Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Published by สมยงค์ สาลีศรี, 2021-09-02 04:08:38

Description: กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Search

Read the Text Version

(๒) กรมราชทณั ฑ์ (๓) กรมสอบสวนคดีพิเศษ (๔) สถาบันนติ ิวทิ ยาศาสตร์ (๕) สํานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ (๖) สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตในภาครฐั ๑๓.กระทรวงแรงงาน เฉพาะ (๑) กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (๒) สาํ นกั งานประกนั สงั คม ๑๔.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เฉพาะ (๑) สํานกั งานปรมาณูเพ่ือสนั ติ ๑๕.กระทรวงศกึ ษาธิการ เฉพาะ (๑) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ (๒) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (๓) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ (๔) มหาวิทยาลยั นเรศวร (๕) มหาวิทยาลัยมหิดล (๖) มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ (๗) มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ๑๖.กระทรวงสาธารณสขุ เฉพาะ (๑) สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ (๒) กรมการแพทย์ (๓) กรมควบคมุ โรค (๔) กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ (๕) กรมอนามยั (๖) สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ๑๗.กระทรวงอุตสาหกรรม เฉพาะ (๑) กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๒) สํานกั งานคณะกรรมการอ้อยและนาํ้ ตาลทราย 192 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

๑๘.ส่วนราชการไมส่ ังกัดสาํ นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวงหรอื ทบวง เฉพาะ 193 (๑) สํานกั งานตํารวจแห่งชาติ องค์กรตามรัฐธรรมนญู ๑. สาํ นกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ ๒. สํานักงานอยั การสูงสุด รัฐวิสาหกจิ ๑. การเคหะแห่งชาติ ๒. การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ๓. การท่าเรอื แห่งประเทศไทย ๔. การประปาส่วนภมู ิภาค ๕. การประปานครหลวง ๖. การไฟฟา้ นครหลวง ๗. การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย ๘. การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค ๙. การยางแหง่ ประเทศไทย ๑๐. การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย ๑๑. การรถไฟแหง่ ประเทศไทย ๑๒. ธนาคารกรุงไทย จาํ กัด (มหาชน) ๑๓. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มแหง่ ประเทศไทย ๑๔. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร ๑๕. ธนาคารเพ่อื การส่งออกและนาํ เขา้ แห่งประเทศไทย ๑๖. ธนาคารออมสนิ ๑๗. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ๑๘. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ๑๙. บรรษัทตลาดรองสนิ เช่ือทีอ่ ยู่อาศัย ๒๐. บรรษัทประกันสนิ เช่อื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม ๒๑. บริษัท กสท โทรคมนาคม จาํ กัด (มหาชน) ๒๒. บริษทั การบินไทย จาํ กดั (มหาชน) ๒๓. บรษิ ทั ขนส่ง จํากดั สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

๒๔. บรษิ ัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ๒๕. บรษิ ทั ทโี อที จํากดั (มหาชน) ๒๖. บริษทั ปตท จาํ กดั (มหาชน) ๒๗. บรษิ ทั ไปรษณีย์ไทย จํากัด ๒๘. บริษทั วทิ ยุการบนิ แห่งประเทศไทย จํากดั ๒๙. บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) ๓๐. องค์การเภสัชกรรม ๓๑. องคก์ ารคลังสนิ ค้า ๓๒. องค์การจดั การน้าํ เสยี ๓๓. องคก์ ารอตุ สาหกรรมป่าไม้ ๓๔. องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ ๓๕. บรษิ ัทบริหารสนิ ทรพั ย์ กรงุ เทพพาณชิ ย์ จาํ กดั (มหาชน) หนว่ ยงานอนื่ ของรัฐ ๑. กองทนุ เงนิ ใหก้ ู้ยืมเงินเพ่ือการศึกษา ๒. กองทุนบาํ เหน็จบาํ นาญข้าราชการ ๓. ตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย ๔. ธนาคารแห่งประเทศไทย ๕. สถาบนั การแพทย์ฉุกเฉนิ แหง่ ชาติ ๖. สภากาชาดไทย ๗. สํานกั งานคณะกรรมการกาํ กบั กิจการพลังงาน ๘. สํานักงานคณะกรรมการกาํ กับและส่งเสริมการประกอบธรุ กิจประกนั ภยั ๙. สํานักงานคณะกรรมการกาํ กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ องค์การมหาชน ๑. โรงพยาบาลบา้ นแพว้ (องคก์ ารมหาชน) ๒. สาํ นกั งานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) ๓. สํานกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) ๔. สาํ นกั งานรฐั บาลอิเล็กทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ๑. กรงุ เทพมหานคร 194 สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

หน่วยงานภาคเอกชน ๑. บรษิ ทั ขอ้ มลู เครดิตแห่งชาติ จํากดั ๒. บรษิ ัท สาํ นกั หกั บัญชี (ประเทศไทย) จํากดั ๓. บรษิ ทั ศนู ย์รบั ฝากหลกั ทรัพย์ (ประเทศไทย) จาํ กัด ๔. สมาคมตลาดตราสารหน้ไี ทย ---------------------------------------------------- สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 195

196 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

พระราชบัญญัติ การพฒั นาดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 197

ช่ือกฎหมาย พระราชบญั ญตั กิ ารพฒั นาดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๔ / ตอนท่ี ๑๐ ก / หนา ๑ / วันท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ เรมิ่ บงั คับใช วนั ท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๖๐ ผรู กั ษาการ รฐั มนตรีวาการกระทรวงดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม 198 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา พระราชบญั ญัติ การพัฒนาดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๐ สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เปน็ ปีที่ ๒ ในรชั กาลปจั จุบนั สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยทเ่ี ป็นการสมควรมกี ฎหมายวา่ ดว้ ยการพฒั นาดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานติ ิบญั ญัติแหง่ ชาติ ดังตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ตน้ ไป มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี “ดิจิทัล” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ใช้วิธีการนําสัญลักษณ์ศูนย์และหนึ่งหรือสัญลักษณ์อื่น มาแทนค่าสิ่งทงั้ ปวง เพอื่ ใชส้ รา้ ง หรือกอ่ ใหเ้ กดิ ระบบตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้มนุษย์ใชป้ ระโยชน์ “ดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” หมายความวา่ ระบบเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีการติดต่อส่ือสาร การผลิต การอุปโภคบริโภค การใช้สอย การจําหน่ายจ่ายแจก การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การทําธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ การคมนาคมขนส่ง การโลจิสติกส์ การศึกษา การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การสาธารณสขุ การเงนิ การลงทุน การภาษีอากร การบริหารจัดการข้อมูล และเนื้อหาหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 199

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๒ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา และสังคมอ่ืนใด หรือการใด ๆ ท่ีมีกระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัลหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทศั น์ กิจการวิทยคุ มนาคม กิจการโทรคมนาคม กิจการส่ือสารดาวเทียม และการบริหารคลื่นความถี่ โดยอาศัยโครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมท้ังเทคโนโลยีทีม่ กี ารหลอมรวม หรอื เทคโนโลยอี นื่ ใดในทาํ นองเดียวกนั หรือคลา้ ยคลงึ กนั “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ และหน่วยงานอื่นของรัฐ และหมายความรวมถึงคณะกรรมการท่ีมีอํานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับกิจการใด ๆ ทใ่ี ช้ประโยชน์จากดิจทิ ลั “รฐั วสิ าหกจิ ” หมายความวา่ รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ “เลขาธิการ” หมายความวา่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ “สํานักงาน” หมายความวา่ สาํ นักงานคณะกรรมการดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ “กองทุน” หมายความวา่ กองทนุ พฒั นาดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม “คณะกรรมการบริหารกองทุน” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม “ผอู้ ํานวยการ” หมายความวา่ ผ้อู าํ นวยการสํานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั “รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรีผรู้ กั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการตาม พระราชบญั ญัตนิ ี้ หมวด ๑ การพฒั นาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม มาตรา ๕ เพื่อให้การพัฒนาดิจิทัลเกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นส่วนรวม ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสงั คมขนึ้ ตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการ การประกาศใช้และการแก้ไขปรับปรุงนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ใหท้ ําเปน็ ประกาศพระบรมราชโองการและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่อื มกี ารประกาศใช้นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแล้ว หน่วยงานของรัฐตอ้ งดําเนนิ การตามอาํ นาจหน้าทข่ี องตนให้สอดคล้องกบั นโยบายและแผนระดบั ชาตดิ ังกล่าว มาตรา ๖ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม มเี ปา้ หมายและแนวทางอยา่ งนอ้ ย ดังตอ่ ไปนี้ 200 สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๓ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) การดําเนินการและการพัฒนาให้การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยวิธีการอย่างหน่ึงอย่างใดท่ีทําให้สามารถใช้ร่วมกันหรือเช่ือมโยงกันได้หรือวิธีอื่นใดที่เป็นการประหยัด ทรัพยากรของชาติและเกิดความสะดวกต่อผู้ที่เก่ียวข้อง รวมถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้จ่าย งบประมาณประจาํ ปี (๒) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงต้องครอบคลุมโครงข่ายการติดต่อส่ือสาร แพร่เสียง แพร่ภาพในทุกรูปแบบไม่ว่าจะอยู่ในภาคพื้นดิน พื้นน้ํา ในอากาศ หรืออวกาศ และเป้าหมายในการใช้คลื่นความถี่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คม และประโยชน์ของประชาชน (๓) การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีระบบการให้บริการหรือแอพพลิเคชั่นสําหรับประยุกต์ ใชง้ านด้วยเทคโนโลยดี ิจิทัล (๔) การส่งเสริมให้เกิดมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลให้สอดคล้องกัน เพื่อให้การทํางานระหว่างระบบสามารถทํางานเชื่อมโยงกันได้อย่างมีความมั่นคงปลอดภัย อยู่ในสภาพ พร้อมใชง้ าน รวมตลอดท้ังทาํ ใหร้ ะบบหรือการใหบ้ รกิ ารมีความน่าเชอื่ ถอื และแนวทางการส่งเสริมให้เกิด การใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และมีหลักประกัน การเข้าถึงและใชป้ ระโยชนข์ องประชาชนอย่างเท่าเทียม ทว่ั ถงึ และเป็นธรรม โดยไม่เลอื กปฏิบัติ (๕) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมและนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสร้างหรือเผยแพร่เน้ือหาผ่านทางส่ือที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมและความมน่ั คงของประเทศ (๖) การส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคน ให้เกิดความพร้อมและความรู้ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐและเอกชน ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสร้างความตระหนักและรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศอ่ืน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ลดความเหลื่อมลํ้าในการเข้าถึงบริการที่จําเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน (๗) การพัฒนาคลังข้อมูลและฐานข้อมูลดิจิทัล การบริหารจัดการความรู้ รวมท้ังการส่งเสริม เพ่ือให้มีระบบที่เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้และให้บริการข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ท่ีทันสมัย ซ่ึงเอ้ือต่อ การนําไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบที่เหมาะกับยคุ สมัย หมวด ๒ คณะกรรมการ สว่ นท่ี ๑ คณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 201

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๔ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๗ ใหม้ คี ณะกรรมการดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตปิ ระกอบดว้ ย (๑) นายกรฐั มนตรี เป็นประธานกรรมการ (๒) รองนายกรัฐมนตรที นี่ ายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ (๓) กรรมการโดยตําแหน่ง ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ และผวู้ ่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (๔) กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ จิ าํ นวนไมน่ อ้ ยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินแปดคนซ่งึ คณะรฐั มนตรีแตง่ ตง้ั ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมเป็นกรรมการและเลขานุการและให้เลขาธิการ เปน็ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิตามวรรคหนึ่ง ให้คณะรัฐมนตรแี ต่งต้ังจากบคุ คลซง่ึ มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และความสามารถเป็นท่ีประจักษ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านบริหารธุรกิจ ด้านกฎหมาย หรือด้านอื่นท่ีเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อ การดาํ เนนิ งานของคณะกรรมการ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รวมท้ังการสรรหากรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิเพ่ือดํารงตาํ แหน่งแทนผู้ที่พน้ จากตาํ แหน่งกอ่ นวาระตามมาตรา ๙ วรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บทีค่ ณะรัฐมนตรกี ําหนดโดยการเสนอแนะของคณะกรรมการ มาตรา ๘ กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิตอ้ งมีคุณสมบตั ิและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังตอ่ ไปนี้ (๑) มสี ัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่เกนิ หกสบิ ห้าปี (๓) ไม่เปน็ บุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลลม้ ละลายทุจรติ (๔) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไรค้ วามสามารถ (๕) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ที่ไดก้ ระทําโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ (๖) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชน เพราะทุจริตตอ่ หนา้ ทหี่ รอื ประพฤติชว่ั อยา่ งรา้ ยแรง (๗) ไม่ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอิสระอื่นใด หรือเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือลูกจ้างของ องค์การเอกชนใดที่มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์ขัดแย้งไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมกับการปฏิบัติหน้าท่ี ในตาํ แหน่งกรรมการ 202 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๕ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๘) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถ่ิน หรือผู้บริหารท้องถ่ิน กรรมการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งซ่ึงรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ของ พรรคการเมือง มาตรา ๙ กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิมวี าระการดํารงตาํ แหน่งคราวละส่ปี ี ในกรณีท่ีมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มเติมหรือแทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีพ้นจาก ตําแหน่งก่อนวาระ คณะรัฐมนตรีอาจแต่งตั้งกรรมการเพิ่มเติมหรือกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างได้ และให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ิมเติมหรือแทนตําแหน่งที่ว่างนั้นดํารงตําแหน่งได้ เทา่ กับวาระที่เหลอื อยู่ เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหน่ึง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตําแหน่งอยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนินงานต่อไปจนกว่าจะได้มีการแต่งต้ัง กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒขิ ึน้ ใหม่ เพื่อให้ได้มาซึ่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิชุดใหม่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่เมื่อสิ้นสุดวาระของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิม ให้ดําเนินการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิชุดใหม่ก่อนครบวาระของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒชิ ดุ เดมิ เปน็ ระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่าหกสิบวัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งต้ังอีกได้ แต่ไม่เกินสองวาระ ติดตอ่ กัน มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตาํ แหน่งเมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรฐั มนตรีให้ออก (๔) ขาดคุณสมบตั ิหรอื มีลักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๑ ให้คณะกรรมการมอี ํานาจหน้าท่ี ดังต่อไปน้ี (๑) จัดทํานโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมเสนอต่อ คณะรฐั มนตรเี พื่อพิจารณาอนุมัตซิ ึ่งอยา่ งนอ้ ยต้องมเี ปา้ หมายตามทกี่ ําหนดไวใ้ นมาตรา ๖ (๒) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกําหนดนโยบายและทิศทางด้านการเงิน การคลัง การลงทุน รวมทัง้ มาตรการทางภาษแี ละสทิ ธปิ ระโยชนต์ ่าง ๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับหรือเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม รวมตลอดท้ังเสนอแนะมาตรการในการจัดหาพัสดุ และจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ท่ีสามารถขจัดปัญหาและอุปสรรคในการพฒั นาดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมได้ (๓) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการดําเนินงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพฒั นาดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 203

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๖ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๔) ออกระเบียบเก่ียวกับการบริหารกองทุน การจัดหาผลประโยชน์และการจัดการกองทุน การเก็บรักษาและการเบิกจ่ายเงินและทรัพย์สินของกองทุน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วย การบริหารทนุ หมุนเวยี น (๕) เสนอแนะต่อคณะรฐั มนตรใี นการจัดให้มีหรือปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม (๖) รายงานคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้มีมติยับยั้งการดําเนินการของหน่วยงานใดท่ีไม่เป็นไป ตามนโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยการพัฒนาดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคม (๗) ออกประกาศหรอื ระเบียบเพ่อื ใหก้ ารดาํ เนนิ การเปน็ ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ (๘) ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย หรือตามท่ีมีกฎหมาย กําหนดให้เปน็ หน้าทข่ี องคณะกรรมการ มาตรา ๑๒ ให้มีคณะที่ปรึกษาคณะหนึ่ง มีอํานาจหน้าท่ีในการรวบรวมความคิดเห็น ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะ หรือดาํ เนนิ การอยา่ งหน่ึงอย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย หลักเกณฑแ์ ละวิธีการแต่งตั้ง คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม องค์ประกอบและวิธีการปฏิบัติหน้าท่ี และวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่ง ของคณะที่ปรึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการ กําหนด สว่ นที่ ๒ คณะกรรมการเฉพาะดา้ น มาตรา ๑๓ ในการดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาตติ ามมาตรา ๑๑ ใหม้ ีคณะกรรมการเฉพาะดา้ น เพื่อปฏบิ ัติหน้าทใ่ี นส่วนที่เก่ียวกับเรื่อง ดังตอ่ ไปนี้ (๑) คณะกรรมการโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล มีอํานาจหน้าท่ีจัดทํา เสนอแนะ และติดตาม การดาํ เนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติตามมาตรา ๖ (๒) (๓) และ (๔) และนโยบายและแผน ระดบั ชาติอ่ืนทค่ี ณะกรรมการกาํ หนด (๒) คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม มีอํานาจหน้าที่จัดทํา เสนอแนะ และติดตามการดําเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติตามมาตรา ๖ (๕) (๖) และ (๗) และนโยบายและแผนระดับชาตอิ ่นื ทค่ี ณะกรรมการกําหนด (๓) คณะกรรมการเฉพาะด้านอื่น ซ่งึ คณะกรรมการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เพือ่ ปฏิบัติหน้าทต่ี ามที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๑๔ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการเฉพาะด้าน แต่ละคณะมีอํานาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้ 204 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๗ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) รวบรวมข้อมูลและจัดทํานโยบายและแผนเฉพาะด้าน พร้อมท้ังแนวทางและมาตรการ ในการส่งเสริมและพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่คณะกรรมการเฉพาะด้านนั้นรับผิดชอบ และเสนอต่อคณะกรรมการเพ่ือประกอบการจัดทํานโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม (๒) เสนอแนะต่อคณะกรรมการเก่ียวกับการดําเนินงานตามนโยบายและแผนเฉพาะด้าน รวมทั้งเสนอมาตรการในการดําเนินการและแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติการตามนโยบายและแผน เฉพาะดา้ นดังกล่าว (๓) ติดตามและประเมินผลการดาํ เนนิ การตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม และนโยบายและแผนเฉพาะด้านในความรับผิดชอบแล้วรายงานผลการดําเนินงานต่อ คณะกรรรมการ (๔) กํากับดูแลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการและแผนงานเฉพาะด้านของหน่วยงานของรัฐ และการสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลตามหมวด ๕ ภายในขอบเขตอํานาจของคณะกรรมการเฉพาะด้านนั้น ๆ (๕) เชิญหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง ความเห็น หรือคําแนะนํา ตลอดจน ส่งเอกสารหรือหลักฐานทเ่ี กีย่ วขอ้ งเพ่อื ประกอบการดําเนินงานได้ (๖) ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย หรือตามท่ีมีกฎหมายกําหนดให้เป็นหน้าท่ีของ คณะกรรมการเฉพาะดา้ น ในการรายงานผลการดําเนินงานต่อคณะกรรมการตาม (๑) หากคณะกรรมการเฉพาะด้าน เห็นว่าภารกิจหรืองานใดไม่มีผู้รับผิดชอบ หรือหน่วยงานของรัฐท่ีรับผิดชอบไม่ดําเนินการหรือดําเนินการ ไม่เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกําหนดหรือก่อให้เกิดความเสียหายท้ังหมดหรือบางส่วน คณะกรรมการเฉพาะด้าน อาจเสนอแนวทางหรือมาตรการในการดําเนินการโดยให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือหน่วยงานอ่ืน ของรัฐเป็นผู้ดําเนินการตามภารกิจหรืองานน้ันแทนได้ โดยให้เสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเสนอ คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ในกรณีจําเป็น กองทุนจะสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดําเนินการทั้งหมด หรอื บางสว่ นตามระเบียบท่คี ณะกรรมการกาํ หนดก็ได้ มาตรา ๑๕ ให้คณะกรรมการเฉพาะด้านตามมาตรา ๑๓ (๑) และ (๒) แต่ละคณะ ประกอบดว้ ย (๑) กรรมการคนหนึ่งในคณะกรรมการ ทค่ี ณะกรรมการแตง่ ตงั้ เปน็ ประธานกรรมการ (๒) กรรมการซ่ึงคณะกรรมการแต่งต้ังจากผู้แทนหน่วยงานต่าง ๆ ดังต่อไปน้ีหน่วยงานละหน่ึงคน เป็นกรรมการ (ก) คณะกรรมการเฉพาะด้านตามมาตรา ๑๓ (๑) ได้แก่ ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงพลังงาน ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 205

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๘ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ผู้แทนสํานักงบประมาณ ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผู้แทนคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย ผแู้ ทนสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) และผู้แทนสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (ข) คณะกรรมการเฉพาะด้านตามมาตรา ๑๓ (๒) ได้แก่ ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ ผู้แทนกระทรวงวัฒนธรรม ผู้แทนกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้แทนกรมทรัพย์สินทางปัญญา ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้แทนสํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ผแู้ ทนสาํ นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ และผู้แทนสาํ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั (๓) กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒซิ งึ่ คณะกรรมการแตง่ ตง้ั จํานวนไม่เกินหกคน เปน็ กรรมการ (๔) เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลท่ีเห็นสมควรเพ่ือพิจารณาแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกาํ หนด มาตรา ๑๖ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ มาใช้บังคับกับกรรมการ ผ้ทู รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการเฉพาะด้านโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๗ ใหส้ ํานักงานรบั ผิดชอบงานธรุ การของคณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะด้าน และให้มอี ํานาจหนา้ ทดี่ งั ต่อไปนีด้ ้วย (๑) จัดทําร่างนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ตามเป้าหมายทคี่ ณะกรรมการกําหนดเพ่อื เสนอต่อคณะกรรมการ (๒) จัดทําร่างนโยบายและแผนเฉพาะด้านตามแนวทางที่คณะกรรมการเฉพาะด้านกําหนด และสอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการเฉพาะด้าน (๓) ประสานและให้ความรว่ มมอื กับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลและการดําเนินการ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจิทัล (๔) เป็นศูนย์กลางประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนระดับชาติ ว่าดว้ ยการพฒั นาดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทัง้ นโยบายและแผนเฉพาะดา้ น 206 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๙ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๕) สํารวจ เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความเคล่ือนไหวของสถานการณ์ด้านการพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และแนวโน้มการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังวิเคราะห์และวิจัย ประเด็นทางเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลท่ีมีผลต่อการพัฒนาประเทศเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการหรือคณะกรรมการ เฉพาะดา้ น (๖) ตดิ ตามและประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม แผนปฏิบัติการ แผนงาน รวมท้ังมาตรการที่เก่ียวข้อง และรายงานผลต่อ คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะดา้ น (๗) รว่ มมือและประสานงานกบั หนว่ ยงานของรัฐและเอกชนทเ่ี กย่ี วข้องกับการบริหารและพัฒนาดิจิทัล เพอื่ เศรษฐกิจและสังคมตามพระราชบญั ญัตนิ ีแ้ ละกฎหมายอ่ืนทเ่ี กีย่ วขอ้ ง (๘) ศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณา หรือดําเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ หรือคณะกรรมการ เฉพาะด้านมอบหมาย หรือเพือ่ ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๙) อํานาจหน้าที่อื่นที่คณะกรรมการกําหนดหรือมอบหมาย หรือตามท่ีมีกฎหมายกําหนด ใหเ้ ป็นอํานาจหนา้ ท่ีของสํานกั งาน มาตรา ๑๘ ให้คณะกรรมการเฉพาะด้านมีอํานาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการ อย่างใดอย่างหนง่ึ ตามท่ีคณะกรรมการเฉพาะด้านมอบหมาย มาตรา ๑๙ การประชุมของคณะกรรมการ คณะกรรมการเฉพาะด้าน คณะท่ีปรึกษา และคณะอนุกรรมการ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๐ ให้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ ท่ีปรึกษา กรรมการ เฉพาะด้าน และอนกุ รรมการ ได้รบั เบีย้ ประชมุ หรือคา่ ตอบแทนตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะรฐั มนตรกี ําหนด หมวด ๓ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพฒั นาดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม มาตรา ๒๑ เมื่อประกาศใช้นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมตามความในมาตรา ๕ แล้ว ให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยดําเนินการตามนโยบายและแผน ระดับชาติดังกล่าว และให้สํานักงบประมาณตั้งงบประมาณให้หน่วยงานของรัฐให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนระดบั ชาตนิ ัน้ มาตรา ๒๒ ให้หนว่ ยงานของรัฐท่มี ีหน้าทดี่ ําเนนิ การตามภารกิจทก่ี าํ หนดในนโยบายและแผน ระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมจัดทําหรือปรับปรุงแผนปฏิบัติการหรือแผนงาน ท่ีมีอยู่ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติดังกล่าวโดยเร็ว และส่งให้คณะกรรมการเฉพาะด้าน ทีค่ ณะกรรมการมอบหมายเพื่อทราบ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 207

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๐ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีที่คณะกรรมการเฉพาะด้าน ที่คณะกรรมการมอบหมายเห็นว่าแผนปฏิบัติการหรือแผนงาน ท่ีได้รับตามวรรคหนึ่งยังไม่สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคม ให้แจ้งให้หน่วยงานของรัฐเจ้าของแผนดําเนินการปรับปรุงให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน ระดับชาติดงั กลา่ วตอ่ ไป ในกรณีทค่ี ณะกรรมการเฉพาะดา้ นและหน่วยงานของรฐั มคี วามเหน็ ไม่สอดคล้องกัน ใหเ้ สนอคณะกรรมการเพอ่ื วินิจฉยั ชีข้ าด คําชขี้ าดของคณะกรรมการใหเ้ ปน็ ท่ีสดุ หมวด ๔ กองทนุ พัฒนาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม สว่ นที่ ๑ การจดั ตั้งกองทนุ มาตรา ๒๓ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหน่ึงในสํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ เรียกวา่ “กองทนุ พฒั นาดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่าย เกี่ยวกับการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพัฒนาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม และแผนยทุ ธศาสตรก์ ารส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล มาตรา ๒๔ กองทุนประกอบดว้ ยเงนิ และทรพั ย์สิน ดงั ต่อไปน้ี (๑) เงินทนุ ประเดมิ ท่ีรัฐบาลจดั สรรใหต้ ามมาตรา ๖๐ (๒) เงินอุดหนนุ ที่รัฐบาลจดั สรรให้จากงบประมาณรายจ่ายประจําปี (๓) เงินที่ได้รับจากการจัดสรรคล่ืนความถี่ ตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรจัดสรรคล่ืนความถี่ และกาํ กบั การประกอบกิจการวิทยกุ ระจายเสียง วทิ ยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม โดยให้สํานักงาน กสทช. จัดสรรให้ในอตั ราร้อยละสิบห้าของรายไดจ้ ากการจัดสรรคล่ืนความถีด่ งั กลา่ ว (๔) เงินที่ได้รับการจัดสรรจากรายได้ของสํานักงาน กสทช. ตามมาตรา ๖๕ (๑) และ (๒) แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เว้นแต่ในส่วนที่เก่ียวกับดอกผล โดยให้สํานักงาน กสทช. จัดสรรใหใ้ นอัตราร้อยละสิบห้าของเงินรายไดข้ องสาํ นกั งาน กสทช. ดงั กลา่ ว (๕) เงินที่ กสทช. โอนให้กองทุนตามมาตรา ๒๕ (๖) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บรจิ าคหรือมอบให้ (๗) เงนิ หรือทรัพยส์ ินท่ีตกเปน็ ของกองทนุ หรือท่กี องทนุ ไดร้ ับตามกฎหมาย (๘) ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือรายได้จากการดําเนินกิจการของสํานักงานหรือกองทุน รวมทง้ั ผลประโยชน์จากทรพั ยส์ ินทางปัญญาทีเ่ ป็นของสาํ นกั งานหรอื กองทุน (๙) ดอกผล ผลประโยชน์ หรอื รายได้อนื่ ทีเ่ กดิ จากเงินหรอื ทรัพยส์ ินของกองทุน 208 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๑ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ใหก้ องทุนตามวรรคหนึง่ เฉพาะในส่วนทไี่ ดร้ บั ตาม (๓) และ (๔) มเี งินสดสูงสุดปีงบประมาณละ ไม่เกินห้าพันลา้ นบาท และให้คณะรัฐมนตรีมีอํานาจในการปรับเพิ่มหรือลดเงินสดสูงสุดได้ โดยให้คํานึงถึง ความเพียงพอของการดาํ เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกองทนุ เงินสดของกองทุนส่วนที่เกินจากเงินสดสูงสุดที่กําหนดไว้ตามวรรคสอง ให้กองทุนนําส่งเป็น รายไดแ้ ผน่ ดิน มาตรา ๒๕ ให้ กสทช. มีอํานาจมอบหมายให้สํานักงานเป็นผู้ดําเนินการจัดให้มีบริการ โทรคมนาคมตามแผนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพ้ืนฐานโดยท่ัวถึงและบริการเพ่ือสังคมตามกฎหมาย ว่าด้วยองค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่ีและกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ท้ังหมดหรือบางส่วนแทน กสทช. ได้ และเม่ือ กสทช. ได้มอบหมายดังกล่าว แลว้ ใหโ้ อนเงนิ ท่ีเรยี กเก็บจากผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมเพื่อนําไปใช้ดําเนินการสนับสนุน การจัดให้มีบริการโทรคมนาคมตามแผนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพ้ืนฐานโดยทั่วถึงและบริการ เพื่อสังคมดังกล่าวให้กองทุนตามความจําเป็น และให้สํานักงานใช้เงินดังกล่าวเฉพาะเพ่ือค่าใช้จ่าย เก่ียวกับกิจการท่ไี ดร้ ับมอบหมาย มาตรา ๒๖ เงินของกองทนุ ให้ใชจ้ ่ายเพอ่ื กจิ การดังต่อไปน้ี (๑) ส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือหน่วยงานของรัฐและเอกชนหรือบุคคลท่ัวไป ในการดําเนินการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ท้ังนี้ การส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือ ดังกล่าวต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ต่อการให้บริการสาธารณะและไม่เป็นการแสวงหากําไร โดยไมเ่ ป็นการทําลายการแข่งขนั อนั พึงมีตามปกติวิสยั ของกจิ การภาคเอกชน (๒) ให้ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนาแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนหรือบุคคลท่ัวไปในเร่ือง ท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม (๓) จัดสรรเป็นเงินอุดหนุนแก่สํานักงานในการดําเนินงานตามอํานาจหน้าท่ีนอกเหนือจาก ที่ไดร้ ับจากงบประมาณแผ่นดนิ (๔) จัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามท่ี คณะกรรมการบริหารกองทนุ เห็นสมควร (๕) เป็นค่าใชจ้ ่ายในการบรหิ ารกองทนุ (๖) ค่าใชจ้ า่ ยอื่น ๆ ตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการกําหนด ส่วนที่ ๒ การบรหิ ารกองทุน มาตรา ๒๗ ให้มคี ณะกรรมการคณะหนึ่งเรยี กวา่ “คณะกรรมการบรหิ ารกองทุนพฒั นาดจิ ทิ ัล เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม” ประกอบดว้ ย ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 209

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๒ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) รองประธานกรรมการตามมาตรา ๗ (๒) เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงดจิ ทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม เปน็ รองประธานกรรมการ (๓) ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และผู้อํานวยการ สํานักงบประมาณ เป็นกรรมการ (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๗ (๔) ซ่ึงคณะกรรมการกําหนด จํานวนสามคน เป็นกรรมการ (๕) เลขาธิการเปน็ กรรมการและเลขานุการ มาตรา ๒๘ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนรับผิดชอบในการบริหารกองทุนให้เป็นไป ตามวตั ถุประสงค์ของกองทุนตามมาตรา ๒๓ และมีอาํ นาจหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปน้ี (๑) พิจารณาอนุมัติการส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือตามมาตรา ๒๖ (๑) และ (๒) โดยไม่ก่อใหเ้ กดิ การขัดกันแห่งผลประโยชน์ ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่คณะกรรมการกําหนด โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง (๒) พจิ ารณาอนมุ ตั ิการจดั สรรเงินหรอื ค่าใช้จา่ ย ตามมาตรา ๒๖ (๓) (๔) และ (๕) (๓) บริหารกองทุนและดําเนินการเก่ียวกับการจัดหาผลประโยชน์ และการจัดการกองทุน ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขที่คณะกรรมการกาํ หนด (๔) วางแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาและการเบิกจ่ายเงินและทรัพย์สิน ของกองทนุ ท่อี อกตามมาตรา ๑๑ (๔) และการดาํ เนินการอน่ื ท่จี ําเป็น (๕) ติดตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานท่ไี ดร้ บั การส่งเสริม สนบั สนนุ หรือชว่ ยเหลอื จากกองทุน (๖) รายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนต่อคณะกรรมการและคณะรัฐมนตรีภายใน หนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วันนบั แต่วนั สิน้ ปีบัญชี และเปิดเผยรายงานดังกล่าวให้ประชาชนทราบเปน็ การทั่วไป (๗) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือท่ีปรึกษาเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการตามท่ี คณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ มอบหมาย (๘) ปฏิบัติหนา้ ท่ีอน่ื ท่จี ําเปน็ เพ่ือให้บรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องกองทนุ มาตรา ๒๙ การประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี คณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ กาํ หนด มาตรา ๓๐ ให้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการในคณะกรรมการ บริหารกองทุน รวมทั้งอนุกรรมการ คณะทํางาน และท่ีปรึกษา ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนแต่งต้ังขึ้น ตามมาตรา ๒๘ (๗) ได้รบั เบย้ี ประชุมหรอื คา่ ตอบแทนตามหลักเกณฑท์ คี่ ณะรัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๓๑ ใหส้ าํ นกั งานรับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการบริหารกองทุน และดําเนินการ ในเร่ืองดงั ตอ่ ไปนีด้ ว้ ย 210 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๓ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) จัดทําแผนการดําเนินงานประจําปี แผนการเงินและงบประมาณประจําปีของกองทุน เพื่อเสนอคณะกรรมการบริหารกองทนุ ให้ความเหน็ ชอบ (๒) จัดให้มีบุคคลภายนอกท่ีเป็นอิสระเพ่ือประเมินผลการดําเนินการของกองทุนเพ่ือเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารกองทุน (๓) ให้ความช่วยเหลอื หรือคําแนะนําแกผ่ ูไ้ ดร้ บั การส่งเสรมิ สนบั สนนุ หรอื ชว่ ยเหลอื ตามมาตรา ๒๖ (๔) รบั ผดิ ชอบในการจัดทํางบดลุ งบการเงนิ และบญั ชีทําการของกองทนุ (๕) จดั ทาํ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานประจําปขี องกองทนุ (๖) ดาํ เนินการอน่ื ใดตามพระราชบัญญตั ิน้ีหรอื ตามท่คี ณะกรรมการบรหิ ารกองทุนมอบหมาย มาตรา ๓๒ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทํางบดุล งบการเงิน และบัญชีทําการส่ง ผ้สู อบบญั ชภี ายในเก้าสบิ วนั นบั แตว่ ันส้นิ ปีบัญชีทุกปี ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตท่ีสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ใหค้ วามเหน็ ชอบเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุนทุกรอบปี แล้วทํารายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการ เพื่อรายงานต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมกับรายงานตามมาตรา ๒๘ (๖) ในรายงานดังกล่าวให้สํานักงาน การตรวจเงินแผน่ ดินแสดงความเหน็ เกยี่ วกับประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลของการใชเ้ งินของกองทุนดว้ ย มาตรา ๓๓ ให้สาํ นักงานวางและรกั ษาไวซ้ งึ่ ระบบบัญชีของกองทุนอันถูกต้องและเหมาะสมต่อ การดําเนินการของกองทุน และถกู ตอ้ งตามมาตรฐานการบัญชีที่รบั รองท่ัวไป หมวด ๕ การสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัล มาตรา ๓๔ ใหม้ สี าํ นกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล มีวัตถุประสงค์เพื่อสง่ เสริม และสนับสนุน ให้เกิดการพัฒนาอตุ สาหกรรมและนวตั กรรมดจิ ทิ ลั พัฒนาและสง่ เสริมให้เกิดการนําไปใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เปน็ ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และความม่ันคงของประเทศ สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล และไม่เป็น ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วย วิธกี ารงบประมาณหรอื กฎหมายอืน่ กิจการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง แรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วย การประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่พนักงานและลูกจ้างของสํานักงานต้องได้รับ ประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าท่ีกําหนดไว้ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วย การประกนั สังคม และกฎหมายวา่ ดว้ ยเงินทดแทน ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 211

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๔ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๓๕ นอกจากอํานาจหน้าที่ในการดําเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๓๔ สาํ นักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัลมีอํานาจหน้าทด่ี ังตอ่ ไปน้ีดว้ ย (๑) จัดทําแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน ระดบั ชาตวิ า่ ด้วยการพัฒนาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม (๒) ส่งเสริมและสนบั สนุนการลงทนุ หรือประกอบกจิ การเกีย่ วกบั อุตสาหกรรมหรือนวตั กรรมดจิ ิทัล (๓) ส่งเสรมิ สนับสนนุ และรว่ มมือกับบคุ คลอน่ื ในการพัฒนาอุตสาหกรรมหรือนวตั กรรมดจิ ิทลั (๔) ส่งเสริม สนับสนุน และดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดจิ ิทัล (๕) เสนอแนะ เร่งรัด และติดตามการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายหรือกฎระเบียบหรือมาตรการเก่ียวกับ การคุ้มครองทรพั ยส์ ินทางปัญญาของอตุ สาหกรรมหรือนวตั กรรมดจิ ิทลั ตอ่ หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง (๖) ปฏิบัติหน้าทอ่ี ื่นตามทคี่ ณะกรรมการ คณะกรรมการเฉพาะด้าน หรือคณะกรรมการกํากับ สํานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลมอบหมาย หรือตามทีก่ ฎหมายกําหนด การดําเนินการตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕) ต้องสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การสง่ เสริม เศรษฐกิจดิจทิ ลั อุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล ให้หมายความรวมถึงอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมในการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสร้างหรือเผยแพร่เน้ือหาผ่านทางสื่อท่ีเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความมั่นคงของประเทศดว้ ย มาตรา ๓๖ ให้มีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลคณะหน่ึง ประกอบด้วย ผู้ซ่ึงรฐั มนตรีแต่งตั้ง เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และเลขาธิการ เป็นกรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่น้อยกว่าสี่คนแต่ไม่เกินหกคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ัง ทาํ หนา้ ทก่ี าํ กับและติดตามการดําเนินงานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ใหผ้ ูอ้ ํานวยการทําหน้าทีเ่ ลขานุการของคณะกรรมการกาํ กับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้รัฐมนตรีแต่งต้ังจากบุคคล ซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ และความสามารถเป็นที่ประจักษ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านบริหารธุรกิจ ด้านกฎหมาย หรือด้านอ่ืนท่ีเก่ียวข้องและ เป็นประโยชน์ตอ่ การดําเนินงานของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารท่คี ณะกรรมการกาํ หนด ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐ มาใช้บังคับกับประธานกรรมการและกรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ โิ ดยอนโุ ลม มาตรา ๓๗ ให้ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกํากับสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละส่ีปี 212 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๕ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ในกรณีที่มีการแต่งต้ังประธานกรรมการแทนประธานกรรมการท่ีพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตั้งประธานกรรมการแทนตําแหน่งท่ีว่างได้ และให้ผู้ท่ีได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ แทนตําแหน่งทว่ี ่างนนั้ ดํารงตาํ แหน่งไดเ้ ท่ากับวาระที่เหลอื อยู่ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มเติมหรือแทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีพ้นจาก ตําแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งต้ังกรรมการเพ่ิมเติมหรือกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างได้ และให้ผู้ท่ี ได้รับแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มเติมหรือแทนตําแหน่งท่ีว่างน้ันดํารงตําแหน่งได้เท่ากับวาระ ทเ่ี หลืออยู่ ในกรณีท่ีประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้ยังคงปฏิบัติ หนา้ ทีต่ ่อไปจนกวา่ จะไดม้ กี ารแตง่ ต้ังประธานกรรมการหรอื กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิขึ้นใหม่ ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งต้ังอีกได้ แตไ่ ม่เกินสองวาระตดิ ต่อกัน มาตรา ๓๘ การประชุมของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ให้เป็นไปตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการกํากบั สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ิทัลกาํ หนด มาตรา ๓๙ ให้ประธานกรรมการ และกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ไดร้ ับเบย้ี ประชมุ หรอื ค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการกําหนด มาตรา ๔๐ นอกจากอํานาจหน้าที่ตามมาตรา ๓๖ ให้คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลมอี าํ นาจหนา้ ทีด่ งั ตอ่ ไปน้ีดว้ ย (๑) ให้ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลท่ีสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดจิ ทิ ัลจัดทําตามมาตรา ๓๕ (๑) (๒) ออกระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การเงิน และกิจการอ่ืนอันจําเป็น ในการบริหารงานสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ระเบียบหรือข้อบังคับดังกล่าวต้องมุ่งให้เกิดความคล่องตัว ความมีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได้ (๓) แต่งตั้งและถอดถอนผู้อํานวยการ และกําหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอ่ืน ของผูอ้ ํานวยการ (๔) ปฏิบัติหนา้ ที่อน่ื ตามพระราชบัญญตั นิ ี้หรอื ตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย ในการปฏิบัติงานตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลอาจตั้ง คณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณา เสนอแนะ และดําเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามท่ีคณะกรรมการกํากับ สํานักงานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั มอบหมายได้ มาตรา ๔๑ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั ทีส่ ํานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จัดทําข้ึนตามมาตรา ๓๕ (๑) ต้องสอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพอื่ เศรษฐกิจและสังคม และอยา่ งน้อยต้องกําหนดเรื่องดงั ต่อไปนด้ี ว้ ย สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 213

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๖ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) แนวทางการสง่ เสริมและสนับสนุนให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างหรือเผยแพร่เน้ือหา ผ่านทางสอ่ื ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม และความมน่ั คงของประเทศ (๒) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดอุตสาหกรรมและนวัตกรรมหรืองานวิจัย ดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (๓) แนวทางการส่งเสริมและสนบั สนุนการตลาด การลงทุน กระบวนการผลิต และการให้บริการ เก่ยี วกับเทคโนโลยดี ิจิทัล (๔) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคนด้านอุตสาหกรรมและ นวัตกรรมดิจทิ ัลให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของประเทศ (๕) แนวทางการส่งเสริมและพฒั นาการนําเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาประยุกต์ใชใ้ นธุรกิจหรอื อุตสาหกรรม (๖) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยดี ิจิทัลอย่างค้มุ ค่า ประหยัดและปลอดภัย (๗) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลตามหลักการการออกแบบ ท่เี ป็นสากล และการพฒั นาเทคโนโลยสี ิง่ อาํ นวยความสะดวก (๘) แนวทางการส่งเสรมิ และอาํ นวยความสะดวกในการลงทนุ ในอตุ สาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทลั (๙) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ค้นคว้า วิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวตั กรรมท่ีจําเป็นต่อการพฒั นาอุตสาหกรรมดิจิทัล มาตรา ๔๒ เม่ือคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้ความเห็นชอบ แผนยุทธศาสตร์ที่จัดทําขึ้นตามมาตรา ๓๕ (๑) แล้ว ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลปฏิบัติตามแผน ดังกล่าวโดยเคร่งครัด ในกรณีท่ีการปฏิบัติตามแผนดังกล่าวอยู่ในอํานาจหน้าท่ีของหน่วยงานอื่น หรือจําเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น ให้เสนอแผนยุทธศาสตร์นั้นต่อคณะกรรมการ เพื่อให้ความเห็นชอบ และเมื่อคณะกรรมการให้ความเห็นชอบแล้วให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล แจ้งไปยงั หนว่ ยงานของรฐั ท่ีเกย่ี วข้องเพือ่ ทราบและนาํ ไปปฏบิ ัติให้สอดคล้องกนั มาตรา ๔๓ นอกจากอํานาจในการดําเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๓๔ ใหส้ ํานักงานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทัลมีอํานาจหน้าทด่ี ังตอ่ ไปน้ีด้วย (๑) ถอื กรรมสทิ ธิ์ มสี ิทธิครอบครองและมีทรัพยสิทธติ ่าง ๆ (๒) กอ่ ตง้ั สิทธิหรอื ทาํ นติ กิ รรมทุกประเภทเพ่อื ประโยชนใ์ นการดาํ เนินกิจการของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดจิ ิทัล (๓) ทาํ ความตกลงและรว่ มมือกับองคก์ ารหรือหนว่ ยงานอ่ืนท้ังภาครัฐและภาคเอกชนท้ังในประเทศ และต่างประเทศในกจิ การทเ่ี กย่ี วกับการดําเนนิ การตามวัตถุประสงคข์ องสํานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล (๔) ถือหุน้ เข้าเป็นหุ้นสว่ น หรือเขา้ ร่วมทุนกบั บคุ คลอ่ืนเพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ตามมาตรา ๓๔ (๕) ก้ยู ืมเงินเพ่ือประโยชน์ในการดาํ เนนิ การตามวตั ถุประสงคข์ องสํานักงานสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล 214 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๗ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๖) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าบํารุง ค่าตอบแทน หรือค่าบริการในการดําเนินกิจการต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่คณะกรรมการ กาํ กบั สํานักงานสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั กําหนด (๗) ดําเนินการอ่ืนใดท่ีจําเป็นหรือต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั การลงทุนตาม (๔) และการกยู้ ืมเงินตาม (๕) ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และเงอื่ นไขท่คี ณะกรรมการ กาํ กบั สํานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั กําหนด มาตรา ๔๔ สาํ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั อาจมรี ายไดจ้ าก (๑) ทนุ ประเดมิ ที่รฐั บาลจัดสรรใหต้ ามมาตรา ๖๐ (๒) เงินและทรัพยส์ ินทรี่ ับโอนมาตามมาตรา ๖๒ (๓) เงินอุดหนนุ ท่ัวไปท่รี ฐั บาลจดั สรรใหต้ ามความเหมาะสมเปน็ รายปี (๔) เงินและทรพั ยส์ นิ ทม่ี ีผบู้ รจิ าคหรอื มอบให้ (๕) ดอกผล และผลประโยชน์หรือรายได้อ่ืนใดที่เกิดจากการดําเนินการของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ทรัพย์สนิ ของสํานักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั ไม่อยู่ในความรับผดิ แหง่ การบังคบั คดี เงินและทรัพย์สินของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ไม่ต้องนําส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ยกเว้นดอกผล และผลประโยชน์หรือรายได้อ่ืนตามวรรคหนึ่ง (๕) เม่ือใช้จ่ายตามอํานาจหน้าที่ของ สํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั แลว้ ที่เหลือใหน้ าํ ส่งคลงั เป็นรายไดแ้ ผ่นดนิ มาตรา ๔๕ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลมีผู้อํานวยการคนหนึ่ง ซ่ึงคณะกรรมการ กํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลแต่งต้ัง มีหน้าท่ีบริหารกิจการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการกํากับสาํ นักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล และจะให้มีรองผู้อํานวยการเป็นผู้ช่วยสั่ง และปฏิบัตงิ านรองจากผู้อาํ นวยการก็ได้ การแต่งต้ังผู้อํานวยการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาท่ีคณะกรรมการ กํากบั สาํ นกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทลั กําหนด มาตรา ๔๖ ผู้อาํ นวยการต้องมคี ณุ สมบตั ิและไมม่ ลี ักษณะต้องห้าม ดังต่อไปน้ี (๑) มีสญั ชาตไิ ทย (๒) สามารถทาํ งานให้แก่สาํ นกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัลได้เต็มเวลา (๓) มีอายุไมเ่ กนิ ห้าสิบห้าปใี นวนั ทีไ่ ดร้ บั การแต่งตงั้ (๔) เป็นผู้มคี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมหรือกิจการ ดา้ นเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล และการบรหิ ารจดั การ (๕) ไม่เปน็ บุคคลลม้ ละลายหรอื เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจรติ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 215

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๘ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๖) ไมเ่ ป็นคนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๗) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ท่ไี ด้กระทําโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๘) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือจากหนว่ ยงานของเอกชน เพราะทุจรติ ต่อหน้าทีห่ รือประพฤติชว่ั อยา่ งร้ายแรง (๙) ไม่เคยถูกถอดถอนออกจากตาํ แหน่งตามกฎหมาย (๑๐) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าท่ีของ พรรคการเมือง (๑๑) ไม่เปน็ ผูม้ สี ่วนไดเ้ สยี ในกจิ การท่เี กี่ยวข้องกับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือกิจการ ท่ีขัดหรอื แยง้ กบั วัตถุประสงคข์ องสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ไม่ว่าโดยทางตรงหรอื ทางอ้อม มาตรา ๔๗ ผู้อํานวยการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละส่ีปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดาํ รงตําแหน่งตดิ ต่อกนั เกนิ สองวาระไม่ได้ ในกรณีที่ข้อเท็จจริงปรากฏว่า ผู้อํานวยการมีผลการประเมินตลอดท้ังสามปีที่ผ่านมาอยู่ใน ข้ันต่ํากว่าดีตั้งแต่สองปีขึ้นไป ให้ดําเนินการสรรหาผู้อํานวยการใหม่ ในกรณีเช่นน้ี คณะกรรมการกํากับ สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจะแต่งตั้งผู้อํานวยการท่ีพ้นจากตําแหน่งให้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการ อีกไม่ได้ ในกรณอี ื่นผอู้ ํานวยการอาจสมัครเขา้ รบั การคัดเลอื กใหมไ่ ด้ การประเมินผลตามวรรคสองให้คํานึงถึงผลประกอบการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล เป็นสว่ นสําคัญด้วย มาตรา ๔๘ เพื่อประโยชน์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้อํานวยการตามมาตรา ๔๗ ให้คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจัดให้มีการประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก ท่ีเปน็ กลางและอสิ ระ ทัง้ น้ี ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กําหนด มาตรา ๔๙ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๔๗ อํานวยการพ้นจาก ตําแหนง่ เมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้ออก เพราะไม่ผ่านการประเมิน หรือมีผลการประเมินอยู่ในข้ันต่ํากว่าดีสองปีติดต่อกัน หรือเม่ือคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล เห็นว่าหากให้อยู่ในตําแหน่งต่อไปจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล อย่างรา้ ยแรง 216 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๙ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๔) ได้รบั โทษจําคกุ โดยคาํ พพิ ากษาถึงทส่ี ุดใหจ้ าํ คุก (๕) ขาดคณุ สมบตั ิหรือมลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๕๐ เม่ือผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งให้รองผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งด้วย และในกรณีผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งเพราะเหตุผลจากการประเมินตามมาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๔๙ (๓) จะแตง่ ตัง้ รองผู้อํานวยการทพ่ี ้นจากตาํ แหนง่ น้นั เปน็ ผ้อู าํ นวยการมไิ ด้ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง รองผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งเมื่อผู้อํานวยการ สง่ั ใหพ้ น้ จากตําแหนง่ มาตรา ๕๑ ให้ผูอ้ ํานวยการมอี าํ นาจหนา้ ที่ ดังต่อไปน้ี (๑) บริหารงานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามภารกิจของสํานักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล และตามนโยบายและแผนระดับชาติ วา่ ดว้ ยการพฒั นาดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม และระเบียบ ขอ้ บงั คับ ท่ีคณะกรรมการกํากับสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทลั กําหนด (๒) วางระเบียบเก่ียวกับการดําเนินงานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลโดยไม่ขัดหรือ แย้งกับระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกําหนด นโยบาย มติ หรือประกาศท่ีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดจิ ิทัลกาํ หนด (๓) เป็นผ้บู ังคบั บญั ชาพนักงานและลูกจ้างทุกตําแหน่ง เว้นแต่ผู้ดํารงตําแหน่งผู้ตรวจสอบภายใน และประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานและลูกจ้างของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลทุกตําแหน่ง ตามระเบียบหรือขอ้ บังคบั ของคณะกรรมการกํากับสํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัล (๔) แตง่ ตัง้ รองผอู้ าํ นวยการที่มคี ณุ สมบตั ิและไมเ่ กินจาํ นวนทคี่ ณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจิทลั กาํ หนด (๕) บรรจุแต่งต้ัง เลื่อนเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจ้าง ตลอดจน ให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตําแหน่ง ท้ังน้ี ตามระเบียบหรือข้อบังคับของคณะกรรมการกํากับสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทัล (๖) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจิทลั มาตรา ๕๒ ในกิจการท่ีเก่ียวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อํานวยการเปน็ ผู้แทนของสํานักงาน สง่ เสริมเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล และเพ่ือการนี้ผูอ้ ํานวยการจะมอบอํานาจใหบ้ ุคคลใดปฏบิ ัตงิ านเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แตท่ ง้ั น้ตี อ้ งเปน็ ไปตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการกํากบั สํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทัลกําหนด การรักษาการแทน และการปฏิบัติหน้าท่ีแทน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกํากับ สาํ นักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจิทัลกําหนด มาตรา ๕๓ การบัญชีของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ให้จัดทําตามมาตรฐานการบัญชี ตามแบบและหลักเกณฑท์ ่ีคณะกรรมการกํากับสาํ นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั กําหนด ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 217

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๒๐ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๔ ข้าราชการหรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ซ่ึงอยู่ระหว่างการปฏิบัติงานชดใช้ทุนการศึกษา ท่ไี ด้รบั จากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ที่ได้โอนย้ายมาปฏิบัติหน้าที่ที่สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด ให้ถือเป็นการชดใช้ทุนตามสัญญา และมีสิทธินับระยะเวลา การปฏบิ ัตงิ านในสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั เปน็ ระยะเวลาในการชดใชท้ ุนตามสญั ญาดว้ ย มาตรา ๕๕ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจัดทํางบดุล งบการเงิน และบัญชีทําการ สง่ ผู้สอบบญั ชภี ายในเกา้ สบิ วันนบั แต่วนั สิน้ ปบี ญั ชที กุ ปี ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตท่ีสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ใหค้ วามเห็นชอบเป็นผูส้ อบบัญชี และประเมนิ ผลการใช้จ่ายเงนิ และทรัพย์สนิ ของสาํ นักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ทุกรอบปี แลว้ ทํารายงานผลการสอบบญั ชีเสนอต่อคณะกรรมการกํากับสํานักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล มาตรา ๕๖ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจัดทาํ รายงานการดําเนินงานประจําปี เสนอรัฐมนตรภี ายในหน่ึงร้อยแปดสบิ วันนบั แตว่ ันสนิ้ ปีบญั ชี และเผยแพรร่ ายงานนต้ี ่อสาธารณชน รายงานการดําเนินงานประจําปีตามวรรคหนึ่ง ให้แสดงรายละเอียดของงบการเงินที่ผู้สอบบัญชี ให้ความเห็นแล้ว พร้อมท้ังผลงานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในปีที่ล่วงมาและรายงาน การประเมินผลการดาํ เนนิ งานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ในปที ี่ลว่ งมาแล้ว การประเมินผลการดําเนินการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามวรรคสอง จะต้องดําเนินการ โดยบคุ คลภายนอกที่คณะกรรมการกํากบั สํานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั ใหค้ วามเหน็ ชอบ มาตรา ๕๗ ให้รัฐมนตรีมีอํานาจกํากับดูแลการดําเนินกิจการของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัลให้เป็นไปตามอํานาจหน้าที่และตามกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวข้อง นโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริม เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล เพอ่ื การนใ้ี ห้รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งให้ผู้อํานวยการชี้แจง แสดงความคิดเห็น หรือทํารายงาน และมีอํานาจยับย้ังการกระทําของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลท่ีขดั ต่ออํานาจหน้าท่ีของสํานักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล นโยบายของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรีที่เก่ียวข้อง นโยบายและแผนระดับชาติ ว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม หรือแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ตลอดจนสัง่ สอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ เกี่ยวกบั การดําเนินการของสาํ นกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ได้ บทเฉพาะกาล มาตรา ๕๘ ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการตามมาตรา ๗ (๑) (๒) (๓) และวรรคสอง เพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีเท่าที่จําเป็นไปพลางก่อนแต่ไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันท่ี พระราชบัญญตั นิ ีใ้ ช้บังคบั 218 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๒๑ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๙ ในวาระเร่ิมแรก ท่ียังไม่มีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ให้คณะกรรมการกํากบั สาํ นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานกรรมการ เลขาธิการ และผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และความสามารถ เป็นที่ประจักษ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านบริหารธุรกิจ ด้านกฎหมาย หรือด้านอื่นท่ีเก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานของคณะกรรมการ กํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลท่ีรัฐมนตรีแต่งตั้ง จํานวนส่ีคน เป็นกรรมการ และให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อํานวยการตามวรรคสองเป็นเลขานุการของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล โดยให้ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นการชั่วคราวไปจนกว่าจะมีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ซงึ่ ต้องไมเ่ กินหน่งึ รอ้ ยแปดสบิ วันนับแตว่ ันที่พระราชบญั ญัตนิ ใี้ ชบ้ งั คบั ในระหว่างที่ยังไม่มีการแต่งตั้งผู้อาํ นวยการตามพระราชบัญญัติน้ี ให้รัฐมนตรีแต่งต้ังผู้ท่ีเห็นสมควร ให้ปฏิบัติหน้าท่ีผู้อํานวยการตามพระราชบัญญัตินี้เป็นการชั่วคราว จนกว่าจะมีการแต่งต้ังผู้อํานวยการ ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ซง่ึ ต้องไม่เกินหน่งึ ร้อยแปดสิบวนั นบั แตว่ ันที่พระราชบัญญตั นิ ี้ใช้บังคบั มาตรา ๖๐ ในวาระเริ่มแรก ให้คณะรัฐมนตรีจัดสรรทุนประเดิมให้แก่กองทุนและสํานักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั ตามความจําเปน็ มาตรา ๖๑ ในวาระเริ่มแรก ให้รัฐมนตรีเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาให้ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่ หรือผู้ปฏิบัติงานอื่นใดในหน่วยงานของรัฐ มาปฏิบัติงานเป็นพนักงานของสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัลเป็นการชว่ั คราวภายในระยะเวลาท่ีคณะรฐั มนตรีกําหนดได้ มาตรา ๖๒ เมื่อพระราชบัญญัติน้ีมีผลใช้บังคับแล้ว ให้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสํานักงาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นอันยกเลิก และให้บรรดากิจการ เงินและทรัพย์สิน สิทธิ หน้ี รวมท้ังงบประมาณของสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ตกเป็นของ สํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ลั มาตรา ๖๓ ให้โอนเจ้าหน้าท่ีและลูกจ้างของสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิม่ เตมิ ซ่ึงปฏบิ ตั หิ น้าที่อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ไปเปน็ พนักงานหรือลกู จ้างของสํานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลเป็นการชวั่ คราว ภายในหน่งึ รอ้ ยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ดําเนินการคัดเลือกเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างตามวรรคหน่ึงเพื่อบรรจุเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ตอ่ ไป สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 219

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๒๒ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา พนกั งานหรือลกู จา้ งผ้ใู ดไดร้ บั การคดั เลือกและบรรจตุ ามวรรคสอง ให้มีสิทธินับระยะเวลาทํางาน ท่ีเคยทํางานอยู่ในสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ต่อเนื่องรวมกับ ระยะเวลาทํางานในสํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทัล เจา้ หน้าทหี่ รอื ลกู จา้ งตามวรรคหนึง่ ผ้ใู ดไมป่ ระสงคจ์ ะทาํ งานในสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลต่อไป หรือไม่ได้รับการคัดเลือกและบรรจุตามวรรคสอง ให้ถือว่าเป็นการเลิกจ้างและให้มีสิทธิได้รับค่าตอบแทน การเลิกจ้างตามประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในส่วนที่เก่ียวกับ การเลิกจ้างและการได้รับค่าตอบแทนการเลิกจ้างดังกล่าว ซ่ึงต้องไม่น้อยกว่าท่ีกําหนดไว้ในกฎหมาย ว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่สําหรับ กรณีการไม่สมัครใจจะทํางานในสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องแสดงความจํานงภายในสามสิบวัน นับแต่วันทพี่ ระราชบัญญตั ิน้ใี ชบ้ งั คับ มาตรา ๖๔ ในระหว่างทย่ี งั มไิ ดม้ ีการออกประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับ สาํ นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลตามพระราชบญั ญัตินี้ คณะกรรมการกํากบั สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล สามารถกําหนดให้นําประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับของสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือองค์การมหาชนอื่นซ่ึงอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคมที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับมาใช้บังคับโดยอนุโลมกับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั ได้ ทง้ั น้ี เท่าท่ไี ม่ขดั หรือแยง้ กับพระราชบัญญตั นิ ี้ มาตรา ๖๕ การดําเนินการออกประกาศ ระเบียบ และข้อบังคับตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่สามารถดําเนินการได้ ให้รฐั มนตรีรายงานเหตุผลท่ไี มอ่ าจดาํ เนนิ การได้ตอ่ คณะรฐั มนตรีเพือ่ ทราบ ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี 220 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๒๓ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในด้านดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาและขับเคล่ือนเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งส่งผลต่อฐานความรู้ และขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซ่ึงหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจต่างมีความต้องการนําระบบ เทคโนโลยีด้านดิจิทัลดังกล่าวมาใช้ในการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของการให้บริการ เพื่อประโยชน์ ท่ีประชาชนจะได้รับหรือการพัฒนาในการแข่งขันทางธุรกิจของภาคเอกชน แต่ประเทศไทยยังขาดการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านดิจิทัลอย่างเป็นระบบท่ีจะสามารถตอบสนองความต้องการดังกล่าว ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนําไปสู่การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ดังนั้น เพ่ือให้การพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมของประเทศครอบคลุมการดําเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่มีส่วนสําคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศและการวางโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอย่างเป็นระบบเพื่อลดความซํ้าซ้อน ในการดําเนินงานและส่งเสริมกิจกรรมในด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน จึงจําเป็นตอ้ งตราพระราชบัญญตั ินี้ ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 221

222 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

พระราชบญั ญัติ สภาดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 223

ชื่อกฎหมาย พระราชบญั ญตั ิสภาดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖ / ตอนที่ ๕๖ ก / หนา ๖๙ / วันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ เรม่ิ บังคับใช วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ผูรักษาการ รัฐมนตรีวา การกระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 224 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๖บ๙กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติ สภาดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ่ี ๔ ในรัชกาลปจั จบุ นั สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยทเ่ี ป็นการสมควรมีกฎหมายวา่ ด้วยสภาดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแห่งประเทศไทย พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้ โดยอาศยั อานาจตามบทบัญญัตแิ หง่ กฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากดั สิทธแิ ละเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือให้ การดาเนินงานของสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทยบรรลุวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง จาเป็นต้องมีการกากับดูแลโดยหน่วยงานของรัฐในบางกรณี เพ่ือประโยชน์ในความร่วมมือระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ซ่ึงการตราพระราชบัญญัตินี้ สอดคลอ้ งกับเงอื่ นไขท่บี ัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทยแลว้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิตบิ ัญญัตแิ หง่ ชาติทาหนา้ ท่รี ฐั สภา ดังตอ่ ไปน้ี ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 225

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๗บ๐กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสภาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นตน้ ไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญตั นิ ี้ “ดิจิทัล” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ใช้วิธีการนาสัญลักษณ์ศูนย์และหน่ึงหรือสัญลักษณ์อื่น มาแทนคา่ สิง่ ทงั้ ปวง เพื่อใช้สรา้ ง หรือกอ่ ให้เกิดระบบตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหม้ นุษยใ์ ช้ประโยชน์ “ธุรกจิ หรอื อตุ สาหกรรมดิจิทลั ” หมายความว่า ธรุ กจิ หรอื อตุ สาหกรรมทเี่ ก่ียวข้องกบั การผลติ การพัฒนา การจดั จาหนา่ ย หรือการใหบ้ ริการ ดา้ นฮาร์ดแวร์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละสว่ นประกอบด้านซอฟตแ์ วร์ ดา้ นบริการดิจทิ ลั ด้านดจิ ิทัลคอนเทนต์ หรอื ดา้ นบรกิ ารโครงสรา้ งพ้ืนฐานเพือ่ การสอ่ื สารในระบบดจิ ทิ ลั ทงั้ นี้ รายละเอยี ดให้เปน็ ตามทกี่ าหนดในขอ้ บังคบั “สภา” หมายความว่า สภาดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งประเทศไทย “ขอ้ บงั คบั ” หมายความว่า ข้อบังคับของสภาดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งประเทศไทย “สมาชิก” หมายความว่า สมาชิกของสภาดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งประเทศไทย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสภาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ประเทศไทย “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการสภาดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ประเทศไทย “พนักงาน” หมายความว่า พนักงานและลูกจ้างของสภาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม แห่งประเทศไทย “พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี” หมายความว่า ขา้ ราชการสงั กดั กระทรวงดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม ซง่ึ รัฐมนตรีแต่งตัง้ ให้ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ “รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรผี ู้รักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีและกาหนดกิจการอ่ืน เพ่ือปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ 226 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๗๑ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา หมวด ๑ การจดั ตัง้ สภา มาตรา ๕ ให้จดั ตง้ั สภาดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย มีฐานะเปน็ นิตบิ ุคคล มีวัตถุประสงคแ์ ละหนา้ ที่ตามทีบ่ ัญญตั ิไวใ้ นพระราชบัญญัตนิ ้ี มาตรา ๖ ให้สภามีวัตถปุ ระสงค์ ดังต่อไปน้ี (๑) เป็นตัวแทนของสมาชิกผู้ประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัลในการเสนอความเห็น ประสานงาน และสนับสนุนการดาเนินงานด้านนโยบายระหว่างภาครัฐและเอกชน เกี่ยว กับธุรกิจ หรอื อุตสาหกรรมดิจิทลั (๒) เสนอความเห็นและข้อเสนอแนะต่อภาครัฐในเรื่องท่ีเก่ียวกับกฎระเบียบ กฎหมาย ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ธุรกจิ หรืออุตสาหกรรมดจิ ทิ ลั (๓) ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาขีดความสามารถของการประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรม ดจิ ิทลั ให้สามารถแขง่ ขันไดใ้ นระดับสากล (๔) สง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะของบุคลากรดา้ นดิจทิ ัลใหม้ มี าตรฐานสากล (๕) ส่งเสริมและกากบั ดแู ลให้เกิดคณุ ภาพ มาตรฐาน และจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ หรอื อุตสาหกรรมดจิ ิทลั รวมทงั้ ควบคมุ ดูแลให้สมาชิกปฏิบัติตามขอ้ บังคับของสภาและกฎหมายเกีย่ วกับ การประกอบธรุ กจิ หรอื อุตสาหกรรมดิจทิ ลั (๖) ดาเนินกจิ การอนื่ เพือ่ การพัฒนาธรุ กจิ หรืออตุ สาหกรรมดิจทิ ลั ของประเทศไทย หรือตามที่ ไดร้ บั มอบหมายจากหน่วยงานภาครฐั ทเ่ี กยี่ วข้อง มาตรา ๗ ห้ามสภากระทาการ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ประกอบวิสาหกิจ เข้าดาเนินการประกอบวิสาหกิจของบุคคลใด เข้าถือหุ้นเป็นหุ้นส่วน หรือร่วมทุนในการประกอบวิสาหกิจดิจิทัลกับบุคคลใด เว้นแต่เป็นการประกอบวิสาหกิจเพียงเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงคข์ องสภาตามมาตรา ๖ และได้รับความเหน็ ชอบจากท่ปี ระชมุ สามญั (๒) ดาเนินการด้วยประการใด ๆ อันเป็นการทาลายการแข่งขันอันพึงมีตามปกติวิสัย ของการประกอบวสิ าหกจิ ดิจิทัล ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 227

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๗๒ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๓) ดาเนินการด้วยประการใด ๆ อันอาจเป็นภัยต่อเศรษฐกิจความม่ันคงของประเทศ หรอื ตอ่ ความสงบเรยี บร้อยหรือศลี ธรรมอันดีของประชาชน (๔) ให้กู้ยืมเงินหรือให้เงินแก่สมาชิก หรือบุคคลอ่ืนใด เว้นแต่เป็นการให้กู้ยืมเพ่ือเป็น การสงเคราะห์พนักงาน หรือครอบครัวของพนักงานตามข้อบังคับ หรือเป็นการให้เพ่ือการกุศลสาธารณะ หรอื ตามหนา้ ท่ศี ีลธรรม หรอื ตามควรแกอ่ ัธยาศยั ในสังคม (๕) กีดกันหรือขัดขวางมิให้ผู้ใดซ่ึงมีคุณสมบัติท่ีจะเป็นสมาชิกได้ตามพระราชบัญญัติ และขอ้ บงั คับเข้าเปน็ สมาชิก โดยขัดต่อพระราชบัญญตั หิ รอื ขอ้ บังคับ (๖) แบ่งปันผลกาไรหรอื รายไดใ้ ห้แกส่ มาชิก (๗) ดาเนินการเก่ยี วขอ้ งกับกจิ กรรมทางการเมือง มาตรา ๘ ให้สภามีสานักงานใหญ่ในกรุงเทพมหานคร และมีสานักงานสาขาในจังหวัดอ่นื ได้ ตามความจาเป็น การจดั ต้งั สานักงานสาขาตามวรรคหน่ึง ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบงั คับ มาตรา ๙ สภาอาจมรี ายได้ ดงั ต่อไปนี้ (๑) คา่ ลงทะเบยี น คา่ ธรรมเนยี ม และค่าบารงุ ที่เรียกเก็บจากสมาชกิ (๒) ค่าตอบแทนและค่าบริการทีไ่ ด้รบั จากการใหบ้ ริการแก่สมาชิกหรือบุคคลภายนอก (๓) เงนิ และทรัพยส์ นิ ที่มผี ู้มอบให้ (๔) เงนิ ผลประโยชน์ และทรพั ย์สนิ อื่น ๆ ทีไ่ ดจ้ ากการดาเนินงานของสภา (๕) ดอกผลและผลประโยชนข์ องเงนิ หรือทรัพยส์ ินตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) มาตรา ๑๐ หา้ มบคุ คลใดนอกจากสภาใชเ้ ครื่องหมาย หรือชอ่ื เปน็ ภาษาไทยวา่ “สภาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย” หรือช่ือย่อว่า “สภาดิจิทัล” หรืออักษรต่างประเทศ ที่มีความหมายหรืออ่านออกเสียงว่า “สภาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย” หรือใช้ชื่อ ในทานองเดยี วกนั จนเป็นเหตุใหบ้ ุคคลอ่นื หลงเช่ือว่าเปน็ ส่วนหนง่ึ ของสภา เวน้ แตจ่ ะไดร้ ับอนุญาตจากสภา หมวด ๒ สมาชกิ มาตรา ๑๑ สภามสี มาชกิ สามประเภท คอื (๑) สมาชกิ สามญั 228 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๗บ๓กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ (๒) สมาชกิ วิสามญั (๓) สมาชิกกติ ตมิ ศกั ด์ิ สมาชกิ มีสิทธแิ ละหนา้ ทีต่ ามที่กาหนดในข้อบงั คับ มาตรา ๑๒ สมาชิกสามญั ไดแ้ ก่ (๑) นิตบิ ุคคลทตี่ ้งั ข้ึนตามกฎหมายไทยและประกอบธรุ กิจหรืออุตสาหกรรมดจิ ทิ ัล (๒) สมาคมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการส่งเสริมหรือสนับสนุน การประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัล โดยกรรมการสมาคมท้ังหมดจานวนเกินกึ่งหน่ึงและสมาชิก ของสมาคมท้งั หมดจานวนเกินก่ึงหนง่ึ มสี ญั ชาตไิ ทย มาตรา ๑๓ สมาชิกวิสามญั ไดแ้ ก่ บคุ คลธรรมดาท่ีประกอบธรุ กิจหรอื อตุ สาหกรรมดิจทิ ลั มาตรา ๑๔ สมาชกิ กิตตมิ ศกั ดิ์ ไดแ้ ก่ ผู้ซึง่ คณะกรรมการเชญิ มาเปน็ สมาชกิ กิตติมศักดจ์ิ าก (๑) ผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ นธรุ กจิ หรืออุตสาหกรรมดิจทิ ัล (๒) ผทู้ รงคุณวุฒิในสถาบนั การศกึ ษาทจี่ ดั การศึกษาหลักสูตรเกยี่ วกบั ดิจทิ ัล (๓) ผ้ซู งึ่ ทาประโยชนใ์ หแ้ ก่สภา หรอื ธุรกจิ หรอื อุตสาหกรรมดจิ ทิ ลั ของประเทศ หมวด ๓ คณะกรรมการ มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย คณะหน่ึง ซึ่งทีป่ ระชุมใหญส่ ภาเลือกตั้งจากผแู้ ทนสมาชกิ สามัญ ให้กรรมการตามวรรคหนึ่ง เลือกกรรมการเป็นประธานสภาคนหน่ึง รองประธานสภาคนหนึ่ง หรือหลายคน เลขาธิการสภาคนหนง่ึ และตาแหน่งอ่ืน ๆ ตามทกี่ าหนดในขอ้ บังคับ ให้เลขาธิการสภาเปน็ เลขานุการของคณะกรรมการ จานวนและสัดส่วนของกรรมการตามประเภทการประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัล และวิธีการเลือกตั้งตามวรรคหนึ่ง และวิธีการเลือกประธานสภา รองประธานสภา เลขาธิการสภา และตาแหน่งอ่ืน ๆ ตามวรรคสอง ใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ าหนดในข้อบังคับ มาตรา ๑๖ กรรมการต้องมีคณุ สมบตั แิ ละไมม่ ีลักษณะต้องหา้ ม ดงั ต่อไปน้ี ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 229

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานุเ๗บ๔กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ (๑) เป็นบุคคลที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัลเป็นระยะเวลา ไม่นอ้ ยกวา่ ห้าปี (๒) เปน็ ผแู้ ทนสมาชิกสามญั ท่เี ป็นสมาชิกของสภาเปน็ ระยะเวลาไม่น้อยกวา่ หนงึ่ ปี (๓) เปน็ ผูแ้ ทนสมาชกิ สามัญท่ไี ดจ้ ดั ทาบัญชนี าสง่ งบการเงินตอ่ กระทรวงพาณชิ ย์หรอื กรมสรรพากร มาระยะเวลาสามปีติดต่อกันนับย้อนจากปีปัจจุบัน และมีการจัดทางบการเงินท่ีได้รับการตรวจสอบ จากผู้ตรวจสอบบัญชที ไี่ ดร้ ับอนุญาตมาเป็นระยะเวลาสามปตี ดิ ต่อกันนบั ย้อนจากปปี จั จบุ นั ดว้ ย (๔) ไมเ่ ปน็ พนกั งาน (๕) ไมเ่ ปน็ บุคคลลม้ ละลายหรอื เคยเป็นบุคคลลม้ ละลายทจุ ริต (๖) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถ่ินซึ่งมีตาแหน่ง หรือเงินเดือนประจา หรือเป็นพนักงานหรือบุคคลผู้ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ ผู้บริหารท้องถ่ิน หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น เจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องท่ี และให้หมายความรวมถึงลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ และบุคคล หรือคณะบุคคลซึง่ ใช้อานาจหรือได้รบั มอบให้ใชอ้ านาจทางปกครองของรัฐในการดาเนนิ การอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งข้ึนในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐ เว้นแต่ จะไดพ้ ้นจากตาแหนง่ นั้นมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ หนึง่ ปี (๗) ไมเ่ ปน็ บคุ คลวกิ ลจริตหรอื จิตฟั่นเฟอื นไม่สมประกอบ (๘) ไม่เป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ (๙) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด ท่กี ระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ มาตรา ๑๗ กรรมการมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รบั เลอื กตัง้ ใหมไ่ ด้ ประธานสภาจะดารงตาแหน่งเกนิ สองวาระตดิ ตอ่ กันไม่ได้ มาตรา ๑๘ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๗ กรรมการ พน้ จากตาแหน่ง เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก 230 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๗บ๕กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ (๓) ทป่ี ระชมุ ใหญส่ ภามีมตใิ หอ้ อกด้วยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกวา่ สองในสามของจานวนสมาชกิ สามญั ทม่ี าประชมุ (๔) พ้นจากการเป็นผแู้ ทนสมาชิกสามญั หรอื สมาชกิ สามัญนั้นพน้ จากสมาชิกภาพ (๕) ขาดคณุ สมบตั ิหรอื มลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๑๖ (๖) รฐั มนตรีสัง่ ให้พ้นจากตาแหนง่ ตามมาตรา ๓๖ มาตรา ๑๙ เม่ือกรรมการตามมาตรา ๑๕ พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้คณะกรรมการ จัดให้มีการประชุมใหญ่สภาเพ่ือให้มีการเลือกต้งั ผ้แู ทนสมาชิกสามัญ เป็นกรรมการแทนภายในหกสิบวัน เว้นแต่วาระของกรรมการผู้นั้นจะเหลือน้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวัน คณะกรรมการจะจัดให้มีการเลือกตั้ง กรรมการแทนหรือไมก่ ็ได้ ให้ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการแทนตามวรรคหนึ่งอยู่ในตาแหน่งได้เพียงเท่ากับวาระ ท่ยี งั เหลืออยขู่ องกรรมการซ่ึงตนแทน มาตรา ๒๐ ในกรณที ี่กรรมการทั้งคณะพน้ จากตาแหนง่ นอกจากการพน้ จากตาแหน่งท้ังคณะ ตามมาตรา ๓๖ ให้กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งยังคงรกั ษาการในตาแหนง่ เพ่ือดาเนนิ กจิ การของสภาตอ่ ไป เท่าทจี่ าเป็นจนกว่าคณะกรรมการชดุ ใหมเ่ ขา้ รบั หนา้ ที่ กรรมการทพ่ี ้นจากตาแหนง่ ตามวรรคหน่ึง ตอ้ งจัดใหม้ ีการประชุมใหญ่สภา เพื่อให้มกี ารเลือกตั้ง คณะกรรมการชดุ ใหมต่ ามมาตรา ๑๕ ภายในสามสบิ วันนับแตว่ ันที่พ้นจากตาแหนง่ ในกรณีท่ีตาแหนง่ กรรมการว่างลง จนเหลือจานวนน้อยกวา่ ท่ีจะเป็นองค์ประชุมตามมาตรา ๒๒ ให้กรรมการที่เหลืออยู่ กระทาการต่อไปได้ แต่เฉพาะจดั ให้มีการประชุมใหญ่สภาเพ่ือเลอื กตัง้ กรรมการ ตามมาตรา ๑๕ มาตรา ๒๑ คณะกรรมการมีหน้าท่ีและอานาจวางนโยบายและดาเนินกิจการของสภา ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภาตามมาตรา ๖ รวมท้ังให้มีหน้าทแี่ ละอานาจ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ประสานงานในนามของผู้ประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัลด้านนโยบายและ การดาเนินการกับรัฐบาล หน่วยงานของภาครัฐเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัล ตลอดจนศึกษาแนวทาง และร่วมผลักดันการแก้ไขปัญหาผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมเก่ียวกับ การประกอบธุรกจิ หรืออตุ สาหกรรมดจิ ทิ ัลของประเทศ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 231

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๗๖ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา (๒) สนับสนุนการดาเนินการของรัฐบาลในเร่ืองท่ีเก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจ หรืออตุ สาหกรรมดจิ ทิ ัล (๓) ใหค้ าปรึกษาและให้คาแนะนาแก่การประกอบธรุ กิจหรอื อุตสาหกรรมดิจิทลั (๔) ดาเนินการร่วมกับผู้ประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดจิ ิทลั ในการแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น การประสานงานด้านธุรกิจ อุตสาหกรรม การแก้ไขปัญหาที่เก่ียวข้อง ตลอดจนความรู้ด้านดิจิทัล กบั ท้งั องค์กรในประเทศ และองคก์ ารระหว่างประเทศ เพ่อื ประโยชนใ์ นการพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทลั (๕) แต่งตั้งท่ีปรึกษาและคณะอนุกรรมการ เพ่ือดาเนินกิจการอย่างใดอย่างหน่ึง ตามท่ี คณะกรรมการมอบหมาย (๖) สรรหาผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและเสนอให้ที่ประชุมสามัญพิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง และ จดั ใหม้ ีการตรวจสอบบญั ชีรายรบั รายจ่าย งบการเงิน โดยผูส้ อบบญั ชีรบั อนุญาต และเสนอใหท้ ่ปี ระชมุ สามญั ใหค้ วามเหน็ ชอบ (๗) ออกข้อบงั คบั ว่าดว้ ย (ก) การจาแนกกลุ่มสมาชิกตามลักษณะหรือพื้นที่ของการประกอบธุรกิจหรือ อตุ สาหกรรมดิจิทัล การเลอื กตงั้ กรรมการกล่มุ สมาชิก การประชมุ และดาเนนิ การของสาขาการประกอบกิจการ ดา้ นดจิ ิทัล ตลอดจนกจิ การอน่ื ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง (ข) การกาหนดรายละเอยี ดของการประกอบธุรกจิ หรืออตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั (ค) การกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการรับสมัคร สิทธิหน้าที่ของสมาชิก คุณสมบัติ วนิ ัยและการลงโทษสมาชิก และการพน้ จากสมาชิกภาพ รวมทง้ั การอุทธรณ์ (ง) การกาหนดค่าลงทะเบียน ค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน และค่าบริการ ทจี่ ะพึงเรียกเก็บจากสมาชิกหรอื บุคคลภายนอก (จ) การกาหนดจานวนและสัดส่วนของกรรมการตามประเภทการประกอบธุรกิจหรือ อุตสาหกรรมดิจิทัล วิธีการเลือกตั้งกรรมการ และวิธีการเลือกประธานสภา รองประธานสภา เลขาธิการสภา และตาแหน่งอนื่ ๆ ตลอดจนตาแหน่งและภาระหน้าท่ีของกรรมการเปน็ รายตาแหน่ง (ฉ) การประชมุ และการดาเนินกจิ การของคณะกรรมการ และการประชุมใหญ่สภา (ช) การจัดตั้งและการดาเนินกิจการของสานกั งานสาขาสภา (ซ) การบรรจุ การแต่งตัง้ การถอดถอน การกาหนดตาแหนง่ อัตราเงินเดอื น คา่ จ้าง และเงินบาเหนจ็ รางวัลของพนกั งาน รวมท้งั วินัย การลงโทษ และการร้องทุกข์ของพนกั งาน 232 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๗๗ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (ฌ) การเบิกจา่ ยเงิน และการเก็บรกั ษาเงนิ ทกุ ประเภท (ญ) การสงเคราะห์พนักงาน ตลอดจนครอบครัวของบุคคลดังกล่าว หรือผู้ซ่ึงพ้นจาก การเปน็ พนักงาน (ฎ) การอนื่ ใดที่จาเปน็ ตอ่ การดาเนินกจิ การของสภา การกาหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับใด ๆ ตาม (๗) ต้องได้รับความเห็นชอบ จากท่ีประชุมใหญ่สภา เมื่อที่ประชุมใหญ่สภาให้ความเห็นชอบแล้ว ต้องส่งข้อบังคับน้ันให้รัฐมนตรี เพื่อทราบ มาตรา ๒๒ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง ของจานวนกรรมการทัง้ หมด จงึ จะเป็นองคป์ ระชมุ ให้ประธานสภาเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานสภาไม่อยู่ในท่ีประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้รองประธานสภาเป็นประธานในที่ประชุม ถ้ารองประธานสภาไม่อยู่ในท่ีประชุม หรอื ไม่อาจปฏิบตั หิ น้าท่ไี ด้ ใหท้ ่ีประชมุ เลือกกรรมการคนหน่ึงเป็นประธานในทป่ี ระชุม มติของที่ประชุมคณะกรรมการให้ถือตามเสียงข้างมากของจานวนกรรมการที่ มาประชุม กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในท่ีประชุม ออกเสียงเพิม่ อีกเสียงหนง่ึ เปน็ เสยี งชขี้ าด ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้ามีการพิจารณาเรอ่ื งใดท่ีเกี่ยวกบั ตัวกรรมการ หรือส่วนไดเ้ สยี ของกรรมการหรือสมาชิกท่ีกรรมการเป็นผู้แทน ให้กรรมการผู้นั้นมีสิทธิชี้แจงในเร่ืองน้ัน แต่ไม่มี สิทธิออกเสยี ง มาตรา ๒๓ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ประธานสภาเป็นผู้แทนของสภา และเพ่ือการนี้ ประธานสภาจะมอบหมายเป็นหนังสือให้กรรมการกระทาการแทนก็ได้ โดยการมอบ อานาจดังกล่าวจะต้องกาหนดขอบเขต หน้าท่ีและอานาจและความรับผิดชอบท่ีได้รับมอบหมาย อยา่ งชดั เจน การดาเนนิ กิจการทีเ่ กยี่ วกับบุคคลภายนอก ให้เป็นไปตามท่กี าหนดในขอ้ บังคบั หมวด ๔ การดาเนนิ กจิ การของสภา มาตรา ๒๔ ใหค้ ณะกรรมการจัดให้มกี ารประชมุ ใหญส่ ภาปลี ะหน่งึ ครั้ง การประชุมใหญ่เชน่ น้ี เรียกว่า ประชมุ สามัญ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 233

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๗บ๘กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ การประชุมใหญส่ ภาคราวอน่ื นอกจากการประชุมตามวรรคหนง่ึ เรยี กวา่ ประชุมวสิ ามัญ มาตรา ๒๕ ในการประชุมสามัญอยา่ งน้อยต้องมีระเบียบวาระการประชมุ ในเรือ่ งดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณาให้ความเห็นรายงานแสดงสถานภาพเศรษฐกิจ และผลผลิตด้านดิจิทัลของ ประเทศไทยเปรียบเทยี บกบั สากล (๒) รับรองรายงานประจาปีแสดงผลงานของสภาในปที ล่ี ่วงมา (๓) พิจารณารายงานประเมินผลงานของสภาในปีท่ลี ว่ งมา (๔) พิจารณาอนมุ ัตงิ บการเงินประจาปีของสภาที่ไดร้ ับการรบั รองจากผ้สู อบบัญชีรับอนญุ าต (๕) พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบนโยบายของคณะกรรมการ แผนดาเนินงาน และงบประมาณ ประจาปีของสภา (๖) แต่งตง้ั ผสู้ อบบัญชรี บั อนญุ าต และกาหนดค่าตอบแทนผู้สอบบญั ชรี ับอนุญาต มาตรา ๒๖ เมือ่ มเี หตจุ าเปน็ คณะกรรมการจะเรยี กประชุมวสิ ามญั เมอ่ื ใดก็ได้ สมาชิกสามัญจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกสามัญจะทาหนังสือร้องขอ ต่อคณะกรรมการให้เรียกประชุมวิสามัญก็ได้ ในหนังสือร้องขอน้ันต้องระบุว่าประสงค์ให้เรียกประชุม เพอ่ื การใด ในกรณีท่ีสมาชิกสามัญเป็นผู้ร้องขอให้เรียกประชุมวิสามัญตามวรรคสอง ให้คณะกรรมการ เรยี กประชมุ วิสามัญภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ทร่ี ับหนงั สือรอ้ งขอ มาตรา ๒๗ ในการประชุมใหญ่สภา ต้องมีสมาชิกสามัญมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในส่ี ของจานวนสมาชิกสามัญทง้ั หมด จึงจะเปน็ องค์ประชมุ ให้ประธานสภาเป็นประธานท่ีประชุม กรณีประธานสภาไม่อยู่ในท่ีประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้รองประธานสภาเป็นประธานที่ประชุม หากรองประธานสภาไม่อยู่ในที่ประชุม หรอื ไมอ่ าจปฏบิ ัติหน้าทไ่ี ด้ ให้สมาชกิ ทม่ี าประชุมเลือกกรรมการคนหนงึ่ เป็นประธานท่ีประชมุ สมาชิกสามัญอาจมอบฉันทะให้บุคคลอ่ืนเข้าร่วมประชุมแทนและออกเสียงลงคะแนน ได้ ตามทีก่ าหนดในขอ้ บังคบั การวินิจฉยั ช้ขี าดของทป่ี ระชมุ ให้ถือเสียงข้างมากของสมาชิกสามญั ท่ีมาประชุม โดยสมาชกิ คนหน่งึ มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานท่ีประชุมออกเสียงเพิ่มข้ึนอีกเสียงหนง่ึ เปน็ เสียงช้ขี าด 234 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๗บ๙กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๒๘ สมาชิกวิสามัญและสมาชิกกิตติมศักด์ิมีสิทธิเข้าร่วมประชุมใหญ่สภาได้ แต่ไม่มี สิทธิออกเสียงลงคะแนน และอาจมอบฉันทะให้บุคคลอ่ืนเข้าร่วมประชุมแทนและแสดงความคิดเห็นได้ ตามท่กี าหนดในขอ้ บงั คับ มาตรา ๒๙ ในการประชุมสามัญ ถ้าสมาชิกสามัญมาประชุมไม่ครบองค์ประชุม ให้เล่ือน การประชุมนั้นออกไปอีกครั้งหนึ่ง โดยให้ประธานสภาแจ้งวันประชุมคร้ังใหม่ให้สมาชิกทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน การประชุมสามัญครั้งใหม่น้ี ไม่ว่าจะมีสมาชิกสามัญมาประชุมจานวนเท่าใด ให้ถือเป็นองค์ประชุมได้ แต่การประชุมในคร้ังนี้ ให้ดาเนินการได้เฉพาะกิจกรรมอันพึงกระทาตามระบุ ในมาตรา ๒๕ เท่านั้น เว้นแต่การพิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายของคณะกรรมการ แผนดาเนินงานประจาปี และงบประมาณเฉพาะที่เก่ียวกับการดาเนินงานตามนโยบายของสภา ตามมาตรา ๒๕ (๕) จะตอ้ งมีสมาชกิ สามัญมาประชุมครบองค์ประชุมตามมาตรา ๒๗ มาตรา ๓๐ ในการประชุมวิสามัญ ถ้าสมาชิกสามัญมาประชุมไม่ครบองค์ประชุม หากการประชุมวสิ ามัญน้ันไดเ้ รยี กตามคาร้องขอของสมาชิกสามัญ ให้งดประชุม หากเปน็ การประชมุ วสิ ามัญ ที่สมาชิกสามัญมิไดร้ อ้ งขอ ให้เลื่อนการประชุมวสิ ามัญนั้นออกไป โดยให้ประธานสภาเรียกประชมุ วิสามัญ อีกคร้ังภายในส่ีสิบหา้ วัน การประชมุ วสิ ามัญครัง้ หลังนี้ ไม่ว่าจะมสี มาชิกสามัญมาประชุมจานวนเทา่ ใด ให้ถือเป็นองค์ประชุมได้ เว้นแต่การดาเนินการดังต่อไปนี้จะต้องมีสมาชิกสามัญมาประชุม ครบองค์ประชุมตามมาตรา ๒๗ (๑) การมมี ติให้กรรมการพน้ จากตาแหนง่ ตามมาตรา ๑๘ (๓) (๒) การพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบขอ้ บงั คบั ตามมาตรา ๒๑ (๗) (๓) การพิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายของคณะกรรมการ แผนดาเนินงานประจาปี และงบประมาณเฉพาะทีเ่ กี่ยวกบั การดาเนนิ งานตามนโยบายของสภาตามมาตรา ๒๕ (๕) มาตรา ๓๑ ให้คณะกรรมการจัดทารายงานประจาปีแสดงผลงานคณะกรรมการและสภา ในปีที่ล่วงมา และคาช้ีแจงเก่ียวกับนโยบาย พร้อมด้วยงบการเงินประจาปี ซ่ึงมีผู้สอบบัญชีรับอนญุ าต รับรองเสนอตอ่ ทปี่ ระชุมสามัญภายในหน่ึงร้อยย่ีสบิ วันนบั แต่วันสิ้นปีปฏิทิน และใหส้ ่งสาเนาเอกสารดงั กล่าว ไปยังรฐั มนตรีเพอ่ื รับทราบภายในสามสบิ วันนับแต่วันที่ทีป่ ระชุมสามัญรับรองแล้ว มาตรา ๓๒ ผู้สอบบัญชีตามมาตรา ๓๑ นั้น ให้ท่ีประชุมสามัญแต่งต้ังจากผู้สอบบัญชี รับอนญุ าตตามกฎหมายว่าดว้ ยวชิ าชีพบัญชี และต้องไม่เป็นกรรมการ พนกั งาน หรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 235

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๘๐ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา ผู้สอบบัญชีมีอานาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานของสภา และขอคาช้ีแจง จากประธานสภา กรรมการ พนักงาน หรอื พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีได้ ให้ผูส้ อบบัญชีไดร้ บั ประโยชนต์ อบแทนตามทท่ี ป่ี ระชมุ สามัญกาหนด หมวด ๕ การกากับดแู ลของรฐั มาตรา ๓๓ ใหร้ ัฐมนตรีมอี านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) สงั่ ให้พนกั งานเจา้ หน้าทสี่ อบสวนข้อเทจ็ จริงเก่ยี วกบั การดาเนินงานของสภา (๒) ส่ังเป็นหนังสือให้คณะกรรมการชี้แจงข้อเท็จจริงเก่ียวกับกิจการของสภา และจะให้ส่ง เอกสารเกี่ยวกบั การดาเนนิ งานหรือรายงานการประชุมของคณะกรรมการดว้ ยก็ได้ (๓) สั่งเป็นหนังสือให้สภาหรือคณะกรรมการระงับหรือแก้ไขการกระทาใด ๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย นโยบายของรัฐบาล มติของคณะรัฐมนตรี หรือข้อบังคับ เม่ือส่ังการอย่างใดแล้ว ให้รายงานต่อ คณะรฐั มนตรีเพอ่ื ทราบ มาตรา ๓๔ ในการปฏิบัติการตามคาส่ังของรัฐมนตรตี ามมาตรา ๓๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี มีอานาจเขา้ ไปตรวจสอบเอกสารหรอื หลักฐานในสานักงานของสภาได้ในระหว่างเวลาทาการ หรือให้บคุ คล ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งช้แี จงแกพ่ นกั งานเจา้ หน้าทต่ี ามทีร่ อ้ งขอ ในการปฏิบัติการของพนักงานเจา้ หน้าท่ีตามวรรคหน่ึง ให้บุคคลซึ่งเกย่ี วข้องอานวยความสะดวก ตามสมควร มาตรา ๓๕ ในการปฏิบัติการตามมาตรา ๓๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแสดงบัตรประจาตัว ตอ่ บคุ คลซึ่งเกย่ี วขอ้ ง บตั รประจาตวั พนักงานเจา้ หนา้ ที่ให้เป็นไปตามแบบทร่ี ัฐมนตรีกาหนด มาตรา ๓๖ เม่ือปรากฏว่าสภาหรือคณะกรรมการ ไม่ปฏิบัติตามคาส่ังของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๓๓ หรือกระทาการใด ๆ อนั เปน็ การผดิ วัตถุประสงค์ของสภา หรือเปน็ ภัยตอ่ ระบบเศรษฐกิจ ความมนั่ คงของประเทศ หรือความสงบเรียบรอ้ ยหรือศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน ให้รฐั มนตรโี ดยอนุมัติ ของคณะรฐั มนตรมี ีอานาจสั่งใหก้ รรมการทงั้ คณะหรือกรรมการคนใดคนหนง่ึ พ้นจากตาแหน่ง 236 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๘บ๑กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ กรรมการท่ีพ้นจากตาแหนง่ ตามวรรคหนงึ่ ไมม่ ีสิทธิเป็นกรรมการอีก เว้นแต่จะพ้นกาหนดห้าปี นบั แต่วันท่รี ัฐมนตรีมคี าสั่งให้พน้ จากตาแหน่ง มาตรา ๓๗ ในกรณีที่รัฐมนตรีมีคาสั่งให้กรรมการท้ังคณะพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๓๖ ให้รัฐมนตรีแต่งต้ังบุคคลจากสมาชิกสามัญของสภาจานวนไม่น้อยกว่าสิบสามคน แต่ไม่เกินย่ีสิบคน เป็นคณะกรรมการชั่วคราวภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีรัฐมนตรีมีคาส่ังให้คณะกรรมการท้ังคณะ พ้นจากตาแหน่ง ให้คณะกรรมการชั่วคราวตามวรรคหนึ่ง มีหน้าที่และอานาจดาเนินกิจการสภาเพียงเท่าท่ีจาเป็น และจัดให้มีการประชุมใหญ่สภาเพื่อเลือกต้ังกรรมการตามมาตรา ๑๕ ภายในหน่ึงร้อยย่ีสิบวันนับแต่ วันที่รัฐมนตรีมีคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการช่ัวคราว เมื่อกรรมการคณะใหม่เข้ารับหน้าที่แล้ว ให้คณะกรรมการชัว่ คราวซง่ึ รฐั มนตรแี ต่งตงั้ พน้ จากตาแหน่ง หมวด ๖ บทกาหนดโทษ มาตรา ๓๘ สภากระทาการฝ่าฝนื มาตรา ๗ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กนิ สองแสนบาท มาตรา ๓๙ ในกรณีที่สภากระทาความผิดและถูกลงโทษ ถ้าการกระทาความผิดของสภา เกิดจากการส่ังการหรือการกระทาของกรรมการผู้ใด หรือในกรณีท่ีกรรมการผู้ใดมีหน้าที่ต้องส่ังการ หรือกระทาการและละเว้นไม่สง่ั การหรอื ไม่กระทาการจนเปน็ เหตุให้สภากระทาความผิด กรรมการผนู้ ้ัน ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท มาตรา ๔๐ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๐ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกิน หน่ึงหมน่ื บาท หรอื ทัง้ จาทงั้ ปรับ และปรับอีกวนั ละหน่ึงหม่นื บาทจนกวา่ จะเลกิ ใช้ มาตรา ๔๑ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่ชี้แจง หรือไม่อานวยความสะดวกให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ซง่ึ ปฏบิ ตั กิ ารตามมาตรา ๓๔ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กินห้าพนั บาท บทเฉพาะกาล มาตรา ๔๒ เมื่อพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับแล้ว ให้สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารแห่งประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นอันยกเลิก ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 237

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๘๒ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา และให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ และหนี้ของสมาคมดังกล่าวที่มีอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาไปเป็นของสภานบั แต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ใี ช้บงั คับ มาตรา ๔๓ ให้พนักงานและลูกจ้างของสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งประเทศไทย ซ่ึงจัดต้ังข้ึนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นพนักงานของสภา กับให้ถือว่าเวลาทางานของบุคคลดังกล่าวในสมาคม สมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแห่งประเทศไทยเป็นเวลาทางานในสภานับแต่วันท่ี พระราชบญั ญัตินใี้ ช้บังคับ มาตรา ๔๔ ให้คณะกรรมการสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารแหง่ ประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีดารงตาแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัติน้ีประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา และให้ผูท้ รงคุณวฒุ จิ านวนหกคน ซึ่งไม่ได้เป็นสมาชิกสภา ซึ่งมีความรู้ความเชีย่ วชาญ ด้านนิเทศศาสตร์ ด้านสังคม ด้านกฎหมายดิจิทัล ด้านธุรกิจการดูแลด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านส่งเสริมสิทธิประชาชนอย่างท่ัวถึง ด้านละหน่ึงคน ตามท่ีคณะกรรมการสมาคมสมาพันธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสนอและรัฐมนตรีแต่งต้ัง ประกอบเป็น คณะกรรมการคณะแรกของสภา มีหน้าท่ีและอานาจดาเนินการตามมาตรา ๒๑ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๖) และออกข้อบังคับตาม (๗) (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) และ (ฌ) เพื่อใช้บังคับเป็นการชวั่ คราว และปฏิบัติการอยา่ งอ่นื เพยี งเทา่ ที่จาเป็นเพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญตั ิน้ี ดาเนนิ การรับสมัครสมาชิก และเรียกประชุมใหญ่สภาเพ่ือเลือกต้ังกรรมการคณะใหม่ตามมาตรา ๑๕ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแตว่ นั ทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ้ีใชบ้ ังคับ ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีความจาเป็น รัฐมนตรีจะขยายระยะเวลาให้ก็ได้ การขยายระยะเวลาดงั กลา่ วให้ขยายไดค้ รั้งละไมเ่ กนิ สามสบิ วนั แต่ทั้งนีร้ วมกนั ไม่เกนิ หกสบิ วัน เมื่อเลือกต้ังกรรมการตามวรรคหนึ่งแล้ว กรรมการคณะใหม่ต้องจัดให้มีการประชุม คณะกรรมการภายในสามสบิ วันนบั แต่วันท่ไี ด้รับเลอื กต้งั เพือ่ ดาเนนิ การตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง เม่อื ไดด้ าเนนิ การตามวรรคสามแลว้ ให้คณะกรรมการคณะแรกพน้ จากตาแหน่ง มาตรา ๔๕ ในการเลอื กตัง้ กรรมการคณะใหมต่ ามมาตรา ๔๔ วรรคหนงึ่ มิให้นาระยะเวลา การเป็นสมาชิกของสภาตามมาตรา ๑๖ (๒) มาใช้บังคับกับผู้แทนสมาชิกสามัญซ่ึงได้รับเลือกต้ัง เป็นกรรมการ 238 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๘บ๓กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๔๖ ใหส้ มาชิกสมาคมสมาพนั ธเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารแห่งประเทศไทย ที่ ด า ร ง ส ม า ชิ ก ภ า พ อ ยู่ ใ น วั น ที่ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ น้ี ป ร ะ ก า ศ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุ เ บ ก ษ า เ ป็ น ส ม า ชิ ก ส ภา ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ผ้รู บั สนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 239

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๘บ๔กษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เนื่องด้วยการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล มีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ และนวัตกรรมดิจิทัล มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและสังคม สมควรท่ีประเทศไทยจะมี การจัดตั้งสภาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย อันเป็นการรวมตัวของภาคเอกชนในธุรกิจ หรืออุตสาหกรรมดิจิทัลซ่ึงมีความพร้อมท้ังด้านกาลงั คน ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์โดยตรง รวมท้ัง มีความใกล้ชิดและความเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภค เพ่ือให้เป็นองค์กรสาคัญในการทางานร่วมกับรัฐบาล และภาคเอกชนอื่น ๆ ในการสนับสนุนการผลิตและพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล อันจะนาไปสู่การเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาบุคลากรด้านดิจิทัล และการนานวัตกรรมดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ ในประเทศไทยเพือ่ ให้เกดิ การพฒั นาประเทศอยา่ งยัง่ ยนื จงึ จาเป็นตอ้ งตราพระราชบัญญัติน้ี 240 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 241


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook