คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
ก คานา ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสาคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ๒) มีพ้ืนฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทา ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ใน การสืบสาน รักษา พัฒนาต่อยอด โครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนาการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้านอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศกึ ษา เพือ่ แก้ปญั หาการขาดแคลนครใู นโรงเรียนขนาดเล็ก สรา้ งโอกาสการเข้าถึงการเรยี นรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ทกุ เพศ ทุกวยั ผา่ นการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มจานวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่างๆ และผสู้ นใจทว่ั ประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นสงั คมแหง่ ปัญญามีจติ อาสาในการสรรคส์ รา้ งและพฒั นาประเทศให้มน่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็บไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนิธิ และมีคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงครบท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซง่ึ ครปู ลายทางสามารถปรบั กจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมกับชุมชน ทอ้ งถน่ิ วฒั นธรรมและบรบิ ทของแต่ละโรงเรียน คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับนี้ เป็นการปรับปรุงครั้งที่ ๒ ซ่ึงดาเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยความร่วมมือจากคณะทางาน ประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูปลายทางใช้ ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมท้ังสามารถจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด เพื่อให้การจัด การเรยี นการสอนเกิดประสทิ ธผิ ล นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเล็กต่อไป นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ุณอย่างหาท่สี ุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงมงุ่ มนั่ พฒั นายกระดบั คุณภาพ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพอ่ื พฒั นาสงั คมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยใหเ้ ข้มแข็ง สมดัง พระราชปณิธาน “...การศกึ ษาคือความมัน่ คงของประเทศ...” ขอพระองคท์ รงพระเจริญ มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ข (สำเนำ) ท่ี ศธ ๐๔๐๑๐/๕๘๑ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน กระทรวงศกึ ษำธิกำร กทม. ๑๐๓๐๐ ๑๑ มนี ำคม ๒๕๖๔ เร่ือง รับรองควำมร่วมมือกำรพัฒนำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อกำรสอนออกอำกำศทำงไกล ผำ่ นดำวเทยี ม เรยี น เลขำธิกำรมลู นิธิกำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทยี ม ในพระบรมรำชปู ถมั ภ์ อ้ำงถึง หนงั สือมูลนิธกิ ำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถมั ภ์ ที่ มศทท. ๙/๗๒ ลงวันที่ ๒๕ มกรำคม ๒๕๖๔ ตำมหนังสือที่อ้ำงถึง มูลนิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ แจ้งว่ำ มูลนิธิ ฯ ได้ปรับปรุงคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย คู่มือครูและ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำตอนต้น ตำมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ จำกผู้ทรงคุณวุฒิ คณะผู้นิเทศ ครูผู้สอนจำกโรงเรียนต้นทำงและโรงเรียนปลำยทำง และได้พัฒนำเป็นคู่มือครู และแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง คู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ส่ือ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง โดยมูลนิธิ ฯ ได้ดำเนินกำรพัฒนำและบรรณำธิกำรกิจ โดยคณะกรรมกำรประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชำญ ครูผู้สอนท่ีมีประสบกำรณ์เป็นผู้ร่วมในกำรพัฒนำ คู่มือจนสำเร็จ และได้ประชุมหำรือเพ่ือให้ข้อเสนอแนะ ข้อควรปรับปรุงจำกสำนักวิชำกำรและมำตรฐำน กำรศึกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน นั้น ในกำรนี้ ขอรับรองว่ำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ สื่อ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง และคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง สำมำรถใช้ ในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนได้ จงึ เรียนมำเพอื่ โปรดทรำบ ขอแสดงควำมนบั ถือ (นำยอมั พร พินะสำ) เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พนื้ ฐำน สำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๖๕-๖๖ โทรสำร ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๕
ค หน้า สารบัญ ก ข คานา หนงั สือรับรองความรว่ มมือการพฒั นาคู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ค เพ่อื การสอนออกอากาศทางไกลผา่ นดาวเทียม จ สารบญั ช คาช้ีแจงการรบั ชมรายการออกอากาศด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทยี ม ฒ คาชแ้ี จงรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ ๑ ณ คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี ๑ ต มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด 1 โครงสรา้ งรายวชิ าศิลปะ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ ๑ 5 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ชื่อหน่วย สสี ันงานศิลป์ 13 21 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๑ เร่อื ง วงสธี รรมชาติ 29 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่อง สีคู่ตรงข้าม 35 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๓ เรือ่ ง สีคู่ตรงข้ามแบบเยอ้ื ง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เร่อื ง ออกแบบลายผา้ จากสคี ตู่ รงขา้ ม 36 แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 40 49 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ ชอื่ หน่วย องคป์ ระกอบศลิ ป์ 59 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่ือง ขนาดและสัดสว่ นในงานทศั นศลิ ป์ 69 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่อง ความสมดุล 79 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ เรือ่ ง แสงเงาและน้าหนัก แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เรื่อง รปู และพืน้ ทวี่ า่ ง 80 แบบประเมนิ ตนเอง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 84 92 หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ ช่ือหน่วย บันดาลงานศิลป์ 100 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เรื่อง งานทศั นศลิ ปท์ ี่สะทอ้ นชวี ิตและสงั คม 101 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่อื ง อทิ ธพิ ลของศาสนาที่มผี ลตอ่ ทศั นศิลป์ แบบประเมินตนเอง หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 102 แบบบันทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) 105 110 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๔ ชือ่ หน่วย การแสดงนาฏศิลป์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง เพลงวิหคเหนิ ลม (๑) แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่อื ง เพลงวหิ คเหนิ ลม (๒)
ง 115 120 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ เรื่อง เพลงปลกุ ใจ (๑) 125 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เรื่อง เพลงปลกุ ใจ (๒) 130 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื ง การออกแบบเคร่ืองแตง่ กายเพลงปลกุ ใจ แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 131 134 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๕ ชื่อหน่วย เพลดิ เพลินเสียงเพลง 139 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่อื ง เพลงเก่ียวข้าว (๑) 144 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรื่อง เพลงเกยี่ วข้าว (๒) 149 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๓ เรอ่ื ง การออกแบบอปุ กรณก์ ารแสดงนาฏศลิ ป์ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 150 153 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๖ ช่ือหน่วย หลักการนาฏศิลป์ 165 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑ เรอื่ ง องคป์ ระกอบและบทบาทหนา้ ทข่ี องงานนาฏศิลป์ 175 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๒ เร่ือง หลักการชมการแสดงนาฏศลิ ป์ 176 แบบประเมินตนเอง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) 177 178 บรรณานกุ รม 188 ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม 197 ภาคผนวก ข. แผนผังความคิด (Graphic Organizers) 203 ภาคผนวก ค. แบบบันทึกการเรยี นรู้ ( Learning Logs) คณะกรรมการปรบั ปรงุ คูม่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
จ คาชี้แจง การรบั ชมรายการออกอากาศด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้บริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม จานวน ๑๕ ช่องรายการ ทั้งรายการสด (Live) และรายการ ย้อนหลงั (On demand) สามารถรบั ชมผา่ นช่องทาง ตอ่ ไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา้ ที่ Play Store/Google Play พมิ พ์คาวา่ DLTV - ระบบ iOS เข้าที่ App Store พมิ พค์ าว่า DLTV หมายเลขชอ่ งออกอากาศสถานวี ทิ ยุโทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม 15 ช่องรายการ ชอ่ ง ช่อง (TRUE) รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา (DLTV) (ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๔.๓๐ น.) (ชว่ งเวลา ๑๔.๓๐ น. – ๐๘.๓๐ น.) DLTV 1 ช่อง 186 รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ DLTV 2 ชอ่ ง 187 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 ความรูร้ อบตัว DLTV 3 ชอ่ ง 188 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV 4 ชอ่ ง 189 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม DLTV 5 ช่อง 190 รายการสอนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 ศิลปวฒั นธรรมไทย DLTV 6 ช่อง 191 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง DLTV 7 ช่อง 192 รายการสอนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร DLTV 8 ช่อง 193 รายการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาษาตา่ งประเทศ DLTV 9 ชอ่ ง 194 รายการสอนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 การเกษตร DLTV 10 ชอ่ ง 195 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ่ี 1 รายการสาหรบั เดก็ -การเลี้ยงดูลกู DLTV 11 ชอ่ ง 196 รายการสอนชน้ั อนบุ าลปที ่ี 2 สขุ ภาพ การแพทย์ DLTV 12 ช่อง 197 รายการสอนชัน้ อนบุ าลปที ่ี 3 รายการสาหรบั ผสู้ ูงวัย DLTV 13 ชอ่ ง 19๘ รายการของการอาชพี วังไกลกงั วล และมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล DLTV 14 ชอ่ ง 199 รายการของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช DLTV 15 ช่อง 200 รายการพฒั นาวชิ าชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรยี นระดบั ชั้นปฐมวัย ช่วงเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๑.๓๐ น.
ฉ การตดิ ต่อรับขอ้ มูลขา่ วสาร ๑. มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เลขที่ 214 ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนสั เขตป้อมปราบศตั รพู า่ ย กรงุ เทพมหานคร โทร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ิทยโุ ทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาบลหัวหิน อาเภอหวั หิน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ – ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ตดิ ตอ่ เรอ่ื งเว็บไซต)์ [email protected] (ตดิ ตอ่ เรื่องทว่ั ไป) ๓. โรงเรยี นวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ อาเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร 032 522 347 , 032 520 478 โทรสาร 032 520 478 Facebook : โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th
ช คาชแ้ี จง กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ๑. แนวคิดหลกั หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระการเรียนรู้ จานวน ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนาความรู้ด้านเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการฝกึ ทักษะให้ผเู้ รยี นเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และเกดิ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ๕ ประการ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๘ ประการ ดังน้ี สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสือ่ สารเป็นความสามารถในการรับสารและสือ่ สารมีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ การคดิ อยา่ งเป็นระบบเพื่อนาไปส่กู ารสร้างองค์ความรู้หรอื สารสนเทศ เพอื่ ใชใ้ นการตัดสินใจ เกีย่ วกบั ตนเอง สงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณต์ ่างๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถ นากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพนั ธอ์ ันดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขดั แย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหาอย่าง สรา้ งสรรคถ์ กู ต้องเหมาะสม มีคณุ ธรรมด้านตา่ ง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเอง สังคม ในด้านการเรยี นรู้ การสือ่ สาร การทางาน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๘ ประการ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างมีความสุข ในฐานะเป็น พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก ดังนี้ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ๓) มีวินัย ๔) ใฝเ่ รยี นรู้ ๕) อย่อู ยา่ งพอเพียง ๖) มุ่งม่นั ในการทางาน ๗) รกั ความเป็นไทย ๘) มจี ติ สาธารณะ
ซ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ เป็นกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ม่ี งุ่ เน้นพัฒนาให้ผูเ้ รียนมีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศลิ ปะ ช่ืนชมความงาม มสี ุนทรยี ภาพ ความมีคุณคา่ ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะ ชว่ ยพฒั นาผูเ้ รยี นทงั้ ดา้ นร่างกาย จติ ใจ สติปญั ญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่ การพัฒนาสิ่งแวดลอ้ ม ส่งเสริมให้ ผู้เรยี นมคี วามเช่อื มน่ั ในตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ ครูผู้ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ควรมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จากจินตนาการ สามารถใช้ อปุ กรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใชเ้ ทคนคิ วิธกี ารของศิลปินในการสรา้ งงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คณุ คา่ งานทศั นศลิ ป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะ ทเี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล ช่นื ชม ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนศิลปะ มีการบูรณาการด้านคุณลักษณะในแผน การจัด การเรียนรู้ท่ีคานึงถึงคุณลักษณะ ที่ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะด้านวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณค่า ของศลิ ปะ เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นแสดงออกอยา่ งอสิ ระ ในศิลปะแขนงต่างๆ ได้แก่ ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ สอดคล้อง ตามเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ และให้มีเจตคติที่ดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสา ครูผู้สอนควรปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์และเป็นคนดีของสงั คม ๒. กระบวนการจดั การเรียนรู้ แนวคดิ สาคญั ของการจัดศึกษา ท่เี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนคิด และลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ การประเมิน การเรียนรู้จึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน เพราะสามารถทาให้ผู้สอน ประเมนิ ระดบั พฒั นาการเรยี นรู้ของผเู้ รียน การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสาคญั ที่สดุ กระบวนการจดั การศึกษาต้อง สง่ เสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ใหค้ วามสาคญั ของการบรู ณาการความร้คู ุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของ ระดับการศึกษา ได้ระบุ ให้ผูท้ ่ีเกย่ี วขอ้ งดาเนินการ ดงั น้ี ๑) สถานศกึ ษาและหน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง (๑) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึง ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพอื่ ป้องกันและแกไ้ ขปญั หา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้คิดเป็นทาเป็น รักการอา่ น และเกดิ การใฝร่ ้อู ยา่ งต่อเนอ่ื ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทง้ั ปลกู ฝังคณุ ธรรม คา่ นิยมท่ีดงี าม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคไ์ ว้ในทุกวิชา
ฌ (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ มีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยให้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวน การเรยี นรู้ ท้งั นีผ้ ู้สอนและผู้เรยี นอาจเรียนรไู้ ปพรอ้ มกันจากสื่อการเรยี นการสอนและแหล่งวทิ ยาการประเภทต่าง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความ ร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทกุ ฝ่าย เพ่อื ร่วมกนั พฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพ ๒) การจัดสภาพแวดล้อมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ (๑) จัดสภาพแวดล้อม ห้องเรียน หรือภายนอกห้องเรียน ให้เอ้ือต่อการ เรียนรู้ สะอาด มีความเป็นระเบียบ ตกแต่งห้องเรียนให้น่าอยู่ มีมุมต่างๆในห้องเรียน มีที่เก็บวัสดุอุปกรณ์ และง่ายต่อการนามาใช้ มีป้ายนเิ ทศใหค้ วามรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ ร่มร่ืนและเหมาะกับกิจกรรมการเรียนรู้ ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย (๒) จดั สภาพแวดลอ้ ม หรือหอ้ งใหผ้ ู้เรยี นได้ฝกึ ปฏบิ ัติการ (๓) จดั สื่อ อุปกรณ์ ทีเ่ กีย่ วกบั การเรยี นรู้อยา่ งเพยี งพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู้ หรือ ช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสารท่ีทันสมัยปัจจบุ ันอยเู่ สมอ ๓) ครูผสู้ อน การจดั การเรยี นรตู้ ามแนวดังกลา่ ว จาเป็นต้องเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนทั้งของผู้เรียน และผู้สอน กล่าวคือ ลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผนจัดกิจกรรม ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กจิ กรรมต่าง ๆ จะต้องเน้นทบ่ี ทบาทของผู้เรียนตง้ั แต่เริม่ คอื ร่วมวางแผนการเรยี น การวัดผล ประเมินผล และตอ้ งคานึงวา่ กจิ กรรมการเรียนนนั้ เน้นการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งกันและกัน การสร้างคาอธิบายเกี่ยวกับข้อมูลท่ีสืบค้นได้ เพื่อนาไปสู่คาตอบของปัญหาหรือคาถามต่าง ๆ และ สร้างองค์ความรู้ ทั้งน้ีกิจกรรมการเรียนรู้เหล่านี้ต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ทั้งทางร่างกาย อารมณส์ งั คม และสติปญั ญา หลกั การจดั กระบวนการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษา ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูต้อง ลดบทบาทในการสอนโดยเปน็ ผชู้ ้ีแนะ กระตนุ้ ให้ผูเ้ รียนกระตอื รือร้นท่จี ะเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ มากขึ้นและ อยา่ งหลากหลาย ดังนี้ 1) ควรให้นักเรียนทกุ คนมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วย การกระตุ้นให้นักเรียนลงมือ ปฏิบัตแิ ละอภิปรายผล โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ของการสอน เช่น การนาเขา้ สู่บทเรยี น การใชค้ าถาม การเสริมพลังมาใช้ให้ เป็นประโยชน์ ทจี่ ะทาให้การเรียนการสอนน่าสนใจและมชี วี ิตชีวา 2) ครูควรมีการวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนานักเรียนเข้าสู่บทเรียนและ ลงข้อสรุปได้โดยท่ีไม่ใช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใช้คาถามท่ีมีความยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถ ของนักเรยี น
ญ 3) เม่ือนักเรียนถาม อย่าบอกคาตอบทันที ควรให้คาแนะนาที่จะช่วยให้นักเรียนหาคาตอบได้เอง ครูควรให้ความสนใจต่อคาถามของนักเรียนทุก ๆ คน แม้ว่าคาถามนั้นอาจจะไม่เก่ียวกับเรื่องที่กาลังเรียนอยู่ก็ตาม ครูควรจะชี้แจงให้ทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสู่เร่ืองที่กาลังอภิปรายอยู่ สาหรับปัญหาที่นักเรียน ถามมานัน้ ควรจะได้หยิบยกมาอภปิ รายในภายหลงั 4) การสารวจตรวจสอบซ้า เป็นส่งิ จาเปน็ เพื่อให้ไดข้ ้อมลู ท่นี า่ เชื่อถือ ดังนั้น ในการจัดการเรยี นรคู้ รคู วร ยา้ ใหน้ ักเรยี นไดส้ ารวจตรวจสอบซา้ เพ่ือนาไปส่ขู อ้ สรปุ ท่ีถกู ต้องและเชอ่ื ถือได้ กระบวนการเรียนร้กู ลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรู้ จากหอ้ งสมดุ แหล่งเรียนรู้จากภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน งานวเิ คราะห์จากการศกึ ษาภาคสนาม การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาจริง โดยกาหนด ภาระงาน (task) การวางแผนปฏิบัติ ลงมือปฏิบัติโดยครูให้คาแนะนาและสาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง ผู้เรียนฝึกได้ปฎิบัติ ตามลาดับข้ันตอนจนชานาญ ในรูปแบบของโครงงาน ศิลป์สร้างสรรค์ ที่เน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภปิ รายกลมุ่ ยอ่ ย การแก้ปญั หากลมุ่ สืบคน้ ความรู้ กลุ่มสัมพันธ์การเรยี นรู้แบบร่วมมอื การอภปิ ราย การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพัฒนา กระบวนการคดิ การสอนโดยใชว้ ธิ ีการตั้งคาถามผ้เู รียน การเรยี นการสอนโดยใช้แผนผงั ความคิด (Graphic Organizers) การเรียนการสอนด้วยกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๓. สอ่ื การจัดการเรยี นร้/ู แหล่งเรียนรู้ สื่อการจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนได้รับความรู้ ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ไ ด้ ง่ า ย ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ส้ั น แ ล ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว ส่ื อ ท่ีปรากฏในแผนการจดั การเรียนรมู้ ีดงั นี้ ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนาเสนอข้อมลู ๒) คลปิ /วดี ทิ ัศน/์ ภาพข่าวสถานการณป์ ัจจบุ นั ๓) สถานการณส์ มมตุ ิ ๔) สื่อบคุ คล แหล่งเรียนรู้ เป็นเครอ่ื งมือสรา้ งคุณลักษณะการใฝ่เรียนรูท้ ่ีทุกคนตอ้ งใฝ่รู้ตลอดชีวิต ดังน้ี ๑) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ห้องสมุด ประชาชน หอ้ งสมุดแหง่ ชาติ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและเป็นหัวใจสาคัญของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนควรจัด ห้องสมุดกลาง ห้องสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องสมุดเคลื่อนท่ี รถเคล่ือนที่ ห้องสมุดประชาชนล้วนเป็น แหลง่ เรียนรูจ้ ะทาให้ผเู้ รยี นได้เรียนรู้และปลกู ฝงั ลักษณะนิสัยทด่ี ใี นการส่งเสริมนสิ ัยรกั การอ่าน
ฎ ๓) แหลง่ เรียนรูอ้ อนไลน์ - สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน - สานักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ - กระทรวงวัฒนธรรม ฯลฯ ๔. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์สาคญั ของการประเมนิ การเรียนรคู้ ือ การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ที่ผู้สอน หรอื หลกั สตู รวางไว้ ปัญหาทพ่ี บในปจั จบุ ันกค็ อื ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจานวนมากยังให้ ความสาคัญ การเรียนรู้แบบท่องจาเพื่อสอบ หรือการเรียนรู้เพ่ือแข่งขัน ซึ่งถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผินมากกว่าการประเมิน การเรียนร้รู ะหว่างเรยี นการเรียนร้เู พ่ือพฒั นาตนเองซง่ึ ผลลัพธข์ องการเรียนรู้จะย่งั ยืนกว่า (กุศลิน มุสกิ ุล, ๒๕๕๕; ขจรศกั ดิ์, เพ็ญจันทร์ และวรรณทิพา รอดแรงค้า, ๒๕๔๘) ในการจดั การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนน้ัน จาเป็นต้องมีการประเมินการเรียนรู้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตั้งแตเ่ ริ่มต้นระหว่างและสน้ิ สดุ กระบวนการเรียนรู้ โดยใชก้ ารประเมินในรูปแบบท่ีหลากหลายสอดคล้อง ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้ รูปแบบการประเมินการเรยี นรูไ้ ดแ้ ก่ การประเมินการเรยี นรู้ระหวา่ งเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนร้สู รปุ รวม (Summative Assessment) และการประเมนิ การเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ และการประเมินตามสภาพจริงนั้น ผู้สอนจาเป็นต้อง สะท้อนการประเมิน ให้ผู้เรียนรับทราบเพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผู้สอนต้องนาผลการประเมินมาพิจารณา เพ่ือทบทวนและปรับแผนการจดั การเรยี นรูเ้ พอื่ ให้สามารถดาเนินการแก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธีการต่าง ๆ เพ่ือช่วยให้ ผ้เู รยี นแตล่ ะคนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามแตล่ ะจุดประสงคก์ ารเรียนรูห้ รอื เปา้ หมายของตัวช้ีวัดตา่ ง ๆ (กุศลนิ มสุ กิ ลุ , ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียนและการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จนั้น ผู้เรยี นจะตอ้ งได้รบั การพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินการเรียนรู้ในทุกระดับ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรทู้ ป่ี รากฏในแผนการจดั การเรยี นรู้ ให้ความสาคัญของการประเมินพฤตกิ รรม การปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑) วิธกี ารประเมิน (1) การวัดและประเมนิ ก่อนเรียน เพอื่ ตรวจสอบความพร้อม และความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสาน ในกจิ กรรมการเรียนรูข้ ้นั นา) (2) การวัดและประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ ด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวธิ ีการสังเกตพฤตกิ รรม ถามตอบพรอ้ มแสดงเหตผุ ล ตรวจช้ินงาน การนาเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ สอน) จุดมงุ่ หมายของการประเมนิ ระหว่างเรยี น มดี ังนี้
ฏ (๒.๑) เพ่ือค้นหาและวินิจฉัยว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหา มีทักษะความชานาญ รวมถึง มเี จตคติทางการเรียนรูอ้ ยา่ งไรและในระดบั ใด เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ อยา่ งเหมาะสม เพื่อพัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรียนไดอ้ ย่างเต็มศกั ยภาพ (๒.๒) เพ่อื ใช้เป็นขอ้ มูลปอ้ นกลับให้กบั ผู้เรียนว่ามีผลการเรียนรอู้ ย่างไร (๒.๓) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ของผู้เรียนแต่ละคน (3) การวัดและประเมินหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความสาเร็จตามจุดประสงค์รายแผน เป็นการพัฒนา ในจุดที่ผูเ้ รยี นอาจจะเข้าใจคลาดเคลอ่ื นหรือปฏิบตั ิไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมข้ันสรุป) และเพื่อตัดสินผลการจัด การเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทน้ีใช้ประกอบการตัดสินผล การจดั การเรยี นการสอน หรือตดั สินใจว่าผเู้ รยี นคนใดควรจะได้รับระดับคะแนนใด (๔) ประเมนิ รวบยอดเม่ือส้นิ สดุ หน่วยการเรียนรู้ ดาเนินการดงั นี้ การประเมินโดยครูผู้สอน เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ตาม มาตรฐาน ตัวชวี้ ัด สมรรถนะ คณุ ลักษณะ และเจตคตหิ รือไม่ เช่น การทาโครงงาน การนาความรู้ไปใช้เพ่ือพัฒนาสังคม ในรูปแบบตา่ ง ๆ การประเมนิ โดยผ้เู รยี นแต่ละคน โดยการทาแบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning log) ควรให้ผู้เรียนได้ ประเมนิ การเรียนรู้ของตนเอง เพ่ือเปิดโอกาสไดส้ ะทอ้ นคิดส่งิ ที่เรยี นรทู้ งั้ ที่ทาได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตวั อยา่ งแบบบันทึก การเรียนรู้ ดูภาคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ย่อยหลังจบการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ และประเมนิ การเรียนรรู้ วมในช่วงกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดยครูสามารถเลือกใชช้ ดุ คาถามและจานวนขอ้ ให้ เหมาะสมกบั บรบิ ทของผเู้ รยี น ชว่ งเวลาและธรรมชาติของแตล่ ะวิชา ทั้งนใ้ี นครั้งแรกครูควรทารว่ มกบั นักเรยี นเพื่อแนะนา วธิ กี ารเขียนแบบสะท้อนคดิ และควรอ่านสิ่งที่นักเรียนบนั ทึกพรอ้ มใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เสนอแนะในเชิงบวกและสรา้ งสรรค์ รวมท้ังใช้ประโยชน์จากขอ้ มลู ในแบบบันทกึ เพอื่ พัฒนาการสอนของตวั เองและชว่ ยเหลือนกั เรียนเปน็ รายบุคคลต่อไป ๒) ผปู้ ระเมนิ ได้แก่ เพ่ือนประเมินเพ่ือน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และผู้ปกครองร่วม ประเมนิ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านศิลปะ เป็นกระบวนการทางสุนทรียศาสตร์ ที่เกี่ยวกับรสนิยม ความช่ืนชอบ ความงาม เกณฑ์ในการวัดผลแบบนิยมท่ีเน้นความถูกต้องของการตอบข้อสอบใน มาตัดสินความงาม ความคิดสรา้ งสรรคไ์ มเ่ หมาะสม การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ จึงเหมาะทจี่ ะใช้ประเมินผลการเรียนรู้ทางศิลปะ เป็นการประเมินความสามารถ และกระบวนการในการปฏิบัติในสถานการณ์จริง หรือคล้ายสถานก ารณ์จริง ท้ังใน และนอกห้องเรียน เน้นให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความเข้าใจและทักษะการคิด ท่ีบูรณาการการเรียนรู้เช่ือมโยง การนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ด้วยการเรียนรู้ด้านศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์มีความเก่ียวข้องกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ของผ้คู นในสงั คม การวดั และประเมนิ ผลกับการจดั การเรียนการสอนศิลปะ จึงเปน็ เรือ่ งท่ีสัมพันธ์กัน หากขาดสิ่งหน่ึงส่ิงใด การเรียนการสอนก็ขาดประสิทธิภาพ ครูต้องใช้วิธีการและเคร่ืองมือการประเมินท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การซกั ถาม การระดมความคิดเหน็ เพือ่ ใหไ้ ดม้ ตขิ ้อสรปุ ของประเดน็ ที่กาหนด การใชแ้ ฟม้ สะสมงาน การใชภ้ าระงานที่เนน้ การปฏิบัติ การประเมินความรู้เดิม การให้ผู้เรียนประเมินตนเอง การให้เพ่ือนประเมินเพื่อน และการใช้เกณฑ์การให้
ฐ คะแนน (Rubrics) ส่ิงสาคัญท่ีสุดในการประเมินเพ่ือพัฒนาคือการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในลักษณะคาแนะนาท่ี เชือ่ มโยงความรเู้ ดิมกบั ความร้ใู หมท่ าให้การเรียนรู้พอกพูน แก้ไขความคิด ความเข้าใจเดิมที่ไม่ถูกต้อง ตลอดจนการให้ ผู้เรียนสามารถต้ังเปา้ หมายและพฒั นาตนได้ ในการประเมนิ เพ่ือตัดสนิ ผลการเรยี นทีด่ ตี อ้ งให้โอกาสผู้เรียนแสดงความรู้ ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเกณฑ์ผลการปฏิบัติมากกว่าใช้เปรียบเทียบ ระหว่างผเู้ รยี น 5. คาแนะนาบทบาทครูปลายทางในการจัดการเรยี นรู้ ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคู่ขนานกับครูต้นทางในการกากับดูแลช่วยเหลือนั กเรียนในทุกข้ันตอน การสอน ดังนี้ 1) ขน้ั เตรียมตวั ก่อนสอน (1) ศึกษาทาความเข้าใจคาช้ีแจงและทาความเข้าใจเชื่อมโยง ท้ังเป้าหมาย กิจกรรมและการวัดผล และประเมนิ ผลระหว่างหนว่ ยการเรยี นรกู้ ับแผนการจัดการเรียนรรู้ ายชว่ั โมง (2) ศึกษาค้นคว้าความรู้เพ่ิมเติม จากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความรู้ท่ีเช่ือถือได้ รวมทงั้ เทคนคิ การจัดการเรียนร้เู พอ่ื พฒั นาความสามารถของผ้เู รยี นอยา่ งรอบด้าน (3) ปรับ/ประยุกต์หรือเพิ่ม เป้าหมายท้ังเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้น และที่เป็นปัจจุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศกั ยภาพของผู้เรียน และตามสภาพจรงิ (4) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดล่วงหน้าเพ่ือทาความเข้าใจการจัดกิจกรรม Power Point และสื่อตา่ งๆท่คี รูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในข้ันตอนช่วงการปฏิบัติ ท้ังด้านวิธีการ ส่ือที่ใช้ และชว่ งเวลาของการทาแต่ละกิจกรรมเพ่ือนามาวิเคราะห์และหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ช่วยเหลือ ส่งเสริม/อานวย ความสะดวกนกั เรยี นตามบริบทของหอ้ งเรยี นของตนให้สามารถเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและเตม็ ตามศักยภาพ (5) เตรียมใบงาน (ที่คัดเลือกสาหรับมอบหมายให้นักเรียนได้ทาตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทั้ง การเตรียมอปุ กรณ์ตามระบุในแผนฯและ/หรือทีป่ รากฏในคลปิ (ในกรณมี ีการปรับเปล่ียนเพิม่ เตมิ ) (6) ติดตามข้อมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกาหนดการสอนท่ีมีรายละเอียด ของสอ่ื การสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th 2) ขนั้ การจัดการเรียนรู้ (1) สร้างการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทากิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นักเรียนคิด ตอบคาถามของ ครูต้นทาง ฟังเฉลยและชว่ ยเสริม/อธิบาย/ในสิง่ ทนี่ ักเรยี นยังไมเ่ ขา้ ใจ ชมเชย/ใหก้ าลงั ใจหากนักเรียนทาไดด้ ี (2) ให้ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีตามไม่ทัน เช่นอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ต่อไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (3) กากับดูแลให้มีวนิ ัยในการเรียน เชน่ ไมเ่ ลน่ หรอื พดู คยุ กัน ปฏิบัติตามคาสงั่ ในการทากิจกรรม ฯลฯ (4) อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ เช่น จดั เตรียมสื่อการเรยี นร/ู้ อุปกรณ์ (5) สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นเช่น คุณลกั ษณะผูเ้ รียน, สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/ การปฏิบตั ิงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินท่ีแนะนาไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือนา ขอ้ มูลไปพัฒนานกั เรียนและใหค้ วามชว่ ยเหลือนักเรยี นทั้งชั้น/กลมุ่ /รายบคุ คลตามกรณี
ฑ 3) ข้นั การปฏิบัติ (1) ทบทวนข้ันตอนการทากิจกรรมตามที่ครูต้นทางแนะนา และตามข้อแนะนาการปฏิบัติที่ระบุ ใน PowerPoint ตรวจสอบความเขา้ ใจ และเตรียมนกั เรยี นกอ่ นทากจิ กรรม (การแบง่ กลมุ่ ฯลฯ) (2) กากับใหก้ ารทากจิ กรรมเป็นไปตามลาดับเวลาตามแนวทางท่รี ะบบุ น PowerPoint (3) ให้ความชว่ ยเหลือนกั เรียนในระหว่างการทากิจกรรม (4) เตรียมพร้อมนักเรียนสาหรับกิจกรรมในข้ันตอนสรุปการเรียน (ถ้ามี) เช่น การสรุปผลปฏิบัติงาน เพอ่ื เทียบเคยี งกบั ผลงานทีน่ ักเรยี นต้นทางจะนาเสนอ เป็นต้น 4) ข้ันสรุป (1) กากับนกั เรียนให้มสี ว่ นรว่ มในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทากจิ กรรม ฯลฯ (2) ทบทวนประเด็นสาคัญที่มีการสรุปท้ายชั่วโมง และงาน/ใบงานท่ีครูต้นทางมอบหมายให้ทาเป็น การบา้ น/หรอื ใบงานท่ีครปู ลายทางได้เลอื กมาใชก้ ับช้ันเรยี นของตน (3) จดั ให้นักเรยี นได้ทาแบบประเมินตามระบใุ นหัวขอ้ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ (เฉพาะหลงั จบ แตล่ ะหน่วยการเรียนร้แู ละครึ่ง/ปลายภาคเรียน) 5 ) การบันทกึ ผลหลงั สอน (1) บันทึกการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้ข้อมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนเพื่อวิเคราะห์เทคนิค หรือวิธีการใด ท่ีทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่ วม มีความรู้ มีทักษะ และคณุ ลกั ษณะตามจดุ ประสงค์ (2) บันทึกสาเหตุของความสาเร็จ อุปสรรค และ/หรือข้อจากัดที่เกิดข้ึน เช่น เทคนิค หรือวิธีการใด การบริหารจัดการช้ันเรียน การจัดบรรยากาศ ส่ิงแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ท่ีทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มี ทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ โดยใช้คาถามท่ีให้ไว้ใน “คาถามบันทึกผลหลังสอนสาหรับครูปลายทาง” (ดภู าคผนวก ค.) เปน็ แนวทางในการย้อนคิด ไตรต่ รองส่งิ ที่เกดิ ขนึ้ และนาไปบนั ทึกผลหลังสอนของช่ัวโมงน้นั ๆ (3) วิเคราะห์และสรุปผลจากข้อมูลตามปัญหา/ความสาเร็จที่เกิดขึ้น และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพื่อนามาพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ และช่วยเหลอื /ส่งเสริมนกั เรียนในการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป รวมท้ังนาไปใช้เป็น ขอ้ มูลเพอื่ พัฒนาเปน็ งานวจิ ยั ในช้ันเรยี นต่อไป
ฒ คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน รหสั วิชา ศ16101 รายวชิ า ทัศนศิลป์ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ชวั่ โมง จานวน 1 หนว่ ยกิต ทศั นศิลป์ ศกึ ษา วงสธี รรมชาติ และสีคู่ตรงข้าม การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้สีคู่ตรงข้าม หลักการ จัดขนาด สัดส่วน และความสมดุล รูปละพ้ืนที่ว่างในงานทัศนศิลป์ หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุลในงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์รูปแบบ ๒ มิติและ ๓ มิติ การสร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบ บทบาท ของงานทัศนศิลป์ในชีวิตและสังคม อิทธิพลของศาสนาท่ีมีต่องานทัศนศิลป์ในท้องถ่ิน และอิทธิพลทางวัฒนธรรม ในทอ้ งถิ่นท่มี ีผลต่อการสร้างงานทศั นศิลป์ ดนตรี ศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับทานอง จังหวะการประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงท่ีฟัง บรรยายเพลงท่ีฟังโดยอาศัยองคป์ ระกอบดนตรี และศัพท์สงั คตี อ่านและเขยี นโน้ตไทยและโน้ตสากลทานองง่าย ๆ พร้อมท้ังจาแนกประเภทและบทบาทหน้าที่เคร่ืองดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรีที่มา จากวัฒนธรรมต่าง ๆ บรรยาย ความรู้สกึ ทม่ี ีตอ่ ดนตรี ใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง ด้นสด ที่มีจังหวะและทานองง่าย ๆ อธิบาย เรื่องราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ รวมถึงจาแนกดนตรีท่ีมาจากยุคสมัยท่ีต่างกัน และอภิปรายอิทธิพล ของวฒั นธรรมต่อดนตรีในทอ้ งถนิ่ นาฏศิลป์ ศกึ ษาคน้ คว้าสร้างสรรค์การเคลอ่ื นไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ แสดงนาฏศิลป์ และละครงา่ ย ๆ รวมถงึ ออกแบบเครื่องแตง่ กาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดง บรรยายความรู้สึกของตนเองที่มี ต่องานนาฏศิลป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับส่ิงท่ีประสบในชีวิตประจาวัน สามารถอธิบายสิ่งท่ีมีความสาคัญต่อการแสดง นาฏศิลปแ์ ละละคร อกี ท้งั ระบุประโยชนท์ ่ีได้รับจากการแสดงหรือการชม การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร โดยการใช้กระบวนการศึกษาค้นคว้า การบรรยาย การเปรียบเทียบ การอภิปราย การจาแนก การฝึก ทักษะ การสรา้ งสรรค์ การร่วมกิจกรรม เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจ มีทักษะสร้างสรรค์งานและสามารถถ่ายทอด เพอื่ การอนุรกั ษ์ ตระหนักถึงคณุ คา่ ของนาฏศิลปท์ ่ีถือเปน็ เอกลักษณป์ ระจาชาติ รหสั ตวั ช้วี ัด ศ ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 ศ ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 ศ ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ศ ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 ศ ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 ศ ป.6/1 , ป.6/2 รวมทัง้ หมด 27 ตัวชีว้ ัด
ณ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จานวน 1 หน่วยกติ รหัสวิชา ศ16101 รายวชิ าทศั นศิลป์ ดนตร–ี นาฏศลิ ป์ ภาคเรียนท่ี 1 รวมเวลา 40 ช่วั โมง สาระท่ี ทศั นศลิ ป์ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปต์ ามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ตัวชี้วัด ป.๖/๑ ระบุสีคู่ตรงข้าม และอภิปรายเก่ียวกับการใช้สีคู่ตรงข้ามในการถ่ายทอดความคิดและ อารมณ์ ตัวช้ีวัด ป.๖/๒ อธบิ ายหลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ ตวั ชว้ี ัด ป.๖/๓ สรา้ งงานทศั นศิลปจ์ ากรูปแบบ ๒ มิติ เปน็ ๓ มิติ โดยใช้หลกั การของแสงเงาและน้าหนกั ตวั ชว้ี ัด ป.๖/๔ สรา้ งสรรคง์ านป้ันโดยใช้หลกั การเพม่ิ และลด ตวั ช้วี ัด ป.๖/๕ สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ปโ์ ดยใชห้ ลกั การ ของรปู และพนื้ ทวี่ า่ ง ตวั ช้วี ัด ป.๖/๖ สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ปโ์ ดยใชส้ คี ตู่ รงขา้ มหลักการจดั ขนาดสดั สว่ น และความสมดลุ ตัวชี้วัด ป.๖/๗ สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอดความคิดหรือ เร่อื งราวเก่ยี วกบั เหตุการณต์ า่ ง ๆ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทศั นศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่างาน ทัศนศลิ ป์ท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทย และสากลตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ัด ป.๖/๑ บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ ที่สะทอ้ นชีวติ และสังคม ตัวช้วี ัด ป.๖/๒ ระบุ และบรรยายอทิ ธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถน่ิ ทม่ี ผี ลตอ่ การสร้างงานทัศนศลิ ป์ ของบคุ คล สาระที่ ดนตรี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณค์ ุณค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ต่อดนตรอี ยา่ งอิสระ ชนื่ ชมและประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ตัวชีว้ ัด ป.6/1 บรรยายเพลงท่ฟี ัง โดยอาศยั องค์ประกอบดนตรี และศพั ทส์ งั คีต ตวั ช้วี ัด ป.6/2 จาแนกประเภทและบทบาทหน้าท่ีเครื่องดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรีที่ มาจากวัฒนธรรม ตา่ ง ๆ ตวั ชี้วัด ป.6/3 อ่าน เขียนโนต้ ไทย และโน้ตสากลทานองง่าย ๆ ตัวช้ีวัด ป.6/4 ใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลงประกอบการรอ้ งเพลง ด้นสด ทีม่ ีจงั หวะและทานองงา่ ย ๆ ตวั ชวี้ ดั ป.6/5 บรรยายความร้สู ึกท่มี ีตอ่ ดนตรี ตัวชว้ี ดั ป.6/6 แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับทานอง จังหวะการประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลง ทฟ่ี งั
ด มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชีว้ ัด ป.6/1 อธิบายเรื่องราวของดนตรไี ทยในประวตั ิศาสตร์ ตัวชว้ี ดั ป.6/1 จาแนกดนตรที มี่ าจากยุคสมยั ที่ตา่ งกัน ตัวชี้วดั ป.6/1 อภิปรายอทิ ธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรใี นทอ้ งถิน่ สาระที่ นาฏศลิ ป์ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ณุ ค่า นาฏศิลป์ถา่ ยทอดความรู้สึกความคดิ อย่างอสิ ระ ช่ืนชมและประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ตวั ชี้วดั ป.6/1 สร้างสรรค์การเคลอ่ื นไหวและการแสดงโดยเนน้ การถา่ ยทอดลีลาหรืออารมณ์ ตัวชว้ี ัด ป.6/2 ออกแบบเคร่ืองแตง่ กาย หรอื อปุ กรณป์ ระกอบการแสดงอยา่ งง่าย ๆ ตัวช้วี ดั ป.6/3 แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครงา่ ย ๆ ตัวชี้วดั ป.6/4 บรรยายความรู้สกึ ของตนเองทมี่ ีต่องานนาฏศลิ ป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ป.6/5 แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง ตัวชวี้ ัด ป.6/6 อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์และการละครกับสงิ่ ทปี่ ระสบในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศลิ ปท์ ่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและสากล ตัวชว้ี ัด ป.6/1 อธิบายสง่ิ ทีม่ คี วามสาคัญตอ่ การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร ตวั ชีว้ ดั ป.6/2 ระบปุ ระโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศลิ ป์และละคร
ต โครงสร้างรายวชิ า ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 0.5 หนว่ ยกิต รหัสวิชา ศ16101 รายวชิ า ทัศนศลิ ป์ ดนตรี–นาฏศิลป์ ภาคเรียนที่ 1 รวมเวลา 20 ชว่ั โมง สาระ ทัศนศลิ ป์ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนกั หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการ เรยี นร้/ู ตัวชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน เรียนรู้ มฐ. ศ ๑.๑ สี มีอิทธพิ ลในการถ่ายทอดอารมณ์ ๔ ๑๐ 1 สีสนั งานศลิ ป์ ป.๖/๑ ความร้สู กึ ได้ การเลอื กใชส้ ีในการสร้างสรรค์ ๔ ๑๐ 2 องค์ประกอบ ศลิ ป์ ป.๖/๖ งานทศั นศลิ ปจ์ งึ เปน็ ส่วนสาคญั ในการ ๒ ๕ 3 บันดาลงาน สอ่ื สารความหมายของผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงาน ศลิ ป์ ผ่านงานทศั นศลิ ป์ มฐ. ศ ๑.๑ องค์ประกอบศิลป์ เป็นส่งิ สาคัญในการ ป.๖/๒ สร้างงานศิลปะ การจัดวางใหผ้ ลงาน ป.๖/๕ ทัศนศิลปเ์ กดิ ความสวยงามนา่ สนใจ ป.๖/๖ รปู แบบการจัดวางองค์ประกอบศิลปแ์ ตล่ ะ รูปแบบจะให้อารมณคื วามรสู้ ึกของภาพ ต่างกนั ออกไปด้วย มฐ. ศ ๑.๒ งานทัศนศิลป์ มีความสอดคลอ้ งกบั ป.๖/๑ สังคมและชวี ติ ประจาของเรา งานทัศนศลิ ป์ ป.๖/๒ ส่วนใหญเ่ กดิ ข้ึนคกู่ ับวฒั นธรรมประเพญี และศาสนา เช่น การปั้นพระพุทธรปู การสร้างศาสนสถาน สาระดนตรี – นาฏศลิ ป์ มาตรฐานการ สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนัก หน่วยที่ ชอื่ หนว่ ยการ เรยี นรู้/ (ช่ัวโมง) คะแนน เรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด ๕ ๑๒ 4 การแสดง มฐ. ศ 2.1 นาฏศลิ ปไ์ ทยน้ัน สามารถใหป้ ระโยชน์ ๓๗ นาฏศลิ ป์ ป. 6/๔ กับชวี ิตมนษุ ย์นั้นได้หลายรปู แบบ ไม่วา่ จะ 5 เพลดิ เพลนิ มฐ. ศ 3.๑ เป็น เพอ่ื ความสนุกสนานรื่นเรงิ เพอ่ื ผ่อน เสียงเพลง ป. 6/1 คลายความเหนจ็ เหน่ือยหลงั จากการทางาน ป. 6/2 เพอื่ ปลุกใจ ให้มีความฮึกเหมิ หวงแหน ป. 6/๓ กลา้ หาญ และรกั ชาติ มฐ. ศ 2.1 บทเพลง มีอทิ ธิพลตอ่ ชีวิตมนุษย์มาตั้งแต่ ป. 6/๔ สมัยอดตี จนถงึ ปจั จบุ ัน ไม่วา่ จะเปน็ ป. 6/๖ ด้านประเพณีวฒั นธรรม ดา้ นพธิ ีกรรม มฐ. ศ 3.๑ ล้วนแล้วแตม่ ดี นตรีเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งอยู่ เสมอ และดนตรียงั ช่วยสร้างจนิ ตนาการ
ถ หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนัก เรยี นรู้ เรียนรู้/ (ชวั่ โมง) คะแนน ตัวชว้ี ดั สรา้ งสรรค์ความคิด ผ่อนคลายความรสู้ กึ และช่วยให้เราดาเนินชวี ติ ไปอย่างมคี วามสขุ ป. 6/2 ป. 6/๓ 6 หลกั การ มฐ. ศ 3.1 นาฏศลิ ป์ไทย มหี ลักการในการปฏิบัติ ๒ ๖ 20 50 นาฏศิลป์ ป. 6/๔ ทย่ี ึดถอื กนั มา ไมว่ า่ จะเป็นของตวั ผู้แสดง ผู้ ป. 6/5 รบั ชมการแสดง หลกั การออกแบบอปุ กรณ์ ป. 6/6 และเครอื่ งแตง่ กายการแสดง หลกั การใน การรบั ชมการแสดงนาฏศิลป์ ลว้ นแลว้ แต่ เป็นมารยาทในการปฏิบัติ จงึ จาเปน็ ตอ้ ง เรยี นร้แู ละฝึกฝนเพอื่ เป็นหลกั การและ มารยาทพ้นื ฐานของนาฏศลิ ป์ รวมตลอดภาคเรยี น
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรื่อง สสี นั งานศิลป์ ๑ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 สีสันงานศิลป์
๒ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ สีสันงานศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ๑๖๑๐๑ รายวชิ า ศิลปะ(ทัศนศลิ ป์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔ ชวั่ โมง …………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………. ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด สาระ ทศั นศลิ ป์ มาตรฐานศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปต์ ามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ตัวชว้ี ัด ศ ๑.๑ ป.๖/๑ ระบสุ คี ูต่ รงขา้ ม และอภิปรายเกยี่ วกับการใช้สคี ตู่ รงขา้ มในการถ่ายทอดความคิดและอารมณ์ ศ ๑.๑ ป.๖/๖ สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์โดยใช้สคี ู่ตรงขา้ มหลกั การจดั ขนาดสัดสว่ น และความสมดลุ ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สี มีอิทธิพลในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้ การเลือกใช้สีในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จึงเป็น ส่วนสาคัญในการสอ่ื สารความหมายของผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงานผ่านงานทศั นศลิ ป์ ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ - ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้สีคู่ตรงข้าม และอภิปรายเกี่ยวกับการใช้สีคู่ตรงข้ามใน การถ่ายทอดความคดิ และอารมณ์ ทักษะ/กระบวนการ - สรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ปโ์ ดยใช้สคี ูต่ รงข้ามหลักการจดั ขนาดสดั ส่วน เจตคติ - ทศั นคติที่ดีตอ่ งานทศั นศิลป์ มองเหน็ คุณคา่ และความสาคญั ของงานทศั นศิลป์ ๔. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง สสี ันงานศิลป์ ๓ ความสามารถในการสอ่ื สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะ ของตนเอง ๕.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มีวินยั - ใฝเ่ รียนรู้ - ม่งุ มั่นในการทางาน - มจี ติ ธารณะ ในการชว่ ยเหลอื และแบง่ ปันวสั ดุอุปกรณ์ในการทางาน ๖.การประเมินผลรวบยอด ช้นิ งานหรือภาระงาน - ภาพวาดระบายสี เกณฑก์ ารประเมนิ ผลช้ินงานหรอื ภาระงาน ประเมินผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการให้คะแนน และคาอธบิ ายคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ 2 นา้ หนักคะแนน ดมี าก ดี พอใช้ เกณฑ์ 5 4 3 1. การวางแผน การปฏิบัตงิ าน การปฏิบัติงาน การปฏบิ ัตงิ าน ไม่มกี ารวางแผน ก่อนการปฏิบัติ อยา่ งมีลาดบั ในการปฏิบัตงิ านให้ ช้นิ งาน ข้ันตอน สามารถ อยา่ งมลี าดบั ขัน้ ตอน อยา่ งมลี าดบั มีลาดับขน้ั ตอน ควบคุมเวลาก และไม่ควบคมุ เวลา 2. ความถูกต้อง สามารถควบคุมเวลา ขัน้ ตอน สามารถ การปฏิบัตงิ าน สมบรู ณค์ รบถ้วน ารทางานได้อย่าง ของชิน้ งาน เหมาะสม ได้ แตแ่ บง่ เวลา ควบคุมเวลาได้ ทางานไมต่ รงตาม หวั ข้อหรอื คาชแ้ี จง 3. ความประณีต สามารถทางานได้ ผิดพลาดเลก็ นอ้ ย แต่แบง่ เวลา ทก่ี าหนด สะอาดสวยงาม อยา่ งถูกตอ้ งตาม และดึงดดู ใจ หวั ข้อหรอื คาชแี้ จง ผดิ พลาด มคี วามสร้างสรรค์ กาหนดครบถว้ น สวยงาม แต่มี สมบรู ณ์ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ การลอกเลยี นแบบ ทาให้การนาเสนอ มีความสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งตามหวั ข้อ ถกู ตอ้ งตามหวั ขอ้ ไม่นา่ สนใจ สวยงาม ไมล่ อกเลียนแบบ หรือคาชี้แจงกาหนด หรอื คาชแ้ี จง มกี ารนาเสนอที่ นา่ สนใจ สะอาด แต่ผดิ พลาดบา้ ง กาหนด แต่ เรียบรอ้ ย เลก็ น้อย ผดิ พลาดปานกลาง มคี วามสร้างสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ สวยงาม สวยงาม ไมล่ อกเลยี นแบบ มลี อกเลยี นแบบ มกี ารนาเสนอที่ เลก็ นอ้ ย มีการ น่าสนใจ แต่ขาด นาเสนอท่นี า่ สนใจ ความสะอาด แตข่ าดความ เรยี บรอ้ ย สะอาดเรยี บรอ้ ย
๔ ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) ประเมินผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธบิ ายคุณภาพ นา้ หนกั คะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ 5 43 2 4. การสง่ งานตรง สามารถทางาน สามารถทางาน สามารถทางาน ไม่สง่ งานตามเวลา เสร็จสมบูรณ์ เสร็จสมบรู ณ์ ที่กาหนดทง้ั สามคร้งั ตามเวลาทก่ี าหนด เสรจ็ สมบูรณ์ ส่งได้แต่ไมต่ ามเวลา สง่ ได้แต่ไมต่ ามเวลา สง่ ไดต้ รงตามเวลา ทกี่ าหนดภายใน ทก่ี าหนดภายใน ชั้นเรียนในครงั้ แรก ช้นั เรียนในครัง้ แรก ที่กาหนดภายใน ต้องมีการนัดหมาย ตอ้ งมีการนดั หมาย ชน้ั เรียนได้ ใหส้ ่งในครง้ั ถัดไป ใหส้ ง่ ในครัง้ ท่ี 3 ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ระดบั คุณภาพ ๑๑-๑๕ ดมี าก ๖-๑๐ ดี ๑-๕ พอใช้ ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี ้ึนไปจึงถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง สสี ันงานศิลป์ ๕ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑ เรื่อง วงสีธรรมชาติ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เร่ือง สสี ันงานศิลป์ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ รายวชิ าศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ป. ๖/๑ ระบุสีคตู่ รงขา้ ม และอภิปรายเก่ียวกบั การใช้สคี ู่ตรงข้ามในการถ่ายทอดความคิดและอารมณ์ ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด สี หมายถึง ลักษณะของแสงสว่างที่ปรากฏแก่ตาให้เห็นเป็น สีขาว ดา แดง เขียว น้าเงิน เหลือง เป็นต้น ผู้เรียนตอ้ งรบั รแู้ ละเข้าใจหลักในการใช้สี เพือ่ มาสรา้ งสรรค์งานทศั นศิลปใ์ หเ้ กดิ ความสวยงามและเสมือนจริง การใชส้ ี ในงานทัศนศิลปจ์ าเปน็ ต้องเรยี นรเู้ รื่องทฤษฎีสี และการผสมสีในวงสีธรรมชาติ ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธบิ ายวิธกี ารผสมสีข้ันท่ี ๒ และสีขัน้ ท่ี ๓ - ระบุคสู่ ีทอี่ ยูต่ รงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ 3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - ผสมสีข้ันท่ี ๒ และขนั้ ท่ี ๓ จากแมส่ ธี รรมชาติ 3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - นกั เรยี นตระหนักถึงความความสวยงามของงานทศั นศลิ ป์ - นกั เรียนทางานด้วยความรกั และเพียรพยายามในการสร้างสรรคผ์ ลงาน - นักเรียนเห็นคณุ คา่ ของงานทัศนศิลปท์ ัง้ จติ รกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ - นกั เรียนรกั ษาและเหน็ คณุ ค่าของอุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ วงสีธรรมชาติ ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นคตขิ องตนเอง ๕.๒ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรยี นรู้ ๖.๒ มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรียนรู้
๖ การจัดกจิ กรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรียนรทู้ รายวิชา ศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) หน่วยการเรียนร ลาดับ ขอบเขตเน้อื หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา ท่ี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ กจิ กรรม ๑ ข้นั นา ๑๐ 1. ใหน้ กั เรยี นสงั นาที สิ่งของตา่ ง ๆ ใน มสี ีใดบา้ งและนกั สใี ด ๒ 1. อธิบายวธิ ีการผสมสขี ั้นท่ี ๒ ข้ันสอน 2. ครูถามคาถาม และสีขน้ั ที่ ๓ นักเรยี นชอบเป็น เกิดจากการผสม 2. ระบคุ ่สู ที ่อี ยตู่ รงข้ามกันในวง สีธรรมชาติ ๑๐ 1. ครสู าธิตการผ นาที จากแมส่ ที ้ัง ๓ ส สขี ้ันท่ี ๒ และขนั้ 2. ครอู ธบิ ายเพม่ิ นักเรยี นสามารถ สีอน่ื ๆ ทไ่ี มใ่ ช่ใน ธรรมชาตไิ ด้ และ
ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) รู้ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ท่ี ๑ เรือ่ ง วงสีธรรมชาติ รู้ท่ี ๑ เรื่อง สสี ันงานศิลป์ จานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนักเรียน - ตวั อย่างผลงาน - การถาม-ตอบ งเกตสีจาก 1. นกั เรียนร่วมกันสงั เกต - แผ่นสี ๑๒ สี นห้องเรยี นว่า สิ่งตา่ ง ๆ ในหอ้ งเรยี นแล้ว - PowerPoint - แบบประเมนิ กเรยี นชอบ ตอบคาถามวา่ มสี ใี ดบ้าง เช่น เรื่องวงสี ชนิ้ งาน เหน็ สนี า้ ตาลของโตะ๊ สีเหลอื ง ธรรมชาติ มวา่ สีท่ี ของปกสมุด และชอบสเี หลือง นสขี ั้นทเี่ ท่าใด เพราะสดใส เป็นต้น มกนั ของสใี ด 2. นักเรยี นตอบคาถาม เช่น สีเหลอื งเปน็ แมส่ ี และเปน็ ผสมสีน้า สี ขั้นที่ ๑ เม่ือนาไปผสมกั สี ใหเ้ กิดเป็น บสอี ื่นจะไดส้ ใี หม่ เปน็ ตน้ นท่ี ๓ 1. นักเรียนสังเกตการสาธติ มเติมว่า ถผสมสเี ปน็ และบนั ทกึ ผล นวงสี ะเมอ่ื ได้ 2. นกั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะห์ การเกิดของสีและการเรยี งกนั ของสใี นวงจรพรอ้ มบนั ทกึ ผล
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง สสี ันงานศลิ ป์ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรม สขี ้นั ท่ี ๒ และขัน้ ถ้านกั เรยี นนามา เป็นวงกลมจะได ซ่งึ ในวงสจี ะแบง่ ส วรรณะ และแต่ล ทอี่ ยตู่ รงข้ามกนั ตรงขา้ ม 3. ครูสมุ่ แจกแผ นกั เรยี น ๑๒ คน สใี นวงสธี รรมชาต นาแผน่ สที ีไ่ ด้มาเ บนกระดาน 3 3. ผสมสขี ั้นที่ ๒ และขัน้ ที่ ๓ ขั้นปฏบิ ัติ ๓๐ ครใู หน้ กั เรียนทา จากแมส่ ธี รรมชาติ นาที สโี ปสเตอรจ์ ากแม ในกระดาษวงสธี
๗ แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ มครู กจิ กรรมนักเรียน นท่ี ๓ แลว้ าเรยี งต่อกัน ด้เป็นวงสี สเี ปน็ ๒ ละสจี ะมสี ี เรียกวา่ สีคู่ ผ่นสใี ห้ 3. นักเรียนทากิจกรรมตดิ แผน่ น คนละสตี าม ป้ายสีในวงจรบนกระดาน ติ ให้นกั เรยี น นกั เรียนคนอน่ื ๆ ร่วมกนั เรียงเปน็ วงสี วเิ คราะห์ความถกู ตอ้ ง ากจิ กรรมผสม 1. นักเรยี นทากจิ กรรมผสม มส่ ี ๓ สี ลง สีโปสเตอรจ์ ากแมส่ ี ๓ สี ธรรมชาติ ลงในกระดาษวงสีธรรมชาติ 2. นักเรยี นนาเสนอผลงาน
๘ ลาดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา ที่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรม 4 4. ตระหนกั ถงึ คุณค่าของผลงาน ขั้นสรุป ๑๐ 1. ครพู ูดสรุปคว ทัศนศลิ ป์ นาที การผสมสใี นวงส และการเกิดสีค่ตู 2. ครูวิจารณ์ผลง พร้อมชแี้ นะแนว การปรบั ปรงุ แก้ไ
คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรียนรู้ มครู กิจกรรมนกั เรียน วามรเู้ รอื่ ง นกั เรยี นอธบิ ายความรู้สกึ หรอื - ถาม-ตอบ สีธรรมชาติ ความประทบั ใจจากผลงานที่ ตรงขา้ ม นกั เรียนทา พร้อมบอก งานนกั เรยี น แนวทางและการนาไปใช้ใน วทาง ผลงานคร้ังหน้า ไข
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง สสี นั งานศิลป์ ๙ 8. สือ่ การเรียนร/ู้ แหล่งเรียนรู้ ๘.๑ Power Point เรือ่ งวงสีธรรมชาติ ๘.๒ วงจรสี และแผ่นสี ๑๒ สี ๘.๓ อปุ กรณ์วาดเขียน สมุดวาดเขยี น สโี ปสเตอร์ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน เกณฑก์ ารประเมนิ ผลช้นิ งานหรือภาระงาน ประเมินผลงานเรอ่ื งวงสธี รรมชาติ : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธบิ ายคณุ ภาพ นา้ หนักคะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏบิ ัตงิ าน การปฏบิ ตั ิงาน การปฏิบตั งิ าน ไมม่ กี ารวางแผน กอ่ นการปฏบิ ัติ อย่างมลี าดบั ขัน้ ตอน อยา่ งมลี าดับข้ันตอน อยา่ งมลี าดบั ขั้นตอน ในการปฏบิ ัตงิ าน ช้นิ งาน สามารถควบคมุ เวลา สามารถควบคุมเวลาได้ สามารถควบคุมเวลา ใหม้ ลี าดบั ข้ันตอน การทางานไดอ้ ยา่ ง แตแ่ บ่งเวลาผิดพลาด ได้ แตแ่ บ่งเวลา และไม่ควบคุมเวลา เหมาะสม เลก็ นอ้ ย ผิดพลาด การปฏบิ ัตงิ าน 2. ความถกู ตอ้ ง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไมต่ รงตาม สมบรู ณ์ครบถ้วน อยา่ งถูกต้องตาม ถูกตอ้ งตามหัวข้อหรอื ถกู ต้องตามหัวขอ้ หรอื หัวข้อหรอื คาชีแ้ จง ของชนิ้ งาน หวั ข้อหรือคาชี้แจง คาชแ้ี จงกาหนด แต่ คาช้แี จงกาหนด ทก่ี าหนด กาหนดครบถ้วน ผดิ พลาดบ้างเลก็ น้อย แต่ผิดพลาดปานกลาง สมบรู ณ์ 3. ความประณีต มคี วามสรา้ งสรรค์ มีความสร้างสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม มลี อกเลยี น สวยงาม แต่มีการ และดึงดดู ใจ ไมล่ อกเลียนแบบ ไมล่ อกเลยี นแบบ แบบเลก็ น้อย ลอกเลียนแบบ มกี ารนาเสนอที่ มกี ารนาเสนอที่ มกี ารนาเสนอที่ ทาใหก้ ารนาเสนอ น่าสนใจ สะอาด น่าสนใจ แตข่ าดความ น่าสนใจ แต่ขาด ไม่น่าสนใจ เรียบร้อย สะอาดเรยี บรอ้ ย ความสะอาดเรียบร้อย 4. การสง่ งาน สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ ไม่สง่ งานตามเวลา ตรงตามเวลาท่ี สมบรู ณ์ ส่งได้ตรง สมบรู ณ์ ส่งไดแ้ ตไ่ ม่ สมบรู ณ์ ส่งไดแ้ ตไ่ ม่ ทก่ี าหนดทงั้ สาม กาหนด ตามเวลาทก่ี าหนด ตามเวลาทก่ี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด ครง้ั ภายในชั้นเรียนได้ ภายในชนั้ เรียนในคร้งั ภายในช้นั เรยี นใน แรก ตอ้ งมีการนดั ครั้งแรก ตอ้ งมีการนดั หมายใหส้ ง่ ในครงั้ หมายใหส้ ่งในครง้ั ท่ี 3 ถัดไป คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงช่ือผปู้ ระเมนิ ...........................................
๑๐ ค่มู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรับปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดีขึ้นไปจึงถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ แบบประเมินพฤตกิ รรม รายการประเมนิ ลาดบั ชื่อ-นามสกลุ มุ่งมนั่ ตง้ั ใจ เพยี รพยายาม รบั ผดิ ชอบ รกั ษาและเหน็ ตรงต่อเวลา ท่ี ทางาน อดทน คุณค่าของ อุปกรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรม รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๓ ๒ ๑ ประเมนิ ผล ๔ ผูเ้ รียนมคี วามมงุ่ ม่ัน ผู้เรยี นไมม่ คี วาม ๑. นักเรียนตง้ั ใจ ผเู้ รยี นมคี วามมุ่งมนั่ ผเู้ รยี นมีความมงุ่ มัน่ ตั้งใจทางานทไี่ ดร้ บั มงุ่ มน่ั ตง้ั ใจทางาน ทางานทไี่ ดร้ บั ต้ังใจทางานทีไ่ ด้รับ ตั้งใจทางานท่ไี ดร้ ับ มอบหมายจนสาเร็จ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย มีคยุ เล่น และไม่ต้งั ใจ จนสาเรจ็ มอบหมาย มอบหมายจน มอบหมายจนสาเร็จ ทางานบา้ ง สาเรจ็ ตลอดทง้ั คาบ แต่มคี ยุ เลน่ บา้ ง ผู้เรยี นทางานด้วย ผเู้ รียนไมม่ ีความ ความเพยี รพยายาม เพยี รพยายาม ๒. ผเู้ รียนทางาน ผูเ้ รียนทางานด้วย ผู้เรยี นทางานด้วย อดทนเพือ่ ทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพ่ือทางาน ดว้ ยความเพยี ร ความเพียรพยายาม ความเพียรพยายาม ตามเปา้ หมายบางครงั้ ใหเ้ สรจ็ ตาม พยายาม อดทน อดทนเพอ่ื ทาให้ อดทนเพือ่ ทาใหเ้ สรจ็ มคี ุยเล่นและไมส่ นใจ เปา้ หมาย งานบา้ ง เพ่ือทาให้เสรจ็ ตาม เสร็จตามเป้าหมาย ตามเปา้ หมาย แตค่ ยุ ผเู้ รยี นสง่ งานช้า ผเู้ รียนสง่ งานชา้ เป้าหมาย ตลอดทงั้ คาบ เล่นกันบา้ ง 2 วนั 3 วนั ขนึ้ ไป ๓. ผ้เู รียนมีความ ผเู้ รียนสง่ งานตรง ผู้เรียนสง่ งานชา้ รบั ผดิ ชอบสง่ งาน ตามเวลาทก่ี าหนด 1 วัน ตรงตามเวลาท่ี กาหนด
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่อื ง สสี นั งานศิลป์ ๑๑ รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ประเมินผล ๔ ๓ ๒ ๑ ๔. ผูเ้ รยี นรักษา ผ้เู รียนเกบ็ และดแู ล ผู้เรียนดแู ลอปุ กรณท์ ่ี ผเู้ รียนเกบ็ และดูแล ผเู้ รียนไมเ่ กบ็ และ และเห็นคณุ คา่ อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ น ใชใ้ นการทางาน อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ น ไม่ดูแลอปุ กรณ์ท่ใี ช้ ของอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ น การทางานทกุ ชิน้ ทกุ ชน้ิ แต่เก็บไม่ การทางานบางช้นิ ในการทางาน การทางาน อยา่ งเรยี บรอ้ ย เรยี บร้อย ๕. ผู้เรียนเข้าเรียน ผู้เรยี นเขา้ เรียน ผู้เรยี นเขา้ เรียนชา้ ผ้เู รียนเข้าเรยี นช้า ผ้เู รียนเข้าเรยี นช้า ตรงตอ่ เวลา ตรงเวลา 10-15 นาที 15-20 นาที 30 นาทเี ปน็ ตน้ ไป เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ควรปรับปรุง ๑-๕ หมายเหตุ ระดบั ดีขึน้ ไปจึงถอื ว่าผ่านเกณฑ์
๑๒ คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) 10. บันทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ความสาเรจ็ ......................................................................................................................................... ................................................ .................................................................................................................................................... ..................................... ................................................................................................................................................................................. ........ ปญั หาและอปุ สรรค ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ขอ้ จากัดการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ......................................................................................................................................................................................... . ...................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เร่ือง สสี นั งานศิลป์ ๑๓ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื ง สีคู่ตรงขา้ ม เวลา ๑ ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรอื่ ง สสี ันงานศลิ ป์ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ รายวชิ าศิลปะ (ทัศนศลิ ป์) 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดตอ่ งานศิลปะอย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน ป. ๖/๑ ระบสุ ีคู่ตรงขา้ ม และอภปิ รายเกย่ี วกบั การใช้สีค่ตู รงข้ามในการถา่ ยทอดความคดิ และอารมณ์ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด สี หมายถึง ลักษณะของแสงสว่างท่ีปรากฏแก่ตาให้เห็นเป็น สีขาว ดา แดง เขียว น้าเงิน เหลือง เป็นต้น ผู้เรียนต้องรับรู้และเข้าใจหลักในการใช้สี เพื่อมาสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ให้เกิดความสวยงามและเสมือนจริง การใช้สใี นงานทศั นศิลปจ์ าเป็นตอ้ งเรียนร้เู รื่องทฤษฎสี ี การผสมสีในวงสีธรรมชาติ และการใช้สีคู่ตรงขา้ ม ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธบิ ายขัน้ ตอนการนาสคี ู่ตรงข้ามไปใช้ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ - ระบุคูส่ ีท่อี ย่ตู รงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สร้างสรรคผ์ ลงานจากการใช้สีคู่ตรงข้าม 3.3 ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) - นักเรยี นตระหนกั ถึงความความสวยงามของงานทัศนศลิ ป์ - นกั เรียนทางานดว้ ยความรกั และเพยี รพยายามในการสร้างสรรคผ์ ลงาน - นักเรียนเหน็ คณุ ค่าของงานทัศนศิลปท์ ั้งจิตรกรรม ประตมิ ากรรม และภาพพมิ พ์ - นักเรียนรักษาและเหน็ คณุ คา่ ของอปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ วงสีธรรมชาติ และสีค่ตู รงขา้ ม ๕. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถา่ ยทอดความคดิ ความเขา้ ใจ ความรูส้ ึก และทศั นคตขิ องตนเอง ๖. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรยี นรู้ ๖.๒ มงุ่ มน่ั ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้
๑๔ การจดั กิจกรรมการเรียนร แผนการจัดการเรียนร รายวิชา ศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) หนว่ ยการเรียนรู้ท ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา กจิ กรรม ท่ี จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ ๑ ข้ันนา ๑๐ 1. ครนู าผลไมม้ า ๓ นาที ส้ม แอปเปลิ และก พรอ้ มกบั ผ้าปูโต๊ะ สนี า้ เงนิ สเี ขยี ว แ ให้นกั เรยี นเลือกผล ชนดิ วางบนผ้าปูโต เพอ่ื ใหเ้ กิดความเด 2. ครถู ามคาถาม วิธีการเลอื กคู่สอี ยา่ สคี ู่นน่ั ตัดกนั และเพ ความโดดเดน่ ๒ 1. อธบิ ายขนั้ ตอนการนาสคี ู่ ขั้นสอน ๑๐ 1. ครูสาธิตการเลอื ตรงขา้ มไปใชใ้ นการสรา้ งสรรค์ นาที ขา้ มไปใช้ในงานศลิ งานทศั นศิลป์ เพอ่ื สรา้ งความโดด 2. ระบคุ สู่ ที อ่ี ยูต่ รงข้ามกันใน ความนา่ สนใจ เช่น วงสีธรรมชาติ โฆษณาสนิ ค้า
คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) รู้ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ รทู้ ี่ ๒ เร่อื ง สคี ูต่ รงขา้ ม ท่ี ๑ เร่ือง สีสันงานศลิ ป์ จานวน ๑ ช่วั โมง แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมิน มครู กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ ๓ ชนิด คอื 2. นักเรียนรว่ มกันเลือกวาง - ผ้าปโู ต๊ะ - การถาม-ตอบ กลว้ ยสุก ผลไมก้ ับผา้ ปูโตะ๊ ท่มี สี ตี รงขา้ ม สีนา้ เงนิ สีเขยี ว ๓ สี คอื กนั กบั ผลไม้ และสมี ่วง - แบบประเมิน และสมี ว่ ง - สม้ ชนิ้ งาน ลไมแ้ ต่ละ 2. นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถาม - แอปเปลิ ตะ๊ สใี ดก็ได้ เช่นมีวธิ ีการเลอื กสที ต่ี รงข้าม - กล้วยสกุ ด่นชัดทส่ี ดุ กนั ในวงจรสีเพื่อสร้างความ นกั เรียนมี โดดเดน่ และมสี ที ต่ี ัดกัน เช่นสี - ตัวอยา่ งผลงาน างไร เพ่อื ให้ ส้มกบั สนี ้าเงนิ เป็นตน้ - Power Point พอื่ ให้เกิด 1. นักเรียนรว่ มกันอภิปรายวา่ สีคูต่ รงข้าม การระบายสีพน้ื หลังด้วยสที ่ี อกสีคู่ตรง มนี า้ หนกั และสที ีไ่ มม่ ีน้าหนกั ลปะ ใหค้ วามรสู้ กึ แตกตา่ งกนั ดเด่นและ อย่างไร น การทาป้าย
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรือ่ ง สสี นั งานศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขนั้ ตอนการจดั เวลา กิจกรรม ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ 3 3. สร้างสรรคผ์ ลงานจากการ ขนั้ ปฏบิ ตั ิ 2. ครูอธิบายเพมิ่ เ ใชส้ คี ตู่ รงข้าม การระบายสีเงาขอ ไม่จาเปน็ ตอ้ งใชส้ ดี หากแตใ่ ช้สีคตู่ รงข ผสมกบั สขี องวัตถนุ เป็นเงาแทน เช่น จ ของผลสม้ กน็ นาส กบั สสี ม้ เพยี งเลก็ น เป็นเงา ๓๐ 1. ครชู ี้แจงขั้นตอน นาที กิจกรรมงามด้วยส โดยให้นักเรยี นวาด มา ๑ ชนดิ แล้วระ สพี ้นื หลงั และเงาเป คตู่ รงข้าม 2. ครูอภปิ รายผลก สคี ตู่ รงข้าม บางคร จาเป็นตอ้ งใช้สคี ู่ตร โดยตรง หากแตส่ า สขี า้ งเคยี ง หรือสีข ความรนุ แรงของสคี
๑๕ แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ มครู กิจกรรมนักเรียน ตมิ วา่ 2. นกั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะห์ องวัตถุต่าง ๆ การนาสีคตู่ รงข้ามไปใชใ้ นงาน ดาระบาย ศิลปะ ว่านาไปใชก้ ับงานใดได้ ขา้ มของวัตถุ บ้าง น้ัน ๆ ระบาย จะระบายเงา สยี ้าเงนิ ผสม น้อยมาระบาย นการทา ใหน้ ักเรียนวาดภาพผลไม้ - สมดุ วาดเขยี น - แบบประเมิน - สโี ปสเตอร์ ชิน้ งาน สีคู่ตรงข้าม ท่นี ักเรียนสนใจ ๑ ชนดิ ดภาพผลไม้ แล้วระบายสพี ื้นหลงั และเงา ะบาย ด้วยสคี ู่ตรงขา้ ม ป็นสี การใช้ รงั้ ไม่ รงขา้ ม ามารถผสม ขาว เพือ่ ลด คตู่ รงข้ามได้
๑๖ ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา กิจกรรม ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ 4 4. ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของ ข้นั สรปุ ๑๐ 1. ครพู ดู สรปุ ความ ผลงานทัศนศิลป์ นาที การใช้สีคูต่ รงข้าม 2. ครูวิจารณ์ผลงา พรอ้ มชแ้ี นะแนวท ปรบั ปรงุ แก้ไข
คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนักเรียน มรเู้ ร่อื ง 1. นกั เรยี นนาเสนอผลงาน - ถาม-ตอบ านนกั เรียน 2. นกั เรียนอธบิ ายความรสู้ กึ ทางการ หรอื ความประทับใจจาก ผลงานท่ีนกั เรยี นทา พร้อม บอกแนวทางและการนาไปใช้ ในผลงานคร้ังหน้า
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอื่ ง สสี นั งานศิลป์ ๑๗ 8. ส่อื การเรยี นร/ู้ แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ Power Point เร่ืองสีคตู่ รงข้าม ๘.๒ ผ้าปูโตะ๊ ผลไม้ สโี ปสเตอร์ สมดุ วาดเขียน ๘.๓ อปุ กรณว์ าดเขยี น สมดุ วาดเขยี น สีโปสเตอร์ 9. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลชิน้ งานหรือภาระงาน ประเมนิ ผลงานเรอ่ื งสีคูต่ รงข้าม : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธบิ ายคณุ ภาพ น้าหนกั คะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 2 เกณฑ์ 54 3 1. การวางแผน การปฏิบัตงิ านอยา่ ง การปฏบิ ัตงิ านอย่าง การปฏิบัตงิ านอยา่ งมี ไมม่ ีการวางแผนใน ก่อนการปฏิบตั ิ มีลาดบั ขน้ั ตอน มลี าดับข้ันตอน ลาดบั ข้นั ตอน สามารถ การปฏบิ ัตงิ านใหม้ ี ชิน้ งาน สามารถควบคุมเวลา สามารถควบคุมเวลาได้ ควบคมุ เวลาได้ แต่ ลาดบั ข้ันตอน และ การทางานได้อยา่ ง แต่แบง่ เวลาผดิ พลาด แบ่งเวลาผิดพลาด ไมค่ วบคมุ เวลา เหมาะสม เลก็ น้อย การปฏิบตั งิ าน 2. ความถูกต้อง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไม่ตรงตาม สมบรู ณ์ครบถ้วน อยา่ งถูกตอ้ งตาม ถูกต้องตามหัวขอ้ ถกู ต้องตามหัวขอ้ หรือ หัวขอ้ หรือคาชแี้ จง ของช้ินงาน หัวข้อหรือคาชีแ้ จง หรือคาชี้แจงกาหนด คาช้ีแจงกาหนด แต่ ทกี่ าหนด กาหนดครบถว้ น แตผ่ ิดพลาดบา้ ง ผิดพลาดปานกลาง สมบรู ณ์ เลก็ น้อย 3. ความประณีต มีความสร้างสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม ไมล่ อกเลียน สวยงาม ไมล่ อกเลยี น สวยงาม มลี อกเลียน สวยงาม แต่มี และดึงดูดใจ แบบ มีการนาเสนอ แบบ มกี ารนาเสนอท่ี แบบเล็กนอ้ ย การลอกเลียนแบบ ทีน่ ่าสนใจ สะอาด นา่ สนใจ แตข่ าด มีการนาเสนอท่ี ทาใหก้ ารนาเสนอ เรียบร้อย ความสะอาด น่าสนใจ แต่ขาด ไมน่ ่าสนใจ เรยี บร้อย ความสะอาดเรียบรอ้ ย 4. การสง่ งานตรง สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ ไม่สง่ งานตามเวลา ตามเวลาทกี่ าหนด สมบรู ณ์ สง่ ได้ตรง สมบรู ณ์ ส่งได้แต่ไม่ สมบรู ณ์ ส่งได้แตไ่ ม่ ทีก่ าหนดทงั้ ตามเวลาทกี่ าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด สามครง้ั ภายในช้นั เรียนได้ ภายในชัน้ เรยี นใน ภายในชั้นเรยี นใน ครั้งแรก ตอ้ งมี คร้ังแรก ตอ้ งมี การนัดหมายใหส้ ง่ การนดั หมายใหส้ ง่ ในคร้งั ถัดไป ในครงั้ ท่ี 3 คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงชือ่ ผปู้ ระเมนิ ...........................................
๑๘ คูม่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรบั ปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดีข้ึนไปจึงถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรม รายการประเมนิ ลาดบั ชือ่ -นามสกลุ ม่งุ มั่นต้งั ใจ เพียรพยายาม รับผดิ ชอบ รกั ษาและเหน็ ตรงตอ่ เวลา ท่ี ทางาน อดทน คุณคา่ ของ อุปกรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑก์ ารประเมนิ พฤติกรรม รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ประเมนิ ผล ๔ ๓ ๒๑ ๑. นักเรยี นตงั้ ใจ ผเู้ รียนมีความมุง่ มั่น ผเู้ รยี นมีความมุง่ มั่น ผเู้ รยี นมีความมุ่งมนั่ ผเู้ รียนไมม่ ี ทางานทไ่ี ด้รบั ต้งั ใจทางานที่ได้รบั ตงั้ ใจทางานที่ได้รับ ตัง้ ใจทางานที่ได้รบั ความมุ่งมั่นตง้ั ใจ มอบหมาย มอบหมายจนสาเรจ็ ตลอดท้งั คาบ มอบหมายจนสาเรจ็ มอบหมายจนสาเร็จ ทางานทไี่ ดร้ บั แต่มคี ยุ เล่นบ้าง มคี ยุ เลน่ และไม่ตั้งใจ มอบหมาย ทางานบา้ ง จนสาเรจ็ ๒. ผู้เรียนทางาน ผู้เรยี นทางานด้วย ผเู้ รยี นทางานดว้ ย ผู้เรยี นทางานดว้ ย ผูเ้ รียนไมม่ คี วาม ดว้ ยความเพยี ร ความเพียรพยายาม พยายาม อดทน อดทนเพอื่ ทาใหเ้ สร็จ ความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายาม เพียรพยายาม เพ่ือทาให้เสรจ็ ตามเปา้ หมายตลอด อดทนเพือ่ ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพอื่ ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพอื่ ตามเป้าหมาย ท้งั คาบ ตามเปา้ หมาย แตค่ ยุ ตามเปา้ หมาย ทางานใหเ้ สรจ็ เลน่ กันบา้ ง บางครง้ั มคี ุยเล่น ตามเปา้ หมาย และไม่สนใจงานบ้าง ๓. ผู้เรียนมี ผเู้ รยี นสง่ งานตรงตาม ผเู้ รียนสง่ งานชา้ ผูเ้ รยี นสง่ งานช้า ผู้เรียนสง่ งานชา้ ความรบั ผิดชอบ เวลาที่กาหนด 1 วัน 2 วัน 3 วนั ข้นึ ไป สง่ งานตรงตาม เวลาท่กี าหนด
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เร่อื ง สสี ันงานศิลป์ ๑๙ รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๓ ๒ ๑ ประเมินผล ๔ ผเู้ รยี นดูแลอปุ กรณท์ ่ี ผเู้ รยี นเกบ็ และดแู ล ผู้เรียนไมเ่ กบ็ ๔. ผ้เู รยี นรกั ษา ผู้เรียนเกบ็ และดูแล ใช้ในการทางานทุก อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการ และไมด่ แู ล ชน้ิ แตเ่ กบ็ ไม่ ทางานบางชน้ิ อปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ น และเห็นคุณค่าของ อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการ เรยี บร้อย การทางาน อุปกรณท์ ี่ใชใ้ น ทางานทุกชนิ้ อยา่ ง ผู้เรยี นเข้าเรยี นชา้ ผเู้ รยี นเข้าเรยี นชา้ ผู้เรียนเข้าเรยี น 10-15 นาที 15-20 นาที ช้า 30 นาที การทางาน เรียบร้อย เปน็ ต้นไป ๕. ผู้เรยี นเขา้ เรียน ผเู้ รยี นเข้าเรยี นตรง ตรงต่อเวลา เวลา เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ควรปรับปรงุ ๑-๕ หมายเหตุ ระดบั ดขี น้ึ ไปจึงถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
๒๐ คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 10. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................................................................ ............. ....................................................................................................................................................................................... .. ......................................................................................................................................................................................... ความสาเร็จ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ขอ้ จากัดการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผูท้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง สสี นั งานศลิ ป์ ๒๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี๓ เรื่อง สีคูต่ รงขา้ มแบบเยอ้ื ง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่ือง สีสันงานศิลป์ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ รายวชิ าศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป์) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ งานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน ป. ๖/๑ ระบุสีค่ตู รงข้าม และอภิปรายเก่ยี วกบั การใช้สีคตู่ รงขา้ มในการถา่ ยทอดความคดิ และอารมณ์ ป. ๖/๖ สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์โดยใชส้ ีคตู่ รงข้ามหลักการจัดขนาดสัดส่วน และความสมดุล ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด สีคู่ตรงข้ามแบบเยอื้ ง หมายถึง ลักษณะของแสงสวา่ งทีป่ รากฏแกต่ าให้เหน็ เปน็ ต่าง ๆ ทต่ี รงข้ามกันในวงจรสี แตต่ รงขา้ มแบบใกล้เคยี งกนั สคี ่ตู รงขา้ มแบบน้จี ะทาให้สีคู่นต้ี ัดกนั แต่ไมร่ ุนแรง เหมาะแก่การนามาใช้ในการสร้างงาน เพือ่ สรา้ งความนา่ สนใจแปลกใหม่ แตไ่ มฉ่ ูดฉาดเทา่ สีคตู่ รงขา้ มแบบปกติ เช่นคสู่ มี ว่ งกับส้มเหลือง สนี า้ เงนิ กบั สเี หลอื ง เป็นตน้ ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธบิ ายข้ันตอนการนาสีคู่ตรงข้ามแบบเยอื้ งไปใชใ้ นการสรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์ - ระบุคู่สีทีอ่ ยตู่ รงขา้ มกันแบบเยื้องในวงสีธรรมชาติ 3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สร้างสรรค์ผลงานจากการใช้สคี ู่ตรงข้ามแบบเย้ือง 3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - นักเรยี นตระหนกั ถึงความความสวยงามของงานทศั นศิลป์ - นกั เรียนทางานด้วยความรักและเพียรพยายามในการสร้างสรรค์ผลงาน - นกั เรียนเห็นคณุ ค่าของงานทศั นศลิ ป์ทั้งจติ รกรรม ประตมิ ากรรม และภาพพิมพ์ - นกั เรยี นรกั ษาและเหน็ คณุ ค่าของอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ วงสธี รรมชาติ และสีคูต่ รงข้าม ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และทศั นคตขิ องตนเอง ๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมน่ั ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้
๒๒ การจัดกจิ กรรมการเรียนร แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๓ รายวชิ า ศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป์) หน่วยการเรยี นร ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขั้นตอนการจัด เวลา ท่ี จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ กิจกรรมคร ๑ ขั้นนา ๑๐ 1. ครใู หน้ ักเรยี นดรู ปู ภา นาที แลว้ ถามนกั เรียนว่าภาพ มีการใชส้ คี ตู่ รงขา้ มหรือ ที่มา : https://www.pintere 179792210102810191/ ?nic_v2=1a5XphC2V 2. ครูถามคาถาม นกั เร หากเราไมใ่ ช้สีคู่ตรงขา้ ม ผลงานนักเรียนมีวธิ ีอ่ืนใ ใช้สรา้ งสรรค์ผลงานแทน
คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) รู้ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เรอ่ื ง สีคู่ตรงขา้ มแบบเยือ้ ง รู้ท่ี ๑ เรือ่ ง สสี ันงานศิลป์ จานวน ๑ ช่ัวโมง แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมนิ รู กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู้ าพ 1. นกั เรยี นรว่ มกนั สังเกตภาพแลว้ - ตวั อยา่ งภาพ - การถาม-ตอบ พที่เห็น ตอบคาภามวา่ มกี ารใช้สคี ู่ตรงข้าม/ ผลงาน อไม่ ไมม่ ีการใชส้ คี ่ตู รงข้าม สงั เกตจากสี ในภาพ est.com/pin/ รียนคิดว่า 2. นักเรยี นร่วมกันตอบคาถาม มสรา้ งสรรค์ ถ้าไมใ่ ชส้ ีคตู่ รงขา้ ม เรายงั สามารถ ใดบา้ ง ใช้วิธีการผสมสขี าวของสคี ่ตู รงข้าม น เพื่อลดความรุนแรงของสี หรอื อาจจะเลอื กใช้สีค่ตู รงข้ามแบบ เยื้องในวงจรสไี ด้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288