Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Published by สมยงค์ สาลีศรี, 2021-09-02 04:08:38

Description: กฏหมายดิจิทัล Digital_Law_2020

Search

Read the Text Version

242 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

พระราชบญั ญัติ การบริหารงานและการใหบริการภาครัฐผานระบบดิจทิ ัล พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 243

ชอ่ื กฎหมาย พระราชบญั ญตั ิการบริหารงานและการใหบรกิ ารภาครัฐผา นระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๖ / ตอนที่ ๖๗ ก / หนา ๕๗ / วันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เรมิ่ บังคับใช วนั ที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ผูรักษาการ นายกรฐั มนตรี 244 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๕๗ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา พระราชบญั ญัติ การบริหารงานและการใหบ้ ริการภาครฐั ผา่ นระบบดจิ ิทลั พ.ศ. ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หวั ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ ปที ่ี ๔ ในรัชกาลปจั จบุ นั พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยที่เปน็ การสมควรมกี ฎหมายวา่ ด้วยการบริหารงานและการใหบ้ รกิ ารภาครัฐผา่ นระบบดิจทิ ัล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานติ ิบัญญตั แิ ห่งชาติทาหนา้ ที่รัฐสภา ดังตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการ ภาครฐั ผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตนิ ี้ “ดิจิทัล” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ใช้วิธีการนาสัญลักษณ์ศนู ย์และหนง่ึ หรือสัญลักษณ์อ่นื มาแทนคา่ สิง่ ทัง้ ปวง เพ่อื ใชส้ รา้ งหรอื ก่อให้เกิดระบบต่าง ๆ เพ่ือใหม้ นุษย์ใช้ประโยชน์ “รัฐบาลดิจิทัล” หมายความว่า การนาเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงาน ภาครฐั และการบรกิ ารสาธารณะ โดยปรบั ปรุงการบรหิ ารจดั การและบรู ณาการขอ้ มลู ภาครฐั และการทางาน ให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงเขา้ ดว้ ยกันอย่างมนั่ คงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 245

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๕๘ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา และอานวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน ในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อสาธารณชน และ สร้างการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการ ส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอัยการ สถาบนั อดุ มศึกษาของรฐั และหนว่ ยงานอิสระของรัฐ “สานักงาน” หมายความว่า สานักงานพัฒนารัฐบาลดจิ ิทลั (องคก์ ารมหาชน) มาตรา ๔ เพื่อใหก้ ารบรหิ ารงานภาครัฐและการจัดทาบรกิ ารสาธารณะเปน็ ไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการให้บริการและการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการบริหารงานและการจัดทาบริการสาธารณะในรูปแบบและช่องทางดิจิทัล โดยมีการบริหารจัดการและการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการทางานให้มีความสอดคล้องกันและ เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล โดยมุ่งหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพและ อานวยความสะดวกในการให้บริการและการเข้าถึงของประชาชน และในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อ สาธารณะและสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง อย่างนอ้ ยตอ้ งเปน็ ไปเพ่อื วัตถุประสงค์ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) การนาระบบดิจิทัลที่เหมาะสมมาใช้ในการบริหารและการให้บริการของหน่วยงานของรฐั ทุกแห่ง เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและให้มกี ารใช้ระบบดจิ ทิ ัลอยา่ งคมุ้ ค่าและเต็มศักยภาพ (๒) การพัฒนามาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารเกยี่ วกับระบบดจิ ิทัล และพัฒนาโครงสร้าง พ้ืนฐานด้านดิจิทัลที่จาเป็น ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพ่ือสร้างและพัฒนากระบวนการทางานของ หน่วยงานของรัฐให้มีความสอดคล้องและมีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน รวมทั้ง มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเช่ือถือ โดยมีการบูรณาการและสามารถทางานร่วมกันอย่างเป็นเอกภาพ เกิดการพัฒนาการบริการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพและนาไปสู่การบริหารราชการและการบริการประชาชน แบบบูรณาการ รวมทง้ั ให้ประชาชนเข้าถงึ ไดโ้ ดยสะดวก (๓) การสรา้ งและพฒั นาระบบความม่นั คงปลอดภัยในการใช้ระบบดจิ ทิ ัลและมาตรการปกป้อง คุ้มครองข้อมูลท่ีอาจกระทบถึงความม่ันคงหรือความเป็นส่วนตัวของประชาชนท่ีมีความพร้อมใช้และ น่าเชือ่ ถือ (๔) การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะที่หน่วยงานของรัฐจัดทาและครอบครองใน รูปแบบและช่องทางดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก มีส่วนร่วมและตรวจสอบการดาเนนิ งาน ของรัฐ และสามารถนาข้อมลู ไปพฒั นาบริการและนวตั กรรมที่จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ 246 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๕๙ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๕) การรักษาวินัยการเงินการคลังภาครัฐและเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เกิดความคุ้มค่าและเป็นไปตามเป้าหมาย โดยมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินความคุ้มค่าใน การดาเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามการบริหารงานภาครัฐและการจัดทาบริการสาธารณะผ่านระบบดิจิทัล รวมท้ังพัฒนาให้มีกลไกการใช้ข้อมูลเพ่ือลดความซ้าซ้อนและเกิดความสอดคล้องกับแผนงานและ โครงการตา่ ง ๆ ของหน่วยงานของรฐั มาตรา ๕ ให้มีแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเพ่ือกาหนดกรอบและทิศทางการบริหารงานภาครัฐ และการจัดทาบริการสาธารณะในรูปแบบของเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนาประเทศ มีการปฏิบัติงาน ที่สอดคล้องกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ และมีกรอบการพัฒนาและแผนการดาเนินงานของประเทศ โดยสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ตามมาตรา ๔ ยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนระดบั ชาตทิ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง ในแผนพัฒนารฐั บาลดิจิทัลตามวรรคหน่ึง อาจกาหนดใหห้ นว่ ยงานของรัฐท่ีมีภารกิจเก่ยี วข้องกนั จัดทาระบบบูรณาการข้อมูลดิจิทัลระหว่างกัน และกาหนดรายช่ือหน่วยงานของรัฐท่ตี ้องเผยแพร่ข้อมูล ทศ่ี ูนย์กลางข้อมูลเปดิ ภาครฐั ไว้ด้วยได้ เมอื่ มกี ารประกาศใช้แผนพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัลแล้ว ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ดาเนนิ การตามแผนดังกล่าว และตอ้ งจัดทาหรือปรับปรงุ แผนปฏิบตั ิการหรือแผนงานของหนว่ ยงานของรัฐให้สอดคล้องกบั แผนพัฒนา รฐั บาลดิจทิ ัล พร้อมทง้ั ส่งแผนปฏบิ ัติการหรือแผนงานดงั กลา่ วใหส้ านกั งานทราบดว้ ย มาตรา ๖ ให้มคี ณะกรรมการพฒั นารฐั บาลดิจิทัล ประกอบด้วย (๑) นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคม ผู้อานวยการสานักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการ (๓) กรรมการอื่นจานวนห้าคน ซึ่งมาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ของราชการ คณะกรรมการคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล และคณะกรรมการการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั ไซเบอร์แห่งชาติ ซ่ึงคณะกรรมการดังกล่าวมอบหมายคณะละหนึ่งคน เป็นกรรมการ ทั้งน้ี ต้องเป็น ผซู้ งึ่ มีความรู้ความเชย่ี วชาญอนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการปฏบิ ัติหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั ให้ผู้อานวยการสานกั งานเป็นกรรมการและเลขานกุ าร และอาจแต่งตั้งผูป้ ฏบิ ตั งิ านในสานกั งาน เป็นผู้ช่วยเลขานกุ ารไดไ้ ม่เกนิ สองคน สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 247

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๖บ๐กษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ กรรมการตาม (๓) หากพ้นจากการเป็นกรรมการหรอื ตอ้ งหยุดปฏิบัติหนา้ ท่ีในคณะกรรมการ ที่ตนได้รบั มอบหมาย ใหพ้ น้ จากการเป็นกรรมการพัฒนารฐั บาลดิจทิ ลั ดว้ ย ในกรณีท่ีมีเหตุไม่ว่าด้วยประการใด ๆ อันทาให้ไม่มีกรรมการตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ในตาแหน่งใด ให้คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประกอบด้วยกรรมการท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ เว้นแต่ มกี รรมการไมถ่ งึ กง่ึ หนง่ึ ของจานวนกรรมการทงั้ หมด การปฏบิ ัตหิ น้าทแี่ ละการประชุมของคณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดิจิทัล ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บ ท่ีคณะกรรมการพัฒนารฐั บาลดิจิทัลกาหนด ในกรณีท่ีคณะกรรมการพัฒนารฐั บาลดิจิทัลยังมไิ ดก้ าหนด เกี่ยวกับการประชุมในเร่ืองใด ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครอง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในเร่ืองนั้นมาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการ พัฒนารฐั บาลดิจทิ ัลโดยอนุโลม มาตรา ๗ ใหค้ ณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดิจิทลั มีหนา้ ทแ่ี ละอานาจ ดงั ต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะนโยบายและจัดทาแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลตามมาตรา ๕ ต่อคณะรัฐมนตรี เพอื่ พิจารณาอนมุ ตั ิ (๒) จัดทาธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐเพื่อเป็นหลักการและแนวทางในการดาเนินการให้เปน็ ไป ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ (๓) กาหนดมาตรฐาน ข้อกาหนด และหลักเกณฑ์เกีย่ วกับระบบดจิ ิทัลเพื่อดาเนนิ การใหเ้ ป็นไป ตามวัตถุประสงคต์ ามมาตรา ๔ วรรคสอง และตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๔) กาหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐเพ่ือประโยชน์ในการบริหารงานและ การใหบ้ รกิ ารภาครฐั ผ่านระบบดจิ ทิ ลั (๕) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการจัดให้มีหรือปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องเพ่ือให้เป็นไป ตามเป้าหมายและวัตถุประสงคต์ ามมาตรา ๔ และอาจเสนอตอ่ ผูร้ ักษาการตามกฎหมายในการพิจารณา ยกเว้นหรือลดค่าธรรมเนียม ค่าบริการ ค่าปรับ หรือค่าใช้จ่ายอื่นใด เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการ ให้เป็นไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องพระราชบัญญตั นิ ้ี (๖) ให้คาแนะนาหรือข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานของรัฐในการดาเนินการตามแผนพัฒนา รฐั บาลดจิ ิทลั และตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ (๗) กากับและติดตามใหห้ นว่ ยงานของรัฐมกี ารดาเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามแผนพฒั นารัฐบาลดิจิทัล รวมทั้งเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้มีการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และโครงการในแผน ดงั กล่าว 248 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๖บ๑กษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๘) กากับและติดตามการดาเนินงานของศูนย์แลกเปล่ียนข้อมูลกลาง และศูนย์กลางข้อมูลเปิด ภาครฐั (๙) ออกระเบียบหรือประกาศเพ่ือใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญัติน้ี (๑๐)ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามท่ีนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย หรือตามที่มีกฎหมาย กาหนดให้เป็นหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัล เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดเพื่อปฏบิ ตั ิการตามที่คณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัลมอบหมาย แผนพฒั นารฐั บาลดิจทิ ัลตาม (๑) และการกาหนดมาตรฐาน ขอ้ กาหนด และหลกั เกณฑต์ าม (๓) และระเบียบหรอื ประกาศตาม (๙) เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้ มาตรา ๘ ธรรมาภิบาลขอ้ มูลภาครัฐตามมาตรา ๗ (๒) อยา่ งน้อยต้องประกอบด้วย (๑) การกาหนดสิทธิ หน้าท่ี และความรบั ผิดชอบในการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลของหน่วยงานของรฐั รวมถึงสิทธแิ ละหนา้ ท่ขี องผู้ครอบครองหรอื ควบคุมข้อมูลดังกลา่ วในทุกข้ันตอน (๒) การมรี ะบบบรหิ ารและกระบวนการจดั การและคุม้ ครองข้อมลู ทคี่ รบถ้วน ตัง้ แตก่ ารจัดทา การจัดเกบ็ การจาแนกหมวดหมู่ การประมวลผลหรือใชข้ อ้ มูล การปกปดิ หรือเปิดเผยขอ้ มูล การตรวจสอบ และการทาลาย (๓) การมีมาตรการในการควบคุมและพัฒนาคุณภาพข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน พร้อมใช้งาน เป็นปัจจุบัน สามารถบูรณาการและมีคุณสมบัติแลกเปลี่ยนกันได้ รวมท้ัง มีการวัดผลการบริหารจัดการข้อมูลเพ่ือให้หน่วยงานของรัฐมีข้อมูลที่มีคุณภาพและต่อยอดนวัตกรรม จากการใช้ข้อมลู ได้ (๔) การกาหนดนโยบายหรือกฎเกณฑ์การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ชัดเจนและ มีระบบบรหิ ารจดั การ รวมท้ังมีมาตรการและหลักประกนั ในการคุ้มครองข้อมูลท่ีอยู่ในความครอบครอง ให้มีความมนั่ คงปลอดภยั และมใิ หข้ อ้ มูลสว่ นบคุ คลถกู ละเมดิ (๕) การจัดทาคาอธิบายชุดข้อมลู ดิจิทัลของภาครัฐ เพื่อให้ทราบรายละเอียดเก่ียวกับโครงสร้าง ของข้อมลู เน้ือหาสาระ รปู แบบการจัดเกบ็ แหล่งขอ้ มูล และสิทธิในการเข้าถึงขอ้ มูล มาตรา ๙ ให้ประธานกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หรือ อนุกรรมการและบุคคลซึ่งคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลแต่งตั้งได้รับเบ้ียประชุมหรือค่าตอบแทน ตามหลักเกณฑท์ ่ีคณะรฐั มนตรกี าหนด สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 249

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๖๒ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา ๑๐ ให้สานกั งานทาหน้าท่ีอานวยการและสนับสนุนการปฏบิ ตั ิงานตามที่คณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลมอบหมาย รวมทั้งรับผิดชอบงานธุรการและวิชาการของคณะกรรมการพัฒนา รัฐบาลดิจิทลั และใหส้ านกั งานดาเนินการดังตอ่ ไปนี้ดว้ ย (๑) จัดทาร่างแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลตามแนวทางที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกาหนด และร่างมาตรฐาน ข้อกาหนด และหลักเกณฑ์ตามมาตรา ๗ (๓) เสนอคณะกรรมการพัฒนารัฐบาล ดจิ ทิ ัล (๒) ประสานงาน แนะนา และให้ความช่วยเหลือแก่หน่วยงานของรัฐในการดาเนินการ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลตามมาตรา ๗ (๑) และมาตรฐาน ข้อกาหนด และหลักเกณฑ์ ตามมาตรา ๗ (๓) และตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ (๓) สารวจ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และวิจัย เพื่อจัดทาตัวช้ีวัด ดัชนีสนั บสนุน การพฒั นารฐั บาลดิจทิ ัลเสนอตอ่ คณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัล (๔) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลตามมาตรา ๗ (๑) มาตรฐาน ข้อกาหนด และหลักเกณฑ์ตามมาตรา ๗ (๓) และแผนปฏบิ ัตกิ ารหรือแผนงานของหน่วยงาน ของรฐั ตามมาตรา ๕ วรรคสาม เพ่อื รายงานผลตอ่ คณะกรรมการพฒั นารฐั บาลดิจทิ ลั (๕) สนบั สนนุ การเช่อื มโยงบรกิ ารดจิ ทิ ลั ของหน่วยงานของรฐั ใหเ้ กดิ บริการสาธารณะแบบเบ็ดเสร็จ ตามท่คี ณะกรรมการพัฒนารฐั บาลดจิ ิทลั กาหนด เพื่ออานวยความสะดวกใหแ้ ก่ประชาชน (๖) สง่ เสริมและสนบั สนนุ การใหบ้ รกิ ารทางวิชาการและความรเู้ กี่ยวกับระบบดจิ ทิ ัลเพอื่ ยกระดับ ทักษะความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่ของรัฐเพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าท่ีและดาเนินการ ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ (๗) ปฏิบัติหนา้ ทอี่ นื่ ตามท่ีคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดิจทิ ัลกาหนด มาตรา ๑๑ เพื่อประโยชนใ์ นการบริหารงานภาครฐั และการบรกิ ารประชาชนในรปู แบบและ ช่องทางดิจิทัล ในกรณีที่กฎหมาย กฎ หรือระเบียบใดกาหนดให้ผู้ขอรับอนุมัติ อนุญาต หรือ ใบอนุญาต หรือผูย้ ืน่ ขอจดทะเบียนหรอื จดแจ้ง หรอื ผแู้ จ้ง ต้องใช้เอกสารหรือหลกั ฐานของทางราชการ ท่ีหน่วยงานของรัฐออกให้ เพื่อประกอบการพิจารณาหรือดาเนินการตามกฎหมาย กฎ หรือระเบียบ ให้ผู้มีอานาจอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต รับจดทะเบียน รับจดแจ้ง หรือรับแจ้งนั้น ดาเนินการ ให้หน่วยงานของรัฐที่ออกเอกสารหรือหลักฐานของราชการเช่นว่านั้น ส่งข้อมูลหรือสาเนาเอกสารหรือ หลักฐานดังกลา่ วผ่านช่องทางดจิ ิทลั มาเพื่อประกอบการพิจารณาหรือดาเนนิ การตามกฎหมาย กฎ หรือ ระเบยี บดงั กลา่ ว ในการน้ี หา้ มมิใหเ้ รยี กเกบ็ ค่าใชจ้ ่ายท่ีเกิดจากการทาสาเนาดังกล่าวจากหนว่ ยงานของรัฐ ทข่ี อเอกสาร เวน้ แตก่ ฎหมาย กฎ หรอื ระเบยี บดังกล่าวกาหนดไวเ้ ปน็ อย่างอื่น 250 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๖บ๓กษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ในกรณีที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลดิจิทัลจากหนว่ ยงานของรฐั ที่เกี่ยวขอ้ งตามวรรคหนึง่ แล้ว ให้ถือว่า ไดม้ กี ารย่ืนเอกสารหรือหลักฐานมาแสดงตามกฎหมายของหน่วยงานของรฐั นัน้ แล้ว มาตรา ๑๒ เพื่อให้การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัลเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๔ และเกิดการบูรณาการร่วมกัน ให้หน่วยงานของรฐั จัดทาธรรมาภิบาล ข้อมูลภาครัฐในระดับหน่วยงาน และดาเนินการดังต่อไปนี้ให้เป็นไปตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ตามมาตรา ๘ (๑) จัดทาข้อมูลตามภารกิจให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลดิจิทัล โดยเป็นข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ เช่ือถือได้ และสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน สามารถแลกเปลี่ยนกับ หนว่ ยงานของรฐั แห่งอื่นและนาไปประมวลผลต่อไปได้ (๒) จัดทากระบวนการหรือการดาเนินงานทางดิจิทัลเพื่อการบริหารราชการแผ่นดินและ การให้บริการประชาชน กระบวนการหรือการดาเนินงานทางดิจิทัลน้ันต้องทางานร่วมกันไดต้ ามมาตรฐาน ข้อกาหนด และหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกาหนด เพื่อให้มีความสอดคล้องและ เช่ือมโยงระหว่างหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นได้ โดยมุ่งเน้นถึงการอานวยความสะดวกและการเข้าถึงของ ประชาชนทีเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานและมกี ารบูรณาการข้อมลู ระหว่างหน่วยงานของรัฐเป็นสาคัญ (๓) จัดให้มีระบบการชาระเงินทางดิจิทัลอีกช่องทางหนึ่ง กรณีที่มีกฎหมายกาหนดให้ หนว่ ยงานของรฐั สามารถเรยี กเก็บเงนิ ค่าธรรมเนียม ค่าบรกิ าร คา่ ปรับ หรือค่าใช้จา่ ยอนื่ ใดจากประชาชน จากการให้บริการของหน่วยงานของรัฐนั้น และอาจตกลงกับหน่วยงานของรัฐแห่งอ่ืนให้จัดเก็บเงิน ดงั กล่าวแทนได้ (๔) จัดให้มรี ะบบการพสิ ูจน์และยนื ยนั ตวั ตนทางดิจทิ ลั เพ่ือประโยชนใ์ นการอานวยความสะดวก ในการบริการประชาชน ซ่งึ มมี าตรฐานและแนวทางที่สอดคล้องกันตามทค่ี ณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กาหนด (๕) จัดให้มีมาตรการหรือระบบรักษาความม่ันคงปลอดภัยในการเขา้ สู่บรกิ ารดจิ ิทัลของหนว่ ยงาน ของรัฐ เพ่ือให้มีความพร้อมใช้ น่าเช่ือถือ และสามารถตรวจสอบได้ โดยอย่างน้อยต้องจัดให้มี ระบบป้องกันหรือรับมือกับภัยคุกคามหรือความเส่ียงทางไซเบอร์ตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความมั่นคง ปลอดภยั ไซเบอร์ (๖) จัดให้มีการพัฒนาทักษะบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้ความสามารถในการดาเนินงาน ด้านการบรหิ ารงานและการให้บริการภาครัฐผา่ นระบบดจิ ทิ ัล ใหเ้ ป็นไปตามแผนพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 251

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๖๔ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๗) ให้มกี ารทบทวนแผนปฏิบตั กิ ารหรอื แผนงาน นโยบาย และแนวปฏิบตั เิ กย่ี วกับการบรหิ ารงาน และการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัลของหน่วยงานของรัฐ โดยต้องจัดให้มีการประเมินผล การดาเนินงานตามแผน นโยบาย และแนวปฏิบตั ิดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ อย่างน้อยปีละหน่ึงครัง้ การจัดทาข้อมลู ให้อยู่ในรูปแบบขอ้ มลู ดิจิทลั ตาม (๑) ให้เป็นไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ท่คี ณะกรรมการพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัลกาหนด กรณีหน่วยงานของรัฐจะจัดทาข้อมูลดิจิทัลตาม (๑) เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานของ หน่วยงานของตน หากมีหน่วยงานของรัฐแห่งอ่ืนซ่ึงมีหน้าท่ีและอานาจรับผิดชอบในการจัดทาหรือ รวบรวมข้อมูลดิจิทัลน้ันไว้เป็นข้อมูลหลักในเร่ืองดังกล่าวแล้วไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน ให้หน่วยงาน ของรัฐดังกล่าวจัดให้มีการเช่ือมโยงและแลกเปล่ียนข้อมูลดิจิทัลน้ันระหว่างกันโดยไม่จาต้องจัดทา ข้อมูลขึ้นใหม่ทั้งหมด โดยคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอาจวางระเบียบในการดาเนินการดังกลา่ ว ท้ังน้ี ภายใต้ธรรมาภิบาลขอ้ มูลภาครัฐ มาตรา ๑๓ เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดินและการให้บริการประชาชน ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลท่ีมีการจัดทาและครอบครองตามท่ี หน่วยงานของรฐั แห่งอ่นื ร้องขอ ท่จี ะเกิดการบูรณาการรว่ มกนั มาตรา ๑๔ หน่วยงานของรัฐผู้รับข้อมูลดิจิทลั ตามมาตรา ๑๓ ต้องใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ในหน้าที่และอานาจของตนเท่านัน้ และต้องดูแลรักษาข้อมลู ให้มีความม่ันคงปลอดภัย ไม่มีการเปิดเผย หรือโอนข้อมูลไปยงั บุคคลทไ่ี ม่มีสิทธเิ ขา้ ถึงข้อมูล มาตรา ๑๕ ให้มศี ูนยแ์ ลกเปล่ยี นข้อมูลกลางทาหน้าทเี่ ปน็ ศูนย์กลางในการแลกเปลยี่ นขอ้ มูล ดิจิทัลและทะเบียนดิจิทัลระหว่างหน่วยงานของรัฐ เพื่อสนับสนุนการดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ ในการใหบ้ ริการประชาชนผา่ นระบบดจิ ทิ ลั และดาเนินการในเรอ่ื งดังตอ่ ไปน้ี (๑) กาหนดนโยบายและมาตรฐานเก่ียวกับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลเสนอต่อ คณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดิจิทลั ใหค้ วามเห็นชอบ (๒) ประสานและให้ความช่วยเหลือแก่หน่วยงานของรฐั ในการเช่ือมโยงและแลกเปล่ียนขอ้ มลู ดจิ ิทัลระหวา่ งกัน รวมท้ังกากับตดิ ตามใหก้ ารดาเนินการดงั กล่าวเปน็ ไปในแนวทางและมาตรฐานเดยี วกนั ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขท่คี ณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทลั กาหนด (๓) จัดทาคาอธิบายชุดข้อมูลดิจิทัลของภาครัฐ และจัดเก็บบันทึกหลักฐานของการเชื่อมโยง และแลกเปลีย่ นข้อมลู ดจิ ิทลั (๔) เรอ่ื งอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดจิ ทิ ลั มอบหมาย 252 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๖บ๕กษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑๖ ภายใต้บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในกรณี ทีห่ นว่ ยงานของรัฐไดม้ าซง่ึ ขอ้ มูลสว่ นบุคคลหรอื มขี ้อมลู ส่วนบคุ คลอยู่ในความครอบครอง หากหนว่ ยงาน ของรัฐประสงค์จะใช้ข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลเพ่ือประโยชน์ในการบริหาร ราชการแผ่นดิน หน่วยงานของรัฐน้ันสามารถขอเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนบุคคลน้ันจาก หน่วยงานของรฐั ทค่ี รอบครองเพื่อนามาวเิ คราะหห์ รือประมวลผลได้ มาตรา ๑๗ ให้หน่วยงานของรัฐจัดทาข้อมูลที่ต้องเปิดเผยตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูล ข่าวสารของราชการในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ โดยต้องให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ อยา่ งเสรีโดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย และสามารถนาไปเผยแพร่ ใชป้ ระโยชน์ หรอื พฒั นาบริการและนวตั กรรม ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ท้ังน้ี มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลกาหนด ซ่ึงต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนใน การเข้าถงึ ข้อมูล มาตรา ๑๘ เพื่ออานวยความสะดวกในการให้บริการแก่ประชาชนและการดาเนินงานของ หนว่ ยงานของรฐั ผา่ นระบบดจิ ิทัล ใหม้ ีศูนยก์ ลางข้อมูลเปิดภาครฐั ในสานักงานทาหนา้ ที่ในการประสานงาน ใหห้ น่วยงานของรฐั จดั ส่งหรอื เชื่อมโยงข้อมูลตามมาตรา ๑๗ และเปดิ เผยแก่ประชาชน ให้คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลกาหนดประเภท รูปแบบ และมาตรฐานของข้อมูล ท่ีเปิดเผยแก่ประชาชนโดยศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ ท้ังน้ี ต้องเป็นแนวทางและมาตรฐานเดียวกัน รวมทง้ั สอดคล้องกับหลักการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นสากล มาตรา ๑๙ ในวาระเริ่มแรก ให้สานักงานดาเนินการให้มีศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกลาง ตามมาตรา ๑๕ เป็นการชัว่ คราวแตไ่ มเ่ กนิ สองปี เม่อื ครบกาหนดระยะเวลาดงั กลา่ ว ให้คณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลพิจารณาความจาเป็นและเหมาะสมเก่ียวกับหน่วยงานของรัฐที่จะมาดาเนินการเก่ียวกับ ศูนย์แลกเปล่ียนข้อมูลกลาง ทั้งนี้ ในกรณีที่คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเห็นควรให้หน่วยงาน ของรฐั แหง่ อื่นใดทาหน้าท่แี ทนสานักงาน ใหเ้ สนอแนวทางการดาเนินการ การโอนภารกจิ งบประมาณ ทรัพย์สินและหน้ีสิน ภาระผูกพัน และบุคลากรไปยังหน่วยงานของรัฐแห่งอ่ืนนั้นต่อคณะรัฐมนตรี เพ่ือพิจารณา มาตรา ๒๐ ใหน้ ายกรัฐมนตรีรกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 253

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๖บ๖กษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีความก้าวหน้า และเป็นส่วนหน่ึงในวิถีชีวิตและการประกอบธุรกิจของประชาชน ซ่ึงในการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐ ท่ีผ่านมายังมิได้นาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ได้อย่างเต็มที่ และโดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้มีการปฏิรูปประเทศด้านการบริหาร ราชการแผ่นดิน โดยให้มีการนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการจัดทา บริการสาธารณะ และให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกันเพ่ือให้ เป็นระบบข้อมลู เพ่อื ประโยชน์ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดินและเพื่ออานวยความสะดวกให้แกป่ ระชาชน สมควร ใหม้ กี ฎหมายในการขับเคล่ือนให้เกิดการปฏริ ปู การบริหารราชการแผ่นดนิ และการบริการประชาชนตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนญู และเพ่ือยกระดับการบริหารงานและการให้บรกิ ารภาครัฐให้อยู่ในระบบดิจทิ ัล อันจะนาไปสู่ การเป็นรัฐบาลดิจิทัลท่ีมีระบบการทางานและข้อมูลเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานของรัฐอย่างม่ันคงปลอดภัย มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว เปิดเผยและโปร่งใส รวมท้ังประชาชนได้รับความสะดวกในการรับบริการและสามารถ ตรวจสอบการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานของรฐั ได้ จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญัตินี้ 254 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 255

256 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

พระราชบญั ญัติ วาดว ยการกระทําความผิดเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ (ฉบบั แกไ ขเพม่ิ เติม) สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 257

ชื่อกฎหมาย พระราชบัญญตั ิวา ดวยการกระทำความผดิ เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ (ฉบับแกไขเพิ่มเติม) ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๔ / ตอนท่ี ๒๗ ก / หนา ๔ / วนั ท่ี ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๐ เริม่ บังคับใช วนั ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ผูรักษาการ รัฐมนตรีวา การกระทรวงดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม แกไ ขเพ่มิ เติมโดย  พระราชบญั ญัตวิ าดว ยการกระทำความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐  ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา : เลม ๑๓๔ / ตอนท่ี ๑๐ ก / หนา ๒๔ / วันท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐  เริม่ บังคบั ใช : วนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ 258 สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

พระราชบัญญัติ วาดวยการกระทำความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๑๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เปน ปท ่ี ๖๒ ในรัชกาลปจ จุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหป ระกาศวา โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคำแนะนำและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกำหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรที่เชื่อมการทำงาน เขาดวยกัน โดยไดมีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณ ทำหนาที่ประมวลผลขอมลู โดยอัตโนมัติ “ขอมูลคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูล ขอความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู ในระบบคอมพิวเตอรในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได และใหหมายความรวมถึงขอมูล อเิ ลก็ ทรอนกิ สต ามกฎหมายวา ดวยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกสดว ย “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของระบบ คอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกำเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรอื อน่ื ๆ ท่เี กี่ยวของกบั การติดตอ ส่ือสารของระบบคอมพิวเตอรน ้ัน ๑ ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๒๔/ตอนท่ี ๒๗ ก/หนา ๔/๑๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๐ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 259

“ผูใหบรกิ าร” หมายความวา (๑) ผูใหบริการแกบุคคลอ่ืนในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดยประการอ่ืน โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน ของบุคคลอ่นื (๒) ผใู หบรกิ ารเกบ็ รักษาขอ มลู คอมพวิ เตอรเพ่ือประโยชนข องบคุ คลอ่ืน “ผูใชบรกิ าร” หมายความวา ผใู ชบ รกิ ารของผใู หบริการไมว าตอ งเสยี คา ใชบริการหรอื ไมก ็ตาม “พนักงานเจา หนา ที่” หมายความวา ผซู ึ่งรัฐมนตรแี ตง ตง้ั ใหปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัติน้ี “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผรู ักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี มาตรา ๔๒ ใหร ฐั มนตรีวา การกระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหม ีอำนาจแตงตงั้ พนักงานเจาหนา ทีก่ บั ออกกฎกระทรวงและประกาศเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี กฎกระทรวงและประกาศนนั้ เมือ่ ไดประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว ใหใชบังคบั ได หมวด ๑ ความผดิ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและ มาตรการนั้นมิไดมีไวสำหรับตน ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำ ทง้ั ปรับ มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทำขึ้นเปนการเฉพาะ ถานำมาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจำคุก ไมเ กนิ หนึ่งป หรือปรับไมเ กนิ สองหม่ืนบาท หรือทัง้ จำท้ังปรบั มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและ มาตรการนั้นมิไดมีไวสำหรับตน ตองระวางโทษจำคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ มาตรา ๘ ผูใดกระทำดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไว ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไว เพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลทั่วไปใชประโยชนได ตองระวางโทษจำคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกิน หกหม่ืนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ๒ มาตรา ๔ แกไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตวิ าดวยการกระทำความผดิ เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 260 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

มาตรา ๙ ผูใดทำใหเสียหาย ทำลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือ ทั้งจำท้ังปรับ มาตรา ๑๐ ผูใดกระทำดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอร ของผูอื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทำงานตามปกติได ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน หาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจำทั้งปรับ มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่นโดยปกปดหรือ ปลอมแปลงแหลงที่มาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของบุคคลอื่น โดยปกติสขุ ตองระวางโทษปรบั ไมเ กนิ หนง่ึ แสนบาท ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่นอันมีลักษณะเปน การกอใหเกิดความเดือดรอนรำคาญแกผูรับขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส โดยไมเปดโอกาส ใหผูรับสามารถบอกเลิกหรือแจงความประสงคเพื่อปฏิเสธการตอบรับไดโดยงาย ตองระวางโทษปรับไมเกิน สองแสนบาท๓ ใหรัฐมนตรีออกประกาศกำหนดลักษณะและวิธีการสง รวมทั้งลักษณะและปริมาณของขอมูล คอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส ซึ่งไมเปนการกอใหเกิดความเดือดรอนรำคาญแกผูรับและ ลกั ษณะอนั เปน การบอกเลกิ หรือแจงความประสงคเ พ่ือปฏิเสธการตอบรับไดโดยงา ย๔ มาตรา ๑๒๕ ถาการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ หรือมาตรา ๑๑ เปน การกระทำตอขอมลู คอมพวิ เตอรหรือระบบคอมพิวเตอรที่เก่ียวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศหรือโครงสรางพื้นฐานอันเปนประโยชน สาธารณะ ตอ งระวางโทษจำคุกต้ังแตห นงึ่ ปถ งึ เจ็ดป และปรบั ตงั้ แตส องหมน่ื บาทถงึ หนง่ึ แสนสห่ี มนื่ บาท ถาการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเปนเหตุใหเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือ ระบบคอมพวิ เตอรดงั กลา ว ตองระวางโทษจำคุกตัง้ แตห นึ่งปถ งึ สบิ ป และปรบั ตง้ั แตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท ถาการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ เปนการกระทำตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือ ระบบคอมพิวเตอรตามวรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจำคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหกหมื่นบาทถึง สามแสนบาท ถาการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสามโดยมิไดมีเจตนาฆา แตเปนเหตุใหบุคคลอื่น ถึงแกความตาย ตองระวางโทษจำคุกตั้งแตหาปถึงย่ีสิบป และปรับตั้งแตหน่ึงแสนบาทถึงสี่แสนบาท ๓ มาตรา ๑๑ วรรคสอง เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติวาดว ยการกระทำความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔ มาตรา ๑๑ วรรคสาม เพิม่ โดยพระราชบัญญัตวิ าดว ยการกระทำความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๕ มาตรา ๑๒ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั วิ าดว ยการกระทำความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 261

มาตรา ๑๒/๑๖ ถาการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ เปนเหตุใหเกิดอันตราย แกบุคคลอ่ืนหรือทรัพยสินของผูอื่น ตองระวางโทษจำคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองแสนบาท ถาการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ โดยมิไดมีเจตนาฆา แตเปนเหตุใหบุคคลอ่ืน ถึงแกความตาย ตอ งระวางโทษจำคกุ ตั้งแตหา ปถ ึงย่สี บิ ป และปรับตัง้ แตห นึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท มาตรา ๑๓ ผูใดจำหนายหรือเผยแพรชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใชเปนเครื่องมือ ในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจำคกุ ไมเกินหนงึ่ ป หรือปรบั ไมเ กินสองหม่ืนบาท หรอื ทง้ั จำท้ังปรบั ผูใดจำหนายหรือเผยแพรชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใชเปนเครื่องมือในการกระทำ ความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรอื วรรคสาม ตอ งระวางโทษจำคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินส่หี ม่ืนบาทหรือ ทั้งจำท้ังปรบั ๗ ผูใดจำหนายหรือเผยแพรชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใชเปนเครื่องมือในการกระทำ ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ หากผูนำไปใชได กระทำความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หรือตองรับผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคสองหรือวรรคสี่ หรือมาตรา ๑๒/๑ ผูจำหนายหรือเผยแพรชุดคำสั่งดังกลาวจะตองรับผิดทางอาญาตามความผิดที่มีกำหนดโทษ สงู ขึน้ ดวย ก็เฉพาะเม่ือตนไดรหู รืออาจเล็งเหน็ ไดวา จะเกดิ ผลเชนที่เกิดข้นึ นั้น๘ ผูใ ดจำหนายหรือเผยแพรชุดคำส่ังที่จัดทำขน้ึ โดยเฉพาะเพื่อนำไปใชเปนเคร่ืองมือในการกระทำความผิด ตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรอื วรรคสาม หากผนู ำไปใชไดก ระทำความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนง่ึ หรอื วรรคสาม หรือตองรับผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคสองหรือวรรคสี่ หรือมาตรา ๑๒/๑ ผูจำหนายหรือเผยแพรชุดคำสั่งดังกลาว ตอ งรบั ผดิ ทางอาญาตามความผิดทม่ี ีกำหนดโทษสูงขน้ึ น้ันดวย๙ ในกรณีท่ผี จู ำหนา ยหรือเผยแพรชดุ คำสั่งผูใดตองรบั ผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง และตามวรรคสาม หรอื วรรคส่ดี วย ใหผูน้นั ตองรบั โทษทม่ี ีอตั ราโทษสูงท่สี ดุ แตกระทงเดยี ว๑๐ มาตรา ๑๔๑๑ ผูใดกระทำความผิดที่ระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหาปหรือปรับไมเกิน หน่ึงแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรบั (๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นำเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่บิดเบือนหรือ ปลอมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหาย แกประชาชน อันมิใชการกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา ๖ มาตรา ๑๒/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัตวิ าดว ยการกระทำความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๗ มาตรา ๑๓ วรรคสอง เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั ิวาดว ยการกระทำความผิดเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๘ มาตรา ๑๓ วรรคสาม เพ่มิ โดยพระราชบัญญัติวา ดว ยการกระทำความผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๙ มาตรา ๑๓ วรรคส่ี เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัติวา ดว ยการกระทำความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๐ มาตรา ๑๓ วรรคหา เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัติวาดวยการกระทำความผิดเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๑ มาตรา ๑๔ แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตวิ า ดว ยการกระทำความผดิ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 262 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

(๒) นำเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะ เกิดความเสียหายตอการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงใน ทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสรางพื้นฐานอันเปนประโยชนสาธารณะของประเทศ หรือกอใหเกิด ความตืน่ ตระหนกแกป ระชาชน (๓) นำเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง แหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกยี่ วกบั การกอ การรายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นำเขาสูร ะบบคอมพิวเตอรซง่ึ ขอมลู คอมพิวเตอรใด ๆ ทีม่ ีลักษณะอนั ลามกและขอมลู คอมพิวเตอร น้ันประชาชนท่วั ไปอาจเขาถึงได (๕) เผยแพรหรือสงตอซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรโดยรูอยูแลววาเปนขอมูลคอมพิวเตอรตาม (๑) (๒) (๓) หรอื (๔) ถาการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง (๑) มิไดกระทำตอประชาชน แตเปนการกระทำตอบุคคลใด บุคคลหนึ่ง ผูกระทำ ผูเผยแพรหรือสงตอซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรดังกลาวตองระวางโทษจำคุกไมเกินสามปหรือ ปรับไมเ กินหกหมน่ื บาท หรือทั้งจำท้ังปรบั และใหเปน ความผิดอันยอมความได มาตรา ๑๕๑๒ ผูใหบริการผูใดใหความรวมมือ ยินยอม หรือรูเห็นเปนใจใหมีการกระทำความผิด ตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอรที่อยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทำความผิด ตามมาตรา ๑๔ ใหรัฐมนตรีออกประกาศกำหนดขั้นตอนการแจงเตือน การระงับการทำใหแพรหลาย ของขอ มูลคอมพวิ เตอร และการนำขอ มูลคอมพวิ เตอรน้ันออกจากระบบคอมพวิ เตอร ถาผูใหบริการพิสูจนไดวาตนไดปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามวรรคสอง ผูนั้นไมตอง รบั โทษ มาตรา ๑๖๑๓ ผูใดนำเขาสูระบบคอมพิวเตอรที่ประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงไดซึ่งขอมูลคอมพิวเตอร ที่ปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่นาจะทำใหผูอื่นนั้นเสียช่ือเสียง ถูกดูหมิ่นถูกเกลยี ดชงั หรือ ไดร บั ความอับอาย ตองระวางโทษจำคุกไมเ กินสามป และปรบั ไมเ กนิ สองแสนบาท ถาการกระทำตามวรรคหนึ่งเปนการกระทำตอภาพของผูตาย และการกระทำนั้นนาจะทำใหบิดา มารดา คูสมรส หรือบุตรของผูตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ผูกระทำ ตองระวางโทษดังทบ่ี ัญญัตไิ วใ นวรรคหน่งึ ถาการกระทำตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เปนการนำเขาสูระบบคอมพิวเตอรโดยสุจริต อันเปน การติชมดว ยความเปนธรรม ซ่งึ บคุ คลหรือส่งิ ใดอนั เปนวสิ ัยของประชาชนยอมกระทำ ผูกระทำไมมคี วามผิด ๑๒ มาตรา ๑๕ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั วิ า ดว ยการกระทำความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๓ มาตรา ๑๖ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญตั วิ าดวยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 263

ความผิดตามวรรคหนึง่ และวรรคสองเปน ความผิดอนั ยอมความได ถาผเู สียหายในความผดิ ตามวรรคหน่งึ หรือวรรคสองตายเสียกอนรอ งทุกข ใหบ ดิ า มารดา คสู มรส หรือ บตุ รของผเู สียหายรอ งทกุ ขไ ด และใหถือวา เปนผเู สียหาย มาตรา ๑๖/๑๑๔ ในคดีความผิดตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๖ ซึ่งมีคำพิพากษาวา จำเลยมีความผิด ศาลอาจสง่ั (๑) ใหท ำลายขอ มูลตามมาตราดงั กลา ว (๒) ใหโฆษณาหรือเผยแพรคำพิพากษาทั้งหมดหรือแตบางสวนในสื่ออิเล็กทรอนิกสวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน หนังสือพิมพ หรือสื่ออ่ืนใด ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยใหจำเลยเปนผูชำระคาโฆษณา หรือเผยแพร (๓) ใหดำเนนิ การอื่นตามท่ีศาลเหน็ สมควรเพ่ือบรรเทาความเสยี หายที่เกิดขน้ึ จากการกระทำความผิดน้ัน มาตรา ๑๖/๒๑๕ ผูใดรูวาขอมูลคอมพิวเตอรในความครอบครองของตนเปนขอมูลที่ศาลส่ังใหท ำลาย ตามมาตรา ๑๖/๑ ผูนั้นตองทำลายขอมูลดังกลาว หากฝาฝนตองระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่บัญญัติไว ในมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๖ แลวแตกรณี มาตรา ๑๗ ผูใดกระทำความผดิ ตามพระราชบัญญัตินน้ี อกราชอาณาจกั รและ (๑) ผูกระทำความผิดนั้นเปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศที่ความผิดไดเกิดขึ้นหรือผูเสียหาย ไดร อ งขอใหลงโทษ หรอื (๒) ผูกระทำความผิดนั้นเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสียหายและผูเสียหาย ไดร องขอใหลงโทษ จะตองรับโทษภายในราชอาณาจกั ร มาตรา ๑๗/๑๑๖ ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๓ วรรคหน่ึง มาตรา ๑๖/๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๗ ใหคณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแตงตั้งมีอำนาจ เปรยี บเทยี บได คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแตงตั้งตามวรรคหนึ่งใหมีจำนวนสามคนซึ่งคนหน่ึง ตองเปนพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบไดทำการเปรียบเทียบกรณีใดและผูตองหาไดชำระเงินคาปรับ ตามคำเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกำหนดแลว ใหถือวาคดีนั้นเปนอันเลิกกัน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑๔ มาตรา ๑๖/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติวาดว ยการกระทำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๕ มาตรา ๑๖/๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดว ยการกระทำความผิดเกย่ี วกับคอมพิวเตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๖ มาตรา ๑๗/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวาดว ยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 264 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

ในกรณีท่ผี ูตองหาไมชำระเงนิ คา ปรับภายในระยะเวลาทก่ี ำหนด ใหเรม่ิ นบั อายคุ วามในการฟองคดีใหม นับตง้ั แตว ันท่ีครบกำหนดระยะเวลาดังกลาว หมวด ๒ พนกั งานเจา หนา ท่ี มาตรา ๑๘๑๗ ภายใตบังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชนในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุ อันควรเชื่อไดวามีการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือในกรณีที่มีการรองขอตามวรรคสองใหพนักงาน เจาหนาที่มีอำนาจอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ เฉพาะที่จำเปนเพื่อประโยชนในการใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับ การกระทำความผดิ และหาตัวผกู ระทำความผิด (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวของกับการกระทำความผิดมาเพื่อใหถอยคำ สงคำชี้แจง เปนหนงั สือ หรอื สง เอกสาร ขอ มลู หรอื หลกั ฐานอน่ื ใดทอ่ี ยใู นรปู แบบทส่ี ามารถเขา ใจได (๒) เรียกขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจากผูใหบริการเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารผานระบบ คอมพิวเตอรหรอื จากบคุ คลอื่นทเ่ี กี่ยวขอ ง (๓) สั่งใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู ในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบรกิ ารใหแ กพนักงานเจา หนาทห่ี รอื ใหเกบ็ ขอมูลดังกลา วไวก อน (๔) ทำสำเนาขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจากระบบคอมพิวเตอรที่มีเหตุอันควร เชอ่ื ไดวามีการกระทำความผดิ ในกรณที ่รี ะบบคอมพวิ เตอรน้ันยังมิไดอยใู นความครอบครองของพนักงานเจา หนา ที่ (๕) สั่งใหบุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมขอ มูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณทีใ่ ชเก็บขอมูลคอมพิวเตอร สงมอบขอมูลคอมพวิ เตอร หรืออุปกรณดังกลาวใหแกพนกั งานเจาหนา ท่ี (๖) ตรวจสอบหรือเขาถึงระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรหรือ อปุ กรณท ใ่ี ชเ กบ็ ขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด อนั เปน หลกั ฐานหรืออาจใชเปนหลักฐานเก่ียวกับการกระทำความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผูกระทำความผิดและสั่งใหบุคคลนั้นสงขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่เก่ียวของเทา ท่จี ำเปนใหด ว ยกไ็ ด (๗) ถอดรหัสลบั ของขอ มูลคอมพวิ เตอรของบุคคลใด หรือสงั่ ใหบ คุ คลที่เก่ยี วของกับการเขารหัสลับของ ขอ มลู คอมพิวเตอร ทำการถอดรหสั ลับ หรือใหค วามรวมมอื กับพนกั งานเจา หนา ท่ใี นการถอดรหัสลับดงั กลาว (๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอรเทาที่จำเปนเฉพาะเพื่อประโยชนในการทราบรายละเอียดแหง ความผิดและผูก ระทำความผดิ ๑๗ มาตรา ๑๘ แกไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั วิ าดว ยการกระทำความผิดเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 265

เพื่อประโยชนในการสืบสวนและสอบสวนของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ในบรรดาความผิดอาญาตอกฎหมายอื่นซึ่งไดใชระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอรหรืออุปกรณ ที่ใชเก็บขอมูลคอมพิวเตอรเปนองคประกอบหรือเปนสวนหนึ่งในการกระทำความผิดหรือมีขอมูลคอมพิวเตอร ที่เกี่ยวของกับการกระทำความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น พนักงานสอบสวนอาจรองขอใหพนักงานเจาหนาท่ี ตามวรรคหนึ่งดำเนินการตามวรรคหนึ่งก็ได หรือหากปรากฏขอเท็จจริงดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่เนื่องจาก การปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่รีบรวบรวมขอเท็จจริงและหลักฐานแลวแจงไปยัง เจา หนา ท่ีท่เี กี่ยวของเพ่อื ดำเนนิ การตอ ไป ใหผูไดรับการรองขอจากพนักงานเจา หนาท่ีตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) และ (๓) ดำเนินการตามคำรองขอ โดยไมชักชา แตตองไมเกินเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับคำรองขอ หรือภายในระยะเวลาที่พนักงานเจาหนาที่กำหนด ซึ่งตองไมนอยกวาเจ็ดวันและไมเกินสิบหาวัน เวนแตในกรณีที่มีเหตุสมควร ตองไดรับอนุญาตจากพนักงาน เจาหนาท่ี ทั้งนี้ รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดระยะเวลาที่ตองดำเนินการที่เหมาะสมกับ ประเภทของผูใ หบ ริการก็ได มาตรา ๑๙๑๘ การใชอำนาจของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ใหพนักงานเจาหนาที่ยื่นคำรองตอศาลที่มีเขตอำนาจเพื่อมีคำสั่งอนุญาตใหพนักงานเจาหนาที่ดำเนินการตาม คำรอง ทั้งนี้ คำรองตองระบุเหตุอันควรเชื่อไดวาบุคคลใดกระทำหรือกำลังจะกระทำการอยางหนึ่งอยางใด อันเปนความผิด เหตุที่ตองใชอำนาจ ลักษณะของการกระทำความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณที่ใช ในการกระทำความผิดและผูกระทำความผิด เทาที่สามารถจะระบุได ประกอบคำรองดวย ในการพิจารณาคำรอง ใหศ าลพิจารณาคำรอ งดังกลา วโดยเรว็ เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตแลว กอนดำเนินการตามคำสั่งของศาล ใหพนักงานเจาหนาที่สงสำเนาบันทึก เหตุอันควรเชื่อที่ทำใหตองใชอำนาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบใหเจาของหรือผูครอบครอง ระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐาน แตถาไมมีเจาของหรือผูครอบครองเครื่องคอมพิวเตอรอยู ณ ที่นั้น ใหพนักงานเจา หนา ท่สี งมอบสำเนาบันทึกน้นั ใหแ กเ จา ของหรือผูครอบครองดังกลา วในทันทีที่กระทำได ใหพนักงานเจาหนาที่ผูเปนหัวหนาในการดำเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) สงสำเนาบันทึกรายละเอียดการดำเนินการและเหตุผลแหงการดำเนินการใหศาลที่มีเขตอำนาจภายในสี่สิบแปด ชั่วโมงนับแตเวลาลงมือดำเนินการ เพอื่ เปนหลักฐาน การทำสำเนาขอมูลคอมพิวเตอรตามมาตรา ๑๘ (๔) ใหกระทำไดเฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อไดวา มีการกระทำความผดิ และตอ งไมเ ปน อุปสรรคในการดำเนนิ กจิ การของเจาของหรือผูครอบครองขอมลู คอมพวิ เตอร นนั้ เกนิ ความจำเปน การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะตองสงมอบสำเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัด มอบใหเจา ของหรือผคู รอบครองระบบคอมพวิ เตอรนน้ั ไวเ ปนหลกั ฐานแลว พนกั งานเจาหนาท่ีจะสั่งยึดหรอื อายัดไว เกินสามสบิ วนั มิได ในกรณีจำเปน ท่ีตอ งยดึ หรอื อายดั ไวน านกวา นั้น ใหย ื่นคำรอ งตอศาลทีม่ ีเขตอำนาจเพ่ือขอขยาย เวลายึดหรืออายัดได แตศาลจะอนุญาตใหขยายเวลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันไดอีกไมเกินหกสิบวัน ๑๘ มาตรา ๑๙ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญัติวา ดวยการกระทำความผิดเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 266 ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

เมื่อหมดความจำเปนที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกำหนดเวลาดังกลาวแลวพนักงานเจาหนาที่ตองสงคืนระบบ คอมพวิ เตอรทยี่ ึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน หนงั สอื แสดงการยดึ หรืออายดั ตามวรรคหาใหเ ปนไปตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐๑๙ ในกรณีที่มีการทำใหแพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอร ดังตอไปนี้ พนักงานเจาหนาที่ โดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคำรองพรอมแสดงพยานหลักฐานตอศาลที่มีเขตอำนาจขอใหมี คำสง่ั ระงบั การทำใหแพรห ลายหรอื ลบขอ มูลคอมพิวเตอรน้นั ออกจากระบบคอมพวิ เตอรได (๑) ขอมลู คอมพิวเตอรทีเ่ ปน ความผดิ ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี (๒) ขอมูลคอมพิวเตอรที่อาจกระทบกระเทือนตอความมั่นคงแหงราชอาณาจักรตามที่กำหนดไว ในภาค ๒ ลักษณะ ๑ หรอื ลกั ษณะ ๑/๑ แหงประมวลกฎหมายอาญา (๓) ขอมูลคอมพิวเตอรที่เปนความผิดอาญาตามกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญาหรือกฎหมายอ่ืน ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนและเจาหนาท่ี ตามกฎหมายน้นั หรือพนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญาไดร องขอ ในกรณีที่มกี ารทำใหแพรหลายซึ่งขอมลู คอมพวิ เตอรท ่ีมลี ักษณะขัดตอความสงบเรยี บรอยหรือศีลธรรม อันดีของประชาชน รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอรจะมอบหมายให พนักงานเจาหนาที่ยื่นคำรองพรอมแสดงพยานหลักฐานตอศาลที่มีเขตอำนาจขอใหมีคำสั่งระงับการทำให แพรหลายหรือลบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรนั้นออกจากระบบคอมพิวเตอรได ทั้งนี้ ใหนำบทบัญญัติ วาดวยคณะกรรมการที่มีอำนาจดำเนินการพิจารณาทางปกครองตามกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองมาใชบังคบั กบั การประชุมของคณะกรรมการกล่ันกรองขอมูลคอมพวิ เตอรโ ดยอนโุ ลม ใหรัฐมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอรตามวรรคสองขึ้นคณะหนึ่งหรือ หลายคณะ แตละคณะใหม ีกรรมการจำนวนเกาคนซง่ึ สามในเกาคนตองมาจากผูแทนภาคเอกชนดา นสิทธิมนุษยชน ดานสื่อสารมวลชน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือดานอื่นที่เกี่ยวของ และใหกรรมการไดรับคาตอบแทน ตามหลกั เกณฑท รี่ ัฐมนตรกี ำหนดโดยไดรบั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลัง การดำเนินการของศาลตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาใชบังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งใหระงับการทำใหแพรหลายหรอื ลบขอมูลคอมพิวเตอรตามวรรคหนง่ึ หรือวรรคสอง พนักงานเจาหนาที่จะทำการระงับการทำใหแพรหลายหรือลบขอมูลคอมพิวเตอรนั้นเองหรือ จะสั่งใหผูใหบริการระงับการทำใหแพรหลายหรือลบขอมูลคอมพิวเตอรน ั้นกไ็ ด ทั้งนี้ ใหรัฐมนตรีประกาศกำหนด หลักเกณฑ ระยะเวลา และวิธีการปฏิบัติสำหรับการระงับการทำใหแพรหลายหรือลบขอมูลคอมพิวเตอร ของพนักงานเจาหนาที่หรือผูใหบริการใหเปนไปในแนวทางเดียวกันโดยคำนึงถึงพัฒนาการทางเทคโนโลยี ท่ีเปลีย่ นแปลงไป เวนแตศาลจะมีคำสง่ั เปน อยา งอ่นื ในกรณีที่มีเหตุจำเปนเรงดวน พนักงานเจาหนาที่จะยื่นคำรองตามวรรคหนึ่งไปกอนที่จะไดรับ ความเห็นชอบจากรัฐมนตรี หรือพนักงานเจาหนาที่โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลั่นกรอง ๑๙ มาตรา ๒๐ แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิวาดวยการกระทำความผิดเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 267

ขอ มูลคอมพวิ เตอรจ ะยื่นคำรองตามวรรคสองไปกอนที่รัฐมนตรจี ะมอบหมายก็ได แตทั้งนี้ ตองรายงานใหรัฐมนตรี ทราบโดยเรว็ มาตรา ๒๑ ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่พบวา ขอมูลคอมพิวเตอรใดมีชุดคำสั่งไมพึงประสงค รวมอยูดวย พนักงานเจาหนาที่อาจยื่นคำรองตอศาลที่มีเขตอำนาจเพื่อขอใหมีคำสั่งหามจำหนายหรือ เผยแพร หรือสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นระงับการใช ทำลาย หรือแกไข ขอมูลคอมพิวเตอรนั้นได หรือจะกำหนดเงื่อนไขในการใช มีไวในครอบครอง หรือเผยแพรชุดคำสั่งไมพึงประสงค ดังกลา วกไ็ ด ชุดคำสั่งไมพึงประสงคตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคำสั่งที่มีผลทำใหขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบ คอมพิวเตอรหรือชุดคำสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกทำลาย ถูกแกไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดของหรือ ปฏิบัติงานไมตรงตามคำสั่ง หรือโดยประการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เวนแต เปนชุดคำสั่งไมพึงประสงค ที่อาจนำมาใชเพื่อปองกันหรือแกไขชุดคำสั่งดังกลาวขางตน ทั้งนี้ รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำหนดรายชื่อ ลักษณะ หรือรายละเอียดของชุดคำสั่งไมพึงประสงคซึ่งอาจนำมาใชเพื่อปองกันหรือแกไขชุดคำสงั่ ไมพงึ ประสงคกไ็ ด๒๐ มาตรา ๒๒๒๑ หามมิใหพนักงานเจาหนาที่และพนักงานสอบสวนในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง เปดเผยหรือสงมอบขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการที่ไดมา ตามมาตรา ๑๘ ใหแ กบ ุคคลใด ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับการกระทำเพื่อประโยชนในการดำเนินคดีกับผูกระทำความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้หรือผูกระทำความผิดตามกฎหมายอื่นในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสองหรือเพื่อประโยชน ในการดำเนินคดีกับพนักงานเจาหนาที่เกี่ยวกับการใชอำนาจหนาที่โดยมิชอบหรือกับพนักงานสอบสวนในสวน ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง โดยมิชอบหรอื เปนการกระทำตามคำสั่งหรือที่ไดรับอนุญาต จากศาล พนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานสอบสวนผูใดฝาฝนวรรคหนึ่งตองระวางโทษจำคุกไมเกินสามปหรือ ปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำท้ังปรับ มาตรา ๒๓๒๒ พนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานสอบสวนในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ผูใดกระทำโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูล ของผูใชบริการ ที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมืน่ บาทหรือทัง้ จำ ท้งั ปรบั ๒๐ มาตรา ๒๑ วรรคสอง แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตั วิ าดว ยการกระทำความผิดเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๑ มาตรา ๒๒ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิวาดว ยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๒ มาตรา ๒๓ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัตวิ า ดว ยการกระทำความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 268 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

มาตรา ๒๔๒๓ ผูใดลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ท่พี นกั งานเจาหนาที่หรือพนักงานสอบสวนไดมาตามมาตรา ๑๘ และเปด เผยขอมูลนั้นตอผหู น่ึงผูใด ตองระวางโทษ จำคุกไมเกนิ สองป หรือปรับไมเกนิ สี่หมน่ื บาท หรือท้ังจำทั้งปรบั มาตรา ๒๕๒๔ ขอ มลู ขอมลู คอมพิวเตอร หรือขอมลู จราจรทางคอมพิวเตอรทพ่ี นกั งานเจาหนาที่ไดมา ตามพระราชบญั ญัตินี้หรือที่พนักงานสอบสวนไดมาตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ใหอ างและรับฟงเปนพยานหลักฐาน ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันวาดวยการสืบพยานได แตต อ งเปนชนิดท่มี ิไดเ กดิ ขนึ้ จากการจูงใจ มีคำม่ันสญั ญา ขเู ขญ็ หลอกลวง หรอื โดยมชิ อบประการอน่ื มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวัน นบั แตวันท่ีขอ มลู นนั้ เขา สูระบบคอมพิวเตอร แตใ นกรณจี ำเปน พนักงานเจาหนาทจ่ี ะส่งั ใหผ ใู หบ รกิ ารผูใดเกบ็ รักษา ขอ มลู จราจรทางคอมพิวเตอรไ วเกินเกาสบิ วันแตไมเ กนิ สองปเ ปน กรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได๒๕ ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาที่จำเปนเพื่อใหสามารถระบุตัวผูใชบริการ นับตงั้ แตเรมิ่ ใชบริการและตอ งเก็บรักษาไวเปน เวลาไมน อ ยกวา เกาสบิ วันนับตง้ั แตการใชบริการสน้ิ สุดลง ความในวรรคหนึง่ จะใชกบั ผใู หบ ริการประเภทใด อยา งไร และเมื่อใด ใหเ ปน ไปตามทีร่ ฐั มนตรีประกาศ ในราชกจิ จานุเบกษา ผใู หบรกิ ารผูใดไมป ฏิบตั ติ ามมาตรานี้ ตอ งระวางโทษปรับไมเ กนิ หาแสนบาท มาตรา ๒๗ ผใู ดไมปฏบิ ัติตามคำส่ังของศาลหรือพนักงานเจาหนาท่ีทส่ี ่ังตามมาตรา ๑๘ หรอื มาตรา ๒๐ หรอื ไมป ฏบิ ัติตามคำส่ังของศาลตามมาตรา ๒๑ ตอ งระวางโทษปรับไมเกินสองแสนบาท และปรับเปนรายวันอีกไม เกนิ วนั ละหาพันบาทจนกวาจะปฏบิ ัตใิ หถ ูกตอง มาตรา ๒๘ การแตง ตั้งพนกั งานเจาหนาท่ีตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี ใหรฐั มนตรีแตง ตง้ั จากผูมีความรูและ ความชำนาญเกย่ี วกับระบบคอมพิวเตอรแ ละมีคุณสมบัติตามทรี่ ัฐมนตรีกำหนด ผูที่ไดรับการแตงตั้งเปนพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ อาจไดรับคาตอบแทนพิเศษ ตามที่รฐั มนตรกี ำหนดโดยไดร บั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลงั ๒๖ ในการกำหนดใหไดรบั คาตอบแทนพเิ ศษตองคำนึงถึงภาระหนาที่ ความรคู วามเชี่ยวชาญ ความขาดแคลน ในการหาผูมาปฏิบัติหนาที่หรือมีการสูญเสียผูปฏิบัติงานออกจากระบบราชการเปนจำนวนมากคุณภาพของงาน และการดำรงตนอยใู นความยุตธิ รรมโดยเปรียบเทียบคาตอบแทนของผูปฏิบตั งิ านอื่นในกระบวนการยตุ ธิ รรมดวย๒๗ ๒๓ มาตรา ๒๔ แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญัติวา ดว ยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๔ มาตรา ๒๕ แกไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั วิ า ดว ยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕ มาตรา ๒๖ วรรคหนง่ึ แกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัตวิ าดว ยการกระทำความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๖ มาตรา ๒๘ วรรคสอง เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั ิวา ดว ยการกระทำความผดิ เกยี่ วกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๗ มาตรา ๒๘ วรรคสาม เพ่ิมโดยพระราชบัญญตั ิวา ดว ยการกระทำความผดิ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 269

มาตรา ๒๙ ในการปฏิบตั ิหนาท่ีตามพระราชบญั ญัติน้ี ใหพ นกั งานเจาหนาทเ่ี ปน พนกั งานฝายปกครอง หรอื ตำรวจชัน้ ผใู หญต ามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญามีอำนาจรับคำรองทุกขหรือรบั คำกลาวโทษ และ มีอำนาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผดิ ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ในการจับ ควบคุม คน การทำสำนวนสอบสวนและดำเนินคดีผูกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เปนอำนาจของพนักงานฝายปกครองหรือตำรวจชั้นผูใหญ หรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา ใหพนักงานเจาหนาที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดำเนินการตาม อำนาจหนา ทีต่ อไป ใหนายกรัฐมนตรีในฐานะผูกำกับดูแลสำนักงานตำรวจแหงชาติและรัฐมนตรีมีอำนาจรวมกัน กำหนดระเบยี บเก่ยี วกับแนวทางและวธิ ีปฏบิ ตั ิในการดำเนนิ การตามวรรคสอง มาตรา ๓๐ ในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ พนกั งานเจา หนา ท่ีตอ งแสดงบัตรประจำตัวตอบุคคลซ่งึ เกี่ยวขอ ง บัตรประจำตวั ของพนักงานเจา หนา ทีใ่ หเปน ไปตามแบบท่รี ัฐมนตรปี ระกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓๑๒๘ คาใชจายในเรื่องดังตอไปนี้ รวมทั้งวิธีการเบิกจายใหเปนไปตามระเบียบที่รัฐมนตรี กำหนดโดยไดรบั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลงั (๑) การสืบสวน การแสวงหาขอ มลู และรวบรวมพยานหลกั ฐานในคดคี วามผดิ ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (๒) การดำเนินการตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) และมาตรา ๒๐ (๓) การดำเนินการอื่นใดอันจำเปนแกการปองกันและปราบปรามการกระทำความผิดตาม พระราชบญั ญตั ินี้ ผูร บั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยทุ ธ จลุ านนท นายกรัฐมนตรี ๒๘ มาตรา ๓๑ เพมิ่ โดยพระราชบัญญัตวิ าดวยการกระทำความผดิ เกีย่ วกบั คอมพิวเตอร (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 270 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

หมายเหตุ : เหตผุ ลในการประกาศใชพระราชบญั ญตั ิฉบบั นี้ คือ เนื่องจากในปจ จุบันระบบคอมพวิ เตอรไดเ ปน สวน สำคัญของการประกอบกิจการและการดำรงชวี ิตของมนุษย หากมผี กู ระทำดวยประการใด ๆ ใหร ะบบคอมพิวเตอร ไมสามารถทำงานตามคำสั่งที่กำหนดไวหรือทำใหการทำงานผิดพลาดไปจากคำส่ังที่กำหนดไว หรือใชวิธีการใด ๆ เขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทำลายขอมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ หรือใชระบบคอมพิวเตอร เพื่อเผยแพรขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกำหนดมาตรการเพ่อื ปอ งกันและปราบปรามการกระทำดงั กลา ว จึงจำเปน ตองตราพระราชบัญญตั นิ ้ี พระราชบัญญัติวาดว ยการกระทำความผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐๒๙ มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับเมื่อพนกำหนดหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป มาตรา ๒๐ บรรดาระเบียบหรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหยังคงใชบังคับตอไป เทาทีไ่ มขัดหรอื แยง กับบทบัญญัติแหงพระราชบัญญตั วิ า ดวยการกระทำความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ จนกวาจะมีระเบียบหรือประกาศที่ตองออกตามพระราชบัญญัติวาดวย การกระทำความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ซงึ่ แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิน้ี ใชบ งั คบั การดำเนินการออกระเบียบหรือประกาศตามวรรคหนึ่ง ใหดำเนินการใหแลวเสร็จภายในหกสิบวัน นับแตวนั ท่ีพระราชบัญญัตนิ ้ีใชบงั คบั หากไมสามารถดำเนินการไดใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคมรายงานเหตุผลท่ีไมอาจดำเนินการไดต อคณะรัฐมนตรีเพ่ือทราบ มาตรา ๒๑ ใหร ัฐมนตรีวา การกระทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมรกั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติวาดวยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มีบทบัญญัติบางประการที่ไมเหมาะสมตอการปองกันและ ปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรในปจจุบัน ซึ่งมีรูปแบบการกระทำความผิดที่มีความซับซอน มากขึ้นตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีซึ่งเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและโดยที่มีการจัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพ่ือ เศรษฐกิจและสังคมซึ่งมีภารกิจในการกำหนดมาตรฐานและมาตรการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร รวมท้ังการเฝาระวงั และติดตามสถานการณดา นความม่ันคงปลอดภยั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารของ ประเทศ สมควรปรับปรุงบทบัญญัติในสวนที่เกี่ยวกับผูรักษาการตามกฎหมาย กำหนดฐานความผิดขึ้นใหม และ แกไขเพิ่มเติมฐานความผิดเดิม รวมทั้งบทกำหนดโทษของความผิดดังกลาว การปรับปรุงกระบวนการและ หลักเกณฑในการระงับการทำใหแพรหลายหรือลบขอมูลคอมพิวเตอร ตลอดจนกำหนดใหมีคณะกรรมการ เปรยี บเทยี บ ซ่งึ มอี ำนาจเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญตั วิ าดว ยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร ๒๙ ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๔/ตอนที่ ๑๐ ก/หนา ๒๔/๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 271

พ.ศ. ๒๕๕๐ และแกไขเพิ่มเติมอำนาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเปนตองตรา พระราชบญั ญัตนิ ี้ 272 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 273

274 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

กฎกระทรวง กําหนดแบบหนงั สือแสดงการยึดหรืออายดั ระบบคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๑ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 275

ชอื่ กฎหมาย กฎกระทรวงกาํ หนดแบบหนงั สอื แสดงการยึดหรืออายัดระบบคอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๕ / ตอนท่ี ๘๘ ก / หนา ๔ / วนั ท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เร่มิ บังคบั ใช วนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑ 276 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๘๘ ก หนา ๔ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา กฎกระทรวง กําหนดแบบหนงั สอื แสดงการยึดหรอื อายัดระบบคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๑ อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๑๙ วรรคหก แหงพระราชบัญญัติวาดวยการ กระทําความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ อันเปนกฎหมายท่มี บี ทบัญญตั ิบางประการเกี่ยวกับ การจาํ กัดสทิ ธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๖ และมาตรา ๔๑ ของ รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รฐั มนตรวี าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารออกกฎกระทรวงไว ดังตอ ไปนี้ หนงั สอื แสดงการยดึ หรอื อายดั ระบบคอมพวิ เตอรใหเ ปนไปตามแบบ ทก.ยค. ทายกฎกระทรวงนี้ ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๒๗ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๑ มนั่ พธั โนทยั รฐั มนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 277

ทก.ยค. หนงั สือแสดงการยดึ หรอื อายัดระบบคอมพวิ เตอร เขยี นท่ี ............................................... วันท่ี .............................................................. ขา พเจา ............................................. ตําแหนง ....................................... เลขทบ่ี ตั รประจําตวั ............................................. พนักงานเจา หนาที่ผซู ่ึงรัฐมนตรีวาการกระทรวง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร แตงต้ังตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ พรอมดวยพนกั งานฝา ยปกครองหรือตาํ รวจ ดงั ตอไปนี้ (๑) ........................................................... ตาํ แหนง ......................................................... (๒) ........................................................... ตําแหนง ......................................................... ไดท าํ การยึดหรืออายัดระบบคอมพวิ เตอรต ามคําสั่งอนญุ าตใหท าํ การยึดหรอื อายดั ของศาล ........................ เลขที่ ............................ ลงวนั ท่ี .......................... เพอ่ื ประโยชนใ นการทราบรายละเอียดแหงความผิด และผกู ระทําความผดิ ตามพระราชบญั ญัตวิ า ดวยการกระทาํ ความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ สถานทย่ี ดึ หรืออายัดระบบคอมพวิ เตอร บานเลขท่ี .............................. หมทู ี่ ....................................... ตรอก/ซอย ..................................... ถนน ................................ ตําบล/แขวง ................................... อําเภอ/เขต ........................................ จังหวัด ................................................................................. ในการดําเนนิ การยดึ หรอื อายดั เนื่องจากปรากฏวา มีระบบคอมพิวเตอรท่เี ชือ่ วา ............... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... จงึ ไดยดึ หรอื อายัดไปเพือ่ ดําเนนิ การตรวจสอบ ดังมีรายการแสดงชื่อและจํานวนของส่ิงท่ียึดหรืออายัดไว ท้ังหมด .......... รายการ ตามบญั ชที ายหนังสือน้ี บรรดาระบบคอมพิวเตอรหรือหลักฐานท่ียึดหรืออายัดไปน้ี หากทานประสงค จะตรวจสอบเพอื่ ดําเนนิ กิจการของทาน ขอใหทา นติดตอไดท ี่ ............................................................... ....................................................................................................................................................... พนกั งานเจา หนา ท่ีไดส อบถามเจา ของหรือผูค รอบครองระบบคอมพวิ เตอรอ ยางสภุ าพ ไมมีการขมขู และมิไดทําใหเกิดความเสียหายหรือบุบสลายซ่ึงทรัพยสินของบุคคลที่เกี่ยวของ แตประการใด เจา ของหรอื ผคู รอบครองระบบคอมพิวเตอรไ ดอ า นขอความในหนงั สือฉบับน้ีและเขาใจ ขอความดังกลาวดีแลว จึงลงลายมือชื่อไวเปนหลักฐานรับรองวาถูกตองและเปนความจริงตอหนา พนักงานเจาหนาที่และพยานผูเขารวมยึดหรืออายัด ท้ังน้ี พนักงานเจาหนาที่ไดมอบสําเนาหนังสือ แสดงการยึดหรืออายดั น้ีใหเจาของหรอื ผูค รอบครองระบบคอมพิวเตอรแลว ลงชอื่ ............................................... พนกั งานเจา หนาทผ่ี ูยึดหรืออายัด (..............................................) ลงชอ่ื ............................................... เจา ของหรอื ผคู รอบครอง (..............................................) ลงชอ่ื ............................................... ผนู าํ ยึดหรอื อายดั (..............................................) ลงช่อื ............................................... พยานผูเขา รว มยดึ หรอื อายัด (..............................................) ลงชื่อ ............................................... พยานผเู ขารวมยดึ หรืออายัด (..............................................) ลงชอื่ ............................................... พนกั งานเจา หนาท่ีผูบนั ทึก (..............................................) 278 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

๒ ทก.ยค. บัญชแี สดงรายละเอยี ดการยึดหรอื อายัดระบบคอมพิวเตอร บัญชลี าํ ดบั ที่ ........................ ยดึ หรอื อายดั เมือ่ วนั ที่ ......................... เวลา ............... ถงึ เวลา ............. บานเลขท่ี ................. หมูท่ี ............ ตรอก/ซอย ............................ ถนน .......................................... ตาํ บล/แขวง ....................................... อาํ เภอ/เขต ................................ จังหวัด .............................. พนักงานเจา หนาทผ่ี ยู ดึ หรอื อายดั .............................................. เลขทบี่ ตั รประจาํ ตวั .......................... โดยมี ............................................................................................................. เปน ผนู าํ ยดึ หรืออายัด ลาํ ดบั ที่ รายการ จํานวน เจา ของ / ผูครอบครอง หมายเหตุ และตามบัญชรี ายละเอยี ดระบบคอมพิวเตอรท่ียึดหรอื อายดั ตอทา ยบัญชีนีอ้ ีก ........................... รายการ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 279

๓ ทก.ยค. บัญชีรายละเอียดระบบคอมพิวเตอรทย่ี ดึ หรืออายัด (ตอทา ยบญั ชีแสดงรายละเอยี ดการยดึ หรืออายดั ระบบคอมพิวเตอร) 1. ประเภทอุปกรณค อมพวิ เตอรท ี่ยดึ หรืออายัด มีจํานวนทัง้ หมด ................... เคร่อื ง ไดแ ก 1.1 ชนดิ ............................................................. ยห่ี อ ........................................................ รนุ (model) ...................................... หมายเลขเครอ่ื ง(S/N) ............................................... Case Type: □ Mini Tower □ Mid Tower □ Full Tower □ อน่ื ๆ ............................. หรอื มีเอกลักษณะเปน □ PC Stand-alone □ Server .......................... □ Client □ Workstation □ Mainframe □ อน่ื ๆ ........................................................................... ติดตง้ั อยบู รเิ วณ................................................................................................................................ มี Drives ดังนี้ Floppy drive(s) ขนาด 514 นว้ิ .......... Floppy drive(s) ขนาด 312นว้ิ .......... Zip drive(s) ................. Jazz drive(s) .................................... Tape drive(s) .................................. Speakers ...................... CD-ROM drive(s) ......................... CD-ROM types .................... Parallel port(s) ........................ Serial port(s) ................................. USB port(s) ........................... Sound card/port ...................... Modem card/port ....................Video card/port ................... External SCSI card/port.................. . NIC card/port ................................................................................................................................ Monitor ......................................................................................................................................... Printer ............................................................................................................................................ อุปกรณเ พม่ิ เตมิ อน่ื ๆ ....................................................................................................................... 1.2 ชนดิ ............................................................. ยี่หอ ........................................................ รนุ (model) ...................................... หมายเลขเครอ่ื ง(S/N) ............................................... Case Type: □ Mini Tower □ Mid Tower □ Full Tower □ อน่ื ๆ ............................. หรอื มเี อกลักษณะเปน □ PC Stand-alone □ Server .......................... □ Client □ Workstation □ Mainframe □ อน่ื ๆ ........................................................................... ตดิ ตง้ั อยบู รเิ วณ................................................................................................................................ มี Drives ดังนี้ Floppy drive(s) ขนาด 514 นวิ้ .......... Floppy drive(s) ขนาด 312น้วิ .......... Zip drive(s) ................. Jazz drive(s) .................................... Tape drive(s) .................................. Speakers ...................... CD-ROM drive(s) ......................... CD-ROM types .................... Parallel port(s) ........................ Serial port(s) ................................. USB port(s) ........................... Sound card/port ...................... Modem card/port ....................Video card/port ................... External SCSI card/port.................. . NIC card/port ................................................................................................................................ Monitor ......................................................................................................................................... Printer ............................................................................................................................................ อปุ กรณเ พ่ิมเตมิ อนื่ ๆ ....................................................................................................................... 280 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

๔ ทก.ยค. 1.3 ชนิด ............................................................. ยห่ี อ ........................................................ รุน (model) ...................................... หมายเลขเคร่อื ง(S/N) ............................................... Case Type: □ Mini Tower □ Mid Tower □ Full Tower □ อน่ื ๆ ............................. หรือมีเอกลกั ษณะเปน □ PC Stand-alone □ Server .......................... □ Client □ Workstation □ Mainframe □ อนื่ ๆ ........................................................................... ตดิ ตง้ั อยบู ริเวณ................................................................................................................................ มี Drives ดงั นี้ Floppy drive(s) ขนาด 514 นว้ิ .......... Floppy drive(s) ขนาด 312นว้ิ .......... Zip drive(s) ................. Jazz drive(s) .................................... Tape drive(s) .................................. Speakers ...................... CD-ROM drive(s) ......................... CD-ROM types .................... Parallel port(s) ........................ Serial port(s) ................................. USB port(s) ........................... Sound card/port ...................... Modem card/port ....................Video card/port ................... External SCSI card/port.................. . NIC card/port ................................................................................................................................ Monitor ......................................................................................................................................... Printer ............................................................................................................................................ อุปกรณเ พิม่ เติมอนื่ ๆ ....................................................................................................................... 1.4 ชนิด ............................................................. ย่ีหอ ........................................................ รุน (model) ...................................... หมายเลขเครอื่ ง(S/N) ............................................... Case Type: □ Mini Tower □ Mid Tower □ Full Tower □ อน่ื ๆ ............................. หรอื มีเอกลกั ษณะเปน □ PC Stand-alone □ Server .......................... □ Client □ Workstation □ Mainframe □ อน่ื ๆ ........................................................................... ติดตง้ั อยบู ริเวณ................................................................................................................................ มี Drives ดังนี้ Floppy drive(s) ขนาด 514 นวิ้ .......... Floppy drive(s) ขนาด 312นวิ้ .......... Zip drive(s) ................. Jazz drive(s) .................................... Tape drive(s) .................................. Speakers ...................... CD-ROM drive(s) ......................... CD-ROM types .................... Parallel port(s) ........................ Serial port(s) ................................. USB port(s) ........................... Sound card/port ...................... Modem card/port ....................Video card/port ................... External SCSI card/port.................. . NIC card/port ................................................................................................................................ Monitor ......................................................................................................................................... Printer ............................................................................................................................................ อปุ กรณเ พ่ิมเตมิ อนื่ ๆ ....................................................................................................................... สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 281

๕ ทก.ยค. 2. ............................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. 282 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๘๘ ก หนา ๕ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยท่ีมาตรา ๑๙ วรรคหก แหงพระราชบญั ญัตวิ า ดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติใหหนังสือแสดง การยึดหรืออายัดระบบคอมพวิ เตอรเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง จึงจาํ เปนตองออกกฎกระทรวงน้ี ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 283

284 สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

ประกาศกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เร่อื ง หลกั เกณฑก ารเกบ็ รักษาขอ มลู จราจรทางคอมพวิ เตอร ของผูใ หบ รกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 285

ชอ่ื กฎหมาย ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เร่ือง หลักเกณฑการเก็บรักษาขอมูลจราจร ทางคอมพิวเตอรข องผใู หบ รกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๔ / ตอนพิเศษ ๑๐๒ ง / หนา ๕ / วนั ที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ เริ่มบงั คบั ใช วนั ที่ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๕๐ ผรู กั ษาการ รัฐมนตรวี าการกระทรวงดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม 286 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

เลม ๑๒๔ ตอนพเิ ศษ ๑๐๒ ง หนา ๕ ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๕๐ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร เร่อื ง หลักเกณฑการเก็บรกั ษาขอมลู จราจรทางคอมพิวเตอรของผูใ หบ รกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ ดวยในปจ จบุ ันการติดตอสอื่ สารผานระบบคอมพวิ เตอรห รือระบบอเิ ล็กทรอนิกสเ รม่ิ เขาไปมบี ทบาท แ ล ะ ท วี ค ว า ม สํ า คั ญ เ พ่ิ ม ขึ้ น ต า ม ลํ า ดั บ ต อ ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แตในขณะเดยี วกันการกระทาํ ความผดิ เกีย่ วกบั คอมพิวเตอรมีแนวโนมขยายวงกวา ง และทวีความรุนแรง เพ่ิมมากข้ึน ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรนับเปนพยานหลักฐานสําคัญในการดําเนินคดี อันเปนประโยชนอ ยางยงิ่ ตอการสบื สวน สอบสวน เพื่อนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ จึงสมควรกําหนด ใหผ ใู หบรกิ ารมีหนาท่ีในการเก็บรักษาขอมลู จราจรทางคอมพิวเตอรดงั กลา ว อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๒๖ วรรค ๓ แหงพระราชบญั ญัติวาดวยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ดังนั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร จึงไดก าํ หนดหลกั เกณฑไ ว ดงั ตอ ไปนี้ ขอ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “หลักเกณฑการเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ของผูใ หบ ริการ พ.ศ. ๒๕๕๐” ขอ ๒ ประกาศนใ้ี หใชบงั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตนไป ขอ ๓ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการ ตามประกาศนี้ ขอ ๔ ในประกาศน้ี “ผใู หบ รกิ าร” หมายความวา (๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกัน โดยประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือเพ่อื ประโยชนข องบุคคลอ่นื (๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพวิ เตอรเพอ่ื ประโยชนของบคุ คลอื่น “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของระบบ คอมพิวเตอร ซ่ึงแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันท่ี ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ท่ีเก่ียวขอ งกบั การติดตอ ส่อื สารของระบบคอมพิวเตอรน้ัน ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 287

เลม ๑๒๔ ตอนพเิ ศษ ๑๐๒ ง หนา ๖ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ ราชกิจจานเุ บกษา “ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณท่ีเชื่อมการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนด คาํ ส่ัง ชดุ คําสัง่ หรอื สง่ิ อ่นื ใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณ ทําหนาทีป่ ระมวลผลขอมูลโดยอตั โนมตั ิ “ผใู ชบรกิ าร” หมายความวา ผใู ชบ รกิ ารของผใู หบ รกิ ารไมวาตอ งเสยี คาใชบ ริการหรอื ไมกต็ าม ขอ ๕ ภายใตบ ังคบั ของมาตรา ๒๖ แหง พระราชบัญญตั ิวา ดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเภทของผูใหบริการซ่ึงมีหนาที่ตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทาง คอมพวิ เตอรแบง ได ดงั น้ี (๑) ผูใหบริการแกบุคคลท่ัวไปในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกัน โดยประการอื่น ท้ังนี้ โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือเพื่อประโยชนข องบคุ คลอื่น สามารถจําแนกได ๔ ประเภท ดงั น้ี ก. ผูประกอบกิจการโทรคมนาคมและการกระจายภาพและเสียง (Telecommunication and Broadcast Carrier) ประกอบดว ยผูใหบรกิ ารดงั ปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทา ยประกาศน้ี ข. ผูใหบริการการเขาถึงระบบเครือขายคอมพิวเตอร (Access Service Provider) ประกอบดวยผใู หบ รกิ ารดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทายประกาศน้ี ค. ผูใหบริการเชาระบบคอมพิวเตอร หรือใหเชาบริการโปรแกรมประยุกตตาง ๆ (Host Service Provider) ประกอบดวยผูใหบ รกิ ารดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้ ง. ผใู หบริการรา นอินเทอรเ น็ต ดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทา ยประกาศน้ี (๒) ผูใหบริการในการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพ่ือประโยชนของบุคคลตาม (๑) (Content Service Provider) เชน ผใู หบ ริการขอ มลู คอมพิวเตอรผ า นแอพพลเิ คชนั่ ตา ง ๆ (Application Service Provider) ประกอบดว ยผใู หบรกิ ารดังภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้ ขอ ๖ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรท่ีผูใหบริการตองเก็บรักษา ปรากฏดังภาคผนวก ข. แนบทา ยประกาศน้ี ขอ ๗ ผใู หบ ริการมหี นาท่ีเก็บรักษาขอมลู จราจรทางคอมพวิ เตอร ดงั นี้ (๑) ผูใ หบริการตามขอ ๕ (๑) ก. มหี นา ทเ่ี ก็บขอ มูลจราจรทางคอมพิวเตอรตามภาคผนวก ข. ๑ (๒) ผใู หบ รกิ ารตามขอ ๕ (๑) ข. มหี นา ที่เกบ็ ขอมลู จราจรทางคอมพิวเตอรตามภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนาทกี่ ารใหบริการ 288 สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

เลม ๑๒๔ ตอนพเิ ศษ ๑๐๒ ง หนา ๗ ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๕๐ ราชกิจจานเุ บกษา (๓) ผใู หบ รกิ ารตามขอ ๕ (๑) ค. มีหนาทเ่ี ก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตามภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนา ที่การใหบรกิ าร (๔) ผใู หบ ริการตามขอ ๕ (๑) ง. มีหนาทเ่ี กบ็ ขอ มลู จราจรทางคอมพวิ เตอรตามภาคผนวก ข. ๓ (๕) ผูใ หบ ริการตามขอ ๕ (๒) มหี นาทีเ่ ก็บขอ มูลจราจรทางคอมพวิ เตอรตามภาคผนวก ข. ๔ ทง้ั นี้ ในการเกบ็ รักษาขอมูลจราจรตามภาคผนวกตา ง ๆ ที่กลา วไปขางตนนั้น ใหผูใหบริการ เกบ็ เพียงเฉพาะในสวนที่เปน ขอมลู จราจรทีเ่ กิดจากสว นท่เี ก่ยี วของกบั บรกิ ารของตนเทา น้นั ขอ ๘ การเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ผูใหบริการตองใชวิธีการท่ีม่ันคง ปลอดภัย ดังตอ ไปน้ี (๑) เกบ็ ในสือ่ (Media) ทส่ี ามารถรักษาความครบถวนถูกตองแทจริง (Integrity) และระบุ ตัวบุคคล (Identification) ที่เขา ถึงสอ่ื ดงั กลา วได (๒) มรี ะบบการเก็บรกั ษาความลบั ของขอมูลที่จัดเก็บ และกําหนดช้ันความลับในการเขาถึง ขอมูลดังกลาว เพื่อรักษาความนาเชื่อถือของขอมูล และไมใหผูดูแลระบบสามารถแกไขขอมูลที่ เกบ็ รักษาไว เชน การเก็บไวใ น Centralized Log Server หรือการทํา Data Archiving หรือทํา Data Hashing เปนตน เวนแต ผูมีหนาที่เก่ียวของที่เจาของหรือผูบริหารองคกร กําหนดใหสามารถเขาถึง ขอมูลดังกลาวได เชน ผูตรวจสอบระบบสารสนเทศขององคกร (IT Auditor) หรือบุคคลท่ีองคกร มอบหมาย เปนตน รวมทั้งพนักงานเจา หนาทีต่ ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ (๓) จัดใหมีผูมีหนาที่ประสานงานและใหขอมูลกับพนักงานเจาหนาท่ีซึ่งไดรับการแตงตั้ง ตามพระราชบญั ญัติวา ดวยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อใหการสงมอบ ขอ มลู นัน้ เปน ไปดว ยความรวดเร็ว (๔) ในการเก็บขอมูลจราจรน้ัน ตองสามารถระบุรายละเอียดผูใชบริการเปนรายบุคคลได (Identification and Authentication) เชน ลักษณะการใชบริการ Proxy Server, Network Address Translation (NAT) หรือ Proxy Cache หรือ Cache Engine หรือบริการ Free Internet หรือ บริการ 1222 หรือ Wi-Fi Hotspot ตอ งสามารถระบตุ ัวตนของผูใชบรกิ ารเปน รายบุคคลไดจรงิ (๕) ในกรณที ีผ่ ูใ หบ รกิ ารประเภทหนึง่ ประเภทใด ในขอ ๑ ถงึ ขอ ๔ ขางตน ไดใหบริการ ในนามตนเอง แตบรกิ ารดังกลา วเปน บรกิ ารทใี่ ชระบบของผูใหบริการซ่ึงเปนบุคคลท่ีสาม เปนเหตุให ผใู หบริการในขอ ๑ ถงึ ขอ ๔ ไมส ามารถรไู ดว า ผูใ ชบ ริการทเี่ ขา มาในระบบนั้นเปนใคร ผูใหบริการ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 289

เลม ๑๒๔ ตอนพเิ ศษ ๑๐๒ ง หนา ๘ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ ราชกิจจานุเบกษา เชนวาน้ันตองดําเนินการใหมีวิธีการระบุและยืนยันตัวบุคคล (Identification and Authentication) ของผใู ชบริการผา นบริการของตนเองดว ย ขอ ๙ เพือ่ ใหขอ มูลจราจรมีความถูกตอ งและนํามาใชป ระโยชนไ ดจรงิ ผูใหบริการตองต้ังนาฬิกา ของอุปกรณบริการทกุ ชนิดใหตรงกับเวลาอางอิงสากล (Stratum 0) โดยผิดพลาดไมเ กิน ๑๐ มลิ ลิวนิ าที ขอ ๑๐ ผูใหบริการซึ่งมีหนาท่ีเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตามขอ ๗ เร่ิมเก็บขอมูล ดงั กลาวตามลําดบั ดงั นี้ (๑) ผใู หบ ริการตามขอ ๕ (๑) ก. เร่ิมเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเม่ือพนสามสิบวัน นับจากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๒) ใหผ ใู หบ ริการตามขอ ๕ (๑) ข. เฉพาะผูใหบริการเครือขายสาธารณะหรือผูใหบริการ อนิ เทอรเน็ต (ISP) เร่มิ เก็บขอมลู จราจรทางคอมพวิ เตอรเ มือ่ พน หน่งึ รอยแปดสิบวันนับจากวันประกาศ ในราชกจิ จานุเบกษา ผใู หบ ริการอนื่ นอกจากทก่ี ลา วมาในขอ ๑๐ (๑) และขอ ๑๐ (๒) ขางตน ใหเริ่มเก็บขอมูล จราจรทางคอมพิวเตอรเม่อื พน หน่งึ ปน บั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ สิทธิชยั โภไคยอุดม รัฐมนตรวี า การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 290 ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 291


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook