาย กาย(รูปธรรม) เป็นที่อาศัยของใจ คือ มีหทัยรูปในกายเป็นประดุจถํ้าที่อาศัย (คุหาสยํ) (ชุ.ธ.อ.(ไทย) ๔๐/๔๑๗) ใจ (นามธรรม) เป็นที่อาศัยและเป็นประธานของธรรม ดังในคำว่า \"มโน ปุพฺพงฺคมา ธมมา ธรรมทั้งหลายปีใจเป็นผู้นำ สำ เร็จด้วยใจ\"(ชุ.ธ.อ.(ไทย)๔๐/๑) ใจทำหน้าที่รับอารมณ์ และเป็นเหดุให้ธรรมที่อยู่ในใจรู้อารมณ์ได้ คล้ายเป็นผู้นำ ดลอดจนทำไหสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิดวิจิตรพิสดาร ธรรมที่อยู่ในใจ(เจตสิกธรรม)คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากดธรรม ที่เกิดร่วมพรัอมกับใจ เช่นในคำว่า \"พึงเจริญเมตตามีในใจไม่มีประมาณไปในสัตว์ พุทธประวัติ ฉบับการสันฟูศลธรรมโลก ^ ๒๒๗ ^ มฑที่ 4\"บทล่งท้าย www.kalyanamitra.org
เชิงอรรถ (ต่อจากหน้า ๒๒๗) ทั้งปวง, พระศาสดาทรงตรวจดูภูมิธรรมอ้นมีในใจของพญาสีหะจึงพยากรถ!ว่า ใน อนาคตกาล พญาสีหะนี้จักเป็นพระพุทธเจ้า\" \"ราคะก็เกิตขึ้นภายในใจของเธอ เธอ ถูกราคะนั้นเองเผาเอาจนตายไป\" เป็นต้น แต่ \"ธรรม\" ในฑึ่นี้ ผู้เขียนมุ่งหมาย \"อริยมรรค\" อ้นเป็นอ้ชฌ้ตตธรรม คือ ธรรมภายในใจ ซึ่งเป็นหนทางดำเนินไปสู่ พหิทธธรรม คือ นิพพาน อ้นเป็นธรรม ภายนอก แต่ก็แสวงหาจากภายในกายและใจนี้เท่านั้นโดยเป็นอารมณ์ของใจที่อยู่ ในกาย ใหใจเข้าไปรับรู้รสคือ ความสงบทุกข์ทั้งปวง เข้าถึงบรมสุขอันไม่มีสุฃ อื่นยิ่งกว่า ด้งบาลีว่า \"หากว่าเขาผู้ปีจิตหลุดพ้นอย่างถูกต้อง คงที่อย่ในนิพพาน...ย่อมปีญาณ หยั่งรู้ว่า ความหลุดพ้นของเราไม่กำเริบ!\"{อิณmร:อ!้ฉักก.อ.(ไทย)๓๖/๖๖๘) \"เพราะแม้ผู้ปราศจากราคะก็ย้งปีส้งขารุเบกขา จิตหลีกจากสังขารแล่นไปสู่ นิพพาน\"(ขุ.ปฎ.อ.(ไทย)๖๘/๗๔๒) กาย ใจ ธรรม นี้เป็นสภาพเนื่องถึงกัน ด้งบาลีว่า \"ทุกข์(ธรรม)นี้ย่อมปีบคั้นกาย และให้เกิดทุกข็ใจยิ่งขึ้น เพราะจิตไต้ร้บการปีบคั้นและนำความปีบคั้นแก่กายอีกต้วย\"{ข.ใ}^.อ.(ไทย) ๖๘/๔๒๕) กาย ใจ ธรรม ที่แยกอธิบายนี้ แต่โตยความรวมแล้ว กายใจ หรือ รูปนามนี้ก็ จัตเป็นธรรมอยู่แล้วเรืยกว่า รูปธรรม นามธรรม (อรูปธรรม) ถ้ารวมกันเป็นหนื่ง โตยไม่แยกก็ที่เรียกว่า อสังฃตธรรม เพราะถูกปัจจัย ๔ คือ กรรม จิต อุตุ (ความ เย็นความร้อน) อาหาร ปรุงแต่งให้เปลี่ยนแปลง เกิตด้บอยู่เสมอ แต่สังฃตธรรมนี้ ก็ เป็นปัจจัยให้ต้นพบอสังขตธรรมคือนิพพานไต้ ด้งบาลีว่า \"ธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสังขตะมีประมาณเท่าใด อริยมรรคมีองค์๘ ปราชญ์ กล่าวว่าเป็นยอดแห่งธรรมทั้งปวงนั้น สัดว์เหล่าใดเลื่อมใสในอริยมรรคปีองค์ ๘ สัตว์เหล่านั้นจึงชื่อว่าเลื่อมใสในวัตถุอันเลิศ เมื่อเลื่อมใสในวัตถุอันเลิศ กิย่อมไต้ผล อันเลิศ\"{ปสาทสูตร: อัง.จตุก.(ไทย)๓๕/๑๒๙) \"พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระสาวก ย่อมถึงนิพพานอันเป็นทิศที่ ไม่เคยไปต้วยอริยมรรคนี้เพราะฉะนั้น อริยมรรคปีองค์๘ นี้เท่านั้น จึงลํ้าเลิศ เป็น ประธาน สงสตและประเสริฐกว่ามรรคของสมณพราหมณ์เป็นอันมาก ผู้ถึอสัทธิอื่น เพราะฉะนัน อัฏฐังคิกมรรคจึงประเสริฐกว่ามรรคทั้งหลาย\" (ชุ.ปฎิ.อ. (ไทย) ๖๙/ ๕๕๑) ทุทรประวัตํ ฉบับการฟ้นฟูศลธรรมโลก ๒๒๘ บทที๋ «r บทล่งท้าย พ'^\"\"Vv® www.kalyanamitra.org
กาย เป็นที่ประชุมธาตุทั้ง ๔ และเป็นที่อยู่ของใจ แต่ เนื่องจากธาตุ ๔ ในกายยังไม่บริสุทธ ทำ ให้แตกดับไปตลอดเวลา จึงดัองหล่อเลี้ยงกายดัวยการเติมธาตุ๔จากภายนอกเข้าไปทตแทน ใจ เป็นธาตุร้ ทำ ให้กายมีชีวิต สามารถเห็น จำ คิด ร'เรื่อง จํฆิ ข ราวต่างๆที่เข้ามากระทบและเป็นเครื่องมีอในการดรัสรู้ธรรมภายใน ธรรม เป็นธรรมชาติบริสุทธที่มีอยู่แล้วภายในดัวมนุษย์ มีหลายดวงซ้อนอยู่เป็นชั้นๆ ดามลำดับของความบริสุทธี้ คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ ในโลกดดรมรรค ๔ สำ หรับกำจัดกิเลส®และ สามารถเห็นไดัดัวยตาเปล่า แต่เห็นไดัดัวยการเจริญภาวนาให็ใจ หยุตนื่งอยู่ในศูนย์กลางกายอย่างต่อเนื่องไม่ถอนถอย ตามหลัก ปฎิบติอริยมรรคมีองค์๘ ขุ.ขุ.อ.(ไทย)๓๙/๑๑๒ บุคคลย่อมค้นหานิพพานด้วยทางนี้ หรือแสวงหาเอง หรือ ฆ่ากิเลสไป เหตุนั้น ทางนี้ จึงซื่อว่า มรรค ภิกษุเมื่อเจริญมรรคมีประเภท ๔ และมี องค์๘ นี้อย่างนี้ ย่อมทำลายอวิชชา ทำ วิชชาให้เกิด ทำ ให้แจ้งพระนิพพาน, เวรัญชก้ณฑ์: วิ.มหา.อ.(ไทย)๑/๓๐๔, ภยเภรวสูตร ะ ม.มู.อ.(ไทย) ๑๗/๓๑๓ อาสวักขยญาณ คือ อรห้ตมรรค ท่านเรืยกว่า ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะทำอาสวะให้พินาศไป ญาณนี้ ในอรห้ดมรรคนั้น ท่านเรืยกว่า ธรรมเป็นที่สิ้น ไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพราะความที่ญาณนั้นเป็นธรรมนับเนื่องแล้ว ในมรรคนั้น (หมายถึง ปัญญาในอรห้ตมรรค) ทุทธประวัติ ฉบับการฟ้นฟูสืลธรรมโan ๒๒!* ม*'ฑึ๋ ^บทส่งฑัาย _0 www.kalyanamitra.org
ธรรม มนุษย์ > กาย +ใจ + ธรรม ^ ด้วย ภาพที่ ๑ แสดงองค์ประกอบของมนุษย์หลังการตรัสรู้ การค้นพบนี้ทำให้พระองค์ทรงตรัสรู้ความจริงอันยิ่งใหญ่ว่า มนุษย์ทุกคนสามารถหมดกิเลสได้เช่นเดียวกับพระองค์ และนำ ไปสู่การประกาศพระพุทธศาสนาในช่วงเวลาต่อมา อังผลให้มี ผู้คนจำนวนมากที่ได้ฟังธรรมและบรรลุธรรม หมดกิเลสเข้า นิพพานตามคำสอนของพระองค์ ด้งนั้น ถ้าพิจารณาอย่างรอบคอบแล้ว ย่อมเห็นได้ว่าการค้น พบที่ยิ่งใหญ่ทั้ง ๓ ประการนี้ เกิดขึ้นจากพระบริสุทธิคุณ และ พระปัญญาคุณของพระพุทธองค์โดยแท้ ซึ่งสามารถอำนวย ประโยชน์สุขโดยตรงให้แก่พระองค์สมมโนปณิธานที่ตั้งไว้แต่ครั้ง เป็นสุเมธมาณพ ทุทธประว้ติ ฉบับการส์นฟูศลธรรมโลก ^ ๒๓0 ^ นทฑึ่ <r บทส่งทาข www.kalyanamitra.org
ผลของการตรัสรู้อันเป็นประโยชน์ตํอชาวโลก ขณะที่พระองค์ทรงบรรลุอาสวักฃยญาณนั้น ก็ทรงรู้ชัดถึง อริยสัจ ๔ ด้วย เนื่องจากพระพุทธองค์ทรงบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ แล้ว เรื่องอริยสัจ ๔ คงจะมิได้อำนวยประโยชน์สุขโดยตรงให้แก่ พระองค์ต่อไปอีก แต่ด้วยพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่ที่ทรงตั้ง ความปรารถนาจะช่วยให้ชาวโลกหมดกิเลสหมดทุกข์ด้งเช่น พระองค์ด้วย ด้งนั้นอริยสัจ ๔จึงถูกจัดเป็นธรรมแม่บทสำหรับการ เผยแผ่คำสอนในพระพุทธศาสนา ซึ่งชาวพุทธโดยทั่วไปย่อมรู้ และจำกันไดขึ้นใจว่า อริยสัจ ๔ ประกอบด้วย ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เพื่อเป็นการตอกยํ้าความเข้าใจให้ชาวพุทธตระหนักถึง ความสำคัญของอริยสัจ ๔ ซึ่งเป็นผลการตรัสรู้ของพระองค์ที่ อำ นวยประโยชน์โดยตรงให้ชาวโลกยิ่งกว่าธรรมหมวดอื่นๆ จึง ขออธิบายอริยสัจ ๔ด้วยภาษาง่ายๆ ด้งนี้ ๑. ทุกฃ พระองค์ทรงขึ้ชัดว่าแทัที่จริงแล้วสัตวโลกทังมวล ล้วนตกอยู่ในความทุกข์ใม่มีการยกเวัน ไอ. สมุทัย หรือทุกขสมุทัย หมายถึง ทุกข์ทั้งมวลล้วนมี เหตุมาจากกิเลสที่แอบแผ่งแนบแน่น หม้กดองอยู่ใน ใจของคนเราทุกคนนั้นเอง (เพราะฉะนั้น คัตรูที่แทั จริงของชาวโลก ก็คือ กิเลสทั้งของเราและของเขานั้นเอง จงอย่าหลงไปราวีหรือรบราฆ่าฟันกันเลย แต่จงคิด กำ จัดกิเลสให้หมดสิ้นไปจากใจตนโดยเร็ว) รปรรวัต ฉบับกา'!ฟ้นฟูศีลธรรมโลก ๒๓® บทส่งท้าย www.kalyanamitra.org
๓. นิโรธ หรือทุกขนิโรธ หมายความว่า ความทุกข์ทั้ง มวล^งมีกิเลสเป็นด้นเหดเมื่อใจเข้าไปอยู่ในธรรม คือนิพพานในตัวของเราเองความทุกข์ทั้งมวลก็ถึงความ ตับไป ๔. มรรค หรือทุกขนิโรธคามินิปฏิปทา หมายความว่า การปฎิบตอริยมรรคมีองค์ ๘ ด้วยชีวิต เป็นวิธีเดียว เท่านั้นที่จะทำให้กิเลสหมดไปอย่างเด็ดขาด และ บรรลุความเป็นพระอริยบุคคล และเป็นวิธีปฏิบัติที่ ทำ ให้พระโพธิสัตว์บรรลุพระสัมมาส้มโพธิญาณ ตรัสรู้เป็นพระสัมมาส้มพุทธเจ้า ตังนั้น ใครๆ จึงไม่ ต้องลังเลสงสัย ความหมายของ \"ธรรม\" คำ ว่า \"ธรรม\" ที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา มีความ หมายไตัหลายอย่าง แดกต่างกันไปดามบริบท อย่างไรก็ดามคำว่า \"ธรรม\" ที่ใช้อยู่ในหนังสือเล่มนี้ มีความหมายแดกต่างกัน ๓ ประการ คือ ๑. \"ธรรม\" หมายถึง ธรรมชาติบริสุทธ ซึ่งตันพบได้ภาย ในศูนย์กลางกาย ที่อยู่ภายในตัวมนุษย์ ซึ่งมีอยู่แล้วตั้งแต่แรกเกิด แต่มนุษย์ทั้วไปไม่รูไม่เห็นพระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ตันพบเมื่อ ทรงปฏิป้ติสัมมาสมาธิมีองค์๗จนกระทั้งบรรลุอาสว้กขยญๆณใจ ของพระองค์ก็รวมเป็นหนึ่งเดียวกับ \"ธรรม\" คือ \"นิพพาน\" Tjnsป-!รวัตํ ฉบับการส์นฟูศีลธรรมโลก ๒๓๒ นททึ๋ <r บทส่งท้าย www.kalyanamitra.org
ดังนั้น บุคคลใดก็ตามที่ปฏิบัติสัมมาสมาธิมีองค์ ๗ หรือ อริยมรรคมีองค์ ๘ ดัวยชีวิต เมื่อถูกส่วนย่อมเข้าถึง และเป็นอัน หนึ่งอันเดียวกับ\"ธรรม\"ซึ่งเป็นธรรมชาติบริสุทธี้นึ่ใดั ธรรมชาติบริสุทธนี้สำคัญมากเพราะ - มีอำ นาจในการดับทุกข์ทั้งมวลให้หมตสิ้น - เป็นแหล่งความรู้บริสุทธอยู่ภายในคัวของคนเรา - เป็นแหล่งความสุขแท้จริงอยู่ภายในคัวของคนเรา - ผู้ที่เข้าถึงได้ ย่อมหมดอวิชชา หมดกิเลส หมดทุกข์ ใ3. \"ธรรม\" หมายถึง คำ สอนของพระสัมมาสัมทุทธเจ้า บุคคลที่ประพฤติปฏิบตตามคำสอนอย่างถูกคัอง เคร่งครัต ย่อมมี ใจละเอียดอ่อนประณีต ผ่องใส สามารถเข้าถึงและเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกับธรรมชาติบริสุทธี้ภายในยังผลให้หายทุกข์หายกสัว และ หายไม่รู้คืออวิชชาสวะหมดไปโดยสิ้นเซิงประสบแต่ความสุขตลอด กาล นิยมเรืยก \"ธรรม\" นัยนี้ว่า พระธรรม ธรรมหรือพระธรรม ซึ่งเป็นคำสอนแม่บท คือ มรรคมีองค์๘ ย่อลงนัอยที่สุตเหลือ ๑ คือความไม่ประมาท และขยายออกไคัมาก ที่สุต ถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมข้นธ ดังภาพต่อไปนี้ ทฑธป'รรว้ด ฉบับกา■รฟ้น'ฟสิลin•รนโลก ๒๓๓ บก\"'ร'บ\"ส่ฬาย ปี'/*^9 ^ 0_ www.kalyanamitra.org
นพพาน ความไม่ประมาท สมมา m จิตตสิกขา ภาพที่ ๕ แสดงภาพรวมพระไตรปิฎก ๘๔,๐๐0 ธรรมขันธ์ หมายเหตุ ะ ละชั่ว ทำ ดี ทำ ใจใส ขัดอยู่ในศีล สมาธิ ปัญญา® ๓. \"ธรรม\" คือ นิสัยดี ๆ ความประพฤติดี ๆ ตลอดจน คุณธรรมที่เกิดขึ้นหลังจากการปฏิบัติตามพระธรรมคำสอนของ พระลัมมาลัมพุทธเขัาจนคุ้นเป็นนิลัย เมื่อคุ้นถึงระดับใดก็เรียกชื่อ นิลัยดีๆ ตามระดับของผลการปฏิบติธรรมนั้นๆ เช่น ® ชุ.เถร.อ.(ไทย)๕๐/๒๓ สีล ชื่อว่า งามในเบื้องด้นด้วยข้อปฏิบ้ด ดังพระบาลีว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ คือ การไม่ทำบาปทั้งปวง เพราะความเป็นเหตุนำมาซึ่งคุณธรรม มีความไม่ด้องเดือด ร้อนเป็นด้น สมาธิ ชื่อว่า งามในท่ามกลางด้วยข้อปฎิบ้ต ดังพระบาลีว่า กสลสฺส อุปสม.ปทา ยังกุศลธรรมให้ถึงพร้อม บ้าง เพราะเป็นเหตุนำมาซึ่งคุณมีอิทธิวิธีเป็นด้น ปัญญา ชื่อว่า เป็นที่สุดของข้อปฏิบ้ด ด้งพระบาลีว่า สจิตฺตปริโยทปนํ การทำ จิตของตนให้1สสว่าง โดยเหตุที่ปัญญาเหนือกว่ากุศลธรรมทั้งหลาย ทุฑธประวัสิ ฉบับการฟ้นฟูศรธรรมโลก ๒๓๔ บทฑี๋ <r บทส่งท้าย •••■ไ©-'® www.kalyanamitra.org
ถ้าปฏิป้ตไดในระดับปรารถนาดีต่อผู้อื่นก็เรียกว่า มีคุณ ธรรม ถ้ารักษาศีลจนเป็นนิสัยก็เรียกว่า มีดีลธรรม ถ้ามีความประพฤติดีงามอื่นๆ จนเป็นคุณธรรมยิ่งๆ ขึ้น ไปไดีอีกด้วย ก็เรียกว่า มีจริยธรรม ฯลฯ ธรรมชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จากการศึกษาคัมภีร์พระพุทธศาสนา ทำ ให้เราทราบว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ หลังจากตรัสรู้แล้ว ต่างก็ ประติษฐานพระพุทธศาสนาขึ้นในโลก ด้วยการแสดงพระธรรม เทศนาสั่งสอนชาวโลกให้รู้แจ้งเห็นแจ้งพระสัทธรรม ตลอดจนคุณ ความดีต่าง ๆ เพื่อให้สามารถบรรลุธรรมตามพระองค็ไปด้วย ครั้นเมื่อถึงอายุขัยย่อมเสด็จคับขันธปรินิพพาน คงเหลือไว้แต่ ศาสนาของพระองค์ ซึ่งจะยืนยาวอยู่ระยะหนึ่ง แล้วในที่สุตก็จะ อันตรธานไป เป็นเหตุให็โลกต้องว่างจากพระศาสนาไปจนกว่า จะมีพระโพธิสัตว์มาบังเกิด และตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณเป็น พระสัมมาล้มพุทธเจ้าองค็ใหม่แล้วประติษฐานพระพุทธศาสนาขึ้นอีก พระพุทธศาสนาก็จะหึ๋เนคืนมาสู่ชาวโลกอีกครั้งหนึ่ง นี้เป็นธรรมดา ของธรรมชาติของพระพทธเจ้า ทุทธประวัดํ ฉบับการฟ้นฟูศีลธรรมโลก ^ ๒๓๕ ^ บ\"ที «บทล่งทาย www.kalyanamitra.org
ทรงอาศัยทศพลญาณในการเผยแผ่ธรรม สำ หรับพระสัมมาส้มพุทธเจ้าของเรานั้น เมื่อตรัสรูใหม่ๆ ด้วยพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่ ปรารถนาจะอนุเคราะห์ชาวโลกทั้ง หลาย ด้วยการตรัสเทศนาวิธีปฏิบตเพื่อบรรลุความหลุดพ้นตาม พระองค็ไปด้วย ทรงเห็นว่า\"ธรรม\"ที่ทรงบรรลุนั้นลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก ไม่เป็นวิสัยแห่งตรรกะ คือการคิตด้วยเหตุผล แต่สงบ ประณีต ละเอียด บัณฑิตเท่านั้นจึงจะรูได้ ด้งนั้น พระองค์จึงด้อง ทรงอาด้ยทศพลญาณ พิจารณาแยกแยะอัธยาศัยและอินทรีย์ของ ผู้ฟังธรรม แล้วค่อยแสดงธรรมให้เหมาะแก่อัธยาศัยและอินทรีย์ ของผู้ฟัง ด้งเช่นกรณีของพระฟ้ญจวัคคีย์ในครั้งแรกนั้นพระพุทธองค์ ได้ตรัสเทศนาธัมมจ้กกัปปวัตนสูตรซึ่งมีสารัตถะสำศัญแห่งธรรมอยู่ ๓ ประการ คือ ๑. บรรพรดไม่ควรปฏิบัติสุดโต่ง๒อย่างได้แก่การพ้วพ้น อยู่ในกาม (กามสุขัลลิกานุโยค) และการทรมานด้วเองให้สำบาก (อัดตกิลมถานุโยค) สาเหตุที่ตรัสเทศนาเรื่องนี้ ก็เพื่อสรัางความ เข้าใจที่ถูกด้องให้แก่ปัญจวัคคีย์เพราะทรงทราบดีว่าเหล่าป็ญวัคคีย์ คลายศรัทธาจากพระองค์เนื่องจากพระองค์ เลิกการปฏิบัติแบบ ทรมานตน ๒. ทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ นั้นเอง พุทธประวัดํ ฉบับการฟ้นฟูสืลธรรมโลก ^ ๒๓๖ ^ ฆทที๋ ๕บทส่งท้าย www.kalyanamitra.org
๓. อริยสัจ ๔ แท้ที่จริง อริยมรรคมีองค์๘ ก็เป็นองค์ประกอบของอริยสัจ ๔ แต่พระพุทธองค์ก็ทรงแสดงอริยมรรคมีองค์ ๘ ก่อน เพื่อชี้ให้ ปัญจว้คคีย์เกิดความเข้าใจถูกต้องได้เอง โดยการคิดเปรียบเทียบ ระหว่างผลดีและผลเสียของการทรมานดนกับการปฏิบดสายกลาง ครั้นแล้วจึงดรัสเทศนาอริยสัจ ๔ ให้ปัญจวัคคีย์เกิดความ เข้าใจโดยภาพรวมทั้งหมดและเชื่อมั่นว่าการปฏิบติอริยมรรคมีองค์๘ เป็นทางบรรลุธรรมคีอ นิโรธหรีอ นิพพานอย่างแท้จริง ซึ่งมีผลให้ ท่านโกณฑโญญะ ผู้เป็นห้วหน้าปัญจวัคคีย์ใต้ดวงดาเห็นธรรม เป็น พระโสดาบันในขณะที่ดรัสเทศนาจบ ครั้นแล้วจึงทรงประทานการ บวชแบบเอห็ภิกขุอุปสัมปทาให้แก่ท่านโกณฑัญญะ ทำ ให้มีพระ สงฆ์เกิดชี้นเป็นครั้งแรกในโลก และเกิดพระรัดนดรัยครบองค์ ๓ คือ พระพุทธพระธรรม และพระสงฟ้ในวันนั้นเอง สำ หรับการดรัสเทศนาครั้งต่อมา ทรงแสดงปกิณกธรรมที่ เฉพาะพระปัญจวัคคีย์แต่ละรูป ซึ่งพระองค์ทรงรู้ด้วยทศพลญาณ แล้วว่า พระปัญจวัคคีย์มีอินทรีย์ ๕ คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ และปัญญินทรีย์แก่กล้าชี้นแล้ว เนื่องจาก ไต้เริ่มปฏิบติสัมมาสมาธิมีองค์ ๗ กัาวหน้ามาดามลำดับๆ แล้ว จนกระทั้งเมื่อพระปัญจวัคคีย์บรรลุเป็นพระโสดาบันครบถ้วนทุกรูป แล้ว จึงดรัสแสดงอนัตตสักฃณสูตรซึ่งมีสาระสำคัญว่า\"ขันธ์๕ไม่ เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ว่านั้นเป็นต้วดนของเรา\" หสังจากที่ดรัสเทศนาจบ พระปัญจวัคคีย์ทั้งหมดบรรลุอรห้ดผล เป็น พระอรหันต์ชดแรกของโลก ทุฑธประวัต ฉบับการส์นฟูสืลธรรมโลก ๒๓๗ นฑฑึ๋ ff บทพ่ท้าย www.kalyanamitra.org
การที่พระองค์ทรงรอให้พระปัญจวัคคีย์บรรลุเป็นพระ โสดาบันก่อน จึงค่อยตรัสแสดงอนัตตลักขณสูดร ย่อมแสดงให้ เห็นว่าทรงรู้ด้วยทศพลญาณว่า พระธรรมเทศนานี้เหมาะแก่พระ โสดาบันที่ออกบวชรอการดรัสรู้ของพระองค์เท่านั้น สำ หรับการตรัสเทศนาแต่ละครั้ง พระองค์ใด้ทรงใช้ทศพล ญาณพิจารณาตรวจสอบ ความอ่อนแก่ของอินทรีย์ที่จะบรรลุธรรม ดลอดจนลักษณะจิตอัธยาศัยของผู้ฟังธรรมว่าสอนง่ายหรีอยาก ก่อนที่จะแสดงธรรมเสมอ แลัวจึงตรัสเทศนาให้เหมาะแก่ธาตุธรรม เห็น จำ คิด รู้ของผู้ฟังนั้นๆ ด้งเช่น กรณีของสิงคาลกมาณพ® บุตรชายคฤหบดีผู้มั่งค์ง ซึ่งล่วงลับไปแล้วเนื่องจากในสมัยที่บุพการีทั้งสองของเขาบังมีชีวิตอยู่ ชายหนุ่มก็ใช้ชีวิตสนุกสนานเพลิดเพลินอยู่กับกามคุณ ๕ เฉก เช่นทายาทในตระกูลมั่งคั่งรั้ารวยทั้งหลาย จึงไม่เคยศึกษาเรียนรู้ พระธรรมคำสั่งสอนใดๆ ทั้งสิ้น ครั้นเมื่อบุพการีจากไป ภาระทุก อย่างในครอบครัวใหญ่ ที่ด้องรับผิดชอบผู้คนมากมายหลายชีวิต จึงดกเป็นของชายหนุ่ม เมื่อด้องแกัปัญหาในครอบครัวด้วยตนเอง ก็พบแต่ทางด้น ชายหนุ่มนึกได้ถึงคำของบิดาที่สั่งไวัก่อนจากไป ให็ไหวัทิศทั้งหลายเขาจึงตื่นขึ้นไปไหวัทิศแต่เช้าตรู่ ขณะออกบิณฑบาต พระพุทธองค์ก็ทรงแลเห็นชายหนุ่ม กำ ลังไหวัทิศอย่างตั้งใจ ก็ทรงรู้ช้ดว่า เขากำลังมีปัญหาร้อนใจ แต่ด้วยพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่พระองค์จึงทรงแวะเช้าไปโปรดเขา แต่ก็ทรงรู้ช้ดด้วยทศพลญาณว่า เขาบังไม่มีธรรมะอยู่ในจิตใจเลย • ^ ® สิงคาลกสูตร ะ ที.ปา.อ.(ไทย)๑๖/๗๗-๙๓ ทุฑธประวัติ ฉบ้บการฟ้นฟูคลธรรมโรก ๒๓๘ บฑที๋ ๕ บฑสํงท้าย ^ \"\"\"V \\« www.kalyanamitra.org
ถ้าจะตรัสเทศนาเรื่องอริยมรรคมีองค์ ๘ หรืออริยสัจ ๔ ก็คงจะ ยากเกินกว่าที่เขาจะเข้าใจ พระองค์จึงทรงเลือกแสดงธรรมที่จะ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่เขาอย่างแท้จริง ซึ่งมีทั้งหมด ๖ เรื่อง คือ ทรงเริ่มด้วยเรื่องกรรมกิเลส ๔ หรือศีล ๔ ข้อแรกในศีล ๕ นั่นเอง หสังจากนั้นทรงแสดงธรรมเรื่อง อคติ ๔ อบายมุข ๖ ลักษณะของ มิตรแท้ และมิตรเทียม ทิศ๖ และลังดหวัตถุ ๔ ดามลำด้บ เนื่องจากธรรมะทั้ง ๖ เรื่องนี้ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องถ้บชีวิด ประจำวันของทุกๆ คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิงคาลกมาณพ ซึ่ง เคยใข้ชีวิดสำราญบันเทิงอยู่กับกามสุข ย่อมทำให้เขาเข้าใจได้ง่าย และเกิดประโยชน์แก่เขาโดยดรง ชายหนุ่มจึงเกิดความรู้สึก ซาบซึ้งในพระธรรมเทศนา และพระมหากรุณาเป็นอย่างยิ่ง จึงขอ ถึงพระรัดนดรัยเป็นสรณะ ในฐานะอุบาสกผู้เป็นพุทธสาวกใน ท้นทีที่จบพระธรรมเทศนา หัวใจพระพุทธศาสนา ทำ นผู้อ่านคงจะเคยได้อำนพบในหนังสึอสารคดีทางธรรมหรือ เคยได้ยินชาวพุทธพูดกันอยู่เสมอว่า พระธรรมคำสอนที่ถึอว่า เป็นห้วใจพระพุทธศาสนาก็คือ อริยลัจ ๔ อย่างไรก็ดาม เนื่องจากพระพุทธศาสนา มิใช่เป็นเพียง ปรัชญา ด้งเช่นบางศาสนาที่อาศ้ยเพียงความเชื่อหรือความคิด เป็นหสักสำคัญเท่านั้น แต่พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งการ ปฏิบัติโดยแท้จริง ด้งมีพุทธพจน์ยืนบันไวัหลายแห่ง เช่นในบทสวด มนค์ที่ชาวพุทธสวดกันทุกวันว่า ทุฑธประวัต ฉบับการส์นฟูสิลธรรมโรก ๒๓®' นกกึ๋ ^บทส่งท้าย www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280