Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Published by สมยงค์ สาลีศรี, 2021-09-02 04:08:38

Description: กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Search

Read the Text Version

เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๘๘ ง หน้า ๑๓ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา สังคมเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้กลุ่มงานท่ีได้รับมอบหมายภายในกองกฎหมาย สํานักงาน ปลัดกระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมเป็นหน่วยงานฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการเปรยี บเทยี บ ให้เลขานกุ ารแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้ตามความจําเป็น ข้อ ๕ ให้ฝ่ายเลขานุการมีหน้าท่ีในการรับเร่ืองราวจากพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานสอบสวน หรือคณะทํางานตามข้อ ๖ และจัดส่งให้คณะกรรมการเปรียบเทียบ ติดตามและแจ้งผลการพิจารณา ดําเนินการของคณะกรรมการเปรียบเทียบแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานสอบสวนผู้เก่ียวข้อง หรอื คณะทาํ งานตามขอ้ ๖ เพอื่ พิจารณาดาํ เนินการตามทกี่ ฎหมายกําหนดไว้ต่อไป การดาํ เนินการของฝ่ายเลขานุการตามวรรคหนึ่งจะกระทาํ ดว้ ยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนกิ ส์ก็ได้ ข้อ ๖ เพื่อให้การพิจารณาดําเนินการของคณะกรรมการเปรียบเทียบเป็นไปอย่างรวดเร็ว และท่ัวถึงในทุกภูมิภาคให้มีคณะทํางานคณะหน่ึงหรือหลายคณะในส่วนภูมิภาค เพ่ือพิจารณากล่ันกรอง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทําความผิดและเสนอความเห็นมายังคณะกรรมการเปรียบเทียบ หรือเพ่ือ ดําเนนิ การอ่นื ใดอันเปน็ ประโยชนต์ อ่ การเปรียบเทยี บ คณะทํางานตามวรรคหน่ึง ให้ประกอบด้วย ผู้แทนสํานักงานอัยการสูงสุดเป็นประธาน พนักงานสอบสวนผู้เป็นหัวหน้าในท้องที่นั้นเป็นกรรมการ และให้พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ เปน็ กรรมการและเลขานุการ หมวด ๒ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารพจิ ารณาของคณะกรรมการเปรียบเทยี บ ขอ้ ๗ บรรดาความผิดซึ่งได้เกิด หรืออ้าง หรือเช่ือว่าได้เกิดในกรุงเทพมหานคร หรือ นอกราชอาณาจักรไทย ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบท่ีกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และ ให้ผู้ต้องหาชาํ ระค่าปรบั ท่กี ระทรวงดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม บรรดาความผิดซึ่งได้เกิด หรืออ้าง หรือเช่ือว่าได้เกิดในจังหวัดอ่ืนซึ่งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้คณะทํางานตามข้อ ๖ เป็นผู้พิจารณากล่ันกรองข้อเท็จจริงเก่ียวกับการกระทําความผิดและเสนอ ความเห็นมายงั คณะกรรมการเปรยี บเทียบและให้ผู้ต้องหาชําระค่าปรบั ทีเ่ ลขานุการของคณะทํางานดังกลา่ ว ในกรณีบรรดาความผิดกระทําในท้องท่ีใดในหลายท้องที่หรือความผิดหนึ่งกระทําท้องที่หนึ่ง แต่อีกส่วนหน่ึงกระทําในอีกท้องที่หนึ่ง หรือเป็นความผิดต่อเน่ือง และกระทําต่อเน่ืองกันในหลายท้องที่ ให้คณะทํางานในท้องท่ีหน่ึงท้องท่ีใดที่เกี่ยวข้องมีอํานาจเป็นผู้พิจารณากลั่นกรองข้อเท็จจริงเก่ียวกับ การกระทาํ ความผิดและเสนอความเห็นมายงั คณะกรรมการเปรียบเทียบ ในกรณีมีปัญหาไม่แน่ว่าจะทําการเปรียบเทียบท่ีใดหรือมีปัญหาไม่แน่ว่าคณะทํางานตามข้อ ๖ คณะใดจะเป็นผู้พิจารณากล่ันกรองข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทําความผิด ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมเปน็ ผมู้ อี ํานาจชี้ขาด โดยคําชข้ี าดของปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ใหเ้ ป็นทส่ี ุด 342 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๘๘ ง หน้า ๑๔ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินและการนําส่งเงินค่าปรับที่มิได้กําหนดไว้ในประกาศน้ี ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการโดยอนุโลมและให้เป็นหน้าท่ีของเลขานุการซึ่งเป็นผู้รับชําระ ค่าปรับทจี่ ะดาํ เนินการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บของทางราชการทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ขอ้ ๘ เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้รับเรื่องขอให้พิจารณาเปรียบเทียบแล้ว ใหพ้ จิ ารณาเปรยี บเทยี บให้แลว้ เสร็จโดยไมช่ ักช้าโดยให้คาํ นึงถึงระยะเวลาทต่ี อ้ งใช้ในการดําเนินคดีทางศาล กรณที ี่ไมอ่ าจเปรยี บเทียบปรับไดด้ ้วย ข้อ ๙ การพิจารณาเปรียบเทียบ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบมีอํานาจแสวงหา ขอ้ เทจ็ จรงิ เรยี กพยานบคุ คลหรอื พยานเอกสารจากบุคคลใดเทา่ ทีจ่ ําเปน็ มาประกอบการพิจารณา ข้อ ๑๐ เมื่อปรากฏหลักฐานว่ามีการกระทําความผิดเกิดขึ้น และมีเหตุอันสมควรให้มีคําสั่ง เปรียบเทียบปรับผู้ต้องหา โดยผู้ต้องหารับสารภาพและผู้เสียหายให้ความยินยอมให้ดําเนินการ เปรียบเทียบปรับได้ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบมีหนังสือแจ้งผู้ต้องหาภายในห้าวันทําการหรือภายใน ระยะเวลาที่เห็นสมควรนับแต่วันท่ีคณะกรรมการเปรียบเทียบมีคําส่ังให้เปรียบเทียบปรับโดยจะต้อง กําหนดระยะเวลาให้ผู้ต้องหามาพบพนักงานเจ้าหน้าที่หรือพนักงานสอบสวนอย่างช้าภายในเจ็ดวันทําการ นบั แตว่ นั ท่ไี ดร้ ับหนงั สอื แจ้ง หนังสือแจ้งผู้ต้องหาตามวรรคหนึ่งให้ใช้ตามแบบ ปทค. ๑ ท้ายประกาศนี้ไปพลางก่อน ในระหวา่ งทีย่ งั ไม่มกี ารจดั ทาํ หนงั สอื น้ดี ว้ ยวธิ กี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ข้อ ๑๑ เม่ือผู้ต้องหามาแสดงตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานสอบสวนแล้วให้แจ้ง ขอ้ กล่าวหาในการกระทําความผิด วัน เวลา และสถานที่กระทําความผิด พร้อมแจ้งให้ผู้ต้องหาทราบว่า ความผิดที่เกิดข้ึนเป็นความผิดท่ีสามารถเปรียบเทียบปรับได้ ถ้าผู้ต้องหาให้การรับสารภาพและยินยอม ใหเ้ ปรยี บเทยี บปรบั ให้บนั ทกึ คําให้การของผ้ตู อ้ งหาและบันทึกการเปรียบเทียบ บันทึกคําให้การของผู้ต้องหาและบันทึกการเปรียบเทียบตามวรรคหน่ึงให้ใช้ตามแบบ ปทค. ๒ ทา้ ยประกาศนไ้ี ปพลางก่อนในระหวา่ งท่ียงั ไมม่ ีการจดั ทําบันทึกคําให้การนี้ดว้ ยวิธีการทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ข้อ ๑๒ ในกรณีท่ีผู้ต้องหาเป็นนิติบุคคลถ้าผู้ต้องหาให้การรับสารภาพและยินยอม ให้เปรียบเทียบปรับ ให้เปรียบเทียบปรับกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบ ในการดําเนินงานของนิติบุคคลน้ันด้วย โดยการเปรียบเทียบให้ดําเนินการตามขั้นตอนและหลักเกณฑ์ ในประกาศน้ี แต่การบันทึกคําให้การและบันทึกการเปรียบเทียบให้ดําเนินการแยกกันระหว่างนิติบุคคล และกรรมการผ้จู ดั การ ผ้จู ัดการ หรอื บคุ คลซ่งึ รบั ผดิ ชอบในการดาํ เนนิ งานของนิติบคุ คล ข้อ ๑๓ ในกรณีที่ผู้ต้องหาให้การปฏิเสธหรือไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบปรับ ให้บันทึก คําให้การไว้ หรือกรณีท่ีคณะกรรมการเปรียบเทียบเห็นควรให้ดําเนินคดีทางศาล ให้ส่งเรื่องให้พนักงาน สอบสวนดําเนินคดีตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยให้ดําเนินการภายในเจ็ดวันทําการนับแต่วันที่ผู้ต้องหาให้การปฏิเสธหรือไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบปรับ หรือเหน็ ควรให้ดําเนนิ คดีทางศาลแล้วแต่กรณี ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 343

เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๑๕ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ้ ๑๔ ให้ผู้ต้องหาชําระค่าปรับตามจํานวนที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกําหนด ณ สถานที่ตามข้อ ๗ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีมีการเปรียบเทียบปรับ และเมื่อผู้ต้องหาได้ชําระ ค่าปรับตามที่เปรียบเทียบเรียบร้อยแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันและสิทธินําคดีอาญามาฟ้องเป็นอันระงับ ไปตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา บนั ทึกการเปรียบเทียบปรับตามวรรคหน่ึงให้ใช้ตามแบบ ปทค. ๓ ท้ายประกาศนี้ไปพลางก่อน ในระหวา่ งทีย่ งั ไม่มกี ารจดั ทาํ บันทกึ การเปรียบเทียบปรบั นีด้ ว้ ยวิธีการทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หากมีสิ่งของหรือวัตถุที่ใช้กระทําความผิด พนักงานสอบสวนอาจดําเนินการริบหรือยึดตามหลักเกณฑ์ ท่ีระบุไวใ้ นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หมวด ๓ การกําหนดค่าปรับ ข้อ ๑๕ คณะกรรมการเปรียบเทียบสามารถทําการเปรียบเทียบปรับผู้ต้องหาได้ตามท่ี เห็นสมควร โดยควรคํานึงถึงวัตถุประสงค์ในการลงโทษทางอาญาเพื่อเป็นการปราบปรามและป้องกัน การกระทาํ ความผดิ เพอ่ื เปน็ การตักเตือนหรือเพอ่ื เปน็ การชดใชค้ วามเสียหายที่เกิดขึ้น การกําหนดค่าปรับให้คํานึงถึงความหนักเบาแห่งข้อหาและพฤติการณ์แห่งการกระทําความผิด ความเสียหายท่ีได้รับหรือผลกระทบต่อสังคมและผู้ใช้บริการ ตลอดจนอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ อาชีพ ขนาดการลงทุนของการประกอบกิจการ และสิ่งแวดล้อมอ่ืน ๆ ของผูต้ ้องหา ทง้ั นี้ ให้คํานงึ ถงึ แนวบรรทัดฐานการเปรียบเทียบปรบั ท่ีผ่านมาประกอบด้วย หมวด ๔ เบ็ตเตล็ด ขอ้ ๑๖ การชําระค่าปรับตามคําส่ังเปรียบเทียบปรับของคณะกรรมการเปรียบเทียบ ตามประกาศฉบับนี้ ไม่ให้ถือเป็นการตัดสิทธิของผู้เสียหายในการเรียกค่าเสียหายหรือดําเนินคดีทางแพ่ง ตามมูลละเมิดหรือฐานความผิดอน่ื ทีเ่ กี่ยวขอ้ งแตอ่ ยา่ งใด ขอ้ ๑๗ ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการให้เป็นไปตามประกาศนี้ และใหม้ อี าํ นาจตคี วามและวนิ จิ ฉัยปัญหาอนั เกิดจากการปฏบิ ัตติ ามประกาศน้ี ประกาศ ณ วันท่ี ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พเิ ชฐ ดรุ งคเวโรจน์ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม 344 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

แบบ ปทค. ๑ ที่ ดศ ๐๒๐๒/ ………………………………………………………………. ………………………………………………………………. ………………………………………………………………. ………………………………………………………………. วันท่ี ... เดือน .................. พ.ศ. .... เรอื่ ง การเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยการกระทําความผดิ เกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ เรยี น ………………………………………………………….. ด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ตรวจพบว่าท่านได้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา .......................... ฐาน ....................................................... ซง่ึ ความผิดดังกลา่ ว เป็นความผิดท่ีสามารถเปรียบเทียบปรับได้ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงขอให้ .................................................................................. และ ................................................................. ซ่ึงเป็นกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซ่ึงรับผิดชอบในการ ดําเนินงานของนิติบุคคลน้ันไปพบพนักงานเจ้าหน้าท่ี/พนักงานสอบสวน ณ………………………………………………………………. เลขท่ี………………….......…………………………………………….……………………………………………………………….ทั้งน้ี ตั้งแต่บัดนี้ เปน็ ต้นไป จนถึงวันที่ .......................... เดือน ............................ พ.ศ. ...................................... ในวนั ราชการกอ่ น เวลา ๑๖.๓๐ น. เพื่อดําเนินการเปรียบเทียบปรับให้เป็นไปตามกฎหมาย หากไม่ไปพบภายในวันและเวลา ที่กําหนดไว้ข้างต้น พนักงานเจ้าหน้าที่จะส่งเร่ืองให้พนักงานสอบสวนดําเนินคดีตามพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทําความผดิ เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ตอ่ ไป จงึ แจ้งมาเพอ่ื ทราบและไปพบพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ภี ายในวนั เวลา และสถานทีด่ งั กล่าวด้วย ขอแสดงความนับถอื (..............................................................................) ประธานกรรมการเปรยี บเทยี บ หมายเหตุ ความผดิ กรณีนเ้ี ปน็ ความผิดครง้ั ท.่ี ..............และเมื่อได้เสยี ค่าปรบั แล้วใหถ้ ือวา่ คดเี ลิกกนั ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 345

๒ แบบ ปทค. ๒ บักทึกคําใหก้ ารของผตู้ ้องหา (กรณยี นิ ยอมให้เปรียบเทียบปรบั ) คดีที่ ....................../............................. เขียนที่ ........................................................... ........................................................................ วันท่ี ... เดือน .................. พ.ศ. .... ขา้ พเจา้ ........................................................... อายุ .......... ปี สัญชาติ ..................................................... อยู่บ้านเลขท่ี ....................... หมู่ท่ี ................. ซอย ..................................................... ถนน ............................................. ตําบล/แขวง ................................... อาํ เภอ/เขต .................................................. จังหวดั ................................................. โทรศพั ท์ .................................. โดยมี ................................................................................................................................. เปน็ ผู้ไดร้ บั มอบอาํ นาจจาก ........................................................................................................... ตามหนงั สอื มอบอํานาจ ที่ ..................................................... ลงวันท่ี ............ เดือน ................................ พ.ศ. .......................... ขอให้การ ดังน้ี ข้าพเจา้ ไดร้ ับแจ้งจากพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ว่า ............................................................................................... .............................................................................................................................................................................................. ................................ กระทําการอันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ............................................................................................................................................................. ขอ้ หากระทําความผดิ ฐาน .................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................. มีบทลงโทษตามมาตรา ............................ ต้องระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กนิ ........... ปี หรือปรบั ไม่เกิน ............................ บาท ซึ่งคณะกรรมการเปรียบเทียบพิจารณาแล้วมีมติ/คําส่ังให้ทําการเปรียบเทียบปรับได้ ข้าพเจ้าได้รับทราบข้อกล่าวหาแล้ว ขอให้การรับสารภาพว่ากระทําผิดดังกล่าวจริง และคณะกรรมการเปรียบเทียบให้ทําการเปรียบเทียบปรับเป็นจํานวนเงนิ ...................................................... บาท (............................................................................................................................) พร้อมกันน้ี ขา้ พเจ้าขอรองรบั ว่า ๑. ข้าพเจ้ายินยอมให้ผู้มีอํานาจเปรียบเทียบคดีทําการเปรียบเทียบปรับเป็นจํานวนเงิน ....................................... บาท (...............................................................) โดยจะนําเงินค่าปรับตามจํานวนดังกล่าว มาชาํ ระภายในวนั ท่ี .................. เดือน .......................... พ.ศ. ........................................... ๒. ข้าพเจ้าจะปรับปรุงแก้ไขการกระทําอันเป็นความผิดกฎหมายให้ถูกต้องแล้วเสร็จโดยเร็วภายใน กําหนด .......................... วัน เมื่อไดแ้ ก้ไขถกู ตอ้ งแลว้ เสร็จจะไดแ้ จ้งใหท้ ราบโดยเรว็ ๓. หากข้าพเจ้าไม่นําเงินตามจํานวนดังกล่าวในข้อ ๑ มาชําระภายในเวลาท่ีกําหนดหรือไม่ปฏิบัติตาม ขอ้ ๒ ใหพ้ นกั งานเจา้ หน้าท่ดี าํ เนนิ คดตี ามกฎหมายต่อไป บันทึกนี้ พนักงานเจ้าหน้าท่ี/พนักงานสอบสวน ได้อ่านให้ผู้กระทําความผิดฟังแล้วรับว่าถูกต้อง ตามความเป็นจริงทกุ ประการ โดยมไิ ด้ถูกบงั คับ ขเู่ ข็ญ แต่ประการใด จงึ ลงลายมือช่ือไว้เป็นสําคัญ ลงช่ือ ผตู้ อ้ งหา ลงชือ่ ผูบ้ ันทึก ( )( ) ลงชื่อ ผเู้ ปรยี บเทียบคดี ลงชือ่ พยาน ( )( ) หมายเหตุ ในกรณีท่ีผู้ต้องหาซึ่งต้องรับโทษตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ เป็นนิติบุคคลให้ใช้แบบน้ีโดยแยกเป็นสองฉบับ สําหรับกรณีนิติบุคคลฉบับหน่ึงและสําหรับ กรรมการผูจ้ ัดการหรอื ผู้แทนอีกฉบับหน่ึงแต่ให้ลงหมายเลขคดีเพียงเลขเดียว 346 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

๓ แบบ ปทค. ๓ บักทึกการเปรียบเทียบปรบั ท่ีทาํ การเปรียบเทยี บ คดเี ปรยี บเทียบท่ี ................../.............. ...................................................................... ...................................................................... วนั ที่ ... เดือน .................. พ.ศ. .... ระหว่าง ................................................................................................................. ผกู้ ล่าวหา ................................................................................................................... ผู้ต้องหา ขอ้ กล่าวหา............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................. พฤติกรรมแหง่ คดี ............................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................. เหตุเกิดเมอ่ื วนั ที่.......................เดอื น................................................................. พ.ศ. .......................................... ณ สถานท่ี................................................................................เลขท่ี................................ถนน............................................. ตาํ บล / แขวง ........................................... อาํ เภอ / เขต ............................................... จงั หวดั ....................................... โทรศัพท์ผตู้ อ้ งหา................................................................................................................................................... คดีนี้ผู้ต้องหารับสารภาพตลอดข้อกล่าวหาว่าได้กระทําความผิดตามพระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐มาตรา....................มีบทลงโทษตามมาตรา..................................................... ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกนิ ..............ปี หรอื ปรับไม่เกนิ .....................................บาท ซ่งึ เป็นความผดิ ทเี่ ปรียบเทียบปรับได้ และยินยอมให้ทําการเปรียบเทียบปรับผู้ต้องหาเป็นเงิน ....................บาท(........................................................) และผตู้ อ้ งหาได้ชําระเงินค่าปรบั ตามจํานวนดงั กลา่ ว เมอื่ วนั ที่.............. เดอื น..................................... พ.ศ................. แลว้ ลงชอื่ ผู้ตอ้ งหา ( ) ลงชอ่ื ผชู้ าํ ระเงิน ( ) ลงชอ่ื ผูเ้ ปรยี บเทยี บคดี ( ) ลงช่อื ผ้รู บั เงนิ ( ) สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 347

348 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

ประกาศกระทรวงดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม เรอ่ื ง แตง ต้ังคณะกรรมการกล่ันกรองขอมลู คอมพิวเตอร ตามพระราชบัญญตั วิ า ดว ยการกระทาํ ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 349

ชอ่ื กฎหมาย ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอร ตามพระราชบญั ญัตวิ าดวยการกระทําความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๔ / ตอนพเิ ศษ ๑๘๘ ง / หนา ๑๖ / วนั ท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เร่มิ บังคับใช วนั ท่ี ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ผรู กั ษาการ ปลดั กระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม 350 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๑๖ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง แตง่ ต้ังคณะกรรมการกลัน่ กรองข้อมลู คอมพิวเตอร์ ตามพระราชบัญญตั ิว่าดว้ ยการกระทาํ ความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยที่เป็นการสมควรให้มีคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์เพ่ือทําหน้าท่ีกลั่นกรอง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนท่ีเผยแพร่ ผ่านระบบคอมพวิ เตอรห์ รือระบบอื่นใด อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ ประกอบมาตรา ๒๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ประกาศแตง่ ตั้งคณะกรรมการกลน่ั กรองขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ไว้ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง แต่งต้ัง คณะกรรมการกล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐” ขอ้ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ในประกาศนี้ “พนักงานเจ้าหน้าท่ี” หมายความว่า ผู้ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังให้ปฏิบัติการตามกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาํ ความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ “คณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า คณะกรรมการกล่ันกรอง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และคณะกรรมการกล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์เฉพาะด้าน ตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผดิ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แกไ้ ขเพ่มิ เติม “รัฐมนตร”ี หมายความวา่ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม หมวด ๑ คณะกรรมการกลน่ั กรองข้อมลู คอมพิวเตอร์ ขอ้ ๔ ให้มคี ณะกรรมการกลนั่ กรองข้อมลู คอมพิวเตอรค์ ณะหน่งึ ประกอบด้วย (๑) ปลัดกระทรวงดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม เป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการ จํานวนเจ็ดคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ดา้ นละหนง่ึ คน ดังนี้ (ก) ดา้ นสิทธิมนุษยชน (ข) ด้านสอ่ื สารมวลชน สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 351

เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๘๘ ง หน้า ๑๗ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (ค) ด้านนติ ศิ าสตร์ (ง) ด้านวัฒนธรรม (จ) ดา้ นคอมพวิ เตอร์ (ฉ) ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ช) ดา้ นการพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิตามวรรคหนง่ึ (๒) ต้องมาจากภาคเอกชนไม่นอ้ ยกวา่ สามคน ให้ผู้อํานวยการกองกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นกรรมการและเลขานุการ และใหก้ องกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เปน็ หนว่ ยงานฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมการ ให้เลขานุการแตง่ ตัง้ ผู้ช่วยเลขานุการได้ตามความจําเป็น หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพ่ือเสนอรัฐมนตรีแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ รวมท้ังการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อดํารงตําแหน่ง แทนผทู้ ีพ่ ้นจากตาํ แหน่งก่อนวาระตามวรรคหน่ึง (๒) ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บท่รี ัฐมนตรปี ระกาศกําหนด ขอ้ ๕ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิต้องมีคณุ สมบตั ิและไม่มลี ักษณะตอ้ งห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) คุณสมบัติ (ก) เปน็ ผมู้ ีสญั ชาติไทยโดยการเกดิ (ข) มอี ายไุ ม่ต่ํากว่าสามสิบห้าปีบรบิ ูรณ์ แตไ่ ม่เกนิ เจด็ สบิ ปีบริบรู ณ์ (๒) ลกั ษณะตอ้ งห้าม (ก) ไม่เปน็ บคุ คลวิกลจรติ หรอื จิตฟน่ั เฟอื นไม่สมประกอบ (ข) ไมต่ ดิ ยาเสพตดิ ให้โทษ (ค) ไม่เปน็ บุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (ง) ไม่เป็นบคุ คลท่ตี อ้ งคําพิพากษาใหจ้ าํ คกุ และถูกคมุ ขังอย่โู ดยหมายของศาล (จ) ไม่เคยต้องคําพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทําความผิดใด เว้นแต่เป็นความผิด อันไดก้ ระทาํ โดยประมาท ความผิดลหโุ ทษ หรอื ความผิดฐานหม่ินประมาท (ฉ) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือจากหน่วยงานของเอกชน เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง หรือถือว่ากระทําการทุจริต และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ (ช) ไมป่ ระกอบอาชีพหรอื วิชาชพี อิสระอ่ืนใดท่ีมสี ว่ นไดเ้ สยี หรอื มีผลประโยชน์ขัดแย้งไม่ว่า โดยตรงหรือโดยออ้ มกบั การปฏิบตั หิ นา้ ทใี่ นตาํ แหนง่ กรรมการ (ซ) ไม่มีลักษณะต้องห้ามอ่นื ๆ ตามท่รี ัฐมนตรกี ําหนด ข้อ ๖ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิมวี าระการดํารงตําแหน่งสองปี กรรมการซ่ึงพ้นจากตาํ แหนง่ อาจได้รบั แต่งต้ังอกี ได้ แตไ่ ม่เกินสองวาระตดิ ตอ่ กัน 352 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๑๘ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ขอ้ ๗ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามข้อ ๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่ง เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีให้ออกเพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่อง หรือไม่สุจริตต่อหน้าท่ี หรือหยอ่ นความสามารถ (๔) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๕) ได้รับโทษจําคุกโดยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ที่ได้กระทาํ โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ข้อ ๘ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งตามข้อ ๗ ให้ถือว่าคณะกรรมการ กลั่นกรองข้อมลู คอมพวิ เตอร์ประกอบด้วยกรรมการเท่าท่ีเหลืออยู่ และให้ดําเนินการแต่งต้ังกรรมการใหม่ แทนภายในหกสบิ วันนบั แต่วนั ทีก่ รรมการพ้นจากตาํ แหนง่ ใหก้ รรมการซ่ึงไดร้ ับแต่งต้ังแทนอย่ใู นตําแหนง่ เท่ากับวาระทเี่ หลอื อย่ขู องผ้ซู ่งึ ตนแทน ขอ้ ๙ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของจํานวน กรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุมและให้นําบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการท่ีมีอํานาจดําเนินการ พิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับกับการประชุม ของคณะกรรมการกลัน่ กรองขอ้ มลู คอมพิวเตอรโ์ ดยอนโุ ลม ขอ้ ๑๐ ใหค้ ณะกรรมการกล่นั กรองขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ มีอาํ นาจหน้าที่ ดงั นี้ (๑) เสนอนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์เก่ียวกับการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์เพ่ือป้องกัน และปราบปรามการแพร่หลายซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชนต่อรฐั มนตรี (๒) จัดให้มีสารบบติดตามผลของคําส่ังและผลการพิจารณาของศาลเพ่ือเป็นแนวทางในการ ปรับปรุงแก้ไขลักษณะของข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีอาจมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี ของประชาชน (๓) แต่งตั้งคณะทํางานเพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการในการกล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนท่ีเผยแพร่ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรอื ระบบอน่ื ใด (๔) กําหนดแนวทางและลักษณะข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีอาจมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (๕) ตรวจสอบ ติดตาม และกลัน่ กรองข้อมลู คอมพิวเตอร์ท่ีมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชนท่เี ผยแพรผ่ า่ นระบบคอมพวิ เตอร์หรอื ระบบอ่นื ใด สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 353

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๑๙ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๖) รวบรวมพยานหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นถึงการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีมีลักษณะขัดต่อ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนทเ่ี ผยแพร่ผ่านระบบคอมพิวเตอรห์ รือระบบอนื่ ใด (๗) มอบหมายและประสานงานกับพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ือยื่นคําร้องพร้อมพยานหลักฐาน ต่อศาลท่ีมีเขตอํานาจเพ่ือขอให้มีคําส่ังระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์มีลักษณะ ขัดต่อความสงบเรียบรอ้ ยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชนออกจากระบบคอมพวิ เตอร์ (๘) มอบหมายให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีดําเนินการใด ๆ อันจําเป็นเพื่อระงับการทําให้แพร่หลาย หรอื ลบขอ้ มูลคอมพิวเตอรท์ ี่มีลกั ษณะขดั ตอ่ ความสงบเรียบรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน (๙) ปฏิบัติการอ่ืนตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการ หรือตามท่ี รัฐมนตรมี อบหมาย หมวด ๒ คณะกรรมการกล่ันกรองข้อมลู คอมพวิ เตอรเ์ ฉพาะด้าน ขอ้ ๑๑ รัฐมนตรีอาจแต่งต้ังคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์เฉพาะด้านขึ้นคณะหน่ึง หรอื หลายคณะ โดยแตล่ ะคณะประกอบด้วย (๑) ผูท้ ี่ปลัดกระทรวงดจิ ทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการ จํานวนเจ็ดคน ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ด้านละหน่งึ คน ดงั นี้ (ก) ดา้ นสิทธมิ นษุ ยชน (ข) ด้านสื่อสารมวลชน (ค) ดา้ นนิตศิ าสตร์ (ง) ดา้ นวฒั นธรรม (จ) ดา้ นคอมพวิ เตอร์ หรือดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ฉ) ด้านการพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (ช) ดา้ นอืน่ ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิตามวรรคหน่ึง (๒) ตอ้ งมาจากภาคเอกชนไม่น้อยกวา่ สามคน ให้ผู้อํานวยการกองกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และให้กองกฎหมาย สํานกั งานปลดั กระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นหน่วยงานฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมการ ให้เลขานุการแต่งตัง้ ผู้ช่วยเลขานกุ ารได้ตามความจําเป็น ให้นําหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพ่ือเสนอรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการกลน่ั กรองขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ือดํารงตําแหน่ง แทนผู้ท่ีพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระตามวรรคหน่ึง (๒) ตามระเบียบที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด มาใช้กับ การสรรหาบุคคลเพื่อเสนอและแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ เฉพาะด้านโดยอนุโลม 354 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๒๐ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ให้นําความในข้อ ๕ ข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ และข้อ ๙ มาใช้บังคับกับคณะกรรมการกล่ันกรอง ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์เฉพาะดา้ น โดยอนุโลม ข้อ ๑๒ ให้คณะกรรมการกล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์เฉพาะด้าน มีอํานาจหน้าท่ี ตามข้อ ๑๐ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) หมวด ๓ หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการพจิ ารณาของคณะกรรมการ ขอ้ ๑๓ เม่ือมีเหตุอันควรสงสัยหรือได้รับการร้องเรียนว่ามีการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ท่ีมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเผยแพร่ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือระบบอ่ืนใด ให้คณะกรรมการกล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์พิจารณาและตรวจสอบข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ัน เพื่อให้ได้ข้อยุติว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน หรือไม่ อย่างไร และสมควรให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐาน ต่อศาลทม่ี เี ขตอํานาจขอใหม้ คี าํ สง่ั ระงับการทาํ ให้แพรห่ ลายหรอื ลบซ่งึ ข้อมูลคอมพวิ เตอรน์ ั้นออกจากระบบ คอมพวิ เตอร์ หรือไม่ ในการพิจารณาและตรวจสอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่งให้คณะกรรมการดําเนินการ ให้เป็นไปตามแนวทางและลักษณะข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีอาจมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนตามที่กําหนดไว้ในข้อ ๑๐ (๔) โดยให้ยึดถือตามแนวคําพิพากษาของ ศาลฎีกาประกอบบริบทของสังคมไทยเป็นสําคัญ ให้คณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์พิจารณาเรื่องร้องเรียนให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า แตต่ อ้ งไมเ่ กนิ เก้าสิบวนั นบั แตว่ ันท่ไี ด้รบั เรื่องร้องเรยี น หมวด ๔ เบต็ เตลด็ ขอ้ ๑๔ ให้คณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์และคณะกรรมการกลั่นกรอง ข้อมูลคอมพิวเตอร์เฉพาะด้านได้รับค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ท่ีรัฐมนตรีกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบ จากกระทรวงการคลัง ข้อ ๑๕ ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการให้เป็นไปตามประกาศนี้ และให้มอี าํ นาจตีความและวนิ จิ ฉัยปัญหาอันเกดิ จากการปฏบิ ัตติ ามประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พเิ ชฐ ดรุ งคเวโรจน์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 355

356 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

ประกาศกระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม เรื่อง ขั้นตอนการแจงเตอื น การระงบั การทําใหแพรห ลาย ของขอ มลู คอมพวิ เตอรและการนําขอมูลคอมพิวเตอรออกจาก ระบบคอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๖๐ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 357

ชือ่ กฎหมาย ประกาศกระทรวงดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เรือ่ ง ขนั้ ตอนการแจงเตือน การระงับการทาํ ใหแพรหลาย ของขอ มลู คอมพวิ เตอรและการนาํ ขอมูลคอมพวิ เตอรออกจากระบบคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๔ / ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง / หนา ๖ / วันท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เร่ิมบังคับใช วนั ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ผรู กั ษาการ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม 358 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หน้า ๖ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม เรอ่ื ง ขัน้ ตอนการแจ้งเตือน การระงบั การทําใหแ้ พร่หลายของข้อมูลคอมพวิ เตอร์ และการนําข้อมูลคอมพวิ เตอรอ์ อกจากระบบคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยท่ีเป็นการสมควรกําหนดข้ันตอนการแจ้งเตือน การระงับการทําให้แพร่หลายของ ข้อมลู คอมพวิ เตอรแ์ ละการนาํ ข้อมูลคอมพิวเตอรอ์ อกจากระบบคอมพวิ เตอร์ของผ้ใู หบ้ รกิ าร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ ประกอบมาตรา ๑๕ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เร่ือง ขั้นตอน การแจ้งเตือน การระงบั การทําใหแ้ พรห่ ลายของข้อมูลคอมพวิ เตอร์และการนาํ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ออกจาก ระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๐” ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ ห้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป ขอ้ ๓ ในประกาศน้ี “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมการทํางาน เข้าด้วยกัน โดยได้มีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์ หรือชุดอปุ กรณท์ าํ หนา้ ทีป่ ระมวลผลขอ้ มลู โดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คําส่ัง ชุดคําสั่ง หรือส่ิงอื่นใดบรรดา ท่ีอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพท่ีระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึง ข้อมลู อเิ ล็กทรอนกิ ส์ตามกฎหมายว่าด้วยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ สด์ ว้ ย “ข้อความ” หมายความว่า เร่ืองราวหรือข้อเท็จจริง ไม่ว่าจะปรากฎในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข เสยี ง ภาพ หรอื รูปแบบอื่นใดท่สี ่ือความหมายได้โดยสภาพของส่ิงนั้นเองหรอื โดยผ่านวธิ กี ารใด ๆ “ผใู้ ห้บริการ” หมายความวา่ (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอ่ืนในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกัน โดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งน้ี ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือเพ่ือประโยชน์ ของบุคคลอน่ื (๒) ผใู้ ห้บรกิ ารเกบ็ รักษาขอ้ มลู คอมพวิ เตอรเ์ พอื่ ประโยชน์ของบุคคลอื่น “ผู้ใชบ้ ริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผใู้ ห้บริการไม่วา่ ต้องเสียคา่ ใช้บรกิ ารหรอื ไม่ก็ตาม สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 359

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หน้า ๗ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ขอ้ ๔ หากผู้ให้บริการดังต่อไปน้ีพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศ ดังต่อไปน้ี ผู้ให้บริการผู้น้ัน ไม่ต้องรับโทษฐานให้ความร่วมมือ ให้ความยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจ อันเป็นการ กระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๑๕ (๑) ผู้ให้บริการในฐานะสื่อกลาง (Intermediary) ซึ่งให้บริการรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผ่านเครือข่ายหรือระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการหรือบริการอํานวยความสะดวกในการส่งผ่าน ข้อมูลคอมพิวเตอร์ผ่านเส้นทางจราจรทางคอมพิวเตอร์บนอินเตอร์เน็ต (routing) หรือจัดให้บริการคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพ่ือทําให้เกิดการรับส่งผ่านข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Transitory Communication - mere conduit) ทม่ี ีลักษณะดังตอ่ ไปนี้ ซงึ่ ได้ดาํ เนินการตามขอ้ ๕ (ก) เป็นผู้ให้บริการท่ีส่งผ่านข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามปกติธุระโดยการดําเนินการหรือ ควบคุมการรับส่ง กระทําโดยผใู้ ช้บรกิ ารหรอื บคุ คลภายนอกทไ่ี มใ่ ช่ผู้ใหบ้ ริการ (ข) เป็นผู้ให้บริการท่ีรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือให้บริการอํานวยความสะดวกในการ ส่งผา่ นข้อมูลคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตผ่านเส้นทางจราจรทางคอมพิวเตอร์บนอินเตอร์เน็ต หรือการให้บริการเช่ือมต่อระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ด้วยกันเพื่อเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้ (Hosting) ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวข้างต้นท้ังหมดเกิดจากการประมวลผลโดยอัตโนมัติด้วยมาตรการทางเทคนิค ของระบบคอมพวิ เตอร์ (Automatic technical process) ซ่งึ ผใู้ ช้บริการหรือบคุ คลอื่นเป็นผู้ส่ังการโดย ผู้ให้บริการไม่ได้เป็นผู้กําหนดหรือคัดเลือกข้อมูลหรือเนื้อหาของข้อมูลเพื่อทําการรับส่งหรือประมวลผล ขอ้ มลู ดงั กลา่ ว (ค) เป็นผู้ให้บริการท่ีรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่ได้เลือกข้อมูลหรือเน้ือหาของข้อมูล ที่ส่งผ่านระบบคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง เป็นเพียงการให้บริการท่ีดําเนินการผ่านระบบตอบรับคําสั่งอัตโนมัติ โดยทางคอมพวิ เตอรเ์ ท่านั้น (ง) เป็นผู้ให้บริการท่ีรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้ทําการเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือเน้ือหาของข้อมูลดังกล่าวไว้ เน่ืองจากเป็นเพียงสื่อกลางในการรับส่งข้อมูลเฉพาะคราวหรือเก็บ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ไว้เพียงชั่วคราว (Transient storage) เท่าท่ีจําเป็นเพื่อให้การรับส่งข้อมูลสามารถ กระทําได้เท่าน้ัน โดยผู้ให้บริการไม่ได้การทําสําเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือเน้ือหาของข้อมูลเก็บไว้ใน ระบบคอมพวิ เตอร์ หรือเครือข่ายของผู้ให้บริการของตนในลักษณะที่บุคคลท่ัวไปอาจเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้ ในภายหลัง (จ) เป็นการให้บริการรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ผ่านระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลหรอื เนอื้ หาของขอ้ มลู นั้น (๒) ผู้ให้บริการที่เก็บหรือพักข้อมูลคอมพิวเตอร์ชั่วคราว (system caching) ในระบบ คอมพวิ เตอร์ที่มีลักษณะดังตอ่ ไปน้ี ซึง่ ได้ดาํ เนินการตามขอ้ ๕ (ก) เป็นการให้บริการรับ - ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ระบบคอมพิวเตอร์ดูแลควบคุม การส่งผ่านเนอ้ื หาขอ้ มลู ท้งั หมดโดยผใู้ ช้บริการหรอื บุคคลภายนอกซ่งึ ไม่เกย่ี วข้องกับผู้ให้บริการ 360 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๘ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (ข) เป็นการให้บริการส่งผ่านข้อมูลคอมพิวเตอร์ระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยกัน เพื่อให้สามารถเก็บพกั ข้อมลู ได้ (ค) เป็นการจัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ให้บริการไม่เก่ียวข้อง และไม่ไดค้ วบคมุ การจดั เกบ็ ข้อมลู คอมพิวเตอรด์ งั กล่าว ในการให้บริการจัดเก็บและพักข้อมูลคอมพิวเตอร์แบบชั่วคราวนั้น ผู้ให้บริการ ต้องดาํ เนินการ ดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) ไม่มกี ารแก้ไขเปล่ยี นแปลงข้อมูลคอมพิวเตอรห์ รอื เนอื้ หาของขอ้ มูล (ข) ไมส่ ามารถเข้าถึงเพอ่ื แกไ้ ขเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์หรอื เนอ้ื หาของขอ้ มลู ได้ (๓) ผู้ให้บริการซึ่งเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์ของ ผ้ใู ช้บริการซ่ึงผใู้ ช้บริการดําเนินการบริหารจัดการข้อมูลคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง (Information Residing on systems or network at direction of users) ทมี่ ีลักษณะดังตอ่ ไปนี้ ซ่งึ ได้ดําเนินการตามขอ้ ๕ (ก) เป็นการให้บริการท่ีผู้ให้บริการไม่มีเจตนาและเก่ียวข้องรวมถึงไม่ทราบถึงการกระทําใด ๆ ท่ีผดิ กฎหมายของผู้ใชบ้ รกิ ารหรอื บุคคลภายนอก (ข) ผู้ให้บริการไม่ได้รับค่าตอบแทนหรือประโยชน์ใด ๆ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม จากการกระทาํ ผดิ กฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยการกระทําความผดิ เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ (ค) ทันทีที่ผู้ให้บริการได้รับการแจ้งถึงการเผยแพร่ข้อมูลท่ีผิดกฎหมายตามมาตรา ๑๔ ผู้ให้บริการต้องรีบดําเนินการระงับการแพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีผิดกฎหมายออกจากระบบ คอมพวิ เตอรท์ ่ตี นเองดแู ลควบคุมหรอื เปน็ เจ้าของตามท่รี ะบไุ ว้ในข้อ ๕ ของประกาศฉบบั นี้โดยทันที (๔) ผ้ใู หบ้ ริการทางเทคนิคเพ่ือเปน็ ที่ตัง้ หรือทพ่ี ักของแหลง่ ข้อมลู (Information Location Tools) ทีม่ ลี กั ษณะดังตอ่ ไปน้ี ซงึ่ ไดด้ าํ เนนิ การตามขอ้ ๕ (ก) ผู้ให้บริการต้องไม่มีการเช่ือมต่อ (Linking) ไปยังข้อมูลที่ผิดกฎหมายแก่บุคคลภายนอก ด้วยตนเอง (ข) ผู้ให้บริการไม่มีเจตนาและเก่ียวข้องรวมถึงไม่ทราบถึงการกระทําใด ๆ ท่ีผิดกฎหมาย ของผใู้ ชบ้ ริการหรือบคุ คลภายนอก (ค) ผู้ให้บริการไม่ได้รับค่าตอบแทนหรือประโยชน์ใด ๆ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม จากการกระทําผดิ กฎหมายตามกฎหมายว่าดว้ ยการกระทําความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ (ง) ทันทีที่ผู้ให้บริการได้รับการแจ้งถึงการเผยแพร่ข้อมูลท่ีผิดกฎหมายตามมาตรา ๑๔ ผู้ให้บริการต้องรีบดําเนินการระงับการแพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีผิดกฎหมายออกจากระบบ คอมพิวเตอร์ท่ตี นเองดแู ลควบคมุ หรอื เปน็ เจา้ ของตามท่รี ะบุไว้ในขอ้ ๕ ของประกาศฉบบั น้ีโดยทันที (๕) ผู้ให้บริการที่ไม่ได้ระบุไว้ใน (๑) (๒) (๓) และ (๔) ซ่ึงให้บริการแก่บุคคลอ่ืนในการ เข้าสู่อินเตอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันได้โดยประการอื่นโดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ท้ังน้ี ไมว่ ่าจะเปน็ การใหบ้ ริการในนามของตนเองหรือในนามหรอื เพ่ือประโยชนข์ องบคุ คลอนื่ ซงึ่ ไดป้ ฏบิ ัติตามข้อ ๕ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 361

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๙ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ขอ้ ๕ ผใู้ หบ้ รกิ ารตามข้อ ๔ ทีพ่ ิสูจน์วา่ ตนไดจ้ ดั เตรยี มมาตรการดังต่อไปน้ี เพ่ือแจ้งเตือน และระงับการเผยแพรห่ รอื นําขอ้ มลู คอมพิวเตอรน์ น้ั ออกจากระบบคอมพวิ เตอร์ไม่ต้องรบั โทษตามมาตรา ๑๕ (๑) ขน้ั ตอนการแจง้ เตอื น ผู้ให้บริการจะต้องจัดให้มีมาตรการแจ้งเตือนโดยจัดทําหนังสือแจ้งเตือน (Take Down Notice) เป็นลายลักษณ์อักษรโดยดําเนินการในทางเทคนิคหรือวิธีการใด ๆ เพื่อแจ้งเตือนเพ่ือให้ผู้ให้บริการระงับ การแพรห่ ลายหรอื ลบขอ้ มลู คอมพิวเตอรท์ ีผ่ ดิ กฎหมายออกจากระบบคอมพวิ เตอร์ท่อี ยใู่ นความควบคุมดูแล ของตน โดยหนงั สือแจง้ เตอื นดงั กลา่ วของผใู้ ห้บรกิ ารต้องระบขุ ้อมูลดังต่อไปน้ี ใหบ้ ุคคลท่วั ไปทราบ (ก) ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ให้บริการ หรอื ตวั แทนของผใู้ หบ้ ริการ (ข) แบบฟอรม์ ขอ้ รอ้ งเรยี น (Complaint Form) เพ่ือให้ผู้ใช้บริการหรือบุคคลภายนอก แจ้งผู้ให้บริการเพื่อระงับหรือลบการแพร่หลายของข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย โดยแบบฟอร์ม ดังกลา่ วอยา่ งน้อยตอ้ งมีรายละเอยี ด ดงั ต่อไปนี้ ๑) รายละเอียด ชื่อนามสกุล ที่อยู่ ของผู้ร้องเรียนรวมถึงลายมือช่ือของผู้ร้องเรียน หรือตัวแทนผู้รบั มอบอํานาจของผรู้ อ้ งเรียนว่ามกี ารกระทําความผดิ ตามมาตรา ๑๔ ๒) รายละเอยี ดข้อมลู ของการกระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๑๔ ๓) รายละเอียด ที่อยู่ที่ติดต่อได้ของผู้ให้บริการ อาทิ ชื่อของผู้ให้บริการ ท่ีอยู่ของผู้ให้บริการ เบอร์โทรศัพท์เบอร์โทรสารของผู้ให้บริการ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ให้บริการ หรอื วิธีการหรอื ช่องทางใด ๆ ทีส่ ามารถติดตอ่ ผูใ้ หบ้ ริการได้ ๔) รายละเอียดความเสยี หายทเี่ กดิ ข้นึ กับผู้ใชบ้ รกิ ารหรอื บุคคลภายนอก ๕) คํารบั รองวา่ ข้อความที่แจง้ ดงั กลา่ วเปน็ ความจริง (๒) การแจ้งเตอื นของผ้ใู ชบ้ ริการ ในกรณีท่ีผู้ใช้บริการตรวจพบว่า ผู้ให้บริการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย ตามมาตรา ๑๔ ผู้ใชบ้ รกิ ารอาจแจ้งเตือนผู้ให้บริการเพ่ือขอให้ระงับการแพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทผ่ี ดิ กฎหมายดว้ ยวิธกี าร ดังตอ่ ไปนี้ (ก) ลงบันทึกประจําวัน หรือแจ้งความร้องทุกข์เพื่อเป็นหลักฐานต่อพนักงานสอบสวน หรือเจ้าหน้าท่ีตํารวจ โดยแจ้งรายละเอียดท่ีเกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย ตามมาตรา ๑๔ รายละเอียดของผู้ให้บริการ รายละเอียดความเสียหายท่ีเกิดข้ึนกับผู้ใช้บริการ หรือบุคคลภายนอก เป็นต้น พร้อมยื่นเอกสารหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นถึงการกระทําความผิดดังกล่าว และเอกสารหลักฐานอ่นื ทเี่ กี่ยวข้องแกพ่ นกั งานสอบสวนหรือเจ้าหน้าทต่ี ํารวจ (ข) แจ้งรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีผิดกฎหมาย ตามมาตรา ๑๔ ต่อผูใ้ หบ้ ริการ โดยการกรอกรายละเอียดในแบบฟอร์มตาม (๑) (ข) พร้อมยื่นเอกสาร หลักฐานตาม (๒) (ก) รวมทั้งเอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการกระทําความผิดหรือหลักฐานอื่น ทเี่ กีย่ วข้องแก่ผู้ใหบ้ รกิ าร (๓) วธิ กี ารระงับหรือนาํ ข้อมลู คอมพวิ เตอรอ์ อกจากระบบคอมพิวเตอร์ 362 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๘๘ ง หนา้ ๑๐ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา เม่ือผู้ให้บริการได้รับข้อร้องเรียนตามแบบฟอร์มในข้อ ๕ (๑) (ข) และเอกสารหลักฐาน ท่ีเกี่ยวข้อง ผู้ให้บริการตอ้ งดําเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) ดําเนินการลบหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์เพ่ือไม่ให้แพร่หลายต่อไป โดยทนั ที (ข) จัดทําสําเนาข้อร้องเรียนรวมถึงรายละเอียดข้อร้องเรียนของบุคคลท่ีร้องเรียน สง่ ใหก้ บั ผใู้ ชบ้ รกิ ารหรือสมาชกิ หรือบุคคลที่เก่ียวข้องซ่ึงอยใู่ นความควบคมุ ดูแลของผู้ใหบ้ รกิ ารโดยทันที (ค) ระงับซ่ึงการแพร่หลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวโดยรวดเร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะทําได้ตาม ความเหมาะสมและขึ้นอยู่กับสภาพของการให้บริการแต่ละประเภท แต่ต้องไม่เกินกําหนดระยะเวลา ท่รี ะบดุ งั ต่อไปนี้ เพื่อเยียวยาความเสียหายและระงบั การกระทาํ ความผิดให้เร็วท่สี ดุ ๑) กรณีการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๔ (๑) ให้ระงับการแพร่หลาย ข้อมูลโดยเร็วท่ีสุดเท่าที่จะกระทําได้ ทั้งนี้ หากมีเหตุล่าช้าก็ต้องดําเนินการภายใน ๗ วันนับแต่วันท่ี ได้รับข้อร้องเรียน ๒) กรณีการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๔ (๒) และ (๓) ให้ระงับ การแพร่หลายข้อมูลโดยเร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะกระทําได้ ท้ังนี้ หากมีเหตุล่าช้าก็ต้องดําเนินการภายใน ๒๔ ช่ัวโมง นับแต่วันที่ไดร้ บั ขอ้ ร้องเรยี น ๓) กรณีการเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๔ (๔) ให้ระงับ การแพร่หลายข้อมูลโดยเร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะกระทําได้ ทั้งน้ี หากมีเหตุล่าช้าก็ต้องดําเนินการภายใน ๓ วัน นับแต่วันทไี่ ดร้ ับขอ้ รอ้ งเรยี น (๔) การโต้แยง้ เจ้าของข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีถูกระงับการทําให้แพร่หลาย อาจโต้แย้งการระงับดังกล่าว ไปยังผูใ้ หบ้ รกิ ารเพอ่ื ขอใหย้ กเลิกการระงับการทําใหแ้ พร่หลายข้อมลู คอมพิวเตอรน์ นั้ ดว้ ยวิธกี าร ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ลงบันทึกประจําวัน หรือแจ้งความร้องทุกข์เพ่ือเป็นหลักฐานต่อพนักงานสอบสวน หรือเจ้าหน้าท่ีตํารวจ โดยแจ้งรายละเอียดท่ีเก่ียวข้องกับข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ถูกระงับการเผยแพร่ ตามมาตรา ๑๔ รายละเอียดของผู้ให้บรกิ าร รายละเอียดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตนเอง พร้อมยื่น เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นเจ้าของและความชอบด้วยกฎหมายของข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ัน พร้อมดว้ ยเอกสารหลกั ฐานอนื่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งแกพ่ นักงานสอบสวนหรอื เจ้าหนา้ ทต่ี ํารวจ (ข) แจ้งรายละเอียดที่เก่ียวข้องกับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของตนท่ีถูกระงับการเผยแพร่ ตามมาตรา ๑๔ ต่อผู้ให้บริการ พร้อมย่ืนเอกสารหลักฐานตาม (๔) (ก) รวมท้ังเอกสารหลักฐานอ่ืน ท่ีเก่ียวขอ้ งแกผ่ ใู้ หบ้ ริการ (ค) เมื่อผู้ให้บริการได้รับการโต้แย้งตาม (ข) แล้ว ให้ผู้ให้บริการดําเนินการยกเลิก การระงับการทําให้แพร่หลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามท่ีได้รับแจ้ง ท้ังนี้ ตามความเหมาะสมและข้ึนอยู่กับ สภาพของการใหบ้ รกิ ารแตล่ ะประเภท ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 363

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๘๘ ง หน้า ๑๑ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ้ ๖ ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการให้เป็นไปตามประกาศน้ี และใหม้ อี ํานาจตีความและวนิ จิ ฉัยปญั หาอนั เกิดจากการปฏบิ ตั ติ ามประกาศนี้ ในการตีความและการวินิจฉัยปัญหา ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมอาจต้ัง คณะทาํ งานซง่ึ ประกอบดว้ ยผ้แู ทนของภาครัฐและภาคเอกชนที่เก่ยี วข้อง เพื่อร่วมพิจารณาและดําเนินการ ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันท่ี ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พิเชฐ ดรุ งคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม 364 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 365

366 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

ระเบียบ วา ดว ยการจบั ควบคมุ คน การทำสำนวนสอบสวนและดำเนนิ คดีกบั ผูกระทำความผิดตามพระราชบญั ญัติวาดว ยการกระทำความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 367

ชอื่ กฎหมาย ระเบียบ วาดวยการจับ ควบคุม คน การทำสำนวนสอบสวนและดำเนินคดีกับผูกระทำความผิด ตามพระราชบัญญัตวิ า ดว ยการกระทำความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๔ / ตอนพิเศษ ๑๙๒ ง / หนา ๒ / วนั ที่ ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๕๐ เรม่ิ บังคบั ใช วนั ที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๐ 368 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เลม ๑๒๔ ตอนพเิ ศษ ๑๙๒ ง หนา ๒ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ราชกจิ จานุเบกษา ระเบียบ วา ดว ยการจบั ควบคมุ คน การทาํ สํานวนสอบสวนและดําเนนิ คดกี ับผกู ระทาํ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั วิ าดว ยการกระทําความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ อาศัยอํานาจตามมาตรา ๒๙ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร ออกระเบยี บไว ดงั ตอไปนี้ ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบียบ วาดวยการจับ ควบคุม คน การทําสํานวนสอบสวน และดาํ เนนิ คดกี บั ผกู ระทําความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐” ขอ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใ ชบังคับตงั้ แตวนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป ขอ ๓ ในระเบยี บน้ี “พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความถึง ผูซ่ึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สารแตงต้ังใหปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั วิ า ดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ “พนักงานสอบสวน” หมายความถึง เจาพนักงานซ่ึงกฎหมายใหมีอํานาจและหนาที่ทําการ สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา “การปฏิบัติหนาท่ีรวมกัน” หมายความวา การท่ีพนักงานเจาหนาท่ีและหรือพนักงาน สอบสวนไดใหความเหน็ หรือคําแนะนํา และหรือตรวจสอบพยานหลักฐานต้ังแตชั้นเร่ิมการสอบสวน ในคดโี ดยใหเ รม่ิ ดาํ เนนิ การนับแตโ อกาสแรกเทาทจี่ ะพึงกระทําได “การสอบสวนรวมกัน” หมายความวา การสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาและพระราชบัญญตั ิวา ดว ยการกระทําความผิดเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ ๔ ใหพ นกั งานเจา หนาท่หี รือพนกั งานสอบสวนเปนผรู ับคาํ รอ งทกุ ข หรือคาํ กลา วโทษ ในกรณีท่ีมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น หรืออาง หรือเช่ือวาไดเกิดขึ้นภายในเขตอํานาจของตน ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 369

เลม ๑๒๔ ตอนพเิ ศษ ๑๙๒ ง หนา ๓ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ราชกิจจานเุ บกษา หรือผูตองหามีที่อยู หรือถูกจับภายในเขตอํานาจของตน และเปนความผิดท่ีบัญญัติไวในหมวด ๑ แหง พระราชบญั ญตั วิ าดว ยการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ ๕ ในกรณีที่พนักงานสอบสวนไดรับคํารองทุกข หรือคํากลาวโทษตามขอ ๔ แลว ใหพ นกั งานสอบสวนประสานงานกับพนักงานเจาหนาท่ีเพื่อประโยชนในการแสวงหาพยานหลักฐาน ประกอบการกระทาํ ความผิด ขอ ๖ ในการจับ ควบคุม และคน เม่ือพนักงานเจาหนาที่ประสานมายังพนักงาน สอบสวนผูรบั ผิดชอบแลว ใหพ นักงานสอบสวนผรู บั ผดิ ชอบดําเนนิ การตามอาํ นาจหนา ทตี่ อไป ขอ ๗ ใหพ นกั งานเจาหนาทีผ่ รู ับผดิ ชอบดาํ เนินการแสวงหาพยานหลักฐานที่เกี่ยวของกับ การกระทาํ ความผิดตามทีบ่ ัญญตั ไิ วใ นหมวด ๑ แหง พระราชบัญญัตวิ าดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับ คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยใหมกี ารปฏิบัตหิ นา ท่ีรวมกัน และการสอบสวนรวมกัน และมีหนาท่ี สงมอบพยานหลกั ฐานทีร่ วบรวมไดท้ังหมดใหกับพนักงานสอบสวนผรู ับผดิ ชอบ จนกวาการสอบสวน ในคดนี ้ันจะเสร็จส้ิน ขอ ๘ เม่อื พนกั งานสอบสวนผูรับผดิ ชอบในการสอบสวน เหน็ วา การสอบสวนเสร็จส้ินแลว ใหพนกั งานสอบสวนเปนผทู าํ ความเหน็ ในรายงานความเห็นทางคดี และลงลายมือช่ือ และสงสํานวน การสอบสวนไปยังพนกั งานอัยการในทองทที่ มี่ เี ขตอาํ นาจ เพอื่ พจิ ารณาส่งั การตอไป ขอ ๙ บรรดาการใดทพ่ี นักงานเจา หนา ทแี่ ละหรือพนักงานสอบสวน ไดดําเนินการไปแลว ตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ กอนระเบียบน้ี มผี ลใชบ ังคับใหใ ชระเบยี บนบี้ งั คบั ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ พลเอก สรุ ยุทธ จลุ านนท โฆสติ ปนเปย มรัษฎ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รักษาราชการแทน รัฐมนตรวี าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 370 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 371

372 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

ระเบยี บกระทรวงดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม วา ดวยหลักเกณฑและวธิ กี ารสรรหากรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ ในคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๖๑ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 373

ช่ือกฎหมาย ระเบียบกระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม วา ดวยหลักเกณฑและวธิ ีการสรรหากรรมการผูทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๕ / ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง / หนา ๔ / วันท่ี ๒๖ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๑ เร่มิ บังคับใช วนั ที่ ๒๗ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๑ 374 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๔๒ ง หน้า ๔ ๒๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ราชกิจจานุเบกษา ระเบยี บกระทรวงดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม วา่ ด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารสรรหากรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ ในคณะกรรมการกล่ันกรองขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยท่ีเป็นการสมควรกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อเสนอรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและการสรรหากรรมการ ผูท้ รงคุณวฒุ เิ พอ่ื ดํารงตาํ แหน่งแทนผู้ทีพ่ ้นจากตําแหนง่ ก่อนวาระในคณะกรรมการกลั่นกรองขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ มาตรา ๒๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบข้อ ๔ วรรคท้าย แห่งประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรอง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม กาํ หนดระเบยี บไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหากรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิในคณะกรรมการกล่นั กรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๑” ข้อ ๒ ระเบยี บน้ีใหใ้ ช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ในระเบยี บน้ี “กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ” หมายความว่า กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกล่ันกรอง ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ “คณะกรรมการสรรหา” หมายความว่า คณะกรรมการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการกลนั่ กรองขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ “กรรมการสรรหา” หมายความว่า กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการกลน่ั กรองข้อมูลคอมพวิ เตอร์ ขอ้ ๔ ในกรณีที่มีเหตุให้ต้องสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิให้ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแต่งต้ังคณะกรรมการสรรหาคณะหน่ึงประกอบด้วยประธานกรรมการสรรหา และกรรมการสรรหาอีกจํานวนไม่น้อยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน จากบุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ด้านนิติศาสตร์ ด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร โทรคมนาคมหรือดาวเทียม หรือด้านอ่ืนที่เก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ ต่อการดาํ เนินงานของคณะกรรมการกล่ันกรองขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 375

เลม่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๔๒ ง หน้า ๕ ๒๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ราชกจิ จานุเบกษา ให้ผู้อํานวยการกองกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเป็น กรรมการสรรหาและเลขานุการ และให้แตง่ ตง้ั ผูช้ ว่ ยเลขานุการไดต้ ามความจาํ เปน็ ข้อ ๕ ประธานกรรมการสรรหาและกรรมการสรรหาต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) คณุ สมบตั ิ (ก) มสี ัญชาตไิ ทย (ข) มีอายุไม่ตาํ่ กว่าสีส่ ิบปบี ริบรู ณ์ (๒) ลักษณะต้องห้าม (ก) เป็นบคุ คลล้มละลายหรอื เคยเป็นบุคคลล้มละลายทจุ รติ (ข) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไร้ความสามารถ (ค) เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ทไี่ ด้กระทาํ โดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ (ง) เป็นผู้ถูกสั่งพักราชการหรือส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนหรือพักงาน เลิกจ้าง ไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการหรือออกจากงาน ในหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชน เพราะทจุ รติ ตอ่ หน้าทหี่ รอื ประพฤติชั่วอย่างรา้ ยแรง (จ) เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถ่ิน หรือผู้บริหารท้องถ่ิน กรรมการ หรอื ผ้ดู ํารงตําแหน่งซง่ึ รบั ผดิ ชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าท่ีของ พรรคการเมอื ง ข้อ ๖ ให้คณะกรรมการสรรหามีอํานาจหน้าท่ีในการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ให้คณะกรรมการสรรหากําหนดด้านท่ีประสงค์จะให้มีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้ ให้ประกอบด้วย ด้านสิทธิมนุษยชน ด้านส่ือสารมวลชน ด้านนิติศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือด้านอื่นท่ีเก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ ต่อการดําเนินงานของคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ พร้อมท้ังจํานวนกรรมการแต่ละด้าน ที่จะเสนอให้มกี ารแตง่ ตงั้ (๒) ให้กรรมการสรรหาเสนอชื่อบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และความสามารถเป็นที่ประจักษ์ ด้านสิทธิมนุษยชน ด้านสื่อสารมวลชน ด้านนิติศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือด้านอื่นท่ีเก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ ต่อการดาํ เนินงานของคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมลู คอมพิวเตอร์ และมคี ณุ สมบัติและไมม่ ีลักษณะตอ้ งห้าม (๓) ห้ามมใิ หเ้ สนอรายชอ่ื กรรมการสรรหาเปน็ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ (๔) ก่อนการพิจารณาคัดเลือก ให้เลขานุการรวบรวมรายชื่อ ตรวจสอบคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม พรอ้ มทัง้ ประวตั ิและผลงานของผ้ไู ดร้ บั การเสนอชื่อ และเสนอให้คณะกรรมการสรรหาพิจารณา 376 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง หนา้ ๖ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ราชกจิ จานุเบกษา (๕) ให้คณะกรรมการสรรหาดําเนินการคัดเลือกบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อ ให้เหลือจํานวน สองเทา่ ของจํานวนกรรมการทจ่ี ะมใี นแตล่ ะด้านตาม (๑) และสรปุ ผลการคดั เลอื ก พร้อมทั้งประวัติและ ผลงานของผทู้ ีไ่ ด้รับการสรรหา เสนอต่อปลัดกระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม (๖) ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมนํารายช่ือเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมพิจารณาคัดเลือกรายช่ือผู้ที่ได้รับการสรรหาตาม (๕) ให้เหลือเท่าจํานวน กรรมการในแต่ละดา้ นตามทีก่ าํ หนดใน (๑) และแตง่ ต้งั เป็นกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ (๗) ให้คณะกรรมการสรรหามีอํานาจดําเนินการอ่ืนใดเฉพาะในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการสรรหา ไดเ้ ท่าทจ่ี ําเป็นและไม่ขดั หรอื แยง้ กบั หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารตามระเบียบนี้ ในกรณีท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมไม่เห็นชอบด้วยกับรายช่ือ ผู้ทรงคุณวุฒิที่เสนอท้ังหมดหรือบางส่วนให้คณะกรรมการสรรหาดําเนินการสรรหาและเสนอรายช่ือ ผทู้ รงคุณวุฒคิ นใหม่ ให้ครบจาํ นวนตามท่กี ฎหมายกําหนดโดยเรว็ ข้อ ๗ การประชุมของคณะกรรมการสรรหาต้องมีกรรมการสรรหามาประชุมไม่น้อยกว่า กงึ่ หน่งึ ของจํานวนกรรมการสรรหาทัง้ หมดจงึ จะเปน็ องค์ประชมุ ในกรณีท่ปี ระธานกรรมการสรรหาที่ได้รับ การแต่งต้ังไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการสรรหาที่มาประชุมเลือกกรรมการสรรหา คนหน่ึงเป็นประธานในที่ประชุมการวินิจฉัยชี้ขาดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการสรรหาคนหนึ่ง ใหม้ ีเสยี งหนง่ึ ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กนั ให้ประธานออกเสยี งเพิ่มข้ึนอีกเสียงหนง่ึ เปน็ เสียงชี้ขาด ขอ้ ๘ เม่ือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ตามจํานวนที่กําหนดในมาตรา ๒๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ แลว้ ใหค้ ณะกรรมการสรรหาส้ินสุดลง ขอ้ ๙ เมื่อคณะกรรมการสรรหาส้ินสุดลง และกรณีมีเหตุให้ต้องสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เร่ิมดําเนินการตามข้อ ๔ ก่อนครบวาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิมเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า หกสิบวนั หรือภายในหกสิบวนั นับแตว่ นั ทก่ี รรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิพ้นจากตาํ แหนง่ กอ่ นครบวาระ ข้อ ๑๐ ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และใหม้ อี ํานาจตีความและวนิ ิจฉยั ปญั หาอนั เกดิ จากการปฏิบตั ิตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. 256๑ พิเชฐ ดรุ งคเวโรจน์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 377

378 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

พระราชบัญญัติ การรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 379

ชอ่ื กฎหมาย พระราชบญั ญตั ิการรกั ษาความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอร พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖ / ตอนที่ ๖๙ ก / หนา ๒๐ / วนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เร่ิมบังคับใช วนั ท่ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ผูรักษาการ นายกรฐั มนตรี 380 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก หน้า ๒๐ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา พระราชบญั ญตั ิ การรกั ษาความมัน่ คงปลอดภยั ไซเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจา้ อยู่หัว ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ่ี ๔ ในรัชกาลปัจจบุ ัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศวา่ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรมกี ฎหมายว่าด้วยการรักษาความมัน่ คงปลอดภัยไซเบอร์ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๖ และ มาตรา ๓๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย บญั ญัติให้กระทาไดโ้ ดยอาศัยอานาจตามบทบญั ญตั ิ แหง่ กฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือให้การรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์มีประสิทธิภาพและเพ่ือให้มีมาตรการป้องกัน รับมือ และ ลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์อันกระทบต่อความม่ันคงของรัฐและความสงบเรียบร้อยภายใน ประเทศ ซ่ึงการตราพระราชบัญญัติน้ีสอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานติ บิ ญั ญตั แิ ห่งชาตทิ าหน้าทีร่ ฐั สภา ดงั ตอ่ ไปนี้ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 381

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก ราชกหิจนจ้ าานุเ๒บ๑กษา ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ เ้ี รียกวา่ “พระราชบญั ญตั กิ ารรกั ษาความมน่ั คงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ตน้ ไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “การรกั ษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์” หมายความวา่ มาตรการหรือการดาเนนิ การท่ีกาหนดขนึ้ เพ่ือป้องกัน รับมือ และลดความเส่ียงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ อนั กระทบตอ่ ความม่ันคงของรฐั ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางทหาร และความสงบเรยี บร้อย ภายในประเทศ “ภัยคุกคามทางไซเบอร์” หมายความว่า การกระทาหรือการดาเนินการใด ๆ โดยมิชอบ โดยใช้คอมพวิ เตอร์หรอื ระบบคอมพวิ เตอรห์ รอื โปรแกรมไมพ่ ึงประสงค์โดยมงุ่ หมายให้เกิดการประทษุ รา้ ย ต่อระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง และเป็นภยันตรายท่ีใกล้จะถึง ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อการทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ หรือ ขอ้ มลู อน่ื ทีเ่ กีย่ วข้อง “ไซเบอร์” หมายความรวมถึง ข้อมูลและการสื่อสารทเี่ กิดจากการให้บรกิ ารหรือการประยุกตใ์ ช้ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ระบบอินเทอร์เนต็ หรอื โครงขา่ ยโทรคมนาคม รวมทั้งการให้บริการโดยปกตขิ อง ดาวเทยี มและระบบเครอื ข่ายท่ีคลา้ ยคลงึ กัน ทเ่ี ชือ่ มตอ่ กันเป็นการทัว่ ไป “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่นิ รัฐวิสาหกิจ องค์กรฝ่ายนติ ิบัญญัติ องค์กรฝ่ายตลุ าการ องค์กรอิสระ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่น ของรัฐ “ประมวลแนวทางปฏิบัติ” หมายความวา่ ระเบียบหรือหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกากบั ดูแล ดา้ นความม่นั คงปลอดภยั ไซเบอรก์ าหนด “เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์” หมายความว่า เหตุการณ์ที่เกิดจาก การกระทาหรือการดาเนินการใด ๆ ท่ีมิชอบซ่ึงกระทาการผ่านทางคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ ซง่ึ อาจเกดิ ความเสียหายหรือผลกระทบต่อการรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ หรอื ความมน่ั คงปลอดภัย ไซเบอร์ของคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับระบบ คอมพิวเตอร์ 382 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๒บ๒กษา ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ “มาตรการท่ีใช้แก้ปัญหาเพื่อรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์” หมายความว่า การแก้ไข ปัญหาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์โดยใช้บคุ ลากร กระบวนการ และเทคโนโลยี โดยผ่านคอมพวิ เตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือบริการที่เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ใด ๆ เพ่ือสร้างความม่ันใจ และเสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ หรือข้อมลู อืน่ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั ระบบคอมพิวเตอร์ “โครงสร้างพน้ื ฐานสาคัญทางสารสนเทศ” หมายความว่า คอมพิวเตอร์หรอื ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่งึ หนว่ ยงานของรฐั หรอื หนว่ ยงานเอกชนใชใ้ นกิจการของตนทีเ่ กยี่ วข้องกบั การรกั ษาความมนั่ คงปลอดภยั ของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพ้ืนฐานอนั เปน็ ประโยชน์สาธารณะ “หน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสาคัญทางสารสนเทศ” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐหรือ หน่วยงานเอกชน ซง่ึ มีภารกิจหรือให้บริการโครงสรา้ งพืน้ ฐานสาคัญทางสารสนเทศ “หน่วยงานควบคมุ หรอื กากับดูแล” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน หรือ บุคคลซ่ึงมีกฎหมายกาหนดให้มีหน้าท่ีและอานาจในการควบคุมหรือกากับดูแลการดาเนินกิจการของ หน่วยงานของรฐั หรือหนว่ ยงานโครงสรา้ งพน้ื ฐานสาคญั ทางสารสนเทศ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์แหง่ ชาติ “พนกั งานเจ้าหนา้ ที่” หมายความว่า ผูซ้ ่งึ รฐั มนตรแี ตง่ ต้งั ให้ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิน้ี “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมน่ั คงปลอดภัยไซเบอร์ แหง่ ชาติ “สานักงาน” หมายความว่า สานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ แหง่ ชาติ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบญั ญตั ินี้ มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ และให้มีอานาจออกประกาศ และแต่งตงั้ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี เพื่อปฏบิ ตั ิการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ประกาศนนั้ เมื่อไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คับได้ หมวด ๑ คณะกรรมการ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 383

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก หน้า ๒๓ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการการรกั ษาความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอรแ์ ห่งชาติ มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการการรักษาความม่ันคง ปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ” เรียกโดยย่อว่า “กมช.” และให้ใช้ช่ือเป็นภาษาอังกฤษว่า “National Cyber Security Committee” เรยี กโดยย่อว่า “NCSC” ประกอบดว้ ย (๑) นายกรฐั มนตรี เป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตาแหนง่ ไดแ้ ก่ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้บัญชาการตารวจ แหง่ ชาติ และเลขาธกิ ารสภาความม่นั คงแห่งชาติ (๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไม่เกินเจ็ดคน ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และประสบการณ์เป็นท่ีประจักษ์ในด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านวิศวกรรมศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านการเงิน หรือด้านอ่ืนที่เกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ต่อ การรกั ษาความม่นั คงปลอดภยั ไซเบอร์ ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้เลขาธิการแต่งต้ังพนักงานของสานักงาน เป็นผ้ชู ว่ ยเลขานุการไดไ้ ม่เกินสองคน หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รวมท้ังการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อดารงตาแหน่งแทนผู้ที่พ้นจากตาแหนง่ ก่อนวาระตามมาตรา ๗ วรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนดโดยการเสนอแนะของคณะกรรมการ มาตรา ๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการต้องมีสัญชาติไทยและไม่มีลักษณะ ต้องหา้ ม ดงั ต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบคุ คลล้มละลายทจุ รติ (๒) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๓) เคยต้องคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุกไม่ว่าจะได้รับโทษจาคุกจริงหรือไม่ เว้นแต่เป็นโทษ สาหรับความผิดทไ่ี ดก้ ระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หรือออกจากงานจากหนว่ ยงานทเ่ี คย ปฏบิ ัตหิ น้าท่ี เพราะทุจรติ ต่อหนา้ ทีห่ รอื ประพฤตชิ ่ัวอย่างร้ายแรง 384 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๒บ๔กษา ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๕) เคยถูกถอดถอนออกจากตาแหน่งตามกฎหมาย (๖) เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมอื ง สมาชิกสภาท้องถน่ิ หรอื ผ้บู รหิ ารทอ้ งถ่นิ กรรมการหรอื ผู้ดารงตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าท่ีของ พรรคการเมอื ง มาตรา ๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปี และอาจไดร้ บั แต่งตัง้ อกี ได้ แต่จะดารงตาแหน่งเกินสองวาระไม่ได้ ในกรณีท่ีมีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มเติมหรือแทนกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิซง่ึ พ้นจาก ตาแหน่งก่อนวาระ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ิมเติมหรือแทนตาแหน่งที่ว่างนั้น ดารงตาแหน่งได้เทา่ กบั วาระทเ่ี หลอื อยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิซง่ึ ได้แตง่ ต้งั ไว้แลว้ เวน้ แตว่ าระทเี่ หลืออยู่ ไมถ่ งึ เกา้ สบิ วนั จะไม่แตง่ ต้งั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้ เม่ือครบกาหนดวาระตามวรรคหนง่ึ หากยังมิได้แตง่ ตัง้ กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซง่ึ พ้นจากตาแหนง่ ตามวาระนั้นอยู่ในตาแหนง่ เพื่อดาเนินงานต่อไปจนกวา่ จะไดม้ กี ารแต่งต้ัง กรรมการผูท้ รงคุณวุฒขิ ้นึ ใหม่ มาตรา ๘ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตาแหน่ง เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรฐั มนตรีให้ออก (๔) ขาดคุณสมบตั หิ รอื มีลักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๖ มาตรา ๙ คณะกรรมการมีหน้าทีแ่ ละอานาจ ดงั ต่อไปน้ี (๑) เสนอนโยบายและแผนว่าด้วยการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั ไซเบอร์ ส่งเสริมและสนับสนุน การดาเนินการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ตามมาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ ต่อคณะรัฐมนตรี เพอ่ื ให้ความเหน็ ชอบ ซง่ึ ต้องเปน็ ไปตามแนวทางทกี่ าหนดไวใ้ นมาตรา ๔๒ (๒) กาหนดนโยบายการบรหิ ารจัดการท่ีเก่ยี วกบั การรักษาความมน่ั คงปลอดภัยไซเบอร์สาหรับ หนว่ ยงานของรฐั และหนว่ ยงานโครงสรา้ งพน้ื ฐานสาคัญทางสารสนเทศ (๓) จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อการรกั ษาความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอรเ์ สนอตอ่ คณะรฐั มนตรี สาหรบั เป็นแผนแมบ่ ทในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรใ์ นสถานการณ์ปกติและในสถานการณท์ ี่อาจจะเกดิ หรอื เกิดภัยคกุ คามทางไซเบอร์ โดยแผนดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตรแ์ ละแผนระดับชาติ และกรอบนโยบายและแผนแม่บทที่เกยี่ วกับการรกั ษาความมน่ั คงของสภาความม่ันคงแห่งชาติ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 385

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก หน้า ๒๕ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๔) กาหนดมาตรฐานและแนวทางส่งเสรมิ พัฒนาระบบการให้บรกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาความมั่นคง ปลอดภยั ไซเบอร์ สร้างมาตรฐานเก่ียวกบั การรกั ษาความมน่ั คงปลอดภัยไซเบอร์ และกาหนดมาตรฐานขัน้ ต่า ทีเ่ ก่ยี วข้องกับคอมพวิ เตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึงสง่ เสริมการรบั รองมาตรฐาน การรกั ษาความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอรใ์ หก้ บั หน่วยงานโครงสรา้ งพ้นื ฐานสาคัญทางสารสนเทศ หนว่ ยงาน ของรัฐ หน่วยงานควบคมุ หรอื กากบั ดแู ล และหน่วยงานเอกชน (๕) กาหนดมาตรการและแนวทางในการยกระดับทักษะความรู้และความเช่ียวชาญใน ด้านการรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของพนักงานเจา้ หนา้ ท่ี เจ้าหน้าทีข่ องหนว่ ยงานโครงสรา้ งพ้ืนฐาน สาคัญทางสารสนเทศ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานควบคุมหรือกากับดูแล และหน่วยงานเอกชน ท่ีเกีย่ วข้องกบั การรักษาความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอร์ (๖) กาหนดกรอบการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นท้ังในประเทศและต่างประเทศ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การรักษาความม่นั คงปลอดภยั ไซเบอร์ (๗) แตง่ ตง้ั และถอดถอนเลขาธกิ าร (๘) มอบหมายการควบคุมและกากับดูแล รวมถึงการออกข้อกาหนด วัตถุประสงค์ หน้าท่ี และอานาจ และกรอบการดาเนินการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ให้หน่วยงานควบคุม หรือกากับดูแล หน่วยงานของรฐั หรอื หน่วยงานโครงสรา้ งพนื้ ฐานสาคัญทางสารสนเทศ (๙) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนว่าด้วยการรักษาความม่ันคง ปลอดภัยไซเบอร์ แผนปฏิบัติการเพ่ือการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และการรักษาความม่ันคง ปลอดภัยไซเบอร์ตามทบี่ ัญญตั ไิ ว้ในพระราชบัญญตั นิ ้ี (๑๐) เสนอแนะและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหรือ คณะรัฐมนตรี เก่ยี วกบั การรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (๑๑) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการจัดให้มีหรือปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการรักษา ความมน่ั คงปลอดภัยไซเบอร์ (๑๒) จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานของการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ที่มีผลกระทบ อย่างมนี ัยสาคญั หรอื แนวทางการพัฒนามาตรฐานการรกั ษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ให้คณะรัฐมนตรที ราบ (๑๓) ปฏบิ ตั ิการอน่ื ใดตามทบ่ี ญั ญตั ิไว้ในพระราชบญั ญตั ินี้ หรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย มาตรา ๑๐ การประชุมของคณะกรรมการ ให้เป็นไปตามระเบยี บที่คณะกรรมการกาหนด โดยอาจประชมุ ดว้ ยวธิ ีการทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์หรือวิธีการอืน่ ก็ได้ 386 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๒บ๖กษา ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑๑ ให้ประธานกรรมการ และกรรมการได้รับเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนอื่น ตามหลักเกณฑ์ท่คี ณะรัฐมนตรีกาหนด สว่ นท่ี ๒ คณะกรรมการกากบั ดแู ลด้านความมน่ั คงปลอดภัยไซเบอร์ มาตรา ๑๒ ในการดาเนินการตามหน้าที่และอานาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๙ ให้มีคณะกรรมการกากับดแู ลด้านความม่ันคงปลอดภยั ไซเบอร์ เรยี กโดยยอ่ วา่ “กกม.” ประกอบดว้ ย (๑) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปน็ ประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวงพลังงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ผู้บัญชาการทหารสูงสดุ เลขาธิการสภาความมนั่ คง แห่งชาติ ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแหง่ ชาติ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการสานักงาน คณะกรรมการกากบั หลักทรัพย์และตลาดหลักทรพั ย์ และเลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ (๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไม่เกินส่ีคน ซ่ึงคณะกรรมการแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และประสบการณ์เป็นท่ีประจักษ์และเป็นประโยชน์ต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอร์ ให้เลขาธิการเปน็ กรรมการและเลขานุการ และใหเ้ ลขาธกิ ารแต่งตงั้ พนกั งานของสานกั งานเป็น ผ้ชู ่วยเลขานกุ ารไดไ้ ม่เกินสองคน หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลที่เห็นสมควรเพื่อพิจารณาแต่งตงั้ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เปน็ ไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๑๓ กกม. มีหน้าท่แี ละอานาจ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ติดตามการดาเนินการตามนโยบายและแผนตามมาตรา ๙ (๑) และมาตรา ๔๒ (๒) ดแู ลและดาเนินการเพ่ือรับมอื กับภยั คุกคามทางไซเบอร์ในระดับร้ายแรง ตามมาตรา ๖๑ มาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ และมาตรา ๖๖ (๓) กากบั ดแู ลการดาเนินงานของศูนย์ประสานการรกั ษาความม่นั คงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ แหง่ ชาติ และการเผชญิ เหตแุ ละนิติวิทยาศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 387

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๒บ๗กษา ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๔) กาหนดประมวลแนวทางปฏิบัติและกรอบมาตรฐานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอร์อันเป็นข้อกาหนดข้ันต่าในการดาเนินการด้านการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ สาหรับ หน่วยงานของรัฐและหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสาคัญทางสารสนเทศ รวมท้ังกาหนดมาตรการใน การประเมินความเสย่ี ง การตอบสนองและรับมอื กบั ภยั คุกคามทางไซเบอร์ เม่ือมีภยั คุกคามทางไซเบอร์ หรือเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสียหายอย่างมีนัยสาคัญหรือ อย่างร้ายแรงต่อระบบสารสนเทศของประเทศ เพ่ือให้การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ปฏิบัติ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว มปี ระสิทธภิ าพ และเป็นไปในทิศทางเดยี วกัน (๕) กาหนดหน้าท่ขี องหนว่ ยงานโครงสรา้ งพ้นื ฐานสาคัญทางสารสนเทศ และหน้าทขี่ องหนว่ ยงาน ควบคุมหรือกากับดแู ล โดยอย่างน้อยต้องกาหนดหน้าที่ให้หน่วยงานควบคุมหรือกากับดแู ลต้องกาหนด มาตรฐานทเ่ี หมาะสมเพ่อื รับมอื กบั ภัยคุกคามทางไซเบอรข์ องแตล่ ะหนว่ ยงานโครงสรา้ งพ้นื ฐานสาคญั ทาง สารสนเทศ และหน่วยงานของรัฐ (๖) กาหนดระดบั ของภัยคกุ คามทางไซเบอร์ พร้อมทั้งรายละเอยี ดของมาตรการป้องกนั รับมอื ประเมิน ปราบปราม และระงับภยั คกุ คามทางไซเบอร์ในแต่ละระดับเสนอต่อคณะกรรมการ (๗) วิเคราะห์สถานการณ์ และประเมินผลกระทบจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ เพ่ือเสนอต่อ คณะกรรมการพจิ ารณาส่ังการ เม่อื มีหรือคาดว่าจะมภี ยั คกุ คามทางไซเบอรใ์ นระดับร้ายแรงขน้ึ ในการกาหนดกรอบมาตรฐานตามวรรคหนึ่ง (๔) ให้คานึงถึงหลักการบริหารความเสี่ยง โดยอย่างนอ้ ยตอ้ งประกอบดว้ ยวธิ ีการและมาตรการ ดงั ต่อไปนี้ (๑) การระบคุ วามเสีย่ งทีอ่ าจจะเกดิ ขน้ึ แกค่ อมพวิ เตอร์ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ ระบบคอมพวิ เตอร์ ขอ้ มลู อ่ืนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับระบบคอมพิวเตอร์ ทรพั ยส์ นิ และชวี ติ ร่างกายของบุคคล (๒) มาตรการป้องกันความเสย่ี งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ (๓) มาตรการตรวจสอบและเฝ้าระวงั ภัยคุกคามทางไซเบอร์ (๔) มาตรการเผชญิ เหตเุ มอื่ มกี ารตรวจพบภัยคกุ คามทางไซเบอร์ (๕) มาตรการรกั ษาและฟน้ื ฟคู วามเสียหายท่เี กดิ จากภัยคกุ คามทางไซเบอร์ มาตรา ๑๔ ในการดาเนินการตามมาตรา ๑๓ วรรคหน่ึง (๒) เพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ทางไซเบอรไ์ ดท้ นั ทว่ งที กกม. อาจมอบอานาจใหร้ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และกรรมการอ่ืนซ่งึ กกม. กาหนด ร่วมกันปฏิบัตกิ ารในเรื่องดังกลา่ วได้ และ จะกาหนดให้หน่วยงานควบคุมหรือกากับดูแลและหน่วยงานโครงสร้างพ้ืนฐานสาคัญทางสารสนเทศ ท่ถี ูกคุกคามเขา้ ร่วมดาเนนิ การ ประสานงาน และใหก้ ารสนับสนุนด้วยก็ได้ 388 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๒บ๘กษา ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ การปฏบิ ตั ิตามวรรคหนงึ่ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บที่ กกม. กาหนด มาตรา ๑๕ ให้นาความในมาตรา ๖ มาตรา ๗ และมาตรา ๘ มาใช้บังคบั กบั กรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ น กกม. โดยอนุโลม มาตรา ๑๖ ให้ กกม. มีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามท่ี กกม. มอบหมาย มาตรา ๑๗ การประชุมของ กกม. และคณะอนุกรรมการ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบท่ี กกม. กาหนด โดยอาจประชุมด้วยวิธกี ารทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์หรอื วิธีการอ่นื กไ็ ด้ มาตรา ๑๘ ให้ประธานกรรมการและกรรมการ ประธานอนุกรรมการและอนุกรรมการท่ี กกม. แตง่ ตง้ั ได้รบั เบ้ยี ประชมุ หรอื คา่ ตอบแทนอน่ื ตามหลกั เกณฑ์ทคี่ ณะรฐั มนตรกี าหนด มาตรา ๑๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องแสดง บัตรประจาตัวต่อบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ ง ในการแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้รัฐมนตรีพิจารณาแต่งต้ังจากผู้มีความรู้ความชานาญ ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใด ตามพระราชบัญญัตินี้ ท้ังนี้ ระดับความรู้ความชานาญด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของ พนกั งานเจา้ หน้าท่ี ให้เป็นไปตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด บตั รประจาตัวพนักงานเจา้ หนา้ ท่ใี ห้เปน็ ไปตามแบบท่ี กกม. ประกาศกาหนด หมวด ๒ สานักงานคณะกรรมการการรักษาความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอรแ์ หง่ ชาติ มาตรา ๒๐ ให้มีสานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคล และไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บรหิ ารราชการแผน่ ดิน หรือรฐั วิสาหกิจตามกฎหมายว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณหรือกฎหมายอ่ืน มาตรา ๒๑ กิจการของสานักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่พนักงานและลูกจ้างของสานักงานต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าท่ีกาหนดไว้ในกฎหมาย ว่าดว้ ยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายวา่ ดว้ ยประกนั สังคม และกฎหมายว่าดว้ ยเงนิ ทดแทน มาตรา ๒๒ ให้สานักงานรับผิดชอบงานธุรการ งานวิชาการ งานการประชุม และ งานเลขานุการของคณะกรรมการ และ กกม. และให้มหี น้าท่ีและอานาจดงั ต่อไปนี้ดว้ ย สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 389

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก หน้า ๒๙ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๑) เสนอแนะและสนับสนุนในการจัดทานโยบายและแผนว่าดว้ ยการรักษาความม่ันคงปลอดภยั ไซเบอร์ และแผนปฏิบัติการเพอ่ื การรกั ษาความม่ันคงปลอดภยั ไซเบอร์ตามมาตรา ๙ ต่อคณะกรรมการ (๒) จัดทาประมวลแนวทางปฏิบัติและกรอบมาตรฐานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอรต์ ามมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง (๔) เสนอตอ่ กกม. เพ่อื ให้ความเหน็ ชอบ (๓) ประสานงานการดาเนินการเพ่ือรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของหน่วยงานโครงสร้าง พน้ื ฐานสาคญั ทางสารสนเทศตามมาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๔ (๔) ประสานงานและให้ความร่วมมือในการตั้งศูนย์ประสานการรักษาความม่ันคงปลอดภัย ระบบคอมพิวเตอร์ในประเทศและต่างประเทศในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร์และกาหนดมาตรการทใี่ ช้แกป้ ญั หาเพ่อื รกั ษาความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอร์ (๕) ดาเนินการและประสานงานกบั หน่วยงานของรฐั และเอกชนในการตอบสนองและรบั มอื กบั ภัยคุกคามทางไซเบอร์ตามที่ไดร้ ับมอบหมายจากคณะกรรมการ (๖) เฝ้าระวังความเส่ียงในการเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ ติดตาม วิเคราะห์และประมวลผล ขอ้ มลู เก่ียวกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ และการแจง้ เตอื นเก่ยี วกบั ภัยคกุ คามทางไซเบอร์ (๗) ปฏิบัติการ ประสานงาน สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน การปฏบิ ัติตามนโยบายและแผนว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ แผนปฏิบัตกิ ารเพ่อื การรักษา ความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอร์ และมาตรการปอ้ งกนั รบั มือ และลดความเสยี่ งจากภยั คุกคามทางไซเบอร์ หรือตามคาสั่งของคณะกรรมการ (๘) ดาเนินการและให้ความร่วมมือหรือช่วยเหลือในการป้องกัน รับมือ และลดความเสี่ยง จากภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยเฉพาะภัยคุกคามทางไซเบอร์ท่ีกระทบหรือเกิดแก่โครงสร้างพ้ืนฐานสาคัญ ทางสารสนเทศ (๙) เสริมสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การรกั ษาความม่นั คงปลอดภัยไซเบอร์ รวมถึงการสรา้ ง ความตระหนักด้านสถานการณ์เกย่ี วกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ร่วมกันเพื่อให้มีการดาเนนิ การเชิงปฏิบัติการ ทีม่ ลี ักษณะบูรณาการและเป็นปัจจุบัน (๑๐) เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูลดา้ นการรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ของประเทศ รวมท้ังเผยแพร่ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับความเส่ียงและเหตุการณ์ด้านการรักษาความม่ันคง ปลอดภยั ไซเบอรใ์ ห้แก่หน่วยงานของรฐั และหนว่ ยงานเอกชน (๑๑) เป็นศนู ย์กลางในการประสานความร่วมมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานเก่ียวกบั การรกั ษาความมน่ั คง ปลอดภัยไซเบอรข์ องหนว่ ยงานของรัฐและหนว่ ยงานเอกชน ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ 390 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก หน้า ๓๐ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๑๒) ทาความตกลงและร่วมมือกับองคก์ ารหรือหน่วยงานท้ังในประเทศและต่างประเทศในกจิ การ ทเ่ี กย่ี วกับการดาเนนิ การตามหนา้ ทแี่ ละอานาจของสานกั งาน เมื่อไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ (๑๓) ศึกษาและวิจัยข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ เพ่ือจัดทา ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ รวมท้ังดาเนินการอบรมและ ฝกึ ซ้อมการรบั มือกบั ภัยคุกคามทางไซเบอรใ์ ห้แก่หน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเป็นประจา (๑๔) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความม่ันคง ปลอดภัยไซเบอร์ ตลอดจนดาเนินการฝึกอบรมเพ่ือยกระดับทักษะความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าท่ี เก่ยี วกบั การรกั ษาความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอร์ (๑๕) รายงานความคืบหน้าและสถานการณ์เก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ รวมท้ัง ปัญหาและอปุ สรรค เสนอตอ่ คณะกรรมการเพือ่ พิจารณาดาเนินการ ท้งั น้ี ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการ กาหนด (๑๖) ปฏิบัติงานอ่ืนใดอันเก่ียวกับการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศตามท่ี คณะกรรมการหรอื คณะรฐั มนตรีมอบหมาย เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการตามหน้าท่ีและอานาจตาม (๖) ให้สานักงานจัดต้ังศูนย์ประสาน การรักษาความม่ันคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์แห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงานภายในสานักงาน และ ให้มีหนา้ ที่และอานาจตามทค่ี ณะกรรมการกาหนด มาตรา ๒๓ ในการดาเนินการของสานักงาน นอกจากหน้าท่ีและอานาจตามที่บัญญัติ ในมาตรา ๒๒ แล้ว ให้สานักงานมหี นา้ ทแี่ ละอานาจท่วั ไปดังตอ่ ไปนีด้ ว้ ย (๑) ถอื กรรมสิทธิ์ มสี ิทธิครอบครอง และมที รัพยสิทธิตา่ ง ๆ (๒) ก่อต้ังสิทธิ หรือทานิติกรรมทุกประเภทผูกพันทรัพย์สิน ตลอดจนทานิติกรรมอื่นใด เพ่ือประโยชน์ในการดาเนนิ กจิ การของสานกั งาน (๓) จัดให้มีและใหท้ นุ เพือ่ สนบั สนุนการดาเนินกจิ การของสานกั งาน (๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน หรือค่าบริการในการดาเนินงาน ทั้งนี้ ตามหลกั เกณฑแ์ ละอตั ราทส่ี านักงานกาหนดโดยความเห็นชอบของ กบส. (๕) ปฏิบัติการอื่นใดท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของสานักงาน หรือตามท่ี คณะกรรมการ หรือ กบส. มอบหมาย มาตรา ๒๔ ทนุ และทรพั ยส์ ินในการดาเนินงานของสานักงาน ประกอบดว้ ย ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 391


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook