Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

Search

Read the Text Version

เบกิ ฟา วรรณกรรม สัตวเล้ียงแสนรู วันน้ีเปนวันเสาร คุณแมพาเชิงขวัญและนองชลาไปทำบุญถวาย ภัตตาหารเพลที่วัดใกลๆ บาน หลังจากท่ีไดทำบุญ ฟงพระธรรมเทศนาจาก พระสงฆ และรับประทานอาหารจากสำรับที่จัดไวสำหรับผูท่ีไปรวมทำบุญแลว เชิงขวัญและนองชลาสงั เกตเห็นวาขางๆ ศาลาวดั ใกลท า นำ้ มีแมสนุ ัขและลกู ๆ ของมนั อกี ๕ ตัว ซ่งึ สุนัขทงั้ หมดผอมโซและสกปรกมอมแมม เชิงขวัญเตือนนองวา “อยาเขาไปใกลมากนัก เพราะสุนัขแมลูกออนมัก จะหวงลูกของมนั อาจจะกัดเราได” นองชลาทำหนาไมเขาใจและหันมาถามเชิงขวัญวา “ทำไมมันตองหวง ลูกของมันดวยละคะ” เชิงขวัญตอบวา “เพราะมันอาจจะคิดวาเราไปแยงลูกผฉสู บอบั น ของมนั ” เม่ือคุณแมมาตามเด็กทั้งสองวาไดเวลากลับบานแลว นองชลาขอ อนุญาตคุณแมวา “หนูขอเอานม ๑ กลอง ของหนูมาเทใหลูกหมากินไดไหมคะ” เมื่อคุณแมอนุญาต นองชลาและเชิงขวัญจึงนำนมมาเทลงในขันที่วางเปลา ซ่ึงวางอยูใกลกับสุนัขครอกนี้ ลูกสุนัขเขามากินอยางหิวโหย สวนแมสุนัขเห็น ดังนั้นก็ตรงเขามาคาบลูกสุนัขตัวน้ันกลับไปยังบริเวณท่ีมันอาศัยอยู นองชลา พูดกับคุณแมวา “คุณแมขา แมสุนัขมันรักและหวงลูกของมันจริงๆ นะคะ” คุณแมไมต อบไดแตย้มิ และลบู ศรี ษะของลกู ทั้งสอง เมื่อมาถึงบาน นองชลาเลาเรื่องสุนัขท่ีศาลาวัดใหคุณพอฟง คุณพอจึง บอกวา “พอก็มีเร่ืองสุนัขที่แสนรูตัวหน่ึงท่ีเปนสุนัขทรงเล้ียงของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวที่พอเคยอานมา และจะเลาใหลูกๆ ฟง” เชิงขวัญและนองชลาจึง ตั้งใจฟง เรือ่ งท่คี ณุ พอ เลาใหฟง ดงั นี้ ภาษาไทย ๕ ๒๓๕

ทองแดงเปนสนุ ขั ท่ีฉลาดและ “รภู าษา” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไมวา พระองคจะทรงรับส่ังกับทองแดงวาอยางไร ทองแดงก็รูเร่ืองและทำตาม แมพระบาท- สมเดจ็ พระเจาอยหู วั จะรบั สั่งคอ ยๆ เชน เม่อื ทองแดงไปคาบกระดูกไกท่ีอีกามาท้ิงอยูใน พุมไม บริเวณสวนท่ีพระตำหนักจิตรลดา รโหฐานมาเค้ียว พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวจะรับสั่งวา “ไมดีทองแดง” ทองแดง ก็จะคายกระดูกทนั ทแี ละว่งิ ตามเสด็จไป อีกเร่ืองที่แสดงถึงความฉลาดและ แสนรูของทองแดง คือ เมื่อตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ไป “ทะเลนอ ย” ผฉูสบอับน ทว่ี งั ไกลกงั วล หวั หนิ ซงึ่ มีฝูงปลาหลายชนิด แตที่มีมากทส่ี ุดคอื ปลาดุกรสั เซยี เมื่อมีผูโยน ขนมปงให ก็จะกระโดดแยงกันกิน ดีดน้ำกระจายโผงผางซึ่งทองแดงสนใจมากและมักจะ จอ งดนู านๆ อยา งก่ึงกลาก่ึงกลวั คอื หางตกเล็กนอ ย และสะดงุ เวลาปลากระโดด เมอื่ เสด็จ พระราชดำเนนิ ไปดา นทะเลนอยจะรับส่งั วา “ทองแดงไปดูปลาดุกกัน” ทองแดงกจ็ ะวิง่ นำไป ทันทีอยางดีใจ มีอยูคร้ังหนึ่ง เม่ือเสด็จลงจากพระตำหนัก ทองแดงก็จะวิ่งนำไปในทิศ ที่เลี้ยงปลาดุก แตพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรับส่ังวา “ทองแดงวันนี้ไมไปดูปลาดุก” ทองแดงซ่งึ วิ่งนำไปแลว หันกลับมาถอนใจ แลววิ่งกลบั มาเฝา ฯ โดยดี เร่อื งช่ังนำ้ หนักกเ็ ชน กนั พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั จะรับส่ังวา “ทองแดงไปชั่งนำ้ หนกั และอยูน่ิงๆ นะ” ทองแดงก็จะเดินไปเองขึ้นบนแทนเครื่องช่ัง แลวหมุนตัวกลับหลังหัน มามองพระพักตรและนั่งนิ่ง จนพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงอานน้ำหนักเรียบรอย ทองแดงจึงลงจากเคร่ืองช่ัง มาตอนหลังๆ น้ีทองแดงมาแบบใหม คือ นั่งทอดอารมณทา เกไกบ นแทนชงั่ นำ้ หนัก ๒๓๖ ภาษาไทย ๕

...ผูท่ีไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว หากไดพบทองแดงก็จะไดเห็นภาพการหมอบเฝา ประจำของทองแดงที่นาทึ่ง เมื่อเสด็จพระราช- ดำเนินมา ทองแดงจะนำเสดจ็ พระองคทานอยขู างหนา เมื่อประทับนั่ง ทองแดงจะหมอบสงบน่ิงดวยทา หมอบกราบสองเทาไขวกัน มีการลุกขึ้นมาทักผู เขา เฝา ฯ อยางนมุ นวล ทองแดงไมดุ นสิ ยั ดี เปน มติ ร กับใครจะแสดงออกโดยการเลียมือ ดังนั้นจึงเปน ทเ่ี อ็นดขู องผคู นในวงั และผทู ีเ่ คยพบเห็น จากหนังสือเรือ่ ง ทองแดง พระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ เมื่อคุณพอเลาจบ เชิงขวัญและนองชลาก็เอยชมวาคุณทองแดงเปน สุนัขที่แสนรูจริงๆ และวันหลังคงจะตองเขาไปหองสมุดของโรงเรียนเพื่อยืม หนงั สือเลมนี้กลับมาอานเองบาง คณุ พอย้ิมและกลาวชมวา “ดีมากลกู เพราะ การที่เราอานหนังสือมากจะทำใหเรามีความรูรอบตัว มีนิสัยรักการอาน และ ผฉสู บอบั น เปนการใชเ วลาวา งใหเกดิ ประโยชนอ ีกดวยนะลกู ” ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ò ๑. ฝก อานออกเสียงบทอานจนอา นไดค ลอ ง และหาความหมายของคำวา ภัตตาหาร พระธรรมเทศนา โซ รูภาษา รับส่ัง โผงผาง พระพกั ตร ทอดอารมณ เกไก เสด็จพระราชดำเนนิ และแสนรู ๒. ตอบคำถามจากเรอื่ งทีอ่ า น ดังน้ี ข้ึนอยูก ับดลุ ยพินจิ ของผูสอน ๑) นอกจากเรื่องทองแดงแลว พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชยงั มีเร่อื งใดอีกบา ง ๒) ถานกั เรยี นจะเลี้ยงสตั ว นกั เรยี นจะเลีย้ งสตั วอ ะไร และเพราะอะไร ๓. สบื คน ขอ มลู เกย่ี วกับคุณทองแดงเพ่มิ เตมิ แลว ผลัดกันออกมาพดู รายงานทห่ี นาชน้ั ๔. ยกตัวอยางสัตวเลี้ยงที่คนเราสามารถฝกใหทำสิ่งตางๆ ที่นอกเหนือจากธรรมชาติ ของสตั วชนดิ นั้น เชน ฝกชางใหเ ตนประกอบเพลง เปนตน ภาษาไทย ๕ ๒๓๗

จดจำการใชภ าษา การเลือกอานหนังสือ ¡ÒÃàÅ×Í¡ÍÒ‹ ¹Ë¹Ñ§ÊÍ× ÁÕËÅÑ¡¡ÒÃàÅÍ× ¡ÍÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤ÃºÑ การอาน หมายถึง การแปลความหมายของตัวอักษรที่อานออกมาเปน ความรคู วามคิด และทำความเขาใจเรือ่ งราวท่อี าน การอาน มีประโยชนห ลายประการ ดังนี้ ๑. ทำใหมีความรูในดานตางๆ ๒. ทำใหร อบรูทนั เหตกุ ารณ ผฉูสบอับน ๓. ทำใหค น หาคำตอบท่ตี องการได ๔. ทำใหเกิดความเพลดิ เพลิน ๕. ทำใหเกิดการพัฒนาทักษะในการอานไดดียิ่งข้ึน เพราะผูที่อาน หนังสืออยางสม่ำเสมอยอมเกิดความชำนาญในการอาน สามารถอานไดเร็ว เขา ใจเร่อื งราวทอ่ี า นไดโดยงา ย จับใจความสำคัญของเรื่องไดอยา งถกู ตอง และ สามารถประเมินคณุ คา ของเรอ่ื งท่ีอา นไดวา ดหี รอื ไมด ี อยางไร เพราะอะไร ๒๓๘ ภาษาไทย ๕

จุดมุงหมายในการอาน การอานหนังสือของแตละคนจะมีจุดมุงหมาย แตกตา งกันไป ซึ่งสามารถจำแนกไดกวางๆ ดังน้ี ๑. อานเพ่ือความรู ไดแก การอานตำราทางวิชาการ การอานหนังสือ เรยี นวชิ าตางๆ หรอื การอานสารคดีตางๆ เปนตน ๒. อานเพือ่ ความบันเทิง ไดแ ก การอานนยิ าย เรือ่ งสัน้ การตูน หรอื บทกวี เปนตน ๓. อานเพ่ือทราบขาวสาร หรือความคิดเห็น ไดแก การอานบทความ ประเภทตา งๆ การอานขาว เปนตน ๔. อานเพ่ือจุดประสงคเฉพาะแตละครั้ง ไดแก การอานประกาศตางๆ การอานโฆษณา แผน พบั ประชาสมั พันธ ฉลากยา หรอื การอานสมุดหนา เหลอื ง เพื่อคน หาหมายเลขโทรศัพทของบคุ คลท่ีตอ งการตดิ ตอ เปน ตน ผฉสู บอับน àÃÒ¤ÇÃàÅÍ× ¡Í‹Ò¹Ë¹§Ñ Ê×ÍËÃ×ÍàÃè×ͧÃÒÇμÒ‹ §æ ©¹Ñ μÍŒ §¡ÒÃÍÒ‹ ¹à¾èÍ× ¤ÇÒÁ ãËŒμç¡ºÑ ¤ÇÒÁμÍŒ §¡ÒâͧàÃÒ àª‹¹ à¾×Íè ʹ¡Ø ʹҹ ¶ÒŒ ÍÂÒ‹ §¹Ñé¹ ËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ËÃÍ× à¾è×ͤÇÒÁʹءʹҹ ©¹Ñ ÍÒ‹ ¹¹Ô·Ò¹´Õ¡ÇÒ‹ Í‹ÒÅ×ÁàÅÍ× ¡ÍÒ‹ ¹Ë¹Ñ§ÊÍ× ãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÂÑ ´ŒÇ¹Рภาษาไทย ๕ ๒๓๙

หลกั ในการเลือกหนังสอื สำหรบั อาน มีดงั นี้ ๑. ควรเลือกอานหนังสือที่มีเน้ือหาสรางสรรค และมีการสอดแทรก คุณธรรมไวในหนังสอื เพือ่ ใหผ ูอ า นสามารถนำไปปฏบิ ตั ิใหเกิดประโยชนในชวี ติ ประจำวันได ๒. มีเนื้อหาสาระดี ไมบิดเบือนความเปนจริง และใหขอคิดคติสอนใจ ทเ่ี ปน ประโยชนแกผ อู าน ๓. ใหความรู และความเพลดิ เพลนิ แกผ ูอ าน à¾×Íè ¹æ ¤ÇÃàÅ×Í¡ÍÒ‹ ¹Ë¹§Ñ ÊÍ× ãËŒμç¡Ñº¤ÇÒÁμŒÍ§¡Òà àÅÍ× ¡Í‹Ò¹Ë¹§Ñ Ê×Í·ÕÁè Õ»ÃÐ⪹ áÅÐàÅ×͡˹ѧÊÍ× Í‹Ò¹ ãËàŒ ËÁÒÐÊÁ¡ºÑ à¾ÈÇÂÑ áÅÐàÇÅÒ·ÕèÁÍÕ Â¹‹Ù ФÃѺ ผฉูสบอับน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ó ๑. นำตัวอักษรหนาจุดมุงหมายของการอานเติมลงในชองวางหนาชนิดของหนังสือ ใหถกู ตอ ง ก. อา นเพื่อความรู ข. อา นเพ่ือความบนั เทงิ ค. อานเพ่อื ทราบขาวสาร ง. อานเพือ่ จุดประสงคเ ฉพาะแตละครง้ั ก.................. ๑) ตำราทางวิชาการ ง. ๖) ฉลากยา................. ข. ๒) นิยาย................. ค./ง.................. ๗) แผนพบั ประชาสมั พนั ธ ข. ๓) การต นู................. ง.................. ๘) ประกาศโฆษณา ก. ๔) บทความ................. ข. ๙) บทกวี................. ค. ๕) ขา ว................. ง.................. ๑๐) สมดุ หนาเหลอื ง ๒๔๐ ภาษาไทย ๕

๒. เลือกอานหนังสือประเภทใดก็ได แลวเขียนสรุปเน้ือหา พรอมทั้งบอกประเภทของ หนังสือ และจุดมุงหมายในการอาน (ตวั อยาง) ช่อื หนงั สอื นิทานอสี ป เรื่อง กบใจกลา.............................................................................................................................. ประเภทของหนังสอื นทิ าน...................................................................................................................................................... จดุ มงุ หมายในการอาน เพอ่ื ความเพลดิ เพลนิ.............................................................................................................................................. สรปุ เร่ือง มีกบ ๒ ตัว เปนเพ่ือนรักกัน อยูมาวันหนึ่ง พวกมัน................................................................................................................................................................................................ ชวนกนั ไปเลน ใกลๆ ถงั ใสน ม แลว พลดั ตกลงไปในถังนมนน้ั ในขณะ............................................................................................................................................................................................................................................... ท่ชี ายเจา ของฟารม กก็ ำลงั จะนำนมถงั นน้ั ไปเทรวมในถงั ใบใหญ กบท้งั............................................................................................................................................................................................................................................... ๒ ตัว จึงตองพยายามทำใจใหกลาหาญ แลววายไปเกาะที่ท่ีตักนมได............................................................................................................................................................................................................................................... สำเร็จ จากน้นั มนั กก็ ระโดดออกจากถงั ใสนมไดอ ยางปลอดภัย............................................................................................................................................................................................................................................... ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ผฉสู บอบั น ๑. อานขอความ หรือคำประพันธท ก่ี ำหนด แลว เขยี นบอกวา เปนโวหารชนดิ ใด มฐ./ตวั ชี้วัด ๑) ดอกจันทนกะพอรวงพรู แตมิไดหลนลงสูพื้นดินทีเดียว เกสรเล็กๆ แดงเรื่อ ท1.1 (2) แกมเหลืองลอยวอนกระจายพลัดพรายอยูในอากาศท่ีโปรงสะอาดเหมือน ลวดลายของตาขา ยทค่ี ลุมไตรพระ พรรณนาโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ๒) มนุษยในโลกเรานี้ตองการการยอมรับจากสังคมดวยกันท้ังสิ้น ไมมีใคร เลยท่ีอยากจะใหส ังคมดถู กู เหยยี ดหยามตนเอง บรรยายโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ภาษาไทย ๕ ๒๔๑

๓) น้ำคางท่ีเกาะคางบนใบหญาตองแสงอาทิตยก็ทอแสงเปนประกายระยิบ ระยบั ราวกับเพชรนำ้ หนึง่ พรรณนาโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ๔) สมัยหนึ่งเม่ือคนไทยเร่ิมคิดที่จะเลิกเปบขาวดวยมือ และตองการเคร่ืองมือ การกินของตะวันตกเขามาใช ชาวตะวันตกก็ไดเสนอคนไทยดวยเครื่องมือ การกินอยางครบชุดสมบูรณแบบ ประกอบดวยมีดสำหรับห่ัน ชอนซุป ชอนปลา มีดปลา มีดหวาน ฯลฯ จนลานตาหยิบไมถูก แตเม่ือคนไทย ตั้งใจจะรับวัฒนธรรมการกินแบบตะวันตกเขาก็พยายามเลือกคัดเคร่ืองมือ กินเฉพาะของคนไทยออกมา จนในที่สุดก็ปรากฏอยางที่เห็นทุกวันน้ี คือ ชอนหน่ึงคนั และสอมหน่ึงคนั รวมกันเปนคหู นง่ึ บรรยายโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ผฉูสบอบั น ๕) อนิจจา แสงเดือนเพ็ญผองกระจางจับพระพักตรอยูเมื่อสักครูก็จางซีด ขมุกขมัวลง ทองฟาสลัวมัวพยับคร้ึม อากาศเย็นเฉียบจับหัวใจ น้ำคาง หยดลงเผาะๆ เปนหยดน้ำตาแหงสวรรค เกสรรังรวงพรูเปนสายสหัสธารา สรงแหง พระพทุ ธสรรี ะ พรรณนาโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ๖) ศูนยเยาวชนลุมพินีเปนศูนยเยาวชนแหงหนึ่งในหลายแหงท่ีสรางและ บริหารงานโดย กทม. เปดดำเนินการมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๐๔ ภายในบริเวณ ศนู ยฯ มสี นามหญาสำหรับเลนฟุตบอล ตะกรอ ชิงชา ไมล่ืนฯลฯ บรรยายโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ๗) สมัยพระเจาพรหมทัตครองกรุงพาราณสี ยังมีเศรษฐีผูหนึ่งมีทรัพยสมบัติ มากมาย เศรษฐนี ้นั มีบตุ รชาย ๓ คน มสี ติปญ ญาวิชาความรทู ัดเทียมกัน บรรยายโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ๒๔๒ ภาษาไทย ๕

๘) ควางควา งใบรวงหลน บนผืนหญา รว งลงมาทลี ะใบไมห ยดุ หยอ น ชีวิตเวียนสขุ โศกโลกละคร จบเพยี งตอน “ใบหลน ” ไมพ นเลย พรรณนาโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ๙) ในการใชภาษาสื่อสาร แมวาบุคคลจะมีวุฒิภาวะ กลาวคือ มีความเจริญ เติบโตในดานตางๆ อยางเพียงพอท่ีจะเรียนรูการใชภาษาส่ือสารได แตถา บุคคลขาดความสนใจหรือขาดประสบการณเดิมท่ีเปนพื้นฐานแกการเรียนรู ภาษา ก็กลาวไดว าบคุ คลนน้ั ขาดความพรอมในการเรยี นรูการใชภ าษาสอื่ สาร บรรยายโวหาร............................................................................................................................................................................................................................ ๑๐) เจางามนาสายลดังกลขอ เจา งามศอเหมอื นคอสวุ รรณหงส เจา งามกรรณกลบี บษุ บง เจางามวงวิลาศเรียบระเบียบไร พรรณนาโวหาร ผสู อน............................................................................................................................................................................................................................ ฉบบั ๒. เขยี นอธบิ ายความหมายของขอ ความจากกจิ กรรมพัฒนาการคิด ขอ ๑ ลงในสมดุ (ดเู ฉลยในหนาพเิ ศษทายเลม) มฐ./ตัวชวี้ ดั ๓. เลือกอานหนงั สือทีส่ นใจ แลวเขยี นสรุปตามหัวขอ ทีก่ ำหนดลงในสมดุ ท1.1 (2) • ชื่อหนงั สือ ขึน้ อยูกับดุลยพิน•••จิ เเปขนหอรอ้ืตะงหโุผผยลาสู ชขทอนอเี่นทลงอืห่ีไดกนรองั บั าสนอื หนงั สอื น้ี มฐ./ตัวชี้วดั • ชอ่ื ผแู ตง • ประเภทของหนงั สอื ท1.1 (7) ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä รวบรวมหนังสือประเภทตา งๆ เชน การตูน นทิ าน สารคดี แลวจดั วางใหเ รยี บรอย เปนหมวดหมู เพื่อทำเปน “คลังความรู คูความบันเทิง” ประจำหอง สำหรับให นักเรยี นไดอ านในเวลาวา ง ภาษาไทย ๕ ๒๔๓

แบบทดสอบท่ี ๑๐ ๖. เมอื่ เสียงระเบดิ ดงั ขึน้ ทุกคน... ควรเติมขอ ใด กา ✗ คำตอบท่ถี ูกที่สุด ก. กุลกี จุ อ ข. ฉกชงิ ว่ิงราว อา นคำประพันธท ่กี ำหนด แลวตอบ ค. เตน แรง เตนกา คำถาม ขอ ๑-๓ ✗ง. ขวญั หนีดีฝอ ประทปี ทองสองสวางทางชีวิต สรา งความคิดสรางคนดคี ณุ คา ๗. เช่อื คนงา ย ตรงกับขอ ใด สรางกำลงั ดว ยรัฐพฒั นา ไมม ีใครเกินกวา หนาที่ “ครู” ✗ก. หูเบา ข. ไขสือ ๑. คำวา ประทปี หมายถงึ ขอ ใด ค. ใจเย็น ง. ใจงา ย ๘. ขอ ใดใชภาษาชดั เจนที่สดุ ผฉูสบอับน ✗ก. แสงไฟ ข. ไฟฟา ง. หลอดไฟ ก. เพียงนึก พื้นก็เงา ค. ไฟฉาย ✗ข. ทาวนั ละครง้ั รอยชำ้ จะจาง ๒. ครู มีความหมายตรงกับคำใด ค. สีฟนคร้ังเดียวสะอาดเอีย่ ม ก. โหรา ข. ภาษก ง. เพียงหยดแรก ก็สมั ผสั ไดถึง ค. มาตุ ✗ง. ครุ ความนุมละมนุ ๓. ขอใดเปนผลงานของครู ๙. “ลมแลง หอบไอแลงมาลอ มฟา ก. คนรกั ข. คนจร แดดสาดแสงรอนจามาแผดเผา” เปน โวหารชนิดใด ✗ค. คนดี ง. คนทรง ก. สาธก ข. อุปมา ๔. ขอ ใดไมใ ชโ วหาร ✗ค. พรรณนา ง. บรรยาย ก. รสมอื ✗ข. ฝาฝน ค. ลงคอ ง. เสยี คน ๑๐. มดตองการอานหนังสือเพื่อความ เพลดิ เพลนิ มดควรอา นหนังสืออะไร ๕. ขอ ใดมีความหมายตา งจากคำอื่น ก. โฆษณา ✗ข. เรื่องส้ัน ก. ขอรอง ข. วิงวอน ค. ฉลากยา ง. บทความ ✗ค. ออดออน ง. ออ นวอน ภาษาไทย ๕ ๒๔๔

ตาราง ẺºÑ¹·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹Nj  ๒หนว ยท่ี ๑๐ รายการวดั ประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจำหนว ยท่ี ๑๐ คำชีแ้ จง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมทต่ี อ งการวัดผลเพื่อเกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A) ของนกั เรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมนิ ๓. ชน้ิ งานทม่ี เี ครอื่ งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ รายการประเมนิ รายการเคร่อื งมอื วดั และประเมินผลการเรียนรขู องนกั เรียน คะแนนรวมดาน ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดานคณุ ลักษณะที่พึงประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๕ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได เตม็ ได ประเมินผลสมั ฤทธิ์ดา น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอานออกเสยี ง - แบบประเมิน - แบบประเมนิ ผฉูส บอับน ทักษะการอา น คุณลักษณะ อานออกเสียง วรรณกรรมเรอื่ ง ออกเสียง ทพ่ี ึงประสงค บทรอยแกวและ สตั วเลีย้ งแสนรู - แบบประเมนิ - แบบประเมนิ ทักษะการคิด คุณลักษณะ บทรอ ยกรอง แลว ตอบคำถาม วเิ คราะห ทพี่ ึงประสงค ไดถกู ตอ ง - แบบประเมนิ - แบบประเมิน มฐ.ท ๑.๑(๒) - ก. พัฒนาการคดิ * ทกั ษะการอา น คณุ ลักษณะ - แบบประเมิน ท่ีพึงประสงค อธบิ าย ขอ ๑ การจำแนก ทกั ษะการเขียน ความหมายของ โวหารทกี่ ำหนด คำประโยคและ - ก. พัฒนาการคิด* ขอ ความท่ีเปน ขอ ๒ การอธบิ าย การบรรยายและ ความหมายของ การพรรณา ขอ ความ มฐ.ท ๑.๑(๗) - ก. พฒั นาการคิด อา นหนังสอื ท่ีมี ขอ ๓ การเลือก คุณคา ความสนใจ อา นหนงั สอื ที่ อยางสมำ่ เสมอ สนใจ และแสดงความ คดิ เหน็ เกี่ยวกับ เร่ืองทอ่ี า น สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรยี นตามตัวชีว้ ดั สวนท่ี ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรยี น ผลงานกจิ กรรมบูรณาการฯ ทน่ี กั เรียนปฏบิ ตั ิ ช่อื งาน “คลังความรู คูความบนั เทงิ ” สวนท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธผิ ลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธป์ิ ระจำหนวยที่ ๖ - ๑๐ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการเรยี นรปู ระจำหนว ย ขอ เสนอแนะ ………………………………………………………….. ผาน ไมผา น ………………………………………………………………………………. ระดับคุณภาพ ๔ ดมี าก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑป ระเมนิ ลงชื่อ ………………………………………………………. ผปู ระเมิน …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ภาษาไทย ๕ ๒๔๕

๖-๑๐แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ประจำหนว ยการเรยี นรูท่ี นนไ ดคะแ นนเต็ม ตอนที่ ๑ (๗๐ คะแนน) ๑๐๐ คะแ ๑. เขยี นคำนามและคำกริยาท่กี ำหนดใหเปนคำราชาศพั ทใ หถกู ตอง (๑๐ คะแนน) มฐ./ตัวช้ีวดั ¤Ó¹ÒÁ ¤Ó¡ÃÂÔ Ò ท4.1 (4) ผฉสู บอบั น ๑) ฟน พระทนต................................................................................ ๖) หัวเราะ ทรงพระสรวล..................................................................... ๒) ความเพียร พระวริ ยิ ะ.......................................................... ๗) ปว ย ทรงพระประชวร.............................................................................. ๓) ความคิด พระราชดำริ................................................................. ๘) กนิ เสวย.............................................................................. ๔) หมวก พระมาลา........................................................................ ๙) ให พระราชทาน............................................................................... ๕) พีส่ าว พระเชษฐภคินี......................................................................... ๑๐) ไปเท่ยี ว เสด็จประพาส................................................................ ๒. เขียนคำพูดท่ีเปนการใชภาษาในการสรางสัมพันธภาพท่ีดีตามสถานการณที่กำหนด มฐ./ตวั ชวี้ ดั (๕ คะแนน) (ตัวอยาง) ท2.1 (2) ๑) ถานักเรียนไปทำรายงานที่บานเพ่ือนแลวคุณแมของเพื่อนชวน รับประทานอาหาร แตนักเรียนตองรีบกลับบานจะใชภาษาในการปฏิเสธ อยา งไร “หนูขอบพระคุณคุณแมม ากเลยนะคะ แตตอนนีค้ อนขา งเย็น................................................................................................................................................................................................................................................ มากแลว หนูตองขอตัวกลับบานกอนนะคะ สวัสดคี ะ”................................................................................................................................................................................................................................................ ๒) ถาเพ่ือนสนิทของนักเรียนตองยายไปเรียนท่ีโรงเรียนอื่น จะใช ภาษาในการอวยพรใหเ พ่ือนโชคดี เพ่อื สรา งสัมพันธภาพท่ดี อี ยางไร “ขอใหนายไปเรียนที่โรงเรยี นใหมอยา งมีความสขุ นะ และมเี พอ่ื น................................................................................................................................................................................................................................................ ใหมม ากๆ นะ สวนพวกเราทางนี้ก็จะคิดถึงนายเชน กนั โชคดีนะเพอ่ื น”................................................................................................................................................................................................................................................ ๒๔๖ ภาษาไทย ๕

๓. อานบทความท่ีกำหนด แลวหาความหมายของคำทีพ่ มิ พต ัวสีฟา จากน้ันเรยี งลำดบั ตามพจนานุกรม และบอกความหมายของคำ (๑๐ คะแนน) มฐ./ตัวชวี้ ดั ท1.1 (1) ท1.1 (6) ความสอดประสานเปน ความงาม สรรพสิ่งในโลกหากมีความสอดประสานกัน ในลักษณะความสัมพันธ ทพ่ี อเหมาะยอมเปนความงาม ธรรมชาติไดส รา งตน ไม ภเู ขา ทะเล และลำธารมา ในสัดสวนทพี่ อเหมาะ แตละสง่ิ ก็อยูไดในลกั ษณะการเกาะเก่ียวอาศัยซง่ึ กนั และกนั เปน ความสอดประสานทีพ่ อเหมาะพอเจาะกนั เชน นี้ มนุษยก็เปนสวนหน่ึงของธรรมชาติที่วา และท่ีโลกอยูมาไดอยางสงบสุข ก็เพราะมนุษยทำตัวใหสอดคลองกับธรรมชาติ แตมนุษยแตกตางจากธรรมชาติอ่ืน ตรงท่ีมนุษยมีความรูสึกนึกคิด มีพลังอำนาจท้ังฝายดีและฝายช่ัว เพราะมีความ สามารถพิเศษเชนน้ี มนุษยจึงสามารถสรางความผันแปรใหแกธรรมชาติไดอยาง ผฉูสบอับน ใหญห ลวง เชน เมื่อสงครามโลกคร้งั ที่สองท่ีประเทศญ่ีปุน การทิง้ ระเบดิ ปรมาณทู ่ี ฮิโรชิมาและนางาซากิ ไดทำความพิบัติอยางใหญย่ิงมาสูทั้งมนุษยและธรรมชาติ ทำใหโลกสูญเสียความสอดประสาน ไรส ้ินซึ่งความงาม มีแตค วามอปั ลักษณ และ ความทุกขทรมาน น่ันเพราะขาดความสอดประสานอนั ไดส ดั สว นดงั กลา ว ฉตั รสมุ าลย กบลิ สิงห. ปรชั ญาจากภาพ, ๒๕๓๒ ๑) ๖) สัดสวน = สวนผสมของสง่ิ ตางๆ.ป...ร....ม...า...ณ.....ู........=.......ส....ว...น....ข...อ....ง...ส....า...ร...ท....ีม่....ีข...น....า...ด....เ..ล....็ก....ท....ี่ส....ุด....... ............................................................................................................. ๒) ประสาน = ทำใหเ ขา กนั สนทิ ๗) สูญ = ทำใหห ายสิน้................................................................................................................ ............................................................................................................. ๓) ผนั แปร = เปล่ยี นแปลงไป ๘) เหมาะ = พอดี................................................................................................................ ............................................................................................................. ๔) พบิ ัติ = ความฉบิ หาย ๙) อัปลักษณ = ชั่ว................................................................................................................ ............................................................................................................. ๕) สรรพ = ทกุ สิ่ง ๑๐) อาศัย = พกั พงิ................................................................................................................ ............................................................................................................. ภาษาไทย ๕ ๒๔๗

๔. เขียนแสดงความคิดเห็นของนักเรียนในหัวขอเรื่อง “เด็กอยากฉลาด ตองขยันอาน มฐ./ตัวช้ีวดั ขยนั คิด” แลวออกมาพูดที่หนา ชนั้ เรยี น (๑๐ คะแนน) ท2.1 (6) ๕. เขียนเร่ืองตามจินตนากาขร้ึนจอากยภกู าับพดทุล่กี ยำพหนนิ ดิจใขหอ งพผรูสอ มอกนับต้งั ชอ่ื เรอ่ื ง (๑๐ คะแนน) มฐ./ตวั ชวี้ ดั ท2.1 (8) ÃÃÕ ¢Õ ÒŒ ÇÊÒà Êͧ·Ð¹Ò¹ ¢ÒŒ Çà»Å×Í¡ ผฉสู บอบั น ๖. ใหนักเรียนเลือกฟงหรือดูรายการที่มีประโยชน จากสื่อวิทยุหรือโทรทัศนมา ๑ รายการ แลวเขียนสรุปสาระสำคัญและประโยชนท่ีไดรับจากเร่ืองท่ีฟงหรือดู ลงในสมดุ (๕ คะแนน) (ตวั อยาง) ช่อื ………ด….…ช….……เด……ด็ …เ…ด…่ยี …ว……จ…นั……ท…ร……ว…ง…ศ… …………………………………. เลอื ก ❍ ฟง ❍✓ ดู รายการ กบนอกกะลา………………………………………………………………………… วนั /เวลา …ศ…ุก……ร… …๒…๐….…๓…๐…-…๒……๑….๓……๐……น…... โดยมเี นอื้ หาสาระของรายการและประโยชนจากการฟง หรอื ดู ดังน้ี …เน……ื้อ…ห……า…ข…อ…ง…ร……า…ย…ก…า…ร……ใ…น…ว…ัน……น……ี้ก…ล……า…ว…ถ…ึง…ค……ว…า…ม…ห……ม…า…ย…ข…อ……ง…ว…ัน……พ…ืช…ม……ง…ค…ล……แ…ล…ะ…อ……ธ…ิบ…า…ย…. …ท…่ีม…า…ข…อ……ง…พ…ร……ะ…ร…า…ช…พ……ิธ…ีจ…ร…ด……พ…ร……ะ…น…ัง…ค……ัล…แ…ร……ก…น……า…ข…ว…ัญ……ว…า…ม…ีม…า…แ……ต…ค……ร…้ัง…ส…ุ…โข……ท…ัย………โ…ด…ย…ม….ี …จ…ุด…ม…งุ……ห…ม…า…ย…เ…พ…่อื …จ……ะ…จ…งู …ใ…จ…ใ…ห…ร …า…ษ……ฎ…ร…ม…่นั……ใ…จ…ใ…น……ก…า…ร…ท…ำ…น……า……ซ……ง่ึ …เป……น …อ…า…ช…ีพ……ห…ล……ัก…ท…สี่……ำ…ค…ญั …. …ข…อ…ง…ค…น……ไ…ท…ย…ต……ัง้ …แ…ต…อ……ด…ตี …ม……า…จ…น…ถ……งึ …ป…จ …จ……ุบ…ัน…………………………………………………………………………………………. ๒๔๘ ภาษาไทย ๕

๗. เขยี นบอกทีม่ าของคำทก่ี ำหนดให แลว แตงประโยคจากคำ (๒๐ คะแนน) มฐ./ตัวช้ีวัด (ตวั อยางประโยค) ท4.1 (5) คำ ที่มา ประโยค ผฉสู บอับน ๑) เจริญ เขมร เขาใสป ุยเพอ่ื ใหตน ไมเจรญิ เตบิ โตไดดี ๒) แสตมป องั กฤษ นดิ ติดแสตมปท ี่ซองจดหมาย ๓) กริช ชวา พระเอกลเิ กถอื กริชเลมใหญ ๔) ยรี าฟ อังกฤษ นอยไปดยู ีราฟทีส่ วนสตั ว ๕) บุหงา ชวา แมซ ือ้ บหุ งาอบแหงมาแขวนไวใ นตูเส้อื ผา ๖) ฤๅษี สนั สกฤต ฤๅษบี ำเพ็ญเพยี รภาวนาอยูในปาลึก ๗) กฬี า บาลี นักเรียนเลน กีฬา ๘) บรรณารักษ สนั สกฤต หนอ งยืมหนังสอื ทค่ี ุณครูบรรณารักษ ๙) ตำรวจ เขมร ตำรวจจบั ผรู าย ๑๐) ลิปสติก อังกฤษ แมทาลปิ สตกิ สีชมพู ๑๑) กว ยเตย๋ี ว จนี พอซือ้ กว ยเต๋ยี วลกู ชน้ิ ๑๒) บันเทิง เขมร เกอ านการตูนเพอ่ื ความบันเทงิ ๑๓) ฐาน บาลี สมศักด์วิ างพระพุทธรูปไวบ นฐาน ๑๔) มหาศาล สันสกฤต เศรษฐีมเี งนิ ทองมากมายมหาศาล ๑๕) ฤดู สนั สกฤต ชาวนาทำนาในฤดูฝน ๑๖) นสิ ัย บาลี นวลเปน เด็กนา รกั และนสิ ัยดี ๑๗) อ้ังโล จีน ปายางไกบ นเตาอ้ังโล ๑๘) บรรทุก เขมร รถบรรทุกบรรทกุ ออยไปสง ทโี่ รงงาน ๑๙) ธนาคาร บาลี นาแจมทำงานท่ีธนาคาร ๒๐) เพญ็ เขมร วันนีเ้ ปน คนื วนั เพ็ญ ภาษาไทย ๕ ๒๔๙

ตอนที่ ๒ (๓๐ คะแนน) กา ✗ คำตอบท่ถี กู ท่ีสุด ขอ ๑-๔ ควรเตมิ คำใดลงในชองวา ง ๕. ทรงพระอักษร หมายถงึ ขอ ใด ๑. สมเด็จพระศรนี ครินทรา ก. เรยี น บรมราชชนนี ...... ข. สรา ง ก. ทวิ งคต ค. วาดภาพ ✗ข. สวรรคต ✗ง. เขยี นหนังสือ ค. สิ้นพระชนม ๖. ขอ ใดไมใช ทรง นำหนา ง. ส้ินชีพิตักษยั ก. กรณุ า ข. พยายาม ๒. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว... ✗ค. โปรด ง. เมตตา ผฉสู บอับน ทจี่ ุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั ๗. ขอใดแตกตางจากพวก ก. ดนตรี ก. ทรงศลี ข. ทรงธรรม ข. พระดนตรี ค. ทรงบาตร ✗ง. ทรงสรา ง ✗ค. ทรงดนตรี ๘. ขอใดหมายถึงทท่ี ำสงั ฆกรรม ง. เลนดนตรี สำหรบั พระสงฆ ๓. รัชกาลท่ี ๕ เสด็จ....ยุโรป ✗ก. โบสถ ข. วิหาร ก. พระราชดำเนนิ ค. เจดยี  ง. กุฏิ ๙. ไทยธรรม หมายถึงขอ ใด ✗ข. ประพาส ✗ก. ของถวายพระ ค. ประสูติ ง. นวิ ัติ ข. จดหมาย ๔. โตง ...เปน พระภกิ ษุเม่ือเชา นี้ ค. พัด ก. ลาสิกขา ข. บรรพชา ค. อาบตั ิ ✗ง. อุปสมบท ง. รม ๒๕๐ ภาษาไทย ๕

ขอ ๑๐-๑๔ คำในขอใดเปน คำไทยแท ๑๙. ขอใดไมใชป ระโยชนของการใช ๑๐. ก. พรรษา ข. แพทย พจนานุกรม ✗ค. สละสลวย ง. กรีฑา ก. ใชค นหาความหมายของคำ ๑๑. ก. ศาสนา ข. อาศรม ข. ใชการสืบคน ประวัตคิ ำ ค. ศึกษา ✗ง. ปอ งกนั ค. ใชศกึ ษาชนิดของคำ ๑๒. ก. จุฬา ข. ครุฑ ✗ง. ใชศ ึกษาประวตั วิ รรณคดี ๒๐. แข มีความหมายตรงกบั ขอ ใด ค. กรรม ✗ง. กระจุย ๑๓. ก. องศา ✗ข. เฆย่ี น ก. พระอาทติ ย ค. ปน เหนง ง. แข ข. ดวงดาว ๑๔. ✗ก. โปรง ใส ข. ฮวงซยุ ✗ค. ดวงจันทร ค. บว ย ง. ตังเก ง. เทยี นไข ๒๑. ขอใดเรยี งลำดบั คำตาม ผฉสู บอับน ขอ ๑๕-๑๘ คำในขอใดเปน คำ พจนานกุ รม ทีม่ าจากภาษาอืน่ ก. ยุตธิ รรม ยุติ ยมโลก ๑๕. ก. พลอย ข. มะนาว ข. กรยิ า กรรมวธิ ี กลไก ✗ค. ภาษา ง. สะดือ ✗ค. ปรชั ญา ปรากฏการณ ปราชยั ง. สมการ สถานภาพ สมดุล ๑๖. ก. ไพร ✗ข. เตาหู ๒๒. มาถงึ บางธรณีทวโี ศก ค. ตะเคียน ง. ระฆงั ธรณี มคี วามหมายตรงกับขอใด ๑๗. ก. ศอก ข. เปลอื ก ✗ก. พสุธา ✗ค. โคโลญจ ง. ลา ง ข. นาวา ๑๘. ก. กระดมุ ข. สะอง้ิ ค. ทิวา ค. เธอ ✗ง. ตำรวจ ง. อสิ รา ภาษาไทย ๕ ๒๕๑

๒๓. คำท่พี ิมพต วั สีฟาในขอ ใด ๒๗. การอานที่ใหผ ลดี ควรทำตาม ใชไ มถูกตองตามความหมาย ขอใด ✗ก. เธอฟุงซา นใชจ า ยเกินตวั ก. อานอยา งรวดเร็ว ข. ปากกลาพูดจาไมก ลวั ใคร ข. อานซ้ำไปซำ้ มา ค. เมือ่ อยูก ันพรอมหนาก็อา น ค. อา นเพอ่ื บันทกึ เทป พินัยกรรมไดเ ลย ✗ง. อา นแลว จดบันทึก ง. เธอใสกุญแจหองแนน หนา ๒๘. สำนวนใดใหความสำคัญกับ หรอื ยงั การอา น ๒๔. เขาโกรธจน... ควรเตมิ ขอ ใด ก. สิบปากวาไมเ ทาตาเห็น ก. หมาจนตรอก ข. พูดไปสองไพเบี้ย ✗ข. เลือดข้นึ หนา น่งิ เสยี ตำลงึ ทอง ผฉสู บอับน ค. เลือดเขาตา ✗ค. รูไวใชวา ใสบ าแบกหาม ง. หัวชนฝา ง. คงเสน คงวา ๒๕. ขอใดเปน การสรา งนสิ ัยรกั การอา น ๒๙. ขอใดเปนหนังสือประเภทเดียวกับ ก. แกว คดิ จะอา นหนงั สือ บทวจิ ารณ ✗ข. เกงชวนกอ ยมาอานหนังสือ ✗ก. ขาว ค. ใหแ มซื้อหนงั สอื ใหจ งึ จะอา น ข. เรอื่ งสัน้ ง. เกมอานเฉพาะหนังสือทช่ี อบ ค. สลากยา ๒๖. ขอ ใดเปน การสรางโอกาสในการอา น ง. เร่ืองแปล มากทสี่ ดุ ๓๐. วรรณคดีเปนหนงั สอื ประเภทใด ก. ไปหอ งสมุด ก. สารคดี ข. ตำรา ข. ไปศูนยหนังสือ ✗ค. บันเทงิ คดี ง. ศิลปะ ค. ไปงานสัปดาหหนังสอื ✗ง. เขารวมกิจกรรมการอาน ครูจดั ทดสอบ PRE-O-NET โดยใชข อ สอบทา ยเลม นี้ ๒๕๒ ภาษาไทย ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ»ÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃÍÒ‹ ¹ ¤Ô´ÇàÔ ¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×Íè ¤ÇÒÁ ªéÔ¹·Õè ñ ๑. ตอบคำถามตอไปน้ี อนั ความคดิ วิทยาเหมอื นอาวุธ ประเสรฐิ สุดซอนใสเ สียในฝก สงวนคมสมนึกใครฮกึ ฮัก จงึ คอยชักเชือดฟน ใหบรรลยั จับใหมั่นคน้ั หมายใหว ายวอด ชว ยใหรอดรกั ใหช ดิ พิสมยั ตดั ใหขาดปรารถนาสงิ่ ใด เพยี รจนไดดังประสงคที่ตรงดี จาก เพลงยาวถวายโอวาท ของ พระศรีสุนทรโวหาร (สนุ ทรภู) ๑) บทรอยกรองขา งตน ตรงกบั สำนวนใด และมีความหมายวาอยา งไร บทรอยกรองตรงกับสำนวนคมในฝก หมายถึง ลักษณะของ................................................................................................................................................................................................................................... ผูฉลาด แตนิ่งเงียบไมแสดงความฉลาดนั้นออกมาโดยไมจำเปน....................................................................................................................................................................................................................................... มีความรูความสามารถ แตเม่ือยังไมถึงเวลาก็ไมแสดงออกมาให....................................................................................................................................................................................................................................... ฉบบั ปรากฏ ผสู อน....................................................................................................................................................................................................................................... ๒) นักเรียนเห็นดวยกับเน้ือหาของบทรอยกรองนี้หรือไม เพราะเหตุใด เหน็ ดว ยกับบทรอ ยกรอง เพราะเตอื นสตใิ หเ รารจู กั การวางตัว....................................................................................................................................................................................................................................... ใหเ หมาะสม และเปน ผูไมอ วดอา งตนเอง....................................................................................................................................................................................................................................... ๒. แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั ขอความนี้ “ถา ไมมีภาษาไทย ก็ไมเหน็ เปน ไร” นักเรยี นเห็นดว ยกับถอ ยคำขางตนหรือไม เพราะเหตใุ ด (แนวการตอบ) ไมเห็นดวย เพราะภาษาไทยเปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีมานาน............................................................................................................................................................................................................................................................... เราใชภาษาไทยในการติดตอสื่อสารและไดรับประโยชนจากภาษามากมาย.............................................................................................................................................................................................................................................................. . นอกจากน้ี ภาษาไทยยังเปนเอกลักษณท่ีบงบอกถึงความเปนชาติไทย............................................................................................................................................................................................................................................................... และเรามภี าษาไทยเปนภาษาประจำชาติ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ภาษาไทย ๕ ๒๕๓

¡Ô¨¡ÃÃÁ»ÃÐàÁ¹Ô ¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃÍ‹Ò¹ ¤´Ô ÇÔà¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×èͤÇÒÁ ªÔ¹é ·Õè ò อา นบทความ แลว ตอบคำถามตามประเดน็ ทีก่ ำหนด ชวี ติ ที่ขาดมะนาวไมไ ด เชาวันนี้ แทนที่อาจารยจะเร่ิมตนดวยการบรรยายวิชาปรัชญา กลับยกลังใบหน่ึงมา ตั้งไวบนโตะหนาชั้น แลวหยิบขวดโหลใบใหญท่ีวางเปลาออกมา จากนั้นก็เอาลูกมะนาวมา ใสทลี ะลกู จนเต็ม อาจารยถามวา ขวดโหลเต็มแลว หรอื ยงั นกั ศึกษาพยกั หนา แลวอาจารยก็เอากรวดเทลงไปในขวดโหลพรอมกับเขยาจนกรวดเขาไปอัดเต็ม ชอ งวา งระหวา งลูกมะนาว อาจารยถามอกี วา ขวดโหลเตม็ แลว ยัง นักศกึ ษาตอบวา เต็มแลว ท่ีน้ีอาจารยก็เททรายใสลงไปในขวดโหลจนเต็ม อาจารยถามเชนเคยวาขวดโหลเต็ม แลวใชไหม นกั ศึกษาตอบวาใชแ ตในใจยังงงอยูว า อาจารยต องการบอกอะไร อาจารยแทนที่จะเฉลยกลับคว่ำขวดโหลลงในลัง จนทุกอยางไหลออกมาหมด ผฉูสบอับน เม่ือขวดโหลวางเปลาแลว ทีนี้อาจารยก็เททรายใสเขาไปจนเต็ม แลวถามวา “มีใครบาง ท่ีสามารถใสม ะนาวหรอื กอนกรวดลงไปไดบาง” ทุกคนลวนสายหวั ที่นี้อาจารยกเ็ ฉลยวา “ขวดโหลใบนกี้ เ็ ปรยี บเสมือนชีวิตของเรา ลูกมะนาว หมายถึง สิ่งท่ีมีความสำคญั ในชีวิต ไดแ ก ครอบครวั มติ รสหาย คุณงามความดี สุขภาพ ความสุขใจ รวมถึงสิ่งสูงสุดที่เรานับถือ คนเราแมวาจะมีสิ่งอื่นมากมาย แตถาขาดส่ิงเหลานี้ไปแลว ชีวติ กว็ างเปลา ไรค วามหมายหาความสุขไมได สวนกรวด หมายถึง ส่ิงสำคัญรองลงมา ท่ีชวยใหดำรงชีวิตไดอยางปกติสุข เชน วชิ าความรู อาชีพการงาน เงิน สวนทรายกค็ อื ความสนกุ สนานเพลิดเพลิน รวมทั้งสิง่ ละอัน พันละนอยในชีวติ ทีแ่ มจ ะเพ่มิ สีสันใหก ับชวี ิต แตถึงขาดไปก็ไมทำใหชวี ิตเปนทกุ ข” อาจารยอธิบายตอ “ขวดโหลใบนี้จะจุลูกมะนาว กอนกรวด และทรายไดครบหมด ก็ตอเม่ือเราใสลูกมะนาวกอนตามดวยกอนกรวด และทรายเปนอันดับสุดทาย ฉันใดก็ ฉันน้ัน ชีวิตของเราจะครบถวนสมบูรณก็ตอเมื่อใหเวลากับส่ิงสำคัญกอน เชน มีเวลาให กบั ครอบครัว ใสใจมิตรสหาย เออ้ื เฟอ ผูอน่ื ดแู ลรกั ษาสขุ ภาพกายและใจ รวมทง้ั มสี ิ่งดงี าม เปนที่ยึดเหนี่ยวของจิตใจ ลำดับตอมา คือ การใหเวลากับอาชีพการงาน ศึกษาหาความรู สะสมทรัพยสมบตั ิ เวลาที่เหลอื นอกนน้ั กเ็ ปนเร่ืองของการเที่ยวเตร” ๒๕๔ ภาษาไทย ๕

พูดจบอาจารยก็ถามนักศึกษาวา “แตถาเราใหเวลากับการเท่ียวหรือเอาการงานและ การแสวงหาทรัพยสมบัติขึ้นมาเปนอันดับแรกของชีวิต อะไรจะเกิดขึ้นกับสิ่งสำคัญของ ชวี ติ ? ลูกมะนาวจะอยูท่ีไหน ถาเราใสท รายหรอื กรวดเขา ไปในขวดโหลกอ น?” นิทานเร่ืองน้ีคงไมมีประโยชนถาหากเรามีเวลาอยูในโลกน้ีอยางไมมีขีดจำกัด แตใน ความจริงคือเราทุกคนมีเวลาและพลังงานอยางจำกัด ดังนั้นการจัดลำดับความสำคัญของ สิ่งตางๆ ในชีวิตจึงเปนเร่ืองจำเปน ปญหาของผูคนในเวลาน้ีก็คือ ไมคอยไดคิดถึงเรื่องน้ี เทาไรนัก ย่ิงไปกวานั้นก็คือ หลงเขาใจไปวาชีวิตน้ีมีแตทรายและกอนกรวดเทานั้น ลืมไป วา ยงั มลี กู มะนาวทเี่ ราตอ งใสใจดวย หลายคนแมจะรูวาชีวิตน้ีขาดลูกมะนาวไมได แตจนแลวจนรอดก็ไมมีเวลาที่จะหา ลูกมะนาวมาบรรจุไวในชีวิต ท้ังนี้ก็เพราะคอยผัดผอนอยูเรื่อย เรื่องเกี่ยวกับครอบครัว สุขภาพกาย สุขภาพใจ มักจะไมใชเรื่องเรงดวน ในขณะท่ีอาชีพ การงานน้ันมักจะมี “เสนตาย” ที่ตองเรงทำใหเสร็จ จริงอยูการเที่ยวเตรและชอปปงไมใชเรื่องเรงดวน แตก็มี เสนหดึงดูดใจกวาการออกกำลังกายหรือทำสมาธิ แถมถูกทำใหเปนเร่ืองที่ตองเรงตัดสินใจ (เพราะ “ลดกระหน่ำ” เพียงแคอาทิตยน้ีเทาน้ัน) ผลก็คือไมมีเวลาเหลือสำหรับสิ่งท่ีสำคัญ ในชวี ิต โดย : รินใจ จากนิตยสาร Kids & Family ฉบับท่ี ๑๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๘ ผฉูส บอับน (ตัวอยาง) ๑. เมื่อนักเรยี นอา นชื่อเร่อื ง “ชีวิตท่ขี าดมะนาวไมได” นักเรยี นจนิ ตนาการ วาเปนเรอ่ื งเกย่ี วกบั อะไร การทำอาหารไทย เพราะมะนาวเปนพืชที่.................................................................................................................................................... ชว ยเพ่ิมรสชาตขิ องอาหารใหมีรสจัดจานขน้ึ....................................................................................................................................................................................................................................... ๒. นกั เรยี นเหน็ ดวยกบั บทความน้หี รือไมเพราะอะไร เห็นดวย เพราะเรา...................................................................... ควรใสใ จตอ ครอบครัว และหวงใยความรสู ึกของคนรอบขางมากกวา....................................................................................................................................................................................................................................... วัตถุสงิ่ ของหรอื การเทยี่ วเตร....................................................................................................................................................................................................................................... ๓. สำรวจตนเองวา ชีวิตของตนเองที่ผานมามี “มะนาว” หรือไม และ “มะนาว” ของตน คอื ส่ิงใดบาง มี ไดแก ครอบครวั เพ่ือนๆ.................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................... ภาษาไทย ๕ ๒๕๕

¡ÂÊ â¤Ã§§Ò¹ ÇªÔ Ò ÀÒÉÒä·Â “คำไทยแท และคำภาษาตางประเทศ” จุดประสงค : จำแนกคำไทยแท และคำทมี่ าจากภาษาอืน่ ได ภาระงาน : อานขาว สารคดี บทความ นิทาน เรื่องส้ัน หรือเร่ืองท่ีนักเรียน สนใจ แลวสำรวจคำไทยแท และคำท่ีมาจากภาษาอื่นจากเร่ือง ท่อี าน แลว สรุปผลการสำรวจลงในตาราง จากนัน้ เขยี นเปนรายงาน และนำเสนอผลงานท่สี ำรวจมา ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§ “กระดาษนี้มีคณุ คา ” ผฉูสบอับน จดุ ประสงค : ใชก ระดาษอยา งรูค ณุ คา ภาระงาน : ๑. รวบรวมกระดาษที่ใชแลว ๑ ดา น จากแหลงตา งๆ ใหไดมากทีส่ ุด ๒. นำกระดาษน้ันมาจัดทำเปนสมุดบันทึกใหสวยงาม และเก็บไวใช ในการเขียนหรอื จดบนั ทกึ สิ่งตางๆ ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒèμÔ ÍÒÊÒ “หนงั สอื คือขุมทรพั ย” จุดประสงค : เลา เร่ืองที่อานมาใหผ อู ื่นฟง ได ภาระงาน : ๑. จัดกิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน โดยเลาเร่อื งทีอ่ า นจากหนงั สือตางๆ ใหเ ด็กดอ ยโอกาสทางการศกึ ษาในชุมชนตา งๆ ฟง ๒. ประเมินผลการทำกิจกรรม และทำกิจกรรมในลักษณะนี้อยาง ตอเนือ่ ง ๒๕๖ ภาษาไทย ๕

ูค ืมอกา รทำงานสำหรับ…ค ๑¾àÔ ÈÉ รผู สู อน ๑ ๒ ๓ เฉพาะสำหรบั ...ครผู สู อน ใชพฒั นา ใชพัฒนา ใชพฒั นา การเรยี นการสอน คุณภาพการปฏบิ ัติงาน ผลการเรียนรขู องผเู รยี น ขอสอบเตรียมความ เฉผพสู าะอฉนบับ พรอ มฯ PRE-O-NET พรอมเฉลยอยา งละเอียด การเทียบเคยี งตรวจสอบ มาตรฐานตัวชวี้ ดั ชัน้ ปและ มาตรฐานการศึกษาฯ สาระการเรยี นรแู กนกลาง ภาษาไทย ป.๕ เฉพาะสำหรบั ...ครูผูสอน เฉลยกจิ กรรมและ ตวั อยา งการกรอก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบบนั ทึกผลการประเมิน ความรเู สรมิ สำหรับครู แบบรายงานผลการพฒั นา คุณภาพผเู รียนรายบุคคล (ปพ.๖) ๕».ÀÒÉÒä·Â

๑à©Å 㪌¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹¡ÒÃÊ͹ ๒¾àÔ ÈÉ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡Òä´Ô Ẻ·´ÊͺÇÑ´¼ÅÊÑÁÄ·¸ìÔ»ÃШÓ˹Nj  ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ๒ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๔. เขียนแผนภาพโครงเร่อื งของนทิ านที่กำหนดลงในสมุด เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ตัวละครในเรอ่ื ง ไกแจ สถานท่ี ไมระบุสถานทแ่ี นช ดั เหตุการณท ่เี กิด ไกแจคุย เขย่ี หาอาหารไปพบพลอยเมด็ หน่งึ ผลของเหตุการณ ไกแจเ หน็ วาพลอยไมม ปี ระโยชนกับมันจึงไมส นใจ แลวคุยเขยี่ หาอาหารตอ ไป ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ô ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ŒÙ èÕ ๓ (ตัวอยา ง)อา นบทความ แลวตัง้ คำถามและตอบคำถาม จากนนั้ เขยี นสรปุ ใจความสำคัญของบทความลงในสมุด ๑. เรอ่ื งทอ่ี า นมีชอ่ื เร่อื งวาอะไร ➠ จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ๒. ใครเปนผูสรา งจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ➠ สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ ๑ เฉผพสู าะอฉนบบั (พระเจา อทู อง) ๓. จังหวดั พระนครศรอี ยุธยาสรางเมอ่ื ใด ➠ พ.ศ. ๑๘๙๓ ๔. จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยามลี ักษณะพ้นื ท่ีเปน อยา งไร ➠ เปน ทรี่ าบลุม เปนทงุ นา ๕. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีความสำคญั อยางไร ➠ เคยเปน เมอื งหลวงเกาของประเทศไทยเปนเวลาถงึ ๔๑๗ ป และเปน เมอื งแหง ความหลงั ทีเ่ ตอื นใจถงึ ผลเสยี ของการแตกความสามัคคขี องคนไทย ใจความสำคญั ของบทความ เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา สรา งเมือ่ พ.ศ. ๑๘๙๓ โดยสมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๑ (พระเจา อูทอง) ซ่ึงมลี ักษณะพื้นท่เี ปนทร่ี าบลุม เปนทุงนา ชาวอยุธยาสวนใหญจึงประกอบอาชีพทำนา โดยจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเคยเปนเมืองหลวงของประเทศไทยเปนเวลา ๔๑๗ ป และเปนเมืองแหง ความหลังท่ีเตือนใจถงึ ผลเสียของการแตกความสามคั คขี องคนไทย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ŒÙ èÕ ๕ ๓. เขยี นสรุปความเหมอื นและความแตกตางระหวา งภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถน่ิ ลงในสมุด ความเหมือน ความแตกตา ง - เปน ภาษาที่ใชต ดิ ตอสื่อสารกนั - คำบางคำที่ใชเ หมอื นกนั แตออกเสียงแตกตา งกนั - มีหนว ยเสียงสระเหมือนกัน - ภาษาถ่ินสว นใหญม แี ตภ าษาพูดไมมีภาษาเขยี น แต ภาษาไทยมาตรฐาน มีท้ังภาษาพูดและภาษาเขียน (ภาษาทเ่ี ปนทางการ) - มีหนว ยเสียงพยัญชนะ และวรรณยุกตตา งกัน ๕».ÀÒÉÒä·Â

Ẻ·´ÊÍºÇ´Ñ ¼ÅÊÁÑ Ä·¸ìÔ »ÃШÓ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ٌ èÕ ๑-๕ ๓. จำแนกคำทกี่ ำหนดตามชนดิ ของคำใหถ ูกตอ ง แลว แตงประโยคจากคำลงในสมดุ ๓¾ÔàÈÉ คำบุพบท ไดแก กับ เพราะ ตอ เพื่อ โดย ใน บน แหง คำสนั ธาน ไดแ ก คง หาก ถงึ ...ก็ แต และ คำอ(ทุกานารแตไดงแปก ระหโูเยหอคออ!ขอึ้นยุ !อวายยกู! เยับ! วดดั วลุ ายอาพว!นิ จิ ของผสู อน) ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ๖ เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ๑. ขอาอนงคขำอค(วตามวั ทอกี่ ยำหา นงด)แลว ขดี เสน ใตคำราชาศพั ทท พี่ บ จากนนั้ เขียนลงในสมดุ พรอ มท้ังเขียนบอกความหมาย คำราชาศพั ท ความหมาย พระองค (๑) สรรพนามแทนพระมหากษัตริย เฉผพูสาะอฉนบับ พระราชโอรส ลกู ชาย ทรง คำนำหนาคำสามญั เพ่ือใหเ ปนคำราชาศัพท เชน ทรงมี ทรงเปน ฯลฯ เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน พระนาม ช่ือ พระเชษฐา พชี่ าย พระองค (๒) คำลักษณนามของพระมหากษตั รยิ  พระราชกรณยี กิจ งาน หนา ที่ พระราชชนนี แม มารดา ประชวร ปวย ไมสบาย พระทัย ใจ เสดจ็ พระราชดำเนิน ไป พระอาการ อาการ สวรรคต ตาย ทรงบำเพ็ญพระราชกศุ ล ทำบญุ ถวายแด มอบให ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·èÕ ๗ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ò ๑. อา นคำท่ีกำหนดให แลวจำแนกวา เปนคำทีม่ าจากภาษาใด จากนัน้ เขยี นลงในสมุด คำทม่ี าจาก ภาษาองั กฤษ ไดแ ก โรเดียม บังกะโล เชิ้ต แร็กเกต สไลด คำทม่ี าจาก ภาษาจนี ไดแก โจก ตยุ บะหมี่ คำที่มาจาก ภาษาบาลี-สันสกฤต ไดแ ก ฤกษ ฑาหก มรรยาท วายุ ลีฬหา กรฑี า คำที่มาจาก ภาษาเขมร ไดแก เชลย บังคม ทำนูล เจริญ คำท่มี าจาก ภาษาชวา ไดแก ตนุ าหงัน กริช ๕».ÀÒÉÒä·Â

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ èÕ ๘ ใหถ กู ตอ ง และหาความหมาย ๔¾ÔàÈÉ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ñ ๓. เขยี นชอื่ ภาพลงในชองวา ง จากนั้นเรยี งลำดับคำตามพจนานุกรม โดยนำเลขขอ มาใสใน ของคำ แลว เขียนลงในสมดุ ลำดับ คำ ความหมาย ๑ กระรอก (๑๐) ชือ่ สตั วเ ลีย้ งลูกดว ยนมในวงศ Sciuridae มีฟน แทะ สว นใหญต าโตและหูใหญ หางยาว เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน เปน พวง กนิ ผลไม มีหลายสกลุ และหลายชนดิ ๒ เคก (๙) ขนมฝรัง่ ชนิดหน่งึ ทำดว ยแปง สาลผี สมไข เนย นำ้ ตาล เปนตน ๓ จักรยาน (๖) รถถีบ ๔ ตะกรา (๓) ภาชนะสานโปรง สำหรับใสสง่ิ ของ มรี ปู ตางๆ บางชนิดมีหหู วิ้ บางชนิดไมมี ๕ ตกุ ตา (๑๑) ของเดก็ เลน ซึง่ ทำเปนรูปคนหรือสตั ว เปนตน มักมขี นาดเลก็ กวาตวั จริง ๖ โทรทัศน (๑๒) กระบวนการถายทอดเสียงและภาพไดพรอมกัน จากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง โดยวิธีเปล่ียน คลืน่ เสยี งและภาพใหเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกสูอ ากาศ ๗ มะเขือเทศ (๕) ชอื่ ไมลม ลกุ ชนิด Lycopersicum esculentum mill ในวงศ Solanaceae ผลกนิ ได ๘ แมงกะพรุน (๔) ช่ือสัตวน้ำไมมีกระดูกสันหลัง ใสคลายวุน ดานบนเปนวงโคงคลายรม ดานลางตอนกลาง เปนอวัยวะทำหนาที่กินและยอยอาหาร มหี ลายชนิด ๙ แมลงปอ (๗) ช่ือแมลง หัวและอกสั้นปอม สวนทองแคบและยาว หนวดสั้นเล็กมองคลายขน ตาโตใหญ ๒ ขางดูเต็มหัว ปก ๒ คู ขนาดเทาๆ กัน หรือโตกวากันเล็กนอย ลักษณะยาว บางใส มีเสนปกมากมายอาจมสี ตี างๆ เชน สม เหลอื ง หรือ น้ำเงนิ แมงปอ ก็เรยี ก เฉผพูส าะอฉนบบั ๑๐ วา ว (๑) เครือ่ งเลนอยางหนึง่ มีไมไผ เปน ตน ผกู เปนโครงรูปรางตา งๆ แลว ปด ดว ยกระดาษหรอื ผาบางๆ มีสายเชอื กหรือปานผกู กบั สายซุง สำหรับชักใหลอยตามลมสูงขึน้ ไปในอากาศ ๑๑ วิทยุ (๘) กระแสคลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดท่ีเคล่ือนท่ีไปตามอากาศโดยไมตองใชสาย และอาจเปลี่ยน เปน เสยี งหรือรปู ได ๑๒ ไอศกรมี (๒) ของกินทำดวยนำ้ หวาน กะทิ หรือนม เปน ตน ทำใหข นดว ยความเยน็ เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ๑๐ ๒. เขยี นอธิบายความหมายของขอความจากกจิ กรรมพัฒนาการคดิ ขอ ๑ ลงในสมดุ ๑) ดอกจันทนกะพอปลิวจากตน เกสรของดอกจันทนกะพอสีแดงแกมเหลืองรวงจากดอกท่ีปลิว กระจายอยูในอากาศเปน เหมือนลายของตาขา ยท่ีใชค ลมุ ผา ไตรของพระสงฆ ๒) คนเรามคี วามตอ งการการยอมรบั จากผอู ืน่ ๓) นำ้ คา งเกาะอยูบนใบหญา เปนประกายระยบิ ระยับ เพราะโดนแสงอาทติ ยสอง ๔) คนไทยรับวัฒนธรรมการกนิ แบบตะวันตกมา และรับเครอ่ื งมือการกนิ ทเ่ี หมาะสมคอื ชอ นและสอ ม มาดวย ๕) พระจันทรท่ีสวางอยูเมื่อสักครูมืดลง อากาศหนาวเย็น น้ำคางหยดเหมือนหยาดน้ำตา เกสรของตนรังรวงพรูเหมือน สายนำ้ ทสี่ รงพระสรรี ะของพระพทุ ธเจา ซึ่งปรินพิ พานแลว ๖) ศูนยเ ยาวชนลุมพนิ ี เปด ดำเนินการเมื่อป พ.ศ. ๒๕๐๔ โดย กทม. ภายในมสี นามหญาสำหรบั เลน หรือทำกิจกรรมตา งๆ ๗) ในสมัยพระเจา พรหมทัตปกครองกรงุ พาราณสี ยังมเี ศรษฐีผหู นึ่งซึ่งมีบตุ รชาย ๓ คน ทมี่ ีสตปิ ญ ญาเทาเทียมกนั ๘) ใบไมรว งหลนจากตน เหมือนชีวติ คนที่มีการเกิด แก เจบ็ และตาย ๙) ถาคนเราไมส นใจหรือไมม ีประสบการณในการใชภาษา คนๆ นนั้ ยอมไมมีความพรอ มในการเรียนรูภาษาที่ใชส ื่อสาร ๑๐) ผูหญิง (ในบทประพันธ) มคี วามสวยงามมาก จมกู สวยเหมอื นตะขอ คอระหงเหมอื นคอหงสทองคำ ใบหงู ามเหมอื นกลบี ดอกไม และควิ้ กเ็ ปนระเบียบสวยงาม ๕».ÀÒÉÒä·Â

¡ÒÃÊͺÇÑ´¼ÅÊÁÑ Ä·¸·Ôì Ò§¡ÒÃàÃÂÕ ¹ áÅÐÁÒμðҹ O-NET ๕¾àÔ ÈÉ (Ordinary National Education Test) การจัดสาระการเรียนรูในระดับประถมศึกษาปที่ ๑-๖ สถานศึกษาตองจัดสาระ การเรียนรูในแตละปใหครบท้ัง ๘ กลุมสาระ โดยในแตละกลุมสาระ ผูสอนตองกำหนด เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน สาระการเรียนรูใหเหมาะสมกับสภาพของผูเรียน และธรรมชาติของกลุมสาระน้ันๆ เม่ือ เรียนจบในแตละระดับชั้นแลว ผูเรียนตองผานการประเมินผลครบทุกกลุมสาระ และ มีความรูและทักษะท่ีสำคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดช้ันปของ แตละกลุมสาระท่กี ำหนดไวในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ นอกจากน้ี สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนท่ีกำลังศึกษาอยูในช้ัน ป.๓ และ ป.๖ เขารับการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติดวยวิธีการและเครื่องมือประเมิน ของกลุมสาระการเรียนรูตางๆ ตามท่ีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน แหงชาติ (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ และสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ (สทศ.) กำหนดใชในแตละป เฉผพสู าะอฉนบับ หนึ่งในเครื่องมือและวิธีการประเมินที่นิยมใชอยางแพรหลายในประเทศท่ีจัดใหมี การประกนั คุณภาพการศึกษา คอื การใชข อ สอบมาตรฐาน (O-NET) ของ สทศ. ซึง่ เปน องคกรมหาชนจัดทำขึ้น เพราะผลการทดสอบของผูเรียนสามารถแสดงผลยอนกลับ (Feedback) แกสถานศึกษา ชมุ ชน และผูป กครองไดอยางเทยี่ งตรง เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ขอ สอบเตรยี มความพรอ มวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น และมาตรฐาน O-NET กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ หรือขอสอบ PRE-O-NET ฉบับนี้ จัดทำเพ่ือใหผูสอนใชเปนเครื่องมือทดสอบความรูความเขาใจของผูเรียนแตละคน เพ่ือ เตรียมความพรอมกอนเขารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของ สทศ. และนำผลการประเมินของกลุมเด็กในช้ันเรียนมาพิจารณาปรับปรุงแกไข นวัตกรรมการจัดการเรียนรูของผูสอน รวมทั้งดำเนินการสอบซอมเสริมผูเรียนใหมี ความรูและทักษะตามเกณฑที่กำหนดไวในมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร จึงเปน ภารกิจสำคัญที่สถานศึกษาจะตองจัดใหผูเรียนผานการประเมินมาตรฐานการเรียนรู ทุกคน เพื่อนำผลการทดสอบมาพิจารณาปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ ตามหลกั เกณฑวิธีการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ๕».ÀÒÉÒä·Â

¢ÍŒ ÊͺàμÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ PRE-O-NET ÇÔªÒÀÒÉÒä·Â ».õ ๖¾àÔ ÈÉ วตั ถปุ ระสงค ใชเ พอื่ วดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น และมาตรฐาน O-NET คำชแ้ี จง ๑. แบบทดสอบนมี้ ี ๒ ชดุ มคี ำถามชดุ ละ ๕๐ ขอ เปน แบบเลอื กตอบมี ๔ ตวั เลอื ก ๒. ใหนักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียงคำตอบเดียว แลวกา ✗ ทับตัวอักษรตรงกับตัวเลือก ทต่ี อ งการ เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ชุดที่ ๑ เวลาทำขอสอบ ๖๐ นาที ขอ ๑ - ๒ ขอ ใดเปน ประโยค ๙. ขอ ใดเปน วลี ทม่ี ี ๒ คำ ๕ พยางค ๑. ก. นกพริ าบ ข. แมวนอน ก. ปากกาสนี ำ้ เงนิ ข. เบญจมาศเดนิ เลน ค. ปลาทอง ง. หมาลายจดุ ค. สขุ ลกั ษณะ ง. เขาเปน ทนายความ ๒. ก. แมน ำ้ ลำธาร ข. นำ้ มกู นำ้ ลาย ๑๐. ขอ ใดเปน คำ ค. นำ้ แขง็ ไสเยน็ ง. หมิ ะนำ้ แขง็ ก. กิ๊ ข. เตยี๋ ๓. ผหู ญงิ สวยกำลงั วง่ิ จากประโยค คำใดเปน ค. ชนุ ง. ซกู สว นขยายประธาน ๑๑. ขอ ใดมี ๕ คำ ๘ พยางค ก. ผหู ญงิ ข. วงิ่ ก. กา นดภู าพยนตรอ ยา งตงั้ ใจ เฉผพสู าะอฉนบบั ๔. ค. กำลงั ง. สวย ข. นดิ นง่ั ทำการบา นกบั นอ ยหนา ค. นกั เรยี นฟง ครอู ธบิ ายโครงงาน เมอ่ื เชา นฉี้ นั นงั่ ตกปลาทร่ี มิ แมน ำ้ จากประโยค สว นใดคอื ภาคแสดง ง. โหนง วาดรปู ดอกไมใหเ ทง ก. เมอ่ื เชา นี้ ข. ฉนั นงั่ ตก ๑๒. งมเขม็ ในมหาสมทุ ร มกี คี่ ำ กพี่ ยางค ค. ทรี่ มิ แมน ำ้ ง. นง่ั ตกปลาทร่ี มิ แมน ำ้ ก. ๒ คำ ๗ พยางค เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ๕. ขอ ใดเปน วลี ข. ๓ คำ ๗ พยางค ก. พอ ตงี จู นตาย ค. ๔ คำ ๗ พยางค ข. วนิ ยั ชอบทำกบั ขา ว ง. ๕ คำ ๗ พยางค ค. เขาซกั ผา อยหู ลงั บา น ๑๓. ขอ ใดมคี ำและพยางคเ ทา กบั วลี ง. การบา นวชิ าวทิ ยาศาสตร ความรคู วามสามารถทวั่ ไป ๖. คำวา รตั นโกสนิ ทร มกี ค่ี ำ กพี่ ยางค ก. พากเพยี รเรยี นรวู ชิ า ก. ๑ คำ ๕ พยางค ข. ๕ คำ ๓ พยางค ข. หลกั ฐานทางโบราณสถาน ค. ๓ คำ ๑ พยางค ง. ๑ คำ ๓ พยางค ค. กจิ กรรมมปี ระโยชนม าก ๗. ขอ ใดมพี ยางคเ ทา กบั คำวา ภมู ปิ ญ ญา ง. งมเขม็ ในมหาสมทุ ร ก. ภมู ปิ ระเทศ ข. อณุ หภมู ิ ๑๔. ฉนั สอบไดท ี่ ๑ พอ จงึ ใหร างวลั แกฉ นั ค. ภมู แิ พ ง. สมรภมู ิ เพอ่ื เปน กำลงั ใจ สำหรบั การกระทำดี ๘. คำวา คณุ วฒุ ิ มกี พี่ ยางค จากขอ ความมคี ำบพุ บทจำนวนกคี่ ำ ก. ๑ พยางค ข. ๒ พยางค ก. ๒ คำ ข. ๓ คำ ค. ๔ พยางค ง. ๕ พยางค ค. ๔ คำ ง. ๕ คำ ๕».ÀÒÉÒä·Â

๑๕. พระราชเสาวนยี  หมายความวา อยา งไร ๒๒. ประโยคในขอ ใดมคี ำควบกลำ้ แท ก. คำสงั่ ของพระราชา ก. วนั นหี้ นา ตาเธอดเู ศรา ๆ นะ ๗¾àÔ ÈÉ ข. คำสง่ั ของพระราชนิ ี ข. ผลการสอบจะแจง ใหท ราบวนั ศกุ ร เฉผพสู าะอฉนบับ ค. คำสอนของพระราชา ค. ไมจ รงิ ! สรอ ยเสน นมี้ นั เปน ของฉนั ง. คำสอนของพระราชนิ ี ง. ปรบั ปรงุ แกไขงานใหมใหเ รยี บรอ ยนะ ๑๖. พระราชปฏสิ นั ถาร หมายความวา อยา งไร ๒๓. ขอ ใดอา นออกเสยี งแบบอกั ษรนำทงั้ หมด เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ก. คำพดู ของพระราชา ก. เสนาะ เสวย เสรมิ ข. คำทกั ทายของพระราชา ข. เสมยี น เสมอ เสภา ค. คำสอนของพระราชา ค. เสงย่ี ม เสมอื น เสนห  ง. คำถามของพระราชา ง. เสนยี ด เสรจ็ เสบยี ง ๑๗. ประโยคในขอ ใด มคี ำสนั ธานเชอื่ มความเปน ๒๔. ขอ ความใดแสดงความหมายโดยนยั เหตเุ ปน ผลกนั ก. ผหู ญงิ คนนน้ั แตง ตวั เปรยี้ วมาก ก. เพราะเขาเกเรจงึ ถกู ครตู ี ข. โธเ อย ! เรอื่ งงา ยๆ กท็ ำไมได ข. ถา ฝนตก นอ ยอาจจะไมไป ค. ขอ สอบวชิ าคณติ ศาสตรย ากมาก ค. เขาและเธอมาโรงเรยี นสาย ง. เธอเปน คนดมี นี ำ้ ใจ ง. ฉนั ชอบวชิ าคณติ สว นเธอชอบวชิ าศลิ ปะ ๒๕. คำใดมคี วามหมายวา ใชจ า ยเกนิ ควร ๑๘. “................ ในทส่ี ดุ กเ็ สรจ็ เสยี ท”ี ก. ฟมู ฟาย ควรเตมิ คำวา อะไร ข. ฟมุ เฟอ ย ก. ไชโย! ข. ตา ย ตาย! ค. เฟอ งฟู ค. แหม! ง. วา ย! ง. เฟอ งฟงุ ๑๙. ขอ ใดเปน ประโยคความเดยี ว ๒๖. ขอ ใดตรงขา มกบั คำวา โอโ ถง เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ก. แมซ อ้ื ผกั และผลไม ก. หรหู รา ข. เกา แก ข. พกี่ ำลงั รอ งเพลงลกู ทงุ ค. ซอมซอ ง. ครำ่ ครึ ค. ฉนั หวิ ขา วแตน อ งหวิ นำ้ ๒๗. สำนวนใดมคี วามหมายวา ปากโปง ง. ดนยั แปรงฟน แลว จงึ อาบนำ้ เกบ็ ความลบั ไมอ ยู ๒๐. “นอ งเปน ไข. .......ไปโรงเรยี นไมไ ด” ก. ละเลงขนมเบอ้ื งดว ยปาก ควรเตมิ คำใด ข. เปน ตเุ ปน ตะ ก. มฉิ ะนนั้ ข. เพราะวา ค. นกสองหวั ค. เนอื่ งจาก ง. จงึ ง. ฆอ งปากแตก ๒๑. ขอ ใดเปน คำควบกลำ้ ทกุ คำ ๒๘. สำนวนใด มคี วามหมายคลา ยคลงึ กนั ก. เครง ครดั ฉลอง เกรง ก. หาเหาใสห วั - แกวง เทา หาเสย้ี น ข. ตลาด แกวง ไกว ขวนขวาย ข. วดั รอยตนี - เขน็ ครกขนึ้ ภเู ขา ค. กลอง ไตรต รอง หละหลวม ค. ลนิ้ สองแฉก - หมาหยอกไก ง. ขรขุ ระ ครอบครวั พรอ มเพรยี ง ง. คอทองแดง - คอเปน เอน็ ๕».ÀÒÉÒä·Â

๒๙. ใครปฏิบัติตนและมีมารยาทในการอานอยาง ๓๖. สง่ิ ทส่ี ำคญั ทส่ี ดุ ในการเขยี นบตั รอวยพร ๘¾àÔ ÈÉ ถกู ตอ ง คอื ขอ ใด ก. ออ มอา นจบแลว จบั ใจความสำคญั พรอ มทง้ั ก. คำอวยพร วเิ คราะหเ รอ่ื งทอ่ี า น ข. ชอื่ ผรู บั ข. นกพบั มมุ หนงั สอื เพอ่ื ใหจ ำไดว า อา น ค. ชอ่ื ผเู ขยี น เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ถงึ ไหน ง. วนั ทเี่ ขยี น ค. ตอู า นหนงั สอื ขณะรบั ประทานอาหาร ๓๗. บตั รท่ีใชเ ขยี นอวยพรควรมลี กั ษณะเชน ไร ง. ดาวอา นหนงั สอื ใหเ พอ่ื นฟง ในหอ งสมดุ ก. มสี สี นั หลายๆ สี ๓๐. ขอ ใดไมใ ชค ำไทยแทท งั้ หมด ข. มสี อี อ น และดสู ภุ าพ ก. นำ้ หนิ ลงุ ศอก ค. มลี วดลายมากๆ และมหี ลายสี ข. กาว พดู เธอ ฆอ ง ง. มสี อี อ น และมลี วดลายมากๆ ค. จอด ดนิ พอ กฬี า ๓๘. คำใดมคี วามหมายตรงกบั คำวา แอว ง. เฒา งาม เมอื ง เจบ็ ก. มะละกอ ๓๑. ขอ ใดกลา วถกู ตอ ง ข. ตลาด ก. คำไทยแทม กี ารนั ต ค. ไปเทยี่ ว ข. คำไทยแทไมใช รร ง. แหว เฉผพสู าะอฉนบบั ค. คำไทยแทม หี ลายพยางค ง. คำไทยแทส ะกดไมต รงมาตรา ๓๙. คำใดมคี วามหมายตรงกบั คำวา มว น ก. สนกุ ข. ชา ๓๒. ขอ ใดเปน คำทมี่ าจากภาษาอน่ื ค. คอ ยๆ ง. เศรา ก. ฆอ ง ข. ศกึ ๔๐. ประโยคในขอ ใดเปน การสอ่ื สาร เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ค. กว ยเตยี๋ ว ง. เลอื ด ทแี่ ตกตา งจากพวก ๓๓. ขอ ใดสำคญั ทสี่ ดุ ในการเขยี นสรปุ เรอ่ื ง ก. พอ อยทู ี่ไหน ก. ใชภ าษาทสี่ ละสลวย ข. เมอื่ ไรเขาจะเขา มา ข. สรปุ ใจความสำคญั ครบถว น ค. ทำไมเธอถงึ ทำอยา งนน้ั ค. รกั ษาความสะอาดในงานเขยี น ง. ฉนั ทำอะไรกผ็ ดิ ไปหมด ง. คดั ลอกขอ ความสำคญั มาใสใหค รบถว น ๔๑. ใครปฏบิ ตั ติ นในการอา นจบั ใจความสำคญั ๓๔. การเขยี นโฆษณาไมค วรใชภ าษาอยา งไร ไมถ กู ตอ ง ก. ใชภ าษาทเ่ี ขา ใจงา ย ก. ฝนคดั ลอกขอ ความสำคญั มาเปน ขอ สรปุ ข. ใชภ าษาสน้ั ๆ กะทดั รดั ข. กอ ยอา นทบทวนทตี่ นเองสรปุ ใจความ ค. ใชค ำทด่ี งึ ดดู ความสนใจ สำคญั อกี ครงั้ กอ นสง ครู ง. ใชภ าษายาวๆ สละสลวย ค. กลุ อา นอยา งละเอยี ดอกี ครง้ั กอ นเขยี นสรปุ ๓๕. โอกาสใดไมค วรใชบ ตั รอวยพร ใจความสำคญั ก. งานวนั เกดิ ข. งานแตง งาน ง. เลก็ เขยี นสรปุ ใจความสำคญั ดว ยสำนวน ค. งานปใหม ง. งานศพ ภาษาของตนเอง ๕».ÀÒÉÒä·Â

๔๒. ใครปฏบิ ตั ติ นในการเขยี นยอ ความไมถ กู ตอ ง อา นขอ ความตอ ไปน้ี แลว ตอบคำถาม ขอ ๔๘-๕๐ เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ก. จอยเขยี นยอ นทิ านตามรปู แบบการยอ นทิ าน ข. จนู สรปุ ใจความสำคญั กอ น แลว จงึ นำมา ๙ระหวางนักเขียนกับนักหนังสือพิมพมีเสนแบง ¾àÔ ÈÉ เขยี นเรยี บเรยี งดว ยสำนวนตวั เอง ค. แจนอา นเรอ่ื งทจ่ี ะยอ อยา งนอ ย ๒ ครง้ั อยางหลวมๆ ประการหนึ่งตรงท่ีนักเขียนอาศัย พรอ มทง้ั บนั ทกึ ใจความสำคญั จินตนาการ และพึ่งพิงความสามารถทางภาษาท่ี ง. โจลอกขอ ความสำคญั มาใส คอนขางพริ้งพราววิลิศมาหราดวยสำบัดสำนวน ขณะที่นักหนังสือพิมพอาศัยความจริงและถายทอด ๔๓. ขอ ใดไมใ ชว ธิ กี ารยอ ความทถี่ กู ตอ ง ความจริงออกมาอยางตรงไปตรงมาไมออมคอม ก. ฟง หรอื อา นอยา งตงั้ ใจ วกวน นักเขียน นักประพันธ หรือกวี จึงเปนคน ข. อา นหรอื ฟง เรอื่ งราวอยา งนอ ย ๒ ครง้ั ชางฝน ขณะที่นักหนังสือพิมพ นักขาวถอดความ ค. บนั ทกึ ใจความสำคญั ดว ยสำนวนใหม จรงิ อยกู บั ความจรงิ ง. ใชอ กั ษรยอ เพอื่ ยอ ขอ ความ จาก มตชิ นรายสปั ดาห ๕ ส.ค. ๒๕๓๗ ๔๔. ขอ ใดไมใ ชม ารยาทของผฟู ง ทด่ี ี ก. เคย้ี วหมากฝรง่ั แกง ว ง ๔๘. นกั ขา วตอ งใชค วามสามารถดา นใดมากทส่ี ดุ ข. แสดงความคดิ เหน็ กบั ผพู ดู ค. จดบนั ทกึ ในสงิ่ ทเ่ี ปน ความรู ก. การใชภ าษาเขยี น ง. ปรบมอื ทงั้ กอ นและหลงั การพดู ข. ความมจี นิ ตนาการ ๔๕. ขอ ใดกลา วถงึ กาพยย านี ๑๑ ไมถ กู ตอ ง ก. ๑ บท มี ๒๒ คำ ข. ๑ บาท มี ๑๑ คำ ค. การคน หาขอ เทจ็ จรงิ ค. ๑ บท มี ๒ บาท ง. ๑ บาท มี ๔ วรรค ง. การใชส ำบดั สำนวน เฉผพสู าะอฉนบับ ๔๖. ใครปฏบิ ตั ติ นในการอา นไมเ หมาะสม ๔๙. ขอ ความนกี้ ลา วถงึ เรอื่ งอะไร ก. ตอ ยอา นออกเสยี ง ร เปน ร และเสยี ง ควบกลำ้ ไดอ ยา งชดั เจน ก. ความแตกตา งระหวา งนกั เขยี นกบั ข. แตน งั่ หลงั ตรงเปน ธรรมชาติในการอา น หนงั สอื ทกุ ครง้ั นกั หนงั สอื พมิ พ ค. ตน อา นทำนองเสนาะโดยใชเ สยี งสงู -ตำ่ หนกั -เบา ตามคำประพนั ธ ข. การเปน คนชา งฝน และการอยกู บั ความจรงิ ง. แตงอา นบทรอ ยกรองออกเสยี งธรรมดา โดยไมแ บง คำ ค. การใชภ าษาของนกั หนงั สอื พมิ พ เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ๔๗. หากตอ งการเขยี นจดหมายสว นตวั ถงึ และนกั เขยี น ญาตผิ ูใหญ ควรใชค ำขน้ึ ตน วา อยา งไร ก. กราบสวสั ดี ง. การถา ยทอดความจรงิ และความสามารถ ข. ดว ยความเคารพอยา งสงู ค. กราบเทา .....ทเ่ี คารพ ทางภาษา ง. ถงึ ........ทรี่ กั และคดิ ถงึ ๕๐. ขอ ความนสี้ รปุ วา อยา งไร ก. นกั เขยี นใชภ าษาไดไพเราะกวา นกั หนงั สอื พมิ พ ข. นกั เขยี นตอ งอาศยั จนิ ตนาการมากกวา ความจรงิ ค. นกั หนงั สอื พมิ พจ ะเขยี นขา วจากเรอ่ื งจรงิ ไมใชเ พอ ฝน ง. นกั เขยี นใชค วามสามารถทางภาษา นกั หนงั สอื พมิ พใชค วามจรงิ ๕».ÀÒÉÒä·Â

ชดุ ท่ี ๒ เวลาทำขอสอบ ๖๐ นาที ๑๐¾ÔàÈÉ ขอ ๕๑-๕๒ ขอ ใดเปน วลี ๕๑. ก. ฟา ฝนกอ นเมฆ ข. ฝนตกฟา รอ ง ๕๙. “....เธอขยนั .....สอบไดท ี่ ๑” ควรเตมิ คำสนั ธาน ค. เมฆลอยบนฟา ง. ฟา มกี อ นเมฆ ในขอ ใด ก. แม. ..เพอ่ื ๕๒. ก. ตน ไมเ ตบิ โต ข. เขาปลกู ตน ไม ข. ถงึ ...แต เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ค. กระถางตน ไม ง. ตน ไมล ม ตาย ค. เพราะ...จน ๕๓. เสยี งทเ่ี ปลง ออกมาและมคี วามหมาย ง. เพราะ...จงึ เรยี กวา อะไร ๖๐. “เฮ! เปน ไปไดอ ยา งไร” คำพดู นแี้ สดงใหเ หน็ วา ก. คำ ข. พยางค ผพู ดู มคี วามรสู กึ อยา งไร ค. วลี ง. ประโยค ก. สงสาร ข. คาดไมถ งึ ๕๔. พยางคใดไมเ ปน คำ ค. พอใจ ง. ไมพ อใจ ก. ปะ ข. จะ ๖๑. เรยี งลำดบั คำตอ ไปนต้ี ามพจนานกุ รมใหถ กู ตอ ง ค. งะ ง. กะ ๑) นกั ขา ว ๒) นมสั การ ๕๕. ขอ ใดมจี ำนวนพยางคเ ทา กบั คำวา ๓) เนอื งแนน ๔) เนรมติ “บรรพบรุ ษุ ” ก. ๓) ๔) ๑) ๒) ข. ๑) ๒) ๓) ๔) เฉผพูส าะอฉนบบั ก. ไปรษณยี  ข. กรกฎาคม ค. ๒) ๑) ๔) ๓) ง. ๔) ๓) ๒) ๑) ค. ทศั นยี ภาพ ง. มกราคม ๖๒. “ทง้ั หมดยนื ตรง” คำวา “ตรง” ขยายคำชนดิ ใด ๕๖. “ฉนั ตกลงใจไปกบั เขาในทส่ี ดุ ” สว นใดเปน ก. คำนาม ข. คำกรยิ า กลมุ คำ ค. คำบพุ บท ง. คำวเิ ศษณ ก. ในทสี่ ดุ ๖๓. คำวา “บน” ในขอ ใดไมใ ชค ำบพุ บท เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ข. ฉนั ตกลงใจ ก. เขม็ ตกอยบู นพน้ื หอ ง ค. ฉนั ไปกบั เขาในทส่ี ดุ ข. คณุ ยายนงั่ อยบู นเกา อี้ ง. ฉนั ตกลงใจไปกบั เขา ค. หนงั สอื อยบู นโตะ ๕๗. ขอ ใดไมใ ชป ระโยค ง. คณุ แมไปแกบ นทศี่ าลหลกั เมอื ง ก. ฉนั ไมช อบหนา รอ น ๖๔. “พอ แมท ำทกุ สงิ่ ...ลกู ” ควรเตมิ คำใด ข. เธอขายของอยทู ต่ี ลาด จงึ จะเหมาะสม ค. นกหลากหลายชนดิ ก. แก ข. แด ง. อาแปะ ขายกว ยเตย๋ี วเรอื ค. เพอื่ ง. สำหรบั ๕๘. ประโยคใดมคี ำบพุ บท ๖๕. ขอ ใดมคี ำอทุ าน ก. ลกู จนั นอนตนื่ สาย ก. บา นฉนั อยูใกลแ มน ำ้ ข. กอ ยใหข องขวญั ตอ ม ข. ผหู ญงิ คนนน้ั สวยพอไปวดั ไปวาได ค. ฉนั เหน็ ดว ยกบั เธอ ค. เรากนิ เพอ่ื อยู ไมใชอ ยเู พอ่ื กนิ ง. แมท ำกบั ขา วหลายอยา ง ง. ฉนั จะไปหรอื ไมไปกเ็ ปน เรอ่ื งของฉนั ๕».ÀÒÉÒä·Â

๖๖. ขอ ความใดเปน เหตเุ ปน ผลกนั ๗๒. ประโยคความรวมในขอ ใดมคี วามหมาย ก. ถงึ เขาแกแ ตก ย็ งั คลอ งแคลว ใหเ ลอื กอยา งใดอยา งหนง่ึ ๑๑¾àÔ ÈÉ ข. เพราะไมส บายเขาจงึ ไมไปเทย่ี ว ก. ถา เธอไมไปกอ็ ยบู า น เฉผพสู าะอฉนบับ ค. เมอื่ เขาถบู า นเสรจ็ เขาก็ไปเทยี่ ว ข. กวา เขาจะมาถงึ กค็ ำ่ มดื ง. เธอตอ งไปมฉิ ะนน้ั จะถกู จบั ค. นำ้ ทว มเพราะฝนตกหนกั ๖๗. ขอ ใดใชค ำอทุ านไมเ หมาะสม ง. ทง้ั พอ และแมม อี าชพี คา ขาย เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ก. โอโฮ! สวยจงั เลย ๗๓. ขอ ใดไมไดอ า นออกเสยี งแบบอกั ษรนำ ข. โธ! นา สงสาร เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ค. เอะ ! นน่ั ใคร ก. ขมวด สนมิ อริ ง. แหม! เจบ็ จงั เลย ข. ขนนุ ตลาด อรอ ย ค. อรา ม ฉลาม สนอง ๖๘. ขอ ใดใชค ำราชาศพั ทไ มถ กู ตอ ง ง. ชะอม สะพรง่ั ชะเงอ ก. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ๗๔. “ชยั เปน เศรษฐใี หมท พ่ี รง่ั พรอ มดว ย ประทบั อยูในพลบั พลา เงนิ ทองมากมาย แตช วี ติ กห็ าได ข. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั มคี วามสขุ เขามแี ตโ ศกเศรา ทรงตรสั กบั ผนู ำโครงการ สขุ ภาพเขากท็ รดุ โทรมลง เพราะ ค. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เขาไมส ามารถปรบั ตวั และ เสวยพระกระยาหาร เปลยี่ นแปลงชวี ติ ของเขาได” ง. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ขอ ความนมี้ คี ำควบกลำ้ ไมแ ทก ค่ี ำ ทรงมพี ระพลานามยั สมบรู ณ ก. ๓ คำ ข. ๔ คำ ๖๙. “ฉลองพระองค” หมายถงึ สงิ่ ใด ค. ๕ คำ ก. เสอื้ ง. ๖ คำ ข. ผา นงุ ๗๕. “ทำไมวนิ ยั ตอ งตบตาฉนั ดว ย” ค. กางเกง จากขอ ความมคี วามหมายวา อยา งไร ง. รองเทา ก. วนิ ยั ใชม อื ตบตาเพอ่ื น ข. วนิ ยั หลอกลวงเพอ่ื น ๗๐. ประโยคในขอ ใดตา งจากขอ อนื่ ก. เขาวง่ิ ค. วนิ ยั ดา ทอเพอื่ น ข. นอ งเดนิ ค. หลานดม่ื นำ้ ง. วนิ ยั ขม ขเู พอื่ น ง. พร่ี อ งไห ๗๖. “เขา ตาจน” หมายความวา อยา งไร ๗๑. ขอ ใดเปน ประโยคความรวม ก. แมก บั ปา ไปวดั ก. หมดหนทางแกไข ข. รถคนั นนั้ วง่ิ เรว็ มาก ข. มกี ำลงั ใจทสี่ ตู อ ไป ค. เขาอาบนำ้ ในหอ งนำ้ ค. ไดผ ลตามเปา หมาย ง. วทิ ยเุ ครอื่ งน้ีไมม จี ำหนา ยแลว ง. ไมไดผ ลตามตอ งการ ๕».ÀÒÉÒä·Â

๗๗. “พดู ไมอ อกเหมอื น...” ควรเตมิ คำใดลงในชอ งวา ง ๘๑. “๑๑.๓๐ น.” อา นวา อยา งไร ๑๒¾ÔàÈÉ ก. นำ้ ทว มทงุ ก. สบิ เอด็ สามสบิ ข. นำ้ นง่ิ ไหลลกึ ข. สบิ เอด็ จดุ สามสบิ ค. สบิ เอด็ จดุ สามศนู ยน อ ค. นำ้ ตาตกใน ง. สบิ เอด็ นาฬก าสามสบิ นาที ง. นำ้ ทว มปาก อา นขอ ความ แลว ตอบคำถาม ขอ ๗๘-๘๐ ๘๒. คำในขอ ใดตา งจากพวก เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน เสอื ตอ ปลาพนื้ เมอื งของไทยอกี ชนดิ หนงึ่ ทถี่ กู ก. แทก็ ซ่ี ข. มะพรา ว นำมาเลี้ยงเปนปลาสวยงามและไดรับความนิยม ค. แบคทเี รยี ง. เปอรเ ซน็ ต มาก โดยเฉพาะตา งประเทศ และจากปรมิ าณทหี่ า ๘๓. ขอ ใดเปน คำไทยแท ไดตามธรรมชาติไมมากนัก จึงทำใหเปนปลา ก. เกบ็ เตม็ ข. เขญ็ เสดจ็ สวยงามทมี่ รี าคาแพง ค. สำเรจ็ ลำเคญ็ ง. บำเหนจ็ บำเพญ็ ในอดีตปลาเสือตอพบมากในบริเวณแมน้ำ ๘๔. ขอ ใดเปน ประโยคคำสง่ั เจาพระยา แตปจจุบันนี้เปนที่นาเสียดายวาเปน ก. โปรดชะลอความเรว็ ปลาอีกชนิดหน่ึงที่พบนอยมาก จึงควรชวยกัน ข. กรณุ าอยา เดนิ ลดั สนาม อนรุ กั ษไวเ พอ่ื ใหอ ยคู กู บั คนไทยตอ ไป ค. ชว ยถอื ของพวกนี้ใหด ว ยนะ จากนติ ยสารวทิ ยาศาสตร ง. จงใชส ะพานลอยเมอ่ื ขา มถนน เฉผพูส าะอฉนบบั ปท ่ี ๒ ฉบบั ท่ี ๑๗ ก.ค. ๒๕๔๐ ๘๕. เรียงลำดบั คำจากภาพท่กี ำหนด ๗๘. เหตใุ ดปลาเสอื ตอจงึ มรี าคาแพง ตามพจนานกุ รมใหถ กู ตอ ง ก. เพราะมคี วามสวยงามและมจี ำนวนนอ ย ๑) ๒) เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ข. เพราะตา งประเทศตอ งการ ๓) ๔) ค. เพราะเพาะพนั ธยุ าก ง. เพราะหายาก ก. ๒) ๓) ๔) ๑) ข. ๒) ๔) ๓) ๑) ๗๙. ปจ จบุ นั เราพบปลาเสอื ตอนอ ยลงมาก ค. ๑) ๒) ๔) ๓) ง. ๑) ๓) ๒) ๔) ๘๖. ขอ ใดเรยี งคำตามลำดบั ในพจนานกุ รม เพราะเหตใุ ด ไดถ กู ตอ ง ก. เพราะถกู คนจบั ไปเปน อาหาร ก. ขมน้ิ ขโมย ขมบั ข. เพราะถกู จบั ไปขายตา งประเทศ ข. บหุ รง บหุ รี่ บหุ ลนั ค. เพราะแหลง ทอ่ี ยอู าศยั ของมนั ถกู ทำลาย ค. ละเมดิ ละเมยี ด ละมนุ ง. เพราะเปน อาหารของปลาทต่ี วั ใหญก วา ง. บรรลุ บรรยาย บรรเลง ๘๐. เพราะเหตใุ ดเราจงึ ควรอนรุ กั ษป ลาชนดิ น้ี ๘๗. สงิ่ ใดจะชว ยใหก ารพดู หรอื การเขยี น ก. เพราะตา งประเทศตอ งการ เปน ไปตามลำดบั ข. เพราะมชี กุ ชมุ ในแมน ำ้ เจา พระยา ก. การเขยี นบทยอ ข. การเขยี นโครงเรอ่ื ง ค. เพราะเปน ปลาสวยงามทห่ี ายาก ค. การรา งรายละเอยี ด ง. การหาใจความสำคญั ง. เพราะมรี าคาแพง ๕».ÀÒÉÒä·Â

๘๘. หากเพอ่ื นเสยี ใจทสี่ อบวชิ าคณติ ศาสตรไมผ า น ๙๔. ทา นเหน็ ดว ยกบั ขอ ความนห้ี รอื ไม อยา งไร คำพดู ใดไมส มควรพดู มากทส่ี ดุ ๑๓ก. เหน็ ดว ย เพราะผหู ญงิ คอื แมเ รา ¾àÔ ÈÉ ก. “ฉนั บอกใหเ ธออา นหนงั สอื ก็ไมเ ชอื่ ” ข. เห็นดวย เพราะผูห ญิงสามารถทำงาน ข. “เดย๋ี วสอบซอ มกผ็ า นแลว ” และเปน แมได ค. “เราชว ยสอนใหเ อาไหมจะ ” ค. ไมเ หน็ ดว ย เพราะผชู ายแขง็ แรงกวา ผหู ญงิ ง. “เธอยงั มโี อกาสแกต วั นะ” ง. ไมเ หน็ ดว ย เพราะความสวยสรา งโลกไมได ๘๙. ขอ ใดไมใ ชม ารยาททดี่ ีในการพดู รายงาน ๙๕. ลกั ษณะของผหู ญงิ คอื ขอ ใด เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ก. ทำความเขา ใจเรอื่ งทจ่ี ะรายงาน ก. ความนมุ นวลและความออ นหวาน ข. ควรแยกประเดน็ สำคญั เปน ขอ ๆ ข. การออกไปทำงานนอกบา นและในบา น ค. รายงานใหร วดเรว็ ใชเ วลาใหน อ ยทสี่ ดุ ค. ธรรมชาตขิ องผหู ญงิ และความเปน แม ง. อา นรายงานอยา งรวดเรว็ ไมจ ำเปน ตอ งพดู ง. ความสวยงามและความเปน แม ใหช ดั เจน ๙๖. ขอ ความนผ้ี เู ขยี นมจี ดุ ประสงคเ พอ่ื อะไร ๙๐. “บกั นดั ” หมายถงึ ผลไมใด ก. ขอรอ ง ข. ตอ วา ก. มะละกอ ข. สบั ปะรด ค. ตกั เตอื น ง. บอกกลา ว ค. นอ ยหนา ง. แตงโม อา นขอ ความตอ ไปนแี้ ลว ตอบคำถามขอ ๙๗-๑๐๐ ๙๑. ขอ ใดเปน คำไทยแทท ง้ั หมด พระพุทธเจาตรัสสอนวา คนที่โกรธเขากอน ก็นับวาเลวอยูแลว คนที่ไมมีสติหลงโกรธตอบ เฉผพสู าะอฉนบับ ก. อว น ชล เสดจ็ ข. ซกิ าร ซา ย หยดุ ก็เทากับสรางความเลวเพ่ิมข้ึน นับวาเลวหนัก ลงไปอกี เราอยา เปน ทง้ั คนเลว ทงั้ คนเลวกวา นนั้ เลย ค. ใต ศอก เฒา ง. มดุ ครฑุ ตรเี ทพ ๙๒. ขอความใดไมจ ำเปนตองระบใุ นการเขยี น บัตรอวยพร ก. ทอี่ ยแู ละเบอรโทรศพั ทข องผสู ง ๙๗. ขอ ความนกี้ ลา วถงึ เรอ่ื งอะไร ข. ชอ่ื ผรู บั และชอ่ื ผอู วยพร ก. ความรกั ข. ความเลว เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ค. โอกาสในการเขยี นบตั รอวยพร ค. ความขาดสติ ง. ความโกรธ ง. คำอวยพรท่ีใชภ าษาสภุ าพ ๙๘. จากคำสอนนผี้ ูใดเปน คนเลวทส่ี ดุ ๙๓. การเขยี นคำโฆษณาขอ ใดไดผ ลมากทส่ี ดุ ก. คนพาล ข. คนท่ีโกรธตอบ ก. ใชค ำทก่ี ลา วเกนิ จรงิ ค. คนท่ีโกรธงา ย ง. คนที่ไมโกรธ ข. ใชค ำยดื ยาวเพอ่ื ขยายความจรงิ ๙๙. ขอ ความนมี้ คี ตสิ อนใจวา อยา งไร ค. ใชภ าษาทเี่ ขา ใจเฉพาะกลมุ ก. คนโกรธมสี ติ ง. ใชถ อ ยคำกะทดั รดั ใจความชดั เจน ข. เราไมค วรโกรธตอบผอู น่ื อา นขอ ความตอ ไปนแ้ี ลว ตอบคำถามขอ ๙๔-๙๖ ค. คนโกรธกอ นเปน คนเลวมาก เคยมีคำกลาววา “ผูหญิงคือผูสรางโลก” ง. เราไมค วรโกรธและโกรธตอบผอู น่ื เพราะผูหญิงเปนเพศท่ีมีความสวยงาม น่ิมนวล ออ นหวาน และมสี ญั ชาตญาณของความเปน แม ๑๐๐.ขอ ใดเกยี่ วขอ งกบั ขอ ความนมี้ ากทสี่ ดุ ก. ความโกรธ-ความดี ข. พระพทุ ธเจา -คนดี ค. ความโกรธ-คนเลว ง. ความด-ี คนเลว ๕».ÀÒÉÒä·Â

๑๔¾ÔàÈÉ ¡ÃдÒɤÓμͺ ÇªÔ ÒÀÒÉÒä·Â ».๕ ä´Œ¤Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àμçÁ๑๐๐ ช่ือ ชน้ั เลขที่............................................................................................................................. ..................................................... เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๑. ก ข ค ง ๒๖. ก ข ค ง ๕๑. ก ข ค ง ๗๖. ก ข ค ง ๒๗. ก ข ค ง ๕๒. ก ข ค ง ๗๗. ก ข ค ง ๒. ก ข ค ง ๒๘. ก ข ค ง ๕๓. ก ข ค ง ๗๘. ก ข ค ง ๒๙. ก ข ค ง ๕๔. ก ข ค ง ๗๙. ก ข ค ง ๓. ก ข ค ง ๓๐. ก ข ค ง ๕๕. ก ข ค ง ๘๐. ก ข ค ง ๓๑. ก ข ค ง ๕๖. ก ข ค ง ๘๑. ก ข ค ง ๔. ก ข ค ง ๓๒. ก ข ค ง ๕๗. ก ข ค ง ๘๒. ก ข ค ง ๓๓. ก ข ค ง ๕๘. ก ข ค ง ๘๓. ก ข ค ง ๕. ก ข ค ง ๓๔. ก ข ค ง ๕๙. ก ข ค ง ๘๔. ก ข ค ง ๓๕. ก ข ค ง ๖๐. ก ข ค ง ๘๕. ก ข ค ง ๖. ก ข ค ง ๓๖. ก ข ค ง ๖๑. ก ข ค ง ๘๖. ก ข ค ง ๓๗. ก ข ค ง ๖๒. ก ข ค ง ๘๗. ก ข ค ง ๗. ก ข ค ง ๓๘. ก ข ค ง ๖๓. ก ข ค ง ๘๘. ก ข ค ง ๓๙. ก ข ค ง ๖๔. ก ข ค ง ๘๙. ก ข ค ง ๘. ก ข ค ง ๔๐. ก ข ค ง ๖๕. ก ข ค ง ๙๐. ก ข ค ง ๔๑. ก ข ค ง ๖๖. ก ข ค ง ๙๑. ก ข ค ง ๙. ก ข ค ง ๔๒. ก ข ค ง ๖๗. ก ข ค ง ๙๒. ก ข ค ง ๔๓. ก ข ค ง ๖๘. ก ข ค ง ๙๓. ก ข ค ง เฉผพสู าะอฉนบบั ๑๐. ก ข ค ง ๔๔. ก ข ค ง ๖๙. ก ข ค ง ๙๔. ก ข ค ง ๑๑. ก ข ค ง ๔๕. ก ข ค ง ๗๐. ก ข ค ง ๙๕. ก ข ค ง ๔๖. ก ข ค ง ๗๑. ก ข ค ง ๙๖. ก ข ค ง ๑๒. ก ข ค ง ๔๗. ก ข ค ง ๗๒. ก ข ค ง ๙๗. ก ข ค ง ๔๘. ก ข ค ง ๗๓. ก ข ค ง ๙๘. ก ข ค ง ๑๓. ก ข ค ง ๔๙. ก ข ค ง ๗๔. ก ข ค ง ๙๙. ก ข ค ง ๕๐. ก ข ค ง ๗๕. ก ข ค ง ๑๐๐. ก ข ค ง เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ๑๔. ก ข ค ง ๑๕. ก ข ค ง ๑๖. ก ข ค ง ๑๗. ก ข ค ง ๑๘. ก ข ค ง ๑๙. ก ข ค ง ๒๐. ก ข ค ง ๒๑. ก ข ค ง ๒๒. ก ข ค ง ๒๓. ก ข ค ง ๒๔. ก ข ค ง ๒๕. ก ข ค ง ๕».ÀÒÉÒä·Â

à©Å¢ŒÍÊͺ ÇªÔ ÒÀÒÉÒä·Â ».๕ ๑๕¾àÔ ÈÉ เฉลย เหตผุ ลประกอบ ชุดที่ ๑ ๑. ข. - ขอ ข. เปนคำตอบทถ่ี กู ตอง เพราะมีครบท้ังภาคประธาน คือ แมว และภาคแสดง คอื นอน ๒. ค. - ขอ ค. เปน คำตอบที่ถูกตอ ง เพราะมีครบท้งั ภาคประธาน คือ นำ้ แขง็ ไส และภาคแสดง คอื เยน็ (เย็นเปน คำ เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน วิเศษณ แตในประโยคนท้ี ำหนา ทเี่ ปนคำกริยา) ๓. ง. - ขอ ง. เปนคำตอบทถ่ี ูกตอ ง เพราะประธานของประโยค คอื ผูหญิง และคำวา สวย ขยายคำวา ผหู ญิง ๔. ง. - ขอ ง. น่ังตกปลาท่ีรมิ แมน ำ้ คือภาคแสดงของประโยค จึงเปน คำตอบทีถ่ ูกตอ ง ๕. ง. - ขอ ง. การบานวิชาวทิ ยาศาสตร เปน วลเี พราะขาดภาคแสดง จงึ เปนคำตอบทีถ่ ูกตอง ๖. ก. - ขอ ก. ๑ คำ ๕ พยางค เปน คำตอบท่ีถูกตอง เพราะรตั นโกสินทร อานวา รัด-ตะ-นะ-โก-สิน เม่อื อา นออกเสยี ง เรียงพยางคจะมี ๕ พยางค ๗. ข. - ขอ ข. เปนคำตอบที่ถกู ตอง เพราะภมู ิปญญา อานวา พูม-ปน-ยา มี ๓ พยางค เทากับ อุณหภูมิ ที่อา นวา อนุ -หะ-พูม ๘. ค. - ขอ ค. เปนคำตอบท่ถี กู ตอง เพราะคุณวฒุ ิ อา นได ๒ แบบ คอื คุน-นะ-วดุ -ทิ และ คนุ -นะ-วดุ ซ่ึงในตวั เลอื กน้ี ไมม ีคำตอบวา ๓ พยางค จงึ ตอ งตอบวา ๔ พยางค ๙. ก. - ขอ ก. เปน คำตอบท่ถี ูกตอง คอื มี ๒ คำ ไดแก ปากกา และสนี ำ้ เงนิ (ขอ ข. และ ง. เปน ประโยคไมใ ชวลี เฉผพสู าะอฉนบับ สวนขอ ค. มี ๑ คำ ๑๐. ค. - ขอ ค. เปน คำตอบที่ถกู ตอง เพราะคำตองมคี วามหมาย ซึ่ง ชนุ หมายถึง การซอมผาหรือแหที่ขาดทะลเุ ปนรู ใหเ ปน เนอื้ เดียวกันดว ยการถกั หรอื ดว ยวิธอี ื่นๆ ๑๑. ก. - ขอ ก. มี ๕ คำ ไดแก คำวา กาน/ด/ู ภาพยนตร/ อยา ง/ต้ังใจ และมี ๘ พยางค คอื เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน กาน-ดู-พาบ-พะ-ยน-อยา ง-ตัง้ -ใจ ๑๒. ค. - ขอ ค. เปนคำตอบท่ีถูกตอง คือ มี ๔ คำ ดงั นี้ งม/เข็ม/ใน/มหาสมุทร และมี ๗ พยางค คอื งม-เข็ม-ใน-มะ-หา-สะ-หมุด ๑๓. ข. - ขอ ข. เปน คำตอบท่ถี ูกตอ ง คอื มี ๓ คำ ๗ พยางค เทากบั ความรูความสามารถทัว่ ไป ๑๔. ข. - ขอ ข. ๓ คำ เปน คำตอบทถ่ี กู ตอง เพราะในขอความมีคำบุพบท ๓ คำ คอื แก เพื่อ สำหรับ ๑๕. ข. - ขอ ข. คำสงั่ ของพระราชินี เปน คำตอบท่ีถูกตอ ง เพราะมีความหมายตรงกับคำราชาศพั ท คอื พระราชเสาวนยี  ๑๖. ข. - ขอ ข. คำทักทายของพระราชา เปนคำตอบที่ถกู ตอง เพราะมคี วามหมายตรงกบั คำราชาศัพท คอื พระราชปฏิสันถาร ๑๗. ก. - ขอ ก. เพราะเขาเกเรจงึ ถูกครูตี เปนคำตอบทถ่ี กู ตอ ง ใชค ำสันธาน เพราะ...จึง เชอ่ื มความเปน เหตุเปนผล แยกเปน เขาเกเร (เปนเหตุ) เขาถกู ครตู ี (เปนผล) ๑๘. ก. - ขอ ก. ไชโย! เปนคำตอบท่ถี ูกตอ ง เม่ือเติมคำลงในชองวา งจะไดใ จความสมบูรณ ๑๙. ข. - ขอ ข. พ่ีกำลังรองเพลงลูกทุง เปนคำตอบท่ีถูกตอง เพราะเปนประโยคความเดียว สวนตัวเลือกในขออ่ืนเปน ประโยคความรวม ๒๐. ง. - ขอ ง. จึงเปน คำตอบทถ่ี ูกตอง เม่ือเติมคำลงในชองวางจะไดใจความสมบรู ณ ๕».ÀÒÉÒä·Â

๑๖¾ÔàÈÉ เฉลย เหตุผลประกอบ ๒๑. ง. - ขอ ง. ขรุขระ ครอบครวั พรอ มเพรยี ง เปนคำตอบท่ถี กู ตอง เพราะเปนคำควบกล้ำทกุ คำ ๒๒. ง. - ขอ ง. ปรับปรงุ แกไขงานใหมใหเ รียบรอย เปนคำตอบท่ถี ูกตอง เพราะปรับปรงุ เปน คำควบกลำ้ แท สวนตัวเลือก ขอ ก. เศรา ข. ทราบ ค. สรอย เปน คำควบกลำ้ ไมแท เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๒๓. ค. - ขอ ค. เสงี่ยม เสมือน เสนห  เปน คำตอบทถี่ ูกตอง เพราะอา นออกเสยี งแบบอักษรนำ ดังนี้ เสงยี่ ม อา นวา สะ-เหงี่ยม เสมอื น อานวา สะ-เหมือน เสนห อานวา สะ-เหน ๒๔. ก. - ขอ ก. ผูหญงิ คนนัน้ แตงตวั เปรย้ี วมาก เปนคำตอบท่ีถกู ตอ ง เพราะ คำวา เปรย้ี ว มีความหมายโดยนัย หมายถงึ แตง ตัวทนั สมัย ๒๕. ข. - ขอ ข. เปนคำตอบท่ถี ูกตอ ง เพราะฟุมเฟอย มีความหมายตามพจนานกุ รมวา เหลือเฟอ ใชจ า ยเกินควร ๒๖. ค. - ขอ ค. เปน คำตอบท่ถี ูกตอ ง เพราะซอมซอ หมายถงึ ไมโอโถง จงึ ตรงขามกบั คำวา โอโถง ท่หี มายถึง ภาคภูมิ มสี งา ภมู ฐิ าน ๒๗. ง. - ขอ ง. ฆอ งปากแตก เปนคำตอบที่ถกู ตอ ง เพราะเปน สำนวนทห่ี มายถงึ ปากโปง เกบ็ ความลับไมอยู ๒๘. ก. - ขอ ก. หาเหาใสห วั - แกวงเทาหาเสยี้ น เปน คำตอบท่ถี ูกตอง เพราะมคี วามหมายคลา ยคลึงกนั หมายถงึ หาเรื่อง เดอื ดรอนใสต ัว ๒๙. ก. - ขอ ก. เปน คำตอบท่ถี กู เพราะเมอื่ อานแลว ควรจับใจความสำคญั พรอ มทั้งวิเคราะหเร่อื งที่อาน ๓๐. ค. - ขอ ค. จอด ดิน พอ กฬี า ไมใชคำไทยแทท ัง้ หมด เพราะกีฬา เปน คำที่มาจากภาษาบาลี จงึ เปนคำตอบทถ่ี กู ตอ ง เฉผพสู าะอฉนบับ ๓๑. ข. - ขอ ข. คำไทยแทไมใช รร เปน คำตอบทถ่ี ูกตอ ง เพราะลกั ษณะของคำไทยแท คอื ไมมกี ารนั ต ใชต ัวสะกดตรงตาม มาตรา เปน คำพยางคเดียวและมคี วามหมาย เชน พอ แม พดู กิน นำ้ หิน ศอก เฒา ๓๒. ค. - ขอ ค. กวยเตยี๋ ว เปนคำท่มี าจากภาษาจีน ๓๓. ข. - ขอ ข. สรปุ ใจความสำคัญครบถวน เปน คำตอบท่ีถกู ตอ ง เพราะเปนหลักสำคัญที่สดุ ในการเขียนสรุปเรอ่ื ง ๓๔. ง. - ขอ ง. ใชภ าษายาวๆ สละสลวย ไมค วรใชในการเขียนโฆษณา เพราะการเขยี นโฆษณาควรใชค ำทีด่ ึงดูดความ เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน สนใจ กะทัดรดั และใชภาษาทีช่ ดั เจนเขา ใจงาย ดงั นั้นขอ ง. จงึ เปน คำตอบทถ่ี ูกตอ ง ๓๕. ง. - ขอ ง. งานศพ เปน คำตอบท่ถี ูกตอง เพราะบตั รอวยพรจะใชในงานมงคลหรอื งานรืน่ เรงิ ในวาระตางๆ เชน งานแตงงาน งานปใหม ๓๖. ก. - ขอ ก. คำอวยพร เปน สงิ่ ที่สำคัญทีส่ ดุ ในการเขียนบัตรอวยพร จงึ เปนคำตอบทีถ่ ูกตอง ๓๗. ข. - ขอ ข. มีสอี อนและดสู ุภาพ เปนคำตอบท่ถี กู ตอง เพราะลกั ษณะของบัตรอวยพรโดยท่ัวไปจะใชก ระดาษทีม่ สี อี อนๆ ไมฉ ูดฉาด และไมม ลี วดลายมากจนเกินไป ๓๘. ค. - ขอ ค. แอว หมายถงึ ไปเท่ยี ว เปน คำภาษาถิน่ ภาคเหนือ ๓๙. ก. - ขอ ก. สนกุ เปน คำตอบท่ีถกู ตอ ง เพราะในภาษาถน่ิ อีสานคำวา มวน หมายถึง สนุก ๔๐. ง. - ขอ ง. ฉนั ทำอะไรก็ผดิ ไปหมด เปน ประโยคท่ีแตกตา งจากตวั เลือกอื่นๆ เพราะเปนประโยคบอกเลา สวนขอ ก. ข. และ ค. เปน ประโยคคำถามทง้ั หมด ดังน้ัน ขอ ง. จงึ เปน คำตอบท่ีถกู ตอ ง ๔๑. ก. - ขอ ก. เปนคำตอบทีถ่ ูกตอ ง คือ ในการอา นจบั ใจความสำคญั เราไมค วรคดั ลอกขอความสำคัญมาเปนขอ สรุป ๔๒. ง. - ขอ ง. เปน คำตอบทีถ่ ูกตอ ง เพราะในการเขียนยอความ เราไมควรคดั ลอกขอความสำคญั มาใส ๔๓. ง. - ขอ ง. ใชอักษรยอ เพื่อยอความ ไมใชว ธิ ีการยอ ความท่ีถูกตอง เพราะหลกั การยอความควรอา นเรอ่ื งราวอยา งนอ ย ๒ ครั้ง แลวบนั ทกึ ใจความสำคญั โดยใชสำนวนของตน และไมใชอกั ษรยอ ๕».ÀÒÉÒä·Â

เฉลย เหตผุ ลประกอบ ๑๗¾àÔ ÈÉ ๔๔. ก. - ขอ ก. เคยี้ วหมากฝรั่งแกง วง ไมใชม ารยาททคี่ วรปฏบิ ัติในการฟง เพราะผฟู ง ทด่ี ีนัน้ ควรจะแสดงความคิดเหน็ กับ ผพู ดู จดบันทึกในส่งิ ทเี่ ปน ความรู และปรบมือทั้งกอ นและหลงั การพูด เพอื่ เปนการใหเกียรติกับผูพ ดู ๔๕. ง. - ขอ ง. ๑ บาท มี ๔ วรรค กลา วถึงกาพยย านี ๑๑ ไมถูกตอง เพราะกาพยยานี ๑๑ ตามฉันทลกั ษณน้นั ๑ บท มี ๒ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหนามี ๕ คำ วรรคหลงั มี ๖ คำ ๔๖. ง. - ขอ ง. เปนคำตอบทถ่ี ูกตอง เพราะในการอา นออกเสยี งบทรอ ยกรองควรอานเสยี งสูงตำ่ และอานแบง จงั หวะ เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ใหถูกตอง ๔๗. ค. - ขอ ค. กราบเทา...ท่เี คารพ เปน คำขึ้นตน ในการเขียนจดหมายถงึ ญาติผูใหญทเี่ หมาะสม ๔๘. ค. - ขอ ค. การคนหาขอเท็จจริง เปนคำตอบท่ีถูกตอง จากขอความ “นักหนังสือพิมพอาศัยความจริงและถายทอด ความจริงออกมาอยา งตรงไปตรงมา” เพราะฉะน้ัน นกั หนังสอื พมิ พต องใชความสามารถในการคนหาขอ เทจ็ จริง มากท่ีสดุ ๔๙. ก. - ขอ ก. ความแตกตา งระหวา งนักเขยี นกบั นกั ขาว เปน คำตอบที่ถูกตอ งสังเกตขอความ “ระหวางนกั เขียนกับ นกั หนงั สอื พมิ พม เี สน แบงอยางหลวมๆ” และขอ ความที่ส่ือใหเหน็ ถึงความแตกตา งระหวา งนกั เขียนกบั นกั หนงั สือพมิ พ คอื นกั เขยี นอาศัยจนิ ตนาการในขณะท่นี ักหนังสอื พิมพอ าศัยความจรงิ และการถายทอดความจริง ๕๐. ง. - ขอ ง. นักเขียนใชความสามารถทางภาษา นักหนังสือพิมพใชความจริง เปนคำตอบท่ีถูกตอง เพราะนักเขียน ใชจินตนาการและความสามารถทางภาษาในการสรางผลงาน สวนนักหนังสือพิมพตองถายทอดความจริงออกมา อยา งตรงไปตรงมาในการนำเสนอขาว ๕๑. ก. - ขอ ก. เปน คำตอบท่ีถูกตอง ชดุ ท่ี ๒ ข. ค. และ ง. เปนประโยค เพราะมคี รบท้งั ภาคประธาน เฉผพูสาะอฉนบับ เพราะไมมภี าคแสดง สว นขอ และภาคแสดง ๕๒. ค. - ค. เปน คำตอบที่ถกู ตอ ง เพราะไมมภี าคแสดง สวนขอ ก. ข. และ ง. เปน ประโยค เพราะมคี รบทั้งภาคประธาน และภาคแสดง ๕๓. ก. - ขอ ก. คำ เปนคำตอบที่ถูกตอง เพราะ คำ หมายถึง เสียงท่ีเปลงออกมาและมีความหมาย เชน พอ แม กิน เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน เดิน ว่งิ ๕๔. ค. - ขอ ค. งะ เปนพยางคท ่ีไมมคี วามหมาย สว น ขอ ก. ปะ เปนคำกรยิ าหมายถงึ มาเจอกัน ข. จะ เปน คำกรยิ า บอกอนาคต เชน จะไป ง. กะ เปนคำกริยาหมายถึงประมาณ ดงั นน้ั ค. จึงเปน คำตอบทถ่ี ูกตอง ๕๕. ง. - ขอ ง. มกราคม เปน คำตอบทีถ่ ูกตอ ง เพราะมกราคม อานออกเสียงเรยี งพยางคไดด งั นี้ มกราคม อา นวา มะ-กะ-รา-คม มีจำนวนพยางค ๔ พยางค เทากบั บรรพบุรษุ ๕๖. ก. - ขอ ก. ในท่ีสดุ เปน คำตอบทถ่ี กู ตอ ง เพราะเปน กลุมคำ สว นตวั เลือกในขอ ข. ค. และ ง. เปนประโยค ๕๗. ค. - ขอ ค. นกหลากหลายชนดิ ไมใชประโยค แตเ ปนวลีหรอื กลมุ คำตางจากตวั เลอื กในขอ ก. ฉันไมช อบหนา รอน ข. เธอขายอยูท ่ีตลาดและ ง. อาแปะขายกวยเตี๋ยวเรอื ซึง่ เปน ประโยค เพราะประกอบดวยภาคประธานและภาคแสดง ๕๘. ค. - ขอ ค. เปน คำตอบท่ีถูกตอง เพราะมคี ำวา ดว ย ซึ่งเปน คำบพุ บทบอกอาการรวมกัน ๕๙. ง. - ขอ ง. เปน คำตอบทถี่ ูกตอง เพราะเมือ่ เตมิ คำวา เพราะ...จึง แลว จะไดป ระโยคท่มี ีใจความสมบรู ณ ๖๐. ข. - ขอ ข. เปนคำตอบทถี่ ูกตอง เพราะจากคำอุทานและประโยคทีพ่ ดู ตอแสดงวา ผูพูดรูส กึ สงสัย คาดไมถึง ๖๑. ค. - ขอ ค. เปน คำตอบท่ีถกู ตอง คอื เมือ่ เรยี งลำดบั คำทีก่ ำหนดใหตามพจนานุกรมจะไดเปนนมัสการ (๒) นักขา ว (๑) เนรมิต (๔) เนืองแนน (๓) ๕».ÀÒÉÒä·Â

๑๘¾ÔàÈÉ เฉลย เหตุผลประกอบ ๖๒. ข. - ขอ ข. คำกรยิ า เปนคำตอบทถี่ กู ตอง จากขอความ “ท้งั หมดยืนตรง” คำวา “ตรง” ขยายคำกริยา คือ ยืน ๖๓. ง. - ขอ ง. คณุ แมไปแกบนที่ศาลหลักเมือง เปน คำตอบท่ีถกู ตอ ง เพราะคำวา “บน” ในประโยค เปนคำกรยิ า หมายถงึ ขอรอ งใหส ิง่ ศกั ดิ์สิทธ์ชิ ว ยเหลือ ๖๔. ค. - ขอ ค. เพ่อื เปนคำตอบทถี่ กู ตอง เพราะเมอ่ื เตมิ คำลงในชองวางจะทำใหไดใจความสมบรู ณ เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๖๕. ข. - ขอ ข. เปน คำตอบท่ถี ูกตอ ง เพราะ คำวา ไชโย! เปน คำอทุ านบอกอาการ ๖๖. ข. - ขอ ข. เปนคำตอบที่ถกู ตอง เพราะเปน ขอ ความทีเ่ ปนเหตผุ ลกัน ดังน้ี ไมสบาย (เปน เหตุ) ไมไปเทยี่ ว (ผล) ๖๗. ง. - ขอ ง. แหม! เจบ็ จังเลย เปน การใชค ำอุทานที่ไมเหมาะสม ควรใชคำวา “โอย!” แทนคำวา “แหม!” ๖๘. ข. - ขอ ข. พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวทรงตรัสกับผูนำโครงการใชค ำราชาศัพทไมถูกตอ ง เพราะคำวาทรงจะไมใช นำหนาคำราชาศพั ทแ ตจ ะใชนำหนาคำสามัญ เชน ทรงดนตรี (เลนดนตร)ี ทรงมา (ขมี่ า ) ๖๙. ก. - ขอ ก. เส้อื เปนคำตอบทถี่ ูกตอ ง เพราะ “ฉลองพระองค” หมายถึง เส้อื ๗๐. ค. - ขอ ค. หลานดม่ื นำ้ เปน คำตอบทถ่ี กู ตอง เพราะเปนประโยคทมี่ ีกรรมมารองรับ จึงตา งจากตัวเลอื กอ่นื ๆ ๗๑. ก. - ขอ ก. แมก ับปาไปวดั เปน ประโยคความรวม เม่ือแยกออกเปนประโยคความเดยี วจะแบง เปน ๒ ประโยค คอื (๑) แมไปวดั (๒) ปาไปวดั ๗๒. ก. - ขอ ก. เปน คำตอบทีถ่ ูกตอง เพราะเปนประโยคความรวมที่มีความหมายใหเลือกอยา งใดอยางหน่งึ แยกเปน ประโยคความเดยี ว ๒ ประโยค คอื (๑) เธอไมไป (๒) เธอ (ตอ ง)อยบู าน โดยใช ถา ...ก็ เปน คำสันธาน เฉผพสู าะอฉนบับ ๗๓. ง. - ขอ ง. ชะอม สะพร่ัง ชะเงอ เปนคำตอบที่ถูกตอง เพราะไมไดอานออกเสียงแบบอักษรนำ ตางจากตัวเลือกอื่น ซ่ึงอา นออกเสียงเหมอื นมี ห นำ เชน ขมวด อา นวา ขะ-หมวด สนิม อา น สะ-หนิม เปนตน ๗๔. ก. - ขอ ก. ๓ คำ เปน คำตอบที่ถูกตอง จากขอความมคี ำควบกล้ำไมแท ๓ คำ ไดแ ก เศรษฐี โศกเศรา ทรุดโทรม ๗๕. ข. - ขอ ข. วนิ ัยหลอกลวงเพอ่ื น เปนคำตอบที่ถูกตอง เพราะคำวา “ตบตา” ในประโยคเปนคำท่ีมีความหมายโดยนัย เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน หมายถงึ หลอกลวง ๗๖. ก. - ขอ ก. หมดหนทางแกไข เปน คำตอบที่ถกู ตอง เพราะ “เขาตาจน” หมายถงึ หมดหนทางแกไข ๗๗. ง. - ขอ ง. นำ้ ทว มปาก เปนคำตอบท่ีถกู ตอ ง เพราะเมอ่ื เติมลงในชองวางจะทำใหไดใจความสมบูรณ นำ้ ทว มปาก หมายถงึ พูดไมออก เพราะเกรงภัยจะมีขน้ึ แกต ัวหรอื ผอู ่นื ๗๘. ก. - ขอ ก. เปน คำตอบทถ่ี ูกตอง โดยดูจากขอ ความ ...เปน ปลาสวยงามและไดรบั ความนยิ มมาก... และ ...จากปรมิ าณ ทีห่ าไดต ามธรรมชาติไมม ากนกั ... ปลาเสือตอจึงมีราคาแพง ๗๙. ค. - ขอ ค. เปน คำตอบท่ถี ูกตอ ง เพราะปจ จุบนั แมน้ำเจาพระยามีบางสวนเนา เสียไป ทำใหปลาอยูอาศัยไมได ๘๐. ค. - ขอ ค. เปนคำตอบท่ีถูกตอง เพราะปลาเสือตอเปนปลาพื้นเมืองของไทย และเปนปลาสวยงามท่ีหายาก จึงควร อนรุ ักษป ลาเสือตอไวใหอ ยูคกู บั คนไทยตอ ไป ๘๑. ง. - ขอ ง. สบิ เอ็ดนาฬกาสามสิบนาที เปน การอา นเวลาทถ่ี ูกตอง ๘๒. ข. - ขอ ข. เปน คำตอบที่ถกู ตอ ง เพราะเปน คำไทยแท ไมใชคำท่มี าจากภาษาตางประเทศ ๘๓. ก. - ขอ ก. เก็บ เต็ม เปน คำตอบทถ่ี ูกตอ ง เพราะเปนคำไทยแท ซง่ึ เปน คำท่มี คี วามหมายในตวั เอง ๘๔. ง. - ขอ ง. จงใชส ะพานลอยเมือ่ ขามถนน เปนประโยคคำสั่ง ตางจากตวั เลอื กอ่นื ซ่งึ เปนประโยคขอรอง จึงเปน คำตอบ ท่ีถูกตอ ง ๕».ÀÒÉÒä·Â

เฉลย เหตุผลประกอบ ๑๙¾àÔ ÈÉ ๘๕. ค. - ขอ ค. เปน คำตอบท่ถี ูกตอง คอื จากภาพจะเปน คำวา ๑) ไก ๒) ขวาน ๓) แมว ๔) เตารีด เมอื่ เรียงลำดบั ตาม พจนานกุ รมจะได เปน ๑) ๒) ๔) ๓) ๘๖. ข. - ขอ ข. บุหรง บุหรี่ บุหลัน เปนคำตอบที่ถูกตอ ง เพราะเปน การเรียงคำตามลำดบั พจนานกุ รมที่ถกู ตอ ง ๘๗. ข. - ขอ ข. การเขยี นโครงเรอ่ื ง เปน คำตอบที่ถูกตอง เพราะประโยชนของการเขยี นโครงเรื่อง คอื ชวยใหก ารพดู หรอื เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน เขียนเปน ไปตามลำดบั ๘๘. ก. - ขอ ก. ”ฉนั บอกใหเธออานหนังสือก็ไมเชอื่ ” เปนคำตอบท่ถี ูกตอง เพราะเปน คำพดู ท่ีไมสมควรพดู ในขณะทเ่ี พ่อื น กำลงั เสยี ใจที่สอบไมผ าน สว นตัวเลอื กอน่ื ๆ น้ัน เปนการพดู ใหกำลงั ใจ ๘๙. ง. - ขอ ง. อานรายงานอยา งรวดเร็ว ไมจำเปน ตองพูดใหช ดั เจน ไมใชม ารยาทท่ดี ีในการรายงาน ควรแยกประเดน็ สำคญั เปน ขอๆ ทำความเขา ใจเรอ่ื งท่จี ะรายงาน และรายงานใหรวดเร็ว และใชเ วลาใหน อยท่ีสุด ทีส่ ำคัญควรพดู ใหช ดั เจนดว ย ๙๐. ข. - ขอ ข. สับปะรด เปนคำตอบท่ถี กู ตอ ง เพราะคำวา “บักนัด” ในภาษาถิ่นอสี าน หมายถึง สบั ปะรด ๙๑. ค. - ขอ ค. เปนคำตอบที่ถกู ตอ ง เพราะเปนคำไทยแททกุ คำ ๙๒. ก. - ขอ ก. ท่ีอยูและเบอรโทรศัพทของผูสง เปนคำตอบท่ีถูกตอง เพราะเปนส่ิงท่ีไมจำเปนตองระบุในการเขียน บัตรอวยพร แตส ิง่ ที่ควรระบุ ไดแก ช่อื ผูร ับและผูอ วยพร โอกาสในการเขยี นบตั รอวยพร และควรใชภาษาท่ีสุภาพ และเหมาะสม ๙๓. ง. - ขอ ง. ใชถอยคำกะทัดรัด ใจความชัดเจน เปนคำตอบท่ีถูกตอง เพราะหลักการเขียนโฆษณา ควรใชภาษา เฉผพูส าะอฉนบับ ทีก่ ะทดั รดั ใจความชดั เจน ไมใชค ำทีก่ ลาวเกินจรงิ หรอื ใชคำยืดยาว และไมควรใชภ าษาทีเ่ ขาใจยาก ๙๔. ข. - ขอ ข. เหน็ ดวย เพราะผหู ญงิ ตองทำงานและเปนแมด ว ย เปน คำตอบทถี่ กู ตอ ง เพราะในขอความกลาวถึงบทบาท ของผูหญิงทเี่ ปน ผสู รา งโลก และมสี ัญชาตญาณของความเปน แม ๙๕. ค. - ขอ ค. ธรรมชาตขิ องผหู ญิงและความเปนแม เปน คำตอบทถี่ ูกตอ ง เพราะเปนเหตุผลท่ีผูเขยี นยกยองความ สามารถของผหู ญงิ ๙๖. ง. - ขอ ง. บอกกลาว เปน คำตอบทถี่ ูกตอ ง เพราะในขอ ความนีผ้ เู ขยี นมจี ดุ ประสงคในการกลาวยกยองผหู ญิง เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ๙๗. ง. - ขอ ง. ความโกรธ เปน คำตอบที่ถูกตอ ง เพราะเปน เทศนาโวหารที่กลาวถงึ ความโกรธ ๙๘. ข. - ขอ ข. คนที่โกรธตอบ เปนคำตอบท่ีถกู ตอ ง จากขอความ คนที่โกรธเขากอ นก็นบั วา เลวอยูแ ลว แตค นทีห่ ลงโกรธ ตอบนบั วาเลวหนกั ลงไปกวาคนท่ีโกรธกอนนั้นอีก ๙๙. ง. - ขอ ง. เราไมควรโกรธและโกรธตอบผูอ ่ืน เปนคำตอบทถี่ ูกตอง เพราะความรูเ ทาทนั สติ คอื การไมโกรธนนั้ เปนการหยดุ ความเลว ๑๐๐. ค. - ขอ ค. ความโกรธ - คนเลว เปนคำตอบท่ีถกู ตอง เพราะคนที่โกรธคนอนื่ ถือวาเปนคนเลว ตามหลักคำสอนของ พระพุทธเจา ÊÓËÃºÑ ¤ÃÙ เกณฑใหค ะแนน ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑. ใหค รนู ำคะแนนสอบ PRE-O-NET ของนกั เรียนมาเทียบกับเกณฑเ พื่อวัดประเมินผลนกั เรียน เปน รายบคุ คล ๙๐ ข้ึนไป ๔ (ดมี าก) ๗๕ - ๘๙ ๓ (ด)ี ๒. ครปู ระเมนิ จดุ ออ นของนกั เรยี นสว นใหญว า มคี วามไมเ ขา ใจในเรอ่ื งใดบา ง และหาแนวทางแกไ ข ๕๐ - ๗๔ ๒ (พอใช) เพ่ือใหนักเรียนมีความพรอมสำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ต่ำกวา ๕๐ ๑ (ควรปรับปรุง) เมอื่ จบชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ ๕».ÀÒÉÒä·Â

¤ÇÒÁÃÙŒà¾èÔÁàμÁÔ ÊÓËÃѺ¤ÃÙ ๒๐¾àÔ ÈÉ ¡‹Í¹àÃÔÁè àÃÂÕ ¹Ë¹‹ÇÂÏ ·Õè ๑ ครูศึกษาขอมูลและอธิบายใหนักเรียนเกิดความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องการเขียนคำในภาษาไทย เพ่ือให นกั เรยี นมคี วามเขา ใจยง่ิ ขนึ้ วธิ ีการเขยี นคำ เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๑. เขยี นเรียงตัวอกั ษรจากดา นซา ยมือไปทางดานขวามอื ของผเู ขียน หรือเขียนจากดานหนาไปดานหลังตามลำดบั การเขยี นตัวอกั ษร ใหเ ขยี นหัว หรือตนตัวอกั ษรกอน แลว จึงเขียนตวั เชิง หาง ถงึ ปลายตัวอกั ษร โดยลากเสน ติดตอ กันจนจบ ตน ตน ปลาย ปลาย ตน ปลาย ก ฎ ฐ ษ ศปลาย ปลาย ตน ตน ปลาย ตน ตน ปลาย ตน ปลาย ตน ปลาย ตน ตน ปลาย ปลาย า ั เ ิ ูตน ปลาย ปลาย เฉผพูส าะอฉนบบั ตน ตัวอักษรที่มีเชิง มี ๒ ตวั คอื ญ และ ฐ เมอื่ ญ และ ฐ ประสมกบั สระ -ุ หรอื -ู เชิงของ ญ และ ฐ จะหายไป เชน คำวา กตญั ู เปนตน ๒. ถามีพยัญชนะตนตัวเดยี วใหว างสระทีต่ อ งอยูบนหรือลา ง ไดแก สระ -ิ -ี -ึ -ื -ั -ำ -ุ และ -ู หรือรูปวรรณยกุ ต ใหตรงกับเสน หลังของตัวพยญั ชนะตน เชน เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ไม ขึ้น ยุง เสน หลัง เสนหลัง เสน หลงั พยญั ชนะทมี่ หี างบนตรง ไดแ ก ป ฝ ฟ เวลาเขยี นสระทตี่ อ งอยบู นพยญั ชนะหรอื วรรณยกุ ต ตอ งเขยี นเยอ้ื งเสน หลงั ของตวั ป ฝ ฟ ไปทางซา ยมอื ของหางพยญั ชนะนดิ หนอ ย เชน ป ฝา ย ฟน เปน ตน แตถามีพยัญชนะตนสองตัว (คำท่ีมีตัวควบกล้ำและอักษรนำ) ใหวางสระดังกลาว หรือรูปวรรณยุกตใหตรงกับเสนหลังของ พยญั ชนะตวั ทส่ี อง ๓. เขียนตัวอักษรใหถกู ตองตามแบบการเขียนอกั ษรไทย ผขฃพ ชฝฆฟ ซ ฑ เปนตวั พยัญชนะทมี่ ีหวั ขมวด เปน ตวั พยญั ชนะท่มี ีหวั ขมวดหยัก เขียนเสนทแยงใหส งู เทาระดับหัวพยญั ชนะ ตองเขยี นเสนทแยงใหส ูงเพยี งครง่ึ หนง่ึ ของพยญั ชนะ ๕».ÀÒÉÒä·Â

๒ 㪌¾Ñ²¹Ò¤³Ø ÀÒ¾¡Òû¯ºÔ μÑ Ô§Ò¹ ¡ÒÃà·Õºà¤ÂÕ §μÃǨÊͺÁÒμðҹ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒà¾×èÍ¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ¤Ø³ÀÒ¾ÀÒ¹͡ ๒๑¾àÔ ÈÉ ¢Í§Êӹѡ§Ò¹ÃѺÃͧÁÒμðҹáÅлÃÐàÁÔ¹¤³Ø ÀÒ¾¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ (ÊÁÈ.) สำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) ไดก ำหนดมาตรฐานดา นผเู รยี น พรอ มระบตุ วั บง ชี้ และเกณฑก ารพจิ ารณาคณุ ภาพของผเู รยี น เพอ่ื ใหผ สู อนและสถานศกึ ษาใชเ ปน แนวทางในการวเิ คราะหส ภาพผเู รยี น และนำ จดุ ออ นจดุ แขง็ มาพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอนใหส อดคลอ งกบั สภาพจรงิ ของผเู รยี นและทอ งถนิ่ ชมุ ชน เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ผูสอนจึงตองดำเนินการศึกษาและวิเคราะหตัวช้ีวัดชั้นปจากมาตรฐานการเรียนรู ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และมาตรฐานดา นผเู รยี นของ สมศ. ควบคกู นั ไป จงึ จะสามารถกำหนดระดบั มาตรฐานการแสดงออก ของผเู รยี น ระดบั คณุ ภาพและความกา วหนา ทางการเรยี น การรวบรวมขอ มลู หลกั ฐาน การจดั ทำแฟม ผลงาน และการรายงาน ผลการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาผเู รยี นไดต ามระดบั มาตรฐานการประกอบวชิ าชพี ทค่ี รุ สุ ภากำหนด และยงั สอดคลอ งกบั มาตรฐานดา น ผสู อน เพอ่ื รองรบั การประเมนิ ภายนอกจาก สมศ. อกี ดว ย ผูจัดทำส่ือและโครงการสอนและคูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรู ชุด แมบทมาตรฐาน ไดวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ชน้ั ป และสาระการเรยี นรจู ากหลกั สตู รแกนกลางฯ ’๕๑ เพอ่ื นำมาออกแบบกจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นรทู เี่ หมาะสม เพอื่ ใชเ ปน เคร่ืองมือสำหรับวัดและประเมินผล รวมทั้งเปนเคร่ืองช้ีวัดความสำเร็จของผูเรียน ท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตัวช้ีวัด และ มาตรฐานบงชีต้ ามท่ี สมศ. กำหนดให เปน การยนื ยันความสามารถทแี่ ทจรงิ ของผูเรยี นแตล ะคนวา ผูเ รียนมคี วามสามารถ ในการปฏบิ ตั ติ ามสง่ิ ทกี่ ำหนดไวใ นหลกั สตู รและมาตรฐานการเรยี นรจู รงิ ๆ ผสู อนและผเู รยี นจะไดร ว มกนั พจิ ารณา กำหนดเปา หมายความสำเรจ็ กอ นลงมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมนน้ั ๆ และสามารถจดั เฉผพสู าะอฉนบับ เก็บหลักฐานรองรอย เพ่ือใชเปนขอมูลสะทอนผลการเรียนรูที่เกิดข้ึนของผูเรียนแตละคนไดอยางชัดเจน โดยเฉพาะอยางย่ิง เปน การฉายภาพการปฏบิ ตั งิ านของผสู อนตามระบบวงจรคณุ ภาพ PDCA (Planning Doing Checking Action) เพอื่ ประกนั คณุ ภาพภายในและรองรบั การประเมนิ ภายนอกตลอดเวลา ✺✺✺✺✺✺✺✺✺✺ เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ÁÒμðҹ´ÒŒ ¹¼ŒÙàÃÂÕ ¹ (ÃдºÑ »ÃжÁÈ¡Ö ÉÒ) ตวั บง ชี้ เกณฑก ารพจิ ารณา มาตรฐานที่ ๑ : ผเู รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มทพี่ งึ ประสงค ๑.๑ ผเู รยี นมวี นิ ยั มคี วาม ๑.๑.๑ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ าโรงเรยี นทนั เวลา รบั ผดิ ชอบ ๑.๑.๒ รอ ยละของผเู รยี นทป่ี ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของสถานศกึ ษา โดยเฉพาะการเขา แถวเคารพธงชาติ และปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา งๆ ๑.๑.๓ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ นใจกจิ กรรมการเรยี น และรบั ผดิ ชอบงานทคี่ รมู อบหมาย ๑.๑.๔ รอ ยละของผเู รยี นทแี่ ตง กายเรยี บรอ ยในสถานการณต า งๆ ๑.๑.๕ รอ ยละของผเู รยี นทเี่ ดนิ ผา นครแู ละผใู หญอ ยา งสภุ าพเรยี บรอ ย มสี มั มาคารวะ ๑.๑.๖ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี มี ารยาทในการรบั ประทานอาหาร ๕».ÀÒÉÒä·Â

๒๒¾ÔàÈÉ ตวั บง ช้ี เกณฑก ารพจิ ารณา ๑.๒ ผเู รยี นมคี วามซอื่ สตั ย ๑.๒.๑ รอ ยละของผเู รยี นทป่ี ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บการสอบและไมล อกการบา น สจุ รติ ๑.๒.๒ รอ ยละของผเู รยี นทที่ รพั ยส นิ ไมส ญู หาย ๑.๒.๓ รอ ยละของผเู รยี นทพ่ี ดู แตค วามจรงิ (ไมโ กหก) เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๑.๓ ผเู รยี นมคี วามกตญั ู ๑.๓.๑ รอ ยละของผเู รยี นทรี่ กั เคารพ พอ แม ผปู กครอง และแสดงออกซง่ึ การตอบแทนพระคณุ กตเวที อยา งเหมาะสม ๑.๓.๒ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี ะลกึ ถงึ พระคณุ ของครบู าอาจารย และแสดงออกซง่ึ การตอบแทน พระคณุ อยา งเหมาะสม ๑.๓.๓ รอ ยละของผเู รยี นทเี่ ปน สมาชกิ ทดี่ ขี องครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม ๑.๔ ผเู รยี นมคี วามเมตตา ๑.๔.๑ รอ ยละของผเู รยี นทรี่ จู กั การใหเ พอ่ื สว นรวมและเพอ่ื ผอู น่ื กรณุ า โอบออ มอารี ๑.๔.๒ รอ ยละของผเู รยี นทแี่ สดงออกถงึ การมนี ำ้ ใจ หรอื ใหก ารชว ยเหลอื ผอู น่ื เออื้ เฟอ เผอื่ แผ และ ๑.๔.๓ รอ ยละของผเู รยี นทรี่ จู กั แบง ปน ทรพั ยส นิ หรอื สงิ่ ของเพอื่ ผอู นื่ ไมเ หน็ แกต วั ๑.๕ ผเู รยี นมคี วามประหยดั ๑.๕.๑ รอ ยละของผเู รยี นทใ่ี ชท รพั ยส นิ และสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา งประหยดั และใชท รพั ยากรอยา ง ๑.๕.๒ รอ ยละของผเู รยี นทใี่ ชอ ปุ กรณก ารเรยี นอยา งประหยดั และรคู ณุ คา เฉผพูสาะอฉนบับ คมุ คา ๑.๕.๓ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี ว มกจิ กรรมการประหยดั (เชน กจิ กรรมรไี ซเคลิ เปน ตน ) ๑.๕.๔ รอ ยละของผเู รยี นทใ่ี ชน ำ้ ไฟ และสาธารณปู โภคอน่ื ๆ ทงั้ ของตนเองและของสว นรวมอยา ง ประหยดั และรคู ณุ คา เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ๑.๖ ผเู รยี นปฏบิ ตั ติ นเปน ๑.๖.๑ รอยละของผูเ รียนทเ่ี ขารว มกิจกรรมบำเพ็ญตนเพ่ือสวนรวม ประโยชนต อ สว นรวม ๑.๖.๒ รอยละของผูเรียนทีเ่ ขารว มกจิ กรรมการอนรุ ักษสิง่ แวดลอ ม ๑.๖.๓ รอยละของผเู รียนทีเ่ ขารวมกิจกรรมการพฒั นาสถานศกึ ษาและทองถ่นิ มาตรฐานที่ ๒ : ผเู รยี นมสี ขุ นสิ ยั สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจติ ทด่ี ี ๒.๑ ผเู รยี นรจู กั ดแู ล ๒.๑.๑ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี จู กั เลอื กรบั ประทานอาหารทม่ี คี ณุ คา สขุ ภาพ สขุ นสิ ยั ๒.๑.๒ รอ ยละของผเู รยี นทอ่ี อกกำลงั กายอยา งสมำ่ เสมอ และออกกำลงั กาย ๒.๑.๓ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี สี ขุ นสิ ยั ทด่ี แี ละปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำวนั ไดเ องอยา งถกู ตอ งเหมาะสม สมำ่ เสมอ ตามวยั ได ๒.๒ ผเู รยี นมนี ำ้ หนกั ๒.๒.๑ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี นี ำ้ หนกั ตามเกณฑม าตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ สว นสงู และมี ๒.๒.๒ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ สี ว นสงู ตามเกณฑม าตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ สมรรถภาพทาง ๒.๒.๓ รอ ยละของผเู รยี นทไี่ ดร บั การตรวจรา งกาย การทดสอบเกย่ี วกบั การเหน็ การไดย นิ กายตามเกณฑ และมรี ายงานผลการตรวจรา งกาย ๒.๒.๔ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ สี มรรถภาพ / มรี า งกายแขง็ แรงตามเกณฑม าตรฐานสมรรถภาพ ทางกายของกรมพลศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (๒๕๔๓) ๕».ÀÒÉÒä·Â

ตวั บง ช้ี เกณฑก ารพจิ ารณา ๒๓¾àÔ ÈÉ ๒.๓ ผเู รยี นไมเ สพหรอื ๒.๓.๑ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ คี วามรู ความเขา ใจ เกยี่ วกบั โทษของสง่ิ เสพตดิ และสง่ิ มอมเมา ๒.๓.๒ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ ที กั ษะการปฏเิ สธ และชกั ชวนไมใ หเ พอื่ นเสพยาเสพตดิ เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน แสวงหผลประโยชน ๒.๓.๓ รอ ยละของผเู รยี นทไี่ มเ สพสงิ่ เสพตดิ และปลอดจากสงิ่ มอมเมา จากสง่ิ เสพตดิ ๒.๓.๔ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี จู กั ประโยชนแ ละโทษของการใชอ นิ เทอรเ นต็ (Internet) และสงิ่ มอมเมา หลกี เลย่ี งสภาวะที่ และเกมคอมพวิ เตอร เสยี่ งตอ ความรนุ แรง ๒.๓.๕ รอยละของผูเรียนที่มีสำนึกแหงความปลอดภัย และการปฏิบัติตนอยางถูกตองการ โรคภยั และอบุ ตั เิ หตุ รวมทง้ั ปญ หา ระมัดระวังตนในการใชชีวิตประจำวัน การรูจักรักนวลสงวนตัว และการปองกันทรัพยสิน ทางเพศ ของตนเองและสว นรวม ๒.๓.๖ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี จู กั หลกี เลย่ี งกจิ กรรมทเี่ ปน อบายมขุ และการพนนั ๒.๔ ผเู รยี นมคี วามมน่ั ใจ ๒.๔.๑ รอ ยละของผเู รยี นมคี วามมน่ั ใจและกลา แสดงออกอยา งเหมาะสม กลา แสดงออก ๒.๔.๒ รอ ยละของผเู รยี นทรี่ จู กั ใหเ กยี รตผิ อู นื่ อยา งเหมาะสม และใหเ กยี รตผิ อู นื่ ๒.๕ ผเู รยี นรา เรงิ แจม ใส ๒.๕.๑ รอ ยละของผเู รยี นทหี่ นา ตาทา ทางรา เรงิ แจม ใส มมี นษุ ยสมั พนั ธ ๒.๕.๒ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ กี จิ กรรมนนั ทนาการกบั เพอ่ื นตามวยั ทด่ี ตี อ เพอ่ื น ครู ๒.๕.๓ รอ ยละของผเู รยี นทยี่ ม้ิ แยม พดู คยุ ทกั ทายเพอื่ น ครู และผอู นื่ และผอู นื่ ๒.๕.๔ รอ ยละของผเู รยี นทเ่ี ขา กบั เพอ่ื นไดด ี และเปน ทร่ี กั ของเพอ่ื นๆ มาตรฐานที่ ๓ : ผเู รยี นมสี นุ ทรยี ภาพ และลกั ษณะนสิ ยั ดา นศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า เฉผพสู าะอฉนบับ ๓.๑ ผเู รยี นมคี วามสนใจ ๓.๑.๑ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ คี วามรกั และสนใจงานศลิ ปะ และการวาดภาพ และเขา รว มกจิ กรรม ๓.๑.๒ รอ ยละของผเู รยี นทเี่ ขา รว มกจิ กรรมศลิ ปะเปน ประจำอยา งนอ ย ๑ อยา ง ดา นศลิ ปะ ๓.๑.๓ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ ผี ลงานดา นศลิ ปะและการวาดภาพทต่ี นเองภาคภมู ใิ จ ๓.๑.๔ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถวพิ ากษว จิ ารณง านศลิ ปไ ด ๓.๒ ผเู รยี นมคี วามสนใจ ๓.๒.๑ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี นใจกจิ กรรมดา นดนตรี / นาฏศลิ ป หรอื การรอ งเพลง เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน และเขา รว มกจิ กรรม ๓.๒.๒ รอ ยละของผเู รยี นทเี่ ขา รว มกจิ กรรมดนตรเี ปน ประจำอยา งนอ ย ๑ อยา ง ดา นดนตรี / นาฏศลิ ป ๓.๒.๓ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี ผี ลงานดา นดนตรี / นาฏศลิ ป หรอื การรอ งเพลง โดยไมข ดั หลกั ศาสนา ๓.๒.๔ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถวพิ ากษว จิ ารณง านดา นดนตรี / นาฏศลิ ปไ ด ๓.๓ ผเู รยี นมคี วามสนใจ ๓.๓.๑ รอ ยละของผเู รยี นทช่ี อบดกู ฬี าและดกู ฬี าเปน และเขา รว มกจิ กรรม ๓.๓.๒ รอ ยละของผเู รยี นทเี่ ขา รว มกจิ กรรมกฬี า / นนั ทนาการเปน ประจำอยา งนอ ย ๑ ประเภท ดา นกฬี า / นนั ทนาการ ๓.๓.๓ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ ผี ลงานดา นกฬี า / นนั ทนาการ ๓.๓.๔ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี แู พร ชู นะ มนี ำ้ ใจนกั กฬี า ๓.๔ ผเู รยี นมคี วามสนใจ ๓.๔.๑ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี นใจกจิ กรรมศลิ ปวฒั นธรรม และประเพณที ด่ี งี ามของทอ งถนิ่ และเขา รว มกจิ กรรม และของไทย ศลิ ปวฒั นธรรมและ ประเพณที ด่ี งี ามของ ๓.๔.๒ รอ ยละของผเู รยี นทเ่ี ขา รว มกจิ กรรมศลิ ปวฒั นธรรม และประเพณี เปน ประจำอยา งนอ ย ทอ งถนิ่ และของไทย ๑ ประเภท ๓.๔.๓ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี ผี ลงานดา นศลิ ปวฒั นธรรม และประเพณที ดี่ งี ามของทอ งถนิ่ และของไทย ๓.๔.๔ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถนำศลิ ปวฒั นธรรม และประเพณมี าพฒั นาเอกลกั ษณ ความเปน ไทยได ๕».ÀÒÉÒä·Â

๒๔¾ÔàÈÉ ตวั บง ชี้ เกณฑก ารพจิ ารณา มาตรฐานที่ ๔ : ผเู รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คดิ สงั เคราะห มวี จิ ารณญาณ มคี วามคดิ สรา งสรรค คดิ ไตรต รอง และมวี สิ ยั ทศั น เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๔.๑ ผเู รยี นมที กั ษะ ๔.๑.๑ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถจำแนกแจกแจงองคป ระกอบของสง่ิ ใดสงิ่ หนงึ่ หรอื การคดิ วเิ คราะห เรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ อยา งถกู ตอ ง คดิ สงั เคราะห สรปุ ความคดิ อยา ง ๔.๑.๒ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถจดั ลำดบั ขอ มลู ไดอ ยา งถกู ตอ งและเหมาะสม เปน ระบบ และมี ๔.๑.๓ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถเปรยี บเทยี บขอ มลู ระหวา งหมวดหมไู ดอ ยา งถกู ตอ ง การคดิ แบบองคร วม ๔.๑.๔ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถจดั กลมุ ความคดิ ตามวตั ถปุ ระสงคท กี่ ำหนดไดอ ยา งถกู ตอ ง เชน การพดู หนา ชนั้ ตามทก่ี ำหนด เปน ตน ๔.๑.๕ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถตรวจสอบความถกู ตอ งตามหลกั เกณฑไ ดอ ยา งตรงประเดน็ เชน การตรวจคำบรรยายภาพตามหลกั เกณฑท ก่ี ำหนดให เปน ตน ๔.๑.๖ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถสรปุ สาระและเชอ่ื มโยงเพอื่ นำมาวางแผนงาน โครงการได เชน การเขยี นโครงการ หรอื รายงาน เปน ตน ๔.๑.๗ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถสรปุ เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ และสรา งสงิ่ ใหมไ ด เชน การเขยี นเรยี งความ เขยี นเรอื่ งสน้ั ได เปน ตน ๔.๒ ผเู รยี นมที กั ษะ ๔.๒.๑ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถวจิ ารณส ง่ิ ทไ่ี ดเ รยี นรู โดยผา นการไตรต รองอยา งมเี หตผุ ล การคดิ อยา งมี ๔.๒.๒ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถเชอ่ื มโยงความสมั พนั ธร ะหวา งขอ มลู ความคดิ ตา งๆ ได วจิ ารณญาณ และคดิ ไตรต รอง อยา งถกู ตอ งมเี หตผุ ล ๔.๒.๓ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถประเมนิ ความนา เชอื่ ถอื ของขอ มลู และเลอื กความคดิ หรอื เฉผพูส าะอฉนบบั ๔.๓ ผเู รยี นมที กั ษะ ทางเลอื กทเี่ หมาะสม การคดิ สรา งสรรค ๔.๓.๑ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถรวบรวมความรคู วามคดิ เดมิ แลว สรา งเปน ความรใู หม และจนิ ตนาการ ตามความคดิ ของตนเองไดอ ยา งมหี ลกั เกณฑ เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ๔.๓.๒ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถคดิ นอกกรอบได ๔.๓.๓ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี ผี ลงานเขยี น / งานศลิ ปะ / งานสรา งสรรค ๔.๓.๔ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถพฒั นาและรเิ รมิ่ สงิ่ ใหม ๔.๓.๕ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถคาดการณแ ละกำหนดเปา หมายในอนาคตไดอ ยา งมเี หตผุ ล มาตรฐานที่ ๕ : ผเู รยี นมีความรแู ละทักษะท่จี ำเปนตามหลักสตู ร มี ๘ ตวั บง ช้ี คือ คะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบรวบยอดระดบั ชาติในระดบั ดี ใน ๘ กลมุ สาระ ระดบั ชน้ั ป.๓, ป.๖, ม.๓ และ ม.๖ ๕.๑ กลุมสาระการเรยี นรูวิชาภาษาไทย ๕.๒ กลุมสาระการเรยี นรวู ิชาคณติ ศาสตร ๕.๓ กลมุ สาระการเรยี นรวู ชิ าวทิ ยาศาสตร ๕.๔ กลุมสาระการเรียนรูวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕.๕ กลมุ สาระการเรยี นรูวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา ๕.๖ กลมุ สาระการเรียนรูวิชาศลิ ปะ ๕.๗ กลมุ สาระการเรียนรวู ชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕.๘ กลมุ สาระการเรียนรูวชิ าภาษาตางประเทศ เกณฑก ารพจิ ารณา ๕.๑ - ๕.๘ ๕.๑.๑ - ๕.๘.๑ รอยละของผูเ รยี นทม่ี ผี ลการเรียนรวบยอดระดับชาติระดบั ดี ในระดับชนั้ ป.๓ ๕.๑.๒ - ๕.๘.๒ รอยละของผูเรยี นท่มี ผี ลการเรียนรวบยอดระดบั ชาตริ ะดับดี ในระดับช้ัน ป.๖ ๕.๑.๓ - ๕.๘.๓ รอ ยละของผูเ รียนท่ีมผี ลการเรยี นรวบยอดระดบั ชาติระดับดี ในระดับช้นั ม.๓ ๕.๑.๔ - ๕.๘.๔ รอยละของผูเรยี นทีม่ ีผลการเรยี นรวบยอดระดบั ชาตริ ะดบั ดี ในระดบั ชั้น ม.๖ ๕».ÀÒÉÒä·Â

ตวั บง ช้ี เกณฑก ารพจิ ารณา ๒๕¾ÔàÈÉ มาตรฐานที่ ๖ : ผเู รยี นมีทักษะในการแสวงหาความรดู ว ยตนเอง รกั การเรยี นรู และพฒั นาตนเองอยา งตอเนอ่ื ง ๖.๑ ผเู รียนมีนิสัยรัก ๖.๑.๑ รอ ยละของผเู รียนทอ่ี า นหนังสอื นอกหลักสตู ร อยางนอยเดือนละ ๑ เลม เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน การอา น สนใจ ๖.๑.๒ รอ ยละของผเู รียนทอ่ี า นวารสารและหนงั สอื พิมพเปนประจำ แสวงหาความรู ๖.๑.๓ รอ ยละของผูเรียนทีส่ ามารถสรปุ ประเด็นและจดบันทกึ ขอมลู ความรทู ไ่ี ดจาก จากแหลงตา งๆ รอบตัว การอา นอยูเ สมอ ๖.๑.๔ รอ ยละของผเู รียนทส่ี ามารถตัง้ คำถามเพื่อคน ควา ความรเู พ่ิมเติมจากการอานได ๖.๑.๕ รอยละของผเู รยี นที่แสวงหาขอมลู จากแหลง เรยี นรตู า งๆ ทัง้ ภายในภายนอกโรงเรียน ๖.๒ ผเู รยี นใฝร ู ใฝเ รยี น ๖.๒.๑ รอ ยละของผเู รยี นทสี่ ามารถสงั เคราะห / วเิ คราะหแ ละสรปุ ความรู / ประสบการณไ ด สนกุ กบั การเรยี นรู อยา งมเี หตผุ ล และพฒั นาตนเอง อยเู สมอ ๖.๒.๒ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี คี วามสามารถในการจดบนั ทกึ ความรู และประสบการณไ ดอ ยา ง เปน ระบบ ๖.๒.๓ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี จู กั ตนเองและสามารถบอกจดุ เดน จดุ ดอ ยของตนเองได ๖.๒.๔ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี วี ธิ กี ารพฒั นาตนอยา งสรา งสรรค และเปน รปู ธรรม ๖.๒.๕ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถใชผ ลการประเมนิ มาพฒั นาตนเอง และสามารถบอกผลงาน การพฒั นาตนเองได ๖.๓ ผเู รยี นสามารถ ๖.๓.๑ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี จู กั คน ควา หาหนงั สอื ในหอ งสมดุ และใชห อ งสมดุ ไมต ำ่ กวา เฉผพสู าะอฉนบับ ใชห อ งสมดุ สปั ดาหล ะ ๓ ครงั้ ใชแ หลง เรยี นรู และสอ่ื ตา งๆ ทง้ั ๖.๓.๒ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ โี อกาสเขา ถงึ แหลง เรยี นรทู ง้ั ในและนอกโรงเรยี น ภายในและภายนอก ๖.๓.๓ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถคน ควา หาความรจู ากอนิ เทอรเ นต็ (Internet) หรอื สถานศกึ ษา สอื่ เทคโนโลยตี า งๆ ได มาตรฐานที่ ๗ : ผเู รยี นมที กั ษะในการทำงาน รกั การทำงาน สามารถทำงานรว มกบั ผอู น่ื ได เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน และมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ อาชพี สจุ รติ ๗.๑ ผเู รยี นสามารถ ๗.๑.๑ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ กี ารทำงานครบตามลำดบั ขนั้ ตอนการปรบั ปรงุ งาน วางแผนทำงานตาม และผลงานบรรลเุ ปา หมาย ลำดบั ขน้ั ตอนไดอ ยา ง มปี ระสทิ ธภิ าพ ๗.๑.๒ รอ ยละของผเู รยี นทอี่ ธบิ ายขน้ั ตอนการทำงาน และผลงานทเี่ กดิ ขน้ึ ทง้ั สว นทด่ี ี และสว นทม่ี ขี อ บกพรอ ง ๗.๒ ผเู รยี นรกั การทำงาน ๗.๒.๑ รอ ยละของผเู รยี นทรี่ กั การทำงานและมเี จตคตทิ ดี่ ตี อ การทำงาน สามารถทำงาน ๗.๒.๒ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถใชก ระบวนการกลมุ และการรว มกนั ทำงานเปน ทมี เปน ทมี ได ๗.๒.๓ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี บั ผดิ ชอบงานทก่ี ลมุ มอบหมายและขจดั ความขดั แยง ในการทำงานได ๗.๒.๔ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถแสดงความชน่ื ชม หรอื ตง้ั ขอ สงั เกตเกย่ี วกบั การทำงานในกลมุ ไดอ ยา งชดั เจน ๗.๓ ผเู รยี นมคี วามรสู กึ ทด่ี ี ๗.๓.๑ รอ ยละของผเู รยี นทจี่ ำแนกอาชพี ทส่ี จุ รติ และไมส จุ รติ ได ตอ อาชพี สจุ รติ และ ๗.๓.๒ รอ ยละของผเู รยี นทมี่ คี วามรสู กึ ทด่ี ตี อ อาชพี สจุ รติ หาความรเู กยี่ วกบั ๗.๓.๓ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถบอกอาชพี ทตี่ นสนใจ พรอ มใหเ หตผุ ลประกอบได อาชพี ทตี่ นสนใจ ๕».ÀÒÉÒä·Â

๓ 㪌¾²Ñ ¹Ò¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ¢Ù ͧ¼ŒàÙ ÃÕ¹ ๒๖¾ÔàÈÉ ÁÒμðҹ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ μÑǪéÇÕ ´Ñ ªé¹Ñ »‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÌÀÙ ÒÉÒä·Â μÒÁËÅÑ¡ÊμÙ Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢éѹ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. ๒๕๕๑ เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน สาระท่ี ๑ การอา น มาตรฐาน ท ๑.๑ : ใชก ระบวนการอานสรา งความรูแ ละความคดิ เพ่ือนำไปใชตัดสินใจแกป ญหาในการดำเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ัยรักการอาน ระดบั ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป. ๕ ๑. อา นออกเสียงบทรอ ยแกว • การอา นออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอยแกว เฉผพูส าะอฉนบับ และบทรอ ยกรองไดถ ูกตอ ง และบทรอ ยกรองทปี่ ระกอบดว ย ๒. อธบิ ายความหมายของคำ - คำที่มีพยญั ชนะควบกลำ้ เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน - คำทีม่ อี ักษรนำ ประโยค และขอความที่เปน - คำที่มีตวั การันต การบรรยายและการพรรณนา - อกั ษรยอและเครอ่ื งหมายวรรคตอน ๓. อธิบายความหมายโดยนยั - ขอ ความทีเ่ ปน การบรรยายและพรรณนา จากเรอื่ งท่อี านอยา ง - ขอความที่มีความหมายโดยนยั หลากหลาย • การอา นบทรอ ยกรองเปนทำนองเสนาะ ๔. แยกขอ เทจ็ จริงและขอคิดเหน็ • การอา นจับใจความจากสอื่ ตา งๆ เชน จากเรอ่ื งท่ีอาน - วรรณคดใี นบทเรียน ๕. วเิ คราะหแ ละแสดงความคิดเห็น - บทความ เก่ียวกับเรื่องทีอ่ านเพ่ือนำไปใช - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโนม นาวใจ ๖. อา นงานเขยี นเชิงอธบิ าย คำส่งั - ขา วและเหตกุ ารณป ระจำวัน ขอแนะนำ และปฏิบตั ติ าม • การอา นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คำสงั่ ขอแนะนำ และปฏบิ ตั ติ าม เชน - การใชพ จนานุกรม ๗. อา นหนงั สอื ท่ีมีคุณคาตาม - การใชวสั ดอุ ุปกรณ ความสนใจอยา งสมำ่ เสมอ - การอานฉลากยา และแสดงความคดิ เห็น - คูม ือและเอกสารของโรงเรยี นที่เกีย่ วขอ งกบั นักเรียน เกย่ี วกบั เรื่องท่ีอาน - ขา วสารทางราชการ ฯลฯ • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน ๘. มมี ารยาทในการอา น - หนงั สือทีน่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั - หนงั สอื ท่คี รแู ละนักเรียนกำหนดรวมกนั ฯลฯ • มารยาทในการอา น ๕».ÀÒÉÒä·Â

สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ : ใชก ระบวนการเขยี นเขยี นสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ยอ ความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบตา งๆ ¾ÔàÈÉ เขียนรายงานขอ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคนควาอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ๒๗ระดับช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๕ ๑. คัดลายมือตวั บรรจง • การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทัด เต็มบรรทดั และคร่งึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตวั อักษรไทย ๒. เขยี นสื่อสารโดยใชค ำไดถูกตอ ง • การเขยี นสือ่ สาร เชน เฉพาะสำหรบั ...ครูผสู อน ชดั เจน และเหมาะสม - คำขวญั - คำอวยพร - คำแนะนำและคำอธบิ ายแสดงขนั้ ตอน ฯลฯ ๓. เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ งและ • การนำแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิดไปพัฒนา แผนภาพความคิดเพ่อื ใช งานเขียน พัฒนางานเขยี น ๔. เขยี นยอความจากเร่อื งทอ่ี า น • การเขยี นยอความจากสอ่ื ตา งๆ เชน นทิ าน ความเรยี งประเภทตา งๆ ประกาศแจงความ แถลงการณ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรยั ฯลฯ ๕. เขยี นจดหมายถึงผปู กครอง • การเขยี นจดหมายถงึ ผูปกครองและญาติ เฉผพสู าะอฉนบับ และญาติ • การเขยี นแสดงความรสู กึ และความคิดเหน็ ๖. เขยี นแสดงความรสู กึ และความ คดิ เห็นไดต รงตามเจตนา ๗. กรอกแบบรายการตา งๆ • การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงนิ และใบถอนเงนิ - ธนาณตั ิ เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน - แบบฝากสง พสั ดไุ ปรษณียภัณฑ ๘. เขียนเร่ืองตามจินตนาการ • การเขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ ๙. มีมารยาทในการเขยี น • มารยาทในการเขยี น สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ : สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก ในโอกาสตางๆ อยางมีวจิ ารณญาณและสรา งสรรค ระดับชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๕ ๑. พูดแสดงความรู ความคดิ เห็น • การจับใจความ และการพดู แสดงความรู ความคิดในเรือ่ ง และความรสู กึ จากเรอ่ื งท่ีฟง และดู ท่ีฟงและดูจากสือ่ ตา งๆ เชน ๒. ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชงิ - เร่อื งเลา เหตผุ ลจากเรอ่ื งท่ฟี งและดู - บทความสน้ั ๆ - ขา วและเหตกุ ารณป ระจำวัน ๕».ÀÒÉÒä·Â

ระดบั ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ๒๘¾ÔàÈÉ ๓. วิเคราะหความนาเชื่อถอื จากเร่ือง - โฆษณา ทีฟ่ งและดอู ยา งมเี หตุผล - ส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ฯลฯ • การวิเคราะหค วามนา เชื่อถอื จากเร่ืองที่ฟงและดู เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๔. พดู รายงานเรอ่ื งหรอื ประเดน็ ในชีวติ ประจำวัน ทศ่ี ึกษาคน ควา จากการฟง การดู และการสนทนา • การรายงาน เชน - การพดู ลำดับขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน ๕. มีมารยาทในการฟง การดู - การพูดลำดบั เหตกุ ารณ ฯลฯ และการพูด • มารยาทในการฟง การดู และการพดู สาระท่ี ๔ หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ : เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ ปนสมบตั ขิ องชาติ ระดับช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ป. ๕ • ชนิดของคำ ไดแ ก ๑. ระบชุ นดิ และหนาท่ีของคำใน - คำบุพบท เฉผพสู าะอฉนบับ ประโยค - คำสนั ธาน - คำอุทาน เฉพาะสำห ัรบ...ค ูรผูสอน ๒. จำแนกสวนประกอบของ • ประโยคและสวนประกอบของประโยค ประโยค • ภาษาไทยมาตรฐาน ๓. เปรียบเทยี บภาษาไทย • ภาษาถ่นิ มาตรฐานกบั ภาษาถิน่ • คำราชาศพั ท • คำท่ีมาจากภาษาตา งประเทศ ๔. ใชค ำราชาศพั ท • กาพยย านี ๑๑ ๕. บอกคำภาษาตา งประเทศใน • สำนวนทเ่ี ปน คำพงั เพยและสภุ าษิต ภาษาไทย ๖. แตงบทรอ ยกรอง ๗. ใชส ำนวนไดถ กู ตอ ง ๕».ÀÒÉÒä·Â


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook