Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.6

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.6

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.6

Search

Read the Text Version

การเขียน และการคัดลายมือ ¡ÒÃà¢Õ¹áÅСÒäѴÅÒÂÁÍ× ·¶Õè ¡Ù µÍŒ § ÁÕ¢ŒÍ¤Çû¯ÔºÑµÍÔ ÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð การเขียน เปนการสื่อสารกันดวยตัวอักษรท่ีผูเขียนเขียนขึ้นเพื่อส่ือ ความรคู วามคิดของตนใหผูอืน่ รบั ทราบ เมื่อเขยี นหนังสือควรเขยี นดวยลายมือ ท่ีอานงาย เปนระเบียบเรียบรอย และสะอาด เพื่อใหผูอานอานงาย สบายตา การเขียนลักษณะดังกลาวสามารถฝกไดดวยการคัดลายมือ ทั้งคัดตัวบรรจง เต็มบรรทดั ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด และคดั หวัดแกมบรรจง ๑. การคัดลายมอื มหี ลกั การ ดังนี้ ๑. วางสมุดหรือกระดาษท่จี ะเขียนใหต งั้ ตรง ๒. จบั ปากกาหรือดนิ สอใหถกู ตองและถนัดมือ เฉฉบลบั ย เลก็ นอ ย ๓. มสี มาธใิ นการเขียน น่งั ตวั ตรง กม เพยี ง ๔. เขยี นตวั อกั ษรใหต รง ไมโ ยเยไปมา ถาจะ เขียนตัวหวดั แกมบรรจงสามารถเขียนตวั อักษรเอนไปทางขวาไดบา ง ✓ ✗ นอกจากน้ี ควรเขียนตัวอักษรใหมีความสูงสม่ำเสมอเปน มาตรฐาน และจดั ชอ งไฟใหพอดี สวยงาม ไมหางหรอื ชดิ เกินไป ๕. เขียนตัวอักษรใหถูกตองตามหลักการเขียนอักษรไทย ซ่ึงมี ลกั ษณะหวั กลม ตวั มน แลวเขยี นรปู สระหรอื วรรณยุกตใ หถูกที่ ภาษาไทย ๖ ๓๓

๒. หลักการเขยี นโดยท่วั ไป ควรปฏิบัติ ดงั นี้ ๑. ใชคำใหถูกตองตรงตามความหมาย โดยตรวจสอบขอมูลจาก พจนานุกรม เพราะคำบางคำออกเสียงและสะกดใกลเคียงกัน แตความหมาย ตา งกัน เชน วิไล แปลวา งาม วลยั แปลวา กำไลมอื , ทองกร, ของที่เปนวงกลม สวน วิลัย แปลวา ความยอ ยยบั การสลาย ทำใหส ลาย ๒. ใชส ำนวนโวหารใหถูกตอง เชน ✓ ทำนาบนหลังคน ✓ ขดุ ดวยปาก ถากดว ยตา ✗ ทำนาบนหัวคน ✗ ขดุ ดวยปาก ถากดวยมอื ๓. เขียนใหถูกตองตามรูปแบบการเขียน เชน การเขียนรายงาน การเขียนจดหมายสวนตัว การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนเรียงความ เฉฉบลับย ยอ ความ เปน ตน เพราะการเขยี นแตล ะอยา งมีรปู แบบการเขยี นแตกตางกัน ๔. การเขียนขอความยาวๆ ควรยอหนา เวนวรรค และเวนชองไฟ ใหเหมาะสม ไมเขียนติดกันเปนพืด เพราะการเขียนเวนวรรคตอนไมถูกตอง จะทำใหผอู านเขา ใจผดิ ได เชน ทน่ี ี่ขายไขไกส ดจากฟารม หมายความวา ทนี่ ขี่ ายไขไกสด จากฟารม เทา น้ัน ไขเปด ไมม ี ทน่ี ีข่ ายไข ไกสด จากฟารม หมายความวา ท่นี ีข่ ายทัง้ ไข และไกส ดจากฟารม นอกจากนี้ ไมค วรเขยี นคำหรอื แยกคำ เชน โรงเรยี น เขยี นคำวา โรง อยบู รรทดั บนขวาสดุ เขยี นคำวา เรยี น อยบู รรทดั ลา งซา ยสดุ ควรเขยี นคำวา “โรงเรียน” ติดกัน เพราะเปนคำเดียวกนั เปน ตน ๓๔ ภาษาไทย ๖

๕. ไมใ ชค ำฟุมเฟอ ยในการเขียน เชน คนรายคายาถูกประหารชีวิตถึงแกความตายแลว ควรใชวา คนรา ยคดีคายาเสพติดถูกประหารชวี ิตแลว ๖. ไมใชป ระโยคกำกวม เชน ฉันไมชอบกินอาหารเย็น เปนประโยคท่ีกำกวม เพราะอาจ หมายความวา ฉันไมชอบกินอาหารที่เย็นชืด หรือฉันไมชอบกินอาหาร มอ้ื เยน็ กไ็ ด จงึ ควรเขียนรปู ประโยคใหชดั เจน ๗. ไมใชคำทับศัพทภาษาอังกฤษ แตควรใชคำท่ีมีบัญญัติศัพท ภาษาไทยแลว เชน โนต ใหใ ชว า จดบนั ทกึ เฉฉบลับย เทป ใหใชว า เครอ่ื งบนั ทึกเสียง รถเมล ใหใชว า รถประจำทาง แอรค อนดชิ น่ั ใหใชวา เครอ่ื งปรบั อากาศ ยกเวน คำที่คนท่ัวไปเขาใจจนถือเปนภาษาสากล จำเปนตอง ทับศัพทเพราะถือวาทุกคนท่ัวโลกสื่อสารเขาใจไดตรงกัน เชน คอมพิวเตอร ซอฟตแ วร ฮารด แวร ดิสก ไดรฟ เอ ไดรฟ ซี เปนตน ๘. ใชคำสุภาพ ไมใชคำหยาบ คำผวน หรือคำคะนองในงานเขียน ท่เี ปน ทางการ เชน หนมุ สาววยั โจข บั รถซง่ิ ควรใชวา หนุม สาววัยรนุ ขบั รถ ดว ยความเรว็ สงู ภาษาไทย ๖ ๓๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ô ๑. เปลยี่ นบทสนทนาทีก่ ำหนดใหถ ูกตองตามหลกั การเขียน (ตวั อยาง) คืนนจ้ี ะมปี ารต ที้ ี่บา นฉนั ใครมไี อเดียเจง ๆ เกย่ี วกับเมนู คืนนบ้ี า ง ......ค....ืน.....น.....้จี ...ะ...ม....ีง...า...น.....เ.ล.....้ยี ...ง....ท....่ีบ....า...น.....ข...อ...ง....ฉ....นั............................ .ใ...ค....ร....ม...ีค.....ว..า...ม....ค....ิด....ด....ๆี.......เ..ก....ี่ย...ว...ก....บั.....ร...า...ย....ก....า...ร...อ....า...ห....า...ร...ค.....นื ....น.....บ้ี....า...ง......... ฉันวา นา จะสตารตดว ยซฟี ดู นะ ..ฉ....นั.....ค....ดิ....ว...า......น.....า...จ...ะ...เ..ร...่มิ....ด....ว...ย....อ...า...ห....า...ร....ท....ะ...เ..ล....น....ะ............................................. ............................................................................................................................................. เฉฉบลับย โอเคฉนั ขอแจมดวยคน เดี๋ยวจะข้ึนแท็กซี่ตามไปนะ ..ต....ก....ล....ง....ว...า ..ฉ.....นั ....ไ...ป....ด....ว...ย....น....ะ......แ...ล.....ว ..ฉ.....นั ....จ....ะ...เ..ร...ีย....ก....ร...ถ....ย....น.....ต....ร ...บั.....จ...า...ง..... ตามไปที่บานของเธอ.......................................................................................................................................... สวนฉันยังไมคอนเฟรมนะ เพราะตองแวะไปช็อปปงกอน ...ส....ำ...ห....ร....ับ....ฉ....นั.....ย....ัง...ไ...ม...แ...น.....ใ...จ.......เ.พ.....ร...า...ะ...ต....อ....ง...ไ...ป....ซ...อ้ื....ข...อ....ง...ก....อ....น..................... ............................................................................................................................................. ง้ันคืนนกี้ เ็ จอกันทีบ่ า นฉันเลยนะ .ถ....า...อ....ย...า...ง...น.....นั้ .....ค....ืน.....น....กี้....ไ็...ป....พ....บ.....ก....นั .....ท....บี่ ....า...น.....ข...อ...ง....ฉ....ัน.....เ.ล.....ย...น.....ะ................ .......................................................................................................................................... ๓๖ ภาษาไทย ๖

๒. อานบทความที่กำหนด แลว คัดบทความดว ยตัวบรรจงครึง่ บรรทดั ลงในสมดุ และเขยี นตอบคำถาม (ดูเฉลยในหนา พิเศษทา ยเลม) เร่ือง พลงั งานทดแทน ครัง้ หน่งึ แกสธรรมชาตเิ ปน สง่ิ ทีไ่ มตอ งการ เนื่องจากมีการใชพลงั งานนอ ย และมีน้ำมันดิบมากเกินความตองการ แตในปจจุบันนี้ แกสธรรมชาติถูกนำมาใช ทดแทนน้ำมันมากขึ้น ท้ังน้ีเน่ืองจากน้ำมันเหลือนอยลงน่ันเอง และราคาน้ำมัน ของโลกก็สูงข้ึน ประกอบกับแกสธรรมชาติจัดเปนเชื้อเพลิงท่ีสะอาด ดวยเหตุน้ี จึงไดมีการพัฒนาโดยการนำเอาแกสธรรมชาติมาใชเปนพลังงานทดแทนมากขึ้น ซึ่งในขณะน้ีประเทศไทยใชแกสธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงแลว โดยไดทดลองใชกับ รถประจำทางของขนสงมวลชนและรถแท็กซี่จำนวนหน่ึง ซึ่งตอไปจะพัฒนาระบบ และอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับสถานีบริการที่รองรับสำหรับผูใชแกสธรรมชาติ ทางภาคอุตสาหกรรมไดนำแกสธรรมชาติไปใชทดแทนน้ำมันและแกสปโตรเลียม- เหลวแลว ในอนาคตแกสธรรมชาติจะมีบทบาทมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมัน เฉฉบลบั ย และแกสปโตรเลียมเหลว ท้ังนี้เน่ืองจาก ราคาของน้ำมันและแกสปโตรเลียมเหลว จะสูงข้ึนเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับราคาแกส- ธรรมชาติ จึงนับวาแกสธรรมชาติเปน ทรัพยากรท่ีสำคัญยิ่งและควรจะสนับสนุน อีกประการหนึ่ง คือ เพ่ือลดการนำเขา นำ้ มันไดอ กี ดวย ทมี่ า : เอกสารวิชาการ กองควบคุมน้ำมันเชือ้ เพลงิ และแกส กรมโยธาธกิ าร เรียบเรียงโดย : สำนกั ความปลอดภัยธรุ กิจแกสธรรมชาติ กรมธรุ กิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน ๑) ใจความสำคัญของบทความนคี้ อื อะไร ๓) จุดประสงคของผูสง สารคอื อะไร ๒) ขอ เท็จจริงของบทความนค้ี อื อะไร ๔) ขอ ความนมี้ คี ุณคาหรือไม อยางไร ภาษาไทย ๖ ๓๗

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ มฐ./ตวั ชี้วัด ๑. คดิ และเขยี นคำตามหวั ขอทก่ี ำหนด แลวเขียนคำอาน และอา นออกเสียงคำ ท1.1 (1) ๑) คำทีม่ ตี ัวการนั ต ดงั นี้ (ตัวอยาง) ▶ คำท่มี ี ค ๓ คำ ประสงค อานวา ประ-สง............................................................................. ............................................................................. ดรุ ิยางค อานวา ด-ุ ร-ิ ยาง............................................................................. ............................................................................. ไตรรงค อานวา ไตร-รง............................................................................. ............................................................................. ▶ คำทม่ี ี ต ๒ คำ คมิ หนั ต อา นวา คมิ -หัน............................................................................. ............................................................................. ซเี มนต อานวา ซ-ี เมน............................................................................. ............................................................................. เฉฉบลบั ย ๒) คำควบกล้ำ ดังนี้ ▶ คำควบกลำ้ แท ๒ คำ ตรงึ ตรา อานวา ตรงึ -ตรา............................................................................. ............................................................................. วิเคราะห อา นวา ว-ิ เคราะ............................................................................. ............................................................................. ▶ คำควบกลำ้ ไมแท ๓ คำ เสริมสวย อา นวา เสมิ -สวย............................................................................. ............................................................................. ทรัพยส ิน อานวา ซับ-สนิ............................................................................. ............................................................................. เศรา สรอย อา นวา เสา-สอ ย............................................................................. ............................................................................. ๓) คำท่มี อี ักษรนำ ๕ คำ ดังน้ี ถนน อานวา ถะ-หนน............................................................................. ............................................................................. อรอย อา นวา อะ-หรอ ย............................................................................. ............................................................................. หมอน อา นวา หมอน............................................................................. ............................................................................. อยาก อานวา หยาก............................................................................. ............................................................................. หนวย อา นวา หนว ย............................................................................. ............................................................................. ๓๘ ภาษาไทย ๖

๒. อา นออกเสียงคำประพันธ “กญุ แจสิบดอกท่ีใชใ นการสนทนา” แลว เขยี นบอก มฐ./ตัวชี้วดั มารยาทในการฟง และการพูดท่ปี รากฏในคำประพนั ธ ท3.1 (6) ท1.1 (1) กญุ แจสิบดอกทใ่ี ชใ นการสนทนา เขาพดู มาอยา งไรต้งั ใจฟง กับอีกทงั้ พดู เร่ืองเขาเอาใจใส อยา ขยายรายละเอียดใหมากไป ไมค วรใชภาษาคาไมมี พูดใหช ดั ท้ังมองดูผฟู งดวย แลว ตองชวยซกั ถามใหถ กู ท่ี หากจะแยงตอ งแยงเขาใหเ ขา ที รูจกั สอดดว ยวิธลี ะมนุ ละไม แมเขาพูดยัว่ ยวนกวนโทสะ ครองตบะไวใหม น่ั อยาหว่ันไหว สมควรชมท้ังชมอยางจรงิ ใจ สิบขอ น้ีรูไวไ ดผลเอย อภยั จันทรวมิ ล ..๑...).......เ.ป....น.....น.....กั ....ฟ....ง....ท....ดี่ ....ี.....................................................................๖....)......ส.....บ....ต....า...ผ....ูฟ....ง........ห....ร....อื ...ผ....ูร...ว...ม....ส....น.....ท....น.....า........... ..๒....)......เ.ล....ือ....ก....เ..ร....่ือ...ง....พ....ูด....ท....่ีท....กุ.....ค....น....ส.....น....ใ...จ....................................๗.....)......เ..ป....ด....โ...อ...ก.....า..ส.....ใ..ห.....ซ ...กั....ถ....า...ม..................................... ฉบบั เฉลย..๓....)......พ....ดู....ใ...ห....ต ....ร...ง....ป....ร...ะ...เ..ด....็น..............................................................๘....)......แ....ส....ด....ง...ค.....ว...า..ม....ค....ิด....เ..ห....น็.....อ....ย...า...ง...ส.....ภุ ....า...พ............. ๔) ใชภาษาสภุ าพ ๙) ใชวิธีพดู ท่ีละมนุ ละไม.................................................................................................................................................................................................................... ..๕....)......พ....ดู....ใ...ห....ช...ดั....เ..จ....น....ถ....ูก....ต....อ....ง...ต....า...ม....อ....กั ....ข...ร...ว...ิธ....ี ..................๑...๐....)......ม....สี....ต....ิ.....ส....า...ม....า...ร...ถ....ค....ว...บ.....ค....ุม....อ...า...ร....ม...ณ......ไ..ด..... .. ๓. แคคลดิัดะคแตลำวัปะบเรขระียรพจนันงแธคผ ร“นึ่งกผบญุ ังรแครจวทขาสัดม้ึนบิ ค๑ดอิดอยจสกบกูรทปุ บั่ีใลคชงดวใในานุลมกสยารมเูรพรุดสื่อินนงทจิ หนขลาอ”กั งกดผาวูสรยเตอขัวยีนบนรรลจงงใเนตส็มมบดุ รรทัด ๑ จบ มทฐ2./.ต1ัวช(1ี้ว)ัด ๔. มฐ./ตัวชวี้ ัด ท2.1 (1) ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä อา นหนงั สอื ทส่ี นใจ แลวปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑) เขียนจำแนกคำควบกลำ้ คำทม่ี ีอกั ษรนำ และคำท่ีมีตัวการันต ลงในสมดุ ๒) เขยี นสรปุ ใจความสำคญั ของเร่ืองลงในสมุด ดว ยตวั บรรจงครง่ึ บรรทัด ภาษาไทย ๖ ๓๙

แบบทดสอบที่ ๒ กา ✗ คำตอบทถี่ กู ท่สี ุด ขอ ๑-๒ คำในขอ ใดเปน คำควบกลำ้ ๗. คำในขอ ใดแตกตา งจากพวก ๑. ก. ตลาด ข. ผลิต ก. ปราดเปรอื่ ง ✗ข. สนทิ สนม ง. อรอ ย ✗ค. แผล ค. ขวนขวาย ง. เศราสรอย ๘. ขอ ใดไมควรปฏิบัติในการอา น ๒. ก. ตลงิ่ ✗ข. ปลอด ค. ปลดั ✗ก. ตะโกนอา นเสยี งดงั ฟง ชัด ง. ถลำ ข. นงั่ หรือยนื อา นในทา ทีส่ บาย ขอ ๓ -๔ คำในขอ ใดอา นถูกตอง ค. อานออกเสียงคำควบกลำ้ ๓. ✗ก. ฉลาด อา นวา ฉะ-หลาด อยา งชดั เจน ข. ปราชญ อา นวา ปะ-หราด ง. จับใจความสำคัญของเรอ่ื งทอ่ี า น เฉฉบลบั ย ค. แหลง อา นวา แห-ลง ๙. ใครปฏิบัตติ นไดเหมาะสมในขณะ ง. สมัคร อา นวา สะ-มกั ชมภาพยนตร ก. ทนิ เลาเรื่องใหกุยฟง ๔. ก. สรอ ย อานวา ซอย ข. อนคุยกับเพ่ือนเบาๆ ข. ทราบ อา นวา ทาบ ค. มดกินปลาหมึกปงขณะดู ค. จนั ทรา อานวา จัน-ทา ✗ง. ฝา ยดูภาพยนตรอยางต้ังใจ ✗ง. ทรุดโทรม อานวา ซุด-โซม ๑๐. ใครปฏิบัติตนในการฟงครูพูด ขอ ๕ -๖ ขอ ใดเขียนสะกดการนั ต ไดอยางเหมาะสม ไมถกู ตอง ก. ตองคยุ กบั ตุยเบาๆ ข. เตยนัง่ ทำการบานเงียบๆ ๕. ก. ภาพยนตร ✗ข. รถยนตร ✗ค. ตจู ดบนั ทกึ ใจความสำคัญ ค. ปาฏหิ าริย ง. ไปรษณยี  ของเร่ืองทค่ี รพู ดู ๖. ก. โทรศัพท ข. อารมณ ง. ตา อานการตนู เงยี บๆ ✗ค. กาวต ูน ง. สายสิญจน ๔๐ ภาษาไทย ๖

ตาราง ẺºÑ¹·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹‹Ç ๒หนวยที่ ๒ รายการวดั ประเมินผลตามเปาหมายการเรยี นรู ประจำหนว ยที่ ๒ คำช้ีแจง : ๑. ครูกำหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมที่ตองการวัดผลเพื่อเก็บสะสม ๒. ครูนำคะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คุณลักษณะที่พึงประสงค (A) ของนักเรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ชิ้นงานที่มีเครื่องหมาย * กำกับ ใหใชประกอบการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมนิ รายการเครื่องมือวดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู องนักเรียน คะแนนรวมดา น ดา นความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) K/P/A ตัวช้วี ัดชัน้ ป.๖ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสัมฤทธด์ิ า น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - ก. พฒั นาการคดิ - แบบประเมิน - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อา นออกเสยี ง ขอ ๑ การคดิ และ ทกั ษะการอาน ที่พึงประสงค บทรอยแกวและ เขียนคำและคำอา น ออกเสยี ง บทรอ ยกรองไดถ กู ตอ ง ตามหัวขอที่กำหนด - แบบประเมนิ ทกั ษะการเขยี น มฐ.ท ๑.๑(๓) - ก. การอา นวรรณกรรม - แบบประเมิน - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อา นเรื่องสนั้ ๆ เร่อื ง ดหู นงั ดูละคร ทกั ษะการอาน ที่พึงประสงค อยา งหลากหลาย แลวยอนดตู วั ออกเสียง โดยจับเวลาแลวถาม แลว ตอบคำถาม - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ เกีย่ วกบั เร่ืองทอ่ี า น - แบบประเมิน ทีพ่ ึงประสงค มฐ.ท ๑.๑(๕) ทกั ษะการเขยี น - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อธิบายการนำความรู - แบบประเมิน ทพ่ี ึงประสงค และความคิดจากเรอื่ ง ทักษะการคดิ ทอี่ านไปตัดสนิ ใจแก วเิ คราะห ปญหาในการดำเนินชีวติ เฉฉบลับย มฐ.ท ๒.๑(๑) - ก. พฒั นาการคิด คัดลายมอื ตัวบรรจง ขอ ๓ การคัดลายมอื เต็มบรรทัดและ - ก. พฒั นาการคดิ * คร่ึงบรรทดั ขอ ๔ การเขยี น แผนผงั ความคดิ มฐ.ท ๓.๑(๖) - ก. พฒั นาการคดิ * - แบบประเมนิ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ มีมารยาทในการฟง ขอ ๒ อา นคำประพนั ธ ทกั ษะการอาน ทพ่ี งึ ประสงค การดู และการพดู แลวตอบคำถาม ออกเสยี ง - แบบประเมนิ ทกั ษะการคิด วิเคราะห สว นท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดา นผลการเรยี นตามตัวช้ีวัด สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรยี น ผลงานกิจกรรมบรู ณาการฯ ท่นี กั เรยี นปฏบิ ัติ ช่อื งาน จำแนกคำตามหมวดหมู สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธิผลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธป์ิ ระจำหนว ยที่ ๑-๕ สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเรียนรปู ระจำหนวย ผาน ไมผาน ๒ พอใช ขอเสนอแนะ ............................................................................................ ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ผานเกณฑประเมิน ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ............................................................................................................................... ลงชอื่ ผูประเมนิ.................................................................................. / /.......................... ......................... ........................ ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงใน แบบบันทึกอื่นที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ภาษาไทย ๖ ๔๑

คาํ ภาษาตา งประเทศ ๓หนวยการเรยี นรูที่ เปา หมายการเรียนรปู ระจำหนว ยการเรียนรูท่ี ๓ ¡¸ÕÌÀ´ØÒÒɧҤºÒÅÕ ´µÓÓàÀùÒÇÉ¹Ô ¨Òà¢Áà เมื่อเรียนจบหนว ยนี้ ผูเ รยี นจะมีความรคู วามสามารถตอไปนี้ À¡ÒÍÉàÒͨº¹ÕÕêÂÐÐËÁÕè ๑. อา นออกเสยี งคำ ขอความ และเรอ่ื งท่ีกำหนดไดถูกตอง แลวตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ีอานได ๒. เขียนยอความจากเรือ่ งทอ่ี านได ๓. รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาตางประเทศ ทใี่ ชใ นภาษาไทยได คุณภาพทพี่ งึ ประสงคของผูเรียน ๑. อา นไดค ลอ ง และอานไดเร็วข้นึ ๒. มีทกั ษะในการเขียนยอความได ๓. เขา ใจความหมายของคำภาษาตา งประเทศ ÀÒÉäÍÒÍÈѧ¡¡àĪÃÉÔéµÁÕ เฉลยฉบับ ในภาษาไทย และนำไปใชไ ดอยางเหมาะสม แผนผงั ความคิด ประจำหนวยการเรยี นรทู ี่ ๓ กาสราเรรียะนรู เรียนรหู ลกั ภาษา คำทมี่ าจากภาษาตา งประเทศ คำจากภาษาบาลี-สันสกฤต คำจากภาษาเขมร คำจากภาษาจนี คำจากภาษาองั กฤษ เบิกฟาวรรณกรรม แมโ พสพ จดจำการใชภ าษา การเขยี นยอความ หลักปฏบิ ตั ิ รปู แบบ วิธีการ

ขอบขายสาระการเรียนรูแกนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ช้นั ป.๖ ตวั ชีว้ ัด สาระพ้ืนฐาน ความรฝู ง แนนตดิ ตวั ผูเรยี น มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เรื่อง แมโ พสพ - วรรณกรรมเร่ือง แมโ พสพ เปนเรอื่ งราว ๑. อา นออกเสียงบทรอ ยแกว และ เกีย่ วกบั ตำนานของเมล็ดขาว และตำนานพธิ ีทำขวัญขาว บทรอ ยกรองไดถกู ตอง ๓. อานเร่ืองส้นั ๆ อยางหลากหลาย โดย จับเวลาแลวถามเก่ียวกับเรื่องทีอ่ าน มฐ.ท ๒.๑ - การเขยี นยอ ความ - การเขยี นยอ ความ เปน การเขียนสรุป ๕. เขยี นยอความจากเรอ่ื งท่อี าน ใจความสำคญั ของเร่ืองทอ่ี า นหรือฟง ตามรปู แบบของการยอ ความแตละ มฐ.ท ๔.๑ - คำท่ีมาจากภาษาตางประเทศ ประเภท ๓. รวบรวมและบอกความหมายของคำ - วรรณกรรม เรอื่ ง แมโ พสพ - คำที่มาจากภาษาตางประเทศ สวนใหญม ักมีตัวสะกดไมตรงมาตรา ภาษาตา งประเทศทใี่ ชใ นภาษาไทย มีหลายพยางค และมตี วั การนั ต มฐ.ท ๕.๑ - วรรณกรรมเร่อื ง แมโพสพ เปน เร่อื งราว ๑. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี เกย่ี วกับตำนานของเมล็ดขาว และตำนานพธิ ที ำขวัญขา ว หรอื วรรณกรรมท่อี า น ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ เฉฉบลบั ย หาคำที่มาจากภาษาตางประเทศจากตารางอกั ษรปริศนาในแนวต้งั และแนวนอน แลวเขยี นลงในชอ งวาง ลิ บ ต อ สุ ภ า พ ซิ ลิปสติก บรรทกุ............................................................................... ป ร ะ มุ ข ร โ ด น สภุ าพ สขุ............................................................................... ส ร ภู ด แ อ ร ด แ ซินแส ประมขุ............................................................................... ติ ทุ ม โ ปู ณี ยั ว ส สรภู แอร............................................................................... ก ก ริ ช ก ำ ก ง บุ โชว ยกั ษ............................................................................... ปุ แ ม ว ว ง ษ ศิ ห กริช บุหงา............................................................................... มอตำ ร า ไ ล ง วงษ ศลิ า............................................................................... ยี ร า ฟ ย กี ฬ า า ตำรา ยรี าฟ............................................................................... กฬี า............................................................................... ภาษาไทย ๖ ๔๓

เรียนรหู ลกั ภาษา คำที่มาจากภาษาตางประเทศ ¤Ó·èÁÕ Ò¨Ò¡ÀÒÉÒµÒ‹ §»ÃÐà·È ÁÕÅ¡Ñ É³ÐÍÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤ÃºÑ คนไทยมีการติดตอกับประเทศตางๆ ท้ังทางดานการเมือง การศึกษา การคา วรรณกรรม ศาสนา วฒั นธรรม และอืน่ ๆ ทำใหมีการรับคำภาษาตางๆ มาใชในภาษาไทยดวย เชน ภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เปนตน การยืมคำภาษาตางประเทศมาใชทำใหภาษาไทยมีคำใช ในการสอ่ื สารกนั มากยิ่งข้นึ คำทยี่ ืมมาจากภาษาตา งประเทศ ไดแ ก เฉฉบลบั ย ๑. คำท่ยี มื มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต มลี กั ษณะ ดงั น้ี ๑. เปนคำท่มี หี ลายพยางค เชน บิดา มารดา ภรรยา กรณุ า ฯลฯ ๒. เปนคำที่มพี ยัญชนะสะกดไมตรงตามมาตรา และมักมตี ัวการันต ดว ย เชน สขุ นพ รัฐ พกั ตร กษาปณ ฯลฯ ๓. เปนคำทป่ี ระสมดว ยพยัญชนะตัว ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฤ ฬ เชน ฆาต มัชฌมิ จุฬา โกฏิ วุฒิ เศรษฐี ฤดู ฯลฯ ๔. เปนคำท่มี ตี วั สะกด ๒ ตวั (แตออกเสยี งเพยี งเสียงเดยี ว) เชน จักร บุตร เพชร เนตร ฯลฯ การอานคำทีย่ มื มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต มหี ลกั การอา น ดงั น้ี ▶ คำบาลี-สนั สกฤตที่ตวั สะกดมสี ระกำกับอยู ไมตองอา นออกเสียง สระนัน้ เชน เหตุ (เหด) พยาธิ (พะ-ยาด) ▶ คำบาล-ี สนั สกฤตทมี่ มี ากกวา ๑ พยางค อา นออกเสยี งพยญั ชนะ ทายพยางคแ รกดว ย เชน วิษณุ (วดิ -สะ-น)ุ อัสดง (อัด-สะ-ดง) ๔๔ ภาษาไทย ๖

๒. คำที่ยืมมาจากภาษาเขมร มลี ักษณะ ดังนี้ ๑. เปน คำท่ีมกั ใชค ำขน้ึ ตนวา บัง บนั บำ และ บรร เชน บังเกดิ บังคม บนั ดาล บำเพญ็ บรรทม ฯลฯ ๒. เปนคำที่มักใชคำข้ึนตนวา กำ คำ จำ ชำ ดำ ตำ ทำ เชน กำเนิด คำนับ จำเรญิ ชำนาญ ดำเนิน ตำรวจ ทำนาย ฯลฯ การอา นคำท่ียมื มาจากภาษาเขมร มหี ลกั ในการอา น ดงั น้ี ▶ อา นออกเสียงตามรูปคำ เชน บำเพญ็ (บำ-เพ็น) บรรทม (บนั -ทม) จำเรญิ (จำ-เริน) ▶ อา นออกเสยี งพยางคที่สองเหมือนมี ห นำ เชน กำเนดิ (กำ-เหนดิ ) ตำรวจ (ตำ-หรวด) เสวย (สะ-เหวย) ๓. คำทยี่ มื มาจากภาษาจีน เฉฉบลับย ภาษาจีนเขามาในภาษาไทยโดยการ ติดตอคาขาย ลักษณะของภาษาจีนกับภาษาไทย มีความคลายคลึงกัน เพราะเปนคำโดด และมีเสียง วรรณยุกตเหมือนกัน ซึ่งคำในภาษาจีนที่ไทยเรา นำมาใช สวนมากเปนคำนามท่ีใชเรียกชื่ออาหาร และเครื่องใชตา งๆ เชน à¡ÒàËÅÒ á»ˆÐ«Ð ¡ÇŽ ÂàµÂëÕ Ç à¡êÕÂÇ ¡ÇŽ ¨ºÑê àµÒŒ ˌ٠ൌÒʋǹ ൌҷ֧ à©Ò¡Ç ¾ÐâÅŒ á΋¡¹êÖ Íé§Ñ âÅ‹ »Ø‡§¡ëÕ µÐËÅÔÇ (àÃ×Í)àÍÕéÂÁ¨¹Ø ÍÑÇê á»Ðˆ à¨êÂÕ Ð Í§éÑ ÂÕè ΋ͧൌ ÏÅÏ เกาเหลา แปะ ซะ กวยเตีย๋ ว เก๊ยี ว กวยจ๊ับ เตาหู เตา สว น เตาทึง เฉากวย พะโล แฮกึน๊ อัง้ โล ปงุ ก๋ี ตะหลวิ เอีย้ มจนุ อัว๊ แปะเจ๊ียะ อง้ั ย่ี ฮองเต ภาษาไทย ๖ ๔๕

๔. คำท่ียืมมาจากภาษาอังกฤษ เรารับภาษาอังกฤษมาใชในภาษาไทย เพราะความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี ซึ่งคำภาษาอังกฤษท่ีรับมา บางคำ เราก็ออกเสียงคำนั้นๆ ตามภาษาเดิม หรือใกลเคียงกับภาษาเดิม สวนบางคำ เราก็คดิ บัญญตั ิศพั ทใ นภาษาไทยใชแทน คำที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ เชน จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส หรืออเี มล มาจากคำวา e-mail เวบ็ บอรด มาจากคำวา web board เว็บไซต มาจากคำวา web site ดาวนโ หลด มาจากคำวา download โปรแกรม มาจากคำวา program คอมพิวเตอร มาจากคำวา computer ไอศกรมี มาจากคำวา ice cream เฉฉบลบั ย ยีราฟ มาจากคำวา giraffe อนิ เทอรเนต็ มาจากคำวา internet ฯลฯ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๑. เขียนจำแนกคำท่ีกำหนดวา มาจากภาษาใด และเขียนคำอา นของคำลงในสมุด (ดเู ฉลยในหนา พเิ ศษทา ยเลม ) บังคม รฐั บาล บรรทม เศรษฐี เตาทึง แกส ตำรวจ อง้ั โล พกั ตร ฤทยั โชว ปงุ กี๋ แทก็ ซ่มี เิ ตอร เกม กรฑี า แปะ ซะ ชำนาญ ดำเนนิ เพชร วฒุ ิ ๔๖ ภาษาไทย ๖

๒. หาคำท่ียมื มาจากภาษาตา งๆ จากพจนานุกรม แลว เขยี นคำและความหมาย ลงในตาราง (ตัวอยาง) คำ มาจากภาษา ความหมาย รศั มี บาลี-สันสกฤต แสงสวา ง...................................... ............................................. .................................................................................................................... บงั คม เขมร แสดงความเคารพพระมหากษตั ริย...................................... ............................................. .................................................................................................................... บันทึง ชวา บนถงึ , คอย...................................... ............................................. .................................................................................................................... ปทุม บาลี-สนั สกฤต บัวหลวง, บวั กา น...................................... ............................................. .................................................................................................................... .........เ..ต....า...เ..จ....ยี้ ...ว........... จีน............................................. .......ถ....ั่ว...เ.ห.....ล....อื ...ง....ท....ี่ห....ม....ัก....เ..ก....ล....ือ...ส.....ำ...ห....ร...บั.....ป....ร...งุ....อ...า...ห....า...ร............ ไตก ง จนี นายทายเรอื สำเภาหรอื เรอื จบั ปลา...................................... ............................................. .................................................................................................................... นที บาลี แมน ้ำ...................................... ............................................. .................................................................................................................... ฟารม อังกฤษ อาณาบรเิ วณท่ีใชท ำเกษตรกรรม...................................... ............................................. .................................................................................................................... มัจฉรี บาลี-สนั สกฤต คนตระหน่ี...................................... ............................................. .................................................................................................................... ฉบับ ดำเนนิ เขมร เดิน, ไป เฉลย...................................... ............................................. .................................................................................................................... ....อ...นิ.....เ..ท....อ....ร...เ..น.....็ต...... องั กฤษ............................................. .......เ..ค....ร...ือ....ข...า...ย...ค.....อ...ม....พ....วิ...เ..ต....อ....ร...ข...น.....า...ด....ใ...ห....ญ.....ท ....เี่..ช...ื่อ....ม...ต....อ........ กบั คอมพวิ เตอรทว่ั โลกเขา ดว ยกัน...................................... ............................................. .................................................................................................................... ปรงั เขมร เรยี กนาท่ที ำในฤดูแลงนอกฤดทู ำนา...................................... ............................................. .................................................................................................................... ........ก....ว...ย....เ..ต....๋ีย...ว.......... จีน............................................. .......ช...่ือ....ข...อ...ง....ก....นิ.....ช...น....ดิ....ห.....น....ง่ึ.......ท....ำ...ด....ว...ย...แ....ป....ง...ข...า...ว...เ..จ....า............. เปน เสนๆ...................................... ............................................. .................................................................................................................... สวติ ช...................................... องั กฤษ............................................. .......อ...ุป....ก.....ร...ณ......ไ ..ฟ.....ฟ....า...ช...น.....ิด....ห....น.....ึง่ ......ใ...ช...ส....ำ...ห....ร....ับ....ป....ด.................. หรือเปด หรือเปล่ยี นวงจรไฟฟา...................................... ............................................. .................................................................................................................... ครสิ ตมาส อังกฤษ วันสมภพของพระเยซู...................................... ............................................. .................................................................................................................... ตงฉนิ จนี ซ่ือตรง, ซื่อสัตย...................................... ............................................. .................................................................................................................... ทรัพย สันสกฤต เงินตรา, สมบตั ิพัสถาน...................................... ............................................. .................................................................................................................... ทรุ าคม บาลี การถงึ ลำบาก, การอยทู างไกล...................................... ............................................. .................................................................................................................... นฤมิต บาล-ี สันสกฤต สรา ง, แปลง, ทำ...................................... ............................................. .................................................................................................................... ภาษาไทย ๖ ๔๗

เบกิ ฟาวรรณกรรม แมโพสพ เย็นวันหนึ่ง ขณะท่ีไพลินกำลังรับประทานอาหารเย็นกับคุณพอ คุณแม และคณุ ยายอยนู ั้น เสียงคุณแมก ด็ งั ขึน้ Á´...·ÓäÁ äÁ‹´¹Õ ШЍ ÍŒÒÇ! äÁ´‹ ÂÕ Ñ§ä§¤Ð ¹§èÑ à¢ÂèÕ ¢ÒŒ ÇàŹ‹ Í‹ҧ¹éѹŋÐÅÙ¡ เฉฉบลับย ยงั ไมท นั ท่คี ณุ แมจะตอบ คณุ ยายกพ็ ูดข้ึนวา “แมโ พสพจะโกรธเอานะซี ตอ ไปทานกจ็ ะลงโทษไมใหพวกเรามขี าวกนิ ” “แมโ พสพคือใครหรอื คะ” ไพลินเริม่ สนใจ ยงั ไมท ันทไ่ี พลนิ จะไดรับคำตอบ คณุ พอก็ตดั บทข้นึ มา “พอ วา ลูกกินขาว ใหเสร็จกอน แลวคอยใหคุณยายเลาใหฟงจะดีไหมลูก ออ! แลวก็ระวังอยาให ขา วหกนะลกู ” “คะ” ไพลินรับคำ แลว รับประทานตอไป หลังจากชวยคุณแมลางจานเสร็จแลว ไพลินไมลืมเตือนคุณยายเร่ืองที่ จะเลา เกยี่ วกับแมโพสพใหฟง “แมโพสพนี่นะลูก” คุณยายเริ่มเรียบเรียงเรื่องราว “มันเปนความเช่ือ ของคนในสมัยกอนโดยเฉพาะชาวนา เขาจะเชื่อวา ในเมล็ดขาวมีเทพธิดาอยู กค็ ือ แมโ พสพ ซงึ่ มีตำนานกำเนดิ แมโ พสพเลา ไวว า...” ๔๘ ภาษาไทย ๖

เทพธิดาองคหน่ึงท่ีอยูในสวรรคช้ันดาวดึงสต้ังปณิธานวา จะอุทิศรางกาย ใหเปนประโยชนแกมนุษยและสัตว จึงไปขอพรจากพระอินทร ครั้นไดรับพรแลว ก็จุติมาเกิดในโลกมนุษยเปนหญิงรูปงาม แตยังไมทราบวาจะอุทิศรางกายใหเปน ประโยชนแ กสัตวและมนษุ ยไดอยา งไร จงึ เขา ไปไหวขอพรจากฤๅษีตาไฟ ขณะนนั้ ฤๅษีกำลังจะเขาฌาน บังเอิญไดยินเสียงผิดสังเกตจึงลืมตาดู อำนาจสายตาท่ี รอนแรงทำใหหญิงรูปงามไหมจนเหลือแตกระดูก ฤๅษีสงสัยวาเจาของกระดูก ประสงคอะไรที่เขามากราบไหว จึงหยิบน้ำเตาแกวบรรจุน้ำมนตวิเศษประพรม ลงไปท่ีกองกระดูก ช่ัวพริบตาก็ปรากฏรางหญิงสาวอยูตรงหนา ฤๅษีไดทราบจาก คำบอกเลา ของนางวา เธอตอ งการอุทิศรางกายใหเปน ประโยชนแกมนษุ ยแ ละสัตว ท้ังตองการใหรางกายมีกล่ินหอม ฤๅษีจึงบันดาลใหรางกายนางเปนเมล็ดขาว ขนาดใหญเทาลูกมะพราว มีกล่ินหอมชวนรับประทาน ใหชื่อนางผูนี้วา โพสพ เปนเทพธดิ าแหง ขา ว พอคุณยายเลาจบคณุ แมก็พูดข้นึ วา “นอกจากน้ยี ังมตี ำนานเมล็ดขา วอกี เฉฉบลบั ย แมจะเลา ใหฟง” สมัยหน่ึงนานมาแลว มีพระราชาองคหน่ึงพระนามวา พระเจาวิรูปกษ พระองคทรงปกครองไพรฟาขาแผนดินดวยความเมตตา วันหนึ่งไดมีขาวทิพย เมล็ดใหญเทาดุมเกวียนตกจากสวรรคลงมาในพระราชอุทยานของพระเจาวิรูปกษ พอดี พวกมหาดเล็กที่รักษาอุทยานเห็นเปนของแปลกไมเคยพบเห็นมากอน เพราะในครั้งน้ันมนุษยยังไมรูจักขาว กินแตถั่วแตงา มหาดเล็กคนหนึ่งจึงไดนำ เมล็ดขาวข้ึนถวายพระเจาวิรูปกษ พระองคจึงถามวาไดมาจากไหน มหาดเล็กก็ กราบทูลวา ไดม าจากอทุ ยาน พระองคจงึ ใหม หาดเล็กนำกลับไปคืนไวที่เดมิ ตอมาเมล็ดขาวก็เร่ิมแตกเปนกอ มีสาขาสูงใหญและต้ังทองออกรวง ตามลำดับ มีเมล็ดยาวถึง ๕ กำมือกวา จะหาเมล็ดลีบก็ไมมี ลวนแตมีเมล็ด อนั เตม็ สมบรู ณท งั้ สน้ิ สนี นั้ เลา กข็ าวบรสิ ทุ ธมิ์ กี ลนิ่ หอมเหมอื นนำ้ นม พระเจา วริ ปู ก ษ จงึ โปรดใหป ระชาชนทำยงุ ฉางไวใสข าวสำหรับหงุ กิน ภาษาไทย ๖ ๔๙

ไพลนิ ฟง ตำนานทง้ั สองเรอ่ื งอยา งตงั้ ใจ แลว พดู วา “คณุ ยายคะ คณุ แมค ะ มดไมเ คยคดิ วา จะมตี ำนานทน่ี า ฟง และสนกุ ๆ อยา งนเี้ ลยคะ ” คณุ แมเ หน็ ลกู สาว สนใจ จงึ เลา ตำนานเรื่องเมล็ดขา วใหไ พลนิ ฟงดวยวา แตกอนขาวเปนพืชประหลาดท่ีออกรวงเปนขาวสารเลย และมีกล่ินหอม นากิน ใครตองการกินตอนเย็นก็ไปเก็บเอามาหุงตอนเย็น ไมตองเสียเวลามาตำ มาสีใหลำบาก และขาวที่ไปเก็บมานั้น ก็จะเจริญงอกงามข้ึนมาทดแทนดังเดิม ไมมขี าดตกบกพรอง ไมร ูจกั หมดสนิ้ ความสะดวกสบายในคร้ังน้ันมีมากมายนัก แมแตเครื่องหุงก็ไมตองหา เพราะจะบังเกิดหมอแลวก็บังเกิดเปนไฟข้ึนมาเอง พอสุกแลวก็ดับไปเองแบบ อัตโนมัติ แลวขาวท่ีหุงนั้นก็มีรสชาติวิเศษนัก ไมตองมีกับก็กินอรอย ตองการรส เปรย้ี วหวานมันเค็มอยา งไร ก็บังเกิดรสเหลานัน้ ข้ึนมาเองมติ องปรงุ ใหเหน่อื ยแรง คร้ันกาลนานมา กิเลสตัณหาของมนุษยมากขึ้น ความขี้เกียจและความ เฉฉบลับย ละโมบมีมากข้ึน ตางก็พากันคิดเห็นวา การท่ีตองไปเก็บขาวนอกบานมาหุงนั้น มันลำบากนัก สูเก็บเอามาไวในบานไมได ไมตองเดินไปใหเมื่อยขา เมื่อคิดได ดังน้ันแลวก็พากันไปเก็บเกี่ยวเอามาไวในบาน ตั้งแตน้ันมาขาวท่ีเคยงอกงาม ข้ึนเองก็หายไป เมื่อเก่ียวลงไปท่ีใดที่นั้นก็ไมงอกข้ึนมาอีก และขาวที่เก็บเกี่ยว มานั้นก็เส่ือมคุณภาพ มีเปลือกหอหุมขึ้นมา จะกินแตละคร้ังก็ตองตำตองสี เอาเปลือกออกเสียกอน เครื่องหุงตางๆ ก็ตองจัดหาเอง คนในยุคหลังๆ จึงตอง ปลกู ขาว เมอื่ ขาวออกรวงจึงไปเกบ็ เกี่ยวขาวมาสี แลวจึงจะนำขาวทีไ่ ดมาหุงหรอื ปรุงอาหารตอ ไป “โอโฮ! ทำไมมนษุ ยถ ึงทำอยางนน้ั ละ คะ เลยทำใหลำบากกันหมด” “มาพอจะเลาบาง” คุณพอนั่งฟงอยูอดมีสวนรวมไมได เลยขอเลาบาง “พอจะเลาตำนานพิธีทำขวัญขาวตอจากตำนานเร่ืองเมล็ดขาวของแมเขาใหฟง เรอื่ งมีอยูวา ...” ๕๐ ภาษาไทย ๖

ในคร้ังน้ันจะหุงกินแตละครั้งก็ยากเย็นนัก ตองใชมีดใชขวานผาฟนขาว เขา ไป เพราะเมลด็ ขา วมขี นาดใหญม าก ผานมาหลายสบิ หมืน่ ป ขาวที่เคยยาวถงึ ๕ กำมือเศษ ก็หดส้ันลงเหลือเพียงสี่กำมือเศษ แตรสและสีก็ยังคงเหมือนเดิม ตอมาก็มีเหตุชวนสลดใจทำใหขาวตองหดสั้นเขาไปอีก ท้ังนี้เกิดจากหญิงหมาย ผูหน่ึงที่มีชื่อวา กาไว นางเปนหญิงหมายที่ใจดำอำมหิต เม่ือสามีตายแลวนางก็ เปนคนยากไรอนาถาหาท่ีพ่ึงมิได เพราะความปากรายของนางเองเปนตนเหตุ นางจึงยากจนขัดสน แมแตมีดที่จะใชผาเมล็ดขาวหุงกินก็ไมมี ตองขอยืมเขาใช คราวหน่ึง นางทำยุงฉางจะเอาใสขาวดวยตนเอง แตยังไมทันเสร็จดี บรรดาขาว เม่ือเห็นนางกาไวทำยุงก็พรอมใจกันบินมาสูยุงนั้นจนเต็มไปหมดแทบจะหาท่ีนั่ง ทีน่ อนไมได นางกาไวเหน็ เชน น้นั ก็มคี วามโกรธเคอื งมาก จึงดาวา และเอาไมทุบตี ขาวอุตลุด ฝา ยขา วเมอ่ื เหน็ วา การทำคณุ ของตนกลายเปนบชู าโทษเชนนน้ั ก็เคือง จึงพากันบินหนีไปสูปาหิมพานตอันเปนแดนไกลจากมนุษย ทำใหมนุษยและ สัตวโลกเดือดรอนเพราะไมมีอาหาร จึงไปขอรองใหฤๅษีทำพิธีเชิญขาวกลับมา เฉฉบลับย จากปาหิมพานต ขาวก็บินกลับมา จากน้ันเม่ือชาวนาเก็บเกี่ยวขาวและนำข้ึน ยงุ ฉางเสรจ็ แลว กจ็ ะมปี ระเพณที ำขวญั ขา ว (พธิ เี รยี กขวญั ขา ว) เปน การปลอบขวญั แมโพสพทุกป และเกิดขนบธรรมเนียมไหวขอบคุณแมโพสพทุกครั้งหลังกิน ขา วอม่ิ “ดังนั้น เราตอ งทำดีกับขา ว ไมทำส่งิ ทไ่ี มด ีกบั ขาวนะจะ ” คุณยายพูดขึน้ “คุณแมคะ ทำไมดีกับขาวนท่ี ำยงั ไงคะ” ไพลนิ สงสยั “ก็อยา งเชน ถา เหยียบขา ว แมโ พสพกจ็ ะไมพ อใจ หรือเอาชอ นเคาะจาน ขณะกินขาว จะทำใหแมโพสพตกใจ ถาเราปฏิบัติตอขาวไมดี ไมเคารพ หรือ กระทำรนุ แรง แมโ พสพกจ็ ะหนีจากไป ทำใหเกิดความอดอยากได” “แลวคณุ แมเชือ่ วา มแี มโพสพในเมลด็ ขา วจริงๆ ไหมคะ” ภาษาไทย ๖ ๕๑

“แมกไ็ มร วู า แมโพสพจะมจี รงิ หรอื เปลา แตแมก ช็ ื่นชมวา คนในสมยั กอ น เปนคนออนโยน รักธรรมชาติ ไมอยากทำรายเมล็ดขาวท่ีเปนอาหารหลักของ มนุษย และการที่คุณยายกับแมคอยเตือนลูกไมใหกินขาวเหลือหรือกินขาวหก ก็เพราะขา วเปนของสำคัญ กวาชาวนาจะปลูกขา วออกรวงมา ไหนจะคอยดแู ล ไมใหขาวโดนศัตรูพืชกัดกิน ไหนจะตองเกี่ยวขาวเอามาสีอีก กวาเราจะได ขาวสารมาหุงกิน ทุกคนก็ตองทำงานกันอยางเหน็ดเหนื่อยท้ังนั้น เราจะกินทิ้ง กินขวา งไมไดนะจะ ” คณุ แมตอบพลางสอนลกู ไปดวย “คะ...คุณแม” ไพลินรับคำ แลวก็พูดตอ “มดวาคุณแมก็เหน่ือยเหมือน กนั นะคะ เพราะแมต อ งคอยหงุ ขา วใหค ณุ ยาย คณุ พอ แลว กม็ ดดว ย ถา อยา งนนั้ มดจะไมกนิ ขา วเหลอื หรือไมก นิ ขาวหกอกี แลว คะ” “ดแี ลว ละ จะ ” คณุ พอ และคณุ แมพ ดู ขนึ้ พรอ มๆ กนั สว นคณุ ยายกล็ บู ศรี ษะ หลานสาว ตางเอ็นดูท่ีไพลินเปนเด็กนารัก มีความคิด และจิตใจดี และยัง เฉฉบลบั ย ออนนอ มถอมตนอีกดว ย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ò ๑. ฝกอานออกเสยี งบทอา นจนอานไดคลอ ง และหาความหมายของคำตอ ไปนี้ โพสพ เทพธดิ า ดาวดึงส ปณิธาน อุทิศ จุติ ฌาน ดุม ยงุ ฉาง อัตโนมัติ ๒. บ๑ตอ)ังเบกกคดิ าำรถทกาำมเิ ลดจสกี าบักขเตราณัือ่ วงหทสาา่ีอมา ลนาขะรนึ้ โถดมอทงั บยนำูกไี้ ดบั แอดลยุละาอยงำพไมรนิ หบจิิตา ขงองผูสอน ๒) นักเรียนคดิ วา ความเช่อื เรอื่ งแมโพสพมปี ระโยชนหรือไม เพราะเหตใุ ด ๓) นักเรียนคิดวา ความเช่อื ตางๆ ท่ีคนโบราณสอนเอาไวมีประโยชนห รือไม อยางไร พรอ มกบั ยกตวั อยา งประกอบ ๓. สบื คน ตำนานเร่อื งขาวเพิ่มเตมิ จากส่อื ตา งๆ แลวผลัดกนั เลา ใหเ พือ่ นฟง ๕๒ ภาษาไทย ๖

จดจำการใชภาษา การเขียนยอความ ¡ÒÃà¢ÂÕ ¹Â‹Í¤ÇÒÁ ÁËÕ Å¡Ñ »¯ÔºµÑ ÔÍÂÒ‹ §äà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤ÃѺ การยอความ เปนการเก็บบันทึกเร่ืองราวท่ีอานหรือฟงมา เพื่อนำไปใช ประโยชนใ นโอกาสตา งๆ ตอ ไป และยงั สามารถถา ยทอดเรื่องราวไปยังผอู ื่นได การยอความท่ีดนี นั้ จะตองเก็บใจความสำคัญของเร่ือง แลวนำมาเขียน เรยี บเรยี งใหมโดยไมทำใหส าระสำคญั ของเรอื่ งคลาดเคลอื่ นหรอื หายไป หลกั ปฏบิ ัตใิ นการเขียนยอความ มีดังนี้ เฉฉบลับย ๑. อา นหรือฟง เร่อื งราวอยางตั้งใจตั้งแตต นจนจบจนเขา ใจ ๒. พยายามจบั ใจความและแยกใจความสำคญั ของเร่อื งวา ▶ ใคร ▶ เม่อื ไร ▶ ทำอะไร ▶ กับใคร ▶ ทไี่ หน ▶ ผลเปนอยางไร ๓. นำใจความสำคญั มาเรยี บเรียงใหม ๔. ถาเรื่องท่ียอเปนบทรอยกรองหรือบทสนทนา ตองนำมาเรียบเรียง เปน รอยแกวเสียกอน ๕. ถา ในเร่อื งใชสรรพนามบรุ ษุ ที่ ๑ หรือ ๒ เชน คณุ ผม ใหเปลย่ี น เปนสรรพนามบุรุษท่ี ๓ แทน เชน เขา ทาน ถาเปนคำราชาศัพทก็ใหคงไว อยา งเดิม ๖. เขยี นยอ ความตามรูปแบบของการยอความแตล ะประเภท ภาษาไทย ๖ ๕๓

รปู แบบการเขียนยอ ความ การเขียนยอความมีรูปแบบสำคัญท่ีสวนของคำนำยอความ ทั้งนี้คำนำ ยอความจะตางกันไปตามประเภทของเนื้อเร่ืองที่ยอ แตมีจุดมุงหมายตรงกัน คือ ตอ งการใหผอู า นทราบทีม่ าของเรอ่ื ง รปู แบบของคำนำยอความ สามารถแบงตามประเภทเนอ้ื เรอื่ งได ดงั น้ี ๑) การยอเร่ืองประเภทรอยแกว ไดแก ความเรียง นิทาน นิยาย ตำนาน บทความ สารคดี ชวี ประวัติ ฯลฯ จะตอ งบอก ช่อื เรื่อง ชอ่ื ผูแ ตง และ ท่มี าของเร่ือง ถาเรอ่ื งเดิมไมม ชี ่ือเรอ่ื งตองตัง้ ช่อื เรอ่ื งดว ย ดังน้ี ยอนทิ านเร่ือง ของ จาก ความวา.......................​............. ........................​ ...... ........................​ .................................. ยอ ตำนานเร่ือง ของ จาก ความวา......................​ ........... ........................​ ...... ........................​ .................................. ยอ บทความเรือ่ ง ของ จาก ความวา.................​........... ........................​ ...... ........................​ .................................. เฉลย ยอสารคดีเร่ือง ของ จาก ความวาฉบับ .......................​........... ........................​ ...... ........................​ ......... ......................... ยอ นยิ ายเร่ือง ของ จาก ความวา........................​ .............. .......................​....... .......................​................................... ๒) การยอเรื่องประเภทรอยกรอง ไดแก วรรณคดี นิทานคำกลอน บทดอกสรอ ย กลอนสักวา และบทรอ ยกรองทว่ั ๆ ไป จะตองบอกประเภทของ บทรอยกรอง ช่ือเรื่อง ช่ือตอน ชื่อผูแตง ท่ีมาของเร่ือง ถาบทรอยกรองน้ัน ไมม ชี ือ่ เรอื่ งใหตั้งช่อื ดว ย ดังน้ี ยอ กลอนบทละครเรื่อง..................ตอน.................... ของ จาก ความวา................... ................ ................. ยอนทิ านคำกลอนเร่ือง..................ตอน....................ของ...................จาก................ความวา ................. ยอ บทดอกสรอยเร่ือง......................ตอน....................ของ...................จาก................ความวา ................. ยอกลอนสักวาเรอ่ื ง ตอน ของ จาก ความวา........................... .................... ................... ................ ................. ยอ วรรณคดีเร่อื ง ตอน ของ จาก ความวา.................................. .................... ................... ................ ................. ๕๔ ภาษาไทย ๖

ตัวอยา ง การยอเรอ่ื งประเภทรอยแกว นกอีแพรด เรื่องของนกตัวเล็กๆ ท่ีบาน มันเปนนกกินแมลง กินยุง ดูเหมือนจะมีช่ือตาม ภาษาชาวบานสวนเรียกกนั วา นกอแี พรด ตัวมันเล็กกวานกกระจอก โตกวานกกระจิบ สีน้ำตาลแกคาดขาวท่ีอก รูปราง กระเดยี ดไปทางนกกางเขน ปกหางก็คลา ยกัน แตนกอีแพรดหางยาวกวา มันขยนั รอ งและรองเสียงไพเราะนาฟง มนั ชอบบนิ โฉบไปโฉบมาบนกงิ่ ไมใกลๆ ระเบยี งบา นที่ผมตัง้ โตะเขียนหนังสอื วันหนึ่ง สกั สองปม าแลว มันบินเขาไปในหองตัวหนึ่ง ผมจบั ตวั มนั ได อยากเลี้ยง ไวด เู ลน จงึ เอาตัวมนั ไปใหอยูรวมกับเพื่อนนกหลายชนิดในกรงใหญเ ทา หองนอนขา งโรงรถ นกตัวน้ีมันมีคูของมันอีกตัวอยูขางนอกกรง คูของมันบินวอนรองเรียกหาทั้งวัน ผมสงสาร ตัดสินใจปลอย เลิกเลี้ยง แตตัดสินใจชา มันไมกินอาหาร เอาหัวปกดินตาย เสียกอน ทำนองจะฆา ตวั ตาย เฉฉบลบั ย ผมย่ิงสงสารศพมันจับใจ สัญญากับตนเองวาจะไมจับมันมาเลี้ยงดูเลนอีกแลว บา นผมมีตน ไม ปลกู ไวโตๆ เต็มบา น นกอแี พรดชุม เพราะแมลงและยุงชกุ ชุม ทท่ี ผี่ มนัง่ เขยี นหนงั สอื กม็ แี มลงและยุงอาหารของมนั อแี พรดชอบบนิ มาเกาะโตะ เขียนหนังสือโฉบจิกไปกิน จนเผลอใหผมเอื้อมมือจับมันเลนๆ แตบังเอิญจับตัวมันไดพอดี เขา อีกตวั หนึง่ มันรองเสียงหลง แลวผมก็นึกถึงคำม่ันสัญญากับตนเองที่วาจะไมจับมันมาเล้ียงไว ในกรงอีก ผมปลอยมันไป พูดกับมันดวยใจวาจะไมทำอะไรหรอก เข็ดแลว เราเปนเพื่อน กันนะ ไวใจเพือ่ นเถอะ ไมทำอะไรหรอก อแี พรดตวั นั้น มนั ยงั อยกู ับผม เปน เพอ่ื นกบั ผมจนบดั นี้ มันไมกลัวผมอกี แลว ผมน่ังเขียนหนังสือ มันชอบบินมาเกาะท่ีขอบโตะเลนกับเคร่ืองโทรศัพทสงเสียง จๆู จ๋ๆี ขับกลอ มผม มันเคยใจกลาบินมาเกาะท่ีบาผมก็มี เร่ืองนี้ไมมีคติสอนใจอะไรเลย มันเปนเพียงเรื่องจริงวา คนเราถาต้ังใจจะไมรังแก สตั ว สตั วมันก็รูโดยสญั ชาตญาณและไวว างใจคนไดเ หมือนกัน “อิงอร” (นามปากกา) วารสารสามมุข ปท ่ี ๒๖ เลม ๑๖๕ ภาษาไทย ๖ ๕๕

ยอสารคดีเรื่อง นกอีแพรด ของ “อิงอร” จาก วารสารสามมุข ปที่ ๒๖ เลม ๑๖๕ ความวา นกอีแพรดเปนนกกินยุงกับแมลง มันมีเสียงรองท่ีไพเราะ อิงอรไดเคยจับนกอีแพรด ท่ีพลดั เขา มาในหอ งของเขาไปเลีย้ งไวในกรง คขู องนกตัวน้นั พยายามบนิ มาเรียกหา เขาจงึ ตง้ั ใจ จะปลอยนก แตมันยอมอดอาหารตายเสียกอน เขาจึงต้ังใจวาจะไมจับนกมาเลี้ยงอีก ตอมามี นกอีแพรดอีกตัวหนึ่งเขามาจับแมลงถึงโตะท่ีเขาเขียนหนังสือ เขาเผลอจับมันไดแลวก็รีบปลอย มันไปเพราะนกึ ถงึ สญั ญาท่ีใหไวก บั ตนเอง ตัง้ แตน น้ั มานกตวั น้ันกับเขากเ็ ปน เพอ่ื นกนั เรือ่ งนเ้ี ขา ใหข อ คิดวา สตั วม ีสัญชาตญาณทรี่ ูวา คนไหนมีความเมตตาตอ มนั ตัวอยา ง การยอ เรอ่ื งประเภทรอยกรอง (กาพยย านี ๑๑) หวงั ไมจ งปลกู ไม ปลูก เพอื่ ก่ิงใบไดแ ผกาน เฉฉบลับย รมเย็นจะเปนทาน ปน เผื่อแผแกผ นื ดิน รคู ิดและรสู ึก รูสำนึกเปนอาจิณ นำ้ ใจจงไหลรนิ ใหหดั เขาแตเยาวว ยั เยี่ยงอยางนั้นมเี ยอะ เลอื กเอาเถอะวา แบบไหน ความดจี งทำไป แมอ าจทำไดย ากเยน็ วันน้ีไมม ผี ล เพียงใจตนที่รเู ห็น อายรกั จักกระเซ็น ผลดิ อกเร่ือเมือ่ ถึงกาล อดทนและอดกลั้น เพาะเชือ้ พนั ธุอ ันออนหวาน ออ นโยนจงเจอื จาน แตจ ำวา อยา ออ นแอ หวงั รักจงปลูกรกั ความทอทกั อยา แยแส มงกฎุ ความสขุ แท ยอมคลองแตค นทำดี ของ พจนาถ พจนาพทิ กั ษ จากนิตยสารเพอื่ นใหม ปท่ี ๒ ฉบับที่ ๑๓ ๕๖ ภาษาไทย ๖

วิธียอความ ตองถอดคำประพันธเปนรอยแกว แลวตีความบางคำให เหมาะแกเร่ือง เชน อาย ใชในความหมายวา “กลิ่น” คือ กล่ินของความรัก คำวา มงกุฎ ใชในความหมายวา “ชัยชนะ” ยอกาพยยานี ๑๑ เรอ่ื ง ปลกู ของ พจนาถ พจนาพทิ ักษ จาก นติ ยสารเพอื่ นใหม ปที่ ๒ ฉบับท่ี ๑๓ ความวา ถา คนเราหวังที่จะไดตน ไม เรากต็ องปลกู ตน ไมเ ชนเดยี วกับผูท ่ีคาดหวงั ความรักจากผูอ่ืน ผูน้ันก็ตองมีน้ำใจใหความรัก มีความอดทนอดกลั้น และเปนคนออนหวาน ออนโยนตอผูอื่นกอน เมื่อทำไดเชนนี้แลว ผูนั้นก็จะไดรับความรัก ความสุข และสมปรารถนา ทุกประการ ในการยอความ ผูยอไมจำเปนตองเก็บคำพูดใหเหมือนกับตนฉบับเดิม ทุกคำ แตส่ิงสำคัญที่ผูยอจะตองคำนึงถึง คือ ใจความสำคัญของเรื่องที่ตอง ครบถวน แลวนำมาเขียนเรียบเรียงใหมดวยภาษาของตนเอง โดยใชคำงายๆ เฉฉบลับย สั้นและกะทดั รดั ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ó เขียนยอความจากเรื่องท่กี ำหนดลงในสมดุ โดยเขียนรูปแบบใหถกู ตอง ๑) ตำนานเมล็ดขา ว จากวรรณกรรมเรอื่ ง แมโพสพ ในหนังสอื เรยี น มมฐ. ภาษาไทย ๒) โปโคค.ลล๖งงโโหลลนกกานนิตติ๔ิิ ๘(โ-ค๕ลง๒ส่ีสุภคาวพาขม)้ึนรขอูดอยูยงูกิ่งกลบัร้ำมดพุลรยะพยนิ าเจิสดขินชอทางดรผัพศิ สู รยอ นจากหนังสือเร่ือง คิดคา ควรเมืองนับ ยง่ิ ไซร เพราะเหตจุ ักอยกู บั กายอาต มานา โจรจกั เบียนบไ ด เรง รูเรียนเอา ภาษาไทย ๖ ๕๗

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. คดิ แลวเขียนคำท่ยี ืมมาจากภาษาตา งๆ ๑๒ คำ แลว แตงประโยคจากคำลงในสมดุ มฐ./ตวั ชีว้ ดั (ตัวอยาง) ▶ คำทย่ี ืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ๓ คำ ไดแ ก ...เ.พ.....ช...ร........เ..ศ....ร....ษ....ฐ...ี.....ร....ัฐ...บ.....า..ล................ ท4.1 (3) ▶ คำที่ยมื มาจากภาษาเขมร ๓ คำ ไดแ ก ดำเนนิ ตำรวจ ชำนาญ.............................................................................................. ▶ คำทีย่ ืมมาจากภาษาจีน ๓ คำ ไดแ ก ...แ...ป....ะ...ซ....ะ.......ก....ว...ย....เ.ต....ยี๋....ว........เ.ต.....า..ห....ู.................................... ▶ คำทย่ี ืมมาจากภาษาอังกฤษ ๓ คำ ไดแ ก ....ค....อ....ม...พ.....ิว...เ..ต....อ...ร........เ..ก....ม.........ล....ิป....ส....ต....ิก.................. มฐ./ตวั ชี้วัด ๒. แตง นิทานส้ันๆ ตามจินตนาการลงในสมดุ โดยใชค ำท่ียืมมาจากภาษาตา งๆ ท4.1 (3) ท่กี ำหนดใหป ระกอบ ขึ้นอยูกับดุลยพนิ ิจของผูสอน สขุ เศรษฐี เพชร ชำนาญ ตำรวจ เฉฉบลบั ย กวยเตีย๋ ว เตาหู แกส ไอศกรมี โดนัท ๓. เขยี นยอ ความโดยปฏบิ ตั ิ ดังนี้ ขึน้ อยกู บั ดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน มทฐ2./.ต1ัวช(5้วี )ดั ๑) อา นบทรอ ยแกว และบทรอ ยกรองทช่ี อบจากหนงั สอื ตา งๆ อยา งละ ๑ เรอ่ื ง/ตอน ๒) คดั ลอกหรอื ถา ยสำเนาเร่ืองที่อา น แลว ตดิ ลงในสมดุ ๓) เขียนยอความจากเรือ่ งท่อี านลงในสมุด (ท้งั รอยแกว และรอยกรอง) ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä รวบรวมคำท่ียืมมาจากภาษาตางประเทศที่มีใชในภาษาไทยจากสื่อตางๆ ใหไดมากทส่ี ดุ พรอมทงั้ หาความหมายของคำ แลว จัดทำเปน พจนานุกรมคำท่ยี ืม มาจากภาษาตา งประเทศที่มีใชในภาษาไทย ๕๘ ภาษาไทย ๖

แบบทดสอบท่ี ๓ กา ✗ คำตอบทถี่ กู ทสี่ ดุ ขอ ๑-๓ คำในขอใดไมใ ชค ำทีย่ ืม ๗. ก. คนโท ประแจ มาจากภาษาตา งประเทศ ข. ตะไคร ระงม ๑. ก. ศึกษา ข. บังเกดิ จำเนยี ร ✗ค. กอเอยี๊ ะ พวงแสด ✗ค. ขอศอก ง. บหุ งา ง. ชงโค ๒. ✗ก. มะพราว ข. ฤๅษี ขอ ๘-๙ คำในขอใดอานถูกตอ ง ค. สขุ สันต ง. กฬี า ๘. ✗ก. จักร อานวา จกั ๓. ก. ตน ปาลม ปรสติ ข. เหตุ อา นวา เห-ตุ เฉฉบลบั ย ข. ประชาบาล พชิ ิต ค. พักตร อานวา พัก-ตะ ค. เทนนสิ วิเคราะห ง. กำเนิด อานวา กำ-เนิด ๙. ก. รฐั บาล อานวา รัด-บาน ✗ง. ระฆงั มะระ ข. อัสดง อา นวา อัด-ดง ค. มชั ฌมิ อานวา มดั -ชิ ขอ ๔ -๗ คำในขอ ใดเปน คำท่ียืม มาจากภาษาตา งประเทศ ✗ง. ตำรวจ อานวา ตำ-หรวด ๔. ✗ก. ดำเนนิ ข. พรอม ๑๐. การเขียนรปู แบบคำนำยอ ความ มปี ระโยชนอยางไร ค. กำพรา ง. ประทวง ก. ทำใหทราบรายละเอยี ดเรื่อง ๕. ก. เวลา ✗ข. จุฬา ✗ข. ทำใหทราบที่มาของเรอ่ื ง ค. มะระ ง. ทา ที ค. ทำใหท ราบจุดประสงคข อง ผูเขยี น ๖. ก. ทแยง ปนโต มิเตอร ง. ทำใหเขยี นยอ ความได ✗ข. กราฟ ตะเกยี ง สะดวกขึน้ บุม บา ม ค. ชะเอม ง. พรม้ิ เพรา ภาษาไทย ๖ ๕๙

ตาราง ẺºÑ¹·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹Nj  ๒หนวยท่ี ๓ รายการวัดประเมินผลตามเปาหมายการเรียนรู ประจำหนว ยท่ี ๓ คำชี้แจง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมที่ตองการวัดผลเพื่อเก็บสะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คุณลักษณะที่พึงประสงค (A) ของนักเรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ชิ้นงานที่มีเครื่องหมาย * กำกับ ใหใชประกอบการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมนิ รายการเครอื่ งมอื วัดและประเมินผลการเรียนรูข องนักเรียน คะแนนรวมดา น ดา นความรู (K) ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) K/P/A ตัวชี้วดั ช้ัน ป.๖ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ดิ า น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอานวรรณกรรม - แบบประเมิน - แบบประเมิน อานออกเสียง เร่อื ง แมโพสพ แลว ทักษะการอา น คณุ ลกั ษณะ บทรอ ยแกว และ ตอบคำถามและแสดง ออกเสยี ง ทีพ่ ึงประสงค บทรอ ยกรองไดถ กู ตอ ง ความคดิ เหน็ ทม่ี ตี อ มฐ.ท ๑.๑(๓) เร่ืองที่อาน อานเรือ่ งสน้ั ๆ อยาง หลากหลาย โดยจบั เวลาแลวถามเกี่ยวกับ เร่ืองที่อาน มฐ.ท ๕.๑(๑) แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดหี รือ วรรณกรรมทอ่ี าน มฐ.ท ๒.๑(๕) - ก. พฒั นาการคดิ - แบบประเมิน - แบบประเมนิ เฉลยฉบับ เขียนยอ ความ ขอ ๓ การเขียน ทกั ษะการเขยี น คุณลกั ษณะ จากเรื่องท่ีอา น ยอ ความ ท่พี งึ ประสงค มฐ.ท ๔.๑(๓) - ก. พฒั นาการคดิ * - แบบประเมนิ - แบบประเมิน รวบรวมและบอก ขอ ๑ คดิ คำที่ยืมมา ทักษะการคดิ คณุ ลักษณะ ความหมายของ จากภาษาตางประเทศ วเิ คราะห ที่พงึ ประสงค คำภาษาตา งประเทศ แลวแตง ประโยคจากคำ - แบบประเมิน - แบบประเมิน ท่ใี ชในภาษาไทย - ก. พฒั นาการคดิ ทกั ษะการเขยี น คุณลกั ษณะ ขอ ๒ แตงนิทานสนั้ ๆ - แบบประเมนิ ท่พี งึ ประสงค โดยใชค ำท่ยี มื มาจาก ทกั ษะการคดิ ภาษาตางประเทศ วเิ คราะห ประกอบ - แบบประเมนิ ทกั ษะการเขยี น สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรยี นตามตัวชี้วดั สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนกั เรยี น ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ท่ีนกั เรียนปฏิบัติ ช่ืองาน พจนานุกรมคำยืม สว นท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธิผลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ประจำหนวยที่ ๑-๕ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการเรียนรปู ระจำหนว ย ขอเสนอแนะ ............................................................................................ ผาน ไมผาน ............................................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ลงชื่อ ผปู ระเมิน.................................................................................. / /.......................... ......................... ........................ ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงใน แบบบันทึกอื่นที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๖๐ ภาษาไทย ๖

คาํ ราชาศพั ท ๔หนว ยการเรยี นรทู ่ี เปา หมายการเรยี นรปู ระจำหนว ยการเรยี นรทู ่ี ๔ ¾àÊäÇÐÓÂËÃÒµÑ ªµÒ¶ÈÃѾ ÑÊ· เม่อื เรยี นจบหนวยนี้ ผเู รียนจะมคี วามรูความสามารถตอ ไปนี้ เฉฉบลบั ย ๑. อา นออกเสียงคำ ขอความ และเรอื่ งท่กี ำหนดไดถกู ตอง ๒. ตอบคำถามและอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ จากเร่ือง ÃѺ¤Ó»âʤØÀÃÒоʷ¹Ø ÒÑ¢¹ ทอ่ี านได ๓. พูดสอ่ื สารไดอยางมีมารยาทในการพูด ๔. ใชคำราชาศัพทไดอ ยางถูกตอ งและเหมาะสม คุณภาพท่ีพงึ ประสงคข องผเู รียน ๑. อานไดค ลอ ง และอานไดเ รว็ ข้ึน ¾¤Ã©ÓзѹÀÕèãԡͪɡŒÒ¨ÊØºÑ ÊÓ§¦¹Ç ´ÑÐ ๒. มีทักษะในการพดู เพื่อสอ่ื สารอยา งมีประสิทธิภาพ และมมี ารยาทในการพดู ๓. ใชคำราชาศพั ทและคำสุภาพไดเหมาะสม แผนผงั ความคิด ประจำหนวยการเรยี นรทู ี่ ๔ กาสราเรรียะนรู เรียนรูหลักภาษา คำราชาศัพท ใชก บั พระมหากษตั ริย ใชก บั พระสงฆ ใชก ับคนทวั่ ไป เบิกฟาวรรณกรรม สภุ าษติ สอนจติ เตอื นใจ จดจำการใชภ าษา การพดู

ขอบขายสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวิชา ภาษาไทย ช้ัน ป.๖ มฐ.ท ๑.๑ ตวั ชวี้ ัด สาระพนื้ ฐาน ความรูฝ งแนน ตดิ ตัวผูเรยี น - วรรณกรรม เร่ือง สุภาษิตสอนจติ ๓. อานเร่อื งส้ันๆ อยา งหลากหลาย โดย - วรรณกรรม เรอ่ื ง สุภาษิตสอนจติ เตือนใจ เปน เรอื่ งราวเกย่ี วกบั คำสอน จับเวลาแลว ถามเกย่ี วกบั เรอ่ื งทอ่ี าน เตือนใจ เรอ่ื งการปฏบิ ัติตนใหเ หมาะสม ๕. อธิบายการนำความรแู ละความคดิ จากเร่ืองทีอ่ านไปตัดสนิ ใจแกปญ หา - การพูดเพือ่ สอ่ื สาร หรือพูดเพ่ือแสดง ในการดำเนินชวี ติ ความรู ควรพูดดว ยถอ ยคำท่ีสภุ าพ มฐ.ท ๓.๑ พดู ออกเสียงใหชัดเจน ถูกตอง และ ๑. พดู แสดงความรู ความเขา ใจ - การพดู ควรมีมารยาทในการพูดดวย จดุ ประสงคของเร่ืองท่ฟี ง และดู - คำราชาศพั ท เปนคำท่ีใชส ำหรับ ๒. ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตผุ ล พระมหากษตั ริย พระบรมวงศานุวงศ จากเรื่องท่ฟี งและดู พระภิกษสุ งฆ และสุภาพชน ๖. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด - วรรณกรรม เรอื่ ง สภุ าษติ สอนจิต มฐ.ท ๔.๑ เตอื นใจ เปนเรอื่ งราวเก่ียวกบั คำสอน ๒. ใชคำไดเหมาะสมกับกาลเทศะ - คำราชาศัพท เร่อื งการฏบิ ัติตนใหเ หมาะสม และบคุ คล มฐ.ท ๕.๑ ๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดแี ละ - วรรณกรรม เรอื่ ง สภุ าษติ สอนจิต วรรณกรรมทอ่ี า น และนำไป เตือนใจ ประยุกตใชใ นชวี ติ จรงิ เฉฉบลบั ย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ คน หาคำราชาศพั ทจากตารางในแนวตั้งและแนวนอน ตามความหมายท่ีระบุ ความหมาย คำ พร ะปร า ง ร ส ก า มอื พระหัตถ▶ ................................................ ร ง พ ร ะ อั ย โ อ ฝน ▶ .......ท.....ร...ง....พ....ร...ะ...ส.....ุบ....ิน.......... ร ำ ปู, ตา ▶ พระอัยกา................................................ ะ กิ เ ส ว ย า บิ น พดู ตรสั▶ ................................................ โ พชนพก า ด เ รม พระกลด▶ ................................................ ทร งพร ะ สุ ค น ขีม่ า ทรงมา▶ ................................................ ร ะพร ะ ก ล า ย กิน เสวย▶ ................................................ ง ยี่ ส า หั ส โ ว จ่ี แกม พระปราง▶ ................................................ ม ภู า ร ต รั ส ทนี่ อน ▶ พระย่ีภู................................................ า ง ด ร ถ ข า ๖๒ ภาษาไทย ๖

เรียนรูหลกั ภาษา คำราชาศัพท ¤ÓÃÒªÒÈѾ· ໚¹¤ÓÈ¾Ñ ··Õãè ª¡Œ Ѻ ¼ŒãÙ ´ºŒÒ§ ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤ÃºÑ ราชาศพั ท แปลตามรูปศพั ท หมายถงึ ถอยคำสำหรบั พระราชา แตตาม หลกั ภาษาไทย หมายถงึ คำทใ่ี ชส ำหรบั พระมหากษตั รยิ แ ละพระบรมวงศานวุ งศ พระภกิ ษุสงฆ และสุภาพชน สาเหตุท่ีภาษาไทยมีการใชคำราชาศัพท เพราะคนไทยยึดถือวัฒนธรรม เกย่ี วกับระบบอาวุโส มีความเคารพเกรงใจผูท่ีสงู ศกั ด์ิดว ยชาติกำเนิด อายุ และ ตำแหนงหนาท่ี ซ่ึงจะแสดงออกมาโดยการใชภาษาท่ีมีระเบียบแบบแผน เปนพเิ ศษสำหรับบุคคลตางฐานะกนั เฉฉบลับย คำราชาศัพท แบง ออกเปน ๓ ลักษณะ ดังน้ี ๑. คำราชาศัพทท ี่ใชส ำหรับพระมหากษตั ริย และพระบรมวงศานวุ งศ ภาษาไทย ๖ ๖๓

๑) คำนามราชาศพั ท ๑. ใชค ำวา พระบรมราช นำหนา คำศพั ทส ำหรบั พระเจา แผน ดนิ เพื่อเชิดชพู ระเกยี รติ และพระราชอำนาจ เชน พระบรมราชโองการ หมายถึง คำส่งั พระบรมราโชวาท หมายถึง คำสอน พระบรมราชาภิเษก หมายถงึ ครองราชย พระบรมราชูปถมั ภ หมายถึง การชว ยเหลือ ๒. ใชคำวา พระบรม นำหนา คำเพ่ือเชดิ ชพู ระอสิ รยิ ยศ และใช เฉพาะพระมหากษตั ริย เชน พระบรมเดชานภุ าพ หมายถึง อำนาจ พระบรมมหาราชวงั หมายถึง วังหลวง พระบรมฉายาลกั ษณ หมายถงึ ภาพถา ย เฉฉบลบั ย ๓. ใชค ำวา พระราช นำหนา คำทใี่ ชเ ฉพาะพระมหากษตั รยิ  และ สมเด็จพระบรมราชนิ ี เชน พระราชดำรัส หมายถงึ คำพดู พระราชดำริ หมายถงึ ความคดิ พระราชหตั ถเลขา หมายถึง จดหมาย พระราชอาคนั ตกุ ะ หมายถึง แขกของพระเจา แผน ดนิ ๔. ใชคำวา พระ นำหนาคำศัพทที่ใชสำหรับพระมหากษัตริย และพระราชวงศเพื่อใหแ ตกตางกบั สามญั ชน เชน พระสหาย หมายถงึ เพื่อน พระหตั ถ หมายถงึ มือ พระปราง หมายถึง แกม พระโอสถมวน หมายถึง บุหร่ี ๖๔ ภาษาไทย ๖

๕. ใชคำวา พระท่นี ั่ง นำหนาคำที่เปนท่ีประทับ หรือที่อยูของ พระมหากษัตริย เชน พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท พระท่ีน่ังวิมานเมฆ นอกจากน้ียังใชตามหลังคำนามท่ัวไป เพื่อแสดงวาเก่ียวกับพระมหากษัตริย เชน เรือพระทน่ี งั่ รถพระทน่ี งั่ เปน ตน ๖. ใชคำวา ตน หรือ หลวง ประกอบทายคำนามทั่วไป เพื่อ แสดงวา เปน ของเกย่ี วกบั พระมหากษตั รยิ  เชน เครอ่ื งตน รถยนตห ลวง เปน ตน ๒) คำกรยิ าราชาศัพท มวี ิธีการใช ดงั น้ี ๑. เติมคำวา ทรง นำหนาคำนามทั่วไป และคำกริยาสามัญ เพื่อทำใหเปน คำกริยาราชาศพั ท เชน ทรงถือ หมายถึง ถอื ทรงธรรม หมายถึง ฟง ธรรม ทรงดนตรี หมายถึง เลน ดนตรี ๒. เติมคำวา ทรง นำหนาคำนามราชาศัพท เพื่อทำใหเปนคำ เฉฉบลับย กริยาราชาศัพท เชน ทรงพระสุบิน หมายถึง ฝน ทรงพระอักษร หมายถงึ เขียนหนังสอื หลักเกณฑการใชค ำราชาศพั ทสำหรบั พระมหากษตั ริยแ ละพระบรมวงศานวุ งศ ๑. คำกริยาใดท่ีเปนคำราชาศัพทอยูแลว เชนคำวา เสด็จ เสวย ตรัส ไมใชคำวา ทรง นำหนาอีก แตถาคำกริยานั้นเปนคำสามัญ เชน ถือ จับ วาด เมื่อจะทำใหเปน คำกริยาราชาศัพทใ หใ ชคำวา ทรง นำหนาได เชน ทรงวาด ทรงถอื ทรงจับ ๒. การใชค ำวา พระบรม นำหนา คำนน้ั ใชเ ฉพาะพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เทา น้นั สำหรบั พระบรมราชินีนาถ ใหต ดั คำวา บรม ออก ภาษาไทย ๖ ๖๕

ตัวอยาง คำราชาศพั ททใ่ี ชกับพระมหากษัตริย และพระบรมวงศานุวงศ คำสามญั คำราชาศพั ท ปู ตา พระอัยกา ยา ยาย พระอัยยิกา พระอยั กี ลุง พระปตลุ า (พี่ชายพอ) พระมาตลุ า (พชี่ ายแม) ปา พระปตุจฉา (พีส่ าวพอ ) พระมาตจุ ฉา (พี่สาวแม) พ่ชี าย พีส่ าว พระเชษฐา พระเชษฐภคิน� ลูกชาย พระเจา ลูกยาเธอ พระโอรส พอ พระชนก พระบิดร พระบดิ า แม พระชนน� พระมารดร พระมารดา อา พระปตลุ า (นองชายพอ ) พระปต ุจฉา (นอ งสาวพอ) นา พระมาตุลา (นองชายแม) พระมาตุจฉา (นอ งสาวแม) นอ งชาย พระอนุชา เฉฉบลับย นองสาว พระขนิษฐา น้ำดืม่ พระสธุ ารส กางเกง พระสนบั เพลา เส้อื ฉลองพระองค รองเทา ฉลองพระบาท ยารักษาโรค พระโอสถ ชอนสอ ม ฉลองพระหัตถชอ นสอม คำส�งั พระบรมราชโองการ ทกั ทาย, ปราศรยั พระราชปฏิสนั ถาร แตงหนังสือ พระราชนพิ นธ ลงลายมอื ช่อื ลงพระปรมาภิไธย คำสอน พระบรมราโชวาท คำพูด, พูด ตรสั เขยี นหนังสอื , อา นหนงั สอื ทรงพระอักษร ย้ิม แยมพระโอษฐ ๖๖ ภาษาไทย ๖

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๑. ดขู าวในพระราชสำนัก แลวจดบนั ทกึ ขา ว และเขียนแปลความหมายของ คำราชาศพั ทท ่ีใชลงในสมุดตามหัวขอ ท่กี ำหนด (ขึ้นอยูกบั ดลุ ยพินจิ ของครูผูส อน)▶ บันทึกการดขู าวในพระราชสำนัก จากสถานโี ทรทศั นช อ ง ................................................. วนั -เวลาท่ีดู▶ .............................................................................................................................................................. สาระสำคัญของขาว▶ ........................................................................................................................................... ▶ คำราชาศพั ททใ่ี ชแ ละความหมาย ........................................................................................................... ๒. ขีดเสน ใตค ำราชาศพั ทในคำประพนั ธที่กำหนด แลวเขยี นความหมายของคำ ลงในชองวาง คำสง่ั➠ ............................................................ ๑) จงึ่ มพี ระราชบญั ชา ถามพระยาพเิ ภกยกั ษี เฉลย๒) ไดฟ ง บัญชาพระภูวไนย บงั คมไหวแลวทูลกิจจา ไหว / บอก➠ ............................................................ ฉบับ ๓) ฉัตรน้ีของทา วธาดาพรหม เปนบรมอัยกายักษี ปู, ตา➠ ............................................................ ๔) ไปถวายธำมรงคอลงการ ในเบื้องบาทาพระเทวี แหวน / เทา➠ ............................................................ ๕) ไดฟ งลูกพระสรุ ยิ า ผานฟา จงึ่ ทอดพระเนตรไป ดู➠ ............................................................ ๓. เขียนคำราชาศัพทจ ากคำสามญั ที่กำหนดใหลงในชองวา ง ๑) หลงั (อวัยวะ) พระปฤษฎางค, พระขนอง➠ ..................................................................................................................................... ๒) เจบ็ ปว ย ทรงพระประชวร➠ ..................................................................................................................................... ๓) เตียงนอน พระแทนบรรทม➠ ..................................................................................................................................... ๔) พีส่ าว พระเชษฐภคนิ ี➠ ..................................................................................................................................... ๕) ชอบ โปรด➠ ..................................................................................................................................... ๖) คำสอน พระบรมราโชวาท➠ ..................................................................................................................................... ๗) เสอื้ ฉลองพระองค➠ ..................................................................................................................................... ๘) ทรงพระอักษร เขยี นหนังสอื , อานหนังสอื➠ ..................................................................................................................................... ภาษาไทย ๖ ๖๗

๒. คำราชาศพั ททใ่ี ชสำหรับพระสงฆ​ มีลำดับของการใชค ำ ดงั น้ี ๑) สมเด็จพระสังฆราชเจา หมายถึง เจานายเชื้อพระวงศท่ีผนวช และไดด ำรงสมณศกั ดเ์ิ ปน พระสงั ฆราช ใหใ ชร าชาศพั ทอ ยา งเจา นายชนั้ สงู ดงั น้ี คำสรรพนามแทนพระองค ใชวา ใตฝ า พระบาท คำสรรพนามแทนผูกราบทลู ใชว า ขาพระพทุ ธเจา คำขานรับ ใชว า ขอรบั กระหมอ ม หรอื เพคะ ๒) สมเด็จพระสังฆราช หมายถึง บุคคลสามัญที่บวชจนไดดำรง เฉฉบลับย สมณศักดเิ์ ปน พระสังฆราช ใหใ ชราศัพท ดังน้ี คำสรรพนามแทนพระองค ใชว า ฝาพระบาท คำสรรพนามแทนผกู ราบทูล ใชว า เกลา กระหมอม, เกลา กระหมอ มฉนั คำขานรับ ใชวา กระหมอ ม, เพคะ ๓) สมเดจ็ พระราชาคณะ หมายถงึ ตำแหนง รองจากสมเด็จ พระสงั ฆราช ใหใชค ำ ดงั นี้ คำสรรพนามแทนทา น ใชว า พระเดชพระคณุ , ใตเ ทา หรือพระคุณเจา คำสรรพนามแทนผพู ดู ใชวา เกลา กระผม, กระผม ๔) พระสงฆท่ัวไป ใหใชคำสุภาพ ยกเวนคำบางคำท่ีใชเฉพาะกับ พระสงฆเ ทาน้นั ๖๘ ภาษาไทย ๖

ตวั อยาง คำราชาศัพททใ่ี ชก บั พระสงั ฆราช คำราชาศพั ท เฉฉบลบั ย คำสามัญ เสวย ๖๙ ปลงพระเกศา กนิ ปลงพระมสั สุ โกนผม พระโอวาท โกนหนวด พระบญั ชา คำสอน พระสมณสาสน คำสั�ง ส้นิ พระชนม จดหมาย พระแทน ตาย บรรทม ธรรมาสน ประชวร นอน ตรสั ดำรัส รบั ส�งั ปวย ทรงรับนิมนต พดู กราบทูลลา รบั เชิญ ขอประทานถวาย ลา ให ตวั อยาง คำศพั ทท่ีใชกบั พระภิกษสุ งฆท ่ัวไป คำสามญั คำเฉพาะ กิน ฉนั โกนผม ปลงผม ตาย มรณภาพ ทน่ี ง�ั อาสนะ นอน จำวัด บวชเณร บรรพชา บวชพระ อุปสมบท ภาษาไทย ๖

คำสามญั คำเฉพาะ ปวย อาพาธ ยกของใหพ ระ ประเคน สวดมนต ทำวัตร อาหารเชา จังหัน อาหารกลางวัน เพล อาหาร ภตั ตาหาร ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ò ๑. เขยี นคำศัพทท ีใ่ ชก บั พระภิกษสุ งฆจากภาพที่กำหนด แลว เขียนอธิบายความหมาย ๑) ๒) เฉฉบลับย คำ...............น....มิ....น.....ต....,......อ....า...ร...า...ธ...น.....า................ คำ ภัตตาหาร........................................................................... ความหมาย.................ข...อ....เ.ช....ิญ........................ ความหมาย................อ...า...ห....า...ร........................ ๓) ๔) คำ ประเคน........................................................................... คำ อาสนะ........................................................................... ความหมาย.........ย...ก....ข....อ...ง....ใ..ห....พ.....ร...ะ............ ความหมาย....................ท.....่นี ....่ัง........................ ๗๐ ภาษาไทย ๖

๒. เตมิ คำที่กำหนดลงในชองวา งใหไ ดใ จความ จำวัด ปจจยั โบสถ เจา อาวาส กลด นมิ นต กฏุ ิ บวช ตกั บาตร ธรรมาสน ประเคน อาพาธ ลาสิกขา อาราธนาศลี ฉัน ๑) อดศิ รถวาย ปจจยั.............................................. แดพระภิกษุ จำนวน ๕ รปู เฉฉบลบั ย ๒) คณุ ยายตน่ื แตเชา เพื่อเตรยี มกบั ขา วสำหรับ ตักบาตร.............................................. ๓) หนเู ล็กจะไปงาน บวช.............................................. พช่ี ายท่ีวดั วนั เสารนี้ ๔) หลังจากกลาวคำถวายสงั ฆทานจบ มานติ ยก ็ ประเคน.............................................. ของ ถวายแดพ ระภกิ ษุ ๕) นักเรียนทกุ คนกลา วคำ .......อ....า...ร...า...ธ....น....า...ศ....ีล........... พรอมๆ กนั ๖) การลาออกจากการเปน พระภกิ ษุ เรยี กวา ลาสกิ ขา.............................................. ๗) หลวงปู อาพาธ.............................................. เขารบั การรักษาที่โรงพยาบาล ๘) พระภิกษุ จำวัด.............................................. อยทู ว่ี ดั ในชว งเขาพรรษา ๙) อาจารยใหญ นิมนต.............................................. พระอาจารยมาสอนวิชาพระพทุ ธศาสนา ๑๐) คุณแมพานอ งไปไหวพ ระใน โบสถ.............................................. ๑๑) เจาอาวาส.............................................. ทา นมีเมตตาตอลกู ศษิ ยว ัดทุกๆ คน ๑๒) หลวงตาอาศยั อยูท่ี กฏุ ิ.............................................. ทา ยวัด ๑๓) พระสงฆ ฉัน.............................................. ภัตตาหารเพล ประมาณ ๑๑.๐๐ น. ๑๔) หลวงลงุ นงั่ เทศนมหาชาติบน ธรรมาสน.............................................. ๑๕) พระธดุ งคปก กลด.............................................. ในปาลึก ภาษาไทย ๖ ๗๑

๓. คำศพั ททีใ่ ชส ำหรับสภุ าพชน การใชคำศัพทส ำหรับสุภาพชนทวั่ ไป คอื ใชคำใหส ภุ าพถูกตอ งตาม กาลเทศะและบคุ คล ไมใ ชค ำหยาบ คำผวน คำคะนอง หรือคำอุทานทีไ่ มสภุ าพ ตัวอยา ง คำสภุ าพ คำสามญั คำสภุ าพ ววั โค หมู สุกร หมา สุนขั ข้ีผึง้ สผี ้งึ ควาย กระบือ ขีส้ ตั ว มลู สตั ว ข้ีเหนย� ว ตระหน� เฉฉบลับย กะป เยอ่ื เคย ปลาชอ น ปลาหาง ขเี้ รื้อน โรคเรือ้ น ขก้ี ลาก โรคกลาก ขนมขี้หนู ขนมทราย กิน รบั ประทาน ผกั บุง ผักทอดยอด ขนมเทียน ขนมนมสาว ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ó ๑. พเรลวรอืบอ กรมวคทมำ้งัสคบภุำอสากภุพวาทา พเ่ีเรปจยี นานกคมแำาหสขึน้ลภุ ๘งาอขพยคอกูขำมบัอแลูงดลตคลุ ะาำยนงสพๆำาินมมใจิาัญหแขไคอตดำงงมใผปดาูสรกะอทโนยส่ี คุดลงแใลนวสเขมียุดนลงในสมุด ๒. http://www.aksorn.com/lib/p/tha_04 (เรอื่ ง ราชาศพั ท) ภาษาไทย ๖ ๗๒

เบิกฟาวรรณกรรม สุภาษิตสอนจิตเตือนใจ วันนี้ถึงเวรที่ไพลินจะตองออกมาเลาขาวสารเหตุการณประจำวันหรือ เกร็ดความรูตางๆ ที่นาสนใจใหเพ่ือนฟงที่หนาช้ันเรียนกอนท่ีจะเรียนตามปกติ ซง่ึ ไพลนิ ก็เตรยี มตัวมาอยา งดี การเลา ขา วสารเหตกุ ารณป ระจำวนั หรอื เกรด็ ความรตู า งๆ ทกุ เชา กอ นจะ เรยี นวชิ าตา งๆ นี้ เดด็ เดยี่ วเปน ผเู รมิ่ ตน โดยไมไ ดต ง้ั ใจในเชา วนั หนง่ึ ทเ่ี ขามวั คยุ กับกองภพเร่ืองรายการสารคดีท่ีดูทางโทรทัศนจนไมไดสนใจวาคุณครูทิฆัมพร เขา มาในหอ งแลว คณุ ครเู ห็นเด็ดเด่ียวพูดเรอ่ื งท่มี ีประโยชน จงึ ใหเ ด็ดเด่ยี วออกมาเลาเรอื่ ง ท่ีดูใหเ พือ่ นคนอืน่ ๆ ฟงดวย เมื่อเดด็ เดย่ี วเลาจบ เพื่อนๆ ทกุ คนก็ปรบมือให คุณครทู ิฆมั พรกช็ มเชย เฉฉบลบั ย วาเด็ดเด่ียวพูดเลาเร่ืองไดดี ไมใชเวลามากจนเกินไป จากนั้นคุณครูก็เสนอให นักเรียนทุกคนฟง อาน หรือดูขาวสาร เหตุการณ หรือเกร็ดความรูที่เปน ประโยชนจากสื่อตางๆ แลวผลัดกันออกมาเลาใหเพื่อนฟง ÊÇÊÑ ´¤Õ Ћ ที่หนาชั้นเรียนทุกเชา ซึ่งนักเรียน à¾×èÍ¹æ ·Ø¡¤¹ ©Ñ¹ÁÕàÃ×èͧÊÓ¤ÞÑ ÁÒàÅÒ‹ ãË¿Œ ˜§ ทุกคนก็ยินดีท่ีจะปฏิบัติตาม เพราะ â´Â੾ÒФ¹·Õè໚¹¼ŒÙËÞÔ§ นอกจากจะไดฝกพูดแลว ยังไดรับ ความรเู พ่มิ ดว ย ไพลินออกมายืนท่ีหนาหอง เพื่อเตรียมตัวเลาเร่ืองราว หรือ เกร็ดความรูตางๆ จากน้ันเธอก็ กลา วทักทายเพอื่ นๆ ทกุ คน ภาษาไทย ๖ ๗๓

ไมมีใครรูวาไพลินจะเลาเรื่องอะไร แตทาทีของเธอเครงขรึม ผิดจาก นสิ ยั ปกตทิ ่รี าเริงแจมใส และชา งพดู ชางคุยอยเู สมอ “เร่ืองที่ฉันจะเลาคือ เม่ือคืนวานน้ีเกิดเรื่องที่นาอายขึ้นแถวบานของฉัน นกั เรียนหญิงท่ีเรียนอยูชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ๔-๕ คน ทมี่ าจากตางจังหวัด ซึ่งเขามาเชา บา นอยกู ันเองแถวบานของฉันถกู ตำรวจจบั ” เพื่อนๆ สงเสียงดังฮือฮา แตไพลินไมสนใจ เธอเลาสาเหตุท่ีเด็กวัยรุน พวกนั้นถูกตำรวจจับวา พวกเธอทำตัวเหลวไหลไมเหมาะสม คือ ชอบเท่ียว กลางคนื แตงตัวโป ดมื่ สรุ า คบเพื่อนชาย และในคนื วนั ท่ีเกิดเหตุน้นั พวกเธอ นดั เพอ่ื นชายมาสงั สรรคแ ลว เปด เพลงเสยี งดงั จนดกึ ดน่ื ชาวบา นทอ่ี ยลู ะแวกนนั้ ทนไมไหวจงึ เขาไปตักเตือน แตวยั รนุ กลมุ น้ันกไ็ มสนใจ พวกชาวบานจึงแจงให เจาหนาท่ีตำรวจมาจัดการ พอตำรวจมาถึงแลวเขาไปที่บานเชาน้ันก็พบวา เดก็ วยั รนุ พวกนน้ั กำลงั มวั่ สมุ เสพยาเสพตดิ แตล ะคนเมามายไมไ ดส ติ สว นพวก เฉฉบลับย นักเรียนหญิงวัยรุน ๔-๕ คนน้ัน ก็ปลอยเนื้อปลอยตัวใหเพ่ือนชายลวงเกิน อยางไมละอาย เจาหนาที่ตำรวจจึงควบคุมตัววัยรุนทุกคนไปที่สถานีตำรวจ เพือ่ ทจ่ี ะตดิ ตอ ผปู กครองของเดก็ เหลา นีต้ อ ไป “นเี่ ปนเรอื่ งที่อาจไมนา ฟง แตกเ็ ปนความจริง” ไพลนิ สรุปแลวพดู ตอ วา “เร่ืองราวแบบน้ีเกิดขึ้นอยูเสมอ ตามที่เราไดอานจากหนังสือพิมพกัน อยูบอยๆ จึงเปน เรือ่ งทด่ี ถี า เราทุกคนในที่น้จี ะปฏิบตั ติ นใหดี เหมือนกับเน้อื หา ในวรรณคดีเร่ือง สุภาษติ สอนหญิง ท่ฉี นั จะอา นใหฟ ง ตอไปน้ี” ไพลินขออนญุ าตคณุ ครูทิฆมั พรวา จะขอใชเวลาพดู อกี ประมาณ ๑๕-๒๐ นาที ซึ่งคุณครูก็อนุญาตเพราะช่ัวโมงแรกเปนวิชาภาษาไทยที่คุณครูเปนผูสอน และคุณครูก็เห็นวาวรรณคดีท่ีไพลินจะอานใหเพื่อนฟงเปนเรื่องท่ีมีประโยชน แกนักเรยี นทกุ คนดวย ๗๔ ภาษาไทย ๖

“วรรณคดีเร่ืองน้ีเขียนข้ึนมาเพ่ือสอนผูหญิงโดยเฉพาะ แตผูชายก็อาน และฟงไดเหมือนกัน” ไพลนิ พดู แลวต้งั ใจอานวรรณคดีเรือ่ ง สุภาษิตสอนหญงิ ใหเพื่อนฟง วา... ๏ ขอเจริญเรื่องตำรบั ฉบับสอน ชาวประชาราษฎรส้นิ ทงั้ หลาย อันความชว่ั อยา ใหม ัวมีระคาย จะสืบสายสรุ ยิ วงศเ ปน มงคล ผูใ ดเกิดเปนสตรอี ันมีศักด์ิ บำรงุ รักกายไวใ หเปน ผล สงวนงามตามระบอบใหช อบกล จึงจะพน ภยั พาลการนนิ ทา เปนสาวแสแ รรวยสวยสะอาด กห็ มายมาดเหมือนมณีอนั มคี า แมนแตกรา วรานรอ ยถอยราคา จะพลอยพาหอมหายจากกายนาง ฯลฯ ๏ จะนุงหม ดูพอสมศกั ด์สิ งวน ใหส มควรรบั พกั ตรตามศักด์ิศรี จะผัดหนาทาแปงแตงอินทรยี  ดูฉวีผิวเน้อื อยาเหลือเกิน จะเกบ็ ไรไวผมใหส มพกั ตร บำรุงศกั ด์ิตามศรีมใิ หเขนิ เปนสภุ าพราบเรยี บแลเจริญ คงมผี ูส รรเสริญอนงคทรง เฉฉบลับย ฯลฯ ๏ ประการหน่งึ ซึ่งจะเดินดำเนินนาด คอยเยอ้ื งยาตรยกยอ งไปกลางสนาม อยา ไกวแขนสดุ แขนเขาหา มปราม เสงยี่ มงามสงวนไวแตใ นที อยา เดินกรายยายอกยกผาหม อยาเสยผมกลางทางหวา งวถิ ี อยาพดู เพอ เจอ ไปไมส ูด ี เหยา เรือนมีกลบั มาจึงหารือ ใหกำหนดจดจำแตค ำชอบ ผดิ ระบอบแบบกระบวนอยาควรถอื อยา นุง ผา พกใหญใตส ะดอื เขาจะลอื วาเลน ไมเ หน็ ควร อยา ลมื ตัวมัวเดนิ ใหเ พลินจิต ระวังปดปกปอ งของสงวน เปนนารที ่ลี ะอายหลายกระบวน จงสงวนศักด์สิ งาอยาใหอาย อน่งึ เนตรอยาสงั เกตใหเกนิ นกั จงรูัจักอาการประมาณหมาย แมน ประสบพบเหลาเจาชูชาย อยา ชมา ยทำชมอยตะบอยแล อันนัยนต าพาตัวใหมัวหมอง เหมือนทำนองแนะออกบอกกระแส จริงมิจริงเขาเอาไปเลา แช คนรังแกมนั กว็ า นยั นต าคม ฯลฯ ภาษาไทย ๖ ๗๕

๏ อนั ที่จริงหญงิ ชายยอ มหมายรัก มใิ ชจักตดั ทางที่สรา งสม แมน จกั รักรกั ไวในอารมณ อยา รักชมนอกหนาเปน ราคี ดังพฤกษาตอ งวายพุ ัดโบก เขย้อื นโยกกแ็ ตก่ิงไมท ิง้ ที่ จงยับย้งั ช่งั ใจเสยี ใหด ี เหมือนจามรีรูจักรักษากาย ฯลฯ ๏ จงรักนวลสงวนนามหามใจไว อยาหลงใหลจำคำท่รี ำ่ สอน คดิ ถึงหนาบิดาและมารดร อยารีบรอนเรว็ นักมักไมด ี เมือ่ สกุ งอมหอมหวนจงึ ควรหลน อยกู ับตน อยา ใหพ รากไปจากท่ี อยา ชิงสุกกอนหามไมง ามดี เมอื่ บุญมคี งจะมาอยาปรารมภ อยาคดิ เลยคเู ชยคงหาได อุตสาหทำลำไพเ กบ็ ประสม อยาเกยี จครา นการสตรีจงนิยม จะอดุ มสินทรัพยไ มอบั จน ถาแมนทำส่ิงใดใหตลอด อยา ทิง้ ทอดเท่ียวไปไมเ ปนผล เขมนขะมกั รักงานการของตน อยาซกุ ซนคบเพือ่ นไพลเชอื นแช เฉฉบลับย เมื่อเหนือ่ ยออนนอนหลับอยูก บั บาน อยา เที่ยวพลานพูดผลอประจอประแจ อะไรฉาวกราวเกรียวอยา เหลียวแล ฟงใหแนเ นือ้ ความคอยถามกนั ระวงั ดูเรือนเหยา แลขาวของ จะบกพรอ งอะไรท่ไี หนนั่น เห็นไมม แี ลว อยาอา งวา ชางมนั จงผอนผันเก็บเลม็ ใหเ ต็มลง มสี ลึงพึงประจบใหค รบบาท อยาใหข าดสงิ่ ของตองประสงค จงมักนอ ยกนิ นอยคอ ยบรรจง อยาจายลงใหมากจะยากนาน ไมควรซอ้ื กอ็ ยาไปพไิ รซื้อ ใหเ ปน ม้อื เปน คราวทั้งคาวหวาน เม่อื พอ แมแ กเฒา ชรากาล จงเล้ยี งทานอยา ใหอดระทดใจ ดว ยชนกชนนนี ั้นมคี ณุ ไดก ารุณเล้ยี งรกั ษามาจนใหญ อุมอทุ รปอนขา วเปนเทา ไร หมายจะไดพ่งึ พาธิดาดวง ถาเราดีมจี ติ คิดอุปถมั ภ กศุ ลล้ำเลศิ เทา ภูเขาหลวง จะปรากฏยศยิ่งส่งิ ท้งั ปวง กวา จะลวงลุถึงซ่ึงพิมาน เทพไทในหอ งสิบหกช้นั จะชวนกันสรรเสรญิ เจริญสาร วา สตรนี ั้นเปน ยอดยพุ าพาล ไดเลีย้ งทานชนกชนนี ๗๖ ภาษาไทย ๖

๏ จะพดู จาปราศรัยกบั ใครนน้ั อยา ตะคัน้ ตะคอกใหเคืองหู ไมค วรพดู ออ้ื องึ ข้นึ มึงกู คนจะหลูลว งลามไมขามใจ แมจ ะเรยี นวชิ าทางคาขาย อยา ปากรา ยพูดจาอัชฌาสยั จงึ ซอื้ งา ยขายดีมกี ำไร ดว ยเขาไมเคอื งจติ ระอดิ ระอา ๏ เปน มนษุ ยสดุ นิยมเพยี งลมปาก จะไดยากโหยหวิ เพราะชวิ หา แมนพูดดมี คี นเขาเมตตา จะพูดจาจงพเิ คราะหใหเหมาะความ ถึงชายใดเขาพอใจมาพูดเก้ยี ว อยา โกรธเกรี้ยวโกรธาวา หยาบหยาม เม่อื ไมช อบก็อยาตอบเน้ือความตาม มันจะลามเลนเลยเหมือนเคยเปน ถงึ จะไปในพิภพใหจ บทวั่ แตค วามชัว่ อยาใหผูใดเห็น จงอตุ สา หปกปด ใหม ิดเมน จึงจะเปนคนดมี ีปญญา ฯลฯ เกิดเปนหญงิ ใหเหน็ วาเปน หญงิ อยา ทอดทงิ้ กิริยาอชั ฌาสยั เปน หญิงครึง่ ชายคร่ึงอยาพึงใจ ใครเขาไมส รรเสริญเมินอารมณ ฯลฯ เฉฉบลับย เม่ือไพลินอานจบ เพื่อนๆ ทุกคน รวมทั้งคุณครูทิฆัมพรปรบมือใหเธอ กราวใหญ ไพลินรอจนเสียงปรบมือเงียบลง เธอจึงไดกลาวขอบคุณคุณครู และเพ่ือนๆ ทกุ คน แลวเดินกลับไปนัง่ ที่โตะ “คุณครูคะ หนูสงสัยวา ชิงสุกกอนหาม หมายถึงอะไรคะ หนูเคยไดยิน จากโทรทัศน แตห นกู ไ็ มเ ขาใจวาเปนอยา งไร” ปรางทองยกมือถามคณุ ครู “ชงิ สกุ กอ นหา ม เปน สำนวน หมายถงึ ไมค วรทำอะไรบางอยา งในขณะท่ี ยังไมถึงเวลาที่สมควร คนสมัยกอนเขาเปรียบจากการกินผลไม คือ ผลไม บางชนิดตองรอใหสุกกอนจึงจะกินอรอย แตถารีบกินกอนสุก รสชาติก็จะไมดี นะจะ ” คณุ ครูตอบ “แลวสิ่งท่ีไมควรทำกอนจะถึงเวลาอันสมควรน่ีเชนอะไรบางคะคุณครู” อารีวรรณสงสยั ข้นึ มาบา ง คณุ ครูทฆิ มั พรจงึ ตอบวา ภาษาไทย ๖ ๗๗

“กอ็ ยางเชนการคบเพ่อื นตา งเพศ หรือทพ่ี วกเราเรยี กวา การมแี ฟนไงจะ วรรณคดีเรื่องสุภาษิตสอนหญิงน้ีมีจุดประสงคในการแตงเพื่อสอนผูหญิงตามท่ี ไพลินบอก หลักใหญๆ ก็จะสอนใหปฏิบัติตัวใหเหมาะสมกับวัยและวัฒนธรรม อันดีของไทย เชน สอนใหรักนวลสงวนตัว ไมปลอยเน้ือปลอยตัวจนเลยเถิด เหมือนเด็กวัยรุนท่ีไพลินนำมาเลาใหฟงในตอนตน ครูคิดวา วรรณคดีเรื่องนี้ ดีมาก ตองขอบใจไพลินท่ีนำมาอานใหเพื่อนฟง ซ่ึงครูอยากใหนักเรียนทุกคน ทง้ั หญงิ และชายนำขอ คดิ เตอื นใจทไ่ี ดจ ากการฟง วรรณคดเี รอ่ื งนไี้ ปเปน แนวทาง ในการปฏิบัติตนใหเ หมาะสมตอ ไป” “คะ คุณครู” “ครบั คณุ คร”ู ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ô เฉฉบลับย ๑. ฝกอานออกเสยี งบทอา นจนอา นไดค ลอ ง และหาความหมายของคำตอไปนี้ ลวงเกนิ ระคาย ฉวี ชมา ย ชมอย อนิ ทรยี  อทุ ร พมิ าน ปรารมภ ปราศรัย อชั ฌาสยั และชิวหา ๒. ตอบคำถามจากเรอื่ งท่อี า น ดังน้ี นคไปมำรักสสะเรโออยยี ดนชนคในนคลใิดวอนรวงกรากาณจับระคสดนดภำขำเีเึน้าคนรพวอ่ืินอากงชยมสาวีกูรภุรติดทูบัาขำษี่ไดอเดตินงลุจ สินเายรอชกาพนวีกหแิตนิาลรญใิจนอะงิขสมานอนังีค้ีคงเำเรมรสผ่ืออ่ืปอูสงงนจนใอจเด้ีไนรุบปยอ่ื ันังใงชเบใหปดามรทงะา่ลี โะายสสชมมนแัยลแะลเปะน ๑) หรือเปนแนวทางในการปฏิบัตติ นอยา งไรบา ง ๒) ๓. รว มกันอภปิ รายวา นักเรียนเหน็ ดวยกบั คำสอน “อยา ชงิ สกุ กอนหาม” หรือไม และถา คนในสังคมปจ จบุ ันนำมายดึ ถอื เปน แนวปฏบิ ตั จิ ะเปนเร่อื งท่ีลาสมัยหรอื ไม อยางไร ๗๘ ภาษาไทย ๖

จดจำการใชภาษา การพูด ¡Òþ´Ù ·´Õè ÕÁÕËÅ¡Ñ ËÃ×Í¢ŒÍ¤Çû¯ÔºµÑ Ô Í‹ҧäà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤ÃºÑ ในชีวิตประจำวันของคนเรานั้น เม่ือฟงหรือดูเร่ืองราวตางๆ มาแลว เราควรพูดเพ่ือแสดงความรู ความเขาใจในเร่ืองท่ีฟงและดูมา และควรฝกพูด ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเร่ืองที่ฟงและดูเพื่อจะไดสรุปความรูจากเร่ือง ที่ฟง และดูไดดว ย การพูด แบง ออกเปน ๒ ประเภทใหญๆ ดงั นี้ ๑) การพดู แบบไมเ ปน ทางการ ไดแ ก การพดู ระหวา งบคุ คล การสนทนา เฉฉบลบั ย กนั ในหมผู รู จู กั การทกั ทายปราศรยั และการแนะนำตนเอง โดยผพู ดู อาจเตรยี ม หรือไมเตรียมหัวขอท่ีจะพูดมาลวงหนาก็ได ซึ่งการพูดแบบนี้เปนการพูดที่ใช ในชีวติ ประจำวันมากทส่ี ุด ๒) การพูดแบบเปนทางการ ไดแก การพูดตอชุมนุมชน ในแบบตางๆ ในโอกาสและสถานที่ตางกัน เชน การอภิปราย การบรรยาย การพูดสุนทรพจน เปนตน ผูพูดตองเตรียมการพูด มากอน แตบางครั้งก็อาจเปนการพูดที่ไมรูตัวลวงหนา จึงตอง หาทางแกปญ หาเฉพาะหนา การใชภ าษาในการพดู การใชถอยคำและภาษาเปนปจจัยท่ีสำคัญท่ีสุดในการพูด ผูพูดควร ศกึ ษาความรู และนำสำนวนตา งๆ มาใชใ หถ ูกตอง ซ่งึ ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ ภาษาไทย ๖ ๗๙

๑) เตรียมการพูด โดยศึกษาจุดประสงค หัวขอ และเวลาในการพูด เพือ่ รวบรวมความรเู กีย่ วกบั เรอื่ งท่จี ะพูด ๒) เตรียมเรื่องท่ีจะพูด โดยเขียนโครงเร่ือง เรียงลำดับเนื้อหากอนหลัง และใชส ำนวนโวหารใหเหมาะกบั กาลเทศะและบคุ คล ๓) ลำดับความในการพูด เมื่อเตรียมเร่ืองแลวนำมาลำดับความในการ พูดใหเปนข้ันตอน เปดเร่ืองดวยขอความที่เราความสนใจของผูอ่ืน และมีการ สรุปใหผฟู งเขา ใจและใหข อคดิ ๔) ฝก พูดใหก ระชับรดั กมุ โดยใชถ อ ยคำสนั้ ๆ แตมคี วามชัดเจน ๕) หลีกเลี่ยงการพูดภาษาไทยปนภาษาอังกฤษ หรือการใชคำสแลง เพราะอาจทำใหผ ูฟงไมเขาใจ เฉฉบลับย ๖) ออกเสยี งใหเ ตม็ คำและถูกตองตามหลกั ภาษาไทย เชน คำทใี่ ช ร ล คำควบกล้ำ เปนตน มารยาทในการพูด การพูดกับผูอื่นโดยเฉพาะในที่ชุมชน ควรมีมารยาทหรือมีขอควรปฏิบัติ ในการพูด ดงั นี้ ๑) การวางทาทาง ควรระมัดระวังอิริยาบถตางๆ ไมวาจะเปนทานั่ง ทา ยนื หรอื เดนิ ใหอ ยใู นอาการสำรวม โดยอาจมกี ารแสดงทา ทางประกอบเรอื่ ง ตามความเหมาะสม รวมทั้งการแตง กายใหด เู รยี บรอย สะอาด ดูนา เชือ่ ถือ ๒) การดึงดูดความสนใจ ใหผูฟงไดมีสวนรวมโดยใชคำพูดดึงดูดให สนใจฟง ควรใชถ อ ยคำทล่ี ะเมยี ดละไมนา ฟง และเหมาะสมกบั เรอื่ ง ไมใ ชค ำพดู หยาบคาย และคำที่ตคี วามสองแงสองงามในเชิงลามก ๓) การใชถอยคำท่ีสุภาพ ควรใชถอยคำที่สุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ และบคุ คล ถา จะยกถอ ยคำ บทประพนั ธข องผอู ่นื มาพูด ควรบอกทม่ี าดว ย ๘๐ ภาษาไทย ๖

๔) การใชสายตา ระหวางพูดไมควรหันไปมองในจุดจุดเดียว เพราะจะ เปนการเสยี มารยาท ควรใชสายตากวาดไปยงั ผูฟงใหทว่ั ถงึ ๕) การใชภาษา ควรใชคำท่ีเขาใจงาย ไมยกคำพูดยากๆ หากจำเปน ตองพูดควรแปลดวย ๖) การเลือกเรื่องท่ีจะพูด ควรเลือกเร่ืองใหเหมาะสมกับสถานการณ กาลเทศะ และบคุ คลท่ีเขา ฟง ๗) การรกั ษาเวลาในการพดู โดยอาจวางนาฬก าไวบ นโตะ หรอื บรเิ วณที่ อาจจะมองเหน็ ไดชดั เจน จะไดไมเกนิ เวลาที่กำหนด àÁ×èÍÇÒ¹ ãªæ‹ ©Ñ¹¡ç´ÙàËÁÍ× ¹¡Ñ¹ ©¹Ñ ªÍºµÍ¹·Õè ¡Òõ ٹʹ¡Ø ÁÒ¡àÅ ¾Ç¡ÎâÕ ÃÁ‹ ҪNj ¡ѹ »ÃÒºàËÅ‹ÒÌҹЋ เฉฉบลบั ย ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¤Ô´Ç‹Ò ¡Òþ´Ù ¢Í§à´ç¡ÊÒÁ¤¹¹Õé ໹š ¡Òþ´Ù ÅѡɳÐ㴤Р¡Òþٴ¢Í§à´ç¡ ó ¤¹¹éÕ ¨´Ñ ໚¹¡ÒþٴẺäÁ‹à»¹š ·Ò§¡Òà à¾ÃÒÐ໚¹¡Òþٴ¤ØÂʹ·¹Ò¡¹Ñ ¤Ð‹ ภาษาไทย ๖ ๘๑

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè õ ๑. เขียนแผนผงั ความคิดสรปุ เร่ืองการพูดลงในสมุด ขึน้ อยูก ับดุลยพนิ จิ ของผสู อน ๒. เขียนแสดงขอควรปฏิบตั ใิ นการพดู จากสถานการณทกี่ ำหนดลงในชอ งวาง (ตวั อยาง) สถานการณ ขอ ควรปฏิบัติ เก : ·Õ¹è Ñè¹·Õèä˹ ...จ...า...ค....ว...ร....จ....ะ..พ.....ดู ....ต....อ...บ.....ร...ับ.....ผ...ูท....่โี...ท....ร....ม...า...ว...า............................. จา : áÅŒÇâ·Ãä»ä˹ŋР...เ.บ.....อ...ร....โ...ท....ร...ศ....ัพ.....ท....ข...อ....ง...ต....น.....ค....ือ....เ.บ.....อ...ร....อ....ะ..ไ...ร....................... ...แ...ล....ว ...ถ....า...ม...ผ....ทู ....่โี ...ท....ร...ม....า...ว...า ...ต....อ...ง....ก....า...ร...พ.....ูด....ก....ับ....ใ...ค....ร............ ดว ยถอยคำที่สุภาพ............................................................................................................... ............................................................................................................... เฉฉบลบั ย สถานการณ ขอ ควรปฏบิ ัติ .ท....า ...น....ป....ร....ะ...ธ...า...น....ค.....ว...ร...ฝ....ก ....ท....ัก....ษ.....ะ..ก....า...ร....พ....ูด............... ประธาน : ¢ÍãË·Œ Ò‹ ¹àÍ‹Í...... .ใ..ห....ช...ำ...น.....า...ญ.........แ....ล....ะ..เ..ต....ร....ีย...ม....ต....วั...ใ...น....ก.....า..ร....พ....ดู........... .ใ..ห....พ.....ร...อ ....ม...ก.....ว..า...น.....ี้ .....จ...ะ...ไ...ด....ไ..ม....พ ....ูด....ต....ดิ.....ข...ัด................ Í‹Ò...... ÁÕ ......... หรือพดู ตะกกุ ตะกัก................................................................................................. àÍ‹Í....... ÁÕ ................................................................................................. สถานการณ ขอ ควรปฏบิ ัติ สดุ ใจ : ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð ´©Ô ¹Ñ Êش㨠.ว..น.....ดิ....า...ค....ว...ร....พ....ูด....ท....กั.....ท....า...ย...ต....อ....บ....ส.....ดุ ....ใ..จ..................... .โ..ด....ย....ว...น....ิด....า...ไ...ม....ค ....ว...ร...พ.....ูด....ซ...อ....ก....แ...ซ....ก....ห....ร....ือ....ถ....า..ม...... ¤‹Ð ÂÔ¹´Õ·Õè䴌èŒÙ Ñ¡ .เ.ร....อื่ ....ง...ส....ว...น.....ต....ัว...ข...อ....ง...ส....ุด.....ใ..จ........ท.....้ัง...ท....่ีย....ัง...ไ...ม...ร....ูจ....ัก... หรือสนทิ สนมกนั................................................................................................. วนิดา : äÁ·‹ ÃҺNjÒÊÃŒÍÂ¤Í ................................................................................................. ¤³Ø ãªà‹ ¾ªÃá·ŒäËÁ¤Ð ๘๒ ภาษาไทย ๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook