Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้รายภาค ม.ปลาย 1-65

แผนการจัดการเรียนรู้รายภาค ม.ปลาย 1-65

Published by suckseedeua_20325, 2022-08-22 19:30:09

Description: แผนการจัดการเรียนรู้รายภาค ม.ปลาย 1-65

Search

Read the Text Version

6. ทุกระบอบการปกครองในโลก ล้วนมีจุดมงุ่ หมายสำคัญคือข้อใด ก. ประชาชนมเี สรีภาพอย่างเทา่ เทยี ม ข. ประชาชนทำกจิ กรรมตา่ งๆได้อย่างเสรี ค. ประชาชนมสี ่วนรว่ มทางการเมืองการปกครอง ง. ประชาชนมวี ินยั ลับผดิ ชอบของสังคม 7. ขอใดคือหลักสาํ คัญในการควบคุมพฤตกิ รรมของเจาหนาทขี่ องรัฐ ก. หลักธรรม ข. คตธิ รรม ค. จริยธรรม ง. มโนธรรม 8. เผด็จการ หมายถงึ อะไร ก. การตดั สินใจของประชาชน ข. การยอมรบั ความคดิ เห็นของผู้อน่ื ค. การเชอ่ื มนั่ ในตัวบุคคลใดบคุ คลหน่ึง ง. การตดั สินใจของผู้นำเพยี งคนเดยี ว 9. ขอใดไมใชสาเหตุของการทจุ รติ ก. กฎหมาย ระเบยี บ ขอกําหนดมีชองวาง ข. เจาหนาท่มี ีอาํ นาจสทิ ธขิ าดในการใชดุลพินจิ ค. ไมมกี ลไกท่ีมีประสทิ ธิภาพในการควบคมุ ง. การเปล่ียนตําแหนงของผูปฏิบตั ิงาน 10. ขอใดเปนแนวทางในการสรางสํานึกความเปนพลเมอื ง ก. รบั ฟงความคดิ เห็นของผูอื่น ข. เขาไปมีสวนรวมในกจิ การของชมุ ชน ค. เคารพกฎหมายของทุกประเทศ ง. ถูกทกุ ขอ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ก 2. ก 3. ค 4. ข 5. ก 6. ง 7. ก 8. ง 9. ง 10. ง

แบบทดสอบครัง้ ท่ี 12 เรื่อง ระบอบการปกครอง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบเผดจ็ การ การทุจริตและทศิ ทางการปองกันและการทุจรติ ในประเทศไทยการทจุ รติ คำชแี้ จง แบบทดสอบก่อนเรยี น มจี ำนวนท้งั หมด 10 ข้อ คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (X) หนา้ ข้อที่ถูกต้องที่สุด เพียงข้อเดยี ว 1. คำคมที่ถอื เปน็ หลักสำคัญของระบอบเผดจ็ การแบบฟาสซสิ ต์ คอื ข้อใด ก. ถ้าเชอื่ ผู้นำ ชาติไมแ่ ตกสลาย ข. สามัคคคี อื พลัง รว่ มกันพัฒนาชาติ ค. สงั คมจะอยู่ได้ ถา้ ประชาชนใส่ใจบา้ นเมอื ง ง. ปญั หาทกุ อย่างมีทางแก้ เพยี งแค่ฟังท่านผูน้ ำ 2. ระบบสองสภา มีสภาอะไรบา้ ง ก. สภาผู้แทนราษฎร,วุฒสิ ภา ข. สภาผแู้ ทนราษฎร,สภารฐั มนตรี ค. สภาประธานาธบิ ดี ,สภารัฐมนตรี ง. สภาเขตเมอื งหลวง , สภานอกเขตเมืองหลวง 3. ปจั จบุ นั กระแสโลกสากลใหก้ ารยอมรับการปกครองระบอบใดว่าเปน็ ระบอบท่ีดีและเหมาะสมทส่ี ุด ก. สงั คมนิยม ข. เผดจ็ การ ค. ประชาธิปไตย ง. เผด็จการแบบเบด็ เสรจ็ 4. ระบอบเผดจ็ การแบบคอมมิวนสิ ต์ เกดิ ขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์ใด ก. การพฒั นาระบบอตุ สหกรรม ข. ขจัดความเล่ือมลำ้ ทางสังคม ค. ขจดั ปัญหาทจุ ริตคอร์รปั ชนั ง. การรวมอำนาจเข้าสู่ศนู ย์กลาง

5. รฐั สภา มีหน้าท่อี ย่างไรตามระบอบประชาธปิ ไตยในระบบรัฐสภา ก. ออกกฎหมายตา่ งๆเพยี งอย่างเดยี ว ข. ตดั สินคดีความเกย่ี วกบั ราชการเพยี งอย่างเดียว ค. ตรวจสอบการทำงานของประธานาธบิ ดเี พียงอยา่ งเดียว ง. ออกกฎหมาย ตรวจสอบการทำงานและตดั สินคดีความเก่ยี วกับราชการ 6. ทุกระบอบการปกครองในโลก ล้วนมีจุดมงุ่ หมายสำคญั คือข้อใด ก. ประชาชนมีเสรภี าพอยา่ งเท่าเทยี ม ข. ประชาชนทำกิจกรรมตา่ งๆได้อยา่ งเสรี ค. ประชาชนมสี ว่ นร่วมทางการเมืองการปกครอง ง. ประชาชนมวี นิ ัยลบั ผิดชอบของสงั คม 7. ขอใดคอื หลักสําคญั ในการควบคุมพฤตกิ รรมของเจาหนาท่ขี องรฐั ก. หลักธรรม ข. คตธิ รรม ค. จรยิ ธรรม ง. มโนธรรม 8. เผด็จการ หมายถงึ อะไร ก. การตดั สนิ ใจของประชาชน ข. การยอมรบั ความคิดเห็นของผู้อนื่ ค. การเชือ่ ม่ันในตัวบคุ คลใดบุคคลหนึ่ง ง. การตัดสินใจของผนู้ ำเพยี งคนเดียว 9. ขอใดไมใชสาเหตุของการทจุ ริต ก. กฎหมาย ระเบียบ ขอกําหนดมชี องวาง ข. เจาหนาที่มีอาํ นาจสิทธขิ าดในการใชดลุ พนิ จิ ค. ไมมีกลไกที่มปี ระสิทธิภาพในการควบคุม ง. การเปล่ยี นตาํ แหนงของผูปฏิบัตงิ าน 10. ขอใดเปนแนวทางในการสรางสํานึกความเปนพลเมือง ก. รับฟงความคดิ เหน็ ของผูอืน่ ข. เขาไปมีสวนรวมในกจิ การของชมุ ชน ค. เคารพกฎหมายของทกุ ประเทศ ง. ถกู ทุกขอ เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. ก 2. ก 3. ค 4. ข 5. ก 6. ง 7. ก 8. ง 9. ง 10. ง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 13 เรอ่ื ง กญั ชาและกญั ชงกบั การแพทย์ เวลาเรยี น 6 ชว่ั โมง แนวคิด หลักสูตรกัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด เป็นหลักสูตรทีม่ ีคณุ ค่าอยา่ งยิ่งต่อการเตรียม ความพร้อมให้กับสังคมไทย เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงของกฎหมาย ท่ีเปิดกว้างให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ ผเู้ รียนท่ศี กึ ษาหลกั สูตรน้มี จี ะมีความเขา้ ใจว่า เหตใุ ดตอ้ งเรยี นรกู้ ญั ชาและกญั ชงเป็นพชื ยาท่ีมีทัง้ ประโยชน์และโทษ กฎหมายยังไม่อนุญาตให้ใช้ปลูกและใช้กัญชาและกัญชงในชีวิต ประจำวัน แต่กัญชาและกัญชงได้รับอนุญาตให้ใช้ กับผู้ช่วย ในคลินิกกัญชาของโรงพยาบาลที่ได้รับอนุญาตให้รักษาโรคแผนปัจจุบัน และการแพทย์ทางเลือกเท่านั้น ผู้เรียนจึงควรรู้เท่าทันและไม่ผ่าฝืนกฎหมาย เน่ืองจากกัญชาและกัญชงยังเป็นยาเสพติดตามกฎหมาย การฝ่าฝืน กฎหมายโดยการปลูก การเสพ การครอบครอง หรือการจำหน่าย จะมีบทลงโทษผู้ท่ีกระทำผิด นอกจากนี้เมือ่ เสพ เป็นเวลาติดต่อกัน จะทำให้เสพติดกัญชาได้ ซึ่งจะส่งผลเสียหายร้ายแรงท้ังต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ตลอดจนประเทศชาติได้ หลกั สูตรนจ้ี งึ เป็นหลักสตู รทีส่ รา้ งภมู คิ ุม้ กนั และปัญญาให้กับผู้เรียน ที่สามารถนำความรู้ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ ถกู ต้อง ไปแนะนำใหก้ บั บคุ คลในครอบครวั ชุมชน และสังคมในวงกว้างไดเ้ ป็นอยา่ งดี ตัวชวี้ ัด 1. บอกกฎหมายทเ่ี กีย่ วข้องกับกัญชาและกัญชงได้ 2. อธิบายสาระท่ีสำคญั ของกฎหมายที่เกย่ี วข้องกับกัญชาและกัญชงได้ 3. สามารถบอกข้อปฏิบตั ทิ ีต่ ้องทำตามกฎหมายทเ่ี กีย่ วข้องกบั กญั ชาและกัญชงได้ 4. วิเคราะห์หลกั การเก่ยี วกับโทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายท่เี กี่ยวข้องกบั กัญชาและกัญชงตามกรณีศึกษาที่ กำหนดได้ 5. บอกกฎหมายระหว่างประเทศท่ีเกี่ยวกบั กญั ชาและกัญชงได้ 6. ตระหนกั ถงึ โทษของการฝ่าฝืนกฎหมาย ทเี่ กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชง 7. บอกประวตั ิความเปน็ มาการใชก้ ญั ชาในการแพทยท์ างเลอื กของไทยได้ 8. บอกประวัติการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจุบนั ท้งั ในตา่ งประเทศและประเทศไทยได้ 9. บอกการใชก้ ญั ชาและกัญชงที่ชว่ ยบรรเทาโรคพารก์ นิ สนั มะเรง็ ลดอาการปวด ลมชัก ผิวหนัง และโรค ตอ้ หนิ ได้ 10. ประยุกต์ใชค้ วามร้กู ัญชาและกญั ชงทชี่ ว่ ยบรรเทาโรคแผนปจั จบุ นั ศกึ ษาโรคทส่ี นใจได้

11. วเิ คราะห์หลักการใชน้ ้ำมันกัญชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั ตามกรณศี ึกษาทกี่ ำหนดให้ได้ 12. อธบิ ายผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ได้ 13. บอกวิธีการใชผ้ ลิตภณั ฑ์กัญชาและกญั ชงให้ไดป้ ระโยชนท์ างการแพทย์ในปจั จุบันได้ เน้ือหา 1. กฎหมายท่เี กี่ยวข้องกับกญั ชาและกัญชง 1.1 พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 1.2 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับกัญชาและกญั ชง 1.3 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ 1.4 พระราชบัญญตั ิสิทธบิ ัตรกับกญั ชาและกญั ชง 1.5 ข้อปฏิบตั ทิ ี่ต้องทำตามกฎหมายทเี่ กี่ยวข้องกบั กญั ชาและกญั ชง 1.6 โทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายที่เกย่ี วข้องกับกัญชาและกัญชง 1.7 กฎหมายระหว่างประเทศเกีย่ วกับกญั ชาและกัญชง 2. กญั ชากับการแพทย์ทางเลือก 2.1 ประวัตคิ วามเป็นมาการใช้กญั ชาในการแพทย์ทางเลือกของไทย 3. กญั ชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจุบนั 3.1 ประวตั กิ ารใชก้ ัญชาและกญั ชงทางการแพทย์แผนปัจจุบนั 3.2 กัญชาและกัญชงทชี่ ่วยบรรเทาโรคแผนปัจจุบนั 3.3 การใช้น้ำมันกัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จุบัน ข้นั ตอนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ข้นั ตอนท่ี 1 การสรา้ งแรงบันดาลใจ (Passion : P) 1. ครทู กั ทายผ้เู รยี น พร้อมท้ังแนะนำตนเอง และแผนการจัดการเรยี นรู้ ซึ่งการจัดการเรยี นรู้ท่ีผ้เู รยี น จะต้องเรียนรรู้ ว่ มกันในคร้ังนี้ คือ เร่ือง “กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์” และชวนคดิ ชวนคยุ เก่ยี วกบั เร่ืองทจ่ี ะ เรียนรู้เพอื่ กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเกิดความสนใจและมีความกระตือรือร้นในการเชอื่ มโยงและสร้างความพร้อมที่จะเรียนรู้ หรอื ทำกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามแผนการจัดการเรียนรคู้ รั้งนี้ 2. ครูชแ้ี จงวัตถุประสงค์ เนื้อหา กจิ กรรม การวัดและประเมนิ ผลของการเรยี นรู้ในครัง้ นี้ท่ีสอดคล้องกับ ตวั ชี้วัดตามแผนการจัดการเรียนรคู้ รงั้ นี้ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ใจอยา่ งชัดเจนวา่ ผู้เรยี นจะต้องเรียนรู้ใหบ้ รรลตุ วั ช้วี ดั ท่ี กำหนดตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง “กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์” ในคร้ังน้ี ซ่งึ มจี ำนวน 13 ข้อ ดังนี้ 1. บอกกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องกับกัญชาและกัญชงได้

2. อธิบายสาระที่สำคญั ของกฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกบั กญั ชาและกญั ชงได้ 3. สามารถบอกข้อปฏบิ ตั ิทตี่ ้องทำตามกฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องกบั กัญชาและกัญชงได้ 4. วเิ คราะหห์ ลกั การเกย่ี วกบั โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายทเี่ กย่ี วข้องกบั กัญชาและกญั ชงตาม กรณีศึกษาทกี่ ำหนดได้ 5. บอกกฎหมายระหวา่ งประเทศทเ่ี กย่ี วกับกญั ชาและกัญชงได้ 6. ตระหนกั ถงึ โทษของการฝ่าฝนื กฎหมาย ท่เี กย่ี วข้องกับกัญชา และกญั ชง 7. บอกประวตั ิความเป็นมาการใช้กัญชาในการแพทยท์ างเลือกของไทยได้ 8. บอกประวตั ิการใชก้ ญั ชาและกัญชงทาง ทางการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ท้งั ในตา่ งประเทศและ ประเทศไทยได้ 9. บอกการใชก้ ัญชาและกัญชงที่ช่วยบรรเทาโรคพารก์ นิ สัน มะเรง็ ลดอาการปวด ลมชกั ผวิ หนงั และโรคตอ้ หนิ ได้ 10. ประยุกตใ์ ช้ความรู้กญั ชาและกัญชงท่ชี ว่ ยบรรเทาโรคแผนปจั จบุ นั ศกึ ษาโรคที่สนใจได้ 11. วเิ คราะห์หลักการใช้น้ามันกญั ชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จบุ นั ตามกรณศี ึกษา ที่ กำหนดให้ได้ 12. อธิบายผลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ได้ 13. บอกวิธกี ารใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกญั ชงให้ไดป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ในปจั จุบนั ได้ 3. ใหผ้ ู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง “กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์” จำนวน 10 ข้อ โดยใช้ เวลา 10 นาที 4. ครูใหผ้ ้เู รียนศึกษาหนังสือเรียนรายวิชาทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษาเพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญ ฉลาด ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง กฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั กัญชาและกัญชง หน้า 115 พร้อมท้ังแนะนำแหลง่ ศกึ ษาค้นคว้าเพมิ่ เติมจากอินเทอรเ์ นต็ ซงึ่ ผู้เรยี นสามารถไปเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองและทำกิจกรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายด้วย ท้งั นี้ ครูควรจะชี้แจงใหผ้ ู้เรยี นทราบวา่ ในการพบกลมุ่ ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ครงั้ นี้ ผู้เรียน จะต้องเรียนรู้และทำกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับเนื้อหาท่เี รียน โดยปฏิบัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การศึกษาคลิปวิดโี อ และการแลกเปล่ยี นเรยี นรโู้ ดยการอภปิ รายร่วมกบั เพ่ือนในกลุม่ รวมทั้งมีการทดสอบหลังเรยี นดว้ ย นอกจากน้ี ในการพบกลุ่มแต่ละครงั้ นนั้ ครจู ะมอบหมายงานใหผ้ ้เู รียนไปเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารเรียนร้ดู ว้ ย ตนเอง ซ่งึ วธิ กี ารเรยี นรดู้ ้วยตนเองจะตอ้ งเกิดขน้ึ ในทุก ๆ ตวั ชี้วัดและเนอื้ หาทีก่ ำหนด โดยผเู้ รียนจะต้องปฏิบัติ กิจกรรมที่กำหนดใหด้ ว้ ยวิธีเรียนรอู้ อนไลน์ และศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียน ดังนั้น ครูจะตอ้ งเชื่อมโยง รายละเอยี ดดังกลา่ วข้างต้นให้ผเู้ รียนได้เกดิ ความเขา้ ใจและเกิดแรงบนั ดาลใจในการเรยี นร้ทู ่จี ะเกดิ ขนึ้ เพราะ การ มอบหมายงานให้ผ้เู รียนไปเรียนร้ดู ว้ ยวธิ ีเรียนร้ดู ว้ ยตนเองน้ัน ผเู้ รยี นจะต้องเรยี นรู้ออนไลน์ผา่ นอนิ เทอร์เน็ต และ ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียน

5. ครูชวนคิดชวนคุยเกี่ยวกับประสบการณเ์ ดิมของครูในเรื่องที่จะเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรยี นรูน้ ี้ โดย ครูส่มุ ผู้เรยี นตามความสมัครใจ จำนวน 4-5 คน ให้ตอบคำถาม จำนวน 2 ประเดน็ ดังนี้ ประเด็นที่ 1 “คนไทยสามารถปลูกกัญชาได้บา้ นละ 6 ตน้ จริงหรือไม่” แนวคำตอบ ไม่จริง ยงั ไม่สามารถทำได้ ณ ขณะนี้ (พฤศจิกายน 2562) กฎหมายไทยยังไม่ อนุญาตให้ประชาชนปลูกกัญชาอยา่ งเสรไี ด้ ประเดน็ ที่ 2 “การตรวจหาสารกญั ชาในปสั สาวะสามารถตรวจพบหลงั จากใชก้ ัญชาไปแล้วนาน ถึง 2 สปั ดาห์ จริงหรอื ไม่” แนวคำตอบ จริง การตรวจหาสารกญั ชาจากปัสสาวะ สามารถตรวจหาหลังจากใช้ 2-5 ช่ัวโมง และในผู้ใช้บ่อยๆ หรือใช้ในปริมาณสูงๆ จะสามารถตรวจพบได้หลังจากใช้ไปแล้ว 15-30 วนั หลังจากหยดุ ใช้ หรือจนกว่ารา่ งกายจะขบั ออกหมด หลังจากนนั้ ครเู ปิดคลปิ วิดโี อให้ผเู้ รยี นชม เรอ่ื ง “ประวตั ิกัญชาไทย” จาก https://www.youtube.com/watch?v=8gzZxK8LR0c โดยครสู ่มุ ผูเ้ รียนตามความสมัครใจ จำนวน 4-5 คน ให้ตอบคำถาม จำนวน 2 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นท่ี 1 “ท่านได้เรยี นรู้อะไรบ้าง จากคลปิ วดิ โี อน้ี” แนวคำตอบ ได้เรยี นรเู้ รอ่ื งโทษและประโยชน์ของกญั ชา ประชาชนสามารถใช้ประโยชน์จากส่วนของกัญชาและกญั ชงทีไ่ มจ่ ัดเปน็ ยาเสพติด ไดแ้ ก่ ใบท่ไี มต่ ิดกับช่อดอก ก่ิง ก้าน ลำตน้ เปลือก ราก และเมล็ดกญั ชง รวมถงึ สารสกัด CBD และกากทีเ่ หลือจากการสกัดซึ่งต้องมีปริมาณ THC ไมเ่ กนิ 0.2% และน้ำมนั และสารสกัดจากเมล็ดกัญชง เพ่ือประโยชนท์ างการแพทย์ การศกึ ษาวจิ ยั และการผลิต ผลิตภณั ฑ์สุขภาพ สถานท่ีปลกู หรือผลติ ในประเทศต้องไดร้ บั อนญุ าตเท่านั้น กรณนี ำเข้าทำได้เฉพาะเปลือกแหง้ แกนลำตน้ แหง้ และเสน้ ใยแห้ง ทงั้ หมดยังต้องขออนญุ าตจาก อย. ตาม พ.ร.บ. ยาเสพติด ฉบับท่ี 7 ระบุผู้มีคุณสมบตั ิขออนุญาต คอื หน่วยงานรัฐ สถาบันอดุ มศึกษา เกษตรกร วิสาหกิจชมุ ชน สหกรณ์ ผู้ประกอบวชิ าชีพแพทย์ เภสชั กร แพทย์แผน ไทย เปน็ ต้น โดยกลุ่มวสิ าหกิจชุมชน สหกรณ์จะต้องร่วมกับหนว่ ยงานรฐั ตามเงอื่ นไขหากมขี ้อสงสัยสามารถ สอบถามได้ที่กองควบคุมวตั ถุเสพตดิ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 6. ครใู ห้ผู้เรียนศึกษาจากใบความรู้ เร่ือง กญั ชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปจั จุบันหลังจากนั้น ครู สมุ่ ผู้เรยี นตามความสมัครใจ จำนวน 4-5 คน ให้ตอบคำถาม จำนวน 3 ประเด็น ดงั นี้ ประเด็นที่ 1 จริงหรอื ไม่ ตำรับยาแผนไทยท่ีมกี ารใชก้ ัญชาสว่ นใหญ่ใชก้ ะหล่ีกัญชาในการเขา้ ตำรับ

แนวคำตอบ ไมจ่ ริง เพราะ ตำรบั ยาแผนไทยส่วนใหญ่ใช้ใบกญั ชาในการเขา้ ตำรบั ยา และจะไม่ใช้ เปน็ ยาเดยี่ ว ส่วนใหญจ่ ะใช้เป็นยาตำรับ คอื ใชร้ ่วมกบั สมุนไพรอนื่ ๆ กะหลกี่ ญั ชาส่วนใหญใ่ ชใ้ นการสบู เพ่ือการ ผ่อนคลาย ประเด็นท่ี 2 กัญชาช่วยลดความดนั จริงหรอื ไม่ แนวคำตอบ จรงิ สารในกญั ชามผี ลทำให้หลอดเลือดขยาย ดังน้นั จึงมีผลทำให้ความดันลดลงได้ จริง แต่ไม่ควรใชแ้ ทนยาลดความดนั เนอ่ื งจากยังมีผลขา้ งเคยี งอ่ืน ผู้ป่วยความดันควรรับประทานยาตามท่แี พทย์ ส่ัง 7. ครแู ละผู้เรยี นอภปิ รายและสรุปผลการเรียนรรู้ ่วมกนั ข้นั ตอนท่ี 2 การนำไปใช้ประโยชน์ (Utilization : U) 1. ครูให้ผเู้ รียนแลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยแบง่ ผ้เู รยี นออกเปน็ กลุม่ ๆ กลุม่ ละ 4-8 คน ดำเนินกจิ กรรม เปน็ รายกลุม่ ศกึ ษาเน้ือหาในหนังสอื เรยี นรายวชิ ากัญชาและกัญชงศกึ ษาเพื่อใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ทช33098 ดังน้ี 1) ประวัตคิ วามเป็นมาการใชก้ ญั ชาในการแพทย์ทางเลือกของไทย (หนา้ 162) 2) ประวตั ิการใชก้ ัญชาและกัญชงทางการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน (หนา้ 223) 3) การใชน้ ำ้ มันกญั ชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั (หน้า 232) ให้แตล่ ะกลุ่มแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และส่งผแู้ ทนนำเสนอตอ่ กลุ่มใหญใ่ น 2 ประเดน็ ประเดน็ ที่ 1 การดื่มหรอื รบั ประทานผลิตภัณฑ์ท่ีมกี ัญชาเป็นส่วนประกอบทำให้ออกฤทธ์ิชา้ กวา่ การสบู กญั ชาหรอื ใช้นำ้ มนั กัญชาหยดใตล้ ิ้น จรงิ หรือไม่ ประเดน็ ที่ 2 กัญชาและกญั ชงสามารถใช้ในการรักษาโรคในสัตวไ์ ด้จรงิ หรือไม่ ครแู ละผู้เรยี นสรุปผลการเรยี นรรู้ ว่ มกัน และใหผ้ ้เู รยี นสรปุ สิง่ ทไ่ี ด้เรียนรลู้ งในสมุดบนั ทึกผลการเรียนรู้ ของตน 2. ครูแนะนำแหล่งเรียนรู้ใหก้ ับผู้เรยี นเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง อาทิ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หน่วยงาน สถานศึกษาต่าง ๆ รวมท้ังการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรยี นรูด้ ้วย ตนเอง เป็นต้น และให้ผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คลศกึ ษาเนื้อหาในหนงั สอื เรียนรายวชิ าหนงั สือเรียนรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศกึ ษาเพอ่ื ใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3. ครดู ำเนินการทำหน้าทีน่ ำการอภปิ ราย โดยให้ผู้เรยี นกลุ่มใหญ่รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ คิดวิเคราะห์ อภิปราย และวิเคราะห์ให้ข้อมูลเพ่ิมเติมในเน้ือหาหรือประเด็นท่ียังไม่ชัดเจน ตามรายละเอียดที่ผู้เรียนได้ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ร่วมกนั หากผเู้ รยี นกลุม่ ใหญ่หรือครเู หน็ วา่ ยังไมส่ มบรู ณ์ มคี วามต้องการในการเรยี นรเู้ พิม่ เติม ครูจะชว่ ยเติมเต็มความร้ใู ห้กับผู้เรียน หลงั จากนัน้ ครูและผู้เรยี นสรุปสง่ิ ที่ได้เรียนรู้ในภาพรวมท้ังหมดแลว้ ใหผ้ ูเ้ รียน สรปุ สงิ่ ที่ได้เรยี นรลู้ งในสมุดบันทกึ การเรียนรู้ของตน

หมายเหตุ : ในการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม ครูชแี้ จงบทบาทหน้าที่ในการทำงานให้ผูเ้ รียนได้มีความรับผิดชอบร่วมกันในการ ทำงาน ซ่ึงมอบหมายให้ผู้เรียนดำเนินการแต่งตั้งประธานหรือผู้นำในการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการ มอบหมายใหม้ ผี ู้รับผิดชอบในภารกจิ ตา่ ง ๆ รวมถึงการแตง่ ต้งั เลขานุการของกลมุ่ เป็นผู้จดบนั ทกึ และผู้รกั ษาเวลา เพื่อปฏิบตั ิงานของกลมุ่ ใหญใ่ หบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงคท์ ต่ี ้ังไว้ และพจิ ารณาว่าสมาชิกล่มุ ทุกคนควรมีความเขา้ ใจ ตรงกนั ว่า ตนมบี ทบาทหนา้ ท่ีทจ่ี ะต้องชว่ ยให้กลมุ่ ทำงานได้สำเร็จ ครูควรให้คำแนะนำถึงความสำคัญของการให้ สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการอภิปรายอยา่ งทวั่ ถึง ไม่ใหม้ ีการผูกขาดการอภปิ รายโดยผู้ใดผู้หนึง่ และควร มีการจำกัดเวลาของการอภปิ รายแตล่ ะประเด็น ในระหว่างการทำกิจกรรมของผูเ้ รียน ครูมีบทบาทในการสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรยี นคอยกระตุ้น ผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ โดยบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมการเรยี นรูข้ องผู้เรยี นและ เครื่องมอื ประเมนิ การสังเกตแบบประมาณค่า 4. ครูเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนท้งั กลุ่มร่วมกันสนทนา เพื่อให้ผเู้ รียนมีทกั ษะในการฟงั พูด คิดวิเคราะห์ การ ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื การคิดสรา้ งสรรค์ ความรบั ผดิ ชอบ และการนำความรู้ในเนื้อหามาใช้โดยครูบูรณาการเน้ือหา การเรยี นรู้ มีการใช้ส่ือเทคโนโลยที ่ีเป็นคลิปวดิ ีโอจาก youtube และ TikTok ทส่ี ัมพนั ธ์กับเน้อื หา ท้งั นี้ครูเช่ือมโยง สิง่ ทไ่ี ดเ้ รียนรตู้ ามข้นั ตอนท่ี 1 ในการนำความรู้ไปสู่การปฏิบตั ิ และประยุกต์ใช้ผา่ นคลปิ วดิ โี อ โดยครเู ปิดคลปิ วดิ โี อ เรอื่ ง “การวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์สารสกัดกัญชาทางการแพทย์” จาก https://www.youtube.com/watch?v=Xl_vl5eHtVU หลงั จากน้ัน ครดู ำเนนิ การ ดังนี้ (1) ครูบรรยายเน้ือหาตามใบความรู้สำหรับครู เรื่อง “การพัฒนายา มาตรฐาน และรูปแบบการใชย้ าท่ี มีกญั ชาและกญั ชงในการแพทยแ์ ผนปจั จุบนั ” เพ่ือใชส้ ำหรบั ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง “ประวตั ิการใช้ กญั ชาและกญั ชงทางการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน” ในสว่ นของผู้เรียนใหศ้ ึกษาใบความรู้สำหรับผูเ้ รียน ประกอบการบรรยายของครูตามใบความร้สู ำหรบั ผเู้ รียน เรอื่ ง “การพัฒนายา มาตรฐาน และรปู แบบการใช้ยาที่มีกญั ชาและกัญชงในการแพทย์แผนปัจจบุ ัน” 5. ครูและผ้เู รยี นอภปิ รายและสรปุ ผลการเรยี นรู้ร่วมกนั ขน้ั ตอนที่ 3 การสะท้อนความคดิ จากการเรยี นรู้ (Reflection : R) 1. แบง่ ผู้เรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4-8 คน ให้ผเู้ รียนแต่ละกลุม่ ศกึ ษา ตามใบกิจกรรมสำหรับครู เรือ่ ง “การพัฒนายา มาตรฐาน และรปู แบบการใชย้ าที่มีกัญชาและกัญชงในการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน”

2. ให้ผู้เรียนแต่ละกลมุ่ ปฏิบตั ิกิจกรรมตามใบกิจกรรม เรื่อง “กญั ชาและกญั ชงกับการแพทยแ์ ผน ปัจจบุ นั ” ทง้ั น้ี ครูจะต้องกำกับการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของผเู้ รยี นจนกิจกรรมแลว้ เสรจ็ ตามใบกิจกรรม 3. ให้ผ้เู รียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง เรือ่ ง “การเปล่ยี นแปลงสถานะของสาร” ตามใบ กิจกรรมของผู้เรยี น เร่ือง “การนำเสนอผลการศึกษาเรื่องกัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จุบัน” 4. ครูให้ผู้เรียนสะท้อนความคิดในการเรียนรู้ที่ได้จากการเรียนรู้และการปฏบิ ัติการ จากขั้นตอนท่ี 1 ถึง ขนั้ ตอนที่ 3 น้ี 5. ครแู ละผเู้ รยี นอภปิ รายและสรปุ ผลการเรยี นรรู้ ่วมกัน ขน้ั ตอนท่ี 4 การติดตามประเมนิ และแกไ้ ข (Action : A) 1. ครสู นทนากับผู้เรียนเก่ยี วกับเรอ่ื งที่ได้เรยี นรตู้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้น้ี โดยครูสุ่มผู้เรยี นตาม ความสมคั รใจจำนวน 2- 3 คน ใหต้ อบคำถามในประเด็น ต่อไปน้ี ประเดน็ “ทา่ นสรุปองค์ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษาเรอื่ ง กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จุบนั ได้อยา่ งไร” แนวคำตอบ 1. การพัฒนายาจากกญั ชา เน่อื งจากโรคบางโรคผูป้ ว่ ยไมต่ อบสนองต่อยาอื่น ๆ ในการรักษาโรค ทางการแพทยจ์ ึงได้พัฒนายาจากกญั ชาและกัญชง เพ่ือควบคุมคุณภาพสรา้ งมาตรฐานเพอื่ ใหผ้ ้ปู ว่ ยปลอดภยั และ ได้รบั ประสิทธิภาพของผลิตภณั ฑส์ ูงสดุ 2. มาตรฐานการผลิตยาจากกัญชา เพอ่ื ใชป้ ระโยชนท์ างการแพทยใ์ นการผลิตยา จึงมีความจำเปน็ อย่างยิ่งในการควบคมุ คุณภาพทดี่ คี วรจะเร่มิ ตง้ั แตก่ ารควบคมุ คุณภาพของวตั ถุดิบ โดยควบคมุ คณุ ภาพต้ังแต่ กระบวนการการเพาะปลกู ไปจนถงึ กระบวนการผลติ ใหไ้ ด้มาซ่ึงผลิตภัณฑส์ ำเรจ็ รปู ทกุ ขนั้ ตอนของการผลิตยา และ กระบวนการทดสอบจะต้องมีการบันทึกขอ้ มลู อยา่ งชัดเจน วัตถุดบิ ตอ้ งเปน็ ไปตามมาตรฐาน กระบวนการเหลา่ นี้ จะช่วยใหผ้ ู้ปว่ ย และผู้ส่ังจ่ายยาไดร้ ับผลติ ภัณฑท์ ี่มีคุณภาพและปลอดภยั 3. รูปแบบยาที่มกี ัญชาและกัญชงท่ีใชใ้ นการแพทย์แผนปัจจบุ ันมี 9 รูปแบบ ได้แก่ (1) การสูดไอระเหย - ดว้ ยปอด (2) เครื่องพ่นไอระเหยทางการแพทย์ (3) การสูบ (4) ทางปาก - ผา่ นทางปากและการหยดใตล้ ้นิ (5) สเปรย์ (6) แคปซูล (7) ชาหรือสารละลาย (8) การสง่ ยาผา่ นผวิ หนงั

(9) การส่งยาผ่านทวารหนกั - ยาเหน็บทวาร 2. ครูและผเู้ รียนอภิปรายและสรปุ ผลการเรยี นรูร้ ่วมกนั เพ่อื เป็นการสรุปภาพรวมของกิจกรรมการ เรียนรู้ ซ่ึงจะทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในกจิ กรรมการเรียนรู้มากย่ิงข้นึ 3. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง “กัญชาและกัญชงกับการแพทย์” จำนวน 10 ข้อ โดยใชเ้ วลา 10 นาที 4. ครูและผู้เรียนสรปุ ภาพรวมสง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรรู้ ว่ มกนั นอกจากนี้ ในตอนทา้ ยของการพบกลมุ่ หลังจากเสร็จสิ้นขน้ั ตอนท่ี 3 ครูมอบหมายงานใหเ้ รียนรดู้ ว้ ย ตนเอง รายละเอียดดงั น้ี การมอบหมายงานใหเ้ รียนรูด้ ว้ ยตนเอง 1. ครูชแ้ี จงให้ผู้เรียนทราบวา่ ในการพบกล่มุ แต่ละครัง้ ผเู้ รยี นจะไดร้ ับมอบหมายงานให้ไปเรียนรดู้ ว้ ย วธิ เี รียนรู้ดว้ ยตนเองในลกั ษณะทค่ี รจู ะมอบหมายงานให้ผเู้ รียนไปศกึ ษา “หนังสือเรยี นรายวชิ าทช33098 กังชา และกัญชาศึกษาเพื่อใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย “เร่ืองกญั ชาและกัญชงกับการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั และใชก้ ญั ชาและกัญชงเป็นยาอย่างรคู้ ุณค่าและชาญ ฉลาด หนา้ 159-240 โดยให้ศกึ ษาเนื้อหาและปฏิบัตกิ จิ กรรมท้ายเรือ่ ง รายละเอยี ดของเนื้อหา แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 เน้ือหาการเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรียนรู้ครั้งน้ี ส่วนท่ี 2 เน้ือหาการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ ในหนังสือเรียนเรียนดงั กล่าว 2. ครมู อบหมายงานให้ผู้เรยี นเรยี นรูด้ ้วยตนเอง โดยให้ไปศึกษา “หนังสือเรียนรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ พว31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554)” รายละเอียดของกิจกรรมท่ผี ู้เรยี นจะต้อง ปฏิบตั ิ แบ่งออกเป็น 2 สว่ น ดงั น้ี สว่ นที่ 1 เน้อื หาการเรยี นรู้ตามแผนการจัดการเรียนรคู้ ร้ังนี้ ไดแ้ ก่ 1) ประวัติความเป็นมาการใชก้ ัญชาในการแพทยท์ างเลือกของไทย (หนงั สือเรียน หน้า 162-215) (กจิ กรรมท้ายเรือ่ งในหนังสือเรียน 216-218) 2) ประวตั กิ ญั ชาและกัญชงทางการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั (หนงั สือเรยี น หนา้ 219-243) (กิจกรรมท้ายเรือ่ งในหนงั สือเรียน 244-247) 3) กัญชาและกญั ชงท่ีชว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจบุ ัน (หนงั สือเรียน หน้า 226-231)

(กิจกรรมท้ายเร่ืองในหนงั สือเรียน 244-247 4) การใช้นำ้ มันกญั ชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั (หนงั สือเรียน หนา้ 232-235) (กิจกรรมท้ายเรื่องในหนงั สือเรียน 244-247) ส่วนท่ี 2 มอบหมายงานให้ผู้เรยี นเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ซึ่งเนื้อหาการเรียนรู้เพมิ่ เติมใน “หนงั สือ เรียนรายวชิ าทช 33098 กัญชาและกญั ชงศึกษาเพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 1) ประวตั คิ วามเป็นมาการใชก้ ัญชาเป็นยาทางการแพทยใ์ นตา่ งประเทศ (หนงั สอื เรยี น หน้า 161-162) 2) ตำรบั ยาท่ีมีกัญชาเป็นสว่ นประกอบที่ได้มีการคัดเลือกและมกี ารรับรองโดยกระทรวง สาธารณสุข (หนงั สอื เรียน หนา้ 177-205) 3) ภูมภิ ูเบศและเผยแพรภ่ มู ิปัญญาไทย ภมู ปิ ัญญาหมอพื้นบ้านนายเดชา ศิรภิ ทั ร (หนังสือเรียน หน้า 206-215) 4) ผลติ ภัณฑก์ ญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ การใช้ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชงให้ได้ ประโยชน์ทางการแพทย์ปัจจุบันและการควบคุมอาการ (หนังสือเรียน หน้า 243) 5) ใช้กัญชาและกญั ชงเปน็ ยาอย่างรู้คุณค่าและชาญฉลาด (หนงั สือเรยี น หน้า 253-276) (กิจกรรมท้ายเรอื่ งในหนังสือเรยี น 277-278 หลงั จากนน้ั ครแู ละผู้เรยี นมีการนัดหมายทบทวน ตรวจสอบ และแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ว่ มกันผา่ นทาง ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ ตอ่ ไป หมายเหตุ : ให้ผ้เู รยี นลงมือปฏิบตั กิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง ซ่ึงการใหผ้ เู้ รียนลงมอื ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดว้ ยตนเองนน้ั อาจมีความแตกต่างกนั บ้างในขั้นตอน โดยพิจารณาจากพืน้ ฐานของผู้เรียน ในกรณีท่ีผูเ้ รียนมีพ้ืนฐานน้อยหรือไม่มี พนื้ ฐานมาก่อนก็ควรจัดการเรียนร้พู ้ืนฐานท่ีจำเป็นและพอเพียงกับผเู้ รียน หลงั จากนัน้ ให้ผเู้ รยี นไดป้ ฏิบตั ดิ ้วยตนเอง ในชว่ งระยะหน่ึงแล้วจงึ ค่อยให้ผูเ้ รยี นคิดหัวขอ้ ท่ีอยากจะทำ หรือถา้ ผู้เรยี นมีพ้ืนความรู้มาก่อนแล้ว ใหค้ ดิ หัวข้อที่ สนใจจะทำและใหล้ งมือปฏบิ ัตไิ ด้

สอ่ื วัสดุ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่ือง “กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกบั กัญชาและกัญชง” 2. ใบความร้สู ำหรับผู้เรียน เรื่อง “กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จบุ นั ” 3. คลิปวิดีโอ เร่ือง “ประวัติกัญชาไทย” จาก https://www.youtube.com/watch?v=8gzZxK8LR0c 4. คลปิ วดิ โี อ เรือ่ ง “การวจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์สารสกัดกญั ชาทางการแพทย์” จาก https://www.youtube.com/watch?v=Xl_vl5eHtVU 5. ใบความรู้สำหรับครู เร่อื ง “กญั ชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน” 6. ใบกิจกรรมสำหรบั ผเู้ รยี น เรอ่ื ง “กัญชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจุบัน” 7. แบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง “กัญชาและกญั ชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ” 8. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจสำหรบั ผ้เู รยี นในการเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ือง“กญั ชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนปจั จบุ นั ” 9. หนงั สอื เรยี นรายวิชากญั ชาและกญั ชงศึกษาเพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ทช33098 การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม ความต้ังใจ และความสนใจของผเู้ รยี น 2. ผลการทดสอบก่อนและหลงั เรยี น 3. ผลการออกแบบและสร้างสรรคน์ วตั กรรมและสิ่งท่ตี อ้ งการพัฒนา/ชิ้นงาน/ผลงาน 4. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรยี น

บันทกึ ผลหลงั การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ผลการใชแ้ ผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ 1. จำนวนเนอ้ื หากบั จำนวนเวลา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การเรยี งลำดับเนอ้ื หากบั ความเขา้ ใจของผู้เรยี น  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การนำเข้าสูบ่ ทเรียนกับเนื้อหาแต่ละหวั ข้อ  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. วิธีการจดั กจิ กรรมการเรียนรกู้ ับเน้ือหาในแต่ละข้อ  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. การประเมินผลกบั ตัวชี้วัดในแตล่ ะเน้ือหา  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการเรียนรู้ของผ้เู รียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการจัดกระบวนการเรยี นรขู้ องครู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายละเอยี ดสอื่ วัสดุ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง “กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกับกัญชาและกัญชง” 2. ใบความรูส้ ำหรับผู้เรียน เรอื่ ง “กัญชาและกญั ชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจุบัน” 3. คลิปวดิ ีโอ เรื่อง “ประวตั ิกัญชาไทย” จาก https://www.youtube.com/watch?v=8gzZxK8LR0c 4. คลปิ วิดโี อ เร่อื ง “การวจิ ยั และพฒั นาผลิตภัณฑ์สารสกดั กัญชาทางการแพทย”์ จาก https://www.youtube.com/watch?v=Xl_vl5eHtVU 5. ใบความรู้สำหรับครู เรอื่ ง “กญั ชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปจั จุบนั ” 6. ใบกิจกรรมสำหรบั ผเู้ รยี น เรือ่ ง “กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปจั จบุ นั ” 7. แบบทดสอบหลังเรยี น เรอื่ ง “กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จุบนั ” 8. แบบประเมินความพึงพอใจสำหรบั ผเู้ รียนในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ เรือ่ ง“กญั ชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปจั จุบัน” 9. หนงั สอื เรียนรายวิชากญั ชาและกัญชงศกึ ษาเพ่ือใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด ทช33098

แบบทดสอบก่อนเรียน เรอื่ ง กญั ชงกัญชากบั แพทยแ์ ผนปจั จบุ นั คำช้แี จง แบบทดสอบก่อนเรยี น มีจำนวนทั้งหมด 10 ข้อ คำส่ัง จงทำเคร่ืองหมายกากบาท (X) หนา้ ข้อท่ีถกู ต้องทสี่ ุด เพียงข้อเดียว 1. สารออกฤทธิใ์ นพชื กัญชาและกญั ชงในขอ้ ใดเกย่ี วข้องกนั มากที่สดุ ก. CDB กับ TDB ข. CBD กับ THC ค. CDB กบั TCB ง. CBBกับ THC 2. อาการในข้อใดจดั เปน็ พิษภัยสำคญั ทีส่ ุดเม่ือร่างกายได้รับสารออกฤทธ์ิจากพืชกญั ชา ก. ทำใหเ้ กดิ อาการวงิ เวียนศรี ษะ ข. ทำให้เกดิ การมึนเมาและประสาทหลอน ค. ทำใหเ้ กิดความเพลดิ เพลินสนุกสนานเกนิ ขอบเขต ง. ทำใหเ้ กดิ อาการอยากรบั ประทานอาหารมากยง่ิ ข้นึ 3. พชื กญั ชาและกัญชง ท่ีปลูกในประเทศไทยมีปริมาณสารสำคัญแตกตา่ งกนั อย่างไร ก. สาร THC ในใบและชอ่ ดอกแห้ง ของพชื กญั ชา มีมากกว่าพืชกัญชง ข. สาร THC ในใบและชอ่ ดอกแห้ง ของพืชกญั ชง มมี ากกว่าพชื กญั ชา ค. สาร THC ในใบและช่อดอกแหง้ ของพืชกัญชาและพืชกัญชงมีปรมิ าณเท่า ๆ กนั ง. สาร THC ในใบและชอ่ ดอกแหง้ ของพชื กัญชงและพชื กัญชาแตกต่างกนั เลก็ น้อย 4. พืชกญั ชาและกญั ชงมีตน้ กำเนดิ มาจากพชื เดิมชนดิ เดยี วกันแต่นกั พฤกษศาสตรไ์ ดจ้ ำแนกสปีชีสย์ อ่ ย เป็น 2 สายพนั ธุ์ คือ Cannabis sativa L. subsp. sativa (กัญชง, Hemp) และ Cannabis sativa L.subsp. indica (กญั ชา, Cannabis) จากข้อความข้างตน้ กัญชาและกัญชงเปน็ พืชชนิดเดยี วกนั ใช่หรือไม่เพราะเหตุใด ก. ใช่ เพราะพืชกัญชากับกญั ชงขนึ้ อยู่ในแหล่งเดียวกนั ข. ไมใ่ ช่ เพราะพชื กัญชาและกญั ชงเป็นพชื ท่ีมสี ปีชสี แ์ ตกต่างกัน ค. ใช่ เพราะพชื กญั ชาและกัญชงมสี ายพนั ธ์ุเดยี วกนั ต่างกันเพียงสายพนั ธยุ์ ่อยเท่าน้ัน ง. ไม่ใช่ เพราะพืชกัญชาเปน็ พืชสายพนั ธ์ยุ ่อย sativa ส่วนกัญชงเปน็ พชื สายพันธยุ์ อ่ ย indica

5. บุคคลในข้อใดควรไดร้ บั นำ้ มันกญั ชาจากแพทย์ ก. นติ ยาแพท้ ้องอย่างหนักในขณะต้ังครรภ์ ข. องิ อรมีอาการเวียนศีรษะเพราะความดันโลหิตสงู ค. เสรีมอี าการคลนื่ ไสอ้ าเจยี นหลงั จากไดร้ ับเคมีบำบดั ง. กลั ยามีอาการจกุ เสียดหายใจไม่ออกจากโรคหวั ใจกำเรบิ 6. พิษของกัญชา มีผลกระทบตอ่ ระบบรา่ งกายสว่ นใดมาก ก. ปอด ข. ผิวหนงั ค. สมองและประสาท ง. หวั ใจและหลอดเลือด 7. ข้อปฏิบัติประการสำคญั ที่สุดในการใช้น้ำมันกัญชาเพ่ือรักษาโรคคือข้อใด ก. ใชน้ ำ้ มันกัญชาในปรมิ าณน้อยที่สุด ข. ใช้น้ำมนั กญั ชาตามทแ่ี พทย์ส่ังเท่าน้ัน ค. ใชน้ ้ำมนั กัญชาใหต้ รงกบั ชนิดของโรค ง. ใชน้ ำ้ มนั กัญชาจากแหล่งท่ีเชือ่ ถือไดเ้ ท่านน้ั 8. ผปู้ ว่ ยทเ่ี ปน็ มะเร็งปากมดลูกควรใชผ้ ลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชง รักษาโรคในรปู แบบใดจึงจะเกิด ประสิทธิภาพมากทสี่ ุด ก. การเหนบ็ ผลิตภัณฑ์ ข. การใชผ้ ลิตภณั ฑส์ วนทวาร ค. การรับประทานผลติ ภณั ฑ์ ง. การใชผ้ ลิตภณั ฑฉ์ ดี พน่ สเปรย์ 9. ผู้ปว่ ยทีเ่ ปน็ โรคมะเร็งท่ีมีความต้องการจะเข้ารับการรักษา ดว้ ยผลิตภัณฑน์ ้ำมันกัญชาควรได้รบั การอนุญาตจากใคร เพราะเหตใุ ด ก. ไดร้ บั อนญุ าตจากแพทย์ และพยาบาล เพราะเป็นผรู้ ักษาโดยตรง ข. ได้รบั อนญุ าตจากแพทย์ และเภสชั กร เพราะเป็นผู้วินจิ ฉัยโรคโดยตรง ค. ได้รบั อนญุ าตจากแพทย์ และพยาบาล เพราะเปน็ ผู้ควบคุมการใชย้ ารกั ษาโรคมะเรง็ ง. ไดร้ ับอนญุ าตจากแพทย์ และเภสัชกร เพราะเป็นผู้ใชย้ าแผนปัจจบุ ันควบคู่กับน้ำมันกัญชา

10. ผปู้ ว่ ยโรคใดทีต่ อ้ งใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงเป็นยารักษาเสริมกบั การรักษามาตรฐานเพื่อ การควบคุมอาการปว่ ย ก. โรคความดนั โลหติ สงู ข. โรคหลอดเลือดสมอง ค. โรคปลอกประสาทอักเสบ ง. โรคหัวใจ และหลอดเลอื ด เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. ข 2. ข 3. ก 4. ค 5. ค 6. ค 7. ข 8. ก 9. ง 10. ค

ใบความรูส้ ำหรบั ผเู้ รยี น เรอ่ื ง การพัฒนายา มาตรฐาน และรูปแบบการใช้ยาท่ีมกี ัญชาและกญั ชง ในการแพทยแ์ ผนปจั จุบัน 1. การพฒั นายาจากกญั ชา ยาจากกญั ชาถือเปน็ ยาประเภทใหม่ เน่อื งด้วยข้อกำหนดด้านกฎหมายจึงทำให้การศึกษาวิจัยของยากัญชา ยังมอี ยนู่ ้อย เนอื่ งจากกัญชาไมใ่ ช่ยาวิเศษหรือยาครอบจักรวาลด่ังความเชอ่ื ท่รี ำ่ ลือกัน แพทยจ์ ะไมร่ ักษาดว้ ยยา กญั ชาเป็นลำดบั แรก จะเลือกใชก้ บั ผปู้ ว่ ยที่ไม่ตอบสนองตอ่ ยาอน่ื ๆ หรือได้รบั ผลขา้ งเคยี งจากยา ท่ีไมส่ ามารถ ยอมรับได้ ในขณะท่ีมีผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทยเ์ พียงบางสว่ นเท่าน้นั ท่ไี ดร้ บั การข้นึ ทะเบียนยาอยา่ งเป็น ทางการ และระบุว่าใช้ได้กบั เพยี งบางโรค อย่างไรกด็ กี ารพัฒนายาจากกัญชา ยังจำเป็นต้องควบคุมคุณภาพ และ สร้างมาตรฐาน เพ่ือให้ผปู้ ว่ ยปลอดภัย และได้รับประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์สงู สดุ นอกจากนแ้ี ล้วข้อมูลทางคลินกิ และแนวทางการจ่ายยาก็มคี วามจำเปน็ ไมแ่ พ้กัน เพื่อเป็นแนวทางปฏบิ ัตใิ หแ้ ก่แพทย์และบคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้อง เพ่ือ ลดความเส่ียงจากผลข้างเคียงรวมถึงการเสพตดิ ยาจากกญั ชาใหน้ ้อยท่ีสดุ 2. มาตรฐานการผลติ ยากญั ชาเพือ่ ใชป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ กัญชาถูกนำไปใช้ในการศึกษาทางคลินิกในมนุษย์ และพบว่าค่อนข้างปลอดภัยสำหรับผู้คนสว่ นใหญ่ แต่ ยังมีพบในบางรายท่ีบริโภคกญั ชากลบั ควบคมุ อาการของโรคไดแ้ ย่ลง และเกดิ ผลข้างเคยี งใหม่ เช่น ความอ่อนเพลีย การ ทำงานของตับผิดปกติ และเกิดอาการท้องร่วง ไมม่ ียาชนิดใดทีป่ ลอดภยั ทีส่ ดุ ยาทุกประเภทสามารถก่อให้เกิดความ เสีย่ งของอาการข้างเคียง และอาการไม่พงึ ประสงค์ได้ (อาจส่งผลใหเ้ กดิ อันตราย) โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการบรโิ ภค THC และสารแคนนาบินอยด์ สงั เคราะหใ์ นปริมาณมาก จะกอ่ ให้เกิดอันตรายได้ เชน่ (ความดันโลหิตต่ำขณะเปล่ยี น ท่าทางทส่ี ่งผลใหล้ ม้ หรืออาการวกิ ลจริตระดบั เบาไปจนถึงรนุ แรง) การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เพ่ือให้มีปริมาณ สารสำคัญคงที่ในทุกรอบการผลิต ควบคมุ ปริมาณสารปนเป้ือน มกี ระบวนการผลติ ท่ีถูกตอ้ งเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิท่ีดีในการผลติ ยา (GMP) จึงมีความจำเป็นอย่างยงิ่ การควบคุมคุณภาพท่ดี ีควรจะเร่มิ ต้งั แตก่ าร ควบคมุ คุณภาพของวัตถดุ ิบ โดยควบคมุ ตั้งแตก่ ระบวนการเพาะปลูกไปจนถงึ กระบวนการผลิตใหไ้ ด้มาซงึ่ ผลิตภณั ฑ์สำเร็จรูป ทุกขนั้ ตอนของการผลิตยา และกระบวนการทดสอบจะต้องมีการบนั ทึกข้อมลู อย่างชัดเจน บุคลากร สถานที่ และวตั ถดุ บิ ต้องเปน็ ไปตามมาตรฐานกระบวนการเหล่าน้จี ะชว่ ยให้ผู้ปว่ ย และผู้สงั่ จ่ายยาได้รับ ผลิตภัณฑ์ทม่ี ีคุณภาพและปลอดภยั

วตั ถุดิบกญั ชาช้ินแหง้ สารสกัดกัญชา และผลติ ภณั ฑส์ ำเรจ็ รปู ตอ้ งผา่ นการตรวจคุณภาพโดยควบคุม มาตรฐานตาม American Herbal Pharmacopeia และ Thai Herbal Pharmacopeia (THP) มีการตรวจสอบเอกลกั ษณ์ของกญั ชาการตรวจสอบพชื วัตถุดบิ เพื่อยนื ยันว่า เปน็ กัญชาจริงไมใ่ ช่พชื ที่มีสาร ปลอมปนหรอื พืชทดแทน การตรวจสอบเอกลักษณ์และปริมาณของสารออกฤทธ์ิ THC และ CBD ให้เปน็ ไปตามท่ี กำหนด การตรวจสอบปริมาณเชอื้ จลุ ินทรยี ก์ ่อโรคไม่ให้เกินที่มาตรฐานกำหนด การตรวจสอบยาฆ่าแมลง และ โลหะหนักได้แก่ สารหนู สารปรอท สารตะกวั่ แคดเมยี ม ซึ่งอาจจะเหลือตกคา้ งมาได้ในระหว่างการเพาะปลูก ต้อง ไม่เกินที่มาตรฐานกำหนดเพ่อื ความปลอดภยั ของผูป้ ว่ ย

3. รปู แบบยาเตรียมและการใหย้ า กญั ชาทางการแพทยก์ ็เหมือนกับยาชนิดอน่ื ๆ ที่มรี ูปแบบยาเตรียมทห่ี ลากหลายประเภท (เชน่ การสูดไอ ระเหย การใหย้ าทางปาก การสง่ ยาผา่ นผิวหนงั ) เพอ่ื สนองความต้องการของผ้ปู ่วยที่แตกต่างกันไป วธิ ีการบรหิ าร ยาจะข้นึ อยู่กับรปู แบบยา รูปแบบยาเตรียมมีความสำคญั อยา่ งมาก เพราะจะสง่ ผลตอ่ พฤติกรรมตา่ ง ๆ ของผ้ปู ว่ ย ได้แก่ ขอ้ 1 ผู้ป่วยรบั ยาเขา้ ไปตามปริมาณที่กำหนดในแตล่ ะวันหรือไม่ ขอ้ 2 พวกเขารับยาเม่อื ไร (ช่วงเวลาของวนั ) ข้อ 3 พวกเขารับยาบ่อยเพยี งใด (ความถ่ีในการใช)้ ข้อ 4 พวกเขาต้องได้รบั ยาปริมาณเทา่ ไร (ปรมิ าณการรับยารวมในแต่ละวัน) ข้อ 5 อาการข้างเคียงทีเ่ กิดข้ึน และจะทนอาการข้างเคียงเหล่านน้ั อย่างไร รปู แบบยาท่มี ีกญั ชาและกัญชงท่ีใชใ้ นการแพทย์แผนปจั จุบันมี 9 รูปแบบดงั น้ี รปู แบบที่ 1 การสูดไอระเหย – ดว้ ยปอด การใช้เครื่องพน่ ไอระเหย หรือเคร่ืองมือสดู ไอระเหยทางการแพทย์ ผ้ปู ว่ ยจะสูดดมสารแคนนาบินอยด์ (จากช่อดอกกญั ชาแห้ง) ในรูปแบบไอระเหยซ่ึงจะดดู ซมึ เข้าไปในกระแสเลือดผา่ นทางปอด การสดู ไอระเหยเปน็ วิธีการทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพปอด จะสามารถดูดซมึ ไอระเหยท่ีสูดดมเข้าไปได้อยา่ งรวดเรว็ ยาออกฤทธิ์ได้ทันที ไอระเหย จะมสี ารแคนนาบนิ อยด์ และเทอรป์ นี ในปริมาณทีส่ ม่ำเสมอ และวดั ค่าไดร้ วดเร็ว ทำให้การปรบั ขนาดยาง่ายข้นึ หรอื การรบั ยาในปริมาณที่เหมาะสมโดยไม่เกิดอาการข้างเคียง และยังบรรเทาอาการได้อยา่ งรวดเร็ว โดยจะเห็นผล

ภายในไม่กน่ี าที แมว้ า่ การสูดไอระเหยจะทำใหร้ ะดับสารแคนนาบนิ อยดใ์ นเลือดสงู แตผ่ ลท่ีได้เม่ือเทยี บกับการ บรหิ ารยาทางปากแลว้ จะมีระยะเวลาการออกฤทธ์ทิ ส่ี ั้น ปริมาณแคนนาบนิ อยดท์ ี่ถูกนำส่งจะขน้ึ อย่กู บั ความลึกของ การสูดลมหายใจปริมาณในการสูบ และระยะเวลาการกลั้นหายใจ รูปแบบท่ี 2 เคร่ืองพ่นไอระเหยทางการแพทย์ เครอื่ งท่ีใชก้ บั ชอ่ ดอกกัญชาแห้ง แตไ่ อระเหยจะไม่มีสว่ นประกอบของนิโคติน กลีเซอรนี หรอื โพรพลิ นี ไกล คอล และกลน่ิ รสสงั เคราะห์ รวมถึงไม่มไี อระเหย และควันขนาดใหญ่ที่เปน็ พษิ และรบกวนผ้อู นื่ ถือเป็นเครื่องมือที่มี ประสทิ ธภิ าพ ปลอดภยั และผูป้ ่วยใช้งานงา่ ย รูปแบบท่ี 3 การสบู การสูบจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ป่วยจึงไม่แนะนำให้ใช้วิธีการน้ี สารประกอบไพโรไลซิส ท่ี เป็นพิษจะถูกสร้างข้ึนเมื่อมีการสูบ (หรือการเผาไหม้) โดยท่ัวไปจะมีการม้วนช่อดอกกัญชาทำเปน็ (บหุ รี่สอดไส้ กญั ชา) และสูดสารแคนนาบินอยด์ ในรูปแบบควันเข้าไปยังปอด ยาจะดูดซมึ เข้าไปในกระแสเลอื ดผา่ นทางปอด รูปแบบที่ 4 ทางปาก – ผา่ นทางปาก และการหยดใต้ลน้ิ สารแคนนาบินอยด์ (สารสกดั จากพืชทง้ั ต้น หรือสารแคนนาบนิ อยดส์ กัดแยก) ทีใ่ ห้ทางปากโดยการกลืน (ทางปาก) เม่ือกลืนยาเขา้ ไป ยาจะเข้าสู่กระแสเลือดผ่านทางกระเพาะอาหาร ลำไส้และตับ เม่อื ใหย้ าดูดซมึ ทางใต้ลนิ้ ยาจะไมผ่ า่ นตับ และเขา้ สกู่ ระแสเลอื ดโดยตรงยาเตรียมสำหรบั การใหท้ างปากเปน็ รูปแบบยาท่ีคนุ้ เคยทำใหช้ ่วยให้ การบรหิ ารยางา่ ยข้นึ การใชย้ าในแต่ละครั้ง สามารถทำโดยหยดยาไวใ้ ต้ลิน้ ยาจะถกู ดดู ซึม ผ่าน ชั้นเยื่อเมือกบผุ ิว ในปาก (เรียกวา่ การดูดซึมใต้ลน้ิ ) และจะเข้าไปสู่กระแสเลือด การนำส่งยาใต้ลิน้ เป็นการบริหารยาทส่ี ามารถเพม่ิ ปรมิ าณยารวมท่ีรา่ งกายรบั ได้ หมายความวา่ ผ้ปู ่วยรับยาปริมาณเพยี งเลก็ น้อย แต่ยงั คงใหไ้ ดผ้ ลการรกั ษา เหมอื นเดิมเม่อื เทยี บกับการกลนื แคปซูล หรอื การด่ืมชา นำ้ มันหยดใต้ลน้ิ จึงเป็นรูปแบบยาทด่ี มี ีประสทิ ธภิ าพ รปู แบบที่ 5 สเปรย์ สเปรย์ก็เปน็ การบริหารยาใตล้ ้นิ เช่นเดียวกับการใช้น้ำมัน ตัวอย่างเช่น ซาติเวกซ์ (Sativex™) ซ่ึงเป็นรูปแบบ ยาเตรียม (ฉีดพ่นในชอ่ งปาก) ทไี่ ดม้ าตรฐานทางเภสชั กรรม ผลิตมาจากกัญชาสองสายพันธ์ุ โดยสายพนั ธหุ์ น่ึงผลิต THC เป็นหลัก และอีกสายพันธห์ุ น่ึงผลิต CBD เปน็ หลักสารประกอบออกฤทธิ์ THC และ CBD ในสดั สว่ นท่ี แน่นอนจะถกู นำไปละลายในสารละลายแอลกอฮอล์ ก่อนจะนำไปบรรจใุ นขวดยาพน่ แบบกำหนดขนาด ซ่ึงใชพ้ ่น ใตล้ นิ้ รูปแบบที่ 6 แคปซลู โดยทว่ั ไปแคปซูลจะประกอบดว้ ยสารแคนนาบนิ อยดเ์ ด่ยี ว (คอื THC และ CBD) ในปรมิ าณความเข้มขน้ ท่ี แนน่ อนละลายอยู่ ในนำ้ มนั ตัวพาแคปซลู เมื่อถูกกลนื แล้วจะแตกตัวออก ยาจะถกู ปล่อยออกมากอ่ นทจ่ี ะถูกดดู ซึม ในกระเพาะอาหาร และลำไส้ อตั รา (เวลา) ในการดดู ซมึ อาจไมส่ ามารถคาดการณ์ได้ และอาจแตกตา่ งกันไปตาม ปัจจยั อ่นื ๆ เช่น มีอาหารอยใู่ นระบบทางเดนิ อาหาร หรือผปู้ ว่ ยมีการเคล่อื นไหว (ออกกำลังกาย เดิน) ประเดน็ ท่ี

น่าสนใจคือ THC มีผลให้อัตราความเร็วของการส่งอาหารออกจากกระเพาะช้าลง (จากกระเพาะไปสู่ลำไส้) การบริหาร ยาทางปาก (โดยการกลืน) สง่ ผลใหเ้ วลาการออกฤทธิ์ของยาชา้ ลง ความเข้มขน้ ของระดับยาในเลือดลดลง และ ระยะเวลาที่ยาออกฤทธ์ินานขึ้นเมือ่ เทยี บกบั การสูดไอระเหย ปริมาณสารแคนนาบนิ อยด์รวมจะขึน้ กบั กระบวนการ เมแทบอลซิ ึมในตับ และปรมิ าณอาหารในกระเพาะอาหาร ซึง่ เทา่ กบั วา่ ปริมาณการรับยาทางปากอาจไม่มีความ แนน่ อน และไมส่ ามารถคาดการณ์ได้ รปู แบบท่ี 7 ชาหรือสารละลาย ผูป้ ่วยบางรายบริโภคกัญชาทางการแพทย์ ในรูปแบบชา โดยใช้ชอ่ ดอกชงในนำ้ ร้อนเมือ่ ด่ืมชาสารแคนนา บินอยด์ จะถกู ดูดซมึ ในกระเพาะและลำไสเ้ ล็ก เช่นเดยี วกบั การให้ยาทางปาก ปรมิ าณสารแคนนาบนิ อยดร์ วม จะ ขึ้นกบั กระบวนการเมตาบอลซิ มึ ในตบั และปริมาณอาหารในกระเพาะอาหาร ซ่ึงเทา่ กับว่าปริมาณการรบั ยาทาง ปากอาจไม่มคี วามแนน่ อน และไมส่ ามารถคาดการณ์ได้ย่ิงไปกวา่ น้นั ชาส่วนใหญ่มกั มคี วามเข้มขน้ ของสารแคนนา บนิ อยดต์ ำ่ สารประกอบในชาจะเปล่ียนแปลงตามเวลาในการต้ม ปรมิ าณของชาท่ีใชแ้ ละระยะเวลาในการเกบ็ ซึ่ง หมายความวา่ การบรหิ ารยาดว้ ยชาอาจทำใหผ้ ลการรักษาโรคไมแ่ น่นอน แต่ในผปู้ ่วยบางรายกลบั พบว่าการใชช้ า กญั ชาดม่ื ไดผ้ ลดี เพียงแต่การกำหนดปรมิ าณยาอาจจะทำได้อยากอาหารรูปแบบยาเตรียมจากพชื ทั้งตน้ อีก ประเภทหน่งึ คือ อาหาร เช่น คกุ กี้ บราวน่ี การรับประทานอาหารเหล่านยี้ ากตอ่ การควบคมุ ปริมาณองค์ประกอบสาร แคนนาบินอยด์ ท่ีไดร้ บั ใหค้ งท่ี ผู้ป่วยอาจรับยาเกินขนาดได้ง่าย เนื่องจากยาอาจออกฤทธห์ิ ลงั ผา่ นไปราว 2-3 ชวั่ โมง และผปู้ ว่ ยอาจรับประทานยาคร้ังทสี่ องหากพวกเขาต้องรอยาออกฤทธ์ผิ ลการรักษาโรคอาจไมแ่ น่นอนนัก เมอ่ื เทยี บกบั ผลติ ภณั ฑ์ยาให้ทางปากท่ีไดม้ าตรฐาน และส่วนใหญ่ต้องใช้เวลานานกวา่ ยาจะออกฤทธิ์จึงทำให้ อาหารไมถ่ ือเปน็ ผลิตภัณฑ์สำหรับการบำบัดรักษาโรค รูปแบบที่ 8 การสง่ ยาผ่านผวิ หนงั การบรหิ ารยาผ่านทางผวิ หนงั เป็นการส่งยาผา่ นผวิ หนงั รูปแบบยาเตรียมโดยท่วั ไป ได้แก่ ครีมทาบน ผิวหนังหรือเยอ่ื เมือกบุผิว และแผ่นแปะผวิ หนัง ซึง่ เป็นการแปะแผ่นติดทม่ี ยี าอยู่ ลงบน ผิวหนงั โดยตรงผูป้ ว่ ยจะ ค่อย ๆ ไดร้ บั ยาในปริมาณที่เฉพาะเจาะจงในเวลาทีก่ ำหนด ปจั จุบนั มกี ารใชร้ ูปแบบยานเ้ี พ่อื รักษาอาการทาง ผิวหนังบางประเภท และอาการปวดกล้ามเน้ือเฉพาะที่ หรือปวดขอ้ สารแคนนาบนิ อยด์ส่วนใหญไ่ ม่ชอบนำ้ จงึ ทำ ใหย้ าซึมผา่ นไปสู่กระแสเลือดน้อยทำให้ระดับความเขม้ ข้นยาในเลอื ดอยูใ่ นระดับท่ีเหมาะสมได้ยากอาจจะต้อง ประยกุ ตใ์ ช้กบั เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น การนำส่งสารด้วยนาโนเทคโนโลยี อาจจะชว่ ยให้ยาเข้าสู่กระแสเลอื ดได้ดี ขนึ้ สว่ นยาในรูปแบบครมี ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ทา และออกฤทธเ์ิ ฉพาะที่ซึง่ ไม่จำเป็นตอ้ งมีการสง่ ผา่ น ผิวหนงั ไปส่กู ระแสเลือด รปู แบบที่ 9 การสง่ ยาผ่านทวารหนกั - ยาเหนบ็ ทวาร ยาเหนบ็ ทวารหนักเป็นอีกรูปแบบหน่ึงทนี่ ่าสนใจ เพราะเป็นอีกวธิ ีหนงึ่ ในการนำส่งยาเหมาะสำหรับผู้ป่วย ท่ีไมร่ ู้ตวั หรอื ว่ากินยาไมไ่ ด้ เช่น ผปู้ ่วยเดก็ ที่ไมย่ อมกลนื ยา ผปู้ ว่ ยมะเรง็ ท่ีไมส่ ามารถกลนื ยาได้ ผู้ป่วยท่กี ลนื แล้ว สำลกั เน่ืองจากบริเวณทวารหนักยาจะสามารถเข้าสู่กระแสเลือด ไดจ้ ากเส้นเลือดบรเิ วณทวารหนกั หลังจากสอด

ยา ตัวยาจะคอ่ ย ๆ ปลดปล่อย โอกาสท่จี ะถกู เปลย่ี นแปลงที่ตับกจ็ ะน้อยลงกวา่ การกนิ การถูกเปลี่ยนแปลงทต่ี บั ก็ จะลดลง โอกาสเมายากจ็ ะลดน้อยลงด้วยเชน่ กนั จึงลดอาการข้างเคยี งจากกัญชาไดเ้ มื่อเทยี บกับการกนิ

ใบความร้สู ำหรบั ครู เรื่อง การพฒั นายา มาตรฐาน และรปู แบบการใช้ยาที่มกี ัญชาและกญั ชง ในการแพทย์แผนปจั จุบนั 1. การพฒั นายาจากกญั ชา ยาจากกญั ชาถือเปน็ ยาประเภทใหม่ เน่อื งด้วยขอ้ กำหนดดา้ นกฎหมายจึงทำให้การศึกษาวิจยั ของยากัญชา ยังมอี ยู่น้อย เนื่องจากกัญชาไมใ่ ช่ยาวิเศษหรอื ยาครอบจักรวาลด่ังความเช่อื ท่รี ่ำลือกนั แพทยจ์ ะไมร่ ักษาดว้ ยยา กัญชาเป็นลำดบั แรก จะเลือกใช้กับผู้ป่วยท่ไี ม่ตอบสนองตอ่ ยาอื่น ๆ หรอื ไดร้ ับผลขา้ งเคียงจากยา ท่ีไมส่ ามารถ ยอมรับได้ ในขณะท่ีมีผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาทางการแพทย์เพียงบางส่วนเท่านน้ั ทีไ่ ดร้ บั การขึ้นทะเบียนยาอยา่ งเปน็ ทางการ และระบุว่าใช้ไดก้ ับเพียงบางโรค อยา่ งไรกด็ ีการพัฒนายาจากกัญชา ยังจำเปน็ ต้องควบคุมคุณภาพ และ สร้างมาตรฐาน เพื่อให้ผ้ปู ว่ ยปลอดภัย และได้รับประสทิ ธิภาพของผลิตภัณฑส์ งู สดุ นอกจากนแี้ ลว้ ข้อมูลทางคลินิก และแนวทางการจ่ายยาก็มีความจำเป็นไมแ่ พ้กนั เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่แพทย์และบคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้อง เพื่อ ลดความเสย่ี งจากผลข้างเคียงรวมถึงการเสพติดยาจากกญั ชาให้นอ้ ยทส่ี ุด 2. มาตรฐานการผลติ ยากญั ชาเพอื่ ใชป้ ระโยชนท์ างการแพทย์ กัญชาถูกนำไปใช้ในการศึกษาทางคลินิกในมนุษย์ และพบว่าค่อนข้างปลอดภัยสำหรับผู้คนสว่ นใหญ่ แต่ ยงั มีพบในบางรายที่บรโิ ภคกัญชากลบั ควบคมุ อาการของโรคได้แย่ลง และเกดิ ผลขา้ งเคยี งใหม่ เชน่ ความอ่อนเพลยี การ ทำงานของตบั ผิดปกติ และเกิดอาการท้องร่วง ไม่มียาชนิดใดที่ปลอดภยั ท่สี ุด ยาทุกประเภทสามารถก่อใหเ้ กิดความ เส่ยี งของอาการข้างเคยี ง และอาการไม่พึงประสงค์ได้ (อาจส่งผลใหเ้ กดิ อันตราย) โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การบรโิ ภค THC และสารแคนนาบนิ อยด์ สังเคราะห์ในปริมาณมาก จะก่อให้เกิดอนั ตรายได้ เชน่ (ความดันโลหิตตำ่ ขณะเปลี่ยน ท่าทางท่ีส่งผลใหล้ ม้ หรืออาการวกิ ลจริตระดบั เบาไปจนถงึ รนุ แรง) การควบคมุ คุณภาพผลิตภณั ฑ์เพื่อใหม้ ีปริมาณ สารสำคญั คงท่ีในทกุ รอบการผลิต ควบคุมปริมาณสารปนเปอื้ น มกี ระบวนการผลติ ท่ีถกู ตอ้ งเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ และวิธปี ฏิบตั ทิ ีด่ ใี นการผลติ ยา (GMP) จึงมีความจำเปน็ อย่างยง่ิ การควบคุมคุณภาพทดี่ ีควรจะเริม่ ตงั้ แต่การ ควบคมุ คุณภาพของวตั ถดุ ิบ โดยควบคุมตัง้ แตก่ ระบวนการเพาะปลูกไปจนถงึ กระบวนการผลิตให้ไดม้ าซงึ่ ผลิตภณั ฑส์ ำเร็จรูป ทกุ ข้นั ตอนของการผลิตยา และกระบวนการทดสอบจะต้องมีการบนั ทึกข้อมูลอย่างชดั เจน บคุ ลากร สถานที่ และวตั ถดุ ิบตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานกระบวนการเหลา่ นจี้ ะชว่ ยให้ผู้ปว่ ย และผู้สั่งจา่ ยยาได้รับ ผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีคุณภาพและปลอดภัย

วตั ถุดิบกญั ชาช้ินแหง้ สารสกัดกัญชา และผลติ ภณั ฑ์สำเรจ็ รปู ตอ้ งผา่ นการตรวจคณุ ภาพโดยควบคุม มาตรฐานตาม American Herbal Pharmacopeia และ Thai Herbal Pharmacopeia (THP) มีการตรวจสอบเอกลกั ษณ์ของกญั ชาการตรวจสอบพืชวัตถุดิบเพ่อื ยนื ยนั วา่ เปน็ กัญชาจริงไมใ่ ช่พืชทม่ี สี าร ปลอมปนหรอื พืชทดแทน การตรวจสอบเอกลักษณ์และปริมาณของสารออกฤทธิ์ THC และ CBD ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ี กำหนด การตรวจสอบปริมาณเชอื้ จลุ ินทรยี ก์ ่อโรคไม่ใหเ้ กินท่มี าตรฐานกำหนด การตรวจสอบยาฆา่ แมลง และ โลหะหนักได้แก่ สารหนู สารปรอท สารตะกวั่ แคดเมยี ม ซ่ึงอาจจะเหลือตกค้างมาได้ในระหว่างการเพาะปลูก ต้อง ไม่เกินที่มาตรฐานกำหนดเพ่อื ความปลอดภยั ของผ้ปู ว่ ย

3. รปู แบบยาเตรียมและการใหย้ า กญั ชาทางการแพทยก์ ็เหมือนกับยาชนิดอน่ื ๆ ที่มรี ูปแบบยาเตรียมทห่ี ลากหลายประเภท (เช่น การสูดไอ ระเหย การใหย้ าทางปาก การสง่ ยาผา่ นผิวหนงั ) เพอ่ื สนองความต้องการของผ้ปู ่วยที่แตกต่างกนั ไป วธิ กี ารบริหาร ยาจะข้นึ อยู่กับรปู แบบยา รูปแบบยาเตรียมมีความสำคญั อยา่ งมาก เพราะจะสง่ ผลตอ่ พฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้ปว่ ย ได้แก่ ขอ้ 1 ผู้ป่วยรบั ยาเขา้ ไปตามปริมาณที่กำหนดในแตล่ ะวันหรือไม่ ขอ้ 2 พวกเขารับยาเม่อื ไร (ช่วงเวลาของวนั ) ข้อ 3 พวกเขารับยาบ่อยเพยี งใด (ความถ่ีในการใช)้ ข้อ 4 พวกเขาต้องได้รบั ยาปริมาณเทา่ ไร (ปรมิ าณการรับยารวมในแต่ละวัน) ข้อ 5 อาการข้างเคียงทีเ่ กิดข้ึน และจะทนอาการข้างเคียงเหล่านน้ั อย่างไร รปู แบบยาท่มี ีกญั ชาและกัญชงท่ีใชใ้ นการแพทย์แผนปจั จุบันมี 9 รูปแบบดงั น้ี รปู แบบที่ 1 การสูดไอระเหย – ดว้ ยปอด การใช้เครื่องพน่ ไอระเหย หรือเคร่ืองมือสดู ไอระเหยทางการแพทย์ ผ้ปู ว่ ยจะสูดดมสารแคนนาบินอยด์ (จากช่อดอกกญั ชาแห้ง) ในรูปแบบไอระเหยซ่ึงจะดดู ซมึ เข้าไปในกระแสเลือดผา่ นทางปอด การสูดไอระเหยเปน็ วิธีการทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพปอด จะสามารถดูดซมึ ไอระเหยท่ีสูดดมเข้าไปได้อยา่ งรวดเรว็ ยาออกฤทธ์ิได้ทันที ไอระเหย จะมสี ารแคนนาบนิ อยด์ และเทอรป์ นี ในปรมิ าณทีส่ ม่ำเสมอ และวดั ค่าไดร้ วดเร็ว ทำให้การปรับขนาดยางา่ ยข้นึ หรอื การรบั ยาในปริมาณที่เหมาะสมโดยไม่เกิดอาการข้างเคียง และยังบรรเทาอาการได้อยา่ งรวดเรว็ โดยจะเห็นผล

ภายในไม่ก่ีนาที แม้วา่ การสูดไอระเหยจะทำใหร้ ะดับสารแคนนาบินอยดใ์ นเลือดสูง แตผ่ ลที่ไดเ้ ม่ือเทยี บกับการ บรหิ ารยาทางปากแลว้ จะมรี ะยะเวลาการออกฤทธ์ิทสี่ ้ัน ปริมาณแคนนาบินอยด์ทถี่ ูกนำส่งจะขน้ึ อยกู่ ับความลกึ ของ การสูดลมหายใจปรมิ าณในการสบู และระยะเวลาการกลน้ั หายใจ รูปแบบที่ 2 เคร่ืองพ่นไอระเหยทางการแพทย์ เครื่องท่ีใชก้ ับช่อดอกกญั ชาแหง้ แตไ่ อระเหยจะไม่มีสว่ นประกอบของนโิ คติน กลเี ซอรีนหรอื โพรพิลีนไกล คอล และกลิน่ รสสงั เคราะห์ รวมถงึ ไมม่ ไี อระเหย และควันขนาดใหญ่ทเี่ ปน็ พษิ และรบกวนผอู้ ื่น ถอื เปน็ เครื่องมือท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ ปลอดภยั และผ้ปู ่วยใช้งานงา่ ย รูปแบบท่ี 3 การสูบ การสูบจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ป่วยจึงไม่แนะนำให้ใช้วิธีการน้ี สารประกอบไพโรไลซิส ท่ี เป็นพิษจะถูกสร้างข้ึนเมื่อมีการสูบ (หรือการเผาไหม้) โดยท่ัวไปจะมีการม้วนช่อดอกกญั ชาทำเปน็ (บุหรีส่ อดไส้ กญั ชา) และสดู สารแคนนาบินอยด์ ในรปู แบบควนั เขา้ ไปยังปอด ยาจะดดู ซมึ เขา้ ไปในกระแสเลอื ดผ่านทางปอด รปู แบบที่ 4 ทางปาก – ผ่านทางปาก และการหยดใต้ล้นิ สารแคนนาบนิ อยด์ (สารสกัดจากพืชท้งั ต้น หรือสารแคนนาบนิ อยดส์ กดั แยก) ท่ีใหท้ างปากโดยการกลืน (ทางปาก) เม่ือกลืนยาเข้าไป ยาจะเข้าสู่กระแสเลือดผ่านทางกระเพาะอาหาร ลำไส้และตบั เมื่อใหย้ าดูดซึมทางใต้ลน้ิ ยาจะไม่ผา่ นตบั และเข้าสูก่ ระแสเลือดโดยตรงยาเตรยี มสำหรบั การใหท้ างปากเปน็ รูปแบบยาทคี่ ้นุ เคยทำให้ชว่ ยให้ การบรหิ ารยางา่ ยขน้ึ การใช้ยาในแตล่ ะครง้ั สามารถทำโดยหยดยาไว้ใต้ลน้ิ ยาจะถูกดดู ซึม ผ่าน ชั้นเย่อื เมือกบผุ วิ ในปาก (เรยี กวา่ การดูดซึมใต้ลน้ิ ) และจะเข้าไปสู่กระแสเลือด การนำสง่ ยาใตล้ ้นิ เปน็ การบรหิ ารยาทส่ี ามารถเพิม่ ปริมาณยารวมท่ีร่างกายรับได้ หมายความวา่ ผู้ปว่ ยรบั ยาปริมาณเพียงเลก็ น้อย แตย่ ังคงใหไ้ ดผ้ ลการรักษา เหมือนเดมิ เมอื่ เทยี บกับการกลนื แคปซูล หรอื การดื่มชา นำ้ มนั หยดใตล้ น้ิ จงึ เปน็ รปู แบบยาทีด่ ีมีประสทิ ธิภาพ รปู แบบที่ 5 สเปรย์ สเปรยก์ ็เปน็ การบริหารยาใตล้ น้ิ เช่นเดียวกับการใช้นำ้ มัน ตัวอย่างเช่น ซาติเวกซ์ (Sativex™) ซ่งึ เป็นรูปแบบ ยาเตรียม (ฉดี พน่ ในชอ่ งปาก) ท่ีได้มาตรฐานทางเภสัชกรรม ผลติ มาจากกญั ชาสองสายพันธุ์ โดยสายพนั ธห์ุ นึ่งผลิต THC เป็นหลกั และอีกสายพันธ์หุ นึง่ ผลติ CBD เปน็ หลกั สารประกอบออกฤทธิ์ THC และ CBD ในสดั สว่ นท่ี แน่นอนจะถูกนำไปละลายในสารละลายแอลกอฮอล์ ก่อนจะนำไปบรรจุในขวดยาพน่ แบบกำหนดขนาด ซ่ึงใช้พ่น ใต้ล้ิน รูปแบบท่ี 6 แคปซูล โดยทั่วไปแคปซูลจะประกอบดว้ ยสารแคนนาบินอยด์เด่ียว (คือ THC และ CBD) ในปริมาณความเข้มขน้ ที่ แน่นอนละลายอยู่ ในน้ำมันตัวพาแคปซลู เมื่อถูกกลนื แลว้ จะแตกตวั ออก ยาจะถกู ปล่อยออกมาก่อนทีจ่ ะถกู ดูดซึม ในกระเพาะอาหาร และลำไส้ อตั รา (เวลา) ในการดูดซึมอาจไมส่ ามารถคาดการณ์ได้ และอาจแตกต่างกันไปตาม

ปจั จยั อ่ืน ๆ เช่น มีอาหารอย่ใู นระบบทางเดินอาหาร หรือผู้ป่วยมกี ารเคลอ่ื นไหว (ออกกำลังกาย เดิน) ประเด็นท่ี นา่ สนใจคอื THC มีผลให้อตั ราความเร็วของการส่งอาหารออกจากกระเพาะชา้ ลง (จากกระเพาะไปสู่ลำไส้) การบริหาร ยาทางปาก (โดยการกลนื ) ส่งผลใหเ้ วลาการออกฤทธ์ขิ องยาชา้ ลง ความเขม้ ข้นของระดับยาในเลือดลดลง และ ระยะเวลาทยี่ าออกฤทธิ์นานขึ้นเมอ่ื เทยี บกบั การสดู ไอระเหย ปริมาณสารแคนนาบินอยด์รวมจะขึน้ กับกระบวนการ เมแทบอลซิ ึมในตับ และปริมาณอาหารในกระเพาะอาหาร ซ่ึงเทา่ กบั ว่าปริมาณการรับยาทางปากอาจไม่มีความ แนน่ อน และไมส่ ามารถคาดการณไ์ ด้ รปู แบบท่ี 7 ชาหรือสารละลาย ผปู้ ว่ ยบางรายบริโภคกญั ชาทางการแพทย์ ในรูปแบบชา โดยใชช้ ่อดอกชงในน้ำร้อนเมอ่ื ด่ืมชาสารแคนนา บินอยด์ จะถกู ดดู ซมึ ในกระเพาะและลำไสเ้ ล็ก เชน่ เดยี วกบั การให้ยาทางปาก ปรมิ าณสารแคนนาบนิ อยดร์ วม จะ ขึ้นกับกระบวนการเมตาบอลซิ มึ ในตับและปริมาณอาหารในกระเพาะอาหาร ซ่งึ เท่ากับว่าปริมาณการรบั ยาทาง ปากอาจไม่มีความแนน่ อน และไมส่ ามารถคาดการณ์ได้ยิ่งไปกว่านน้ั ชาสว่ นใหญม่ กั มคี วามเขม้ ข้นของสารแคนนา บินอยดต์ ำ่ สารประกอบในชาจะเปลี่ยนแปลงตามเวลาในการตม้ ปริมาณของชาทีใ่ ชแ้ ละระยะเวลาในการเก็บซ่ึง หมายความวา่ การบริหารยาดว้ ยชาอาจทำให้ผลการรักษาโรคไมแ่ นน่ อน แต่ในผูป้ ่วยบางรายกลับพบว่าการใช้ชา กญั ชาด่มื ได้ผลดี เพียงแต่การกำหนดปรมิ าณยาอาจจะทำได้อยากอาหารรปู แบบยาเตรยี มจากพืชทั้งตน้ อีก ประเภทหน่ึง คือ อาหาร เช่น คกุ กี้ บราวน่ี การรับประทานอาหารเหล่านย้ี ากต่อการควบคมุ ปรมิ าณองค์ประกอบสาร แคนนาบินอยด์ ทไ่ี ด้รับให้คงที่ ผ้ปู ว่ ยอาจรบั ยาเกินขนาดได้งา่ ย เนอื่ งจากยาอาจออกฤทธิ์หลงั ผา่ นไปราว 2-3 ชั่วโมง และผปู้ ่วยอาจรับประทานยาครง้ั ทส่ี องหากพวกเขาตอ้ งรอยาออกฤทธผิ์ ลการรักษาโรคอาจไม่แน่นอนนัก เมอ่ื เทยี บกบั ผลติ ภัณฑย์ าให้ทางปากท่ีได้มาตรฐาน และสว่ นใหญต่ ้องใชเ้ วลานานกวา่ ยาจะออกฤทธ์จิ งึ ทำให้ อาหารไม่ถือเป็นผลติ ภณั ฑส์ ำหรับการบำบดั รักษาโรค รูปแบบที่ 8 การส่งยาผ่านผวิ หนัง การบริหารยาผา่ นทางผิวหนงั เป็นการส่งยาผ่านผิวหนัง รูปแบบยาเตรียมโดยทั่วไป ได้แก่ ครีมทาบน ผิวหนงั หรือเย่ือเมือกบุผวิ และแผน่ แปะผิวหนงั ซึง่ เป็นการแปะแผน่ ติดที่มียาอยู่ ลงบน ผวิ หนงั โดยตรงผู้ป่วยจะ คอ่ ย ๆ ได้รับยาในปริมาณทเ่ี ฉพาะเจาะจงในเวลาท่ีกำหนด ปจั จบุ ันมีการใช้รปู แบบยาน้เี พ่อื รักษาอาการทาง ผวิ หนังบางประเภท และอาการปวดกลา้ มเนอ้ื เฉพาะท่ี หรือปวดข้อ สารแคนนาบินอยด์สว่ นใหญไ่ ม่ชอบนำ้ จงึ ทำ ให้ยาซมึ ผ่านไปสู่กระแสเลอื ดนอ้ ยทำให้ระดับความเข้มขน้ ยาในเลือดอยู่ในระดบั ทเ่ี หมาะสมได้ยากอาจจะต้อง ประยุกตใ์ ช้กับเทคโนโลยสี มัยใหม่ เชน่ การนำสง่ สารดว้ ยนาโนเทคโนโลยี อาจจะช่วยใหย้ าเข้าส่กู ระแสเลอื ดได้ดี ขนึ้ สว่ นยาในรปู แบบครมี สว่ นใหญ่มีวัตถุประสงค์เพอ่ื ใช้ทา และออกฤทธ์ิเฉพาะทซ่ี ึ่งไม่จำเปน็ ต้องมีการส่งผา่ น ผิวหนังไปสกู่ ระแสเลือด รปู แบบที่ 9 การสง่ ยาผา่ นทวารหนกั - ยาเหน็บทวาร ยาเหนบ็ ทวารหนักเปน็ อีกรูปแบบหนงึ่ ท่นี ่าสนใจ เพราะเป็นอกี วิธีหนึ่งในการนำส่งยาเหมาะสำหรบั ผปู้ ว่ ย ทีไ่ มร่ ตู้ ัวหรือว่ากนิ ยาไม่ได้ เช่น ผูป้ ว่ ยเด็กทีไ่ มย่ อมกลนื ยา ผู้ป่วยมะเร็งท่ีไมส่ ามารถกลืนยาได้ ผู้ป่วยทกี่ ลืนแล้ว

สำลัก เน่อื งจากบริเวณทวารหนกั ยาจะสามารถเข้าสู่กระแสเลอื ด ได้จากเสน้ เลือดบริเวณทวารหนกั หลังจากสอด ยา ตัวยาจะคอ่ ย ๆ ปลดปล่อย โอกาสท่จี ะถกู เปลย่ี นแปลงที่ตบั กจ็ ะน้อยลงกว่าการกนิ การถกู เปลยี่ นแปลงท่ีตับก็ จะลดลง โอกาสเมายาก็จะลดนอ้ ยลงดว้ ยเช่นกนั จงึ ลดอาการข้างเคียงจากกัญชาไดเ้ ม่ือเทยี บกับการกนิ สรปุ 1. การพัฒนายาจากกัญชา เนื่องจากโรคบางโรคผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาอ่ืน ๆ ในการรักษาโรคทางการ แพทย์จึงได้พฒั นายาจากกัญชาและกญั ชง เพื่อควบคมุ คุณภาพสร้างมาตรฐานเพอ่ื ใหผ้ ู้ป่วยปลอดภัยและได้รบั ประสทิ ธภิ าพของผลิตภณั ฑ์สูงสุด 2. มาตรฐานการผลิตยากญั ชา เพอ่ื ใช้ประโยชน์ทางการแพทยใ์ นการผลติ ยา จงึ มีความจำเปน็ อย่างยงิ่ ใน การควบคมุ คุณภาพทดี่ ีควรจะเรม่ิ ต้งั แต่การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบ โดยควบคุมคุณภาพตั้งแต่กระบวนการ เพาะปลูกไปจนถึงกระบวนการผลติ ให้ไดม้ าซ่งึ ผลติ ภัณฑ์สำเรจ็ รูป ทุกข้นั ตอนของการผลิตยา และกระบวนการ ทดสอบจะต้องมกี ารบนั ทึกข้อมลู อย่างชัดเจน วตั ถุดบิ ต้องเปน็ ไปตามมาตรฐาน กระบวนการเหล่าน้ีจะช่วยให้ ผปู้ ว่ ย และผสู้ ่ังจ่ายยาไดร้ ับผลติ ภณั ฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภยั 3. รปู แบบยาที่มีกัญชาและกัญชงทีใ่ ชใ้ นการแพทย์แผนปัจจุบนั มี 9 รูปแบบ ไดแ้ ก่ (1) การสดู ไอระเหย - ดว้ ยปอด (2) เครื่องพ่นไอระเหยทางการแพทย์ (3) การสบู (4) ทางปาก - ผ่านทางปากและการหยดใต้ลิ้น (5) สเปรย์ (6) แคปซลู (7) ชาหรือสารละลาย (8) การสง่ ยาผา่ นผิวหนัง (9) การส่งยาผา่ นทวารหนกั ยาเหน็บทวาร

ใบกิจกรรมสำหรับผู้เรยี น เรอื่ ง กญั ชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนปจั จุบนั คำชีแ้ จง ใหผ้ เู้ รียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ประวตั ิการใชก้ ัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบนั ในประเทศ ตอบ ............................................................................................................................. .................... ............................................................................................................... ........................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ .............. ............................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. ............................. .......................................................................................................................................................... 2. การใชก้ ัญชาและกัญชง ช่วยบรรเทาโรคพาร์กนิ สัน มะเร็ง ลดอาการปวด ลมชกั ผิวหนงั และต้อหนิ ได้อย่างไร ตอบ ................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. .............................

แบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง กัญชงกญั ชากบั การแพทยแ์ ผนปจั จุบัน คำช้ีแจง แบบทดสอบก่อนเรียน มีจำนวนทั้งหมด 10 ข้อ คำสั่ง จงทำเครอื่ งหมายกากบาท (X) หนา้ ข้อที่ถูกต้องทีส่ ุด เพยี งข้อเดียว 1. ผ้ปู ่วยท่ีเป็นโรคมะเร็งทม่ี ีความตอ้ งการจะเข้ารบั การรักษา ด้วยผลิตภณั ฑน์ ้ำมันกัญชาควรได้รับ การอนุญาตจากใคร เพราะเหตใุ ด ก. ไดร้ บั อนญุ าตจากแพทย์ และพยาบาล เพราะเป็นผรู้ ักษาโดยตรง ข. ไดร้ บั อนุญาตจากแพทย์ และเภสชั กร เพราะเปน็ ผูว้ ินิจฉัยโรคโดยตรง ค. ไดร้ ับอนุญาตจากแพทย์ และพยาบาล เพราะเป็นผู้ควบคมุ การใช้ยารกั ษาโรคมะเร็ง ง. ได้รบั อนญุ าตจากแพทย์ และเภสัชกร เพราะเป็นผ้ใู ช้ยาแผนปัจจบุ ันควบค่กู ับน้ำมันกัญชา 2. ผปู้ ว่ ยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกควรใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาและกญั ชง รักษาโรคในรปู แบบใดจงึ จะเกดิ ประสทิ ธิภาพมากทีส่ ดุ ก. การเหน็บผลติ ภณั ฑ์ ข. การใช้ผลติ ภัณฑส์ วนทวาร ค. การรับประทานผลิตภัณฑ์ ง. การใช้ผลิตภัณฑฉ์ ดี พน่ สเปรย์ 3. ผู้ป่วยโรคใดท่ีตอ้ งใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาและกญั ชงเป็นยารักษาเสรมิ กับการรักษามาตรฐานเพือ่ การควบคุมอาการปว่ ย ก. โรคความดนั โลหิตสงู ข. โรคหลอดเลือดสมอง ค. โรคปลอกประสาทอักเสบ ง. โรคหวั ใจ และหลอดเลือด 4. ขอ้ ปฏิบัตปิ ระการสำคัญท่ีสุดในการใชน้ ำ้ มนั กัญชาเพื่อรักษาโรคคือข้อใด ก. ใช้นำ้ มนั กัญชาในปรมิ าณน้อยท่ีสดุ ข. ใช้น้ำมันกญั ชาตามทแ่ี พทยส์ งั่ เทา่ นัน้ ค. ใชน้ ้ำมนั กัญชาให้ตรงกับชนิดของโรค ง. ใชน้ ้ำมนั กัญชาจากแหลง่ ที่เชอื่ ถอื ไดเ้ ท่าน้ัน

5. พิษของกัญชา มีผลกระทบต่อระบบรา่ งกายส่วนใดมาก ก. ปอด ข. ผวิ หนัง ค. สมองและประสาท ง. หวั ใจและหลอดเลอื ด 6. บคุ คลในข้อใดควรไดร้ บั น้ำมนั กญั ชาจากแพทย์ ก. นติ ยาแพ้ท้องอย่างหนักในขณะตั้งครรภ์ ข. องิ อรมีอาการเวยี นศรี ษะเพราะความดนั โลหิตสงู ค. เสรีมอี าการคลื่นไสอ้ าเจยี นหลงั จากไดร้ บั เคมีบำบัด ง. กลั ยามอี าการจุกเสียดหายใจไม่ออกจากโรคหัวใจกำเรบิ 7. พชื กญั ชาและกัญชงมตี น้ กำเนิดมาจากพืชเดมิ ชนดิ เดียวกนั แตน่ กั พฤกษศาสตรไ์ ด้จำแนกสปชี สี ์ยอ่ ย เป็น 2 สายพันธุ์ คือ Cannabis sativa L. subsp. sativa (กัญชง, Hemp) และ Cannabis sativa L.subsp. indica (กัญชา, Cannabis) จากข้อความข้างต้น กัญชาและกญั ชงเป็นพชื ชนิดเดียวกนั ใชห่ รือไม่เพราะเหตุใด ก. ใช่ เพราะพืชกัญชากับกัญชงข้นึ อยใู่ นแหลง่ เดียวกนั ข. ไม่ใช่ เพราะพชื กัญชาและกญั ชงเปน็ พืชท่ีมสี ปีชสี แ์ ตกต่างกนั ค. ใช่ เพราะพืชกญั ชาและกัญชงมสี ายพนั ธเุ์ ดียวกนั ตา่ งกันเพยี งสายพันธ์ยุ ่อยเทา่ น้ัน ง. ไมใ่ ช่ เพราะพืชกัญชาเปน็ พืชสายพนั ธุ์ย่อย sativa สว่ นกญั ชงเป็นพชื สายพันธ์ยุ ่อย indica 8. พชื กญั ชาและกัญชง ทป่ี ลูกในประเทศไทยมปี ริมาณสารสำคญั แตกต่างกนั อย่างไร ก. สาร THC ในใบและชอ่ ดอกแหง้ ของพืชกัญชา มมี ากกว่าพืชกัญชง ข. สาร THC ในใบและชอ่ ดอกแหง้ ของพชื กัญชง มีมากกว่าพชื กัญชา ค. สาร THC ในใบและช่อดอกแหง้ ของพชื กัญชาและพชื กัญชงมีปรมิ าณเทา่ ๆ กนั ง. สาร THC ในใบและชอ่ ดอกแหง้ ของพืชกัญชงและพชื กัญชาแตกต่างกนั เลก็ น้อย 9. อาการในขอ้ ใดจดั เปน็ พิษภัยสำคัญท่ีสดุ เม่ือร่างกายได้รบั สารออกฤทธิ์จากพืชกัญชา ก. ทำใหเ้ กิดอาการวงิ เวยี นศีรษะ ข. ทำให้เกิดการมนึ เมาและประสาทหลอน ค. ทำให้เกดิ ความเพลิดเพลนิ สนุกสนานเกินขอบเขต ง. ทำใหเ้ กิดอาการอยากรบั ประทานอาหารมากยิ่งขึน้

10. สารออกฤทธ์ิในพืชกญั ชาและกัญชงในขอ้ ใดเกี่ยวขอ้ งกันมากทส่ี ุด ก. CDB กับ TDB ข. CBD กบั THC ค. CDB กับ TCB ง. CBBกบั THC เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. ง 2. ก 3. ค 4. ข 5. ค 6. ค 7. ค 8. ก 9. ข 10. ข

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 15 เรือ่ ง อาณาจกั รสิง่ มชี วี ิต - อาณาจักรไวราและไลเคน เวลาเรียน 6 ชวั่ โมง แนวคิด ส่ิงมชี ีวติ ในโลกนม้ี ีมากมายหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนดิ จะมคี วามแตกต่างกนั จึงจำเปน็ ท่ีจะต้องมีการจัดแบ่ง หมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการศึกษา และการนำมาใชป้ ระโยชน์ วชิ าทวี่ ่าด้วยการจดั แบ่งหมวดหม่ขู องสงิ่ มชี ีวติ เรียกว่า อนกุ รมวธิ าน (Taxonomy) นักวิทยาศาสตร์ท่ไี ดร้ ับการยกย่องใหเ้ ปน็ บิดาแห่งวิชาอนุกรมวธิ าน คอื คา โรลัส ลนิ เนียส (Carolus Linnaeus) ชาวสวีเดน ช่อื ของสง่ิ มชี ีวติ มี 2 ชนิด คือ 1) ชื่อสามัญ (common name) คือ ช่ือท่เี รียกกันทั่ว ๆ ไป อาจเรียกตามลักษณะทางกาย ถิ่นกำเนิดหรือสถานท่ีอยู่ก็ได้ เชน่ ปากกาทะเล หอยมุก เป็น ตน้ ซึ่งชื่อดงั กล่าวอาจเรียกต่างกนั ในแต่ละที่ทำให้เกิดความเข้าใจผดิ ได้ 2) ชื่อวทิ ยาศาสตร์ (scientific name) ลิน เนยี สเปน็ ผเู้ รม่ิ ใช้เปน็ คนแรก โดยส่งิ มีชีวิตประกอบด้วยชอ่ื 2 ชอื่ ชอ่ื แรกเป็นช่ือ จนี ัส ชอื่ ท่ี 2 เปน็ ชอ่ื สปชี ีส์เขียน ดว้ ยภาษาลาติน ช่อื จนี ัสตวั แรกเขียนดว้ ยอักษรตัวใหญ่เสมอ ตวั แรกของสปชี ีส์เปน็ ชอ่ื ตวั เลก็ ธรรมดา ต้องเขยี นให้ ตา่ งจากอักษรอ่ืนเชน่ ตวั เอน ตวั หนา หรือขีดเส้น ทั้ง 2 ชื่อไม่ติดกันเรียกระบบนีว้ า่ การต้ังช่อื แบบบทวนิ าม (binomial nomenclature) ลักษณะท่ีใช้ในการจำแนกสิ่งมีชีวิต ได้แก่ 1. ลักษณะภายนอกและโครงสร้างภายใน 2. แบบแผนการ เจริญเติบโตและโครงสร้างระยะตัวอ่อน 3. ซากดึกดำบรรพ์ของส่ิงมีชีวิตท่ีค้นพบ 4. โครงสร้างของเซลล์และออร์ แกเนล 5. สรีระวทิ ยาและการสงั เคราะห์สารเคมี 6. ลักษณะทางพันธกุ รรมของสงิ่ มีชวี ิต ดงั น้นั กิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่อง อาณาจักรส่งิ มีชวี ติ - อาณาจกั รไวราและ ไลเคน ผู้เรยี นสามารถมีรเู้ กี่ยวกับกาการจำแนกสง่ิ มีชีวติ ในชมุ ชน และเกดิ การตระหนกั และหวงแหนทรัพยากรในทอ้ งถิน่ ตวั ชวี้ ัด (1) วิเคราะหแ์ ละจำแนกสง่ิ มีชีวิตได้ถูกต้อง (2) วิเคราะหแ์ ละจำแนกสง่ิ มีชีวิตในชุมชนได้ เนื้อหา 1. อาณาจักรสงิ่ มชี ีวิต - ลักษณะสำคัญของส่ิงมีชวี ิตในอาณาจักรโปรติสตา - อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) - อาณาจกั รพืช (Kingdom Plantae) - อาณาจกั รสัตว์ (Kingdom Animalia)

2. ไวรัสและไวรอยด์ - คณุ สมบัตทิ ีส่ ำคัญของไวรัส - ไลเคนแบ่งเปน็ 3 ชนดิ - คุณสมบัติทางชีววิทยา - การเพม่ิ จำนวนของไวรัส - ขั้นตอนการเพ่ิมจำนวนไวรัส - รูปร่างของไวรสั ท่ีเป็นสาเหตขุ องโรคพชื 3. ไลเคน คืออะไร - การจดั จำแนกแบ่งตามไฟลมั ขน้ั ตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ข้นั ตอนท่ี 1 การสรา้ งแรงบันดาลใจ (Passion : P) 1. ครทู ักทายผเู้ รยี น พร้อมท้ังแนะนำตนเอง และแผนการจดั การเรียนรู้ ซ่ึงการจัดการเรยี นรทู้ ่ีผู้เรยี นจะต้อง เรียนรู้ร่วมกันในครั้งน้ี คือ เร่ือง “อาณาจักรสิ่งมีชีวิต - อาณาจักรไวราและไลเคน” และชวนคิดชวนคุยเก่ียวกับ เรื่องที่จะเรียนรู้เพื่อกระต้นุ ใหผ้ เู้ รียนเกิดความสนใจและมคี วามกระตือรือรน้ ในการเช่อื มโยงและสร้างความพร้อมท่ี จะเรยี นร้หู รอื ทำกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ครง้ั นี้ 2. ครูช้ีแจงวัตถุประสงค์ เน้ือหา กิจกรรม การวัดและประเมินผลของการเรียนรู้ในครั้งนี้ ที่สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดตามแผนการจัดการเรียนรู้คร้ังนี้ เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจอย่างชัดเจนว่า ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ให้บรรลุตัวช้ีวัด ที่ กำหนดตามแผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2 เร่อื ง “อาณาจกั รส่ิงมีชีวิต - อาณาจักรไวราและไลเคน” ในครง้ั นี้ ซึ่งมจี ำนวน 2 ขอ้ ดงั น้ี (1) วเิ คราะหแ์ ละจำแนกสงิ่ มชี วี ติ ได้ถูกต้อง (2) วเิ คราะหแ์ ละจำแนกส่ิงมีชีวติ ในชมุ ชนได้ 3. ใหผ้ เู้ รียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง “อาณาจักรสิ่งมชี วี ติ - อาณาจกั รไวราและไลเคน” จำนวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 10 นาที 4. ครูให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน วิชาความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต พว32017 ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เรอ่ื ง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต หน้า 40-48 เร่ือง ไวรัสและไวรอยด์ หนา้ 50-55 และ เรื่อง ไลเคน หน้า 55-57 พรอ้ มท้ังแนะนำแหล่งศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเติมจากอนิ เทอร์เน็ต ซึ่งผ้เู รยี นสามารถไปเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง และทำกิจกรรมตามท่ีได้รับมอบหมายด้วย ท้ังน้ี ครูควรจะช้ีแจงให้ผู้เรียนทราบว่าในการพบกลุ่มตามแผนการ จัดการเรียนรู้ครั้งนี้ ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้และทำกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับเนื้อหาท่ีเรียน โดยปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การศึกษาคลิปวิดีโอ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการอภิปรายร่วมกับเพ่ือนในกลุ่ม รวมท้ังมีการทดสอบ หลังเรียนดว้ ย

นอกจากนี้ ในการพบกลุ่มแต่ละคร้ังน้ัน ครจู ะมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปเรยี นรู้ด้วยวิธีการเรียนรูด้ ้วยตนเอง ซ่งึ วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองจะต้องเกิดขึ้นในทุก ๆ ตัวชี้วัดและเน้ือหาที่กำหนด โดยผู้เรียนจะต้องปฏิบัติกิจกรรมท่ี กำหนดให้ด้วยวิธีเรียนรู้ออนไลน์ และศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียน ดังนั้น ครูจะต้องเชื่อมโยงรายละเอียด ดังกล่าวข้างต้นให้ผู้เรียนได้เกิดความเข้าใจและเกิดแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้น เพราะ การมอบหมาย งานให้ผู้เรียนไปเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนรู้ด้วยตนเองนั้น ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต และศึกษา เอกสารประกอบการเรียน 5. ครชู วนคดิ ชวนคุยเกี่ยวกับประสบการณ์เดมิ ของครใู นเรือ่ งทจี่ ะเรยี นรู้ตามแผนการจัดการเรียนรูน้ ้ี โดยครู สุม่ ผู้เรียนตามความสมคั รใจ จำนวน 4-5 คน ใหต้ อบคำถาม จำนวน 4 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ 1 “ท่านทราบหรือไม่ว่า อาณาจักรส่ิงมีชีวิต แบ่ง ออกเป็นกีอ่ าณาจกั ร อะไรบ้าง” แนวคำตอบ อาณาจักรส่ิงมีชีวิต แบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร ได้แก่ อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) อาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) อาณาจกั รพชื (Plant Kingdom) และอาณาจักรสตั ว์ (Kingdom Animalia) ประเด็นที่ 2 “ทา่ นทราบหรอื ไม่ว่า ไวรัส คืออะไร” แนวคำตอบ ไวรัส คือ อนุภาคขนาดเล็กมาก (20-300 นาโน เมตร) จนสามารถหลุดรอดผ่านเครื่องกรองที่ใช้กรองแบคทีเรียได้ เราสามารถมองเห็นไวรัส โดยผ่านทางกล้อง จลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนเท่านน้ั ไม่สามารถมองดว้ ยตาเปลา่ หรือกลอ้ งจุลทรรศน์ธรรมดาได้ ประเดน็ ท่ี 3 “ท่านทราบหรือไมว่ ่า ไวรอยด์ คอื อะไร” แนวคำตอบ ไวรอยด์ คือ ไวรอยด์ (Viroid) เป็นเชื้อสาเหตุโรคพืช (plant pathogen) ทีม่ ีขนาดเลก็ ท่ีสุด เท่าท่ีมีรายงาน สมัยก่อนถูกจัดจำแนกไว้รวมกับไวรัส (virus) แต่ปัจจุบันถูกจัดจำแนกมาเป็นกลุ่มของตัวเอง เนอื่ งจากความแตกตา่ งทางโครงสร้างและระดบั อาร์เอน็ เอ ประเดน็ ท่ี 4 “ท่านทราบหรือไม่ว่า ไลเคน ทีข่ ้นึ ตามธรรมชาติ มีกรี่ ูปแบบอะไรบ้าง” แนวคำตอบ ไลเคนเป็นส่ิงมีชีวิตท่ีเกิดจากการอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกันของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด คือ เห็ดราและสาหร่าย โดยเห็ดราจะใช้ความช้ืนและก๊าซออกซิเจนจากสาหร่ายในการดำรงชีวิต ส่วนของสาหร่ายจะ ใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีผลิตจากเห็ดราในการสังเคราะห์แสง โดยทั่วไปไลเคนที่ขึ้นตามธรรมชาติมี 4 รปู แบบ ด้วยกัน ดังน้ี 1. ครสั โตส (crustose) ลกั ษณะเปน็ แผ่นแข็งตดิ อย่บู นต้นไม้ 2. สแควมโู ลส (squamulose) ลักษณะเป็นเม็ดคล้ายลูกหิน ติดแนน่ อยู่กบั ต้นไม้

3. โฟลิโอส (foliose) ลักษณะคล้ายใบไม้ ไม่ตดิ แน่น 4. ฟรูทิโคส (fruticose) ลักษณะเปน็ เสน้ หรือแตกกิง่ ก้านคล้ายตน้ ไม้ หลงั จากน้ัน ครเู ปิดคลปิ วิดโี อให้ผู้เรยี นชม จำนวน 2 เรอ่ื ง ดังนี้ เร่อื งที่ 1 “อาณาจกั รส่ิงมีชวี ติ ” จาก https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w ช่วงเวลา 25.43 นาที เรือ่ งที่ 2 “ไลเคน” จาก https://www.youtube.com/watch?v=hk64e7G-pCA ชว่ งเวลา 3.39 นาที โดยครสู ุ่มผู้เรยี นตามความสมคั รใจ จำนวน 4-5 คน ใหต้ อบคำถาม จำนวน 2 ประเดน็ ดังนี้ ประเดน็ ท่ี 1 “ทา่ นได้เรียนรอู้ ะไรบ้าง จากคลปิ วิดโี อ เรื่องที่ 1 นี้” แนวคำตอบ ไดเ้ รยี นร้อู าณาจักรสิ่งมชี ีวิต การจำแนกอาณาจกั รสิง่ มชี วี ิต ออกเป็น 5 อาณาจักร ดงั นี้ 1. อาณาจกั รมอเนอรา (Kingdom Monera) 2. อาณาจักรเห็ดรา (Kingdom Fungi) 3. อาณาจกั รโพรทิสตา (Kingdom Protista) 4. อาณาจักรพชื (Kingdom Plantae) 5. อาณาจักรสตั ว์ (Kingdom Animalia) 1. อาณาจกั รมอเนอรา (Kingdom Monera) มอเนอราเป็นส่ิงมชี วี ิตจำพวกเซลล์เดยี วที่ไม่มีนิวเคลียส หรือไมม่ ีเยื่อหมุ้ นวิ เคลียส เรียกส่งิ มชี วี ิตพวกน้ี รวมๆ ว่า โพรแคริโอต (Prokaryote) ได้แก่ แบคทีเรยี และสาหรา่ ยสีเขยี วแกมนำ้ เงนิ หรอื ไซอาโนแบคทเี รีย (cyanobacteria) 2. อาณาจักรเห็ดรา (Kingdom Fungi) เห็ดราเป็นสง่ิ ชีวติ ทเี่ ซลล์มนี วิ เคลียสหรอื มเี ยือ่ หุ้มนวิ เคลยี สเรยี กว่า ยูแคริโอต (eukaryote) อาจเปน็ สง่ิ มชี วี ิตที่เซลลเ์ ดยี วหรอื หลายเซลล์ ไม่มคี ลอโรฟิลล์ สงั เคราะหอ์ าหารเองไม่ได้ กนิ อาหารโดยสร้างน้ำย่อยแล้ว ปลอ่ ยออกมาย่อยสารอนิ ทรีย์จนเปน็ โมเลกุลเลก็ และดดู เข้าเซลล์ (saprophyte) ไดแ้ ก่ เหด็ และราชนดิ ตา่ ง ๆ 3. อาณาจกั รโพรทิสตา (Kingdom Protista) โพรทิสตาเป็นส่ิงมีชีวิตท่ีมีเซลล์ชนิดยูแคริโอต มีท้ังชนิดเซลล์เดียวและหลายเซลล์ ได้แก่ สัตว์เซลล์เดียว (protozoa) สาหร่ายต่างๆไดแ้ ก่ สาหรา่ ยสีเขยี ว สาหร่ายสนี ้ำตาล สาหร่ายสีแดง สาหร่ายสีทอง เช่น ไดอะตอม 4. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เซลล์เป็นชนิดยูแคริโอต มีสารสีเพื่อการสังเคราะห์ด้วยแสงเรียกว่าคลอโรฟิลล์ ซ่ึงมีหลายชนิด มีผนังเซลล์เป็นสาร เซลลูโลส สืบพันธ์ุท้ังแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ มีวัฏจักรชีวิตแบบ สลับ (alternation of generation) การจำแนกเปน็ ไฟลมั หรอื ดิวิชนั ใชล้ ักษณะวฏั จกั รชีวิตแบบสลัลที่มีระยะแกมี

โทไฟต์ (gemetophyte) และสปอโรไฟต์ (sporophyte) การมีท่อลำเลียงอาหารและน้ำ มีรากและใบ และมีดอก (fower) หรอื ไมม่ ีดอก 5. อาณาจกั รสัตว์ (Kingdom Animalia) ส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ ประกอบด้วยเซลล์ชนิดยูแคริโอต การจำแนกเป็นไฟลัมต่างๆใช้ลักษณะสำคัญคือ จำนวนชั้นของเนื้อเยื่อ ช่องภายในตัว ปล้องขา ลำตัว ชนิดของท่อทางเดินอาหาร สมมาตร (symmetry) ของ ลำตัว ชนิดของระบบไหลเวียน และการพัฒนาของระบบอื่นๆ แบ่งออกเป็นสอง ซับคิงดอม (Subkingdom) คือ ซับคิงดอมพาราซัว (Parazoa) ได้แก่ฟองน้ำและซับคิงดอมเมทาซัว (Metazoa) ได้แก่สัตว์อื่นๆ ที่เหลือ ซึ่ง แบ่งยอ่ ยเปน็ ไฟลัมตา่ งๆ มากถงึ 30 ไฟลมั ในปัจจุบัน แต่ทส่ี ำคัญมี 10 ไฟลมั ประเดน็ ท่ี 2 “ทา่ นได้เรียนรูอ้ ะไรบา้ ง จากคลปิ วิดโี อ เรอ่ื งท่ี 2 นี้” แนวคำตอบ ไลเคนสาวนอ้ ยกระโปรงบาน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Physcia sp. เปน็ ไลเคนแบบผืนใบมสี ีเขียวอม ฟา้ ลกั ษณะขอบใบ หยักละเอียด แผ่พล้วิ เหมือนระบายชายกระโปรง ตัวใบเผยอขึ้น ไม่แนบตดิ กับผวิ วตั ถุ บางครัง้ อาจ มองเห็นรากเทียมแตกหน่อ เปน็ ฟองผงแป้งฟตู รงกลางผืนไลเคนดูเหมือนดอกกะหลำ่ ไลเคนสาวน้อยกระโปรงบาน อยใู่ นกลมุ่ ไลเคนอากาศดี มักพบใน พื้นทีค่ ่อนข้างชื้น 6. ครแู ละผู้เรยี นอภปิ รายและสรปุ ผลการเรยี นรู้รว่ มกนั ขัน้ ตอนท่ี 2 การนำไปใช้ประโยชน์ (Utilization : U) 1. ครูให้ผู้เรียนแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 4-8 คน ดำเนินกิจกรรมเป็นราย กลุ่ม ศึกษาเน้ือหาในเอกสารประกอบการเรียน วิชาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต พว32017 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย เร่ือง อาณาจกั รสิ่งมีชีวิต หน้า 40-48 เรื่อง ไวรสั และไวรอยด์ หน้า 50-55 และ เรื่อง ไลเคน หน้า 55- 57 ดังนี้ 1) อาณาจกั รสง่ิ มีชีวติ (หน้า 40-48) 2) ไวรสั และไวรอยด์ (หน้า 50-55) 3) ไลเคน (หน้า 55-57) ให้แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสง่ ผู้แทนนำเสนอตอ่ กลมุ่ ใหญ่ใน 3 ประเด็น ประเดน็ ที่ 1 อาณาจักรส่ิงมชี ีวติ ประเดน็ ท่ี 2 คณุ สมบตั ิของไวรัสและไวรอยด์ ประเด็นท่ี 3 การจัดจำแนกและระบุชนดิ ไลเคน ครแู ละผูเ้ รยี นสรปุ ผลการเรยี นรู้ร่วมกนั และให้ผ้เู รียนสรปุ สงิ่ ทไี่ ด้เรียนรลู้ งในสมดุ บนั ทึกผลการเรียนรู้ของตน 2. ครูแนะนำแหล่งเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง อาทิ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หน่วยงาน สถานศึกษาต่าง ๆ รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นต้น และให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคลศึกษาเนื้อหา ใน เอกสารประกอบการเรียน วิชาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต พว

32017 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เร่ือง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต หน้า 40-48 เรื่อง ไวรัสและ ไวรอยด์ หน้า 50-55 และ เรื่อง ไลเคน หนา้ 55-57 คิด 3. ครูดำเนนิ การทำหน้าท่ีนำการอภิปราย โดยให้ผูเ้ รยี นกลุ่มใหญ่ร่วมกนั แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ อภิปราย และวิเคราะหใ์ ห้ขอ้ มูลเพ่ิมเติมในเนื้อหาหรือประเด็นที่ยังไม่ชัดเจน ตามรายละเอยี ดทผ่ี ู้เรยี นได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน หากผู้เรียนกลุ่มใหญ่หรือครูเห็นว่ายังไม่สมบูรณ์ มีความต้องการในการเรียนรู้ เพ่ิมเติม ครูจะช่วยเติมเต็มความรู้ให้กับผู้เรียน หลังจากนั้นครูและผู้เรียนสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ในภาพรวมท้ังหมดแล้ว ใหผ้ เู้ รียนสรุปสง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรลู้ งในสมุดบันทกึ การเรียนรู้ของตน หมายเหตุ : ในการดำเนินกิจกรรมกลมุ่ ครูช้แี จงบทบาทหน้าที่ในการทำงานให้ผู้เรียนได้มีความรับผิดชอบรว่ มกันในการ ทำงาน ซ่ึงมอบหมายให้ผู้เรียนดำเนินการแต่งตั้งประธานหรือผู้นำในการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการ มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในภารกิจต่าง ๆ รวมถึงการแต่งตั้งเลขานุการของกลุ่มเป็นผู้จดบันทึกและผู้รักษาเวลา เพ่ือปฏิบัติงานของกลุ่มใหญ่ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ และพิจารณาว่าสมาชิกลุ่มทุกคนควรมีความเข้าใจ ตรงกันว่า ตนมีบทบาทหน้าท่ีที่จะต้องช่วยให้กลุ่มทำงานได้สำเร็จ ครูควรให้คำแนะนำถึงความสำคัญของการให้ สมาชิกทุกคนในกล่มุ มสี ่วนรว่ มในการอภิปรายอยา่ งทว่ั ถงึ ไม่ให้มีการผูกขาดการอภิปรายโดยผู้ใดผู้หน่ึง และควรมี การจำกัดเวลาของการอภปิ รายแต่ละประเด็น ในระหว่างการทำกิจกรรมของผู้เรียน ครูมีบทบาทในการสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ องผู้เรียน คอย กระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ โดยบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และเคร่อื งมอื ประเมินการสังเกตแบบประมาณคา่ 4. ครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทั้งกลุ่มร่วมกันสนทนา เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการฟัง พูด คิดวิเคราะห์ การ ทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น การคิดสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ และการนำความรู้ในเนื้อหามาใช้ โดยครูบูรณาการเนื้อหาการ เรียนรู้ มีการใช้สื่อเทคโนโลยีท่ีเป็นคลิปวิดีโอจาก youtube และ TikTok ท่ีสัมพันธ์กับเนื้อหา ท้ังนี้ครูเชื่อมโยงสิ่ง ทีไ่ ดเ้ รียนรู้ตามขน้ั ตอนท่ี 1 ในการนำความร้ไู ปสู่การปฏิบัติ และประยุกต์ใช้ผ่านคลิปวดิ ีโอ โดยครเู ปิดคลปิ วิดโี อ เรอื่ ง “อาณาจักรสิ่งมชี ีวติ (สรุป)” จาก https://www.https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w ช่วงเวลา 2.45 นาที หลังจากนนั้ ครูดำเนนิ การ ดังน้ี (1) ครบู รรยายเนอื้ หาตามใบความรู้สำหรบั ครู เร่อื ง “อาณาจักรสง่ิ มีชวี ติ ” เร่ือง “ไวรสั และไวรอยด์” และ เรื่อง “ไลเคน” เพื่อใชส้ ำหรับประกอบกิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ือง “อาณาจักรสิ่งมชี วี ิต - อาณาจักรไวราและไล เคน” ในส่วนของผู้เรียนให้ศึกษาใบความร้สู ำหรบั ผู้เรียน ประกอบการบรรยายของครตู ามใบความรูส้ ำหรับผู้เรยี น เร่อื ง “อาณาจักรสิง่ มชี วี ิต ” เรื่อง “ไวรัสและไวรอยด์” และ เร่อื ง “ไลเคน”

5. ครแู ละผู้เรียนอภปิ รายและสรุปผลการเรียนรรู้ ่วมกนั ข้ันตอนท่ี 3 การสะท้อนความคดิ จากการเรียนรู้ (Reflection : R) 1. แบ่งผู้เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 4-5 คน ใหผ้ ู้เรยี นแต่ละกลุม่ ลงมือปฏบิ ตั ิจริง โดยผเู้ รยี นแต่ ละกลมุ่ วางแผน และดำเนินการเกีย่ วกบั การทำใบงาน เรือ่ ง “อาณาจกั รส่งิ มีชวี ติ ” เรอื่ ง “ปรศิ นาอาณาจักรของสิ่งมชี วี ติ ” ตามใบงานและ ใบกิจกรรมของผูเ้ รยี น เรื่อง “อาณาจักรส่งิ มชี วี ิต” เร่อื ง “ปริศนาอาณาจักรของสิง่ มีชีวติ ” ทั้งน้ี ครูเตรยี มใบงานและ ใบกจิ กรรมใหก้ บั ผู้เรยี น เรือ่ ง “อาณาจักรส่ิงมีชวี ติ ” เร่ือง “ปรศิ นาอาณาจักรของสิง่ มีชวี ติ ” 2. ใหผ้ ูเ้ รยี นแต่ละกลมุ่ ตามข้อ 2 ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามใบงานและใบกจิ กรรม เรื่อง “อาณาจักรส่งิ มีชวี ิต” เรอื่ ง “ปรศิ นาอาณาจกั รของสิง่ มีชวี ิต” ท้ังน้ี ครูจะต้องกำกับการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนจน กิจกรรมแล้วเสร็จ ตามใบงานและ ใบกิจกรรมสำหรับครู เรื่อง “อาณาจักรสิ่งมีชีวิต” เรื่อง “ปริศนาอาณาจักร ของสงิ่ มชี ีวิต” 3. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำใบงานและใบกิจกรรม เรื่อง “อาณาจักรสิ่งมีชวี ิต” เรื่อง “ปริศนา อาณาจกั รของสง่ิ มีชีวติ ” 4. ครูให้ผู้เรียนสะท้อนความคิดในการเรียนรู้ท่ีได้จากการเรียนรู้และการปฏิบัติการ จากขั้นตอนท่ี 1 ถึง ขั้นตอนท่ี 3 นี้ 5. ครูและผเู้ รียนอภปิ รายและสรปุ ผลการเรียนรรู้ ว่ มกัน ข้นั ตอนท่ี 4 การติดตามประเมนิ และแกไ้ ข (Action : A) 1. ครูสนทนากับผู้เรียนเก่ียวกับเร่ืองที่ได้เรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้น้ี โดยครูสุ่มผู้เรียนตามความ สมัครใจจำนวน 2-3 คน ใหต้ อบคำถามในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี ประเด็น “ท่านจะนำความรู้เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต – อาณาจักรไวราและไลเคน ไปประยุกตใ์ ช้ในการแก้ปญั หาหรือไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตจรงิ ได้อย่างไร” แนวคำตอบ ผู้เรียนสามารถนำความรทู้ ่ีได้รับจากการเรียนรู้ เร่อื ง อาณาจักรส่ิงมชี วี ติ ไวรัส ไวรอยด์และไลเคน ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้ ดงั นี้ (1) ผลจากการศึกษาอาณาจักรส่ิงมีชวี ติ มีความรู้เกี่ยวกบั สงิ่ มชี วี ิตในโลกน้ีมมี ากนับหลายล้านชนิด มี ความหลากหลายทั้งลักษณะโครงสร้างที่เหมือนกัน และแตกต่างกันวิธีการหาอาหารวิธีการ สืบพันธุ์ สภาพแวดลอ้ มการเจรญิ เตบิ โต และววิ ัฒนาการทีแ่ ตกตา่ งกนั แต่เนอ่ื งจากส่ิงมชี ีวติ มีอยู่มากทั้งเหมือนและ แตกตา่ งกันดังกล่าวแลว้ จึงมีการจัดหมวดหมู่ของส่ิงมีชวี ิตข้ึน ซึ่งการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีประโยชน์ คือ 1. ทำให้สะดวกในการศึกษาสิง่ มชี ีวิตชนิดตา่ ง ๆ 2. ทำให้รู้ถงึ ลกั ษณะโครงสรา้ งของส่งิ มชี วี ิตที่คล้ายคลงึ หรอื ต่างกนั

3. ทำให้รถู้ ึงความสัมพนั ธ์และการอยรู่ ว่ มกันของสิ่งมชี ีวิต (2) ผลจากการศึกษาไวรัสและไวรอยด์ สามารถนำความรู้มาใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวันได้ เช่น สามารถผลิตวัคซีนหรือกระตุ้นภูมิคุ้มกันของส่ิงมีชีวิต สามารถใช้เป็นพาหนะในการนำ DNA แปลกปลอมเข้าเพิ่ม จำนวนยังแบคทีเรียตัวท่ีใช้กันมากในงานพันธุวิศวกรรม และสามารถควบคุมหรือต้านทานการก่อโรคโดยใช้ไวรัส พชื หลายชนิด เช่น มะละกอ ยาสูบ พริก โดยเทคนคิ พันธวุ ิศวกรรม (3) ผลจากการศึกษาไลเคน สามารถนำความรู้มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ เช่น การใช้ไลเคน เป็นดัชนีบ่งช้ีคุณภาพอากาศ ไลเคนสามารถใช้ตรวจวัดคุณภาพอากาศได้อย่างแม่นยำ ใช้ค่าใช้จ่ายน้อย ใช้ง่าย สามารถบ่งชี้ถงึ ระดบั ความเป็นพิษในช้ันบรรยากาศได้อยา่ งชัดเจน ไลเคนมคี ณุ สมบตั ิท่เี หมาะสมในดา้ นน้ีเป็นอย่าง ย่ิง ซ่ึงไม่พบในสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืน ไลเคนสามารถสะท้อนถึงอาการของสิ่งมีชีวิตเม่ือได้รับสารมลพิษทางอากาศได้ โดยตรงซึ่งเครื่องมือตรวจวัดไม่สามารถทำได้ เพราะฉะนั้นหลายพื้นที่ทั่วโลกจึงนิยมใช้ไลเคนเป็นตัวตรวจวัด คุณภาพอากาศควบคู่กับการใช้เคร่ืองมือตรวจวัด และสามารถผลิตเป็น สีย้อม อาหาร เคร่ืองดื่ม ยารักษาโรค สว่ นผสมเคร่อื งสำอาง ทำกระดาษลติ มสั และสกัดสารเคมเี พอ่ื ใช้ยับยั้งเชลลม์ ะเร็ง 2. ครูและผู้เรียนอภปิ รายและสรปุ ผลการเรยี นรู้ร่วมกัน 3. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง “อาณาจักรส่ิงมีชีวิต - อาณาจักรไวราและไลเคน” จำนวน 10 ขอ้ โดยใชเ้ วลา 10 นาที 4. ครูและผ้เู รียนสรุปภาพรวมสิ่งที่ไดเ้ รียนรรู้ ่วมกนั นอกจากน้ี ในตอนท้ายของการพบกลุ่ม หลังจากเสร็จส้ินขั้นตอนที่ 3 ครูมอบหมายงานให้เรียนรู้ด้วย ตนเอง รายละเอยี ดดังนี้ การมอบหมายงานให้เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 1. ครูช้ีแจงให้ผู้เรียนทราบว่า ในการพบกลุ่มแต่ละคร้ังผู้เรียนจะได้รับมอบหมายงานให้ไปเรียนรู้ด้วยวิธี เรียนรู้ด้วยตนเองในลักษณะที่ครูจะมอบหมายงานให้ผู้เรียนไปศึกษา “เอกสารประกอบการเรียน วิชาความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต พว32017 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย “เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต หน้า 40-48 เร่ือง ไวรสั และ ไวรอยด์ หน้า 50-55 และ เรอื่ ง ไลเคน หน้า 55-57” ทัง้ ภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ โดยให้ศึกษาเน้ือหาและปฏิบัติกจิ กรรมท้ายเร่ือง รายละเอยี ดของเน้ือหา แบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน ดงั นี้ สว่ นที่ 1 เน้ือหาการเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรียนร้คู รง้ั นี้ ส่วนท่ี 2 เน้ือหาการเรียนรู้เพิ่มเติมในเอกสารประกอบการ เรยี น ดงั กลา่ ว 2. ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยให้ไปศึกษา “เอกสารประกอบการเรียน วิชาความ หลากหลายของสิ่งมชี ีวิต พว32017 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย” รายละเอียดเนอ้ื หาการเรยี นร้เู พิ่มเติม” ดงั นี้

1) อาณาจักรสิ่งมชี วี ิต - ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชวี ติ ในอาณาจักรโปรติสตา - อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) - อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) - อาณาจกั รสตั ว์ (Kingdom Animalia) (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 40-48) (กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งในเอกสารประกอบการเรียน หน้า 49) 2) ไวรัสและไวรอยด์ - คุณสมบัตทิ ่สี ำคัญของไวรัส - คุณสมบตั ทิ างชวี วิทยา - การเพ่มิ จำนวนของไวรัส - ขัน้ ตอนการเพ่ิมจำนวนไวรัส - รปู ร่างของไวรัสทเี่ ป็นสาเหตุของโรคพืช (เอกสารประกอบการเรยี น หน้า 50-55) 3) ไลเคน คืออะไร - การจดั จำแนกแบง่ ตามไฟลมั - ไลเคนแบ่งเปน็ 3 ชนิด (เอกสารประกอบการเรยี น หน้า 55-57) (กิจกรรมทา้ ยเรื่องในเอกสารประกอบการเรียน หน้า 58) หลังจากนั้น ครูและผู้เรียนมีการนัดหมายทบทวน ตรวจสอบ และแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านทางส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ ต่อไป หมายเหตุ : ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ซ่ึง การให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองน้ัน อาจมีความแตกต่างกันบ้างในข้ันตอน โดยพิจารณาจากพื้นฐาน ของผู้เรียน ในกรณีที่ผู้เรียนมีพ้ืนฐานน้อยหรือไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็ควรจัดการเรียนรู้พ้ืนฐานท่ีจำเป็นและพอเพียง กับผู้เรียน หลังจากน้ันให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติด้วยตนเองในช่วงระยะหน่ึงแล้วจึงค่อยให้ผู้เรียนคิดหัวข้อท่ีอยากจะทำ หรือถ้าผู้เรียนมีพืน้ ความรมู้ ากอ่ นแลว้ ให้คิดหัวขอ้ ทีส่ นใจจะทำและใหล้ งมอื ปฏิบตั ไิ ด้

ส่อื วัสดุ อุปกรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่อื ง “อาณาจกั รสิ่งมีชวี ติ – อาณาจกั รไวราและไลเคน” 2. ใบความร้สู ำหรบั ผู้เรียน เร่ือง “อาณาจักรส่ิงมชี ีวิต” เร่ือง “ไวรัสและไวรอยด”์ เรื่อง “ไลเคน” 3. คลิปวิดโี อ เรือ่ งท่ี 1 “อาณาจักรสิ่งมีชีวติ ” จาก https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w ช่วงเวลา 25.43 นาที เร่อื งที่ 2 “ไลเคน” จาก https://www.youtube.com/watch?v=hk64e7G-pCA ช่วงเวลา 3.39 นาที 4. คลปิ วิดีโอ เร่อื ง “อาณาจักรสิง่ มีชีวติ (สรุป)” จาก https://www.https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w ชว่ งเวลา 2.45 นาที 5. ใบความรูส้ ำหรับครู เรื่อง “อาณาจกั รสิ่งมีชีวิต” เร่ือง “ไวรสั และไวรอยด์” เรื่อง “ไลเคน” 6. ใบกิจกรรมสำหรบั ครู เรื่อง “อาณาจักรสงิ่ มชี ีวิต” เรอื่ ง “ปรศิ นาอาณาจักรของส่งิ มีชีวิต” 7. ใบกจิ กรรมของผูเ้ รียน เรื่อง “อาณาจกั รสงิ่ มชี วี ิต” เรอื่ ง “ปริศนาอาณาจักรของส่ิงมชี วี ติ ” 8. แบบทดสอบหลังเรียน เรอื่ ง “อาณาจกั รสิ่งมชี วี ิต – อาณาจักรไวราและไลเคน” 9. แบบประเมนิ ความพึงพอใจสำหรับผู้เรียนในการเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ เร่อื ง“อาณาจักรสิง่ มีชวี ิต – อาณาจักรไวราและไลเคน” การวดั และประเมินผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วม ความตัง้ ใจ และความสนใจของผู้เรยี น 2. ผลการทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น 3. ผลการออกแบบและสรา้ งสรรค์นวัตกรรมและสิง่ ทตี่ อ้ งการพฒั นา/ช้ินงาน/ผลงาน 4. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เรยี น

บนั ทกึ ผลหลังการจดั กระบวนการเรียนรู้ ผลการใช้แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 1. จำนวนเนื้อหากับจำนวนเวลา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบเุ หตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การเรยี งลำดบั เนือ้ หากบั ความเข้าใจของผู้เรยี น  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบเุ หตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การนำเขา้ สบู่ ทเรียนกบั เนอ้ื หาแตล่ ะหัวข้อ  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 4. วิธกี ารจดั กิจกรรมการเรียนรู้กับเน้ือหาในแตล่ ะข้อ  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………

5. การประเมินผลกบั ตัวช้วี ดั ในแตล่ ะเนอื้ หา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ผลการจดั กระบวนการเรยี นรู้ของครู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

รายละเอยี ดสือ่ วสั ดุ อปุ กรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน เร่อื ง “อาณาจกั รส่งิ มีชวี ิต - อาณาจกั รไวราและไลเคน” 2. ใบความรสู้ ำหรับผ้เู รียน เรื่อง “อาณาจักรสิ่งมีชวี ติ ” เร่ือง “ไวรัสและไวรอยด์” เร่ือง “ไลเคน” 3. คลิปวิดีโอ เรอ่ื งท่ี 1 “อาณาจักรส่ิงมีชีวติ ” จาก https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w ชว่ งเวลา 25.43 นาที เรื่องท่ี 2 “ไลเคน” จาก https://www.youtube.com/watch?v=hk64e7G-pCA ชว่ งเวลา 3.39 นาที 4. คลิปวิดีโอ เร่อื ง “อาณาจักรสิง่ มีชีวิต (สรปุ )” จาก https://www.https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w ช่วงเวลา 2.45 นาที 5. คลปิ วิดโี อ เรือ่ ง “อาณาจกั รสง่ิ มีชวี ติ (สรปุ )” จาก https://www.https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w ช่วงเวลา 2.45 นาที 6. ใบความรสู้ ำหรับครู เรื่อง “อาณาจักรส่ิงมชี วี ิต” เรอื่ ง “ไวรัสและไวรอยด์” เรอื่ ง “ไลเคน” 7. ใบกิจกรรมสำหรับครู เรื่อง “อาณาจกั รส่งิ มชี วี ิต” เรอื่ ง “ปริศนาอาณาจกั รของสง่ิ มชี ีวติ ” 8. ใบกิจกรรมของผูเ้ รียน เรอื่ ง “อาณาจกั รสิง่ มีชวี ิต” เรอ่ื ง “ปรศิ นาอาณาจักรของสง่ิ มชี ีวิต” 9. แบบทดสอบหลงั เรียน เรือ่ ง “อาณาจกั รส่ิงมีชีวิต – อาณาจักรไวราและไลเคน”

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง อาณาจกั รสงิ่ มีชวี ติ - อาณาจักรไวราและไลเคน คำช้แี จง แบบทดสอบก่อนเรียน มีจำนวนทัง้ หมด 10 ข้อ คำส่งั จงทำเครื่องหมายกากบาท (X) หน้าข้อท่ีถูกต้องที่สุด เพยี งข้อเดยี ว 1. ในไฟลมั คอร์ดาตา คลาสใดเป็นพวกสตั วค์ รึ่งน้ำครงึ่ บก ก. Class Chondricthyes ข. Class Osteicthyes ค. Class Amphibia ง. Class Reptilia 2. ข้อใดคือระดับที่ใหญท่ ่สี ุดของสิ่งมีชวี ิต ข. ไฟลมั Phylum ก. อาณาจักร Kingdom ง. สปีชสี ์ Species ค. ครอบครวั family 3. อาณาจกั รใดไม่มีเย่ือหุ้มนวิ เคลียส ข. อาณาจักรสัตว์ ก. อาณาจักรฟงั ไจ ง. อาณาจกั รพชื ค. อาณาจกั รมอเนอรา 4. ข้อใดเปน็ องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ Biological diversity ก. ความหลากหลายของสปีชสี ์ Specific diversity ข. ความหลากหลายทางพนั ธ์ุกรรม Genetic diversity ค. ความหลากหลายของระบบนิเวศ Ecological diversity ง. ถูกทุกขอ้ 5. สาหรา่ ยสีเขยี วแกมนำ้ เงินอยู่อาณาจักรใด ข. อาณาจกั รโพรทิสตา ก. อาณาจักรมอเนอรา ง. อาณาจักรฟังไจ ค. อาณาจักรพชื 6. ไฟลมั โพรโตซัว Phylum protozoa อยใู่ นอาณาจกั รใด ก. อาณาจักรพชื ข. อาณาจักรสัตว์ ค. อาณาจกั รมอเนอรา ง. อาณาจักรโพรทิสตา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook