Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.5

Search

Read the Text Version

เรยี นรหู ลกั ภาษา คำบุพบท คำสันธาน และคำอุทาน ¤Ó·ãèÕ ªŒàªÍè× Á¤ÓËÃ×Í¢ÂÒ¤ӷèÕÍ¢‹Ù ÒŒ §Ë¹ŒÒ ¤Ó·ãèÕ ªŒàª×èÍÁ¤ÓãËÊŒ ÅÐÊÅÇ áÅФӷ¾Õè Ù´ËÃÍ× à¢Õ¹à¾×èÍáÊ´§ÍÒÃÁ³ ໚¹¤Óª¹Ô´ã´ ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤Ð คำบุพบท หมายถงึ คำท่ีเขยี นหรอื พูดนำหนา คำนาม คำสรรพนาม หรอื คำกริยา เพ่ือเช่ือมคำหรือขยายคำที่อยูขางหนา คำบุพบทแบงออกเปน ๕ ประเภท ดังน้ี ๑. คำบุพบทบอกสถานที่ ไดแ ก รมิ ชิด ใน ใกล ท่ี บน ใต เชน เดก็ วง่ิ ในสนาม ดาวอยูบ นทองฟา ผฉูสบอับน ๒. คำบพุ บทบอกความเปน ผูรบั ไดแก แด แก เพื่อ ตอ สำหรบั เฉพาะ เชน แมเ ก็บเงินเพ่อื ลกู น่คี ือรางวัลสำหรบั เด็กดี คำบพุ บท ๓. คำบุพบทบอกความเกี่ยวของ ไดแ ก ดวย โดย กบั เพราะ เชน เขาระบายสีโดยใชพูกัน ฉนั เห็นกบั ตาวา เขาหยบิ ของเธอไป ๔. คำบุพบทบอกความเปน เจาของ ไดแก ของ แหง เชน ชุดนข้ี องเธอ ศลิ ปน แหง ชาติ ๕. คำบุพบทบอกเวลา ไดแก เมื่อ ตั้งแต เชน พีม่ าถึงบานเม่อื สักครู แมออกไปทำงานตั้งแตเ ชา ภาษาไทย ๕ ๓๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ñ ๑. ขีดเสน ใตคำบพุ บทในประโยคทกี่ ำหนดให ๑) ตะกรา สำหรับใสไขวางอยูท่ีไหนจะ ๖) เดก็ ว่งิ ในสนาม ๒) เขากลับมาถึงบานไดเ พราะรถคันน้ี ๗) โตะอยูใกลห นา ตา ง ๓) ต้ังแตนดิ าไมอยู บา นนีก้ ็ดเู งียบเหงา ๘) ทหารสละชพี เพอื่ ชาติ ๔) ดาวบนทอ งฟา สกุ ใสสวา ง ๙) เขาระบายสีดวยสีเมจกิ ๕) หวงั เตะเปนศิลปน แหงชาติ ๑๐) หนังสือเลมนนั้ เปนของฉนั ๒. นำคำบุพบทที่กำหนดใหเติมลงในชองวา งใหถ กู ตอง ของ ถงึ บน ดว ย ตงั้ แต ผฉูสบอับน ตลอด โดย สำหรับ ใต เพ่อื ๑) ฉนั ไมไดน อน ตลอด ทงั้ คนื........................................ ๒) นทั ระบายสี ดวย พกู ัน........................................ ๓) เรือแลน ลอด ใต สะพาน........................................ ๔) นกทำรงั อยู บน ตน ไมใหญ........................................ ๕) คุณพอ ของ ฉนั เปนชาวสวน........................................ ๖) ดอกไมช อน.ี้ ......ส......ำ....ห.....ร.....บั.............เธอคนเดียวจะ ๗) นองเดินทางมาโรงเรียน.............โ....ด.....ย..................ทางเรอื ๘) ฉันมา ถงึ โรงเรียนเวลา........................................ ๐๗.๐๐ นาฬก า ๙) โรงเรียนเปด เรยี น..........ต......ั้ง....แ.....ต...............วนั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม ๑๐) พอ แมท ำงานหาเงิน..............เ..พ......อื่..................ใหลกู อยูอ ยางสบาย ๓๖ ภาษาไทย ๕

คำสันธาน คือ คำที่ใชเชื่อมความใหสละสลวย มีความหมายชัดเจนข้ึน คำสนั ธานแบง ออกเปน ๘ ประเภท ดงั น้ี ๑. คำสันธานเชือ่ มความใหค ลอ ยตามกัน ไดแก และ พอ...ก็ ท้ัง...ก็ เชน พแ่ี ละนอ งไปตลาด พอแมม าถึงบา นฝนกต็ ก ๒. คำสันธานเช่อื มความที่ขดั แยง กนั ไดแ ก แต แตท วา แต. ..ก็ เชน ถึงนิดจะเรียนไมเกง แตน ดิ กเ็ ปนเดก็ ดี ๓. คำสนั ธานเชือ่ มความเปนเหตเุ ปนผลกัน ไดแก เพราะวา เพราะฉะน้ัน เพราะ...จงึ เชน เพราะเขาขยนั จงึ สอบไดค ะแนนดี คำสันธาน ๔. คำสนั ธานเชอ่ื มความท่แี บงรบั แบงสู ไดแ ก ถา คง หาก...ก็ เชน ถา ฝนตกฉันอาจไมไปตลาด พรงุ น้ฉี นั คงไปวายน้ำ ผฉูสบอับน ๕. คำสันธานเชอ่ื มความที่ใหเลอื กเอาอยา งใดอยา งหนงึ่ ไดแ ก หรอื มิฉะนั้น ไมเ ชน นนั้ เชน เธอไปทางซายหรอื ไปทางขวา ๖. คำสันธานเช่อื มความท่ีตางตอนกัน ไดแก อน่ึง สว น เชน นกเดินมาโรงเรยี น สวนนดิ น่ังรถประจำทางมาโรงเรียน ๗. คำสันธานเชอื่ มความเปรยี บเทียบ ไดแก ราวกับ ดุจดัง เชน ผหู ญงิ คนนี้สวยราวกบั นางฟา ๘. คำสนั ธานเช่อื มความใหสละสลวย ไดแก สุดแตว า อยางไรก็ตาม เชน ถึงฉันจะเรยี นไมเ กง อยางไรก็ตามฉนั จะพยายามสอบใหผานใหได ภาษาไทย ๕ ๓๗

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ò ๑. วง ลอมรอบคำสันธานในประโยค แลว เขยี นบอกวาเปนคำสันธานชนิดใด ๑) ถา ฝนไมต กฉนั จะไปวา ยนำ้ คำสันธานเชื่อมความท่แี บง รับแบงสู................................................................................................................. ๒) เขามาเรียนหรือมาเลน กันแน คำสนั ธานเช่ือมความใหเ ลอื กเอา................................................................................................................. ๓) พอและแมท ำงานเพ่ือลูก คำสันธานเช่อื มความใหค ลอยตามกัน................................................................................................................. ๔) เพราะเขาไมอ านหนงั สอื จงึ สอบตก ค.....ำ...ส.....ัน.....ธ...า...น......เ.ช....ื่อ....ม....ค....ว....า...ม....ท....เี่..ป....น.....เ..ห.....ต....เุ..ป.....น.....ผ....ล....ก....ัน..... ๕) ฉันชอบกินผกั แตไมช อบกินผลไม คำสนั ธานเชือ่ มความทข่ี ัดแยงกัน................................................................................................................. ๒. นำคำสันธานทกี่ ำหนดใหเ ติมลงในชองวา งใหถ ูกตอง ผฉูสบอับน มฉิ ะน้ัน หรอื เพราะ กวา...ก็ เม่อื ...ก็ ๑) มกุ มาโรงเรียนสาย เพราะ รถติดมาก.......................................................... ๒) ลูกตองรีบทำการบา น มิฉะนัน้.......................................................... ลกู จะอดดูโทรทัศน ๓) เธอจะเลนชงิ ชา หรือ.......................................................... เธอจะเลน กระดานล่นื ๔) กวา ลูกจะเรียนจบ พอ แม ก็ แกเสยี แลว.......................................................... ......................................................... ๕) เมื่อ ฉันมาถงึ โรงเรียน ฝน ก็ หยุดตกพอดี.......................................................... ...................................................... ๓. แตง ประโยคจากคำสนั ธานทก่ี ำหนดลงในสมุด ขนึ้ อยกู บั ดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน ราวกับ เพื่อ เพราะ...จึง หรอื ถา ๓๘ ภาษาไทย ๕

คำอุทาน คือ คำท่ีพูดหรือเขียนเพ่ือแสดงอารมณ หรือความรูสึกของ ผูพูด หรือผูเขียน หรือใชเพื่อเสริมคำอื่นใหมีความหมายหนักแนนย่ิงข้ึน คำอุทานแบง ออกเปน ๒ ประเภท ดงั น้ี ๑. คำอุทานบอกอาการ เปนคำบอกอารมณ หรอื บอกความรสู ึกโดยตรง จะมีเครื่องหมายอัศเจรยี  ( ! ) กำกับขา งหลงั เชน - วาย! ชวยดวย â͍Â! - ออ ! นกึ ออกแลว - โอย ! เจ็บจังเลย คำอทุ าน เปน คำที่ไมไดบอกอารมณ แตชวยเนนความหมายของ ¼ËŒÙ ÅÑ¡¼ãŒÙ ËÞ‹¾´Ù ÍÐäà ผฉสู บอบั น คำอื่นใหช ัดเจนยง่ิ ขึน้ เชน ¡¤ç ÇÃÃºÑ ¿§˜ ¹ÐËÅÒ¹ - ไปวดั ไปวา - โรงเลา โรงเรียน ¤ÃºÑ ¤³Ø μÒ - ไมล มื หูลมื ตา ๒. คำอุทานเสรมิ บท ขอสังเกต คำอุทาน สามารถใชเ ปนคำสรอยในคำประพนั ธประเภทโคลงไดดว ย ไดแ กค ำวา แฮ เฮย นา เชน บงั คมบาทหนึง่ ผู การุณย พอ เฮย ธ ดังเทพเกอ้ื หนนุ อุน หลา ธ เปน ส่งิ คำ้ จนุ ภพแผน ดินแฮ ราษฎรแ ซซองถวนหนา ไพรฟ า สขุ เกษม ร. เรือ่ งแกว ภาษาไทย ๕ ๓๙

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ó ๑. เตมิ คำอทุ านลงในชอ งวา งใหเ หมาะสม ๑) อาว!............................................. ฉนั นกึ วา ของๆ เธอเสยี อีกนะน่ี ๒) โอย!............................................. ฉันเจบ็ นะ จบั เบาๆ หนอยสิ ๓) ออ!............................................. อยนู ี่เอง หนังสือของเธอ ๔) โอโฮ! เสอ้ื สวยจงั เลย............................................. ๕) โธ! ฉันไมน า มากบั เธอเลย............................................. ๖) วาย! ตกใจหมดเลย............................................. ¡Å‹Í§ÍÐäùЋ ๗) เธอสวยพอไปวดั ไปวา ได............................................. ๘) นองรอ งไหไมลมื หู ลมื ตา............................................. ๑๙๐)) ไเชอโะย!! พกลวอกงเรอาะชไรนนะะแลวผฉูสบอับน ............................................. ............................................. ๒. แตงประโยคจากคำอทุ านที่กำหนดให (ตัวอยาง) ๑) พธิ รี ีตอง เราเปนคนกนั เอง ไมตองมีพธิ ีรีตองใหม ากหรอก....................................................................................................................................................................................... ๒) โธเอย ! โธเ อย ! ชวี ิตเขาชางนาสงสารจริงๆ....................................................................................................................................................................................... ๓) โอย ! โอย! เจบ็ แผลจังเลย....................................................................................................................................................................................... ๔) อยุ ! อุย ! ใครมายนื อยูตรงนัน้ นะ....................................................................................................................................................................................... ๕) ชว ยดวย! ชวยดว ย! เดก็ ตกนำ้....................................................................................................................................................................................... ๔๐ ภาษาไทย ๕

เบิกฟา วรรณกรรม ตามหาวิชา เด็ดเดี่ยวมองรอบตัวอยางสงสยั วา เขากำลงั ยืนอยู ณ สถานท่ีใด เพราะเขา จำไดวา เขากำลงั ทอ งบทอาขยาน “วิชาเหมอื นสนิ คา” อยูท ี่โตะ ภายในหองนอน ·Õ¹è èÕ·äèÕ Ë¹¹Ð ¹ÒÂ໹š ã¤Ã¹Ð‹ ÊÐ-ËÇÑ´-´Õ-à¾Íè× ¹- áÅŒÇàÃÒÁÒÍ·‹Ù ¹Õè äÕè ´äŒ § Ì٨¡Ñ ©Ñ¹ä´äŒ § ÁÐ-¹Ø´-âÅ¡ ผฉูสบอับน มนุษยตางดาวคนหน่ึงเดินเขามาทักทายเด็ดเดี่ยว เขารูสึกต่ืนเตนและ ก็ตกใจมาก แตก็ต้ังสติแลวถามมนุษยตางดาวคนนั้นไปวา ที่ท่ีเขาอยูน้ีคือที่ใด เขามาที่นี่ไดอ ยางไร และทำไมมนษุ ยตา งดาวจึงพูดภาษาไทยได มนุษยตางดาวแนะนำตัวเองวา เอส-วัน เขาบอกวาเขาเปนมนุษยดาว “ซุปเปอรเอส” ซ่ึงสามารถฟงและพูดภาษาทุกภาษาบนโลกนี้ได และบอก เด็ดเดี่ยววาไมตองกลัวเขา เพราะเขามาดี เขาไมตอบคำถามของเด็ดเด่ียววา เด็ดเดีย่ วอยทู ี่ไหน แตกลับบอกใหเ ด็ดเดี่ยวสงั เกตรอบตวั เอาเองวาทนี่ ี่คือที่ใด เด็ดเดี่ยวมองไปรอบๆ ตัว เขาเห็นทองน้ำไกลสุดลูกหูลูกตา เขาจึงรูวา ตัวเองอยูบนเรือสำเภาลำหนึ่ง เอส-วันบอกเด็ดเด่ียววา “เรา-จะ-ไป-ตาม-ลา- หา-วิ-ชา-กัน” “วิชาอะไรเอส-วัน ฉนั ไมเหน็ เขาใจเลย” เด็ดเด่ียวบอก ภาษาไทย ๕ ๔๑

“ก็-วิ-ชา-ท่ี-เทอ-ทอง-ไง-ละ-ฉัน-อยาก-ได-วิ-ชา-ฉัน-จึง-มา-หา-เทอ- และ-พา-เทอ-มา-ท่ี-เรือ-น้ี” เอส-วนั ตอบคำถาม “ออ! วิชาในบทอาขยานที่ ฉนั ทอ งนะหรือ” เด็ดเดีย่ วถาม “ใช-แลว-ใน-บด-อา-ขะ-หยาน-ของ-เทอ-บอก-วา-วิ-ชา-อยู-ท่ี-เมือง- ไกล-ตอง-นั่ง-เรือ-สำ-เพา-ไป-เอา-มา-เรา-จึง-มา-หา-เทอ-ให-เทอ-พา-เรา- ไป-เอา-วิ-ชา-เพราะ-ดาว-ของ-เรา-ตอง-กาน-วิ-ชา-มา-พัด-ทะ-นา-ดวง- ดาว-ให- จะ-เริน-กา ว-หนา ” เอส-วนั ตอบยดื ยาว “เธอเขาใจผิดแลวละ บทอาขยานท่ีฉันทองไมไดใหเราน่ังเรือสำเภา ไปเอาวิชา แตเขาเปรียบเทียบวิชาเหมือนสนิ คาที่มีคา และเปรียบรา งกายเปน เรอื สำเภา เปรียบความเพยี ร สตปิ ญญา และจติ ใจเปนสว นประกอบตา งๆ ของ เรอื สำเภาทีต่ อ งเดนิ ทางไปในทะเล และตอ งเขมแขง็ เพอื่ พาเรอื สำเภาใหไปถงึ ผฉูสบอับน ท่หี มาย จงึ จะไดวิชาหรอื สนิ คาอยางไรละ ” เดด็ เดยี่ วอธิบาย เอส-วันทำหนางงๆ เด็ดเด่ียวจึงบอกเอส-วันวา เขาจะทองบทอาขยาน “วิชาเหมือนสินคา” ใหฟง ใหเอส-วันฟงแลวคิดตามวาเปนอยางท่ีเขาอธิบาย หรอื ไม จากนน้ั เดด็ เด่ยี วก็เรม่ิ ตนทองบทอาขยานวา วชิ าเหมอื นสนิ คา อันมคี าอยเู มอื งไกล ตอ งยากลำบากไป จงึ จะไดส นิ คา มา จงต้งั เอากายเจา เปนสำเภาอันโสภา ความเพียรเปน โยธา แขนซายขวาเปน เสาใบ น้วิ เปน สายระยาง สองเทาตา งสมอใหญ ปากเปนนายงานไป อัชฌาสัยเปนเสบยี ง สติเปนหางเสอื ถอื ทายเรือไวใหเ ทย่ี ง ถอื ไวอยา ใหเ อยี ง ตัดแลน เล่ียงขา มคงคา ปญ ญาเปนกลองแกว สอ งดแู ถวแนวหินผา เจาจงเอาหตู า เปนลา ตาฟง ดลู ม ๔๒ ภาษาไทย ๕

ขีเ้ กยี จคอื ปลารา ย จะทำลายใหเรอื จม เอาใจเปน ปน คม ยงิ ระดมใหจมไป จึงจะไดสนิ คา มา คอื วิชาอันพิสมยั จงหมน่ั มนั่ หมายใจ อยาไดครานการวชิ า ไมปรากฏชื่อผแู ตง เอส-วันคิดตามบทอาขยานท่ีเด็ดเด่ียวทอง เขาเลยรูวาเขาและเพ่ือนๆ ชาวซุปเปอรเอสตางเขาใจผิดเรื่องการตามหาวิชาจริงๆ เขาขอบคุณเด็ดเด่ียว และบอกวา เขาจะกลับไปบอกเพ่ือนๆ ของเขาวาตองมานะพากเพียรศึกษา เลาเรียนจึงจะไดวิชาความรู จากน้ันเขาก็จับมือกับเด็ดเด่ียวเพ่ือเปนการอำลา แลวคอยๆ หายตัวไป ทิ้งใหเด็ดเดี่ยวยืนงงวาตนเองจะกลับบานไดอยางไร กพ็ อดีกับที่คณุ แมเรยี กเดด็ เด่ยี ว “เดี่ยวๆ ตืน่ เถอะลูก ดซู ิ นง่ั ทองหนงั สอื จนหลบั คาโตะ ไปนอนไดแลว จะ ” ผฉสู บอับน เด็ดเดี่ยวสะดุงตื่น คุณแมเดินออกจากหองไปแลว เขาก็รูสึกแปลกใจท่ี ฝนไดเปนตุเปนตะ เด็ดเด่ยี วเกบ็ สมุดหนังสือลงในกระเปา แลวเดินไปทเี่ ตียงนอน เขาคิดวาพรุง นีเ้ ขาจะตองเลาความฝนของเขาใหกอ งภพฟง อยา งแนนอน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ô ๑. ฝกอานออกเสยี งบทอา นจนอานไดคลอ ง และหาความหมายของคำวา ณ มนษุ ยตา งดาว สุดลกู หลู ูกตา เรือสำเภา โยธา สายระยาง สมอ อัชฌาสัย หางเสอื คงคา ลา ตา และพสิ มัย ๒. ตอบคำถามจากเรื่องทอี่ าน ดงั นี้ ขึน้ อยูกับดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน ๑) นักเรยี นเหน็ ดวยกบั การเปรียบเทียบในบทประพันธน้หี รือไม อยางไร ๒) การขวนขวายศึกษาเลา เรียนสามารถเปรียบเทยี บกบั สิ่งใดไดอกี บา ง ๓. ฝกทอ งบทอาขยาน “วิชาเหมือนสินคา ” และจบั คูกนั ผลัดกนั ทอ งใหเพ่ือนฟง ภาษาไทย ๕ ๔๓

จดจำการใชภาษา กาพยยานี ๑๑ à¾ÃÒÐàËμãØ ´¡Ò¾Â Ò¹Õ ññ ¨§Ö ä´Œªè×ÍÇ‹Ò ¡Ò¾Â Ò¹Õ ññ ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤ÃѺ กาพยย านี ๑๑ เปน คำประพนั ธประเภทกาพยชนดิ หนึ่งมีลักษณะ ดังนี้ ๑ บท มี ๒ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค +วรรคหนา มี ๕ คำ วรรคหลังมี ๖ คำ ➠ รวม ๑๑ คำ จึงเรยี ก กาพยยานี ๑๑ แผนผังกาพยย านี ๑๑ วรรคท่ี ๑ วรรคท่ี ๒ ๑ บาท วรรคท่ี ๔ ผฉูสบอับน ๑ บท วรรคที่ ๓ สัมผัส ๑ บท ระหวา งบท กำหนดให : แทนคำ ๑ คำ เสนทบึ แสดงถงึ ตำแหนงของคำท่ีเปน สัมผสั บงั คบั เสน ไขป ลา แสดงถงึ การผอ นผนั การสัมผสั ระหวางวรรค สมั ผสั บังคับของกาพยยานี ๑๑ มีดงั นี้ ๑) สมั ผัสระหวางวรรค - คำสดุ ทา ยของวรรคที่ ๑ สมั ผสั กับคำทสี่ องหรือสามของวรรคที่ ๒ - คำสดุ ทายของวรรคที่ ๒ สมั ผสั กับคำสุดทายของวรรคที่ ๓ - คำสดุ ทายของวรรคท่ี ๓ สัมผัสกับคำที่สองหรอื สามของวรรคที่ ๔ ๔๔ ภาษาไทย ๕

๒) สมั ผสั ระหวา งบท - คำสุดทายของแตละบท สัมผัสกับคำสุดทายของวรรคท่ี ๒ ของ บทตอมา ตัวอยาง กาพยย านี ๑๑ ผรู ดู ีเปน ผเู จรญิ มวลผชู ูปรีชา เสาะวทิ ยาไมหางเหิน ผิดชอบกอบไมเ กิน รูดำเนินตามเหตุผล ชือ่ วา ปรีชาดี ผิดชอบมีพจิ ารณยล ผนู ัน้ จักพลันดล พิพัฒนพน จกั พรรณนา ผฉูสบอับน ควรเราผูเยาววยั จงใฝใจการศกึ ษา อบรมบม วิทยา ปรุงปรชี าใหเ ชยี่ วชาญ ขน้ั น้ีจกั ช้วี า มีปญ ญาไมส มฐาน ตองหดั ดัดสนั ดาน กอบวิจารณใ ชป ญ ญา พระยาอุปกติ ศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชวี ะ) ภาษาไทย ๕ àÁè×ÍàÃÕ¹ÃÅÙŒ ѡɳСҾÂÒ¹Õ ññ áÅŒÇ ¤ÃÒǹÕéàÃÒÁÒàÃÂÕ ¹ÃŒÙ ÇÔ¸¡Õ ÒÃá짋 ¤Ó»Ãоѹ¸» ÃÐàÀ·¡Ò¾ÂÂÒ¹Õ ññ ¡¹Ñ ¹Ð¤Ð ๔๕

คำประพันธ หมายถึง ถอ ยคำทแี่ ตงและเรยี บเรียงเปน บทรอยกรอง เชน กลอน กาพย เปนตน การแตง คำประพนั ธอยางงา ย มหี ลกั ในการปฏบิ ัติ ดังน้ี กำหนดประเภท ➠ วางโครงเรอ่ื ง ➠ เรยี บเรียงเปน ➠ แตงเปน คำประพนั ธท ีจ่ ะแตง รอยแกว คำประพันธ - เชน กลอนสี่ - กำหนดวาจะแตง - เขยี นเรอื่ งตาม - เลือกใชคำท่ี กลอนแปด เรือ่ งเกี่ยวกบั อะไร ท่ีวางไวเปน เหมาะสม กาพยย านี ๑๑ มีใจความสำคญั รอยแกว กอ น โคลงสสี่ ุภาพ อยา งไร - ใชคำถูกตอ ง ตามฉันทลักษณ ตวั อยาง การแตงคำประพนั ธ ประเภทกาพยย านี ๑๑ เรื่องดอกไม ผฉูสบอับน กำหนดเร่อื ง เรือ่ ง ดอกไม เขียนโครงเรอ่ื ง สี ดอกไมม หี ลายสี กล่ิน ดอกไมบางชนดิ มกี ล่นิ หอม ผเี สื้อ ผเี ส้ือชอบบนิ อยทู ท่ี ม่ี ีดอกไม สดชื่น ดอกไมและผีเสื้อทำใหผ คู นสดช่ืน เรยี บเรยี งเนอ้ื หา ดอกไมมีหลายสี ดอกไมบางชนิดก็มีกลิ่นหอม เชน มะลิ กหุ ลาบ ในบริเวณท่ีมีดอกไม จะมผี เี สื้อสวยๆ บินอยู ซึ่ง ดอกไมแ ละผเี สือ้ จะทำใหผ พู บเห็นรูสกึ สดช่ืนเพลิดเพลิน ๔๖ ภาษาไทย ๕

แตง คำประพนั ธจ ากเนือ้ หาทเ่ี รยี บเรยี งแลว ดอกไมทแ่ี สนสวย กลนิ่ ระรวยหอมช่ืนใจ สีสันกส็ ดใส มองคราใดใจเบกิ บาน เหลาผีเส้อื ตวั นอ ย บนิ มาคอยดดู นำ้ หวาน ช่ืนชมดอกไมบาน สุขสราญเพลิดเพลนิ ใจ นารีรัตน บุญสม ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè õ ๑. เขยี นหมายเลข ๑-๘ ลงใน ❑ หนาขอ ความเพื่อเรียงลำดบั ใหเปนกาพยย านี ๑๑ ทถี่ กู ตอ ง แลวเขียนลงในชอ งวาง และบอกคณุ คา ของบทประพนั ธ ❑๖ มลายสนิ้ ทงั้ อินทรยี  ❑๒ อีกกญุ ชรอนั ปลดปลง ผฉูส บอับน ❑๑ พฤษภกาสร ❑๗ สถติ ทั่วแตช วั่ ดี ❑๕ นรชาตวิ างวาย ❑๔ สำคญั หมายในกายมี ❑๘ ประดับไวในโลกา ❑๓ โททนตเ สนง คง พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง.................................................................................................................................................................................................................................................... โททนตเสนงคง สำคัญหมายในกายมี.................................................................................................................................................................................................................................................... นรชาตวิ างวาย มลายส้ินท้งั อนิ ทรีย.................................................................................................................................................................................................................................................... สถติ ทั่วแตช่วั ดี ประดับไวในโลกา.................................................................................................................................................................................................................................................... คณุ คาของบทประพนั ธ (ตัวอยาง) บทประพันธน้ีใหคติวามนุษยเม่ือ....................................................................................................................................................................... เสียชีวิตไปแลวรางกายยอมสลายไป แตสิ่งท่ียังคงไวใหรำลึกถึง คือ.................................................................................................................................................................................................................................................... ความดีและความชัว่ ท่เี ราทำไวเมือ่ ตอนยังมีชวี ติ น่ันเอง.................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. แตง คำประพนั ธประเภทกาพยย านี ๑๑ หวั ขอ สัตวเลย้ี งแสนรัก ๒ บท ลงในสมุด โดยปฏิบตั ิตามข้นั ตอนทไี่ ดเรียนรู ขนึ้ อยูกับดุลยพนิ จิ ของผูสอน ภาษาไทย ๕ ๔๗

การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ¡ÒÃà¢Õ¹·áèÕ Ê´§ãËŒà˹ç â¤Ã§àÃ×Íè §â´ÂÃÇÁ·§Ñé àÃèÍ× § àÃÂÕ ¡ÇÒ‹ ÍÐäà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤Ð การเขียนแผนภาพโครงเร่ือง เปนการเขียนเพื่อแสดงใหเห็นโครงเรื่อง โดยรวมทั้งเร่ือง ทำใหจับใจความสำคัญของเร่ืองที่อานไดดียิ่งข้ึน การเขียน แผนภาพโครงเร่ืองตองอาศัยการตั้งคำถาม และตอบคำถามจากเร่ืองท่ีอาน วา ตัวละครในเรอ่ื งมีใครบา ง สถานทท่ี ีเ่ กิดเหตุการณค อื ที่ใด มีเหตกุ ารณอะไร เกดิ ขึ้น และผลของเหตกุ ารณนั้นคอื อะไร แลวจึงเขยี นเปน แผนภาพโครงเรอื่ ง ตัวอยาง การเขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง ของนิทานเรอื่ ง หมากับเงา ผฉูสบอับน หมาตวั หนึ่งขข้ี โมยโดยเชอื้ ชาติ เขาตลาดลักเนือ้ ววั วง่ิ ถลา ขา มสะพานแลลงในคงคา เกดิ แกต าตนเห็นเปนเงาโต กอ นเน้อื ในน้ำนัน้ ดูใหญยง่ิ จงึ สทู ิง้ ช้นิ ท่ีคาบดว ยยโส หมายจะแยงชิ้นใหญจ ากหมาโซ ดวยความโงครน้ั ทง้ิ กอ นเนอ้ื ลง ในน้ำแลว เน้ือเงากห็ ายไป จมน้ำใสท้ังสองส่ิงประสงค คอื ของตวั และท่หี วงั ตัง้ จำนง ทำลายลงเพราะโลภหลงงมงาย ¹¡Ñ àÃÕ¹¤´Ô Ç‹Ò ¹Ô·Ò¹àÃÍè× §¹é¤Õ ÇÃà¢Õ¹໹š á¼¹ÀÒ¾â¤Ã§àÃÍè× §Í‹ҧäà ภาษาไทย ๕

แผนภาพโครงเร่อื ง ของนทิ านเรอ่ื ง หมากบั เงา ตัวละครในเร่อื ง หมาตัวหน่ึง สถานที่ บนสะพานขา มแมน ำ้ เหตุการณท เี่ กิด หมาขขี้ โมยตัวหน่งึ ลกั เน้ือวัว แลวว่ิงขามสะพาน เห็นเงา ของเน้ือในน้ำกอนใหญกวาชิ้นที่มันคาบอยู จึงทิ้งเน้ือ ท่คี าบไวในปากลงไปในน้ำ ผลของเหตุการณ เน้ือชิ้นท่ีหมาคาบมาจมหายไปในแมน้ำ และเงาของเนื้อ ก็หายไป ผฉสู บอบั น ¹Ô·Ò¹àÃÍè× §¹ãéÕ Ë¢Œ ÍŒ ¤´Ô Í‹ҧäúҌ §¤Ð¹Ñ¡àÃÂÕ ¹ à¾ÃҤйÊà´Ø÷ÒäÒŒ Á‹¤¡Ç¨ç ÃÐâäÅÁÀ‹àËÁÅÒ×ͤ͡ÐÃäѺÃàÅ “âÅÀàËÁÁÒÍס¹ÅÊÒÓÀ¹ËÇҹ·”ÇèÕ ‹Ò䧤Р¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ö เขยี นแผนภาพโครงเร่อื งของวรรณกรรมเรือ่ ง ตามหาวิชา ลงในสมดุ ขึ้นอยูก ับดุลยพนิ จิ ของผสู อน ภาษาไทย ๕ ๔๙

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ๑. เตมิ คำบพุ บท คำสันธาน และคำอทุ าน ลงในชองวา งใหเปน ประโยคทสี่ มบูรณ มฐ./ตัวชวี้ ัด แลว เขียนบอกประเภทของคำที่เตมิ ท4.1 (1) ๑) ออ! นึกออกแลว........................................... คำอทุ าน.......................................................................................................................................................................................................................... ๒) พอถวายภตั ตาหาร แด พระสงฆ........................................... คำบพุ บท.......................................................................................................................................................................................................................... ๓) หลายคนสงสารเขา แต........................................... ชว ยเหลืออะไรเขาไมได คำสันธาน.......................................................................................................................................................................................................................... ๔) เขากลบั ถึงบานได เพราะ........................................... น่ังรถประจำทาง คำบุพบท.......................................................................................................................................................................................................................... ผฉูสบอับน ๕) โอย! เจ็บจงั เลย........................................... คำอุทาน.......................................................................................................................................................................................................................... ๖) เพราะ เขาขยนั จึง สอบไดค ะแนนดี........................................... ........................................... คำสันธาน.......................................................................................................................................................................................................................... ๗) แม และ ปาไปตลาด........................................... คำสันธาน.......................................................................................................................................................................................................................... ๘) เธอรองไหไม ลมื หูลืมตา........................................... คำอทุ าน.......................................................................................................................................................................................................................... ๙) เขายืนอยู ริม หนาตาง........................................... คำบุพบท.......................................................................................................................................................................................................................... ๑๐) เธอตองทำการบา น มิฉะน้ัน........................................... จะไมไดค ะแนน คำสนั ธาน.......................................................................................................................................................................................................................... ๕๐ ภาษาไทย ๕

๒. แตง ประโยคจากคำที่กำหนดลงในสมุด ขนึ้ อยกู บั ดลุ ยพินจิ ของผสู อน มฐ./ตวั ชวี้ ัด ๑) ตง้ั แต ๒) ราวกบั ๓) โรงเลาโรงเรยี น ๔) เพอื่ ๕) พอ...ก็ ท4.1 (1) ๖) สวน ๗) กบั ๘) หรือ ๙) อุย! ๑๐) วา ย! ๓. แตง กาพยยานี ๑๑ หวั ขอท่ตี นเองสนใจ อยางนอ ย ๒ บท มฐ./ตวั ช้ีวัด ข้นึ อยูกับดลุ ยพนิ จิ ของผูส อน.................................................................................................................................................................................................................................................... ท4.1 (6) .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองของนิทานท่กี ำหนดลงในสมดุ (ดูเฉลยในหนาพเิ ศษทา ยเลม) มฐ./ตวั ชวี้ ัด ท2.1 (3) ไกก ับพลอย ผฉสู บอบั น ไกแจตัวหนึ่ง ขณะท่ีคุยเข่ียดินหาอาหาร ไปพบพลอยเม็ดหน่ึง งามดี มีคามากจึงพดู เปรยๆ ข้ึนวา “ถา เจาของของเจา มาพบเจาเขาเชนน้ี เขาคงเก็บเจา ไปฝง ไวในหัวแหวน ตามเดิม นี่เจาไมมีประโยชนอะไรแกเรา สูแตขาวสุกขาวสารเมล็ดเดียว ก็ไมได” วา แลว ก็คุย เข่ียเลยไปในแปลงอนื่ ๆ นิทานอสี ป ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä คดิ คำบพุ บท คำสันธาน และคำอุทานอยา งละ ๑๐ คำ แลว แตงนิทานสน้ั ๆ โดยใช คำทคี่ ดิ ประกอบอยา งนอย ๑๐ คำ พรอ มวาดรปู ประกอบนทิ านใหสวยงาม ภาษาไทย ๕ ๕๑

แบบทดสอบที่ ๒ ๗. ประโยคใดมีบุพบทบอกสถานท่ี ก. เขาเขียนโดยใชปากกาแดง กา ✗ คำตอบที่ถกู ที่สุด ข. ปากกาแดงแทง นีข้ องฉัน ขอ ๑-๖ ควรเติมคำใดลงในชองวาง ✗ค. ปากกาแดงอยูในกระเปา ๑. เขาออกจากบาน.................เชา ง. เธอหยบิ ปากกาแดงไปแลว ก. แตว า ๘. ประโยคมีสันธานเช่ือมความใหคลอย ✗ข. ต้งั แต ตามกนั ค. มฉิ ะนนั้ ✗ก. พอพีม่ าถึงบา น ฝนกข็ าดเม็ดพอดี ง. เพราะ ๒. พอ แมทำทกุ อยา ง.................ลกู ข. ถาฝนตกฉันอาจจะไมไปพบเธอ ก. แก ข. แด ค. เพราะเขาขยนั จึงสอบไดค ะแนนดี ง. ผวิ เธอขาวราวกับหยวกกลวย ✗ค. เพ่ือ ง. สำหรับ ๙. ขอ ใดไมตองเขียนในแผนภาพ โครงเรอื่ ง ผฉูสบอับน ๓. ผวิ เธอขาว.................ไขปอก ก. และ ก. ตัวละคร ✗ข. ช่ือผเู ขียน ✗ข. ราวกับ ค. สถานท่ี ง. เหตกุ ารณ ค. เพียง ๑๐. นกเอยนกนอยนอย .................................. ง. เกือบเทา ขนขาวราวกบั สำลี อากาศดไี มม ภี ยั ๔. .................เขามาดวยก็คงจะดี ควรเตมิ ขอ ความใด ✗ก. หาก ข. ดจุ ดงั ก. เจา มาคอยผูใดอยู ข. ตัวจอยรอยนารกั มาก ค. สว น ง. มาตรแมน ค. ขนเปน ฝอยไปท้ังตวั ๕. บา น.................สกปรกเสียจรงิ ✗ง บนิ ลอ งลอยเปน สขุ ศรี ก. ลอ ง ✗ข. ชอ ง ภาษาไทย ๕ ค. หอง ง. บอง ๖. .................ไมน าเลย ก. ออ! ข. เฮย! ค. แฮ! ✗ง. พทุ โธ! ๕๒

ตาราง Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹Nj  ๒หนว ยท่ี ๒ รายการวัดประเมนิ ผลตามเปาหมายการเรียนรู ประจำหนว ยท่ี ๒ คำช้แี จง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมทตี่ อ งการวัดผลเพ่อื เกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A) ของนักเรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมนิ ๓. ชน้ิ งานทมี่ เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมนิ รายการเครอ่ื งมอื วัดและประเมินผลการเรยี นรูของนกั เรียน คะแนนรวมดาน ดานความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดา นคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๕ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมินผลสมั ฤทธิ์ดาน K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นออกเสียง - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ อานออกเสยี ง วรรณกรรมเรอื่ ง การอานออกเสียง ที่พงึ ประสงค บทรอ ยแกว และ ตามหาวิชา แลว - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ บทรอยกรองได ตอบคำถาม ทพ่ี งึ ประสงค ถกู ตอง - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ท่ีพึงประสงค มฐ.ท ๒.๑(๓) - ก. พฒั นาการคิด - แบบประเมินทกั ษะ เขียนแผนภาพโครง ขอ ๔ การเขยี น การเขยี น - แบบประเมินคุณลกั ษณะ เรื่องและแผนภาพ แผนภาพโครงเรอ่ื ง ท่พี งึ ประสงค ความคิดเพือ่ ใชพ ัฒนา - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ งานเขยี น ทพ่ี ึงประสงค มฐ.ท ๔.๑ (๑) - ก. พฒั นาการคดิ * - แบบประเมินทักษะ ระบุชนดิ และหนา ที่ ขอ ๑ เตมิ คำใหเปน การคิดวเิ คราะห ของคำในประโยค ประโยค - แบบประเมินทักษะ - ก. พัฒนาการคิด การเขยี น ขอ ๒ แตงประโยค จากคำที่กำหนด ผฉูส บอบั น มฐ.ท ๔.๑ (๖) - ก. พฒั นาการคิด - แบบประเมนิ ทักษะ แตง บทรอ ยกรอง ขอ ๓ การแตง การปฏบิ ัติกจิ กรรม กาพยยานี ๑๑ มฐ.ท ๕.๑ (๔) - การทอ งจำ - แบบประเมินทักษะ ทองจำบทอาขยาน บทอาขยาน การอา นออกเสยี ง ตามทกี่ ำหนด และ “วชิ าเหมอื นสนิ คา ” บทรอยกรองทม่ี ี ในวรรณกรรมเร่อื ง คุณคาตามความสนใจ ตามหาวิชา สว นที่ ๑ คะแนนจากการประเมินดา นผลการเรียนตามตัวชว้ี ัด สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรียน ผลงานกจิ กรรมบรู ณาการฯ ทีน่ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ ชื่องาน นิทานสรางสรรค สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธผิ ลประจำหนว ย การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิประจำหนว ยที่ ๑-๕ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการเรียนรูประจำหนวย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผา น ไมผาน ………………………………………………………………………………. ระดบั คณุ ภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรบั ปรงุ ➠ ซอ มเสริมแลว ➠ ผา นเกณฑประเมนิ ลงชือ่ ………………………………………………………. ผูประเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ภาษาไทย ๕ ๕๓

พยางค คำ วลี ประโยค๓หนวยการเรียนรูท่ี เปา หมายการเรยี นรูประจำหนวยการเรยี นรทู ่ี ๓ ¤Ó ¾ÂÒ§¤ ͹¸ÔºÁ‹Ø ¹ÒÂÔèÁμÍá¢ÂÒ เมอ่ื เรยี นจบหนว ยน้ี ผูเรียนจะมคี วามรูความสามารถตอไปนี้ ·Øáª×ÍàÁ¹ÍÙ ๑. อา นคำ ขอ ความ ประโยค และเรอ่ื งสน้ั ๆ ทก่ี ำหนดให áÁ»¹Ç½Ã¡¡¹ÐºÔ¹âμÂÔ¹»¡¤ÅÒ ÇÅÕ ไดถ กู ตอ ง ๒. จำแนกพยางค คำ วลี ประโยค และจำแนกสว นประกอบ áʧᴴÂÒÁàªŒÒ áÁÇ´ÓμÇÑ ÍŒÇ¹ ของประโยคได ๓. ปฏิบัติตนในการอาน ฟง และดู ไดอยา งเหมาะสม และมมี ารยาทในการอา น การฟง และการดู ๔. ตง้ั คำถามและตอบคำถามจากเรอ่ื งทอ่ี าน ฟง และดไู ด คุณภาพทีพ่ ึงประสงคข องผเู รียน ๑. อา นไดค ลอ ง และอา นไดเร็วข้ึน ผฉูสบอับน ๒. จับประเด็นสำคัญจากเรอ่ื งท่อี าน ฟง และดไู ด ๓. ใชคำและประโยคในการสอื่ สารไดอยางเหมาะสม ๔. ตัง้ คำถามตอบคำถามจากเร่ืองทฟ่ี งและดู ๕. มีมารยาทในการอา น การฟง และการดู แผนผงั ความคิด ประจำหนวยการเรยี นรทู ี่ ๓ เรียนรหู ลกั ภาษา พยางค คำ วลี ประโยค สาระ เบกิ ฟา วรรณกรรม การเรยี นรู จิตสาธารณะ จดจำการใชภ าษา การตัง้ คำถามและตอบคำถาม การปฏบิ ัตติ นในการอา น ฟง และดู

ขอบขา ยสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวิชา ภาษาไทย ชัน้ ป.๕ ตัวชีว้ ัดชัน้ ป สาระพนื้ ฐาน ความรฝู ง แนน ตดิ ตวั ผเู รยี น มฐ.ท ๑.๑ (๑) อานออกเสียงบทรอยแกว - วรรณกรรม เร่อื ง - วรรณกรรมเร่ือง จติ สาธารณะ เปนเร่ือง และบทรอ ยกรองไดถ กู ตอง จติ สาธารณะ เก่ยี วกบั การทำความดีของเดด็ เด่ียว มฐ.ท ๑.๑ (๘) มีมารยาทในการอา น - การปฏิบตั ิตนในการอาน - การปฏบิ ตั ิตนในการอาน ควรปฏิบตั ใิ ห เหมาะสมและมมี ารยาทในการอา น มฐ.ท ๓.๑ (๒) ตง้ั คำถามและตอบคำถาม - การต้งั คำถามและ - การตัง้ คำถามและตอบคำถาม เปนการ เชงิ เหตผุ ลจากเรอ่ื งท่ฟี งและดู ตอบคำถามจากการอา น ถาม-ตอบจากเรือ่ งท่ีอาน ฟง และดู ฟง และดู เพื่อสรปุ เนือ้ หาของเรอ่ื ง มฐ.ท ๓.๑ (๕) มีมารยาทในการฟง การดู - การปฏบิ ตั ิตนในการฟง - การปฏบิ ตั ติ นในการฟง และการดู ควรฟง และการพดู และการดู และดูดว ยความตง้ั ใจ และมมี ารยาท ในการฟงและดดู ว ย มฐ.ท ๔.๑ (๒) จำแนกสวนประกอบของ - พยางค คำ วลี ประโยค - พยางค คอื เสยี งท่เี ปลงออกมา แลว มี ประโยค ความหมายหรือไมมีก็ได คำ คือ เสียงที่ เปลง ออกมาแลว มคี วามหมาย วลี คือ คำที่มาเรียงกันต้ังแต ๒ คำขึ้นไป แตยัง ไมเ ปนประโยค สวนประโยค คือ คำทเี่ รียง ตอกันแลวไดใ จความสมบรู ณ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ผฉสู บอบั น จำแนกคำ วลี และประโยคตามทกี่ ำหนด เขยี น ค แทน คำ เขียน ว แทน วลี เขยี น ป แทน ประโยค ค เบญจางคประดษิ ฐ สงิ โตทะเลตวั ใหญ ว ป หมาเหา ระหองระแหง ค ค มฤคทายวนั ฝนตกหนกั มาก ป ว ทำงานอยา งตง้ั ใจ พอ ไปทำงาน ป ภาษาไทย ๕ ๕๕

เรียนรหู ลกั ภาษา พยางค คำ วลี ประโยค ¾ÂÒ§¤ ¤Ó ÇÅÕ »ÃÐ⤠áμ¡μ‹Ò§¡¹Ñ Í‹ҧäà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð พยางค คือ เสียงที่เปลงออกมาครั้งหน่ึงๆ โดยมีความหมายหรือไมมี ความหมายก็ได เชน คำที่มี ๑ พยางค ➠ นอง ไป หนิ โคง รำ คำทีม่ ี ๒ พยางค ➠ ประสม สนกุ หนงั สือ คำทีม่ ี ๓ พยางค ➠ วรรณยกุ ต ปริศนา มารยาท ผฉูสบอับน คำทม่ี ี ๔ พยางค ➠ อบุ ตั ิเหตุ มหาสมุทร คำทีม่ ี ๕ พยางค ➠ ประชาธิปไตย รัตนโกสินทร พยางคทุกพยางคจะประกอบไปดวย เสียงพยัญชนะตน เสียงสระ และ เสยี งวรรณยกุ ต บางพยางคอาจมเี สยี งทายพยางค หรอื เสยี งตวั สะกดดว ย เชน »‡Ò ประกอบดวย เสียงพยญั ชนะตน คอื ป เสยี งสระ คอื อา ÊÍ‹ § เสียงวรรณยกุ ต คอื เสียงโท ประกอบดวย เสยี งพยัญชนะตน คือ ส เสียงสระ คือ ออ เสยี งตวั สะกด คือ ง เสยี งวรรณยุกต คือ เสยี งเอก ๕๖ ภาษาไทย ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ñ ๑. ระบายสภี าพตามท่กี ำหนด คำที่มี ๑ พยางค ระบายสีแดง = ด คำทม่ี ี ๓ พยางค ระบายสีเขียว = ข คำทมี่ ี ๒ พยางค ระบายสีเหลือง = ล คำท่ีมี ๔ พยางค ระบายสชี มพู = ช ด ด ช ด เกา ล อธปิ ไตย ปลกู โขลก ผลติ ล ประขสบ- ข สรรชพ- ผฉูสบอบั น พยางค การณ สมนุ ไพร สนิ คา ข ล ล ตลาดนำ้ รสชาติ สระผม ช ด ไทร ล วทิ ยาลยั อรอ ย เวลลา ๒. คิดแลวเขียนคำทม่ี ี ๑ พยางค จนถงึ คำท่มี ี ๔ พยางค ลงในสมดุ ใหไ ดมากท่ีสดุ ขนึ้ อยูก บั ดลุ ยพนิ ิจของผสู อน ๕๗ ภาษาไทย ๕

คำ คือ เสียงท่ีเปลงออกมาและมีความหมาย ซึ่งคำหน่ึงคำ อาจจะมี พยางคเ ดยี วหรือหลายพยางคก็ได เชน ไกล (ไกล) มจี ำนวน ๑ คำ ๑ พยางค ขวา งปา (ขวาง-ปา) มีจำนวน ๑ คำ ๒ พยางค อุปสรรค (อบุ -ปะ-สัก) มีจำนวน ๑ คำ ๓ พยางค อธปิ ไตย (อะ-ทิบ-ปะ-ไต) มีจำนวน ๑ คำ ๔ พยางค พทุ ธศกั ราช (พุด-ทะ-สัก-กะ-หราด) มจี ำนวน ๑ คำ ๕ พยางค คำ แบง ออกเปน ๔ ลักษณะ ตามสว นประกอบ ดงั น้ี ๑. คำท่ีประกอบดวยพยัญชนะตน สระ และเสียงวรรณยุกต (คำที่ประสม สามสวน) เชน มา ดู และ เธอ ไป อะไร ¤ÓÇ‹Ò ¡Ò ¢Ó áÅФǧ ผฉสู บอับน ๒. คำที่ประกอบดวยพยัญชนะตน ÁÕʋǹ»ÃСͺ¢Í§¤ÓàËÁÍ× ¹ ËÃÍ× μÒ‹ §¡Ñ¹ÍÂÒ‹ §äúҌ §¤ÃºÑ สระ ตวั สะกด และเสียงวรรณยุกต (คำที่ ประสมสสี่ ว น) เชน คน หาว ขาว บาง บิน ว่งิ เร็ว แขง็ โสด สวย ๓. คำที่ประกอบดวยพยัญชนะตน สระ เสียงวรรณยุกต และอักษรการันต โดยไมมีตัวสะกด (คำที่ประสมส่ีสวน พเิ ศษ) เชน เลห โพธ์ิ เสนห  ๔. คำที่ประกอบดวยพยัญชนะตน สระ ตัวสะกด เสียงวรรณยกุ ต และอกั ษร การันต (คำทป่ี ระสมหา สวน) เชน โจทย แพทย พนั ธุ ทพิ ย โบสถ ๕๘ ภาษาไทย ๕

วลี คือ คำท่ีมาเรียงกันต้ังแต ๒ คำขึ้นไป และมีความหมาย แตยัง ไมเปนประโยค เพราะยังมีใจความไมสมบูรณ ขาดภาคประธานหรือภาคแสดง ไปอยางใดอยางหน่ึง เชน เมอ่ื เชานี้ ชายผนู ั้น นานาชนดิ ดว ยความเคารพ เวรกรรม กระโดดโลดเตน ประโยค คอื การนำคำชนดิ ตางๆ มาเรียงกัน เปนเรื่องราวหรือความคิด ท่ีไดใจความสมบูรณ ประโยค มีสวนประกอบสำคัญ ๒ สว น คอื ๑. ภาคประธาน หมายถึง ผูที่ทำกิริยาอาการตางๆ ไดแก คำนาม คำสรรพนาม และสวนขยายประธาน ไดแก คำวเิ ศษณ ๒. ภาคแสดง หมายถึง สวนที่เปนกิริยาอาการ และสวนขยายกริยา ซ่ึงอาจมสี ว นกรรมและสวนขยายกรรมดว ย ไดแก คำนาม คำกริยา คำวิเศษณ ผฉสู บอับน ตวั อยา ง ประโยค ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง นกพริ าบบินสูง ประธาน สปว รนะขธยาานย กรยิ า สว กนรขิยยาาย กรรม สว กนรขรยมาย แมวดำกำลังกนิ ปลายา ง เกดปน เขาอยางต้ังใจ นก พิราบ บิน สงู - - มดซอ้ื ขา วแกง ทินนอนกลางวนั แมว ดำ กิน กำลัง ปลา ยา ง เด็กคนน้นั แตงตัวสวย เกด - ปน อยางต้ังใจ เขา - มด - ซื้อ - ขาวแกง - ทนิ - นอน กลางวนั - - เด็ก คนน้นั แตง ตัว สวย - - ภาษาไทย ๕ ๕๙

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ò ๑. เขียนบอกจำนวนพยางคแ ละคำจากกลมุ คำหรือประโยคท่ีกำหนดให ๑) พซิ ซา จำนวนพยางค จำนวนคำ ๒) กลบั บานไดแ ลว ๓) บญุ ทำกรรมแตง ๒.................................................. ๑.................................................. ๔) เพลาเชา ๔.................................................. ๓.................................................. ๕) หนอนหนังสือ ๔.................................................. ๔.................................................. ๖) สะอาดสะอา น ๓.................................................. ๒.................................................. ๗) จามรมี ขี นแหลมคม ๓.................................................. ๑.................................................. ๘) ขนมนมเนย ๔.................................................. ๑.................................................. ผฉูสบอับน ๙) สนกุ สนาน ๗.................................................. ๔.................................................. ๑๐) ปจ จบุ นั กาล ๔.................................................. ๑.................................................. ๔.................................................. ๑.................................................. ๕.................................................. ๑.................................................. ๒. นำคำหรือกลมุ คำทกี่ ำหนดใหม าแตง ประโยค (ตวั อยาง) ๑) ศิลปะ ครทู นิ กรสอนวิชาศิลปะ....................................................................................................................................................................................... ๒) เมอ่ื เชา นี้ แมซกั ผา เมอื่ เชา นี้....................................................................................................................................................................................... ๓) รเิ รม่ิ เขาริเรมิ่ ทำการเกษตรแบบใหม....................................................................................................................................................................................... ๔) อาชพี ปามอี าชพี ขายของ....................................................................................................................................................................................... ๕) กรรมการ พอเปนกรรมการหมบู า น....................................................................................................................................................................................... ๖๐ ภาษาไทย ๕

๓. บอกสว นประกอบของประโยคทก่ี ำหนดให ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง กรยิ า กรรม ๑) ฉันชอบไวผ มสัน้ ฉัน ชอบไว ผมสั้น.................................................. .............................................. ................................................. ๒) นักเรยี นอยา สง เสยี งดัง นักเรียน อยา สงเสยี งดัง -.................................................. .............................................. ................................................. ใคร หยบิ ...ไป หนังสือ.................................................. .............................................. ................................................. ๓) ใครหยิบหนังสือไป ๔) สุวิทยอา นหนังสอื นิทาน สวุ ิทย อา น หนงั สอื นทิ าน.................................................. .............................................. ................................................. นกกระจอกเทศ ว่ิงเรว็ -.................................................. .............................................. ................................................. ๕) นกกระจอกเทศว่ิงเรว็ ๖) คุณแมท ำแกงไกใสม ะเขือ คุณแม ทำ แกงไกใ สมะเขือ.................................................. .............................................. ................................................. อาหาร รสชาตอิ รอ ย -.................................................. .............................................. ................................................. ๗) อาหารรสชาติอรอ ย คณุ ครู ไป ตลาด ผูส อน.................................................. .............................................. ................................................. ฉบับ ๘) คณุ ครูไปตลาด มะปราง มีรสเปร้ียว -.................................................. .............................................. ................................................. ๙) มะปรางมรี สเปร้ยี ว นอง กลบั ..แลว บาน.................................................. .............................................. ................................................. ๑๐) นอ งกลบั บานแลว ฉัน ไมก ิน ขนมหวาน.................................................. .............................................. ................................................. ๑๑) ฉนั ไมก นิ ขนมหวาน เปด ตวั อวน วา ยนำ้ -.................................................. .............................................. ................................................. ๑๒) เปด ตวั อว นวายน้ำ แมวลาย กิน ปลา.................................................. .............................................. ................................................. ๑๓) แมวลายกินปลา พ่ตี ู ใส เส้อื สชี มพู.................................................. .............................................. ................................................. ๑๔) พีต่ ูใสเ สอื้ สีชมพู ๑๕) คณุ พอ ซื้อปากกานำ้ เงิน คุณพอ ซ้ือ ปากกานำ้ เงิน.................................................. .............................................. ................................................. คณุ ลุง พาย เรือ.................................................. .............................................. ................................................. ๑๖) คุณลุงพายเรอื นก อาน หนงั สอื เรยี น.................................................. .............................................. ................................................. ๑๗) นกอานหนังสือเรยี น นง้ิ วาดรูป ผเี ส้ือ.................................................. .............................................. ................................................. ๑๘) นิง้ วาดรปู ผเี ส้อื ๑๙) กอ ยกนิ กวยเตยี๋ วแหง กอ ย กิน กวยเตี๋ยวแหง.................................................. .............................................. ................................................. นุน เลนกับ เพอื่ นๆ.................................................. .............................................. ................................................. ๒๐) นนุ เลนกบั เพอ่ื นๆ ภาษาไทย ๕ ๖๑

เบิกฟา วรรณกรรม จิตสาธารณะ เชาวันเสาร เด็ดเดี่ยวและกองภพนัดกันไปซ้ืออุปกรณทำโครงงาน ท่ีหางสรรพสินคาใกลบาน ซ่ึงคุณพอและคุณแมของเด็กท้ังสองก็อนุญาต เพราะเหน็ วาหา งนีอ้ ยูไมไกลจากบา นนัก เด็ดเด่ียวและกองภพแตงตัวทะมัดทะแมงมายืนรอรถโดยสารประจำทาง ท่ีปายจอดรถประจำทาง เม่ือรถสายที่ผานหางสรรพสินคาท่ีท้ังสองตองการไป จอดทป่ี าย เด็ดเด่ียวและกองภพก็รีบข้นึ รถทนั ที Ç¹Ñ ¹ÃÕé ¶á¹‹¹¹Ð ¹è¹Ñ ÊÔ §Ñé¹ä»¹§èÑ à¶ÍÐ ¨Ñº´Õæ ÅЋ ¡ÍŒ § Á·Õ ÕÇè ‹Ò§áÅŒÇ ผฉูสบอับน เม่ือขึ้นรถไปไดสักพัก ก็มีคนลงรถไปหลายคน เด็ดเดี่ยวและกองภพ จึงไดนั่ง แตนั่งไปไดสักพักก็มีหญิงชราคนหน่ึงขึ้นมาบนรถดวย แตรถไมมี ทีน่ ง่ั แลว ผูชายคนหน่ึงเห็นหญิงชราข้ึนมาบนรถก็แกลงน่ังหลับทันทีเพราะไมอยาก ลกุ ใหห ญงิ ชรานง่ั เดด็ เด่ยี วรสู ึกสงสารหญงิ ชราคนนัน้ จงึ ลกุ ใหหญงิ ชรานั่ง “คณุ ยายนั่งนี่สคิ รับ” เด็ดเดีย่ วพดู “ขอบใจมากจะ หลานชาย” คุณยายตอบแลว นง่ั ลง เด็ดเด่ียวรูสึกมีความสุขมากที่ไดชวยเหลือคนอ่ืน แมจะเปนเพียงเร่ือง เล็กๆ แตเ ขากร็ สู กึ ดีท่ีไดท ำความดี ๖๒ ภาษาไทย ๕

เด็ดเดี่ยวและกองภพลงรถเมื่อถึงท่ีหมาย เด็กท้ังคูเดินคุยกันเก่ียวกับ เร่ืองความมีน้ำใจของคนในปจจุบันวาลดนอยลง แตเด็กทั้งคูก็คิดและต้ังใจวา ถาพวกเขายังชวยเหลือคนอื่นไดไมวาเรื่องอะไรก็ตาม พวกเขาก็จะชวยตอไป เพราะทำใหพวกเขามคี วามสขุ นน่ั เอง เชาวันจันทร กองภพเลาเรื่องความมีน้ำใจของเด็ดเด่ียวใหไพลินและ เชงิ ขวญั ฟง พอดคี รทู ฆิ ัมพรไดยิน จงึ ใหกอ งภพเลาใหเ พ่ือนคนอ่ืนๆ ฟงดวย เมื่อกอ งภพเลา จบแลว คุณครูใหเ พือ่ นๆ ปรบมือใหเ ด็ดเดย่ี ว แลวคณุ ครู กพ็ ดู ขึ้นวา “แมการสละท่ีน่ังบนรถประจำทางใหคนอ่ืนน่ังเปนเพียงการทำความดี ทีด่ เู ลก็ นอ ยแตก็ถอื วา เปนจุดเริ่มตนของการทำความดี คนเราถามจี ติ ใจทมี่ ุงมั่น อยากทำส่ิงท่ีดี ไมเบียดเบียนใครเพ่ือผูอ่ืน อยากท่ีจะชวยเหลือเพ่ือนมนุษย โดยไมหวังคำยกยองชมเชยจากใคร คนเชนน้ีจะเรียกวา คนท่ีมีจิตสาธารณะ ผฉูสบอบั น ครูอยากใหนักเรียนของครูเปนเด็กดีและไมหว่ันไหวที่จะทำความดี ไมตองกลัว วาทำความดีแลวจะไมมีใครรูเห็น เพราะสักวันก็ตองมีคนมองเห็นในความดี ของเราและแมวาไมมีใครเห็น ตัวเรานี่แหละที่เห็น และตัวเราก็จะมีความสุข ทุกๆ วัน” “ครับ/คะ คณุ ครู พวกเราจะจำไวค รบั /คะ ” ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ó ๖๓ ๑. ฝก อา นออกเสยี งบทอา นจนอานไดค ลอง และหาความหมายของคำวา หา งสรรพสินคา รถโดยสารประจำทาง และจติ สาธารณะ ๒. ตอบคำถามจากเรื่องที่อาน ดงั น้ี ข้นึ อยูกบั ดุลยพนิ จิ ของผสู อน ๑) นักเรยี นเคยทำความดีอะไรบางหรือไม อยางไร ๒) จิตสาธารณะในความคิดของนักเรยี นเปนอยา งไร ภาษาไทย ๕

จดจำการใชภ าษา การต้ังคำถามและตอบคำถาม จากการอาน ฟง และดู àÁèÍ× ÍÒ‹ ¹ ¿˜§ ËÃ×Í´Ù àÃè×ͧÃÒÇμ‹Ò§æ áÅŒÇ àÃÒ¤Ç÷ÓÍÂÒ‹ §äÃμÍ‹ ä» à¾×Íè ¨Ðä´ÃŒ Ѻ»ÃÐ⪹ ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹ ¿˜§ ËÃÍ× ´¹Ù Ñé¹æ Í‹ҧÊÙ§ÊØ´¤ÃºÑ การอาน ฟง และดูเรื่องราวตางๆ แตละครั้ง นักเรียนอาจจะฝกตั้ง คำถาม และตอบคำถามจากการอาน การฟง และการดูได ซง่ึ ในการตงั้ คำถาม ควรใชประโยคทีช่ ดั เจน ไมส ับสน หรอื กำกวม ผฉสู บอับน ในประโยคคำถาม จะมีคำที่แสดงการถามอยูตนหรือทายประโยคก็ได โดยคำที่แสดงการถามจะบงบอกเจตนาของผูถามวาตองการคำตอบอยางไร ดังนี้ ใคร ตองการคำตอบเปน ชื่อบุคคล อะไร ตองการคำตอบเปน ส่งิ ของ หรือเหตกุ ารณท ่เี กิดขึ้น ท่ีไหน ตอ งการคำตอบเปน ชอ่ื สถานที่ อยางไร ตองการคำตอบเปน ความเปนไปของเหตกุ ารณ ทำไม ตอ งการคำตอบเปน เหตุผล เมื่อไร ตองการคำตอบเปน เวลา หรอื หรือไม ตอ งการคำตอบเปน การตอบรับหรอื ปฏเิ สธ สำหรับการตอบคำถามท่ีไดจากการตั้งคำถามหลังจากอาน ฟง และดู ตองตอบใหตรงประเด็น และไดใจความ จึงจะเขาใจเนื้อหาที่อาน ฟง หรือดู ไดด ยี ง่ิ ขน้ึ ๖๔ ภาษาไทย ๕

ตวั อยาง การตง้ั คำถามและตอบคำถาม ตุกตาชาววงั ตุกตาชาววังบางเสด็จทำจากดินเหนียวเนื้อละเอียดจากทองนา ผสมกับกระดาษ หนงั สือพิมพท ีน่ ำไปแชนำ้ ผงซักฟอกไว ๑ คืน นำดนิ เหนยี วกับกระดาษปน มานวดใหเขากัน เปนเน้ือเดียว แลวเก็บใสถุงปองกันไมใหถูกแดดลม ไมใหดินแหงแข็ง วิธีปนไมยากเย็น อะไรเพียงหยิบดินออกมาทีละกอนเล็กๆ ขนาดเทาหัวแมมือ ใชฝามือคลึงดินใหเปนตัว เหมือนลอดชอง หักปลายสองขางทบเขาหากัน กลายเปนลำตัวกับขาทั้งสอง แลวใชดิน ช้ินท่สี องทำตวั ลอดชองอีกตัวหน่ึง แตไมตอ งทบเขา หากนั เพยี งนำไปตอตรงลำตัวสวนบน เปนแขนสองขาง สวนหัวตุกตามีแมพิมพทำดวยปูนปลาสเตอร มีท้ังแมพิมพหัวผูหญิง มผี มทรงดอกกระทมุ และแมพ ิมพห ัวผชู าย มีผมทรงมหาดไทย กดดนิ ออกจากแบบพิมพ เพื่อใหไดสวนหัวมาตอกับสวนลำตัว จัดทาทางใหมีกิริยาตางๆ ตามตองการ จากนั้น ก็นำตัวตุกตาไปตากแดดใหแหง แลวจึงนำไปเผาในเตาถานจนดินสุกดีแลว จึงใชพูกัน ระบายสีน้ำมนั ทต่ี วั ตกุ ตา เพ่อื ทำเปน เครอื่ งแตง ตัวสีตางๆ สว นหนา แขน ขา จะทาสีขาว แลวจึงเขียนสว นประกอบบนใบหนา ตุกตาบางเสด็จจะมีตุกตาเดี่ยว คู หรือจัดเปนชุดแสดงถึงประเพณีและวัฒนธรรมไทย ผฉสู บอับน เชน ชุดดนตรีไทย ชุดแมคาขายของ ชุดลอยกระทง ราคาก็ไมแ พง ศนู ยศ ลิ ปาชพี บางไทร กม็ ีขาย ของ โชติ ศรีสุวรรณ จากหนังสือ ดำรงไทย คำถามและคำตอบจากเรอ่ื ง ตุกตาชาววงั : ตุกตาชาววงั บางเสด็จทำมาจากอะไร : ดินเหนียวเน้ือละเอยี ดจากทอ งนาและกระดาษหนงั สอื พมิ พ : หวั ตกุ ตามีวิธที ำอยางไร : กดดินออกจากแบบพมิ พทที่ ำดว ยปูนปลาสเตอร : สที ใี่ ชใ นการระบายตกุ ตา คือสชี นิดใด : สนี ำ้ มัน : ขัน้ ตอนสดุ ทายของการปน ตกุ ตาคืออะไร : เขยี นสวนประกอบลงบนใบหนา ภาษาไทย ๕ ๖๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ô อานบทความ แลวตั้งคำถามและตอบคำถาม จากน้ันเขียนสรุปใจความสำคัญของ บทความลงในสมุด (ดูเฉลยในหนา พเิ ศษทา ยเลม ) จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา หรอื ท่เี รียกสั้นๆ วา อยธุ ยา เปน เมืองหลวงเกา ของประเทศไทยเปน เวลาถึง ๔๑๗ ป สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี ๑ (พระเจา อูท อง) ทรงสรางเมอื่ พ.ศ. ๑๘๙๓ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพ้ืนท่ีเปนท่ีราบลุม เปนทุงนา และไมมีภูเขา ชาวอยธุ ยาจงึ ทำนาทำสวนเปน สว นใหญ จงั หวัดน้ีจงึ เปนอูขาวอนู ำ้ ของประเทศไทย จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสถานท่ีสำคัญทางประวัติศาสตรอยูมาก มีวัดมากมาย ผฉูสบอับน ท้ังวัดที่มีพระสงฆอยูจำพรรษาและเปนวัดราง มีพระราชวังโบราณซึ่งเคยเปน ท่ีประทับของพระมหากษัตริยส มยั กรุงศรีอยุธยา เปนเมืองแหง ความหลังทเี่ ตือนใจ วาคร้ังหน่ึงคนไทยเคยแตกความสามัคคี เมื่อมีขาศึกมารุกราน จึงพายแพ บานเมืองถูกทำลายยอยยบั ดงั ทร่ี ชั กาลท่ี ๖ ทรงพระราชนพิ นธ ไวว า “ชาตใิ ดไรรักสมคั รสมาน จะทำการสิ่งใดกไ็ รผ ล แมชาติยอ ยยับอบั จน บุคคลจะสขุ อยอู ยางไร” จาก หนังสอื อยุธยา ของ สำนกั พมิ พส ารคดี

การปฏิบัติตนในการอาน การฟง และการดู ¡Òû¯ºÔ μÑ Ôμ¹ã¹¡ÒÃÍÒ‹ ¹ ¡Òÿ˜§ áÅСÒô٠·ÕèàËÁÒÐÊÁ¤Çû¯ÔºÑμÔÍÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð การอาน เปนทักษะในการส่ือสารทักษะหน่ึง ซึ่งพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ อธิบายวา การอาน คือ การวาตามตัวหนังสือ การออกเสียงตามตัวหนังสือ ดู หรือทำความเขาใจความหมายตามตัวหนังสือ สังเกตหรอื พจิ ารณาดูใหเขาใจ การอา น แบงออกไดเ ปน ๒ ประเภท ไดแก ๑. การอานออกเสียง คือ การอานโดยที่ผูอานออกเสียงตามเน้ือเร่ือง ผฉสู บอับน ที่อา นใหผ ูอ่ืนฟง จงึ ควรอา นออกเสียงใหถ ูกตอ ง ๒. การอานในใจ คอื การอา นโดยไมอ อกเสียง ขอ ควรปฏิบตั ใิ นการอา น มีดงั นี้ ๑. ถา อา นออกเสียง ควรอานใหถ กู ตอ งตามอกั ขรวิธขี องภาษาไทย เชน การอา นคำควบกลำ้ การอานคำทีม่ ีอกั ษรการันต การอานอักษรยอ ๒. น่ังอาน หรือยืนอานในทาท่ีสบาย ไมน่ังหอไหล ไมถือหนังสือชิด สายตามากเกินไป และควรอา นหนงั สือในท่ีที่มีแสงสวา งเพียงพอ ๓. ถาไมเขาใจความหมายของคำศัพทคำใด ควรคนหาความหมายจาก พจนานกุ รม ๔. เมื่ออานจบ ควรจับใจความสำคัญของเรื่องท่ีอานวามีเร่ืองราว เปนอยางไร แลว คิดวิเคราะหว า เร่ืองทอ่ี า นมปี ระโยชนหรือคณุ คาอยางไรบา ง http://www.aksorn.com/lib/p/tha_01 (เร่ือง ศลิ ปะการอา น) ภาษาไทย ๕ ๖๗

มารยาทในการอาน ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี ๑. ขณะท่ีคนอ่ืนอานหนังสืออยู เราไมควรรบกวนดวยการพูดคุย หรือ เดนิ เสียงดงั โดยเฉพาะการอา นหนังสือในหองสมดุ ๒. ไมอ านหนงั สอื เสยี งดงั จนเกนิ ไป เพราะเปนการรบกวนผูอนื่ ๓. อยาพับ หรือฉีกหนังสือหนาที่ตองการ ควรคัดลอก หรือใชวิธีการ ถายสำเนาแทน ๔. ขณะท่ีผูอ่ืนอานหนังสือ ไมควรย่ืนหนาเขาไปอานดวย เพราะเปน มารยาทท่ีไมสุภาพ ๕. ขณะอา นหนงั สือ ไมควรรบั ประทานอาหารไปดวย เพราะอาหารอาจ หกเปอ นหนังสือได ๖. เม่ืออานหนังสือยังไมจบ แตตองทำสิ่งอื่นกอน ไมควรคว่ำหนังสือ ผฉูสบอับน หรือพับหนาหนังสือเอาไว เพราะจะทำใหหนังสือชำรุด ควรหากระดาษค่ัน หนาทอ่ี านคางไว ▲ เมอื่ เขามาอานหนังสอื ในหองสมุด ควรมมี ารยาทในการอานและการใชหอ งสมุด ๖๘ ภาษาไทย ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè õ จับคูกับเพ่ือน แลวชวยกันบอกขอควรปฏิบัติในการอาน และใหนักเรียนแตละคน อานออกเสยี งเร่อื งท่กี ำหนดให แลวใหเพื่อนประเมิน การทำงานตองอาศัยความเพียรพยายามจึงจะทำใหงานสำเร็จได ความเพียรพยายามเปนคุณธรรมท่ีจำเปนมากในการทำงาน ยิ่งงานมาก และยากข้ึนเทาใด ก็ตองการความเพียรพยายามมากข้ึนเทาน้ัน ซึ่งความ เพียรพยายามเทาน้ันที่จะทำใหงานสำเร็จไดสมดังคำกลาวท่ีวา “ความ พยายามอยูท่ีใด ความสำเร็จอยูท่ีน่ัน” จึงกลาวไดวาไมมีใครทำอะไร ใหส ำเรจ็ ไดถ า ขาดความเพียรพยายาม การประเมิน : ขดี ✓ ลงในชอ งผลการประเมินตามความเปน จริง ผฉสู บอับน ขอ ควรปฏบิ ัติในการอา น ผลการประเมิน ดี พอใช ควรปรับปรุง ๑) นง่ั หรือยนื และจบั หนงั สอื ในทา ท่ถี กู วิธี ............................. ............................. ............................. ๒) อา นออกเสียงถูกตองตามอักขรวิธี ๓) อา นเสียงดังฟง ชดั และใชนำ้ เสยี ง ข้ึนอยกู บั ดลุ ยพินจิ ของครูผูสอน............................. ............................. ............................. เหมาะสมกบั เนือ้ เรือ่ ง ............................. ............................. ............................. ๔) อานเวน วรรคตอนถกู ตอง ๕) มีมารยาทในการอาน ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ขอควรแกไขในการอาน ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ผปู ระเมิน ............................................................................... ภาษาไทย ๕ ๖๙

การฟงและการดู เปนทักษะในการส่ือสาร ซึ่งควรนำสิ่งท่ีไดฟงและไดดู มาคิดวิเคราะห เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ และนำเร่ืองท่ีฟงหรือดูไปใช ประโยชนในชวี ิตประจำวันได ขอ ควรปฏิบตั ใิ นการฟง และดู มดี งั นี้ ๑. วางตวั ตามสบาย ไมค วรวิตกกงั วลกับสง่ิ รอบๆ ตวั เพอ่ื เตรียมพรอ ม สำหรบั การฟง และดู ๒. ฟง และดอู ยา งตั้งใจ เพ่ือจบั ใจความสำคัญของเร่อื งทฟ่ี งและดู ๓. ฟงและดูใหจบเรื่อง แลวคิดวิเคราะหในเรื่องท่ีฟงและดูวามีคุณคา นาเช่ือถอื หรือไม หรือมีจดุ ประสงคอยางไร ๔. สรุปสาระสำคญั ของเรือ่ งที่ฟงและดูไดอ ยา งถูกตอ ง ผฉูสบอับน ฟง และดูอยางตง้ั ใจ เพ่อื ใหเ ขา ใจเนอื้ เรื่อง มารยาทในการฟง และดู ควรปฏิบัติ ดังน้ี ๑. ฟง และดูดว ยความตง้ั ใจ ไมค ยุ หรอื เลน กนั ไมหลบั และควรจดบนั ทกึ ใจความสำคญั ของเรื่องทฟี่ งและดู ๒. ไมควรกอความรำคาญ หรอื รบกวนผอู ื่น ๓. เมอ่ื มีธุระ และจำเปน ตองออกไป ควรเดินออกไปอยา งสภุ าพเรยี บรอย ๔. ไมควรนำอาหาร เคร่ืองดื่ม หรือนำสัตวเลี้ยงเขาไปฟงหรือดูดวย เพราะอาจกอ ความรำคาญแกผอู ่นื ได ๗๐ ภาษาไทย ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ö ขีด ✓ลงใน ❑ หนาขอ ท่ปี ฏบิ ัตติ นในการฟง และดูอยางเหมาะสม ❑ ๑) นิดนำลูกชิน้ ปง และขา วโพดคั่วไปรับประทานในขณะ ชมภาพยนตร ❑✓ ๒) เหนง นงั่ ฟง วทิ ยากรใหความรูเ ร่อื งยาเสพตดิ อยางต้งั ใจ ❑ ๓) นอยคุยกับหนอ ยเบาๆ ในขณะฟง คณุ ครพู ดู ท่ีหนาเสาธง ในตอนเชา ❑ ๔) นม่ิ นั่งทำรายงานขณะทีฟ่ ง เพ่อื นๆ อภิปรายแสดงความคิดเห็น ❑ ๕) นุม เหน็ วาภาพยนตรไมสนกุ จึงน่งั หลบั ❑✓ ๖) หนิงขออนญุ าตคณุ ครูไปเขา หองนำ้ แลว เดนิ ออกจากหอง ❑✓ อยา งสภุ าพเรียบรอ ย ผฉูส บอับน ๗) นกปด โทรศัพทเคล่อื นท่กี อนเขา ชมภาพยนตรในโรงภาพยนตร ❑✓ ๘) นุกดูโฆษณาสินคาทางโทรทัศน แลวคิดวาโฆษณาสินคาน้ีนา เชื่อถือหรือไม ❑✓ ๙) เนยสรุปสาระสำคัญของภาพยนตรท่ีดู แลวนำไปเลาใหเพ่ือนฟง อยางถูกตอง ❑ ๑๐) หนอ งนำสนุ ัขเขาไปชมการแสดงละครสตั ว ❑✓ ๑๑) หนอ ยสรุปสาระสำคญั ของขา วท่ีไดฟ ง ❑ ๑๒) โหนง วาดรูปเลนเงียบๆ ขณะคุณครูกำลงั สอนเรอ่ื งการอาน จับใจความสำคญั ❑ ๑๓) นอ งชวนพค่ี ยุ ในขณะทีพ่ ก่ี ำลังฟง ขาวจากวิทยุ ❑ ๑๔) หนยุ ดขู า วทางโทรทัศน และทำการบานไปพรอมๆ กัน ❑✓ ๑๕) นักเรยี นฟงคุณครอู ธิบายเรื่องการทำโครงงานอยางต้งั ใจ ภาษาไทย ๕ ๗๑

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. คดิ แลว เขยี นคำตามท่กี ำหนดขอ ละ ๒ คำ แลว นำคำไปแตงประโยคลงในสมดุ พพพยยยาาางงงคคคขึน้ อยกู ับดลุ ยพินจิ ของค๒๔ร))ผู ูสคคอำำนททมี่ี่มีี มฐ./ตัวชีว้ ดั ๑) คำทีม่ ี ๓ ๔ พยางค ๓) คำทม่ี ี ๕ ๖ พยางค ท4.1 (2) ๕) คำที่มี ๗ ๒. นำประโยคท่แี ตง จากกิจกรรมขอ ๑. มาแยกสว นประกอบตามตวั อยางในหนงั สอื มฐ./ตวั ชว้ี ัด ขึ้นอยูก บั ดุลยพินิจของผสู อน ท4.1 (2) ๓. สำรวจตนเองเกีย่ วกับการปฏบิ ัติตนในการฟงและดู โดยขีด ✓ลงในตาราง มฐ./ตัวชีว้ ดั ตามความเปน จริง ท3.1 (5) ผฉูสบอบั น รายการทสี่ ำรวจ พฤติกรรม ๑) พูดคยุ กบั เพือ่ นเบาๆ ขณะฟงครสู อน เปนประจำ เปน บางครัง้ ไมเ คยทำ ๒) ไมห ลบั ขณะทฟ่ี ง หรอื ดู ๓) ลกุ เดนิ เขา ออกขณะชมภาพยนตร ............................. ............................. ............................. ๔) มาถงึ สถานท่ที จี่ ะเขา ชมกอนเวลา ๕) นำอาหารเขาไปรบั ประทานในโรงละคร ข้นึ อยกู บั ดลุ ยพินิจของครูผสู อน............................. ............................. ............................. ๖) คดิ ตามขณะทีฟ่ ง หรือดู ๗) นำขอสงสยั จากการดูมาสอบถามคณุ ครู ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. จากการสำรวจ ฉันควรปรับปรุงพฤติกรรม ดังน้ี ........................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................................................................................................................................................... ๗๒ ภาษาไทย ๕

๔. เลือกคำหรอื กลุมคำทกี่ ำหนดเตมิ ลงในชอ งวา งใหเ ปนประโยคที่สมบรู ณ ๑) เม่ือเชา............................................ ฉนั ไปโรงเรยี นแตเ ชาตรู เกา อหี้ นิ ออน มฐ./ตวั ช้วี ดั ๒) แมว กิน ปลาเปนอาหาร............................................ ท4.1 (2) รองเพลง กิน ๓) หนูดีใสกระโปรง สชี มพู............................................ ลงุ แชม รมิ ตลง่ิ ๔) สมปอง เปนนอ งของสมชาย............................................ ๕) พอ ไมชอบนงั่ รถเมล............................................ ๖) มนตรอี าน หนังสอื การต ูน.................................................... รถเมล สชี มพู ๗) ลุงแชม ตกปลาเกงมาก............................................ หนงั สือการตูน พรุงน้ีเชา ตำ ๘) ชูใจ รองเพลง ไทยเดมิ............................................ เมือ่ เชา ๙) คุณยาย ตำ หมาก............................................ ๑๐) พรุงน้เี ชา............................................ แมจ ะมารับฉันไปเชียงใหม ดงั นน้ั สมปอง ผฉสู บอบั น ๕. จับคูกับเพ่ือน แลวผลัดกันอานออกเสียงบทความที่กำหนดใหเพ่ือนฟง จากนั้นเขียน ตั้งคำถามคนละ ๕ คำถาม และตอบคำถามลงในสมดุ มฐ./ตัวช้ีวัด ขึ้นอยูกับดุลยพนิ จิ ของครผู ูสอน ท3.1 (2) โลมาเปน สัตวเ ลอื ดอนุ ทเ่ี ลีย้ งลกู ดว ยน้ำนม เปน สตั วท ีฉ่ ลาด สามารถ เรียนรูส่ิงตางๆ ไดอยางรวดเร็ว มีความซ่ือสัตยตอเจานาย รักสนุก ราเริง และชอบชวยเหลือเพื่อนปลาอื่นๆ ท่ีออนแอกวาเสมอ มันจะไมกอกวนหรือ รังแกสัตวน้ำอ่ืนๆ เลย จะมีก็แตปลาฉลาม ซึ่งเปนศัตรูคูอาฆาตกันมานาน โลมามอี วยั วะภายใน เชน ลำไส และกระเพาะอาหารคลา ยกบั สตั วบ กมาก โลมาจะมีเวลาพักผอนวันละประมาณ ๒-๓ ชั่วโมงเปนอยางนอย โดยท่ีสมองและตาจะหลับเพยี งคร่ึงเดยี ว เชนเดียวกับวัวและควาย ภาษาไทย ๕ ๗๓

๖. จบั คกู บั เพือ่ น แลวชวยกันบอกขอควรปฏิบตั ิในการอาน และใหแตละคนอา นออกเสียง มฐ./ตัวชีว้ ดั เรอื่ งท่กี ำหนดให แลวใหเ พ่ือนประเมนิ ผล ท1.1 (8) รมบอสรางเปนอุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงของ ตำบลบอสราง อำเภอสันกำแพงซ่ึงอยูในจังหวัด เชียงใหม ทุกๆ วัน จะมีนกั ทอ งเที่ยวจากท้งั ในประเทศ และตางประเทศเขามาชมการทำรม ซึ่งจะมีการสาธิต การทำรมทุกขั้นตอน ต้ังแตการขึ้นโครงรม ไปจนถึง การเขยี นลายรม นอกจากน้ีตำบลบอ สรางยงั มีไมแ กะสลัก เส้ือเขียนลาย ซึ่งงานหัตถกรรมเหลานี้ จัดไดวาเปน ภมู ปิ ญ ญาของคนบอ สรา งท่มี ีมานานแลว และควรท่ีจะอนุรักษต อไป จากหนงั สือ สกุลไทย ฉบบั ที่ ๒๔๘๗ ผฉสู บอบั น การประเมนิ : ขดี ✓ ลงในชอ งผลการประเมนิ ตามความเปนจริง ขอควรปฏิบตั ใิ นการอา น ผลการประเมิน ๑) น่ังหรือยนื และจบั หนงั สือในทา ทีถ่ กู วิธี ดี พอใช ควรปรบั ปรุง ๒) อานออกเสยี งถกู ตองตามอักขรวิธี ๓) อานเสียงดงั ฟง ชดั และใชน ำ้ เสยี งเหมาะสม ข้นึ อยกู บั ดลุ ยพินิจของครูผสู อน............................. .......................................................... ............................. กับเนอ้ื เร่ือง ............................. ............................. ............................. ๔) อานเวน วรรคตอนถูกตอง ................................. ............................. ๕) มีมารยาทในการอา น .............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ............................. ขอควรแกไขในการอาน ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ผูป ระเมนิ ............................................................................... ๗๔ ภาษาไทย ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä ๑. คดิ แลวเขียนคำท่มี ี ๑ พยางค จนถึงคำท่มี ี ๕ พยางค อยางละ ๕ คำ แลว แตงนิทานส้ันๆ โดยใชคำท่ีคิดประกอบอยางนอย ๑๐ คำ พรอมวาดรูป ประกอบนทิ านใหส วยงาม ¤Ó·ÁèÕ Õ ñ ¾ÂÒ§¤ ä´Œ¤Ó¤ÃºáÅÇŒ ¤ÃÒǹ¨Õé Ðá싧 હ‹ ¡Ò ¹¡ ... ¹·Ô Ò¹àÃèÍ× §ÍÐäôչР๒. แบงกลุม กลุมละ ๓ คน หาสำนวนโวหารท่ีเกี่ยวกับการฟง และการดู จากส่ือตางๆ ใหไดมากที่สุด พรอมท้ังหาความหมาย จากนั้นรวบรวมเพ่ือ จัดทำเปน สมดุ บันทึกความรู “สำนวนชวนอาน” ผฉสู บอับน ภาษาไทย ๕ ๗๕

แบบทดสอบท่ี ๓ กา ✗ คำตอบทถ่ี ูกท่ีสดุ ๑. ขอ ใดเปน พยางค ๘. ขอ ใดไมค วรปฏบิ ตั ิในการอา น ก. งง ข. วง่ิ ก. อานออกเสียงคำควบกลำ้ ชดั เจน ค. ยา ✗ง. เช ข. นัง่ หรือยืนอา นในทาทสี่ บาย ๒. ขอใดเปนคำ ค. จบั ใจความสำคัญของเรื่อง ✗ก. ไพร ข. จัว ✗ง. ตะโกนอานเสียงดงั ฟง ชัด ค. เขีย ง. วู ๙. ใครปฏิบัติตนไดเหมาะสมขณะชม ๓. อธปิ ไตย มีก่ีพยางค ภาพยนตร ก. ๒ พยางค ข. ๓ พยางค ✗ก. แมวดภู าพยนตรอ ยางตงั้ ใจ ✗ค. ๔ พยางค ง. ๕ พยางค ข. มกุ เลา เรอ่ื งใหเพอื่ นฟงเมอ่ื ถงึ ผฉสู บอบั น ๔. ขอใดเปนวลี ข. แมเ ดินชา ตอนท่ตี นดูแลว ✗ก. เมื่อเชา นี้ ค. หมิวคุยกบั เพ่อื นอยางสนุกสนาน ค. นกบินสูง ง. นอ งด่มื นม ขณะดลู ะคร ๕. ขอใดเปนประโยค ง. แมนกินปลาหมกึ ปงขณะดู ก. เชา วันนี้ ✗ข. ฝนตกหนกั ภาพยนตร ค. ชีวิตสตั ว ง. สภุ าพบรุ ษุ ๑๐. ใครปฏิบัติตนในการฟงครูพูดไดอยาง ๖. คำถามใดจะไดคำตอบเปนเหตุการณ เหมาะสม ก. อยางไร ✗ข. อะไร ค. ที่ไหน ง. ทำไม ก. นอยคุยกับนกเบาๆ ๗. ประโยคในขอใดตองการคำตอบ ข. เนยอา นการตูนเงียบๆ ก. ใครจะไปรวู า เธอมา ข. ตอ งเปนเธอเทา นน้ั ค. นดิ นั่งทำการบา นเงียบๆ ✗ค. เธอจะไปเทยี่ วไหม ✗ง. นุมจดบันทึกใจความสำคัญของ เร่อื งท่ีครพู ดู ง. เราจะบอกใครดนี ะ ๗๖ ภาษาไทย ๕

ตาราง Ẻº¹Ñ ·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÓ˹Nj  ๒หนว ยท่ี ๓ รายการวัดประเมินผลตามเปาหมายการเรียนรู ประจำหนว ยท่ี ๓ คำช้ีแจง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเตม็ ของกจิ กรรมทต่ี อ งการวดั ผลเพ่ือเกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A) ของนักเรยี น แตล ะคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ชนิ้ งานทม่ี เี ครอื่ งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมนิ รายการเครื่องมือวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู องนกั เรยี น คะแนนรวมดา น ดานความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๕ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสมั ฤทธิด์ า น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นออกเสียง - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ อานออกเสยี ง วรรณกรรม เรือ่ ง การอานออกเสยี ง ทีพ่ งึ ประสงค บทรอยแกว และ จติ สาธารณะ แลว บทรอยกรองได ตอบคำถามจากเรอื่ ง ถกู ตอง ท่ีอา น มฐ.ท. ๑.๑(๘) - ก. พัฒนาการคดิ - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ มีมารยาทในการอาน ขอ ๖ การอาน การอานออกเสยี ง ทีพ่ ึงประสงค บทความ มฐ.ท ๓.๑(๒) - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ ต้ังคำถามและตอบ ขอ ๕ การต้ังคำถาม การฟง ทพ่ี ึงประสงค คำถามเชงิ เหตุผล และตอบคำถาม - แบบประเมนิ ทกั ษะ จากเรอ่ื งทีฟ่ งและดู การอา นออกเสียง มฐ.ท ๓.๑(๕) - ก. พฒั นาการคิด - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ มมี ารยาทในการฟง ขอ ๓ การสำรวจ การคิดวิเคราะห ท่ีพงึ ประสงค การดแู ละการพูด ตนเองเกย่ี วกับการฟง ผฉูส บอับน และดู มฐ.ท ๔.๑(๒) - ก. พฒั นาการคดิ * - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ จำแนกสว นประกอบ ขอ ๑ การคิดและ การคิดวิเคราะห ทพี่ งึ ประสงค ของประโยค เขียนคำแลว แตง ประโยค - ก. พัฒนาการคิด* ขอ ๒ การจำแนก สว นประกอบของ ประโยค - ก. พัฒนาการคดิ * ขอ ๔ การเตมิ คำให เปน ประโยค สว นที่ ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรยี นตามตวั ชว้ี ัด สวนที่ ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรยี น ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ท่ีนักเรียนปฏิบตั ิ ช่อื งาน ...................................................................... สว นท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธปิ์ ระจำหนว ยท่ี ๑-๕ สรุปผลการประเมินพัฒนาการเรียนรปู ระจำหนว ย ผา น ไมผา น ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ระดบั คณุ ภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรบั ปรงุ ➠ ซอ มเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ………………………………………………………………………………. ลงช่ือ ………………………………………………………. ผปู ระเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ภาษาไทย ๕ ๗๗

ถอ ยคำ สำนวน ๔หนวยการเรยี นรทู ี่ เปาหมายการเรยี นรปู ระจำหนวยการเรียนรทู ่ี ๔ ÊÀØ ÒÉÔμ Êӹǹ ·Ó´Õä´Œ´Õ ¤Ó¾§Ñ à¾Â เมื่อเรยี นจบหนว ยนี้ ผเู รยี นจะมคี วามรคู วามสามารถตอไปนี้ ·ÓªÇèÑ ä´ªŒ ÑèÇ ๑. อานออกเสยี งบทรอ ยแกว และบทรอยกรองทก่ี ำหนด ไดถกู ตอง ๒. บอกความหมายของคำทม่ี คี วามหมายโดยนยั จากขอ ความ ทก่ี ำหนดได ๓. ใชส ำนวน สุภาษติ และคำพังเพยไดอยา งถูกตอ ง และ เหมาะสม ๔. เขยี นยอ ความจากเรือ่ งทีอ่ า นได ๕. เขยี นสรปุ ความจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่อี า นได คณุ ภาพทีพ่ ึงประสงคของผเู รียน ผฉูสบอับน ๑. อานไดคลอ งและอานไดเรว็ ขน้ึ ๒. อธิบายความหมายโดยตรงและโดยนยั ของคำ ๓. เขา ใจสำนวน คำพงั เพย และสภุ าษิต ๔. มีทกั ษะในการเขยี นยอ ความ และเขยี นสรปุ ความ แผนผงั ความคิด ประจำหนวยการเรียนรทู ่ี ๔ สาระ เรียนรูหลักภาษา การเรยี นรู คำท่ีมคี วามหมายโดยตรงโดยนยั สำนวน สภุ าษติ คำพงั เพย เบกิ ฟา วรรณกรรม นอมรำลึกพระคณุ ครู จดจำการใชภ าษา การเขยี นยอ ความ การสรุปความ

ขอบขา ยสาระการเรยี นรูแ กนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ชัน้ ป.๕ ตวั ชว้ี ดั ช้ันป สาระพน้ื ฐาน ความรูฝงแนน ตดิ ตวั ผูเรียน มฐ.ท ๑.๑ (๑) อา นออกเสียงบทรอ ยแกว - วรรณกรรมเรอื่ ง - วรรณกรรมเรื่อง นอมรำลกึ พระคุณครู และบทรอ ยกรองไดถูกตอง นอมรำลกึ พระคณุ ครู เปน เรือ่ งเกี่ยวกับพธิ ีไหวครู และดอกไม ท่ีใชในการไหวครู มฐ.ท ๑.๑ (๓) อธบิ ายความหมายโดยนัย - คำทม่ี ีความหมาย - คำทม่ี ีความหมายไมต รงตัว เรียกวา คำทมี่ ี จากเรือ่ งที่อานอยา งหลากหลาย โดยตรงโดยนัย ความหมายโดยนยั มฐ.ท ๒.๑ (๔) เขียนยอ ความจากเร่ือง - การเขยี นยอความ - การเขียนยอ ความ เปน การเขียนเก็บ ท่ีอาน ใจความสำคญั ของเรอ่ื งท่ีอา น มฐ.ท ๔.๑ (๗) ใชสำนวนไดถกู ตอง - สำนวน สุภาษติ - สำนวนไทย เปน คำกลา วมีความหมาย คำพงั เพย เชงิ เปรยี บเทียบ มฐ.ท ๕.๑ (๑) สรปุ เรอ่ื งจากวรรณคดี - การสรุปความ - การสรุปความ เปน การสรุปเร่ืองราวจาก หรือวรรณกรรมทีอ่ า น การอา นหรอื ฟงวรรณคดี หรือวรรณกรรม ตางๆ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ผฉสู บอับน นำคำทกี่ ำหนดให เขียนเรียงเปนสำนวนทถี่ ูกตองตามความหมายทร่ี ะบุ เบยี้ คน มา ไม เทา ผนื ตา ชงั รกั คน หนัง เสื่อ สบิ ผนื มือ ใกล ตา เทา เรอื ปลา กระตา ย ขา ตนื่ เดยี ว ตูม ดู ๑) ของเล็กนอยทีจ่ ะไดแนๆ ควรเอาไวกอ น สิ บ เ บี้ ย ใ ก ล มื อ ๒) ไมพจิ ารณาใหรอบคอบ ไ ม ดู ต า ม า ต า เ รื อ ๓) ยนื กรานไมย อมรบั ก ร ะ ต า ย ข า เ ดี ย ว ๔) คนรกั มีนอยคนชังมีมาก ค น รั ก เ ท า ผื น ห นั ง ค น ชั ง เ ท า ผื น เ ส่ื อ ภาษาไทย ๕ ๗๙

เรียนรูห ลักภาษา คำที่มีความหมายโดยตรงโดยนัย ¤ÓÇ‹Ò “ËÔ¹” ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÇ‹ÒÍ‹ҧäà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤Ð คำบางคำ แมจะมีความหมายตรงตัวอยูแลว แตก็สามารถนำมาใชใน ความหมายใหมท่เี รียกวา ความหมายโดยนยั คอื คำที่มคี วามหมายไมตรงตวั การที่เราจะทราบวา คำนนั้ มคี วามหมายโดยตรงหรือโดยนัย จะตอ งดจู าก คำอนื่ ๆ ในประโยคประกอบดวย เชน ผฉูสบอับน ฉันชอบกินกลวยสกุ ➠ ผลไมชนิดหน่ึง โธเ อย! ของกลว ยๆ ก็ทำไมได ➠ งายมาก ระวังสะดดุ หนิ นะลูก ➠ มวลของแขง็ ทป่ี ระกอบดว ยแร ขอสอบวชิ านหี้ ินมาก ชนิดเดยี วหรอื หลายชนิดทร่ี วมตวั กนั อยตู ามธรรมชาติ ➠ ยากมาก หามเดด็ ดอกไม ➠ ทำใหขาดดว ยนวิ้ หรอื เลบ็ หนงั สอื เลมนี้เดด็ มาก ➠ ดมี าก กำหนดให ➠ แทน “หมายถึง” http://www.aksorn.com/lib/p/tha_04 (เรอ่ื ง สำนวนท่คี วรรู) ภาษาไทย ๕ ๘๐

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃչ̷٠Õè ñ ๑. ขีด ✓ หนาประโยคที่มีคำท่ีมีความหมายโดยตรง และกา ✗ หนาประโยคที่มี คำท่มี คี วามหมายโดยนยั และวงรอบคำทีม่ ีความหมายโดยนัย ❑✗ ๑) ขอ สอบวิชาคณิตศาสตรเ ทอมน้หี มมู ากๆ ❑✗ ๒) ผชู ายคนนนั้ พูดจาไมร ะวังปาก สักวันจะโดนไขโปง ❑✓ ๓) หนิ กอนนัน้ มีรปู รางแปลกตา ❑✗ ๔) อำเภอน้อี ยูไกลปนเทีย่ ง เพราะยงั ไมม ีไฟฟา ใช ❑✓ ๕) บนทอ งฟามดี วงดาวสองแสงสวา งไสว ❑✗ ๖) แมของฉนั เปนแมบ านที่มีเสนหปลายจวัก ❑✗ ๗) หนังเร่อื งนเ้ี ด็ดจรงิ ๆ ผฉสู บอับน ❑✓ ๘) เธอสวมสรอ ยท่รี อ ยดวยลกู ปด ❑✗ ๙) ของกลวยๆ แคนี้ เธอทำไมไดหรอื ❑✓ ๑๐) เขาแตง กายสุภาพเรียบรอยมาก ❑✗ ๑๑) เธออยา โดดรมใหบอยนัก ระวังจะทำงานเสรจ็ ไมท ันเวลา ❑✗ ๑๒) นิดและนอ ยคยุ กันอยางถกู คอ ❑✓ ๑๓) เขาไมช อบสถานที่ที่มีเสยี งดงั อึกทกึ ครกึ โครม ❑✓ ๑๔) บานของนนุ อยูไกลมาก ❑✓ ๑๕) ใครๆ พากนั ช่นื ชมในความประพฤติท่ดี ีงามของเธอ ๒. คิดแลวเขียนคำที่มีความหมายโดยตรงโดยนัย อยางละ ๕ คำ แลวแตงประโยค จากคำลงในสมุด ขน้ึ อยูกับดลุ ยพินจิ ของผสู อน ภาษาไทย ๕ ๘๑

สำนวน สุภาษิต คำพังเพย Êӹǹ ÊÀØ ÒÉÔμ áÅФӾѧà¾Â àËÁÍ× ¹ËÃÍ× áμ¡μÒ‹ § ¡Ñº¢ŒÍ¤ÇÒÁ·ÕèàÃÒ㪌໚¹»ÃШÓÍ‹ҧäà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤Ð สำนวน หมายถึง ถอยคำหรือขอความท่ีกลาวสืบตอกันมาชานานแลว มคี วามหมายไมต รงตามตัว หรือมีความหมายอ่นื แฝงอยู ตวั อยาง สำนวนตา งๆ ➠ เขน็ ครกขนึ้ ภูเขา หรือ เข็นครกข้ึนเขา หมายถงึ ทำงานทีย่ ากเกนิ ความสามารถหรือ ผฉูสบอับน สตปิ ญญาของตน ➠ คางคกข้ึนวอ หมายถงึ คนทฐ่ี านะต่ำตอ ย พอไดด แี ลว ทำ แสดงกริ ยิ าอวดดลี ืมตัว สำนวน มลี กั ษณะ ดงั น้ี ๑. มกี ารซ้ำคำ หรอื ใชค ำทม่ี ีสัมผสั คลองจองกัน เชน • ขบั ไลไสสง มสี ัมผสั สระไอ ระหวาง ไล - ไส • ปากวา ตาขยบิ มีสมั ผสั สระอา ระหวา ง วา - ตา • หามรงุ หามคำ่ มกี ารซ้ำคำ คือ หาม • ฝากผฝี ากไข มกี ารซำ้ คำ คอื ฝาก ๘๒ ภาษาไทย ๕

๒. มีการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งวาเหมือนอีกส่ิงหนึ่ง เพ่ือใหเขาใจงาย ยิ่งขึ้น เชน • แกมแดงเปนลกู ตำลึงสกุ เปน การกลา วเปรียบเทียบ สขี องแกมกบั สขี องลกู ตำลงึ สุก • เงยี บเหมอื นเปาสาก เปน การกลาวเปรียบเทียบถึง ลักษณะความเงยี บวา เงียบมาก ไมมเี สียงอะไร ๓. มลี ักษณะเปน คำคมหรอื คำกลาวท่ีใหแงคิดตา งๆ เชน • มีวิชาเหมือนมีทรพั ยอยูนบั แสน (สุนทรภู) • ไมม คี ำวา แกเ กินไปสำหรบั เรียน สุภาษติ หมายถงึ ขอความหรอื ถอ ยคำส้ันๆ กะทัดรัด มกั มคี วามหมาย ไปในทางแนะนำส่ังสอน มีคติสอนใจ ใหความจริงเก่ียวกับความคิด และแนว ผฉูสบอับน ปฏบิ ัติ ซงึ่ สามารถพิสจู นและเชอ่ื ถือได สุภาษิต แบง ออกเปน ๒ ลักษณะใหญๆ ดังน้ี ๑. สภุ าษิตของนักปราชญต า งๆ รวมถงึ พุทธศาสนสุภาษติ เชน • ทำดีไดดี ทำชว่ั ไดชัว่ • ความกตัญูกตเวที เปน เครอื่ งหมายของคนดี • ความไมมีโรค เปน ลาภอันประเสริฐ ๒. สุภาษิตชาวบา น เปน สุภาษิตที่ไมท ราบวาใครเปนผกู ลาว เชน • นอนสงู ใหนอนคว่ำ นอนตำ่ ใหนอนหงาย • ย่ิงหยุดย่ิงไกล ย่ิงไปยิ่งแค (แค ภาษาถิ่นภาคใต หมายถึง ใกล) • ผทู โี่ กรธไมเ ปน เปนคนโง แตผ ทู ีไ่ มโ กรธเปนคนฉลาด • ขี้เกียจเปนแมลงวนั ขยนั เปนแมลงผึ้ง ภาษาไทย ๕ ๘๓

คำพังเพย หมายถึง ถอยคำท่ีมีความหมายลึกซึ้งกวาสำนวน โดยมี ลกั ษณะติชม หรอื แสดงความเห็นอยูในตัว แตไมถ งึ กับเปน คำสอน คำพังเพย มีลักษณะคลายสุภาษิต แตไมไดเปนคติสอนใจ เพียงแต เปนคำกลาวที่มีลักษณะติชม และแสดงความคิดเห็นอยูในตัว โดยมากจะมี ความหมายซอนอยู ดังน้ัน การใชคำพังเพยจะตองตีความหมายใหเขากับ สถานการณ ตัวอยา ง คำพังเพย ➠ แกะดำ หมายถึง คนทที่ ำตวั แตกตางไปจากผอู ่นื ผฉูสบอับน ➠ จบั ปลาสองมือ หมายถึง ทำงานสองอยางพรอมกันในเวลาเดียวกัน ผลท่ีไดยอ มไมดี ➠ เอามอื ซุกหีบ หมายถึง หาเรอ่ื งเดอื ดรอนหรอื ความลำบากใสตวั โดยใชเ หตุ ขอสังเกต เอามือซุกหีบ มีที่มาจากหบี ออยท่ีใชบ ีบนำ้ ออ ย ซ่งึ หากคนที่ไมไดทำงาน แตเ อามอื ไปแหยในหีบจนโดนบีบขอน้ิวแตก จึงเรียกการกระทำท่ีหาเร่ืองเดือดรอนใสตัวโดยใชเหตุ วา “เอามอื ซกุ หบี ” http://www.aksorn.com/lib/p/tha_04 (เรอ่ื ง สำนวนไทยใชถกู ตอง) ภาษาไทย ๕ ๘๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook