Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

Search

Read the Text Version

คำราชาศพั ท แบงไดเ ปน ๓ ประเภทใหญๆ ดงั น้ี ๑. คำศพั ทท ี่ใชส ำหรบั พระมหากษตั รยิ แ ละพระบรมวงศานวุ งศ ๑) คำนามราชาศัพท นำหนา คำสามัญสำหรับพระเจาแผน ดินผฉสู บอับน • ใชค ำวา พระบรมราช โดยเฉพาะในกรณีทตี่ องการเชิดชูพระเกยี รตยิ ศ และพระราชอำนาจ เชน พระบรมราชปู ถมั ภ หมายถึง การชวยเหลือ พระบรมราโชวาท หมายถงึ คำสอน • ใชคำวา พระบรม นำหนา คำเพือ่ เชดิ ชพู ระราชอิสริยยศ และ ใชเ ฉพาะพระมหากษัตริย เชน พระบรมมหาราชวงั หมายถงึ วังหลวง พระบรมฉายาลักษณ หมายถึง ภาพถาย • ใชคำวา พระราช นำหนาคำที่สำคัญรองลงมาจากพระบรม เปนคำที่ใชเ ฉพาะพระมหากษัตริย และสมเดจ็ พระบรมราชนิ ี เชน พระราชวงั หมายถงึ วงั ที่ไมใชว งั หลวง พระราชดำรัส หมายถึง คำพูด ภาษาไทย ๕ ๑๓๕

• ใชคำวา พระ นำหนาคำสามัญที่ใชสำหรับพระมหากษัตริย และพระราชวงศเ พื่อใหแ ตกตางกบั สามัญชน เชน พระสหาย หมายถงึ เพื่อน พระหตั ถ หมายถึง มือ • ใชคำวา พระที่น่ัง นำหนาคำท่ีเปนที่ประทับของพระมหา- กษัตริย และมีเศวตฉัตร เชน พระท่ีน่ังจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งอมรินทร- วินิจฉัย พระท่ีนั่งวิมานเมฆ พระท่ีน่ังมังคลาภิเษก นอกจากน้ียังใชคำวา พระที่น่ังตามหลังคำนามทั่วไปเพื่อแสดงวาเปนของเกี่ยวกับพระมหากษัตริย เชน ชางพระทน่ี ั่ง เรือพระทีน่ งั่ รถพระท่นี ง่ั เปน ตน • ใชคำวา ตน หรือ หลวง ประกอบทายคำนามทั่วไป เพ่ือ แสดงวา เปนของเก่ียวกบั พระมหากษัตริย เชน เครอ่ื งตน ประพาสตน พระแสง ผฉูสบอับนปนตน เรอื หลวง รถยนตหลวง เปน ตน ตวั อยา ง คำนามราชาศพั ท คำสามญั คำราชาศัพท ผม พระเกศา คาง พระหนุ เอว บ้ันพระองค ตมุ หู พระกุณฑล เส้ือ ฉลองพระองค เตยี งนอน พระแทน บรรทม รองเทา ฉลองพระบาท http://www.aksorn.com/lib/p/tha_04 (เร่อื ง วธิ ีเปลย่ี นคำนามสามัญใหเ ปนคำนามราชาศพั ท) ๑๓๖ ภาษาไทย ๕

๒) คำกริยาราชาศัพท นิยมใชคำวา ทรง นำหนาคำนามหรือ คำกรยิ าสามัญใหเ ปนคำกริยาราชาศพั ท โดยมีวธิ ีการใช ดังน้ี • เตมิ คำวา ทรง หนา คำนามทว่ั ไป และคำกรยิ าสามญั เพ่ือทำ ใหเปนคำกริยาราชาศพั ท เชน ทรงดนตรี หมายถงึ เลน ดนตรี ทรงมา หมายถึง ข่ีมา • เติมคำวา ทรง หนา คำนามราชาศัพท เพือ่ ทำใหเปนคำกริยา ราชาศพั ท เชน ทรงพระสบุ นิ หมายถงึ ฝน ทรงพระอกั ษร หมายถึง เขียนหนังสือ ขอสังเกต ถาคำเดิมเปน คำกรยิ าราชาศัพทอ ยูแลว ไมตองเติมคำวา “ทรง” ลงไปอีก เชน ผฉสู บอับน เสด็จ เสวย โปรด ประทับ ตรัส กริ้ว เปนตน ตวั อยาง คำกริยาราชาศัพท คำราชาศัพท เสวย คำสามัญ เสวยพระโอสถ กิน ทรงพระราชสมภพ กินยา ทรงพระพโิ รธ เกิด ทรงมา โกรธ ทรงรถ ข่ีมา ทรงพระราชดำริ (พระมหากษตั ริย) ขบั รถ คดิ ๑๓๗ ภาษาไทย ๕

คำสามญั คำราชาศพั ท แตง หนังสอื ทรงพระราชนิพนธ โตขน้ึ มากข้ึน เจรญิ ขึน้ ทรงพระเจริญ ๓) คำสรรพนามราชาศัพท เปนคำราชาศัพทใชเฉพาะบุรุษสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใชในการพดู ตดิ ตอ ส่อื สารกัน ซึ่งแบง ออกได ดงั นี้ คำราชาศพั ท ผูใช ใชกบั สรรพนามราชาศพั ททใ่ี ชแ ทนชื่อผูพดู (บุรษุ ท่ี ๑) ขาพระพุทธเจา บุคคลธรรมดา พระมหากษัตรยิ ห รือ พระราชวงศช น้ั สูง อาตมภาพ ภกิ ษ-ุ สามเณร พระมหากษัตรยิ  พระราชวงศท ่วั ไป ผฉูสบอับน บุคคลท่ัวไป สรรพนามราชาศัพทท ใ่ี ชแทนผูพูดดว ย (บรุ ษุ ท่ี ๒) ใตฝาละอองธลุ ีพระบาท พระราชวงศท ว่ั ไป และ พระมหากษัตริย บคุ คลธรรมดา พระมหากษตั ริย และ พระราชวงศท ั่วไป มหาบพติ ร ภกิ ษุ-สามเณร สรรพนามราชาศัพทท ี่ใชแ ทนผถู ูกพูดถึง (บรุ ษุ ที่ ๓) พระองค พระราชวงศท ่ัวไป และ พระมหากษัตรยิ  และ ทาน บคุ คลธรรมดา พระราชวงศชน้ั สูง บคุ คลธรรมดา พระราชวงศท ่วั ไป ขนุ นางผูใหญ ภิกษุ และผูใหญท ีน่ ับถอื ๑๓๘ ภาษาไทย ๕

หลกั เกณฑก ารใชคําราชาศพั ท มีดังน้� ๑. คํากรยิ าใดทีเ่ ปน คําราชาศัพทอยูแลว เชน คาํ วา เสดจ็ เสวย ตรัส ไม ควรใชค ําวา “ทรง” นําหนา อีก แตถาคํากริยานั้นเปน คาํ สามัญ เชน ถอื จบั วาด เม่อื จะทาํ ใหเปน คํา กรยิ าราชาศัพทใหใชค าํ วา “ทรง” นําหนา ได เชน ทรงถอื ทรงจับ ทรงวาด ๒. การใชคําวา “ถวายการตอนรับ” “ถวายความจงรักภักดี” ๒ คําน้� มักจะใชผิดอยเู สมอ ควรจะใชคาํ วา “เฝา รับเสดจ็ ” หรอื “รบั เสด็จ” ถงึ จะถูกตอ ง ๓. การใชคําวา “พระบรม” นําหนานั้น ใหใชเฉพาะพระบาทสมเด็จ- พระเจา อยหู ัวเทานน้ั สําหรบั สมเดจ็ พระบรมราชิน�นาถ ใหใ ชคาํ วา “พระ” เชน คําวา พระบรมราโชวาท ใชก ับ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั พระราโชวาท ใชกบั สมเด็จพระบรมราชิน�นาถ ๔. การใชค ําวา “พระราช” หรือ “พระ” นําหนา ใหถือหลักวา ใชเ ฉพาะ พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั และสมเด็จพระบรมราชนิ น� าถ คาํ วา “พระ” มกั ผฉสู บอับน นําหนา คําท่ีเปน คําเรียกอวัยวะ เชนคําวา พระหัตถ พระราชา ๕. เม่ือกลาวถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชนิ �นาถ ทถ่ี ูกตอ งใหใ ช ดงั น้� ❍✓ “พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัว” “พระเจา อยหู ัว” “สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชิน�นาถ” “สมเดจ็ พระบรมราชนิ น� าถ” และไมใหใ ช ดังน้� àÁÍè× ¨Ð㪌¤íÒÃÒªÒÈѾ·Ê íÒËÃѺ ❍✗ “ลนเกลาลนกระหมอม” ¾ÃÐÁËÒ¡ÉµÑ ÃÔÂᏠÅкÃÁǧÈÒ¹Øǧȏ µÍŒ §ãªŒã˶Œ Ù¡µŒÍ§¹Ð¤Ð “พระราชิน�” “ราชนิ �” ภาษาไทย ๕ ๑๓๙

ตวั อยา ง การใชค ำราชาศัพท ๏ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชวินิจฉัยเก่ียวกับ ปาฏิหาริยเ หลานัน้ ไว ทรงมีพระราชวนิ ิจฉัย ➠ การแสดงขอ คิดเห็น ๏ อยูมาวันหน่ึง สมเด็จพระรวงเจาเสด็จไป ณ โรงชาง ขึ้นทอดพระเนตร ชางพระทน่ี ่งั อยบู นเกย ทอดพระเนตรเหน็ มะกะโทกวาดหญาชา งอยู จงึ ตรัสถาม นายชางวา “อายคนนเ้ี ปนบตุ รของผูใด” เสด็จ ➠ ไป ทอดพระเนตร ➠ มองดู ผฉูสบอับน ชา งพระท่นี งั่ ➠ ชา งของพระเจาแผน ดิน ตรสั ➠ พดู ๏ สมเด็จพระรวงเจาไดทรงฟงดังน้ัน ก็มีพระทัยยินดีนัก จึงทรงดำริวาบุตรรามัญ นอ ยนีฉ้ ลาด ประกอบดว ยความเพียร จะเอาไปเลี้ยงไวใกลเราจึงจะชอบ ทรงฟง ➠ ฟง มีพระทยั ยนิ ดี ➠ ดีใจ ทรงดำริ ➠ คิด ๏ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน สิ้นพระชนมเมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๙ พระชันษา ๔๕ ป ส้นิ พระชนม ➠ ตาย พระชันษา ➠ อายุ ๑๔๐ ภาษาไทย ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ñ ๑. เขียนคำราชาศพั ทใ หส มั พนั ธกับคำสามัญทีก่ ำหนด ๑) ผม พระเกศา ๑๑) ยา................................................... พระโอสถ................................................... ๒) ตา ๓) คอ พระเนตร ๑๒) กำไลขอมือ ทองพระกร................................................... ๔) ไหล ................................................... ๕) ตนแขน ๖) หนา อก พระศอ ๑๓) แหวน................................................... พระธำมรงค................................................... ๗) แขน ๘) มือ พระอังสา ๑๔) หมวก................................................... พระมาลา................................................... ๙) หวั เขา พระพาหา ๑๕) รองเทา................................................... ฉลองพระบาท................................................... ผฉสู บอับน ๑๐) เทา พระอุระ ๑๖) พานหมาก................................................... พานพระศรี................................................... พระกร ๑๗) แวน ตา................................................... ฉลองพระเนตร................................................... พระหัตถ ๑๘) อาวธุ................................................... พระแสง................................................... พระชานุ ๑๙) ผา เชด็ ตวั................................................... ผา ซับพระองค................................................... พระบาท ๒๐) อายุ................................................... พระชนมพรรษา................................................... ภาษาไทย ๕ ๑๔๑

๒. เตมิ คาํ ราชาศัพทจากคาํ สามญั ทกี่ าํ หนดใหถูกตอ ง ๑) พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั ทรง สนพระทยั………………………………………….. (สนใจ) ในศิลปวฒั นธรรมมาก ทัง้ ทางดานวิจิตรศลิ ป และวรรณคดี ๒) สมเดจ็ เจา ฟา หญงิ วไลยอลงกรณ นรนิ ทรเทพยกมุ ารี …เส……ว…ย….(กนิ ) ผลไม ๓) เสนาบดกี ระทรวงวัง ได อญั เชิญ………………………………………….. (เชิญ) พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั อา นในทปี่ ระชุม ๔) พระเจากรุงศรีสัตนาคนหุต มี …พ…ร…ะ…ร……า…ช…ห…ตั……ถ…เ…ล……ข…า.. (จดหมาย) มาทูล ขอพระเทพกษตั รี ๕) พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั ป……ร…ะ…พ……า…ส……ย…ุโ…ร…ป….(ไปเทยี่ วยโุ รป) ๖) สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดทิ รง ……ต……ัด…ส……นิ ……พ…ร……ะ…ท…ยั …….. (ตดั สนิ ใจ) ยกทพั ออก นอกพระนคร ผฉสู บอับน ๗) พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั ……ท…ร……ง…ม…ีพ…ร…ะ…เ…ม…ต…ต……า….. (มเี มตตา) ตอปวงชนชาวไทย ๘) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูห วั ท……อ…ด……พ…ร……ะ…เน……ต……ร (ดู) สรุ ิยปุ ราคา ท่ีบานหวา กอ จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ ๙) เหลาลูกเสอื และเนตรนารี ถวายบงั คม………………………………………….. (ทําความเคารพ) ตอ หนา …พ……ร…ะ…บ……ร…ม…ฉ……า…ย…า…ล……กั …ษ……ณ…… .. (รปู ถา ย) ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา - เจา อยูหวั เน�องในวันลกู เสอื แหง ชาติ ๑๐) พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว …ร…า……ช…า…ภ…เิ …ษ…ก……ส…ม……ร…ส….. (แตงงาน) กบั สมเดจ็ พระนางเจารําไพพรรณ� พระบรมราชิน� ๑๑) พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ทรงประดษิ ฐ………………………………………….. (ประดษิ ฐ) อกั ษรไทยขนึ้ เมอื่ ป พ.ศ. ๑๘๒๖ ๑๒) พระรามและพระลักษมณ สรงน้ํา……………………………… (อาบนาํ้ ) กอ น ……ท…ร…ง……เค……ร…่ือ……ง…… (แตงตวั ) และยกทพั ไปรบกับทศกณั ฐ ภาษาไทย ๕ ๑๔๒

๓. เขียนคำราชาศัพทจากคำสามัญท่ีกำหนด และเขียนคำสามัญจากคำราชาศัพท ทกี่ ำหนด คำสามญั คำราชาศพั ท กระดกู พระอัฐิ แขน ผิวหนงั พระพาหา พอ แม พระฉวี ยา ยาย ปู ตา พระราชบิดา พระบิดา พระชนก กระจก ตรา (เคร่ืองหมาย) พระราชชนนี พระราชมารดา ประตู เข็มขัด พระอัยกี พระอัยยกิ า หนาตาง พระอัยกา ไมเ ทา พระฉาย ปา (พีข่ องแม) พระราชลญั จกร ผฉสู บอับน พระทวาร พ่ีสาว รดั พระองค หนาผาก พระแกล ทอง ธารพระกร หลงั พระมาตจุ ฉา อก พระเชษฐภคินี น้ำหอม พระนลาฏ พระนาภี พระปฤษฎางค พระอรุ ะ พระสคุ นธ ภาษาไทย ๕ ๑๔๓

๒. คำศัพททใ่ี ชสำหรับพระสงฆ มีลำดบั ของการใชคำ ดังน้ี ๑) สมเด็จพระสังฆราชเจา หมายถึง เจานายเชื้อพระวงศท่ีผนวช และไดดำรงสมณศักด์ิเปนพระสังฆราช ใหใชราชาศัพทอยางเจานายช้ันสูง ดังนี้ คำสรรพนามแทนพระองค ใชวา ใตฝาพระบาท คำสรรพนามแทนผูกราบทูล ใชว า ขา พระพุทธเจา คำขานรับ ใชว า ขอรับกระหมอ ม เพคะ ผฉูสบอับน ๒) สมเด็จพระสังฆราช หมายถึง บุคคลสามัญท่ีบวชจนไดดำรง สมณศกั ดเ์ิ ปน พระสงั ฆราช ใหใชราชาศพั ท ดงั นี้ คำสรรพนามแทนพระองค ใชวา ฝา พระบาท คำสรรพนามแทนผูกราบทลู ใชวา เกลา กระหมอม เกลากระหมอมฉัน คำขานรบั ใชว า กระหมอม เพคะ ๓) สมเด็จพระราชาคณะ หมายถึง ตำแหนงท่ีอยูรองจากสมเด็จ พระสงั ฆราช ใหใชคำ ดงั น้ี คำสรรพนามแทนทา น ใชวา พระเดชพระคณุ ใตเ ทา หรอื พระคณุ เจา คำสรรพนามแทนผพู ูด ใชว า เกลากระผม กระผม ๔) พระสงฆท่ัวไป ใหใชคำสุภาพ ยกเวนคำบางคำท่ีใชเฉพาะกับ พระสงฆเทาน้นั ๑๔๔ ภาษาไทย ๕

ตัวอยา ง คำราชาศพั ทสำหรับพระสงฆ คำราชาศัพท ผฉสู บอับน คำสามัญ ฉัน ปลงผม กนิ นิมนต อาราธนา โกนผม ทำวัตร ขอเชญิ ขอถวาย สวดมนต จังหัน ขอให ปลงอาบตั ิ อาหารเชา มรณภาพ แจงความผิด อาสนะ ตาย จำวดั ท่ีนงั่ อาพาธ นอน ประเคน ปว ย ภัตตาหาร ยกของใหพ ระ อาหาร ชาวบา นนิมนตพ ระใหรบั บณิ ฑบาต ตอนเชาของทกุ วัน คุณพอ ประเคนส่งิ ของและปจจยั แด พระสงฆ ภาษาไทย ๕ ๑๔๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ò เลือกคำท่ีกำหนดเติมลงในชอ งวา งใหถกู ตองและเหมาะสม จำวดั ปจจยั โบสถ เจาอาวาส กลด นิมนต กุฏิ บวช ตกั บาตร ธรรมาสน ประเคน อาพาธ ลาสกิ ขา อาราธนาศลี ฉนั ๑) อดศิ ักดิ์ถวาย ปจ จยั......................................................... แดพ ระภิกษจุ ำนวน ๕ รูป ๒) คุณยายต่ืนแตเ ชา เพ่อื เตรียมกับขาวสำหรับ ตักบาตร......................................................... ๓) หนูเลก็ จะไปงาน บวช......................................................... พีช่ ายที่วัดในวันเสารน ี้ ๔) หลังจากกลา วคำถวายสังฆทานจบ มานติ ยก็ ประเคน......................................................... ของ ผฉสู บอับน ถวายแดพ ระภิกษุ ๕) นกั เรียนทุกคนกลา วคำ อาราธนาศีล......................................................... พรอมๆ กนั ๖) การลาออกจากการเปนพระภกิ ษุ เรียกวา ลาสกิ ขา......................................................... ๗) หลวงปู อาพาธ......................................................... เขา รับการรกั ษาที่โรงพยาบาล ๘) พระภิกษุ จำวดั......................................................... อยูท่วี ดั ในชว งเขา พรรษา ๙) อาจารยใหญ นิมนต......................................................... พระอาจารยมาสอนวิชา พระพุทธศาสนา ๑๐) คณุ แมพานองไปไหวพระใน โบสถ......................................................... ๑๑) เจา อาวาส......................................................... ทา นมีเมตตาตอลกู ศิษยวดั ทุกๆ คน ๑๒) หลวงตาอาศยั อยูที่ กุฏิ ทา ยวดั......................................................... ๑๓) พระสงฆ ฉัน......................................................... ภัตตาหารเพล ประมาณ ๑๑.๐๐ น. ๑๔) หลวงพอนง่ั เทศนม หาชาตบิ น ธรรมาสน......................................................... ๑๕) พระธดุ งคป ก กลด ในปาลกึ......................................................... ๑๔๖ ภาษาไทย ๕

๓. ศัพทท ใี่ ชสำหรบั สุภาพชน ขอควรคำนึงในการใชคำศัพทสำหรับสุภาพชนทั่วไป คือ ตองใชคำ ใหสุภาพถกู ตองตามกาลเทศะและบคุ คล ไมใชคำหยาบ คำผวน คำคะนองหรือ คำอทุ านท่ีไมสภุ าพ ตัวอยาง คำศัพททใี่ ชสำหรบั สุภาพชน คำสามัญ คำสภุ าพ ผฉสู บอบั น กิน รับประทาน กลว ยกุ กลวยสน้ั กลว ยไข กลวยกระ กลวยเปลอื กบาง กลวยบวชชี นารีจำศลี กะป เยอื่ เคย ขนมจนี ขนมเสน ขนมตาล ขนมทองฟู ขนมเทียน ขนมนมสาว ขนมข้ีหนู ขนมทราย ขนมใสไส ขนมสอดไส ขี้กลาก โรคกลาก ขี้ควาย มลู กระบอื ข้ีดนิ มูลดิน ขี้ผงึ้ สผี ง้ึ ขเี้ ร้ือน โรคเรอื้ น ข้สี ัตว มลู สัตว ปลาสลดิ ปลาใบไม ภาษาไทย ๕ ๑๔๗

คำสามัญ คำสภุ าพ ตากแดด ผ่ึงแดด ผักกระเฉด ผกั รูนอน ตีน เทา ขี้เหนยี ว ตระหนี่ ควาย กระบอื ดอกซอ นชู ดอกซอนกลิน่ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ó แตง ประโยคจากคำสภุ าพท่กี ำหนดให (ตัวอยา ง) ผฉูส บอับน ๑) รับประทาน คณะครอู าจารยรบั ประทานอาหารกลางวนั ที่โรงเรยี น............................................................................................................................................................................ ๒) สุกร ผูใหญบานเลี้ยงสกุ รเปนจำนวนมาก............................................................................................................................................................................ ๓) สุนขั พ่ีจูงสนุ ัขไปเดินเลน............................................................................................................................................................................ ๔) โค พอ เลย้ี งโคนม............................................................................................................................................................................ ๕) กระบือ กระบอื หมายถึงควาย............................................................................................................................................................................ ๖) เทา เขาถูกตะปูตำเทา............................................................................................................................................................................ ๗) ตระหน่ี คุณปาเปน คนตระหนี่............................................................................................................................................................................ ๘) มูลสัตว ชาวสวนนำมูลสัตวมาทำเปน ปยุ คอก............................................................................................................................................................................ ๙) โรคกลาก นองเปนโรคกลาก............................................................................................................................................................................ ๑๐) ขนมสอดไส คุณแมท ำขนมสอดไสใ หลูกรับประทาน............................................................................................................................................................................ ๑๔๘ ภาษาไทย ๕

เบิกฟา วรรณกรรม ละครทใ่ี ชผูหญิงแสดงแบบละครนอก แตนำเอาลักษณะละครพูดและละครใน สมิงพระรามอาสาเขามาปะปน มีการดำเนินเร่ืองดวยคำรองผสมกับทารำ โดยมากมักเลนเรื่อง ท่มี ตี ัวละครเปนชาวตา งชาติ เชน ราชาธิราช พระอภยั มณี สามกก เปนตน บายวันอาทิตยวันหน่ึง คุณแมของเด็ดเดี่ยวพาคุณยาย เด็ดเด่ียว และ นองดาวไปชมการแสดงท่ีโรงละครแหงชาติ ซึ่งมีการแสดงละครพันทาง เร่ือง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา การแสดงในวันน้ันดำเนินไปอยางสนุกสนาน นาตื่นตาและเราใจ ผูชม ทุกคนรูสึกประหนึ่งตองมนตสะกดใหคลอยตามเร่ืองตั้งแตตนจนจบ เด็ดเดี่ยว ก็รูส กึ ประทบั ใจมาก เขาชอบตวั ละครท่เี ลนเปนสมิงพระราม และรูสึกอยากอาน เร่ืองราชาธิราชเพิม่ เตมิ อีกดวย เม่อื กลับมาถงึ บา น หลงั จากอาบน้ำ และรับประทานอาหารเรยี บรอยแลว เด็ดเดี่ยวไปหาคุณพอ เพราะเคยเห็นคุณพอมีหนังสือเร่ืองราชาธิราช คุณพอผฉูส บอับน จึงไปคนหนังสอื ราชาธริ าชในช้นั เกบ็ หนงั สอื มาใหเดด็ เดีย่ ว Í×Á...¾‹Í¨Óä´ŒÇ‹Ò ¹Õèä§ à¨ÍáÅÇŒ ÍÂá‹Ù ¶Ç¹¹éÕ Ð ¢Íº¤Ø³¤ÃѺ¾Í‹ ¼ÁªÇ‹ ÂËÒ¹Ð¤ÃºÑ เด็ดเดี่ยวกลาวขอบคุณคุณพอที่ชวยหาหนังสือให แลวจึงอานเร่ือง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ซึ่งกอนท่ีจะอานนั้น คุณพอไดอธิบาย ขอ มลู เบื้องตนเกีย่ วกับเรื่องราชาธริ าชใหเด็ดเดย่ี วฟงวา ภาษาไทย ๕ ๑๔๙

“ราชาธิราช เปนพงศาวดารของชนชาติรามัญหรือมอญ ซ่ึงปจจุบันน้ี ชนชาติมอญอยูในประเทศสหภาพพมา สาเหตุที่มีการแตงหนังสือเลมน้ีขึ้น เน่ืองจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงมีพระราชประสงค จะใหมีหนังสือไวเปนสมบัติสำหรับพระนคร เพื่อเปนการบำรุงสติปญญาแก ประชาชน พระองคจงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหก วี ๔ คน คือ เจาพระยา พระคลัง (หน) พระยาอนิ ทรอคั คราช พระภริ มรศั มี และพระศรภี มู ิปรชี าชว ยกนั แตงเรอ่ื ง ราชาธริ าช เปน รอ ยแกว โดยนำเคาโครงเรือ่ งมาจากพงศาวดารมอญ ตอนมหายุทธสงครามระหวางพระเจาราชาธิราช ผูครองกรุงหงสาวดี ซ่ึงเปน กษัตริยม อญกับพระเจาฝรัง่ มงั ฆอ ง ผคู รองกรุงรัตนบรุ ะองั วะ ซ่งึ เปน กษตั ริยพ มา เรื่อง ราชาธิราช ไดรับการยกยองวาเปนวรรณคดีรอยแกวท่ีมีสำนวน โวหารไพเราะ เปน วรรณคดีท่อี านเขาใจงาย ใหขอ คดิ และคตสิ อนใจ เชน ความ ผฉูสบอับน เปนผูนำ ความซื่อสัตยและจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย ความรักชาติบานเมือง และการใชปฏิภาณไหวพรบิ ในเชงิ การรบ เนื้อเร่อื งกลา วถงึ ชาวมอญคนหน่ึงทม่ี ี สตปิ ญญาเฉลียวฉลาด ชอ่ื มะกะโท ซงึ่ เขามารบั ราชการกับสมเด็จพระรว งเจา แหงกรุงสุโขทัย ตอมามะกะโทไดกลับไปครองเมืองมอญหรือกรุงหงสาวดีจน สวรรคต พระเจา ราชาธริ าชจงึ ขน้ึ ครองราชย และไดท ำสงครามกับพระเจา ฝร่ัง มังศรีฉะวาแหงกรุงรัตนบุระอังวะ แตกองทัพของพระเจาฝร่ังมังศรีฉะวาถูก กองทัพของพระเจาราชาธิราชตีแตก เปนเหตุใหพระเจาฝร่ังมังศรีฉะวาทรง อัปยศอดสูจนทรงพระประชวร และเสด็จสวรรคต พระเจาฝร่ังมังฆอง หรือพระเจามณเฑียรทอง โอรสของพระเจาฝร่ังมังศรีฉะวาทรงขึ้นครองราชย แทน คร้ังหน่ึงมังรายกะยอฉะวา โอรสของพระเจาฝร่ังมังฆองยกทัพไปตีเมือง หงสาวดี และจับสมิงพระรามทหารมอญผูมีฝมือการรบเปนเย่ียมไวได จึงนำ สมิงพระรามไปจองจำไวในกรุงรัตนบุระอังวะในฐานะเชลยและเกิดเหตุการณ ดงั ทล่ี ูกจะไดอานตอไป” ๑๕๐ ภาษาไทย ๕

เด็ดเด่ียวกลาวขอบคุณคุณพอ แลวเริ่มตนอานเร่ือง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา ดว ยความตง้ั ใจ เปน ศักราชที่เริ่มใชเ ม่ือ พ.ศ. ๑๑๘๑ นบั รอบปต งั้ แต ๑๖ เมษายน ถงึ ๑๕ เมษายนของปถัดไป ผฉสู บอบั น โดยการคำนวณป พ.ศ. จาก จ.ศ. ใหใช ป จ.ศ. บวก ๑๑๘๑ ก็จะได ป พ.ศ. ขณะนั้นสมเด็จพระเจาราชาธิราชไดเสวยราชสมบัติในเมืองหงสาวดีเปนสุขสืบมา จุลศักราชได ๗๘๕ ป ฝายพระเจากรุงตาฉิง ซึ่งเสวยราชสมบัติอยูในกรุงจีนนั้น มีทหารเอกคนหนึ่งชื่อ กามะนี มีฝมือขี่มาแทงทวนสันทัดดีหาผูเสมอมิได จีนทั้งปวงก็สรรเสริญวากามะนีนี้มิใช มนุษยดุจเทพยดาก็วาได อยูมาวันหน่ึงพระเจากรุงจีนเสด็จออกตรัสปรึกษาดวยเสนาบดี มนตรีมุขท้ังปวงวา ทำไฉนเราจะไดเห็นทหารขี่มาสูกันกับกามะนีตัวตอตัวดูเลนใหเปน ขวญั ตาสกั ครง้ั หนงึ่ กษัตรยิ กรุงใดยังจะมีทแกลวทหารท่สี ามารถจะสูกามะนไี ด แตพ อชมเลน เปนที่สันทัดนั้น มีอยูแตกรุงรัตนบุระอังวะกับกรุงหงสาวดี กษัตริยท้ังสองพระองคน้ียอม ทำสงครามแกกันอยูมิไดขาด พระเจากรุงจีนไดทรงฟงก็มีพระทัยยินดีนัก จึงส่ังใหจัดพลพยุหเสนาท้ังปวงเปน อนั มากจะนบั ประมาณมไิ ด ครั้นไดศภุ ฤกษแ ลว พระองคก็เสดจ็ ทรงมา พระท่นี ่งั ยกทัพบก มายังกรุงรตั นบุระอังวะ พระเจา กรงุ จีนยกมาครั้งน้นั อุประมาดังฝนตกหาใหญต กลงนำ้ นอง ทวมปาไหลเช่ียวมาเม่ือวสันตฤดูนั้น หาส่ิงใดจะตานทานมิได คร้ันเสด็จดำเนินกองทัพ มาถงึ กรงุ รัตนบุระองั วะ ทอดพระเนตรเห็นกำแพงเมืองถนดั ก็ใหตง้ั ทพั มน่ั ลง ภาษาไทย ๕ ปจจุบันใช อปุ มา หมายถึง ส่งิ หรอื ขอความทยี่ กมาเปรยี บส่งิ หนง่ึ กับอีกสิ่งหนึ่ง ๑๕๑

ฝา ยพระเจาฝรั่งมังฆอ งไดแจง วา ทัพจีนยกมามากเหลอื กำลังก็มิใหอ อกรบสูต า นทาน ใหแ ตรกั ษาพระนครมั่นไวเ ปนสามารถ ฝายพระเจา กรุงจนี จึงใหม ีพระราชกำหนดประกาศ แกทหารทั้งปวงวาถาผูใดไมมีอาวุธรบสู อยาใหทำอันตรายเปนอันขาด ถาผูใดมิฟงจะให ตัดศีรษะเสียบเสยี ครนั้ พระเจา กรุงจนี ใหตั้งคายมนั่ ลงแลว ก็ใหแ ตงพระราชสาสนฉบับหนง่ึ แลวใหจัดแพรลายมังกรรอยมวน แพรลายทองรอยมวน กับเคร่ืองยศประดับหยกอยาง กษัตริยสำรับหน่ึงใหขุนนางในตำแหนงฝายพลเรือน ชื่อโจเปยวซ่ึงพูดภาษาพมาไดกับไพร พอสมควรเชิญพระราชสาสนกับเครื่องราชบรรณาการ เขามาถวายพระเจาฝร่ังมังฆอง โจเปยวก็ถวายบังคมลา ถือพระราชสาสนคุมเคร่ืองราชบรรณาการมากับดวยไพร จึงเรียก ทหารผรู กั ษาหนาที่ ใหเ ปดประตเู มืองรบั นายทัพนายกองไดแจง ดงั นัน้ กเ็ ขากราบบงั คมทูล พระเจา ฝร่ังมงั ฆอง จงึ โปรดใหร ับผถู อื พระราชสาสน เขามา โจเปย วกเ็ ขามากราบถวายบังคม หนาพระที่นั่ง ถวายพระราชสาสน กับเครื่องราชบรรณาการพระเจาฝร่ังมังฆอง พระเจา ฝรั่งมงั ฆองจงึ รับสั่งใหล ามเจาพนกั งานเขามาแปลพระราชสาสน ลา มแปลแลวจึงตรัสส่งั ให อาลักษณอ า นในพระราชสาสน นัน้ วา ผฉูสบอับน เรายกพยุหเสนามาคร้ังนี้ ดวยมีความปรารถนาสองประการ ประการหนึ่งจะให พระเจาอังวะอยูในอำนาจออกมาถวายบังคมเรา ประการหน่ึงจะใครดูทหารข่ีมารำทวน สกู ันตวั ตอ ตวั ชมเลน เปน ขวญั ตา แมน ทหารกรงุ รตั นบรุ ะอังวะแพก ็ใหยอมถวายเมืองแกเ รา โดยดี อยา ใหส มณชพี ราหมณ อาณาประชาราษฎรไดค วามเดือดรอนเลย ถา ทหารฝา ยเรา แพก็จะเลิกทัพกลับไปยังพระนคร และราษฎรในกรุงรัตนบุระอังวะน้ันโดยต่ำลงไป แตก ระทอมนอ ยหลังหน่งึ ก็มใิ หเปนอนั ตราย พระเจาอังวะจะคดิ ประการใดก็เรงบอกออกมา พระเจาฝร่ังมังฆองไดแจงในพระราชสาสนน้ันแลวก็ดีพระทัยนัก ดวยทรงพระดำริวา การสงครามครั้งน้ีเปนธรรมยุทธใหญยิ่ง สมณชีพราหมณอาณาประชาราษฎรจะมิไดความ เดือดรอนสมควรแกพระเจาแผนดินผูตั้งอยูในยุติธรรม ทรงพระดำริแลวจึงใหพระราชทาน เงินทองเส้ือผาแกผูถือหนังสือเปนอันมากแลวใหแตงพระราชสาสนตอบฉบับหนึ่ง ใหจัด เคร่อื งราชบรรณาการ ผาสักหลาดยส่ี ิบพับ นอระมาดหา สิบยอด นำ้ ดอกไมเ ทศสามสิบเตา ชางพลายผูกเคร่ืองทองชางหนึ่ง มอบใหโจเปยวผูจำทูลพระราชสาสนนำกลับไปถวาย พระเจากรุงจีน พระเจากรุงจีนจึงรับส่ังใหลามพมาเขามา แปลใหเจาพนักงานอานถวาย ในพระราชสาสน ตอบนน้ั วา นอแรด ซึง่ ระมาดเปน คำภาษาเขมร หมายถึง แรด ๑๕๒ ภาษาไทย ๕

ซึ่งพระเจากรุงจีนมีพระทัยปรารถนา จะใครชมฝมือทหารฝายพมาข่ีมารำทวนสูกัน เปนสงครามธรรมยุทธนั้น เราเห็นชอบดวยมีความยินดีย่ิงนัก เพราะสมควรแกพระองค เปนกษัตรยิ ผใู หญอ นั ประเสรฐิ แตก ารสงครามคร้งั น้เี ปนมหายทุ ธนาการใหญห ลวง จะดวน กระทำโดยเร็วน้ันมิได ของดไวภายในเจ็ดวัน อนึ่ง พระองคก็เสด็จมาแตประเทศไกล ไพรพลทั้งปวงยังเหน็ดเหน่ือยเมื่อยลาอยู ขอเชิญพระองคพักพลทหารระงับพระกายให สำราญพระทยั กอนเถดิ แลวเราจึงจะใหม ีกำหนดนดั หมายออกไปแจง ตามมพี ระราชสาสน มานนั้ พระเจากรุงจีนไดแจงในพระราชสาสนตอบแลวก็ดีพระทัยจึงสั่งใหนายทัพนายกอง ทัง้ ปวงสงบไว ฝายพระเจามณเฑียรทอง ครั้นสงพระราชสาสนและเคร่ืองราชบรรณาการไปแลว จึงตรัสปรึกษาเสนาพฤฒามาตยราชปุโรหิต ขาราชการผูใหญผูนอยทแกลวทหารท้ังปวงวา ผูใดจะรับอาสาขี่มา แทงทวนสกู ามะนีทหารพระเจากรุงจีนตวั ตอตวั ไดบา ง เสนาพฤฒามาตย ผูใหญผูนอยทแกลวทหารทั้งปวงก็มิอาจรับอาสาได พระเจามณเฑียรทองก็ทรงพระวิตก ผฉสู บอับน เปนทุกขพระทัยนัก จึงใหหาโหรมาคำนวณพระชันษาและชะตาเมืองดู โหรคำนวณฎีกาดู ทลู ถวายวา พระชันษาและชะตาเมืองยงั ดอี ยหู าเสยี ไม นานไปจะไดล าภอันประเสรฐิ อกี พระเจามณเฑียรทองไดทรงฟงก็ดีพระทัย ใหตีฆองรองเปาท่ัวทั้งพระนครวา ถาหาก ผูใดรับอาสาสูกับกามะนีทหารพระเจากรุงจีนได พระเจาแผนดินจะโปรดใหเปนมหาอุปราช เสนาบดรี ับสงั่ แลว ก็ใหเ ปารองไปท่ัวพระนคร ไมม ผี ูใดทจี่ ะอาจออกรบั อาสาได ฝายผูคุมซึ่งคุมสมิงพระรามนั้น จึงเจรจากับเพ่ือนกันตามเรื่องราว แลววาคร้ังนี้ พระเจาอยูหัวจะแบงสมบัติใหกึ่งหน่ึง ก็ยังไมมีผูใดรับอาสา เห็นเมืองจะตกต่ำเสียแลว กระมัง สมิงพระรามไดยินดังน้ันก็คิดวา แตเราตองพันธนาการตรากตรำอยูนานแลว มิได ข่ีชางข่ีมาเหยียดมือเหยียดเทา เยื้องแขนซาย ยายแขนขวาเลนบาง เลยรำคาญใจนัก เราจะกลัวอะไรกับกามะนีทหารจีนอันจะเอาชัยชนะน้ันไมสูยากนัก ครน้ั จะรบั อาสาบัดนเ้ี ลา ก็เหมือนหาบสองบาอาสาสองเจาหาควรไม คิดแลวก็นิ่งอยู ครั้นรุงข้ึนผูคุมไดยินขาหลวง มาเปารองอีกจึงพูดกับเพ่ือนกันวา ทัพจีนยกมาครั้งนี้ใหญหลวงนัก หาทหารผูใดท่ีจะ รับอาสาปองกันพระนครไวน้ันเปนอันยากแลว อยาวาแตเมืองพมาเทานี้เลย ถึงเมืองใหญ ใหญก วาเมืองพมา สกั สิบเมืองก็เห็นจะสูไมได นาท่เี หน็ จะเสยี เมืองแกจีนเปน มนั่ คง ภาษาไทย ๕ ๑๕๓

สมิงพระรามไดฟงดังน้ันก็คิดวา กรุงอังวะนี้เปนตนทางอุประมาดังหนาดานกรุง หงสาวดี พระเจากรุงจีนยกทัพมาคร้ังน้ีก็มีความปราถนาจะใครดูทแกลวทหารอันมีฝมือ ข่ีมารำเพลงทวนสูกันตัวตอตัว ถาไมมีผูใดสูรบ ถึงจะไดเมืองอังวะแลวก็ไมส้ินความ ปรารถนาแตเพียงนี้ เห็นศึกจีนจะกำเริบยกลวงเลยลงไปติดกรุงหงสาวดีดวยเปนม่ันคง ตัวเราเลาก็ตองจองจำตรากตรำอยู ถาเสียกรุงอังวะแลวจะหมายใจวาจะรอดคืนไปเมือง หงสาวดีไดก ็ใชที่ จำเราจะรับอาสาตดั ศึกเสียจงึ จะชอบ อยา ใหศกึ จีนยกลงไปตดิ กรุงหงสาวดี ได คิดแลวจึงพูดกับผูคุมวา จะกลัวอะไรกับกามะนีทหารพระเจากรุงจีนน้ันจะมีฝมือดีสัก เพียงไหน เรากลวั แตทหารเทพยดาท่เี หาะได ซ่งึ กามะนีกบั เราก็เปน มนุษยเดนิ ดนิ เหมือนกัน เราหากลัวไม พอจะสูรบเอาชัยชนะได นายผูคุมไดฟงก็ดีใจจึงตอบวา ถาทานรับอาสาได แลวก็ดียิ่งนัก เห็นทานจะพนโทษไดท่ีมหาอุปราชมียศถาศักด์ิใหญเปนม่ันคง ไปเบ้ืองหนา เราจะขอพึ่งบุญทาน สมิงพระรามตอบวาซึ่งเรารับอาสาน้ี จะหวังยศถาบรรดาศักด์ิหามิได ประสงคจะกูพระนครใหเปนเกียรติยศไว และจะใหราษฎรสมณชีพราหมณอยูเย็นเปนสุข เทาน้ัน ผูค มุ ไดฟ ง กช็ อบใจ จึงนำถอยคำสมิงพระรามรีบเขา ไปแจง แกเสนาบดี เสนาบดไี ดฟง ก็มีความชื่นชม จึงนำความเขากราบทูลพระเจามณเฑียรทองตามคำสมิงพระรามวาน้ัน ผฉูสบอับน ทุกประการ พระเจาฝรั่งมังฆองไดทรงฟงก็เฉลียวพระทัยทรงพระดำริระลึกข้ึนมาไดวาสมิงพระราม นข้ี ีช่ างขม่ี าสันทัดดี ฝม อื เขมแขง็ แกลว กลา ในการสงครามหาผูเสมอตัวยาก เหน็ จะสูทหาร พระเจากรุงจีนไดเปนแท ทรงพระดำริแลวก็มีพระทัยยินดีนัก จึงตรัสแกเสนาบดีท้ังปวงวา สมิงพระรามน้ีมีฝมือเปนทหารเอกเมืองหงสาวดี เราลืมคิดไปพึ่งระลึกขึ้นได จึงตรัสส่ัง ขุนนางกรมนครบาล ใหไปถอดสมิงพระรามมากระทำสัตยเสียจึงนำเขาเฝา สมิงพระราม ก็เขามากราบถวายบังคมหนาพระท่ีน่ัง พระเจาฝร่ังมังฆองทอดพระเนตรเห็นสมิงพระราม ก็มพี ระทัยยินดีนกั จงึ ตรสั ถามวา ศึกมาตดิ กรุงอังวะคร้งั นี้ หาผูใดทีจ่ ะอาสาออกสูกบั ทหาร จีนมิได ทานจะรับอาสาเราหรือประการใด สมิงพระรามจึงกราบทูลวา อันการสงคราม เพียงนี้มิพอเปนไรนัก ขาพเจาจะขอรับอาสาพระองคออกไปตอสูดวยกามะนี สนองพระ- เดชพระคุณมิใหอัปยศแกพระเจากรุงจีนนั้นพอจะไดอยู แตขาพเจาจะขอรับพระราชทาน มาที่ดีมีฝเทาตัวหนึ่ง ถาไดสมคะเนแลวอยาวาแตกามะนีผูเดียวเลย เวนไดแตเทพยดา นอกกวา น้ันขาพเจา จะสูไดส้ิน พระเจาฝรั่งมังฆองจึงสั่งใหกรมมาตนนำมามาใหสมิงพระรามดูท่ีหนาพระลาน มากกวาหมื่นแสน แตสมิงพระรามกเ็ ลือกมา ที่ชอบใจไมไดสักตัวเดียว พระเจาฝรัง่ มังฆอง ๑๕๔ ภาษาไทย ๕

จึงจดั มา ทีร่ าษฎรเลีย้ งท้งั ในพระนครและนอกพระนครมาใหส มงิ พระรามเลอื ก มีลูกมาของหญิงมายผูหนึ่งมีกำลังมาก สามารถกระโจนขามแมน้ำที่กวางประมาณ หาวาไดทุกวัน และมีลักษณะดี เสนาบดีจึงจับลูกมามาใหสมิงพระราม สมิงพระรามเห็น ลักษณะของลกู มากช็ อบใจ จึงลองควบออกนอกเมอื งหายไปท้งั มาและคน ฝายเสนาบดีท้ังปวงก็รองอ้ืออึงข้ึนวา อายมอญโกหกมันลวงพระองคหนีกลับไปเมือง หงสาวดีแลว พระเจาฝร่ังมังฆองไดทรงฟงเสนาบดีวาดังนั้นก็ตกพระทัย จึงใหหาผูคุม เขามาตรัสถามดวยพระองควา สมิงพระรามจะลอลวงเราหนีไปจริงหรือประการใด ผูคุม ก็กราบทูลวา อันสมิงพระรามผูนี้มีความสัตยซื่อม่ันคงนัก ซ่ึงจะหนีพระองคไปนั้นขาพเจา เห็นหาเปนไม เพราะมาตัวน้ีเปนลูกมาหนุม ยังมิไดเคยพาดอานมีกำลังนัก สมิงพระราม จึงควบไปไกล หวังจะทรมานใหเหนื่อยออนลง จึงจะฝกสอนไดโดยงาย ขาพเจาเห็นคงจะ กลับมา ขอพระองคจ งเสด็จคอยทา อยกู อ นเถดิ พระเจาฝรง่ั มังฆอ งไดทรงฟงผคู มุ ทลู ดังนน้ั ก็ยังไมคลายพระวิตก มิไดเสด็จเขาตรัสบัญชาราชการดวยเสนาบดีท้ังปวง ตั้งพระทัย คอยทา สมงิ พระรามอยู ฝายสมิงพระรามขึ้นมาควบไปแตเวลาเชา จนสามโมงบาย ฝกหัดมาน้ันใหรูจักทำนอง รบรับไดแคลวคลองสันทัดแลว ก็ชักมาสบัดยางนอยเปนเพลงทวนกลับเขามา เสนาบดี ท้ังปวงแลเห็นสมิงพระรามขี่มาแตไกล ก็รองอื้ออึงขึ้นวา สมิงพระรามกลับมาแลวเหมือน ผฉสู บอับน คำผูคุมทูลจรงิ ทกุ ประการ พระเจาฝร่ังมังฆองทอดพระเนตรเห็น ก็ดีพระทัยนักจึงตรัสสรรเสริญสมิงพระรามนี้ นับวาเปน ชายผูหนงึ่ มคี วามสตั ยซ ่ือยงิ่ นกั และกลาหาญเขมแขง็ รศู ลิ ปศาสตรสันทัด หาตวั เปรียบเสมอมิได ฝายสมิงพระรามก็ชักมารำเปนเพลงทวนเขามา จนถึงหนาพระที่นั่งก็ลง จากหลงั มา เขา เฝา กราบถวายบงั คมพระเจา มณเฑียรทองแลวทูลวา ขา พเจา ไดมา สมคะเน ชอบใจแลว อันศรี ษะกามะนนี ้ันก็อยูในเง้ือมมือขาพเจา จะเอามาถวายพระองคใหจงได ขา พเจาจะขอรบั พระราชทานขอเหลก็ กบั ตะกรวย* ใบหนึ่งสำหรับผกู ขา งมาเมือ่ ขาพเจา ตัดศีรษะกามะนีขาดแลว จะไดรับเอาศีรษะมิใหทันตกลงถึงดินใสในตะกรวยซ่ึงแขวนไปกับ ขางมานั้นเขา มาถวายพระองค พระเจาฝรั่งมังฆองจึงส่ังมังนันทมิตรใหจัดเคร่ืองยุทธนาการมาใหสมิงพระราม และ ไดพระราชทานเครื่องมาทองคำประดับพลอยและเครื่องแตงกายใหสมิงพระราม และให มังมหาราชานำพระราชสาสนพรอมเครื่องราชบรรณาการไปกราบทูลพระเจากรุงจีนท่ี พลับพลาโดยดวน พรอมกับกำหนดวันท่ีจะกระทำธรรมยุทธใหสมิงพระรามและกามะนี ข่ีมารำทวนสูก ันตวั ตอ ตัว * ตะกรวย เปนคำโบราณ หมายถึง กรวย ๑๕๕ ภาษาไทย ๕

สมิงพระรามเตรียมตัวท่ีจะรบพรอมแลว ผลที่ไดจะออกมาแพหรือชนะ ประการใดก็ยังไมรูผล เด็ดเดี่ยวกำลังจะอานตอดวยใจจดใจจอกับเรื่องท่ียัง ไมจบ แตแมเ หน็ วาดึกแลว จงึ ใหหยดุ อา นไวเพียงแคน ้กี อน “พรงุ นี้ลูกตองไปโรงเรียนแตเ ชา” แมบ อก “เดก็ ๆ ควรนอนหลบั พกั ผอน ใหเ พียงพอ ไวคนื พรุงนค้ี อ ยมาอานตอกแ็ ลว กันจะ ” “กำลังสนุกอยูเลยครับคุณแม” เด็ดเด่ียวตอรอง “ผมอยากรูจังวา สมิงพระรามจะแพห รือชนะ อา นตออกี นดิ ไดไหมครับ” “พอกอนเถอะ นี่เกอื บสามทมุ คร่ึงแลว ดกึ กวานีล้ ูกจะต่นื สายไปโรงเรียน ไมทัน” แมกลาวรวบรัด พลางปดหนังสือนิยายท่ีตนอานอยูและเก็บหนังสือ วางที่ชั้นอยางเปนระเบียบ เด็ดเด่ียวจึงตองปดหนังสือทั้งที่ยังอยากรูเร่ืองราว ตอ ไป เขาคิดวาคืนพรงุ น้ี เขาจะตอ งอานเรอ่ื ง ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา ตอ แนนอน ผฉูสบอับน¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ô ๑. ฝก อานออกเสยี งบทอา นจนอานไดคลอ ง และหาความหมายของคำตอ ไปนี้ ละครพันทาง ประหนงึ่ คลอย พงศาวดาร สวรรคต อัปยศอดสู ประชวร เชลย จุลศกั ราช ทวน สนั ทัด ทแกลว พยหุ เสนา ศภุ ฤกษ อุประมา วสันตฤดู อาลกั ษณ ธรรมยทุ ธ สมณะ นอระมาด และพลบั พลา ๒. ตอบคำถามจากเรื่องที่อา น ดงั น้ี ขน้ึ อยกู ับดุลยพนิ จิ ของผสู อน ๑) ถานักเรียนเปนสมิงพระราม นักเรียนจะอาสาออกมารำทวนสูกันหรือไม เพราะอะไร ๒) นักเรียนคิดวาสมิงพระรามมีลักษณะนิสัยอยางไร ควรนำมาเปนแบบอยาง หรือไม อยางไร ๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดีเร่ือง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ตามที่ นักเรียนเขา ใจ ๔. สืบคนขอมูลเรื่อง ละครพันทาง เพ่ิมเติมจากส่ือตางๆ แลวเขียนสรุปขอมูลที่ได ลงในสมดุ ๑๕๖ ภาษาไทย ๕

จดจำการใชภ าษา การใชภาษาเพื่อสรางสัมพันธภาพท่ีดี ¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒà¾×èÍÊÌҧÊÁÑ ¾Ñ¹¸ÀÒ¾·´èÕ Õ ÁÕÅѡɳÐÍ‹ҧäà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤ÃºÑ สัมพันธภาพ หมายถึง ความผูกพัน ความเกี่ยวของ การใชภาษาเพื่อ สรางสมั พนั ธภาพที่ดีจึงเปน การสรา งความผกู พนั ใหมคี วามรสู กึ ทดี่ ตี อกัน มักใช ในการสงความปรารถนาดีในเทศกาลงานมงคลตางๆ การเขียนบัตรอวยพร เทศกาลตา งๆ เชน “梯 ÊѹμǏ ¹Ñ à¡´Ô ” ¢Íãˌ¯ ¤p ÁÕ¤ÇÒÁ梯 ÁÒ¡æ ผฉสู บอบั น ç² £ ¬· º„ ¢´ ¥ ´m ‰ ƒ ´¤Ã„ ‰É Ã¥ ‰ › ² Š Ѝ Ê ©p ภาษาไทย ๕ เนื่องในวารดิถขี ึ้นปใหม ขออาราธนาคณุ พระศรีรตั นตรยั อวยพรใหคณุ ลุงและคณุ ปา มคี วามสขุ ปราศจากโรคภยั ตลอดไป หลานฝาย ÀÒÉÒ·èÕáÊ´§ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ÀÒ¾·è´Õ Õ ¨Ð·Óã˼Œ ÙŒÃѺÊÒÃÃʌ٠֡´μÕ ‹ÍÊÒùѹé ๑๕๗

การเขียนบัตรอวยพร เปนการเขียนอวยพร หรือเขียนแสดงความยินดี กับบคุ คลใดบุคคลหนงึ่ หรือกลมุ บุคคล เนือ่ งในโอกาสตางๆ เชน วันขึ้นปใหม วันเกิด เปน ตน การเขียนบัตรอวยพร ควรเขียนขอ ความตอ ไปนี้ ๑. โอกาสในการเขียนบัตรอวยพร ๒. คำอวยพรหรือขอความที่แสดงความยินดี โดยใชภาษาที่สุภาพ เหมาะสมกับบคุ คลท่ีเขียนอวยพร และแสดงไมตรจี ติ ที่ดตี อกัน ๓. ชือ่ ผูรบั และชื่อผูอวยพร หรือผูแสดงความยนิ ดี ๔. หากผูรบั เปนผูใหญ ควรอางถึงสง่ิ ที่ผูรับเคารพนับถือเปนผูอวยพร ตัวอยาง การเขยี นคำอวยพร ผฉูสบอับน ¾·ÃÔ¦ÐÑÁȾàùÃÕÃ×èÍÁÑμ§ÕʹÊãØ¢Á¹μÀËÃâÍÑÒÂǧѾ¡â´»ÒáѧÊâ·Ç´ç§èÕμѹ´á§éÑ ¤ÅÃãè§Ãº¡Ñ ٷѹá¡Ø ´Å¢á»ÒÐÍÅÃÅàÍФÐãÓÁ¡Ò˹դÃÒŒ¤Ò¾ÃǨسҤÁ¤Ø³ÊÃØ¢Ù การเขยี นคำอวยพรใหคุณครู à´ç´à´ÂÕè Ç ¡ŒÍ§À¾ ä¾Å¹Ô áÅÐàªÔ§¢ÇÑÞ การเขยี นคำอวยพรใหเ พอื่ น ã¹ÇÒô¶Ô Õ¢¹Öé »‚ãËÁ‹ ¢Í ÍǾÃãËŒ¹Ô´»ÃÐʺáμ‹ ¤ÇÒÁÊØ¢ áÅТÍãËŒ ÊÁËÇѧã¹ÊÔ觷èÕμŒÍ§¡Òà ·Ø¡»ÃСÒà ˹‹ÍÂ. . ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè õ ทำบัตรอวยพรใหสวยงาม และเขียนอวยพรใหเพ่ือนเนื่องในวันเกิด แลวนำผลงานติด ลงในสมดุ ข้ึนอยกู ับดุลยพนิ ิจของผสู อน ๑๕๘ ภาษาไทย ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. อานขอความที่กําหนด แลวขีดเสนใตคําราชาศัพทท่ีพบ จากน้ันเขียนลงในสมุด พรอ มท้งั เขียนบอกความหมายของคาํ พระมหาธรี ราชของชาติไทย วันท่ี ๒๕ พฤศจิกายนของทุกป คือ วนั มหาธรี ราชเจา หรอื วนั คลา ยวนั สวรรคต ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา- อยูหัวหรือรัชกาลที่ ๖ แหงราชวงศจักรี ผูทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอันเปน ประโยชนมหาศาลแกประชาชนชาวไทย ผฉสู บอับน นานัปการ เชน การกอตั้งลูกเสือและกอง เสอื ปา การเรมิ่ ใชน ามสกลุ คาํ นาํ หนา นาย นางสาว การกําหนดใหใชธงไตรรงคเปน ธงประจาํ ชาติ การดาํ เนนิ งานดานการประปา โรงพยาบาล การต้งั ธนาคารออมสนิ เปน ตน พระองคท รงมพี ระปรชี าชาญทง้ั ในดา นการปกครอง การพฒั นา โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในดา นอกั ษรศาสตร จงึ ทาํ ใหพ ระองคไ ดร บั การยกยอ งและถวายพระราชสมญั ญานามวา “สมเด็จพระมหาธีรราชเจา ” หรือ มหาราชผทู รงเปน จอมปราชญ นอกจากประชาชนชาวไทยท่ียกยองถวายพระเกียรติคุณแลว องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติหรือยูเนสโก ไดยกยองพระบาทสมเด็จ- พระมงกฎุ เกลาเจา อยูหัวใหเปน บุคคลสาํ คญั ของโลกพระองคห นง่ึ ดวย ภาษาไทย ๕ ๑๕๙

๒. เตมิ คาํ ทก่ี าํ หนดใหล งในชอ งวา งใหถ กู ตอ ง มฐ./ตัวชว้ี ัด ประสูติ โรคเร้อื น พระราชทาน เสด็จพระราชดําเนนิ พระองค ปสสาวะ ทรงสนพระทยั ฉันท4.1 (4) พระนาม ทรงผนวช พระราชสาสน เพล พระนาม แรกประสูติ พระนามาภไิ ธย สุนัข พระธดิ า เสด็จประทับ วนั พระราชสมภพ ถวาย อาพาธ ๑) พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณ� พระบรมราชิน� ……เ…ส…ด……็จ…พ…ร……ะ…ร…า…ช…ด……าํ …เน……ิน……. ไปเจริญทางพระราชไมตรีกับ ประเทศในแถบยโุ รป พรอ มทงั้ ……เส……ด……จ็ …ป…ร……ะ…ท…ับ……..ทป่ี ระเทศองั กฤษ เพอ่ื ทรง เขา รับการผาตดั และรกั ษาพระเนตร ๒) สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครนิ ทร ประสตู ิ………………………………………… เม่ือวนั ท่ี ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ ผฉูสบอับน ณ เมอื งเอดนิ บะระ ประเทศองั กฤษ เปน พระธิดา…………………………………… พระองค………………………………….. แรกในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนน� เมอื่ แรกประสูติ………………………………………………… ทรง พระนาม…………………………………………. ในสตู บิ ตั รวา May ตามท่ี โรงพยาบาลตงั้ ถวาย……………………………. ตอ มาเมอื่ ความทราบฝา ละอองธลุ ีพระบาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั จงึ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน……………………………………………….. ตงั้ พระนาม……………………………………….. วา หมอ มเจา หญงิ กลั ยาณวิ ฒั นา มหิดล (คําวา “วัฒนา” ในพระนาม ทรงตั้งตาม …………พ……ร…ะ…น……า…ม…า…ภ…ิไ…ธ……ย…… ของสมเด็จพระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา สมเด็จพระนางเจาสวางวัฒนา พระบรมราชเทวี) ตอมาพระบาท สมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลื่อนเปน พระวรวงศเธอ พระองคเ จากลั ยาณวิ ัฒนา… ๑๖๐ ภาษาไทย ๕

๓) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหัว ทรงผนวช………………………………………………………………………. ณ วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม ๔) วนั ท่ี ๒๐ กนั ยายน เปน วันคลาย วนั พระราชสมภพ……………………………………………………………………………………… ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว ๕) พระเจาวรวงศเธอ พระองคเ จาจุลจกั รพงษ ทรงสนพระทยั……………………………………………………………….. ในงานประพันธและประวตั ิศาสตร ๖) พระเจา กรงุ จนี ใหโ จเปย วเชญิ ……พ…ร…ะ…ร……า…ช…ส……า…ส…น ……. ไปถงึ พระเจา ฝรงั� มงั ฆอ ง ๗) หลวงตากําลัง ฉัน……………………………………… เพล……………………………………… อยูทหี่ อฉัน ๘) พอทําบญุ กับพระภิกษทุ ่ี อาพาธ………………………………………………… ในโรงพยาบาลสงฆ ๙) ตัวน�้เปนสนุ ขั…………………………………………….. โรคเรื้อน………………………………………………. ๑๐) นักเรยี นขออนุญาตคุณครูไป ปส สาวะ………………………………………………… ผฉูสบอับน ๓. เขียนคาํ สามัญจากคาํ ราชาศพั ทแ ละคาํ สุภาพท่ีกําหนด แลวเลอื กคํามาแตงประโยค ๕ ประโยค มฐ./ตัวช้ีวัด ท4.1 (4) ๑) พระราชดํารสั คาํ สอน………………………………………. อาหารเชา๖) จังหัน ……………………………………………………………… ๒) ประเคน ยกของใหพ ระ………………………………………………….. ๗) ทรงพระอกั ษร อ……า …น………เ…ข…ีย…น……ห…น……ัง…ส……อื กิน ควาย๓) รับประทาน ๘) กระบอื…………………………………………… …………………………………………………………… นอน ลกู ชาย๔) จําวัด ๙) พระราชโอรส………………………………………………………… …………………………………………….. กนิ เสอื้๕) เสวย ๑๐) ฉลองพระองค…………………………………………………………. ………………………………………….. (ตวั อยาง)ประโยคทแี่ ตง …๑…)……ค…ณุ ……พ…อ……ป…ร…ะ…เ…ค…น……ป…จ …จ…ัย……ถ…ว…า…ย…แ…ด……พ …ร…ะ…ภ…ิก……ษ…ุ ……………………………………… …………๒…)……ค…ณุ ……แ…ม…ร…บั……ป…ร……ะท……า…น…อ……าห……า…ร…ก…ล……า…ง…ว…ัน…ท……รี่ …า …น…อ……า…ห…า…ร…ใ…น……ต…ล…า…ด………………………………………………… …………๓…)……ห…ล…ว…ง……พ…อ…ฉ……นั …จ…ัง……ห…นั ………แ…ล…ว…จ…ึง…ท……าํ …ว…ตั …ร…เ…ช…า ………………………………………………………………………………………… ๔) เกษตรกรเลีย้ งโคและกระบือไวไถนา…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………๕…)……พ…ล…เ…อ…ก……พ…ร…ะ…เ…จ…า …บ…ร……ม…ว…ง…ศ…เ…ธ…อ……ก……ร…ม…พ……ร…ะ…ก…าํ …แ…พ…ง……เพ……ช…ร…อ…ัค……ร…โ…ย…ธ…ิน……เ…ป…น……พ…ร……ะ…ร…า…ช…โ…อ…ร…ส ภ…า…ษ…าไ…ท…ย…๕…ใ…น…พ……ร…ะ…บ…า…ท…ส……ม…เ…ด…จ็ …พ……ร…ะ…จ…ุล…จ……อ…ม…เ…ก…ล…า…เ…จ…า…อ…ย……หู …วั ……แ…ล…ะ…เ…จ…า…จ…อ……ม…ม…า…ร…ด……าว…า…ด……………๑…๖……๑…

แบบทดสอบท่ี ๖ กา ✗ คําตอบที่ถูกท่ีสดุ ขอ ๑-๒ ขอใดใชคําราชาศัพทไ มถ ูกตอง ๖. ขอ ใดมคี วามหมายตา งจากพวก ก. สวรรคต ข. มอดมว ย ๑. ✗ก. ทรงเสวย ข. ทรงดนตรี ค. อาสัญ ✗ง. มฤค ค. ทรงมา ง. ทรงพระอกั ษร ๒. ก. สมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตร ขอ ๗-๙ ควรเติมคําใดลงในชอ งวา ง เห็นพระมหาอปุ ราชาหอมลอ ม ดว ยทหาร ๗. วันที่ ๕ ธันวาคม เปนวันคลายวัน ข. รชั กาลที่ ๗ เสดจ็ แปรพระราชฐาน ………. ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร- ไปที่พระราชวงั ไกลกังวล ๘. มหาภูมิพลอดลุ ยเดช ค. รัชกาลที่ ๕ พระราชทาน ๙. ก. ประสูติ พระบรมราโชวาท ๑๐. ข. สถาปนา ✗ค. พระราชสมภพ ✗ง. สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรม- ผฉูสบอับน ง. เฉลมิ พระชนมพรรษา ราชินน� าถฯ พระราชทาน พอขนุ ศรีอินทราทิตยได …………………… พระบรมราโชวาท กบั นางเสอื ง ๓. ขอ ใดใชค าํ ราชาศพั ทถกู ตอ ง ก. สมโภช ✗ข. อภเิ ษก ก. พระสงฆกําลังกนิ อาหารเชา ค. โปรด ง. พระราชทาน ๔. พอ …………………… พระสงฆมาฉนั เพล ๕. ✗ข. รชั กาลท่ี ๖ ทรงเจมิ หนงั สอื ✗ก. นิมนต ข. กราบเรยี น ค. นมัสการ ง. ประเคน ค. หลวงพอวัดแจง ส้นิ แลว ขอใดไมจําเปนตองเขียนในการเขียน ง. รัชกาลท่ี ๒ แตงบทละครเร่อื ง บัตรอวยพร ✗ก. ท่อี ยขู องผูเขยี น อเิ หนา ข. ชอ่ื ผเู ขยี น และช่อื ผรู บั เสดจ็ ประพาส หมายถงึ ขอใด ค. โอกาสในการเขยี นอวยพร ก. ดงู าน ข. ศึกษา ง. ขอความที่แสดงความยินดี ✗ค. ไปเทย่ี ว ง. ตรวจงาน ๑๖๓ ทอดพระเนตร หมายถงึ กริ ิยาใด ก. ทอดสายตา ข. มองตา ค. เหน็ ✗ง. ดู ภาษาไทย ๕

แบบทดสอบที่ ๖ กา ✗ คำตอบทถ่ี ูกที่สุด ขอ ๑-๒ ขอใดใชค ำราชาศัพทไมถ กู ตอง ขอ ๖-๘ ควรเติมคำใดลงในชอ งวาง ๑. ✗ก. ทรงเสวย ข. ทรงดนตรี ๖. พระเจา ศรีอนิ ทราทติ ยไ ด ........................ ค. ทรงมา ง. ทรงพระอกั ษร กับนางเสือง ๒. ก. พระเจาอยหู ัวทอดพระเนตร ก. สมโภช ✗ข. อภิเษก ชางพระทน่ี ัง่ ค. โปรด ง. พระราชทาน ข. พระเจา อยหู วั เสดจ็ แปร ๗. วันที่ ๕ ธันวาคม เปนวันคลายวัน พระราชฐานไปทพ่ี ระราชวงั .......... ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว ไกลกังวล ก. ประสตู ิ ค. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ข. สถาปนา พระราชทานพระบรมราโชวาท ✗ค. พระราชสมภพ ผฉสู บอบั น ✗ง. สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ง. เฉลิมพระชนมพรรษา พระราชทานพระบรมราโชวาท ๘. พอ ........................ พระสงฆมาฉันเพล ๓. ขอใดใชค ำราชาศัพทถูกตอ ง ✗ก. นมิ นต ข. กราบเรยี น ก. พระสงฆกำลังกนิ อาหารเชา ค. นมัสการ ง. ประเคน ✗ข. พระเจาอยูหวั ทรงเจมิ หนังสอื ๙. ทอดพระเนตร หมายถึงกริ ยิ าใด ค. หลวงพอ วดั แจง สนิ้ แลว ก. ทอดสายตา ข. มองตา ง. สมเด็จพระเทพฯ แตง เพลงสมตำ ค. เห็น ✗ง. ดู ๔. ขอ ใดมีความหมายตางจากพวก ๑๐. ขอใดไมจำเปนตองเขียนในการเขียน ก. สวรรคต ข. มอดมว ย บัตรอวยพร ค. อาสญั ✗ง. มฤค ✗ก. ทีอ่ ยขู องผเู ขียน ๕. เสด็จประพาส หมายถงึ ขอใด ข. ชอื่ ผูเ ขียน และช่อื ผรู ับ ก. ดูงาน ข. ศกึ ษา ค. โอกาสในการเขียนอวยพร ✗ค. ไปเทีย่ ว ง. ตรวจงาน ง. ขอ ความท่แี สดงความยนิ ดี ภาษาไทย ๕ ๑๖๓

ตาราง ẺºÑ¹·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹‹Ç ๒หนว ยท่ี ๖ รายการวัดประเมินผลตามเปาหมายการเรยี นรู ประจำหนว ยท่ี ๖ คำชแี้ จง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเต็มของกจิ กรรมทตี่ องการวดั ผลเพอ่ื เก็บสะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) ของนกั เรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมนิ ๓. ชนิ้ งานทมี่ เี ครอื่ งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ รายการประเมนิ รายการเคร่ืองมือวดั และประเมินผลการเรยี นรขู องนักเรยี น คะแนนรวมดาน ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดา นคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๕ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได เตม็ ได ประเมินผลสัมฤทธด์ิ าน K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นออกเสยี ง - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ อานออกเสียง วรรณกรรมเรื่อง การอานออกเสยี ง ทพี่ งึ ประสงค บทรอยแกว และ สมิงพระรามอาสา บทรอ ยกรองได แลว ตอบคำถาม ถูกตอ ง มฐ.ท ๒.๑(๒) - ก. พัฒนาการคิด* - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ เขียนสื่อสารโดยใช ขอ ๔ การใชภ าษา การคิดวิเคราะห ทีพ่ ึงประสงค คำไดถูกตอ ง ชัดเจน ใหเ หมาะสมกบั - แบบประเมนิ ทกั ษะ และเหมาะสม สถานการณท ่ีกำหนด การเขียน - ก. พัฒนาการคดิ ขอ ๕ การเขียนคำ อวยพร มฐ.ท ๔.๑(๔) - ก. พฒั นาการคิด - แบบประเมนิ การ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ใชค ำราชาศัพท ขอ ๑ หาคำ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ท่พี งึ ประสงค ราชาศพั ทจ าก - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ผฉูสบอับน ขอ ความท่กี ำหนด การคิดวิเคราะห ท่ีพึงประสงค - ก. พัฒนาการคดิ * ขอ ๒ เตมิ คำ ราชาศัพทล งใน ชองวาง - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ขอ ๓ แตงประโยค การคดิ วเิ คราะห ทพ่ี ึงประสงค จากคำราชาศพั ท - แบบประเมินทกั ษะ ที่กำหนด การเขยี น มฐ.ท ๕.๑(๓) - การบอกคณุ คาของ - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ อธิบายคณุ คาของ วรรณคดเี รื่อง การคิดวิเคราะห ทพ่ี ึงประสงค วรรณคดีและ ราชาธริ าช ตอน วรรณกรรม สมิงพระรามอาสา สว นท่ี ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรียนตามตัวชวี้ ัด สวนที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรียน ผลงานกจิ กรรมบรู ณาการฯ ทนี่ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ ช่ืองาน พจนานกุ รมคำราชาศัพทนา รู สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธิผลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธป์ิ ระจำหนวยที่ ๖ - ๑๐ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการเรยี นรปู ระจำหนว ย ผา น ไมผาน ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอ มเสริมแลว ➠ ผานเกณฑป ระเมนิ ………………………………………………………………………………. ลงชื่อ ………………………………………………………. ผูป ระเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๑๖๔ ภาษาไทย ๕

หนวยการเรยี นรทู ี่ คํ ๗าทมี่ าจากภาษาตา งประเทศ เปาหมายการเรียนรูประจำหนวยการเรียนรูท่ี ๗ ¤Óä·Âá·Œ ¢¦ŒÒ‹Ò¾‹Íä¡È‹ Ö¡ÀàҨɤÃÒÓμÔÞ·Ò‹ ÁèÕ §Ò»¨ÄÃÒÐå¡àÉ·ÈÕ เม่ือเรยี นจบหนวยนี้ ผเู รียนจะมีความรคู วามสามารถตอ ไปน้ี ๑. อานออกเสียงบทรอ ยแกว และบทรอยกรองท่กี ำหนด ¡Ã±Õ Ò ¡ÃªÔ ÀÒɤÒÓμ·Ò‹ ÕèÁ§Ò»¨ÃÒСà·È ไดถ กู ตอ ง ƒ ©p † ¤¯ Âμ£ ·©Í©¶ ¤Âμ¤Íผ·Ãฉูส ´บ¥อับ¡น ๒. บอกและใชคำไทยแท และคำท่ีมาจากภาษาตา งประเทศ ºÐËÁÕè ไดอยา งถกู ตอ ง และเหมาะสม ๓. เขยี นเรื่องตามจินตนาการไดอ ยางเหมาะสม และมีมารยาทในการเขยี น คณุ ภาพที่พงึ ประสงคของผูเรียน ๑. อา นไดคลอ ง และอา นไดเรว็ ขึน้ ๒. รูและเขาใจคำไทยแท และคำทมี่ าจากภาษาตา งประเทศ ๓. เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการอยา งสรา งสรรค ๔. มีมารยาทในการเขยี น แผนผังความคดิ ประจำหนวยการเรียนรทู ี่ ๗ สาระ เรียนรหู ลักภาษา การเรียนรู คำไทยแท และคำทีม่ าจาก ภาษาตา งประเทศ เบกิ ฟา วรรณกรรม สมิงพระราม ประลองเพลงทวน จดจำการใชภ าษา การเขียน การเขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการ

ขอบขา ยสาระการเรยี นรูแกนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ชนั้ ป.๕ ตัวชวี้ ัดชนั้ ป สาระพน้ื ฐาน ความรูฝ งแนนตดิ ตัวผูเ รียน มฐ.ท ๑.๑ (๑) อา นออกเสียงบทรอยแกว - วรรณกรรม เรื่อง - วรรณกรรมเรอื่ ง สมงิ พระรามประลอง และบทรอ ยกรองไดถ ูกตอง สมิงพระรามประลอง เพลงทวนเปนเรอื่ งทีต่ ัดมาจาก วรรณคดี เพลงทวน เร่อื ง ราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา ซ่งึ เปน พงศาวดารของชนชาตริ ามญั มฐ.ท ๒.๑ (๘) เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ - การเขียน มฐ.ท ๒.๑ (๙) มีมารยาทในการเขียน - การเขียนเรือ่ งตาม - การเขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการเปนการ เขยี นเรื่องตา งๆ ตามจินตนาการและความ จนิ ตนาการ คิดสรา งสรรคของผเู ขยี น ควรใชภ าษาที่ อา นเขา ใจงายและมีมารยาทในการเขียน มฐ.ท ๔.๑ (๕) บอกคำภาษาตา งประเทศ - คำไทยแท และคำทม่ี า - คำไทยแทเ ปน คำทคี่ นไทยเราใชกันมาแต ในภาษาไทย จากภาษาตา งประเทศ ด้ังเดิม สวนคำท่มี าจากภาษาตา งประเทศ เปนคำที่ไทยเรารับมาจากภาษาอ่ืน เชน มฐ.ท ๕.๑ (๒) ระบุความรูและขอคิดจาก - วรรณคดี เรื่อง จีน องั กฤษ เนือ่ งจากการตดิ ตอส่อื สารกัน การอานวรรณคดแี ละวรรณกรรมทสี่ ามารถ ราชาธริ าช ตอน นำไปใชใ นชวี ติ จริง สมิงพระรามอาสา - วรรณคดเี ร่ือง ราชาธริ าช เปนวรรณคดี ท่อี า นเขาใจงาย ใหข อคิดคติเตอื นใจท่ี สามารถประยุกตใ ชใ นชวี ิตประจำวันได ผฉูสบอับน¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ เขียนคำไทยแทแ ละคำท่มี าจากภาษาตา งประเทศลงในตารางปรศิ นาอักษรไขว ตามความหมายทก่ี ำหนด น๑) ฤ ม ล๒) า หุ แนวตั้ง ๑) งู ค ๓)ต ๒) เบา น๔) า นั ป๕) ก า ร ๓) เรยี กชาวตา งประเทศท่ีมีถิน่ ฐาน อ ฐง อยูในอีกประเทศหนง่ึ ค๖) ๗)รี ม ด ๔) สิง่ ทง่ี อกขึน้ เหนือจมกู แรด รา ๕) ทแี่ รก เบือ้ งตน ๗) แสดงอาการลังเลใจออกมา อ ๘)ชิ ว ห า แนวนอน ๑) ไมมมี ลทนิ ๖) หวั นำ้ นมสว นที่ลอยข้นึ มา ๔) มหี ลายอยา ง ๘) ลิน้ (คำราชาศัพท) ๑๖๖ ภาษาไทย ๕

เรยี นรหู ลักภาษา คำไทยแท และคำท่ีมาจากภาษาตางประเทศ ¤Óä·Âá·Œ áÅФӷèÁÕ Ò¨Ò¡ÀÒÉÒμÒ‹ §»ÃÐà·È ÁËÕ ÅÑ¡Êѧà¡μÍÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð ๑. คำไทยแท หรือคำไทยเดิม เปนคำท่ีคนไทยเราใชกันมาแตดั้งเดิม กอ นที่จะรบั อทิ ธิพลจากภาษาตางประเทศ หลักสงั เกตคำไทยแท มดี งั นี้ ๑) คำไทยแทสวนมากเปนคำพยางคเดียวโดดๆ เชน พอ แม ขา มอื แขน นก ไก หนู เสอื ขา ว ฯลฯ ๒) คำไทยแทมกั ใชตัวสะกดตรงตามมาตรา เชน ผฉสู บอับน แม กก ➠ กาก โชก คอก ฉกี เชอื ก แปลก ฯลฯ แม กง ➠ กาง ขัง ครั้ง เฉียง เชอ่ื ง แปลง ฯลฯ แม กด ➠ กีด ขุด คัด เฉียด พูด โลด ฯลฯ แม กบ ➠ กบั ดาบ คบื เงยี บ เจ็บ เพียบ ฯลฯ แม กม ➠ ขิม โคม จาม ชิม แตม สาม ฯลฯ แม กน ➠ วัน กิน จาน พาน สาน ฯลฯ แม เกย ➠ เกย ขาย คุย งอ ย เจ้ือย โปรย พลอย ฯลฯ แม เกอว ➠ กาว คิว้ เฉ่ียว แมว เปลว เลย้ี ว ฯลฯ ๓) คำไทยแทหลายพยางคมีอยูหลายคำ ซ่ึงสวนใหญพยางคแรก ของคำจะเปนคำท่ีประวิสรรชนีย เชน มะพราว ตะเข็บ ตะขาบ ตะวัน สะใภ สะดอื ฯลฯ ๔) คำไทยแทไมม ีอักษรการันต ภาษาไทย ๕ ๑๖๗

๕) คำไทยแทไมใชพ ยญั ชนะตอไปนี้ ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฑ ฒ ธ ศ ษ แตมขี อ ยกเวนสำหรบั บางคำทเี่ ปน คำไทยแทและใชพ ยญั ชนะดังกลาว ไดแ ก ฆ ➠ ฆา ฆอ ง เฆีย่ น ระฆงั ธ ➠ ธ เธอ ศ ➠ ศอก ศึก ณ ➠ ณ ฯพณฯ ๖) คำไทยแทใชวรรณยกุ ตเ พื่อแสดงความหมายของคำ เชน กอง กอ ง กอง ทอง ทอง ทอง รอง รอง รอง ลาง ลาง ลาง วา วา วา หมัน หมนั่ หมั้น ฯลฯ ๗) คำไทยแทท อี่ อกเสยี ง “ไอ” จะประสมกับสระ “ใ” ไมมวนเทานน้ั ซ่ึงมี ๒๐ คำ ไดแ ก ใกล ใคร ใคร ใจ ใช ใช ใหญ ใด ใต ใน ใบ ใบ ใฝ สะใภ ใย ใส ใส ให ใหม ใหล ¤Óä·Âá·ŒáÅ´àÙ ÃÒÃÙŒ¨Ñ¡ ʋǹÁÒ¡Áѡ໚¹¤Óâ´´»ÃÐ⪹ËÅÒ ผฉูสบอับน àÃÂÕ ¡¾Í‹ áÁ‹ »†Ù Â‹Ò áÅÐμÒ ÂÒ àÃÕ¡ÇÇÑ ¤ÇÒ áÁÇ Ë¹Ù áÅÐËÁÙ ÁŒÒ હ‹ »Ò¡ ¤Í ¤ÇéÔ ¤Ò§ áÅРᢹ ¢Ò àÃÂÕ ¡Ê‹Ç¹¢Í§ÃÒ‹ §¡ÒÂÁËÕ ÅÒÂÍÂÒ‹ § Á×Í ¹ÇéÔ Ë¹ÒŒ ÅÇŒ ¹¤Ó¾ÂÒ§¤à´ÂÕ Ç äËÅ‹ ËÇÑ ¼Á ¹Ò‹ ´Ù á¡ŒÁ ËÙ μÒ เปนคำโดด มักสะกดตรงตามมาตรา ถา มีหลายพยางค คำไทยแทหลกั การสังเกต ไมใชอักษรการันต พยางคแ รก มักประวสิ รรชนยี  คำท่ีออกเสยี ง ไอ จะใช ใชว รรณยกุ ตแ สดง ใ เทา น้ัน มี ๒๐ คำ ความหมายของคำ ไมใชพยญั ชนะบางตวั เชน ฆ ณ ญ ฎ ฏ ยกเวน คำบางคำ ๑๖๘ ภาษาไทย ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ñ ๑. คดิ แลวเขียนคำไทยแทลงในสมุดตามหัวขอทีก่ ำหนด หวั ขอละ ๕ คำ ๒.เคเจลราอือืกกญคคำาำลตทงิ ใไ่ี นดสจ มากขุดกอจิงกใชรใรนมบพา ัฒนขน้ึนาอกยากู รับกเริรดยียิุลนายอรพาทู นิกี่ าิจ๑รขอขงอผสู๑ออมนวาัยว๑ะ๐ คำ สนิ คาในตลาด แลวแตง ประโยค ๓. เติมคำไทยแทล งในชอ งวางใหเ ปน สำนวนที่สมบูรณ ๑) เก็บ เบย้ี ใต ถนุ ราน.......................... .......................... .......................... ๒) กำแพง มี หู ประตู มี ชอ ง.......................... .......................... .......................... .......................... ๓) ขวา ง งู ไมพน คอ.......................... .......................... ๔) คบคน ให ดู หนา ซอ้ื ผา ให ดู เนือ้.......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... ผฉสู บอับน ๕) ขงิ ก็ รา ขา ก็ แรง.......................... .......................... .......................... .......................... ๖) ความรู ทว ม หัว เอาตวั ไม รอด.......................... .......................... .......................... .......................... ๗) นอน กลาง ดิน กิน กลาง ทราย.......................... .......................... .......................... ๘) งาน หลวง ไม ให ขาด.......................... .......................... .......................... .......................... งานราษฎร ไม ให เสยี.......................... .......................... .......................... ๔. ใหส รปุ ลกั ษณะของคำไทยแท ตามความเขา ใจของนักเรยี น (ตวั อยาง) ๑) เปนคำพยางคเดยี วโดดๆ................................................................................................................................................................................................................................... ๒) มีตวั สะกดตรงตามมาตรา................................................................................................................................................................................................................................... ๓) คำไทยแทอาจมีหลายพยางค................................................................................................................................................................................................................................... ๔) คำไทยแทไมม ีตวั การนั ต................................................................................................................................................................................................................................... ๕) คำไทยแทใชวรรณยุกตเ พือ่ แสดงความหมายของคำ................................................................................................................................................................................................................................... ภาษาไทย ๕ ๑๖๙

๒. คำท่ีมาจากภาษาตางประเทศ เปนคำภาษาตางประเทศที่ไทยเรารับ เขามาใช เน่ืองจากคนไทยมีการติดตอกับประเทศตางๆ ทั้งทางดานการคา การทูต การเมือง การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และอ่ืนๆ จึงรับเอาคำจาก ภาษาตา งๆ มาใชในภาษาไทยดว ย คำทม่ี าจากภาษาตา งประเทศ มีดังน้ี ๑) คำภาษาเขมร ภาษาเขมรมีลักษณะคลายกับภาษาไทยในการลำดับประโยค และการใชค ำราชาศพั ท หลกั การสังเกตคำทมี่ าจากภาษาเขมร มีดังนี้ (๑) เปน คำทมี่ ตี วั สะกด ตวั จ ญ ร ล เชน เขญ็ จำเนียร กังวล (๒) เปน คำควบกล้ำและคำท่ีใชอกั ษรนำ เชน ขลัง ฉลอง เสวย (๓) เปนคำแผลง เชน ขดาน ➠ กระดาน ผสม ➠ ประสม ผฉูสบอับน ๒) คำภาษาชวา การท่ีคำภาษาชวาปะปนในภาษาไทยน้ัน เปนเพราะไทยกับชวา มีความสัมพันธอ นั ดกี ันมาแตโบราณ และเมือ่ วรรณคดเี รอ่ื ง อเิ หนา เปนที่รูจัก และช่ืนชอบกันอยางแพรหลาย คนไทยจึงคุนเคยและรับคำภาษาชวาเขามาใช ในภาษาไทยมากขึน้ ตัวอยาง คำท่ีมาจากภาษาชวา คำศพั ท คำแปล คำศพั ท คำแปล กรชิ มดี ปลายแหลมมี ๒ คม ยาหยี นองรัก การะบุหนิง ดอกแกว ยหิ วา ดวงชวี ิต ตันหยง ดอกพิกุล ระเดน โอรสหรอื ธิดาของกษัตริย บหุ งา ดอกไม ปน เหนง เข็มขดั องั สนา ดอกประดู มะงมุ มะงาหรา เที่ยวปา ๑๗๐ ภาษาไทย ๕

๓) คำภาษาจนี ไทยกบั จนี มคี วามสัมพนั ธก ันมาแตโบราณกาล ในสมยั สโุ ขทยั ได มกี ารทำสญั ญาทางไมตรีกนั ระหวางไทยกับจีน ภาษาไทยและภาษาจีนจัดอยูใน ตระกูลภาษาคำโดด ท้ังสองภาษามีเสียงสูงๆ ต่ำๆ เหมือนเสียงดนตรี จึงได ชื่อวา เปนภาษาดนตรี ตัวอยา ง คำท่ีมาจากภาษาจนี คำนาม คำกริยา กก (หมูเหลา ) กง (ปู) เขียม (ประหยดั ) เซง (ขาย) ขิม (เครอ่ื งดนตรชี นดิ หน่งึ ) เจา (เลกิ กันไป) แจ (ถอ พาย) เซียน (ผูวเิ ศษ) ตังเก (เรอื ) แฉ (เปด เผยใหรู) เซ็งลี้ (ขายตอ ) โสหุย (คาใชจ า ย) ซอ (สะใภ) ต๊อื (พยายาม) ทูซี้ (ทนทำตอ ไป) อั้งโล (เตา) ฮอ งเต (กษตั รยิ ) ตุน (เก็บไว) ตุน (ทำอาหารใหเปอ ย) ผฉสู บอบั น ¶ŒÒ໹š ¤ÓÇàÔ Èɳ ¡ç¨ÐÁÕ ¡Ñ§©Ô¹ กงั ฉิน หมายถึง คดโกง ทรยศ μ§©Ô¹ ºÇ  àÃÒÁÒÃÙŒ¨Ñ¡¤ÇÒÁËÁÒ ตงฉนิ หมายถึง ซ่อื ตรง บว ย หมายถึง สุดทาย ¢Í§¤ÓàËÅ‹Ò¹¡éÕ ¹Ñ ¤ÃºÑ ตัวอยาง ประโยคท่ใี ชค ำท่มี าจากภาษาจนี กง ชอบฟง หลานตีขมิ เวลาน่ังด่มื นำ้ เกก็ ฮวย เธอเปน คนเขียม จงึ ไมชอบจดั งานเล้ยี งทตี่ องจายคาโสหยุ มาก มิ้นถกู เพอ่ื นต๊ือใหไปเทย่ี วทะเลดว ยกัน อาแปะ เซงตกึ ๓ ช้ัน แถวรัชดา เดือนท่ีแลว เราตองเตรียมตนุ เสบียงไวเผื่อหิวเวลาเดนิ ทาง แมทำกวยเตย๋ี วหมตู นุ รสเดด็ ภาษาไทย ๕ ๑๗๑

๔) คำภาษาบาลีและสันสกฤต เปนคำท่มี ีลักษณะ ดังน้ี (๑) เปน คำทีม่ หี ลายพยางค เชน บดิ า มารดา ภรรยา กรุณา ฯลฯ (๒) เปนคำท่ีมีตัวสะกดไมตรงตามตัว และมักมีการใชอักษร การันตดว ย เชน สุข นพ รฐั พักตร กษาปณ ฯลฯ (๓) เปนคำท่ปี ระสมดวยพยัญชนะตัว ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฤ ฬ เชน ฆาต มชั ฌิม จุฬา โกฏิ วฒุ ิ เศรษฐี ฤดู ฯลฯ (๔) เปนคำที่พยัญชนะสะกดมี ๒ ตัว (แตออกเสียงเพียงเสียง เดยี ว) เชน จกั ร บุตร เพชร เนตร ฯลฯ ๕) คำทย่ี ืมมาจากภาษาอังกฤษ เรารับภาษาอังกฤษมาใชในภาษาไทย เพราะความเจริญกาวหนา ทางเทคโนโลยีซึ่งคำภาษาอังกฤษที่รับมาน้ัน บางคำเราก็ออกเสียงคำน้ันๆ ผฉูสบอับน ตามภาษาเดิม หรือใกลเคียงกับภาษาเดิม สวนบางคำเราก็คิดบัญญัติศัพทใน ภาษาไทยใชแ ทน เชน เวบ็ ไซต มาจากคำวา web site ดาวนโหลด download โปรแกรม program คอมพิวเตอร computer ไอศกรมี ice cream ยรี าฟ giraffe แกส แอร gas อินเทอรเ นต็ air เทคโนโลยี internet technology ๑๗๒ ภาษาไทย ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ò ๑. อานคำท่ีกำหนดให แลวจำแนกวา เปน คำที่มาจากภาษาใด จากน้ันเขียนลงในสมดุ (ดเู ฉลยในหนาพเิ ศษทา ยเลม) โรเดยี ม โจก ฤกษ ตุย เชลย ฑาหก บังกะโล เชติ้ มรรยาท ตนุ าหงัน บังคม วายุ ลฬี หา แร็กเกต ทำนูล เจริญ กรีฑา บะหม่ี กรชิ สไลด ๒. สืบคนคำท่ีมาจากภาษาตางประเทศจากแหลงตางๆ แลวเขียนคำและความหมาย ลงในตาราง (ตัวอยา ง) คำ มาจากภาษา ความหมาย ผฉูสบอบั น นวิ าต............................... บาลี....................................................... สงดั เสงย่ี ม เจยี มตวั สภุ าพ......................................................................................................................................... บรรเทา............................... เขมร....................................................... ทเุ ลาหรอื ทำใหท เุ ลา......................................................................................................................................... บะหม่ี............................... จนี....................................................... อาหารของจนี ชนดิ หนงึ่ ทำดวยแปงสาลี......................................................................................................................................... บงั คัล............................... เขมร....................................................... เฝา......................................................................................................................................... ปรเมษฐ............................... สนั สกฤต....................................................... ผสู งู สดุ คอื พระพรหม......................................................................................................................................... ปารเ กต............................... องั กฤษ....................................................... ...แ...ผ....น.....ไ...ม....เ..ล....ก็.....ๆ......ท.....่ีใ...ช...ป.....ูพ....น้ื.....ห.....อ....ง...ส.....ล....บั.....ก.....ัน.....เ..ป....น.....ล.....า...ย...ต.....า...ง....ๆ... พเยีย............................... เขมร....................................................... พวงดอกไม......................................................................................................................................... ระมา............................... ชวา....................................................... เหลือบ (คำนาม)......................................................................................................................................... รชั นี............................... บาลี-สนั สกฤต....................................................... กลางคืน เวลามดื........................................................................................................................................ ๓. แตงประโยคจากคำที่ไดในกิจกรรมพัฒนาการเรยี นรทู ่ี ๒ ขอ ๒ ลงในสมุด ขึน้ อยกู ับดลุ ยพนิ ิจของผสู อน ๑๗๓ ภาษาไทย ๕

เบกิ ฟาวรรณกรรม สมิงพระรามประลองเพลงทวน วันน้ีเมื่อกลับมาถึงบานแลว เด็ดเด่ียวรีบทำกิจวัตรประจำวันของตนเอง แลวทำการบานจนเสรจ็ เรียบรอย ⪤´Õ¨§Ñ Ç¹Ñ ¹éÕ äªâÂ! ÁÕ¡ÒúŒÒ¹äÁ‹àÂÍÐ ·Ó¡ÒúҌ ¹àÊÃç¨áÅŒÇ ผฉูสบอับน เด็ดเด่ียวจัดเก็บหนังสือ สมุด และเคร่ืองเขียนใสในกระเปานักเรียน อยางเปนระเบียบ แลวจัดตารางเรียนของวันรุงข้ึนเตรียมไวดวย จากนั้นเขาก็ หยบิ หนังสือเร่อื ง ราชาธิราช ขนึ้ มา เด็ดเดีย่ วเปดหนงั สือไปยงั หนาทเี่ ขาอา นคา งไว แลว เรม่ิ อานทนั ที ครนั้ ถงึ วันนัดกำหนดแลว กษัตริยสองฝายตางก็พรง่ั พรอมไปดวยพยุหเสนาแหแหน หนาหลังเปนอันมาก ตามขบวนพิชัยสงคราม เสด็จไปสูทองสนาม ขึ้นยังที่พลับพลา ประทับพรอมกนั ฝา ยกามะนีกแ็ ตงตัวใสเสอ้ื หมุ เกราะ แลวดวยทองเปนอันงาน คาดสายรดั เอวประดบั หยกเหน็บกระบี่ ขึ้นขี่มารำทวนออกมา ณ ทองสนาม ฝายสมิงพระรามก็แตงตัว ใสเส้ือ ๑๗๔ ภาษาไทย ๕

นพรตั น หรอื แกว ๙ อยาง คอื เพชร ทบั ทมิ มรกต บุษราคัม ลกั ษณะท่ถี ูกฟน ขาดเฉียงบา โกเมน นิล มกุ ดา เพทาย และไพฑรู ย บางทีกใ็ ชว า นวรตั น สชี มพขู ลบิ ทองจบี เอว โพกผา ชมพูขลิบแลวไปดวยทอง ใสก ำไลตนแขนปลายแขน แหวน สอดกอยแลวไปดวยเนาวรัตน แตลวนทองเปนอันงาม แลวสอดดาบสะพายแลงขึ้นมา ฟอนรำเปนเพลงทวนออกมายังทองสนาม แลเห็นกามะนีขี่มาแตงตัวหุมเกราะอยู ไมเห็น สำคัญที่จะหมายแทงได จึงคิดวากามะนีคนนี้ ชำนาญในเพลงทวนวองไวนัก แลวก็หุม เกราะใสเสื้อบังอยู ยังไมเห็นชองท่ีจะสอดทวนแทงแหงใดได จำจะชวนใหรำดูสำคัญกอน อน่ึงเลากำลังมาก็ยังก้ำกึ่งกันอยูกับกำลังมาเรา จำจะขับเคี่ยวกันไปกอนจึงจะหยอนกำลัง ลงเห็นจะเสยี ทีทำนองจึงจะเอาชยั ชนะไดโดยงาย คดิ แลวก็ใหล า มรองแปลไปวา เราทงั้ สอง เปนทหารเอกอนั ประเสรฐิ จะสูกนั ครั้งนี้เปนที่สุด จะไวเกยี รตยิ ศการงานจนตลอดกัลปาวสาน คร้ังจะสูกันเอาแพชนะทีเดียวก็หาสิ้นฝมือไม เราท้ังสองอยาเพอทำอันตรายแกกันกอน ใหทานรำเพลงทวนถวายไปใหส้ินฝมือแลว เราจะรำตามทานใหเหมือนจงได แลวเราจะรำ ใหทานรำตามเราบางใหสิ้นฝมือเหมือนกัน ใหพระเจาอยูหัวท้ังสองพระองคทอดทัศนา เจริญพระเนตรและทแกลวทหารทั้งสองฝายดูเลนเปนขวัญตา ถาเรารำส้ินเพลงและหยุด หายเหน่อื ยแลว เมอื่ จะสกู ันเอาแพและชนะนน้ั จึงจะบอกกนั ใหรตู วั ทงั้ สองฝาย กามะนไี ดฟ งลามรองมาดังนน้ั กม็ คี วามยนิ ดนี กั จงึ รองตอบมาวาชอบแลวแตเ ราเปน แขกมาทานเปนเจาของบาน เราจะรำกอนใหทานทำตามเราไปเถิด วาแลวกามะนีก็ขับมา ผฉูสบอบั น สบดั ยา งเปน เพลงทวนฟอ นรำออกมา สมงิ พระรามกข็ ับมาฟอนรำตามกามะนไี ดท กุ เพลง ขณะเม่ือสมิงพระรามรำตามกันนั้น พระเจากรุงตาฉิงและพระเจาฝรั่งมังฆอง ทอดพระเนตรเห็นทหารเอกทั้งสอง รำเยื้องกรายตามขบวนเพลงทวนดูทวงทีรับรองวองไว นัก งามเปนอัศจรรยดวยกันทั้งสองฝายเปรียบประดุจไดเห็นเทพยดาและพิทยาธร อัน รำณรงคประลองกันในกลางสนาม นายทัพนายกองทแกลวทหารท้ังสองฝาย ก็สรรเสริญ กามะนีและสมิงพระรามวาเหมือนเทพยดาลงมาฟอนรำกลางสนามงามย่ิงนัก มีตาสองตา ดูมิทนั เลย ดกู ามะนีแลวกลับมาดสู มิงพระรามเลา ดสู มิงพระรามแลว กลบั มาดกู ามะนีเปน ขวญั ตายง่ิ นัก ครนั้ กามะนรี ำสน้ิ เพลงแลว สมงิ พระรามก็รำใหก ามะนีรำตามบาง ขณะเม่ือสมิงพระรามรำสิ้นเพลงทวนแลว แกลงทำกลอุบายหวังจะดูชองเกราะ หมายสำคัญท่ีจะสอดทวนแทงน้ัน ก็แสรงทำยกแขนซายเหยียดตรงเหยียดแขนขวาเบื้อง บนแลวทำยืนควบมาไปมา แลวกลับหอยศีรษะลงบางแลวทำกลับเอาหลัง นอนลงควบ วกเวียนไปตางๆ กามะนีหารูกลไม สำคัญวาเพลงทวนฝายพมาดั่งน้ันจริงก็มิไดสงสัย รำ ตามไปสิ้นทุกประการ สมิงพระรามทอดตาแลดู เห็นเปนชองใตรักแรทั้งสองเปนหวางอยู พอจะสอดทวนแทงไดแลวเมื่อกลับศีรษะลงมานั้น เห็นเกราะซอนทายหมวกเปดออกพอจะ ยอนฟนไดแหงหน่ึง หมายสำคัญไดถนัดมั่นคงแลว ก็ชักมาหยุดพักพอหายเหนื่อยจึงให ภาษาไทย ๕ ๑๗๕

ลามรองบอกวา เราท้ังสองรำถวายก็ส้ินเพลงดวยกันแลว ทีนี้เราทั้งสองจะสูกันเอาแพและ ชนะแกกนั กามะนีไดฟงดังน้ันก็ขับมารำเขามา สมิงพระรามก็ขับมาออกไปสูกันเปนหลายสิบ เพลง ตา งคนตางรับรองวองไว ยงั หาเพล่ยี งพล้ำแกกันไม สมิงพระรามจึงคิดวา ถาจะสกู ัน อยูฉะนี้เห็นจะเอาชัยชนะยาก ดวยมากามะนีก็ยังมิถอยกำลัง จำจะลวงใหมากามะนีหยอน กำลังลงจงได จึงจะทำถนัด คิดแลวแกลงทำเปนเสียทีควบมาหนีออกไป กามะนีเห็นไดที กค็ วบมาทะลวงไลต ามมา สมงิ พระรามไป ผฉูสบอับน คร้ันสมิงพระรามแลเห็นกามะนีควบมาเต็มกำลังแลวมิทัน ก็แสรงรอมาไวหวัง จะดูทวงที เห็นกามะนียังไกลเชิงนักอยู สำคัญไดวาเหงื่อมากามะนีตกจนถึงกีบ ก็รูวา มากำลังลงแลว จึงชักมาวกเปนเพลงโคมเวียนเขารับกามะนี กามะนีชักมาเปนเพลง ผาหมากแลกเปล่ียนกันตางๆ ฝายมากามะนีหอบรวนหยอนกำลังลง กลับตัวตามเพลง ไมทัน สมิงพระรามไดทีก็สอดทวนแทงถูกซอกรักแรกามะนี กามะนีเอนตัวลง สมิง พระรามจึงชักดาบกระทืบมาเขาฟนยอนตามกลีบเกราะข้ึนไปตองศีรษะกามะนีขาดออก ๑๗๖ ภาษาไทย ๕

ตกลงมายังมิทันถึงดิน ก็เอาขอเหล็กสับเอาศีรษะกามะนีได ใสตะกรวยแลวก็ชักมาฟอนรำ เปน เพลงทวนเขา มา ตรงหนา พลบั พลาพระเจา ฝร่งั มังฆอ ง พระเจากรุงจีน และนายทัพนายกองทแกลวทหารท้ังปวงเห็นดังนั้นก็อัศจรรยย่ิงนัก จึงใหทหารไปเอาศพกามะนีมาทำศีรษะตอเขา ใสหีบไปฝงเสียในที่สมควร พระเจากรุงจีน ก็เสด็จกลับเขาคาย สมิงพระรามก็เอาศีรษะเขามาถวายพระเจามณเฑียรทอง พระเจา มณเฑียรทองทอดพระเนตรเห็นดังน้ันก็มีพระทัยยินดีนัก แลวเสด็จกลับคืนเขาสูพระนคร ฝายพมาเสนาบดีขุนนางนอยใหญไพรพลท้ังปวง ก็สรรเสริญสมิงพระรามวามิใชมนุษยเลย เสมอเทพยดา แตศีรษะกามะนีนั้นก็มิไดตกถึงดิน เอาขอเหล็กสับเอาไวไดดังทูลไว ทกุ ประการ ฝายเสนาบดีนายทัพนายกองจีนท้ังปวง ครั้นเห็นเสียกามะนีดังนั้นแลวก็โกรธ จึง กราบทูลพระเจากรุงจีนวา พระองคเสด็จยาตราทัพมาคร้ังน้ี ตั้งพระทัยจะทำสงครามให พระเจา กรุงองั วะอยูในเง้อื มพระหตั ถ ถึงมาตรวา เสยี กามะนีทหารเอกแลวใชขา พเจา ท้ังปวง นี้จะตีกรุงอังวะถวายไมไดนั้นหามิได เสียแรงดำเนินกองทัพเขามาเหยียบถึงชานกำแพง เมืองแลว จะกลบั ไปเปลา นน้ั ไดค วามอัปยศแกพมานกั ทำไมกับเมอื งองั วะสกั หยบิ มอื หนงึ่ เทาน้ีจะเอาแตมูลดินทิ้งเขาไปในกำแพงเมืองคนละกอน คนละกอนเทาน้ัน ถมเสียใหเต็ม ผฉูสบอับน กำแพงเมอื งในเวลาเดียวก็จะได พระเจากรุงจีนไดฟง ก็ตรัสหามนายทัพนายกองทแกลวทหารทั้งปวงวา เราเปน กษัตริยผูใหญอันประเสริฐ ไดใหคำมั่นสัญญาไวแกเขาแลว จะกลับคำไปดังนั้นหาควรไม พมาท้ังปวงจะชวนกันดูหมิ่นไดวาจีนพูดมิจริง เรารักสัตยย่ิงกวาทรัพย อยาวาแตสมบัติ มนุษยน้ีเลย ถึงทานจะเอาทิพยสมบัติของสมเด็จอัมรินทรมายกใหเราเราก็มิไดปรารถนา ตรสั ดงั นัน้ แลวกส็ งั่ ใหเ ลกิ ทัพเสด็จกลับไปยงั กรงุ จีน ฝายสมิงพระรามเมื่อไดรับชัยชนะแลว พระเจามณเฑียรทองก็ไดพระราชทาน บำเหน็จรางวัลแกสมิงพระรามเปนอันมากและทรงแตงต้ังใหสมิงพระรามเปนมหาอุปราช และพระราชทานพระราชธิดาใหเปน บาทบริจาริกา แมวาสมงิ พระรามจะปฏเิ สธ แตพระเจา มณเฑียรทองไมท รงยนิ ยอมและตรัสวา “เราเปนกษัตริยอันประเสริฐไดออกวาจาแลว ถึงจะตายก็หาเสียดายชีวิตไม เพราะ รักสัตยย่ิงกวารักชีวิตไดรอยเทา ซึ่งที่มหาอุปราชกับราชธิดาเรานั้น เราไดออกปากแลววา จะใหเปนบำเหน็จความชอบแกทาน ถึงมาตรวาจะมิรับดวยทานคำนึงถึงพระเจาราชาธิราช ก็จงรับเสียแตพอเปนเหตุตามสัญญาเถิด อยาใหเราเสียสัตยเลย อน่ึงเราเกรงคนท้ังปวง จะครหานนิ ทาได ทา นรบั อาสากพู ระนครไวม ีความชอบเปนอันมาก มไิ ดรบั บำเหนจ็ รางวลั ภาษาไทย ๕ ๑๗๗

ส่ิงใดนานไปเบ้ืองหนาถาบานเมืองเกิดจลาจลหรือขาศึกมาย่ำยีเหลือกำลัง ก็จะไมมีผูใดรับ อาสาอกี แลว เห็นเราจะไดความขดั ขวางเปนมนั่ คง” สมิงพระรามจึงตองรับพระราชทานตำแหนงมหาอุปราชและพระราชธิดาไวเปน บำเหนจ็ ความชอบ ดึกแลว แมเดินมาเคาะประตูบอกใหเด็ดเดี่ยวเขานอน เด็ดเดี่ยวปด หนังสือ แลวเกบ็ ไวท ี่โตะใกลๆ เตียงนอน หนังสือปดแลว แตเร่ืองท่ีอานเม่ือสักครูยังไมปดฉากลงงายๆ ภาพของ สมิงพระรามยังโลดแลนอยูในความคิดของเด็ดเด่ียว เขายังต่ืนเตนไมหายกับ การประลองเพลงทวนระหวางสมิงพระรามและกามะนี และเม่ือสมิงพระราม ชนะไดเปนมหาอปุ ราชแลว เหตกุ ารณจะดำเนนิ ตอไปอยางไรก็ยงั ไมรู “รอใหถึงคนื พรงุ น้กี อนเถอะ” เดด็ เด่ยี วหมายมัน่ อยูในใจ คนื พรุงนเี้ ขาจะ ผฉูสบอับนมาติดตามวา สมงิ พระรามจะดำเนนิ ชีวติ ตอไปอยา งไรอีกครงั้ หน่งึ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ó ๑. ฝก อา นออกเสยี งบทอานจนอานไดค ลอง และหาความหมายของคำตอ ไปนี้ แหแ หน พิชัยสงคราม พลบั พลา ประทับ เกราะ หยก ขลบิ เนาวรัตน สะพายแหลง เพอ กลั ปาวสาน ทัศนา ณรงค กบี พระราชทาน บำเหน็จ และบาทบรจิ าริกา ๒. ตอบคำถามจากเรอ่ื งทอ่ี าน ดงั น้ี ขึน้ อยูกับดลุ ยพินจิ ของผสู อน ๑) ถานกั เรยี นเปน สมิงพระราม นกั เรียนจะใชวธิ ีใดในการเอาชนะกามะนี ๒) นักเรียนคดิ วาพระเจา กรุงจนี ทำถูกตอ งหรอื ไม ท่ีไมท ำสงครามกับเมืององั วะ และเพราะเหตุใดจึงคิดเชนนน้ั ๓) นักเรียนคิดวาพระเจากรุงจีนมีลักษณะนิสัยอยางไร ควรนำมาเปนแบบอยาง หรือไม ๔) นักเรียนคิดวาวรรณคดีเรื่อง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ใหขอคิด ใดบาง และนกั เรียนจะนำขอคดิ นัน้ ไปใชป ระโยชนในชวี ติ จรงิ อยางไรบา ง ๑๗๘ ภาษาไทย ๕

จดจำการใชภ าษา การเขียน ¡ÒÃà¢ÂÕ ¹·´èÕ ÁÕ ËÕ ÅÑ¡ÍÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤ÃѺ การเขียน เปนทักษะในการส่ือสารท่ีใชตัวอักษรเปนส่ือ ซึ่งผูเขียนควร คำนึงอยูเสมอวาตองเขียนสื่อสารกับผูอานใหรับรูถึงความตองการ ความรูสึก นึกคิด อารมณ หรือเขาใจเจตนาของผูเขียน ผูเขียนจึงควรมีหลักในการเขียน เพ่ือจะไดส่อื สารกบั ผูอา นได หลักในการเขยี นโดยทวั่ ไป มีดังน้ี ๑) เขียนดวยลายมือที่อานงาย เปนระเบียบ และควรใชตัวเลขไทยใน งานเขียนทัว่ ไป เพ่อื อนรุ ักษเ ลขไทย ๒) เขยี นสะกดการันตใหถกู ตอ ง และวางรูปสระหรือรรณยกุ ตใหถกู ท่ี ผฉสู บอบั น ๓) ใชถ อยคำหรือสำนวนโวหารใหถกู ตอง เชน ❍✗ ตำรวจรัวกระสนุ ใสค นรา ยหนึง่ นัด ➠ คำวา รัว หมายถึง ยงิ ตดิ ตอ กนั หลายนัด ❍✓ ตำรวจยงิ ปนใสค นรายหนึง่ นดั ❍✗ ทำนาบนหวั คน ❍✓ ทำนาบนหลังคน ๔) เขียนใหถูกตองตามรูปแบบการเขียน เชน การเขียนยอความ การ เขยี นเรยี งความ การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ ซงึ่ จะมรี ูปแบบในการเขยี นแตกตา ง กันออกไป ๕) การเขยี นขอความยาวๆ ตอ งมยี อ หนา เวน วรรค วางจงั หวะชอ งไฟ ใหเหมาะสม ไมเขียนติดกันเปนพืด เพราะการเขียนเวนวรรคตอนไมถูกตอง จะทำใหเ ขา ใจผดิ ได เชน ภาษาไทย ๕ ๑๗๙

·¹Õè è¢Õ ÒÂä¢ä‹ ¡Ê‹ ´¨Ò¡¿ÒÃÁ หมายความวา ฟารม นี้ขายไขไกส ดเทา นนั้ ·è¹Õ è¢Õ ÒÂ䢋 ä¡‹Ê´ ¨Ò¡¿ÒÏÁ หมายความวา ฟารมนีข้ ายท้ังไข และไกส ด นอกจากน้ี ไมควรเขยี นฉกี คำหรอื แยกคำ เชน โรงเรยี น เขียนคำวา โรงอยูบรรทัดบนขวาสุด เขียนคำวา เรียน อยูบรรทัดลางซายสุด ซึ่งเขียน ไมถ กู ตอ ง ควรเขียนคำวา โรงเรยี น ติดกัน เพราะเปนคำคำเดียวกัน เปนตน ๖) จัดลำดับความคิดแลวเรียบเรียงเปนขอความตามลำดับดวยประโยค งายๆ ไมใชค ำฟมุ เฟอย เชน คนรายฆา ขมขนื ถูกประหารชีวติ ถึงแกค วามตาย ควรใชวา คนรายคดีฆา ขมขนื ถูกประหารชีวิต เปนตน ๗) ไมใชประโยคกำกวม เชน ฉันไมชอบกินอาหารเย็น เปนประโยคท่ี กำกวมเพราะอาจหมายความวาฉันไมชอบกินอาหารที่เย็นชืด หรือฉันไมชอบ กินอาหารมอ้ื เย็นก็ได จงึ ควรเขยี นรูปประโยคใหช ดั เจน ผฉูสบอับนเชน ๘) ใชค ำสุภาพ ไมใชคำผวน หรือคำคะนอง ในงานเขยี นท่เี ปน ทางการ ภาษาไมเ ปน ทางการ ภาษาทางการ พอ แมก นิ ขาวแลว คุณพอ คณุ แมร ับประทานอาหารแลว หนุมสาววยั โจซาขับรถซิ่ง หนุมสาววัยรุนขับรถแขงกัน ๙) ใชค ำใหเ หมาะกบั บุคคล สถานการณ และถูกระดบั ภาษา ไมใชภ าษา ผดิ ระดบั เชน “นังแจว เมื่อไรหลอ นจะตนื่ บรรทมซะทียะ” (บรรทม เปนคำราชาศัพทท ่ีใชก บั พระมหากษัตรยิ ) “น่นี ายตน ไปหา งๆ แมไป พระยังไมไดก ินเลย แกรอ งจะฉนั ซะแลว” (ฉัน เปน คำราชาศัพทท ี่ใชกบั พระสงฆ) ๑๘๐ ภาษาไทย ๕

๑๐) มจี ุดมงุ หมายของการเขียน ไดแก (๑) เขียนเพ่ือเลาเรอื่ ง เชน เขียนขา ว เลาประวตั บิ คุ คลหรือสถานท่ี (๒) เขยี นเพือ่ อธบิ าย เชน อธิบายความหมายของคำศัพท อธิบาย ขั้นตอนในการทำส่ิงตางๆ (๓) เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น เชน เขียนแนะนำหนังสือ วิเคราะหขาว วิจารณวรรณกรรม (๔) เขยี นตามจินตนาการ เชน กวนี พิ นธ เร่ืองส้นั นวนยิ าย (๕) เขียนเพื่อกจิ ธรุ ะ เชน จดหมายสวนตัว จดหมายธรุ กิจ จดหมาย ราชการ ประกาศของราชการ (๖) เขียนเพ่อื โนมนาวใจ เชน โฆษณาสนิ คา หาเสียงเลอื กตง้ั ๑๑) ผเู ขยี นตอ งมีความรู และประสบการณในเร่ืองที่จะเขยี น ชางสงั เกต มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มีการใชภาษาท่ีดี ถายทอดใหผูอานเขาใจชัดเจน หมน่ั ฝก ฝนเขียนอยา งตอเนื่อง เพื่อใชก ระบวนการเขยี นพัฒนางานเขยี น ผฉสู บอับน ๑๒) มีมารยาทในการเขยี น ดังนี้ (๑) มีความรับผิดชอบ ไมวาจะเกิดผลดีหรือผลเสีย รวมทั้ง ขอ บกพรอ งตางๆ ซงึ่ ถอื เปน มารยาทท่สี ำคญั ทีส่ ดุ (๒) มีการตรวจสอบความถูกตองของเน้ือหาเพ่ือใหผูอานไดอาน งานเขยี นที่ถกู ตอ ง (๓) มีการอา งองิ แหลง ขอ มลู (๔) ไมมีอคติในการเขียน โดยตองคำนึงถึงเหตุผลมากกวาความ รูสึกสวนตน (๕) ไมเขียนเพื่อมุงเนนทำลายผูอื่น หรือเพื่อสรางผลประโยชนให แกตนเอง (๖) ไมเขียนเร่ืองท่ีสงผลกระทบตอความม่ันคงของชาติหรือสถาบัน เบ้ืองสูง ภาษาไทย ๕ ๑๘๑

การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ ¡ÒÃà¢Õ¹àÃè×ͧμÒÁ¨¹Ô μ¹Ò¡Òà ÁËÕ ÅÑ¡¡ÒÃà¢ÂÕ ¹ÍÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð การเขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ เปน การเขยี นเรอื่ งราวตางๆ เชน นิทาน เรือ่ งส้นั ละคร ฯลฯ ตามความคดิ และจนิ ตนาการของผเู ขียน โดยเรอื่ งนัน้ อาจ เปน ความจริงหรือไมเปนความจริงก็ได หลกั การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ มีดังน้ี ๑. คดิ เรอื่ งท่ีตองการเขยี น ๒. วางเคา โครงของเรื่องที่จะเขยี น ผฉูสบอับน ๓. นำโครงเรอื่ งมาเขยี นใหไดใจความ ๔. ต้งั ชือ่ เรอื่ งใหชวนอาน และมคี วามสอดคลอ งกับเนือ้ เรือ่ งทเี่ ขยี น ตัวอยา ง การเขียนเชิงสรา งสรรค เรือ่ ง ดอกไมเพื่อนฉนั ทกุ เชา ผเี สอ้ื จะบินมาที่หนา ตา งหองนอนของหนูนา สวัสดีกบั หนนู า แลวบนิ รอ นไป มาอยางรา เริง แตวนั นผ้ี เี ส้อื บินมาเกาะน่งิ รองไหนำ้ ตาเปนทาง หนูนาเหน็ แลว สงสารจบั ใจ “ผเี สือ้ เธอเปน อะไรจะ ” “ดอกไมเพ่ือนรักของฉันนะสิ ดอกไมที่ฉันเคยดูดน้ำหวานกินทุกวันเหี่ยวเฉาตาย ไปแลว ฉนั ไมมนี ำ้ หวานของดอกไมก นิ อีกหนอยกค็ งถงึ คราวของฉนั บางเหมือนกัน” น้ำเสยี งใสๆ ของผีเสื้อนน้ั ฟงดูเศรา สรอย “แลว จะใหฉ ันชว ยเธอยงั ไงดลี ะ ผเี สอ้ื ” “ฉนั ก็ไมร ูเหมือนกนั จะ ” ผเี ส้ือทอดถอนใจ หนูนาเกิดความคิดบางอยาง “เอาอยางน้ีก็แลวกัน เธอลองคิดดูสิวาดอกไมมาจาก ที่ไหน เผอ่ื ฉันจะไปหามาใหเ ธอได” ๑๘๒ ภาษาไทย ๕

“เอ!... ผีเสื้อทำทานึกแลวบอกวา “ฉันก็เคยถามดอกไมเหมือนกันวามาจากไหน ผฉสู บอบั น แตมันนานมาแลว ขอทบทวนดูหนอย...” วันนั้นลมพัดเย็นสบายดี ฉันบินไปหาดอกไมเพื่อนฉัน พอฉันดูดน้ำหวานอิ่มแลว เรากค็ ุยกนั เร่อื งเลก็ ๆ นอยๆ ฉันเอยถามวาดอกไมมาจากไหน ดอกไมตอบวาฉันมาจากกลีบเลี้ยงจะ เมื่อตอน ดอกไมเ ด็กๆ ยงั ไมบานน้ันซุกอยูในกลบี เลีย้ ง...” “ออ! ดอกไมม าจากกลบี เลีย้ งหรอื จะ ผเี ส้อื ” หนนู าซัก “เปลาจะ ตอนแรกฉันก็เขาใจอยางน้ัน แตกลีบเลี้ยงบอกวาตัวเองงอกออกมาจาก กานจะ ” “ถาเชนนน้ั ดอกไมก ม็ าจากกา นน่นั เอง” “เปลาจะ เพราะกา นก็บอกวามันงอกออกมาจากลำตน ฉันจึงตอ งตะโกนถามลำตน ซงึ่ ออกจะอยูไกลกนั วา ดอกไมมาจากลำตน ใชไหม...” ผีเส้ือเลาตอ “ลำตนตะโกนตอบมาวา เปลา จะ ลำตนยงั อายนุ อ ย ไมรูห รอก ใหผีเสื้อไปถามราก ทอ่ี ายุมากทส่ี ดุ คงบอกผเี สื้อหรอื ตัวฉันนี้ไดกระมงั วา ดอกไมมาจากไหน” แหม! แลวรากนะอยูใตดิน จะไดยินฉันเหรอ ฉันจึงบินลงไปท่ีพ้ืนดินตรงโคนตน เคาะพื้นดินกอ กๆ ถามรากผูอาวุโสวา “ดอกไมมาจากเธอหรือเปลา จะ ” รากตอบกลับมาเสียงอูอี้ๆ แทบไมไดยินวา “โอ-ไมหรอก ดอกไมมาจากเมล็ดจะ แลวผเี ส้ือรูไหมพวกเราตนไมทง้ั ตน ราก ลำตน กาน กลบี เล้ยี ง มาจากเมล็ดท้งั นนั้ ” ผีเส้ือเลาจบแลว หนูนาจึงถามวา “ออ! ถาอยางนั้น ดอกไมก็มาจากเมล็ดใชไหม ผีเส้ือ” “ใชจะ ดอกไมมาจากเมล็ด” หนูนาดีใจมาก “ผีเสื้อ ฉันคิดออกแลว เธอพาฉันไปหาดอกไมเพื่อนรักของเธอ เราไปคน หาเมลด็ ดู เราอาจทำใหดอกไมของเธอเกดิ ข้ึนอีกได เพราะดอกไมมาจากเมล็ดน่นี า” แลวผีเสื้อก็บินนำหนูนาไปท่ีสวนดอกไม โชคดีจริงที่พบเมล็ดหลนอยูตรงพื้นดิน หนูนาขุดดินเอาเมล็ดปลูก และรดน้ำให สวนผีเสื้อกระซิบเบาๆ กับเมล็ดวา “ดอกไมจะ งอกออกมาเรว็ ๆ นะ ฉันกำลงั คอยเธออยู” รณี เลศิ เลอื่ มใส ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ô เขยี นเรอ่ื งสน้ั ๆ ตามจนิ ตนาการลงในสมดุ พรอ มต้งั ช่อื เรอ่ื งประกอบใหนา สนใจ ภาษาไทย ๕ ขน้ึ อยกู บั ดลุ ยพนิ ิจของผสู อน ๑๘๓

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. คิดแลวเขยี นคำตามทก่ี ำหนด แลวนำคำไปแตง ประโยค (ตวั อยาง) มฐ./ตัวชวี้ ัด คำท่ยี ืมมาจากภาษาบาลสี ันสกฤต ไดแ ก เพชร วุฒิท4.1 (5) ..................................................... ..................................................... เศรษฐี รัฐบาล ศาสตร..................................................... ..................................................... ..................................................... ๑) แมช อบใสเ พชร.................................................................................................................................................................................................................................... ๒) บรษิ ัทแหง หนง่ึ ประกาศรับสมัครพนกั งานวุฒปิ รญิ ญาตรี.................................................................................................................................................................................................................................... ๓) เขารำ่ รวยเปน เศรษฐี.................................................................................................................................................................................................................................... ๔) รฐั บาลมหี นา ทบ่ี ริหารประเทศ.................................................................................................................................................................................................................................... ๕) การนวดแผนโบราณของไทยจัดเปนศาสตรแขนงหน่งึ.................................................................................................................................................................................................................................... คำทยี่ มื มาจากภาษาเขมร ไดแก ตำรวจ ดำเนนิ................................................................... .................................................................. ชำนาญ................................................................... ผฉูสบอับน ๖) ตำรวจจบั ผูรา ย.................................................................................................................................................................................................................................... ๗) ในหลวงเสดจ็ พระราชดำเนินไปเยยี่ มพสกนกิ ร.................................................................................................................................................................................................................................... ๘) เขามคี วามชำนาญดา นการวาดรปู.................................................................................................................................................................................................................................... คำทีย่ มื มาจากภาษาจนี ไดแก แปะ ซะ กว ยเตยี๋ ว เฉากว ย.............................................. .............................................. .............................................. ๙) แมท ำแกงสม ปลาชอนแปะ ซะ.................................................................................................................................................................................................................................... ๑๐) ฉนั ชอบกินกว ยเต๋ยี ว.................................................................................................................................................................................................................................... ๑๑) พอ ซอ้ื เฉากวยมาใหลูกๆ รบั ประทาน.................................................................................................................................................................................................................................... คำทย่ี ืมมาจากภาษาอังกฤษ ไดแก คอมพวิ เตอร เกม............................................................... ............................................................... ฟุตบอล การต ูน................................................................... ................................................................... ๑๒) พีใ่ ชคอมพวิ เตอรท ำรายงาน.................................................................................................................................................................................................................................... ๑๓) นอ งเลนเกมกับเพื่อน.................................................................................................................................................................................................................................... ๑๔) ฉนั ชอบอา นหนงั สอื การต นู................................................................................................................................................................................................................................... ๑๕) กอ งภพกบั เดด็ เด่ยี วเตะฟตุ บอลท่ีสนาม.................................................................................................................................................................................................................................... ๑๘๔ ภาษาไทย ๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook