7. การสบื พนั ธุ์ เป็นกระบวนการเพิ่มจำนวนของส่ิงมีชวี ติ ชนดิ เดียวกันเพ่ือดำรงรักษาเผา่ พันธไ์ุ ว้ ถ้าสิ่งมีชวี ติ ไม่ สบื พนั ธ์กุ จ็ ะสูญพนั ธุ์ สิ่งมีชวี ิตมกี ารสบื พันธ์ุเพื่อดำรงเผา่ พันธ์ุร่างกายของส่งิ มีชวี ติ สามารถดำรงชีวิตอยไู่ ด้ด้วยการทำงานร่วมกันของ ระบบอวัยวะต่างๆ หลายระบบ อวัยวะตา่ งๆ ลว้ นประกอบจากกลุ่มเน้ือเยือ่ ที่ทำงานร่วมกัน เนอื้ เยื่อแตล่ ะชนิด ประกอบไปด้วยกลุม่ เซลล์ชนดิ เดียวกนั ทที่ ำงานอยา่ งเดยี วกนั ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานรว่ มกนั เป็นระบบ ดงั นนั้ การศึกษากระบวนการตา่ งๆ ของสิ่งมชี วี ติ ให้เข้าใจ จึงต้องอาศัยความรูจ้ ากการศึกษาลกั ษณะรปู รา่ ง โครงสรา้ ง สว่ นประกอบ และหนา้ ที่ของเซลล์สง่ิ มีชวี ิตใหเ้ ข้าใจเป็นพ้ืนฐาน วิวัฒนาการของส่งิ มีชวี ติ ส่งิ มชี ีวิตในปจั จุบันเปน็ สิง่ มชี วี ิตทีว่ วิ ัฒนาการมาจากสิ่งมชี ีวติ ในอดีต สงิ่ มีชวี ติ ซึ่งได้แก่ พชื สตั ว์ และมนษุ ย์ ต่างกม็ ีสายวิวฒั นาการเปน็ ของตนเองตามลำดบั วิวัฒนาการของพืช ส่งิ มีชวี ติ ทจ่ี ดั วา่ เป็นพืชเรม่ิ ปรากฏบนโลกเมอื่ ประมาณ 600 ล้านปีมาแลว้
ววิ ฒั นาการของพืช มาจากสิ่งมีชวี ิตแรกเร่มิ วิวัฒนาการไปเปน็ พืช 2 สายดว้ ยกัน คอื พชื ไมม่ ี เนื้อเยอื่ และพืชมเี น้ือเยื่อลำเลียง สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้ เงิน วิวฒั นาการเป็นสาหรา่ ยสีเขียว แล้ว วิวัฒนาการตอ่ ไปเป็นมอส และพืชมเี นื้อเยื่อลำเลยี พวกแรก ได้แก่หวายทะนอย ในขณะเดยี วกันสาหร่ายสี เขียวแกมน้ำเงินและสาหรา่ ยสีเขยี วก็ยงั คงมีวิวฒั นาการมาจนถึงปจั จบุ ัน พชื บกท่มี ีเนอ้ื เย่ือลำเลยี งพวกแรกมวี วิ ฒั นาการต่อไปแยกเป็น 2 สาย สายหน่ึงเปน็ หวายทะนอย อีกสาย หนงึ่ แยกได้เป็น 3 สายคือ พวกชอ้ งนาคล่ี หญา้ ถอดปล้องและพวกที่มใี บเปน็ แผ่นกว้างซึง่ จะแยกเปน็ พวก เฟิรน์ กบั พชื พวกมีเมล็ด โดยพืชมเี มลด็ ยังมีววิ ฒั นาการต่อไปอีกเปน็ พวกเมลด็ มีส่ิงหอ่ หุ้ม ได้แกพ่ ชื ใบเลยี้ ง เดย่ี วและพชื ใบเลีย้ งคู่ พวกเมลด็ ไมม่ ีส่งิ ห่อหมุ้ เชน่ สนและปรง วิวฒั นาการของสัตว์ สัตว์หลายเซลลพ์ วกแรกท่ปี รากฏในทะเลเมื่อ 750 ลา้ นปมี าแล้ว สนั นิษฐานว่าววิ ฒั นาการมา จากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดยี ว เป็นสตั ว์ไมม่ กั ระดูกสันหลงั ที่ไมม่ ีเปลอื กแขง็ หอ่ หุ้ม เมอื่ สตั วเ์ หลา่ นต้ี ายลง จะ สลายตัวโดยธรรมชาติ จึงไมค่ ่อยทง้ิ ร่องรอยของซากดึกดำบรรพ์เอาไว้ เมอื่ วิวัฒนาการเป็นสตั วท์ ม่ี ีเปลอื ก แข็งหุม้ และวิวฒั นาการต่อไปเปน็ สตั ว์มีกระดูกสันหลงั พวกแรกเมื่อ 500 ลา้ นปมี าแลว้ ได้แกป่ ลาไมม่ ี ขากรรไกร ซึง่ เชื่อกันว่า มีกำเนิดมาจากบรรพบรุ ษุ ท่ีคล้ายเพรียงหวั หอม ปลาไม่มีขากรรไกรจะ ววิ ฒั นาการเปน็ 2 สาย สายหนงึ่ เป็นปลาปากกลม อีกสายหนง่ึ เป็นปลามีขากรรไกร พวกหลงั นี้จะ วิวฒั นาการเป็นปลากระดูกอ่อนซง่ึ ได้แก่ ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาฉนาก และอีสายหนง่ึ เปน็ ปลา กระดูกแข็ง ซ่ึงววิ ฒั นาการต่อไปเรอ่ื ยๆจนเปน็ สตั ว์ครึ่งน้ำครงึ่ บก สรุปไดว้ ่า จากการศกึ ษาซากดกึ ดำบรรพ์และกายวภิ าคต่างๆพบว่า การววิ ัฒนาการของสัตว์เรม่ิ ขนึ้ เม่ือ 750 ล้านปีมาแล้ว โดยสัตว์หลายเซลล์พวกแรกเกดิ ขน้ึ ในทะเลและมหาสมทุ รซึง่ ววิ ฒั นาการจากสตั ว์เซลล์ เดยี ว ดำรงชีวติ อย่ตู ามพื้นทะเล ไดแ้ ก่พวกฟองนำ้ แมงกะพรุน ปะการัง ปลิงทะเล เป็นต้น ตอ่ มาจึง ววิ ฒั นาการแยกเปน็ 2 สาย สายหนง่ึ เป็นพวกท่มี ชี ่องเปิดทางอาหารแรกเป็นทวาร และอีสายหนึ่งเป็น พวกที่มชี ่องเปดิ ทางอาหารแรกเป็นปาก(เปน็ การเจริญในระยะเอมบรโิ อ) ซ่ึงแต่ละสายมีวิวัฒนาการเป็น เป็นสัตวป์ ระเภทต่างๆท้ังสตั วม์ ีกระดูกสันหลงั และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลงั แนวคดิ ววิ ัฒนากา วิวัฒนาการ (EVOLUTION) หมายถึง การเปล่ยี นแปลงในทางชีววิทยาจากสิ่งทงี่ ่าย ๆ ไปสสู่ งิ่ ที่ย่งุ ยากซบั ซ้อนมากข้ึน การเปล่ยี นแปลงน้ีจะต้องเปลี่ยน ในลกั ษณะค่อยเปน็ ค่อยไป และต้องใช้ เวลานาน ววิ ฒั นาการทางเคมี นกั วิทยาศาสตรเ์ ชอ่ื วา่ คร้ังแรกโลกเปน็ หมอกเพลงิ ท่หี ลดุ ออกมาจากดวง อาทิตย์ต่อมาเปลอื กโลกค่อย ๆ เย็นตวั ลง พรอ้ ม ๆ กับการเปล่ยี นแปลงของสารเคมีตลอดเวลา ครั้งแรก ยงั ไม่มสี ารอินทรีย์ มีแต่สารอนนิ ทรีย์เท่านนั้ ซ่ึงค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงเป็นสารอนิ ทรยี ์ ฉะนั้นเม่อื เวลาค่อย ๆ ผา่ นไปสารอนนิ ทรยี ์จะค่อย ๆ ลดลงพรอ้ มกับสารอินทรีย์เพิ่มข้ึน แต่ยงั ไมม่ สี ิง่ มชี ีวติ
ววิ ฒั นาการทางชีววทิ ยา เร่มิ แรกจากเซลล์ ๆ จะสรา้ งสารที่ต้องการจากอาหารไดเ้ ตบิ โต และ สืบพนั ธ์ไุ ด้ และจะต้องมวี ธิ ีทีเ่ ซลลจ์ ะได้พลงั งานมาใช้ วิธีการนนั้ กค็ ือการหายใจ 1. ทฤษฎีของวิวัฒนาการมดี ังน้ี 1. ทฤษฎขี อลามาร์ก (LAMARCK’S THEORY) ก่อตงั้ โดย จนี แบพตสิ เดอลามารก์ (JENA BAPTISTE DE LAMARCK) (1744 – 1829) วศิ วกรชาวฝรัง่ เศสซึ่งในบ้ันปลายชวี ิตได้ศกึ ษาชวี วทิ ยา ไดเ้ ปน็ ผู้ วางรากฐานเก่ยี วกบั ววิ ฒั นาการเป็นคนแรกไดเ้ สนอกฎ 2 ข้อ คอื 1. กฎการใชแ้ ละไม่ใช้ (LAW OF USE AND DISUSE) 2. กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกดิ ข้ึนใหม่ (LAW OF INHERITANCE OF ACQUIRED CHARACTERISTICS) จากกฎทัง้ 2 ขอ้ นีส้ รุปได้ว่า สิง่ แวดลอ้ มมีผลตอ่ รปู ร่างของสตั ว์ อวัยวะใดทใ่ี ชบ้ ่อย กจ็ ะเจรญิ เติบโตขยาย ใหญ่ข้ึน อวัยวะใดท่ไี มใ่ ชก้ จ็ ะออ่ นแอลงและเสื่อมหายไปในทสี่ ุด ลักษณะที่ได้มาและเสียไปโดยอทิ ธิพลของ ส่ิงแวดล้อม โดยการใชแ้ ละไม่ใชจ้ ะคงอยู่ และถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานโดยทางพนั ธุกรรม ยกตวั อยา่ งเชน่ ยรี าฟ สมัยก่อนมีคอส้นั เม่ือยดื คอกินใบไมส้ ูง ๆ นาน ๆ เข้าคอจะคอ่ ย ๆ ยดื ยาวจนเปน็ ยีราฟปัจจุบัน ขาหลงั ของ ปลาวาฬหายไป เน่ืองจากใช้หางว่ายนำ้ อยา่ งไรก็ตามถงึ แม้ว่า ลามาร์กจะเปน็ ผวู้ างรากฐานของววิ ฒั นาการเป็นคน แรก แตล่ ามาร์กไปเนน้ การถา่ ยทอดลักษณะไปให้ลูกหลานว่าเกิดจากการฝกึ ปรือซึ่งไมถ่ ูกต้อง เนอ่ื งจากในสมยั นนั้ วชิ าพันธุศาสตร์ยังไมเ่ จรญิ ไวส์ มนั น์ (WEISMANN) ชาวเยอรมนั ได้ทำการทดลองตัดหางหนู 20 ร่นุ เพอื่ คดั คา้ น ลามาร์ก หนทู ่ีถกู ตดั หางยังคงมีลูกท่ีมหี าง ไวส์มนั น์ อธิบายวา่ เนอ่ื งจากสิ่งมีชีวติ ประกอบด้วยเซลล์สืบพนั ธ์แุ ละเซลล์เนื้อเย่ือ เม่อื สง่ิ มชี วี ิตตายเซลล์สบื พันธเ์ุ ทา่ นน้ั ท่ีถ่ายทอดใหล้ ูกหลานได้ (ก่อนตาย) ส่วนเซลลเ์ น้ือเยื่อจะหมดสภาพไป การทหี่ นู ถูกตัดหางเปน็ เรื่องของเซลล์เน้อื เยือ่ ส่วนเซลลส์ บื พันธุม์ ีการควบคมุ การสร้างหาง หนทู เี่ กดิ ใหมจ่ งึ ยังคงมหี าง ความคิดของไวสม์ ันนต์ รงกบั ความร้เู ร่อื งพันธ์ุกรรมสมยั น้ี เขาเรยี กการสืบทอดลกั ษณะนี้ว่า การสืบตอ่ กันไปของ เซลล์ สบื พนั ธ์ุ (THE CONTINUTY OF THE GERM PLASM) 2. ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาตขิ องดารว์ ิน (DARWIN’S THEORY) ดาร์วิน เกดิ เมื่อวันท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ ค.ศ. 1890 ท่ีประเทศอังกฤษ เปน็ บุตร นายโรเบริ ต์ วอรงิ ดารว์ นิ ดาร์วนิ ไดเ้ ร่ิมศึกษาวชิ าธรรมชาติ วทิ ยา ท่มี หาวิทยาลยั เคมบริดจแ์ ละเมื่อจบการศึกษาแล้วได้เดนิ ทางรอบโลกไปกับเรือบีเกิล ของรฐั บาลอังกฤษ โดย ดร.จอห์น เฮนสโลว์ เปน็ ผู้แนะนำ เขาไดน้ ำประสบการณ์จากการศกึ ษาชนิดของพืชและสตั ว์ตา่ ง ๆ ที่พบใน หม่เู กาะกาลาปากอส หมู่เกาะนอ้ี ยู่ในมหาสมทุ รแปซฟิ ิก ดาร์วินได้ท่องเทยี่ วมาเปน็ เวลา 5 ปี ค.ศ. 1859 ดาร์วินไดเ้ สนอ ทฤษฎกี ารเกดิ สง่ิ มชี วี ติ ใหม่ เปน็ ผลอันเน่ืองมาจากการคัดเลือกทางธรรมชาติ ทำใหส้ ามารถเขา้ ใจการกระจายของพชื และสตั ว์ ท่มี ีอยู่ประจำแต่ละท้องถิ่นตามหลกั ซ่ึงภูมิศาสตร์ ดังต่อไปนี้คือ 1. สง่ิ มีชวี ติ ทกุ ชนดิ มีความสามารถสืบพันธสุ์ งู ทำใหป้ ระชากรมีการเพ่มิ แบบทวีคู
2. ความเปน็ จริงในธรรมชาติ ประชากรมิไดเ้ พ่ิมขึ้นเป็นแบบทวีคูณเน่ืองจากอาหารมจี ำนวนจำกดั 3. ส่งิ มีชวี ิตต้องมีการดิ้นรนต่อสเู้ พ่ือความอยู่รอด พวกทม่ี ีความเหมาะสมกจ็ ะมีชีวิตอย่รู อด พวกท่ีไมม่ ี ความเหมาะสมกจ็ ะตายไป 4. พวกทอ่ี ยรู่ อดจะมีโอกาสแพร่พันธ์ต่อไป 5. การเกดิ สปีชสี ใ์ หมเ่ ปน็ ผลมาจากการเปลยี่ นแปลงที่ละเล็กละน้อย ตามทัศนะของดารว์ ิน กลไกของ วิวฒั นาการสภาพแวดลอ้ ม เป็นตวั ทำให้เกิดการคดั เลือกทางธรรมชาติขน้ึ เพ่ือใหไ้ ดล้ ักษณะทเี่ หมาะสมและมี โอกาสสบื พันธ์ตุ ่อไป 3. ทฤษฎกี ารผา่ เหลา่ (THEORY OF MUTATION) ทฤษฎีน้ี ฮิวโก เดอ ฟรสี ์ (HUGO DE VRIES) ซึ่งเป็นนักพฤกษศาสตรช์ าวฮอลนั ดา ตง้ั ข้นึ ใน ค.ศ. 1895 เดอ ฟรีส์ พบพชื ดอกชนดิ หนึ่ง มีลักษณะแปลกกวา่ ตน้ อืน่ ๆ เขาจึงนำเมล็ดของพืชต้นเดิมแบบเก่ามาเพาะ ปรากฏ ว่าได้ตน้ ที่มลี ักษณะแปลกอยู่ตน้ หนึง่ เม่ือนำเมล็ดของต้นที่มลี กั ษณะแปลกมาเพาะ จะไดต้ น้ ท่ีมลี กั ษณะแปลก ทง้ั หมดแสดงวา่ ได้เกิดมกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งกระทนั หนั ในต้นเดมิ เขาจึงตั้งทฤษฎขี องการผ่าเหล่า โดยอาศยั ขอ้ เทจ็ จริงจากการสงั เกต และการทดลองดังกลา่ วนี้ ซึง่ แสดงให้เห็นวา่ พนั ธ์ใุ หม่ ๆ อาจเกดิ โดยกระทนั หนั ได้ 2. หลักฐานที่มาสนบั สนุนวิวัฒนาการ วิวัฒนาการเปน็ กระบวนการท่ีเกิดขน้ึ ช้า ๆ และกินเวลานาน ในการศกึ ษาความเปน็ มาขอ สง่ิ มีชีวิตในอดีต จงึ จำเป็นต้องศึกษาจากหลักฐานต่าง ๆ มาสนบั สนุนเพ่อื ให้ไดแ้ นวความคดิ ที่ถูกต้อง หลกั ฐาน ต่างๆ ทีน่ ำมาอา้ งองิ เพอื่ ใชส้ นับสนนุ แนวความคิด คือ 1. หลักฐานจากซากสง่ิ มีชีวติ เป็นส่ิงทใ่ี ช้อา้ งองิ เร่อื งราวในอดีต หลกั ฐานเหลา่ นี้มีอายุไมน่ ้อยกวา่ หน่ึง หมืน่ ปขี ้นึ ไป ซากของสงิ่ มีชีวติ ท่ดี จี ะต้องได้ครบทกุ สว่ น แต่ส่วนมากท่ีพบจะพบเพียงสว่ นใดสว่ นหนึ่งเทา่ น้ัน เมื่อ พบซากสงิ่ มชี ีวิตแลว้ นักวทิ ยาศาสตร์จะคำนวณอายุของหินหรอื ดนิ บรเิ วณท่ีพบนน้ั ทำใหส้ ามารถทราบอายขุ อง สงิ่ มีชีวติ นัน้ ด้วยจากหลักฐานเหลา่ นที้ ำให้ทราบวา่ 1.1 ซากของพืชและสตั วท์ ่ีพบจดั อยู่ในไฟลมั เดียวกบั พชื และสตั ว์ในปัจจบุ นั แต่มลี ักษณะบางอยา่ งท่ี แตกตา่ งกันออกไป 1.2 ซากของสิ่งมชี ีวติ ท่พี บในหินชนั้ หนึ่ง จะแตกต่างกับซากของส่ิงมีชวี ิตท่ีพบในหนิ อีกชนั้ หน่ึง 1.3 พวกคอร์เดตพบในหนิ ชัน้ ใหมท่ ส่ี ุด 1.4 ถา้ เป็นซากสง่ิ มีชวี ิตทพี่ บในหินมีอายุไมม่ ากนัก จะมีลักษณะใกลเ้ คยี งกบั ส่ิงมชี ีวติ ในปัจจบุ ันมากข้นึ 2. หลกั ฐานทางกายวภิ าคเปรียบเทียบ จากการศกึ ษาโครงสรา้ งของครีบปลา ปีกคา้ งคาว ขาหน้าของม้า และแขนของคน พบวา่ อวัยวะเหล่านม้ี แี บบแผนเหมอื นกันการทอ่ี วยั วะเหลา่ น้ีมแี บบแผนเหมือนกัน มลี กั ษณะ คล้ายกันแสดงวา่ มีตน้ กำเนิดร่วมกัน แลว้ สิง่ มชี ีวิตปรับตัวเองให้เข้ากับส่งิ แวดล้อมแต่ละชนิด 3. หลกั ฐานทางคัพภะวิทยาเปรียบเทียบ ในสตั ว์เกอื บทุกชนิด ยกเวน้ ปลาดาว มีแบบแผนการ เจรญิ เติบโตตั้งแต่ การปฏสิ นธิจนถึงตวั อ่อน มีการเกิดเนอื้ เย่ือ 3 ช้นั คลา้ ยคลึงกัน
4. หลักฐานทางชีวเคมี จากการศกึ ษาทางชีวเคมี พบวา่ ส่วนประกอบภายในเซลล์ของส่งิ มชี ีวติ บางชนิด คล้ายคลึงกนั 5. หลกั ฐานทางพันธุศาสตร์ พันธ์ุใหม่เกิดจากการผา่ เหล่าโดยธรรมชาตหิ รือโดยมนุษย์ ถ้าได้ลักษณะที่ ต้องการมนษุ ย์ก็จะขยายพันธุ์ตอ่ ไป 3. ววิ ัฒนาการของมนษุ ย์ นักชีววิทยา ได้จำแนกมนษุ ย์ไว้ในหมวดหมู่ ดังต่อไปนี้ 1. อาณาจกั ร (KINGDOM) ANIMALIA 2. ไฟลัม (PHYLUM) CHORDATA 3. คลาส (CLASS) MAMMALIA 4. ออเดอร์ (ORDER) PRIMATE 5. แฟมิลี่ (FAMILY) HOMINIDAE 6. จนี สั (GENUS) HOMO 7. สปีชีส์ (SPECIES) SAPIENS (MODERN MAN) เกณฑเ์ ฉพาะในการจดั จาํ แนกสัตว์ 1. พิจารณาจากจาํ นวนชั้นของเนือ้ เยื่อ (germ layer) ซ่ึงแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ คือ 1.1 สตั ว์ที่มเี นือ้ เยื่อ 2 ชน้ั (Diploblastica animals) ซึง่ ประกอบด้วยเนื้อเย่ือช้นั นอก (ectoderm) และเน้ือเยื่อชนั้ ใน (endoderm) ไดแ้ ก่ สัตวพ์ วกซเี ลนเตอเรต สําหรบั พวกฟองนํ้าแมว้ า่ จะไม่มี เน้อื เย่อื ectoderm และ endoderm ทแ่ี ท้จริงแต่เน้ือเยื่อชั้นในก็ประกอบไปดว้ ยเซลล์พเิ ศษ เรยี กวา่ เซลล์ คอลลาร์ (collar cell) และเยื่อชั้นนอกเปน็ เย่อื บุผิวจึงจดั ว่ามเี น้อื เยื่อ 2 ชัน้ ด้วยก็ได้ แต่ก็มีบางทา่ นมีความ เหน็ ว่าไม่ควรถือวา่ มเี น้ือเยือ่ 2 ช้นั ก็มี 1.2 สัตวท์ ่ีมีเนือ้ เยอื่ 3 ชนั้ (Triploblastica animals) ประกอบดว้ ยเน้ือเยื่อชน้ั นอก (ectoderm) ช้ันกลาง (mesoderm) และชั้นใน (endoderm) ได้แก่ สัตว์ตงั้ แตพ่ วกหนอนตวั แบนข้ึนไป จนถึงพวกมี กระดูกสนั หลงั 2. พิจารณาช่องในลาํ ตัว (coelom) 2.1 สตั ว์ทไ่ี ม่มชี อ่ งในลําตัว (Acoelomate animal) จะพบว่าเน้ือเยือ่ ชน้ั กลางประกอบด้วยเซลล์ บรรจอุ ยู่เตม็ ไปหมด ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน (Phylum Platyhelminthes) 2.2 สัตวท์ ี่มีชอ่ งลําตัวแบบเทยี ม (Pscudococlomate animal) ช่องลาํ ตวั แบบนี้เป็นช่องทอ่ี ยู่ ระหวา่ งเนือ้ เยื่อช้ันกลางกับเน้ือเยอ่ื ชั้นในหรือระหว่างเนื้อเย่ือช้นั กลางกับเน้ือเย่ือช้นั นอก ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม (Phylum Nemathelminthes)
2.3 สัตวท์ ่มี ีช่องลาํ ตัวแบบแท้ (Eucoelomate animal) ช่องลําตัวแบบนเี้ กิดจากเนอ้ื เยอ่ื ช้ันกลาง แยกตวั ออกเปน็ ช่อง ได้แก่ พวกไสเ้ ดอื นดนิ , สตั ว์ที่มีขาเป็นข้อ (Arthropods) และสตั ว์ช้ันสูง 3. พิจารณาจากลักษณะการมรี ะบบเลือด (circulatory system) 3.1 สตั วท์ ี่ยงั ไมม่ ีระบบเลือด ได้แก่ พวกฟองน้ํา, ซีเลนเตอเรต, พวกหนอนตวั แบน 3.2 สตั วท์ ี่มรี ะบบเลอื ดแบบวงจรเปดิ (Open circulatory system) ได้แก่ พวกอารโ์ ธรพอด พวกมอลลัสก์ และพวกดาวทะเล 3.3 สัตวท์ ่ีมีระบบเลอื ดแบบวงจรปดิ (Closed circulatory system) ไดแ้ ก่พวกไสเ้ ดือน สัตว์ช้ันสูง 4. พิจารณาจากลักษณะทางเดนิ อาหาร (Type of digestive tract) 4.1 ทางเดนิ อาหารชนิดไม่แท้จริง เปน็ เพยี งช่องแบบร่างแห (Channel network) มีลักษณะ เป็นแต่เพยี งทางผ่านของนา้ํ จากภายนอกเข้าสูภ่ ายในลําตวั เทา่ น้ัน พบในพวกฟองนํ้า ซ่ึงอาจจะกลา่ วว่ายัง ไมม่ ีทางเดนิ อาหารก็ได้ 4.2 ทางเดินอาหารแบบไม่สมบรู ณ์ (incomplete digestive tract) ซึ่งมีลักษณะคลา้ ยถงุ มชี อ่ งเปิด เพยี งชอ่ งเดียวเปน็ ทางเขา้ ของอาหาร และเปน็ ทางออกของกากอาหารไปดว้ ย ท่อทางเดินอาหารแบบน้ี อาจจะเรียกวา่ ช่องกัสโตรวาสควิ ลาร์ (Gastrovascular cavity) ก็ได้ พบในทางเดินอาหารของซีเลนเทอเรตและ พวกหนอนตัวแบน (ยกเวน้ พยาธิตัวตืด) 4.3 ทางเดินอาหารแบบสมบรู ณ์ (complete disgestive tract) เปน็ ทางเดินอาหารท่มี ีลักษณะ เป็นท่อกลาง มีชอ่ งเปิด 2 ทาง โดยชอ่ งหน่งึ ทาํ หน้าท่ีเป็นทางเขา้ ออกของอาหาร และอกี ช่องหนึ่งเป็น ทางออกของกากอาหาร ไดแ้ ก่ ทางเดินอาหารของสตั ว์พวกหนอนตวั กลม, ไสเ้ ดือนดนิ , พวกแมลง 5. พจิ ารณาจากลักษณะของสมมาตร (Symmetry) 5.1 Asymmetry ซ่ึงไดแ้ ก่ สตั ว์จําพวกฟองน้ํ า สตั วพ์ วกนไ้ี ม่มีสมมาตรในระยะเปน็ ตัวเต็มวยั โดยไม่ สามารถตัดในแนวใด ๆ ท่ีจะทาํ ให้ทง้ั 2 ซีก เหมือนกันทุกประการได้เลย 5.2 Radial Symmetry มสี มมาตรแบบรัศมี ซง่ึ หมายถงึ ถา้ ตดั ให้ผา่ นจุดศูนย์กลางแล้วจะ สามารถตัดได้ทุก ๆ แนวรศั มี กจ็ ะได้ 2 ซกี ทเ่ี หมือนกนั เสมอ ได้แก่ พวกฟองนํ้าบางชนดิ , ไฮดรา,แมงกะพรุน 5.3 Bilateral symmetry ลกั ษณะนี้ สมมาตรแบบเหมือนกนั 2 ซีก คอื สามารถผ่าหรือ ตดั แบง่ ครึง่ รา่ งกายตามความยาวของลาํ ตัวแลว้ ทาํ ให้ 2 ข้างเหมือนกันทุกประการได้เพยี งคร้ังเดียวเท่าน้นั ไดแ้ ก่ พวกหนอนตวั แบน, หนอนตัวกลม, ไสเ้ ดือนดนิ , พวกแมลง, พวกหอย และสัตวท์ ่ีมีกระดูกสันหลัง 6. พิจารณาวา่ ลาํ ตวั มกี ารแบง่ เปน็ ปล้องหรือไม่ (Segmentation) ซงึ่ มอี ยู่ 2 ลักษณะ คือ 6.1 ไม่มกี ารแบ่งเป็นปล้องทแ่ี ทจ้ ริง (nonmetameric) กล่าวคอื มีการแบ่งเปน็ ปล้องเฉพาะ ภายนอก เป็นการเกิดปล้องเฉพาะทีส่ ว่ นผวิ ลาํ ตวั เทา่ นน้ั ไม่ได้เกดิ ตลอดตวั เรียกวา่ nonmetameric เช่น พวกพยาธิตวั ตืด, หนอนตวั กลม, เอคไคโนเดิรม์ และพวกมอลลัสก์ 6.2 การแบง่ เปน็ ปลอ้ งอย่างแท้จรงิ (metameric) เปน็ การเกดิ ปล้องข้นึ ตลอดลาํ ตวั ท้ังภายนอก
และภายใน โดยเกดิ ปลอ้ งจากเนื้อเยื่อช้นั กลาง ทาํ ใหเ้ นื้อเยื่อช้นั อืน่ เกิดปลอ้ งตามไปด้วย เช่น พวก ไสเ้ ดือนดนิ กงุ้ ปู แมลง และสัตว์มีกระดูกสนั หลัง 7. พิจารณาจากแกนพยงุ รา่ งกาย โดยพิจารณาว่ามีโนโตคอร์ด (Notochord) ในระยะตวั อ่อน (embryo) หรือไม่ และต่อมามีกระดูกสันหลังเปน็ แกนพยุงรา่ งกายหรือไม่ 8. พิจารณาจากแบบแผนการเจรญิ ของตัวอ่อน (embryo) โดยศกึ ษาว่ามีช่องเหงอื ก (gill slit) หรอื ไม่ในระยะใดระยะหนงึ่ ของชวี ิต 9. พิจารณาจากสารเคมีท่ีสิง่ มีชีวิตสร้างข้นึ โดยเฉพาะโปรตนี ในเชงิ วิวฒั นาการของโปรตนี (Protein evolution) เชน่ สัตวท์ ี่มีความใกลช้ ิดทางพนั ธกุ รรม จะสามารถสร้างโปรตนี ได้คล้าย ๆ กัน
ใบความรู้ คร้ังที่ 16 ใบเรอื่ ง การจัดลำดบั (อาณาจักร ไฟลัม คลาส จนี ัส สปชี ีส)์ อาณาจกั รสัตว์ (Kingdom Animalia) สิง่ มชี ีวติ ในอาณาจักรสตั ว์เปน็ สงิ่ มชี วี ิตหลายเซลล์ทีส่ ร้างอาหารเองไม่ได้ (heterotroph) มีการเคล่ือนทเ่ี ห็นได้ ชดั เจนโดยอาศัย การทำงานของกลา้ มเน้ือและระบบประสาท นักชวี วิทยาเชอ่ื ว่าสตั วม์ วี ิ วฒั นาการมาจากโพรทิสต์ (protis) ซึ่งปัจจุบันพบวา่ มมี ากกว่า 1 ล้านชนิด สามารถจดั จำแนกออกไดป้ ระมาณ 30 ไฟลัม ซ่ึงมเี กณฑ์ในการจำแนกโดยสรุป ดงั น้ี - ดจู ากสมมาตรของร่างกาย (symmenttry) - ดจู ากช้ันเน้อื เยื่อ (germ layer) ในระยะเอมบิโอ - ดูจากแบบแผนการเกิดชอ่ งวา่ งระหว่างผนงั ลำตวั กบั อวยั วะภายใน (coelom) - ดูจากแบบแผนการเจรญิ ของไซโกตจนเปน็ ตวั เต็มวยั - ดคู วามซับซ้อนของการทำงานของการทำงานของอวัยวะในร่างกาย ในระดบั มธั ยมศึกษาจะกล่าวถงึ เฉาะไฟลัมสำคัญเพียง 9 ไฟลมั เทา่ นนั้ คือ 1. ไฟลัมฟอรเิ ฟอรา (Phylum Porifera) ลักษณะสำคญั - มีสมมาตรไม่แน่นอน (asymmentry) - รูปร่างเป็นกอ้ น มรี ูพรนุ ทั่วตัวเปน็ ทางน้ำเข้า (ostium) ส่วนทางน้ำออก (osculum) มีขนาดใหญ่กว่า - ประกอบดว้ ยเซลล์หลายแบบอยู่เป็นกลุม่ ไม่มเี น้ือเยื่อและอวยั วะ มีเซลลป์ ลอกคอ (choanocyte) ทำหน้าทีจ่ ับ อาหาร - มโี ครงสร้างคำ้ จนุ เปน็ หนิ ปูนหรอื ซลิ กิ า เรยี กว่า spicule หรอื เปน็ เสน้ ใยโปรตีน เรยี กว่า spongin fiber - สบื พนั ธโุ์ ดยการแตกหน่อ (budding) หรือสร้างเจมมูล (gemmule) ตัวอยา่ งเชน่ ฟองน้ำ (sponge) พบทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็มแบ่งออกเป็น 4 class คอื 1. Class Calcarea เปน็ ฟองนำ้ ทมี่ ี spicule เป็นสารพวกหนิ ปนู จึงมลี กั ษณะแข็งและเปราะ พบทัว่ ไปตามชายฝ่ัง เชน่ ฟองนำ้ หินปนู 2. Class Hexactinellida เปน็ ฟองน้ำทม่ี ี spicule เป็นพวกสารซาลิกา พบเฉพาะในนำ้ เค็มเท่านัน้ เช่น ฟองน้ำ แก้ว 3. Class Demospongiae เป็นฟองน้ำทม่ี ี spicule เปน็ เสน้ ใยโปรตนี พบมากทส่ี ดุ ถึง 95% ของฟองน้ำท้ังหมด เชน่ ฟองนำ้ ถูตัว ฟองนำ้ นำ้ จืด
4. Class Sclerospongiae เป็นฟองน้ำท่ีมี spicule เป็นทั้งหินปูน ซิลกิ า และเส้นใยโปรตีน พบเกาะอยู่ตาม ปะการงั 2. ไฟลมั ซีเลนเทอราตา (Phylum Coelenterata) - มีสมมาตรแบบรัศ tentacleมี (radal symmetry) - มเี นือ้ เย่อื 2 ชน้ั และมีสารคล้ายวุน้ เรยี กวา่ mesoglea แทรกอยู่ - มรี ูปรา่ ง 2 แบบ คือ polyp เกาะอยู่กบั ท่ีและ medusa วา่ ยนำ้ เป็นอิสระ - มีช่องว่างในลำตัว (gastrovascular cavity) เปน็ ทางเดนิ อาหาร - มเี ซลลไ์ นโดไซต์ (cnidocyte) บน tentacle และลำตัว ซึ่งภายในมีเข็มพิษ (nematocyst) - มีปากและทวารหนกั เปิดออกชอ่ งเดียวกนั - มีระบบประสาทแบบตาขา่ ย - สืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศยั เพศโดยการแตกหน่อ - หรือแบบอาศัยเพศก็ได้ - มีประมาณ 9,000 ชนดิ แบ่งเปน็ 3 Class คือ 1. Class Hydrozoa : - ไฮดรา , แมงกะพรนุ น้ำจดื , โอบิเลีย 2. Class Scyphozoa : - แมงกะพรุนไฟ , แมงกะพรุนจาน 3. Class Anthozoa : - ปะการงั กลั ปังหา ปากกาทะเล ดอกไมท้ ะเล - ไฮดรา (hydra) อยู่ในนำ้ จืด มรี ูปรา่ งแบบ polyp มี tentacle 6 เสน้ รอบปาก เคล่ือนท่คี ล้ายการตลี ังกา มี 2 เพศ ในตวั เดียวกนั จึงสืบพันธุ์ได้ทัง้ แบบอาศยั เพศและแบบไม่อาศัยเพศ - แมงกะพรุน (jelly fish) อยู่ในน้ำเค็มเป็นสว่ นใหญ่ มีวงจรชีวติ แบบสลบั ตวั ออ่ นมีรูปร่างแบบ polyp ตวั เต็มวยั มี รูปร่างแบบ medusa มชี ้ันวนุ้ หนามากช่วยในการลอยตวั มีเข็มพิษทำใหผ้ ิวหนงั ระคายเคอื งได้ มีเพศแยกกนั - ปะการัง (coral) มีรูปรา่ งแบบ polyp อยรู่ วมกนั เป็นกลุ่ม มโี ครงร่างเปน็ หนิ ปูนห่อหุม้ ภายนอก มีรปู ร่างหลาย แบบ เช่น ปะการังเขากวาง ปะการงั สมอง ปะการงั เห็ด เป็นตน้ - กลั ปังหา (sea fan) มีรปู ร่างแบบ polyp อยูร่ วมกนั เป็นกลมุ่ มรี ูปร่างเปน็ แผน่ แบนคล้ายพดั มีโครงร่างภายใน เปน็ สารสเกลอโรโปรตีน (scleroprotein) 3. ไฟลมั แพลตีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes) ลักษณะสำคญั - มสี มมาตรแบบ 2 ซีก (bilateral symnetry) - มีเนอ้ื เย่ือ 3 ชัน้ - ลำตวั แบนตามแนวบน - ลา่ ง (dorsoventrally flattened) - ผวิ ลำตวั อ่อนนมิ่ มซี ิเลยี (cilia) สว่ นพวกปรสิตมี cuticle หนา
- ระบบทางเดนิ อาหารไมส่ มบูรณ์ คอื มีปาก แต่ไมม่ ีทวารหนกั - ระบบขับถ่าย มีเฟลมเซลล์ (flame cell) - มี 2 เพศในตวั เดียวกนั จึงมักสืบพนั ธแุ์ บบอาศัยเพศ - มปี ระมาณ 13,000 ชนดิ แบ่ง 3 class คือ 1. Class Turbellaria : - พลานาเรีย , หนอนหัวขวาน 2. Class Trematoda : - พยาธใิ บไม้ 3. Class Cestoda : - พยาธติ ัวตืด - พลานาเรยี (planaria) ดำรงชีวิตเปน็ อิสระในแหลง่ น้ำจืด ลำตวั นิ่มมีเมือกและซิเลียช่วยในการเคล่ือนท่ี แลกเปลย่ี นกา๊ ซโดยการแพร่ สามารถสืบพันธุโ์ ดยการงอกใหม่ (regeneration) ได้ - พยาธิใบไม้ ดำรงชวี ติ เป็นปรสิต รูปรา่ งคลา้ ยใบไม้ ลำตวั ไมเ่ ป็นปลอ้ ง มี cuticle หนาในระยะตัวออ่ น มักอาศยั อยู่ในหอยน้ำจืด ซ่งึ เป็น intermediate มีหลายชนดิ เชน่ พยาธิใบไม้ในตบั แกะ , พยาธใิ บไมใ้ นปอด , พยาธใิ บไมใ้ นเลือด , พยาธิ ใบไม้ในลำไส้ เปน็ ตน้ - พยาธติ ัวตดื ดำรงชวี ติ เปน็ ปรสติ รปู รา่ งแบนยางคล้ายรบิ บ้นิ ลักษณะเปน็ ปลอ้ งเฉพาะผวิ นอก ผวิ มี cuticle หนา ไมม่ ีระบบทางเดินอาหารและอวัยวะรับความร้สู ึกแต่ละปล้องมีอวัยวะสบื พันธุ์ครบทงั้ 2 เพศ มหี ลายชนดิ 4. ไฟลมั นมี าโตดา (Phylum Nematoda) ลกั ษณะสำคญั - มีสมมาตรแบบ 2 ซีก (bilateral sumentry) - ลำตวั กลมหวั ท้ายแหลมไม่มีระยางค์และข้อปล้อง ผวิ มี cuticle - มีระบบทางเดนิ อาหารสมบูรณ์ - มตี อ่ มเรเนตต์ (rentte gland) นำของเสยี ออกนอกรา่ งกาย - มีเพศแยก ตวั ผ้มู กั มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย ไขม่ ขี นาดเลก็ หมุ้ ดว้ ยสารไคทนิ (chitin) - มปี ระมาณ 12,000 ชนดิ ดำรงชวี ิตเปน็ ปรสิต เชน่ พยาธิไส้เดอื นตวั กลม , พยาธิเสน้ ดา้ ย , พยาธแิ ส้ม้า , พยาธิ ปากขอ , พยาธิตวั จี๊ด นอกจากน้ยี งั พบวา่ บางชนดิ ดำรงชวี ิตเปน็ อิสระ เชน่ ไส้เดอื นฝอย หนอนในนำ้ ส้มสายชู - พยาธิตัวจดี๊ มีกุง้ , ไรนำ้ เป็น intermediate host ลำดบั แรก สว่ น ปลา กบ สัตว์เลื้อยคลานและสัตวป์ กี เปน็ intermediate host ลำดบั ท่ีสอง โดย สุนัข แมว เสือ เป็น host สุดทา้ ย สำหรบั มนษุ ยน์ ั้นเปน็ โฮสตโ์ ดยบงั เอิญ (accidental host) ทำให้อวยั วะท่พี ยาธชิ อนไชเข้าไปเกดิ การอกั เสบได้ 5. ไฟลมั เอเนลิดา (Phylum Annelida) ลกั ษณะสำคัญ - ลำตัวกลมเปน็ ปล้องคลา้ ยวงแหวนตอ่ กันจึงเรยี กวา่ หนอนปลอ้ ง (segmented worm) โดยแตล่ ะปลอ้ งมเี ดือย (setae)
หรือแผน่ ขา (parapodium) ช่วยในการเคล่อื นท่ี - มีช่องลำตัวท่ีแทจ้ ริง (coelomates) - ผวิ หนงั มี cuticle บาง ๆ และมีต่อมสร้างเมือกทำใหช้ มุ่ ช้ืนเสมอ - มรี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ - ระบบขับถ่ายมีเนฟรเิ ดียม (nephridium) ปล้องละ 1 คู่ - ระบบสบื พันธมุ์ ที ้งั แยกเพศและไม่แยกเพศ แต่มีการผสมข้ามตวั กัน เพราะเซลลส์ ืบพนั ธ์ุเจริญไม่พร้อมกัน - มปี ระมาณ 8,700 ชนิด แบ่งเป็น 3 คลาส คอื 1. Class Polychaeta : - แมเ่ พรยี ง 2. Class Oligochaeta : - ไสเ้ ดือนดิน 3. Class Hirudinea : - ปลงิ นำ้ จดื 6. ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda) ลักษณะสำคญั - มีลำตวั ปล้อง แบง่ เป็น หัว อก และท้อง มรี ะยางค์เป็นข้อปลอ้ ง โดยมาก 1 ปลอ้ งมรี ะยางค์ 1 คู่ จงึ เรยี กว่า สัตว์ ขาข้อ - มโี ครงร่างแขง็ ภายนอก (expskeleton) เป็นสารไคทิน (chitin) และมีการลอกคราบ (molting หรอื ecdysis) เป็นระยะ ๆ เพ่อื ขยายขนาด - มีระบบหมุนเวยี นเลือดแบบเปดิ - มีระบบทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ์ - มหี นวด (antenna) และขนรบั ความรูส้ ึก - มเี นอื้ เย่อื 3 ชนั้ และมีสมมาตรแบบ 2 ซกี - มปี ริมาณมากทสี่ ุดในโลก ประมาณ 800,000 - 1,000,000 ชนดิ แบ่งเป็นหลายกลมุ่ ที่ควรรจู้ ัก ได้แก่ 1. Subphylum Trilobitomorpha : - ไทรโลไบต์ (trilobite) ซง่ึ สญู พันธุแ์ ลว้ 2. Subphylum Chelicerata ที่ควรรจู้ ัก ไดแ้ ก่ 2.1 Class Merostomata : - แมงดาทะเล 2.2 Class Arachnida : - แมงมุม , แมงป่อง , เหบ็ , ไร 3. Subphylum Crustacea ทคี่ วรร้จู ัก ได้แก่ 3.1 Class Branchiopoda : - ไรน้ำ , ไรแดง , ไรสีน้ำตาล 3.2 Class Copepoda : - เหาปลา , โคพีพอด (copepod) 3.3 Class Cirripedia : - เพรียงคอห่าน , เพรียงหิน 3.4 Class Malacostraca : - กุ้ง , ต๊ักแตน , ปู , จักจ่ันทะเล , เคอย
4. Subphylum Uniramia ท่คี วรรจู้ กั ได้แก่ 4.1 Class Chilopoda : - ตะขาบ 4.2 Class Symphyla : - ตะขาบฝอย 4.3 Class Diplopoda : - กง้ิ กอื 4.4 Class Insecta : - ผเี สือ้ 7. ไฟลมั มอลลัสกา (Phylum Mollusca) ลักษณะสำคญั - มีลำตัวออ่ นนมุ่ และสั้น ด้านหน้าเป็นหวั ดา้ นล่างเปน็ แผ่นเทา้ ใช้เคล่อื นทีข่ ดุ ฝงั ตัวและว่ายน้ำ ด้านบนคลุมดว้ ย mantle ซ่งึ เปน็ เยื่อทีส่ ร้างเปลือกแข็งพวกหินปนู ห้มุ ตัว - มีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ - มีระบบหมุนเวยี นเลอื ดแบบวงจรเปดิ หัวใจมี 1 - 2 atrium และ 1- 2 ventricle - หายใจโดยการใชเ้ หงอื กหรือปอดและใชเ้ มนทิลหรอื ผวิ หนังช่วยแลกเปลยี่ นกา๊ ซ - ระบบขบั ถ่ายใช้ เนฟริเดียม - ระบบสบื พนั ธุ์สว่ นใหญ่แยกเพศ มีการปฏิสนธทิ งั้ ภายในและภานอก มักออกลูกเปน็ ไข่ - ที่รจู้ กั แลว้ มีประมาณ 100,000 ชนดิ แบง่ เปน็ หลายคลาส ท่สี ำคญั ควรรจู้ ัก ได้แก่ 1. Class gastropoda : - หอยฝาเดยี วท้ังหลาย เช่น หอยโขง่ หอยทาก หอยสังข์ หอยเชอรี่ ทากบก ทากเปลอื ย ฯลฯ 2. Class Polyplacophora : - ลน่ิ ทะเล 3. Class Bivalvia :- หอยสองฝาทั้งหลาย เช่น หอยแครง หอยแมลงภู่ หอยลาย หอยนางรม หอยมือเสือ ฯลฯ 4. Class Scaphopoda : - หอยงาช้าง 5. Class Cephalopoda : - หมึก , หอยงวงช้าง - หอยฝาเดียว มเี ปลอื กแขง็ ชิ้นเดยี วขดเป็นวงคล้ายเจดยี ์ มีแผน่ แข็ง (operculum) ปิดเปิด มีการปฏสิ นธิภายใน - หอยสองฝา มีเปลือกแขง็ 2 ฝา ยึดตดิ กนั โดยเอ็นคลา้ ยบานพับ หวั มีขนาดเล็กมากไม่มีเรดูลา (radula) มีการ ปฏิสนธภิ ายนอก - หมึก มแี ผ่นแบนใส ซ่งึ เป็นสารไคทนิ ภายในลำตัว เรยี กวา่ เพน (pen) และมีครีบช่วยในการเคลอ่ื นที่ มกี ารจับ คูผ่ สมพนั ธุ์ (copulation) มตี าขนาดใหญเ่ จรญิ ดี 8. ไฟลัมเอโคไนเดอมาตา (phylum Echinodermata) ลกั ษณะสำคญั - เปน็ สัตวน์ ำ้ เค็มทง้ั หมด โครงสรา้ งภายในเปน็ หินปูนยึดติดกัน มีผวิ หยาบขรขุ ระหรือมีหนาม - ระยะตัวอ่อนมีสมมาตรแบบคร่ึงซีกระยะเตม็ ตัววยั มีสมมาตรแบบรัศมี เป็น 5 แฉก หรือทวีคณู ของ 5 ไมเ่ ห็นส่วน หัวหรือทา้ ยชัดเจน ปากอยู่ติดพ้นื ทวารหนกั อยตู่ รงกันขา้ ม
- มีระบบหมุนเวยี นเลือดแบบเปิด - มีระบบหมนุ เวียนน้ำในท่อขา (tube feet) ชว่ ยเคลื่อนไหวและจบั อาหาร - ระบบสบื พันธแ์ุ ยกเพศกัน มีการปฏิสนธภิ ายนอก อาจสบื พนั ธุ์โดยการงอกใหม่ (regeneratio) ได้ - มปี ระมาณ 6,000 ชนิด ท่คี วรร้จู ักมหี ลายคลาส ได้แก่ 1. Class Asteroidea :- ดาวทะเล 2. Class Ophiuroidea :- ดาวเปราะ 3. Class Echioidea :- เม่นทะเล , เหรียญทะเล 4. Class Holothuroidea :- ปลงิ ทะเล 5. Class Crinoidea :- ดาวขนนก , พลบั พลึง - ดาวทะเลมรี ปู รา่ งเปน็ 5 แฉก มีท่อขาชว่ ยเคล่ือนที่ มกี ารปฏิสนธภิ ายนอก มกั กนิ ปะการงั ปลา และหอยเป็น อาหาร - ปลิงทะเล มีลำตวั นม่ิ ยาวสดี ำหรอื คล้ำ สร้างเมือกหรือใยเหนยี วสีขาวออกมาเกาะติดศตั รูได้ หายใจโดยใช้ respiratory tree - เม่นทะเล ลำตวั ไม่มีแขนยนื่ ออกไปแต่มหี นามแหลมใชป้ ้องกันตัว มอี วยั วะช่วยฉกั กัดอาหาร เรยี กว่า Aristotle's lantrtern 9. ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata) ลักษณะสำคญั - มโี นโทคอร์ (notochod) ในระยะหน่งึ ของชีวิต โดยมี ไขสนั หลัง เปน็ หลอดยาวกลวงอยดู่ ้านหลัง - มีอวัยวะแลกเปลย่ี นก๊าซท่บี ริเวณคอหอย โดยระยะตัวออ่ นมีช่องเหงือก และอาจเปลยี่ นแปลงไปเม่ือโตเตม็ วัย - มเี นื้อเยือ่ 3 ชน้ั มชี อ่ งวา่ งในลำตวั อยา่ งแทจ้ รงิ - มรี ะบบไหลเวยี นเลอื ดแบบปดิ หรือเปิด - รู้จักแล้วประมาณ 43,000 ชนดิ ที่สำคญั ควรรูจ้ กั ได้แก่ 1. Subphylum Urochordata : มโี นโทคอรด์ ทลี่ ำตัวเลก็ น้อย มักอย่รู วมกนั เป็นกลมุ่ มีสารพวกเซลลโู ลสปกคลมุ ตวั มรี ะบบหมุนเวียนเลอื ดแบบเปิด ไม่แยกเพศ เช่น เพรียงหัวหอม เพรียงสาย เพรยี งลอย 2. Subphylum Cephalochodata : มโี นโทคอรด์ ตลอดชีวติ มลี ำตัวยาว หวั ท้ายแหลม ไมม่ ีสมอง ลำตัวเปน็ ปลอ้ ง มักฝงั ตัวตามพ้นื ทราย เชน่ แอมฟออกซสั (am phioxus) 3. Subphylum Vertebrata : มีโนโทคอรด์ ไมย่ ืน่ ถึงจมูก มกี ระโหลก กระดูกสันหลัง และระยางค์ 2 คู่ เปน็ ส่วน ใหญ่ แบง่ ออกเปน็ 3.1 Supercrclass Pisces : เป็นสตั ว์น้ำหายใจด้วยเหงอื ก มคี รีบในการเคลื่อนไหวและทรงตัว มีหวั ใจ 2 หอ้ ง มี ผิวหนงั หรือเกล็ดคลุมลำตัว มีเส้นขา้ งตัว (ateral line) รับความสัน่ สะเทือน ได้แก่ - Class Cyclostomata :- ปากปลาฉลาม (hagfish และ lamprey)
- Class Chondrichthys : - ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลาฉนาก ปลาโรนัน ฯลฯ) - Class Chondrichthyes :- ปลากระดูกแข็ง เช่น ปลาช่อน ปลาดุก ปลากดั ปลาตะเพียน ปลามปี อด (lung fish) และปลาซีลาแคนท์ (coelacanth) ฯลฯ 3.2 Superclass Tetrapoda : มักเป็นสัตวท์ ่ีมรี ะยางค์ในการเคล่ือนไหว 2 คู่ แตอ่ าจลดรปู ไปก็ได้ หายใจด้วยปอด หัวใจมี 3 - 4 หอ้ ง ไดแ้ ก่ - Class Amphibia : - สัตวค์ รงึ่ บกครงึ่ น้ำ เชน่ กบ เขยี ด ปาด คางคก อึ่งอ่าง จงโคร่ง ซาลามานเดอร์ งูดิน ฯลฯ - Class Reptilia : - สตั ว์เลือ้ ยคลาน เช่น งู เตา่ ตกุ๊ แก ก้ิงก่า จระเข้ จงิ้ เหลน ตะกวด ฯลฯ - Class Aves : - สตั วป์ ีก เชน่ นก ไก่ เปด็ หา่ น ฯลฯ - Class Mammalia : - สตั ว์เลี้ยงลูกดว้ ยนม เช่น มนุษย์ ลิง ตุน่ ปากเปด็ ตัวกนิ มด จงิ โจ้ ค้างคาว พะยนู โลมา แมวน้ำ สิงโตทะเล ฯลฯ ลาํ ดับการจดั หมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ของสิง่ มชี ีวิต จะจดั เป็นลาํ ดบั ขนั้ โดยเร่ิมดว้ ยการจัดเปน็ หมวดหมู่ใหญ่ก่อน แล้วแตล่ ะ หมใู่ หญ่ก็จําแนกออกไปเป็นหมยู่ อ่ ยลงไปเร่ือย ๆ ในแตล่ ําดับขัน้ (taxon) จะมชี ่อื เรียกกํากบั ลาํ ดับขั้นสงู สุดหรือหมู่ ใหญท่ ่สี ดุ ของส่ิงมีชีวติ ลาํ ดับขั้นของหมวดหมูส่ ่งิ มชี ีวติ (taxonomic category) จะเขยี นเรยี งลาํ ดบั จากขนั้ สงู สุด ลดหลัน่ มาขน้ั ตา่ํ ดงั น้ี อาณาจักร (Kingdom) ไฟลมั หรอื ดิวิชนั (Phylum or Division) คลาส (Class) ออร์เดอร์ (Order) แฟมิลี (Family) จนี ัส (Genus) สปิชสี ์ (Species) อาณาจกั รของสิ่งมีชวี ิต วิทเทเคอร์ (Whittaker, 1969) แบ่งสิ่งมชี วี ติ ออกเป็น 5 อาณาจักร โดยแยกเอาเห็ดราออกมาจาก อาณาจักรโพรติสตา โดยยึดวิถกี ารไดร้ ับสารอาหารเป็นเกณฑ์ ดงั น้ี 1. อาณาจักรโมเนอรา (Kingdom Monera) ได้แก่ แบคทเี รีย และสาหร่ายสเี ขียวแกมนํ้าเงิน
2. อาณาจักรโพรติสตา (Kingdom Protista) ไดแ้ ก่ โพรโตซวั และสาหร่ายบางพวก 3. อาณาจักรฟันไจ (Kingdom Fungi) ได้แก่ เห็ดราตา่ ง ๆ ราเมอื ก 4. อาณาจกั รพชื (Kingdom Plantae) ได้แก่ พชื มที ่อลาํ เลยี ง และไม่มที ่อลาํ เลียง สาหรา่ ย 5. อาณาจกั รสัตว์ (Kingdom Animalia) ได้แก่ สตั ว์ชนดิ ตา่ ง ๆ ไวรสั ไวรัส เป็นศัพท์จากภาษาลาตินแปลว่า พิษ ในตำราชีววิทยาเก่าของไทยอาจเรียกว่า วิสา[ต้องการอ้างอิง] อันเป็นการ ทับศัพท์ในยุคแรกจากภาษาสันสกฤตที่แปลว่า พิษ เช่นเดียวกัน ปัจจุบันคำว่า ไวรัส หมายถึงจุลินทรีย์ที่สามารถ ก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents) ทั้งในมนุษย์, สัตว์, พืช และ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ท่ีเป็นสิ่งมีชีวิตมีเซลล์ (cellular life) ทำให้เกิดโรคท่ีส่งผลกระทบกว้างขวาง จึงมีความสำคัญท่ีจะต้องศึกษาท้ังในทางการแพทยแ์ ละทาง เศรษฐกิจ ไวรสั เปน็ ปรสิตอยู่ในร่างของสงิ่ มชี ีวติ อ่นื (obligate intracellular parasite) ไมส่ ามารถเติบโตหรอื แพร่ พนั ธุ์นอกเซลล์อื่นได้ ไวรสั อาจถือได้วา่ เป็นจุลินทรียท์ ี่มีลกั ษณะของการเป็นส่งิ มีชีวิตเพียงประการเดียวคือสามารถ แพร่พันธ์ุ หรือการถ่ายทอดสารพันธุกรรมของตนเองจากร่นุ หน่ึงไปยังอีกร่นุ หนึ่ง อย่างไรก็ตามไวรสั ไม่ใช่จุลินทรีย์ ที่มีขนาดเล็กท่ีสุด ยังมีจุลินทรีย์ท่ีมีขนาดเล็กกว่าไวรัสคือ ไวรอยด์ (viroid) และ พริออน (prion) ไวรัสชนิดแรกที่ ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่าง(TMV หรือ Tobacco Mosaic Virus) ซึ่งค้นพบโดยมาร์ตินัส ไบเยอรินิค ใน ค.ศ. 1899 [1] ในปัจจุบันมีไวรสั กว่า 5,000 ชนิดที่ได้รบั การบันทึกไว้ [2] วชิ าท่ีศึกษาไวรัสเรียกว่าวิทยาไวรัส (virology) อนั เปน็ สาขาหนึ่งของจลุ ชวี วิทยา (microbiology) คณุ สมบตั ทิ ่สี ำคัญ คณุ สมบัตทิ ีส่ ำคัญของไวรสั มีดังน้ี 1. ไวรสั มีกรดนิวคลอี กิ เพียงชนิดเดียวเป็น DNA หรือ RNA (ยกเว้นบางชนดิ ) 2. ไวรัสมีขนาดเล็กมาก (20-300 nanometer) จนสามารถหลุดรอดผ่านเคร่ืองกรองที่ใช้กรองแบคทีเรียได้ ในสมัยก่อนเรียกไวรัสวา่ เป็น filterable agents การดูรปู ร่างของไวรัสต้องใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน จะใช้กล้องจลุ ทรรศน์ธรรมดาไมไ่ ด้ 3. ไวรัสมีการเพ่ิมจำนวนเฉพาะในเซลล์ของสิ่งท่ีมีชีวิตเท่านั้นจึงจัดไวรัสเป็น obligate intracellular parasite และ กลไกของไวรัสในการเพิ่มจำนวนที่เรียกวา่ replication ก็แตกต่างจากการเพมิ่ จำนวนของ
จุลินทรีย์ชนิดอื่นอย่างชัดเจน ท้ังน้ีเพราะไวรัสมีโครงสร้างและส่วนประกอบแบบง่ายๆ ไม่มีเมตาโบลิซึม และ organell ต่างๆเช่นไรโบโซมหรือไมโตคอนเดรีย ของตัวเอง จำเป็นต้องอาศัยการทำงานจากเซลล์ โฮสต์ทัง้ ส้ิน 4. ไวรัสไม่ถูกทำลายโดยยาปฏิชีวนะท่ีใช้รักษาโรคติดเช้ือแบคทีเรีย แต่มีสารอินเตอร์เฟียรอน (Interferon, IFN) และยาหรือสารเคมที ยี่ บั ย้ังการเพิ่มจำนวนของไวรสั ได้ 5. การติดเช้ือไวรัสสามารถทำใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ บนเซลล์โฮสต์ เช่น ทำให้เซลลต์ าย, มีการรวมตัว ของเซลล์, หรือทำใหเ้ ซลล์เกดิ การเปล่ียนแปลงคณุ สมบตั ิ (transformation) กลายเปน็ เซลล์มะเร็งได้ โครงสรา้ งของไวรสั โครงสรา้ งของไวรสั ใบยาสบู ด่าง ซ่ึงอาร์เอ็นเอของไวรัสขดอยใู่ นเฮลิกซเ์ กิดจากหนว่ ยยอ่ ยของโปรตีนซำ้ ๆ กัน ไวรัสจัดเป็นจุลินทรยี ์ท่มี ีโครงสรา้ งแบบง่ายๆไม่ซับซ้อน ไวรัสที่มสี ่วนประกอบครบสมบูรณ์เรียกว่าวริ อิ อน (virion) ซึ่งจะประกอบด้วยแกนกลาง (core) ของกรดนิวคลิอิกซึ่งเป็น RNA หรือ DNA และมีโปรตีนหุ้มล้อมรอบเพื่อ ป้องกันกรดนิวคลิอิก โปรตีนท่ีหุ้มน้ีเรียกว่าแคพซิด (capsid) ซ่ึงประกอบด้วยหน่วยย่อยเรียกว่าแคพโซเมอร์ (capsomer) กรดนิวคลิอกิ และโปรตีนทีห่ ุม้ น้ีเรยี กวา่ นิวคลีโอแคพซดิ (nucleocapsid) ในไวรัสบางชนิดจะมีชั้นไขมันหุ้มล้อมรอบนิวคลีโอแคพซิด (nucleocapsid) อีกชั้นหน่ึงเรียกไวรัสพวกนี้ว่า enveloped virus ไวรัสบางชนิดมีเฉพาะนิวคลีโอแคพซิดเท่าน้ันเรียกว่าไวรัสเปลือย (non-enveloped virus หรอื naked virus)
ไวรสั ทีม่ ี envelope บางชนิดมีปมุ่ ย่ืนออกมาจากชัน้ envelope เรียกว่า spike หรือ peplomer ซง่ึ มีความสำคัญ ในการใช้เกาะกับ receptor บนผิวเซลล์และบางชนิดเป็นตัวกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันที่ดี spikeของไวรัสอาจมี คุณ สมบัติเป็นสารบางอย่างเช่น เป็นฮีแมกกลูตินิน (hemagglutinin) หรือเป็นเอนไซม์นิวรามินิเดส (neuraminidase) โดยทั่วไป naked virus มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีกว่า enveloped virus และจะไม่ถูกทำลายด้วย สารละลายไขมนั เช่น ether, alcohol หรอื bile คุณสมบตั ทิ างชีววทิ ยา คณุ สมบตั สิ ำคัญทางชวี วิทยาของไวรัส คอื 1. ไวรัสไม่จดั วา่ เปน็ \"เซลล\"์ เน่ืองจากไม่มเี ย่ือห้มุ เซลล์ อันเป็นพนื้ ฐานทที่ ุกเซลลต์ อ้ งมี 2. ไวรัสมีกรดนิวคลีอิค ซ่ึงการสลับการเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์ คือ รหัสพันธุกรรมอยู่ในสภาพของยีน ที่ ควบคมุ ลักษณะทางกรรมพันธุ์ 3. ไวรัสเพ่ิมจำนวนได้ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น อาหารท่ีใช้เพาะเลี้ยงแบคทีเรีย ใช้เพาะเล้ียงไวรัสไม่ได้ นอกจากจะเพาะเลย้ี งในเซลลข์ องส่ิงมีชีวิต 4. รหัสพันธุกรรมของไวรัสเม่ือผันแปร ไวรัสก็ผันแปรด้วยไวรัสที่ผันแปรแตกต่างไปจากไวรัสปกติอาจ ตรวจสอบได้โดยเลีย้ งกบั เซลล์ตา่ ง ๆ และเปรยี บเทยี บไวรัสดตู รวจสอบคณุ สมบัตติ า่ ง ๆเช่น 1. คุณสมบตั ิทางฟสิ ิกส์ของไวรัส เช่น ความทนของไวรสั ต่อรังสี ความทนของไวรัสตอ่ อณุ หภูมิระดับ ตา่ ง ๆ: 2. คุณสมบตั ทิ างเคมีของไวรสั เช่นความทนของไวรสั ต่อสารเคมี 3. คณุ สมบัติทางชีววิทยาของไวรสั เช่น ความสามารถในการสงั เคราะห์ไวรัสความสามารถของไวรัส ในการทำลายเซลล์รุนแรงมากน้อยเพียงใด ความสามารถในการสังเคราะห์เอ็นไซม์ สังเคราะห์ แอนติเจน ท่ีเฉพาะของไวรัส ยนี ที่ควบคุมชนิดของเซลล์ท่ีไวรัสจะเจริญ ยีนท่ีทำให้เกิดการสลาย เซลล์ที่ผันแปรจากเซลล์ปกติ::โดยเปรียบเทียบความสามารถของไวรัสที่จะแพร่พันธ์ุ โดย ตรวจสอบดูคุณสมบัติทางฟิสิกส์ ทางเคมีและทางชีววิทยาของไวรัสตามแบบดังกล่าวข้างต้น: ความรู้เร่ืองไวรัสกับเซลล์นั้น ส่วนใหญ่จะได้จากการศึกษาไวรัสแบคทีเรีย กับแบคทีเรียชนิด อี. โคไล (E. coli) การที่มกี ารศกึ ษาไวรสั แบคทเี รียกบั แบคทเี รยี อ.ี โคไล มาก เพราะ แบคทีเรยี ชนิดน้เี ป็นแบคทเี รียทีเ่ ราทราบคุณสมบตั ทิ างชีววทิ ยาอย่างดี
การเพ่ิมจำนวนของไวรัส ไวรัสทั่วไปตามธรรมชาติจำเป็นต้องเขา้ ไปเจรญิ และทวีแพร่พันธ์ุในเซลล์ของสงิ่ มีชวี ิตเท่าน้นั โดยยีนของไวรัสและ ยีนของเซลล์ที่เพาะเลี้ยงไวรัสต้องมีกลไกสอดคล้องต้องกัน ไวรัสจะสามารถเจริญแพร่พันธุ์ไวรัสใหม่ได้หรือไม่ ขนึ้ อยู่กับชนดิ ของเซลล์และชนิดของไวรสั ดังน้ัน แต่ละชนิดของไวรสั จึงทำให้เกิดโรคเฉพาะมนุษย์ สัตว์ แมลง พืช สาหร่ายสีนำ้ เงนิ รา หรอื บัคเตรตี า่ ง ๆ กัน ไวรัสไขห้ วัดใหญ่ เมื่อฉดี เพาะเลย้ี งลงในถงุ น้ำคร่ำลูกไก่ ไวรสั ไขห้ วัดใหญ่จะทวีจำนวนได้มากมาย แต่ถา้ ฉีดเล้ียงบน เย่ือคอริโออลันตอยส์ของลูกไก่ จะไม่เกิดการสังเคราะห์ไวรัสไข้หวัดใหญ่เลย แสดงว่าสภาพแตกตา่ งกนั โดยรปู ร่าง และหน้าท่ี (differentiation) * ของเซลล์ถุงน้ำคร่ำกับเซลล์เยื่อคอริโออลันตอยส์ อำนวยให้มีความสามารถในการ สงั เคราะหไ์ วรัสได้ต่างกัน ขั้นตอนการเพม่ิ จำนวนไวรัส ไวรัสหูดของโชพ เมื่อฉีดเข้าผิวหนังกระต่ายบ้าน จะเกิดเป็นหูดที่ผิวหนัง ภายในเซลล์ที่เป็นหูดจะมีการสร้างสาร ของไวรัสหูดของโชพ แต่จะไม่สร้างไวรัสหูดท่ีสมบูรณ์เลย แต่ถา้ ทดลองกับกระต่ายป่าหางปุยฝ้าย จะว่าสร้างไวรัส ทหี่ ูดทส่ี มบรู ณไ์ ด้มากมายในการทวแี พร่พนั ธุข์ องไวรัสนัน้ ไวรสั จะสังเคราะห์ไวรัสทส่ี มบูรณ์ได้โดย 1. เขา้ ไปอยภู่ ายในเซลลข์ องส่งิ มชี ีวิต เพราะไวรสั ไม่มเี อนไซม์ ต้องอาศัยเอนไซม์ของเซลล์ 2. สงั เคราะหส์ ร้างกรดนิวคลอี คิ เพ่ิมขนึ้ 3. สงั เคราะหโ์ ปรตีนทีห่ ่อหุม้ กรดนิวคลีอิคของไวรัส
4. สังเคราะหอ์ ินทรยี สาร ท่กี ำหนดโดยแตล่ ะยนี ของไวรสั เฉพาะ สำหรับไวรัสที่ทำให้เกิดโรคพืชสาหรา่ ยสนี ้ำเงนิ รา บคั เตรี ไวรสั จะต้องผ่านผนังเซลล์ก่อนท่จี ะผ่านเยื่อห้มุ เซลล์เข้า ไปข้างใน โปรตีนที่พอกห่อหุ้มกรดนิวคลอี ิคของไวรัสจะทำปฏิกิริยากับผนังเซลล์ (อาจจะเป็นไลโพโพลิแซกคาไรด์ หรือ โพลิแซกคาไรด์) กระตุ้นกลไกให้กรตดนิวคลีอิคของไวรัส หรือไวรัสเปลือยอย่างเดียวผ่านผนังเซลล์พืชมัก ไม่ได้ ทำให้ทราบวา่ โปรตีนท่หี ่อหุ้มกรดนวิ คลีอคิ ของไวรสั มคี วามสำคญั ในการช่วยใหไ้ วรัสเข้าไปเจริญแพร่พันธ์ใุ น เซลล์ได้ อย่างไรก็ดี ในระยะหลังน้ีได้พบว่ากรดนิวคลีอิคของไวรัส หรือไวรัสเปลือยของโรคไวรัสใบยาสูบด่าง ก็ สามารถผ่านผนังเซลล์ใบยาสูบ และสังเคราะห์ไวรัสใบยาสูบด่างท่ีสมบูรณ์ได้ด้วยกลไกพิเศษ สภาวะดังกล่าวน้ี ปจั จบุ ันเรยี กวา่ \"ทรานสเฟคชนั \" (transfection) สำหรับไวรัสท่ีทำให้เกิดโรคในคนและสัตว์ ไวรัสที่มีเยื่อหุ้มมักเข้าไปในเซลล์ท้ังอนุภาคไวรสั เย่ือมักค้างติดอยู่ที่ผิว เซลล์ โปรตีนท่ีหุ้มห่อกรดนิวคลีอิคของไวรัสจะถูกย่อยสลายภายในเซลล์ ทำให้กรดนิวคลีอิคของไวรัสหรือไวรัส เปลือยอยู่ภายในเซลล์ เมือ่ กรดนวิ คลีอิคของไวรัสเปลอื ยเขา้ ไปในเซลลแ์ ล้ว ไวรัสเปลอื ยอาจจะ 1. เปล่ียนสภาพเปน็ โปรไวรสั แฝงตัวรว่ มกับกรดนิวคลอี ิคของเซลล์ในลักษณะของชีพเภทนะ 2. ไวรัสเปลือยหากเป็นอิสระ หรือโปรไวรัสหากเปล่ยี นสภาพเปน็ ไวรัสเปลอื ย ย่อมทวีจำนวนแพร่พันธ์ุ สังเคราะห์ ไวรัสทีส่ มบูรณใ์ นลกั ษณะวงชพี เภทะ 3. โปรไวรัสท่ีผันแปร หรือไวรัสท่ีผันแปร หากทวีจำนวนแพร่พันธุ์ย่อมสังเคราะห์ไวรัสไม่สมบูรณ์ อาจจะอยู่ท้ังใน ลักษณะเซลลส์ ลายหรอื ไม่สลายก็ได้ ไวรัสตามธรรมชาติจำเป็นจะต้องเข้าไปเจริญและทวีแพร่พันธุ์ในเซลล์ของส่ิงท่ีมีชีวิตเท่านั้น ไวรัสจะสามารถเจริญ และทวีแพร่พันธ์ุในเซลล์ของส่ิงที่มีชีวิตเท่านั้น ไวรัสจะสามารถเจริญและทวีแพร่พันธ์ุในเซลล์ชนิดใดนั้น แล้วแต่ ชนิดไวรสั ในการเจริญทวแี พรพ่ นั ธุข์ องไวรัสมขี ้ันตอนดังน้ี 1. ไวรัสจะต้องเขา้ ไปภายในเซลลข์ องสง่ิ ทมี่ ีชีวิต 2. ไวรสั จะต้องสรา้ งกรดนวิ คลีอิคขึน้ ใหม่ในเซลลข์ องสิง่ ทีม่ ีชวี ิตน้นั ได้ (replicating nucleic acid)
3. ไวรัสจะต้องสร้างโปรตีนหุ้ม (coat protein) ห่อหุ้มกระนิวคลีอิคเพ่ือให้เกิดไวรัสที่สมบูรณ์ ส่วนท่ีเป็นกรดนิว คลีอคิ เท่าน้ันจะทวีจำนวนมากมายในเซลล์กรดนิวคลีอิคของไวรัสบางชนดิ อาจจะเป็น ดเี อ็นเอ สายเดยี ว (+) บาง ชนิดอาจจะเป็น ดีเอ็นเอ สองสาย (+ และ -) บางชนิดอาจจะเป็น อาร์เอ็นเอ สายเดียว (+) บางชนิดอาจจะเป็น อารเ์ อ็นเอ สองสาย (+ และ -) รปู แบบการทวจี ำนวนกรดนวิ คลอี คิ มีท้งั หมด 3 แบบคอื • ดเี อ็นเอ สร้าง ดีเอ็นเอ ซึง่ ยีนของไวรัสเป็น ดเี อ็นเอ เชน่ ไวรัสฝีดาษหรอื ไข้ทรพิษ ถ้าเปน็ ดีเอ็นเอ สองสาย (+ และ - ) เฉพาะ ดีเอ็นเอ สาย (+) จะสร้าง ดีเอ็นเอ สาย (-) ส่วน ดีเอ็นเอ สาย (-) ส่วน ดีเอ็นเอ สาย (+) ทำให้ ดเี อน็ เอ สองสาย ทง้ั ค่ใู หมแ่ ละคเู่ กา่ เหมอื นกนั ทุกประการ ถ้าเป็น ดีเอ็นเอ สายเดียว (+) ก็จะสร้าง ดีเอ็นเอ สาย (-) ก่อน ดีเอ็นเอ สาย (-) ก็จะเป็นแม่พิมพ์ในการสร้าง ดี เอน็ เอ สาย (+) ตอ่ มาเฉพาะ ดีเอน็ เอ สาย (-) เท่านนั้ จะสลายเหลอื แต่ ดีเอ็นเอ สาย (+) อยา่ งเดียว • อาร์เอน็ เอ สร้าง อารเ์ อน็ เอ ซ่ึงยีนของไวรสั เป็น อารเ์ อ็นเอ เชน่ ไวรสั โปลิโอ ไวรัสบคั เตรี f2 ถ้าเป็น อาร์เอ็นเอ สองสาย (+และ-) อาร์เอ็นเอ (+) ก็จะสร้าง อาร์เอ็นเอ สาย (-) ส่วน อาร์เอ็นเอสาย (-) ก็จะ สรา้ งอารเ์ อ็นเอสาย (+) ถา้ เปน็ อารเ์ อ็นเอ สายเดียว (+) ก็จะสรา้ ง อารเ์ อ็นเอสาย (-) กอ่ น อารเ์ อน็ เอสาย (-) ก็จะ เปลี่ยนเป็นแม่พิมพ์ ในการสร้าง อาร์เอ็นเอสาย (+) ต่อมา เฉพาะ อาร์เอ็นเอสาย (-) เท่านั้นที่สลายไปเหลือแต่ อารเ์ อ็นเอ สาย (+) แตอ่ ยา่ งเดยี ว • อาร์เอ็นเอ สร้าง ดีเอ็นเอ ก่อน แล้วจึงสร้าง อาร์เอ็นเอ ซ่ึงยีนของไวรัสเป็น อาร์เอ็นเอ ถอดออกมาใน ลักษณะ ดีเอ็นเอ ของไวรสั เพอ่ื แฝงร่วมกบั ดเี อน็ เอ ของเซลล์ เชน่ ไวรัส รูส์ซาโคมา เฉพาะในไวรสั อาร์เอ็นเอที่เกีย่ วขอ้ งกับมะเรง็ * ซ่ึงเป็น อาร์เอ็นเอชนิดสายเดียว (+) อารเ์ อ็นเอสาย (+) จะสรา้ ง ดี เอน็ เอ ของไวรัสในลักษณะ ดเี อน็ เอ ในสภาพโปรไวรัสนจ้ี ะเปน็ แมพ่ มิ พใ์ นการสร้าง อาร์เอ็นเอสาย (+) รปู ร่างของไวรสั ที่เป็นสาเหตขุ องโรคพชื
ไวรัสท่ีเป็นสาเหตุของโรคพืชแต่ละชนิดย่อมจะมีรูปร่างของอนุภาคตลอดจนขนาดที่แตกต่างกัน พอจะจัดแบ่ ง ประเภทรปู ร่างของไวรสั โรคพืชได้ดังต่อไปนี้ 1. ไวรสั ท่มี ีรูปร่างเป็นท่อนตรง (Stiff rod) ไวรสั แบบน้ีมักมคี วามกวา้ งของอนุภาคไมเ่ กิน 25 nm. และความ ยาว 130-300 nm. 2. ไวรสั ท่ีมีรูปรา่ งเป็นแท่งคด (Flexuous or filamentous particle) อนุภาคไวรัสแบบน้มี ักมีความกวา้ งไม่ เกนิ 13 nm.และมีความยาวต้ังแต่ 480-2,000 nm 3. ไวรัสที่มีรูปหลายเหล่ียม (Icosahedron) แต่เดิมการศึกษาไวรัสด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอน กำลังขยายต่ำทำให้เข้าใจกันว่า เป็นอนุภาคแบบทรงกลม แต่ปัจจุบันพบว่าไวรัสที่มีรูปทรงกลมที่จริงเป็น รูปหลายเหล่ียมที่มีด้าน 20 หน้า ประกอบขึ้นเป็นรูปทรงหลายเหล่ียม แต่ละหน้าจะมีโปรตีนหน่วยย่อย (Protein subunit) เรียงกันอย่างสม่ำเสมอ มีโพรงแกนกลางของกรดนิวคลีอิค อนุภาคของไวรัสจำพวกน้ี มีขนาดอนภุ าค 20-80 nm. 4. ไวรัสท่ีมรี ูปรา่ งแบบกระสุนปนื (Bullet-shape) อนุภาคที่มีรูปรา่ งแบบนี้จะเปน็ แทง่ ตรง หวั ทา้ ยมน ไมต่ ัด ตรงแบบทอ่ นตรง (Stiff rod) มกั จะมคี วามกว้างไมน่ อ้ ยกวา่ 1/3ของความยาวไวรสั ไวรอยด์ จากวกิ พิ ีเดีย สารานุกรมเสรี ไปท:่ี ปา้ ยบอกทาง, ค้นหา ไวรอยด์ (อังกฤษ: Viroid) เป็นเชือ้ สาเหตโุ รคพชื (plant pathogen) ท่มี ีขนาดเลก็ ทส่ี ุดเท่าทม่ี ีรายงาน สมยั ก่อน ถกู จดั จำแนกไวร้ วมกบั ไวรสั (virus) แต่ปจั จุบนั ถูกจดั จำแนกมาเป็นกล่มุ ของตวั เองเนื่องจากความแตกต่างทาง โครงสรา้ งและระดับอาร์เอน็ เอ[1][2] องคป์ ระกอบ เชือ้ ไวรอยด์มีองคป์ ระกอบเป็นเส้นอารเ์ อ็นเอสายเดยี่ วทีเ่ ป็นวงปดิ มขี นาดต้งั แต่ 296 - 463 นวิ คลีโอไทด์ (nucleotide) และไมม่ โี คดโปรตีนห่อหุ้มสารพันธุกรรมเหมือนกบั ไวรสั และท่ีสำคญั สายอารเ์ อ็นเอของไวรอยด์ไม่ สามารถถอดระหสั เปน็ โปรตีนได้เหมือนกับส่ิงมีชีวิตอน่ื ๆ โดยปกตแิ ล้ววงอารเ์ อ็นเอจะอยใู่ นลกั ษณะที่เป็น โครงสร้างทตุ ิยภมู คิ ือไมไ่ ดเ้ ป็นวงกลม ๆ เหมอื นกับหนงั สต๊ิกแต่จะเกิดการจบั กนั ระหวา่ งเบสท่อี ยตู่ รวขา้ มกันด้วย พนั ธะไฮโดรเจ
ไวรอยด์ ไวรอยด์สามารถก่อให้เกิดโรคในพืชได้เช่นเดียวกับไวรัส ไวรอยด์เป็นเพียงแค่สาย RNA ส้ัน ๆ ท่ีมีความยาว ประมาณ 300 - 400 ลำดับเบส โดยไม่มีกลุ่มโปรตีนล้อมรอบเลย RNA ที่เป็นไวรอยด์ปกติจบั คู่ภายในโมเลกุล ทำ ใหโ้ มเลกุลอยใู่ นลักษณะปิดและซ้อนทับกันเปน็ โครงสรา้ งสามมติ ิ ซึ่งทำใหน้ กั ชวี วิทยา เข้าใจว่า ไวรอยด์คงจะใช้โครงสร้างสามมิติน้ีในการปกป้องไม่ให้ตัวเองถูกทำลายด้วยเอนไซม์ต่าง ๆ ที่อยู่ในเซลล์ เจ้าบ้าน RNA ของไวรอยด์ ไม่มีรหัสสำหรับโปรตีนใด ๆ ท้ังสิ้น จึงสรุปว่าไวรอยด์เป็นเช้ือโรคต่อพืชเท่านั้น ในแต่ ละปีความสูญเสยี ทางเศรษฐกิจจากพวกไวรอยด์ท่ที ำลายมันฝร่ังมีมูลค่าโดยรวมสูงมาก ทำให้นักชีววทิ ยามีบทบาท อยา่ งมากในการรว่ มแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ ที่เกิดจากการบกุ รุกทำลายมนั ฝร่ังของพวกไวรอยด์ การวิจัยในปัจจุบันเกี่ยวกับไวรอยด์พยายามที่จะแสดงให้เห็นความคล้ายคลึงระหว่างลำดับเบสของไวรอยด์ กับ ลำดับเบสของอินทรอน ( introns ) \" อินทรอน คือลำดับเบสที่ได้มาจากสารพันธุกรรมแต่ไม่มีรหัสในการสร้างโพ ลเี ปปโตด์ \" การศึกษาไวรัสในมุมมองนี้เพ่ือให้เข้าใจถึงสมมติฐานว่า ไวรอยด์มีวิวัฒนาการมาจากอินทรอน ในอนาคตนัก ชีววิทยาจะใช้องค์ความรูเ้ ก่ียวกับไวรอยดท์ ีไ่ ด้จากการศึกษาในพืชไปใช้ในการค้นหาวา่ มีไวรอยด์ท่เี ฉพาะเจาะจงต่อ สัตว์หรือไม่ นักชีววิทยาเชื่อว่ากลไกในการทำลายเซลล์พืชของไวรอยด์ คือการขัดขวางไม่ให้โครโมโซมของพืช รวมตวั กนั ทำให้สารพนั ธึกรรมของพืชไมส่ ามารถมพี ฤติกรรมปฏิบตั ิหน้าทีไ่ ด้ตามปกติ ผลสุดท้ายกค็ ือเซลล์พชื ตาย สมมติฐานเกยี่ วกับกลไกนไ้ี ดม้ าจากพฤติกรรมของอนิ ทรอนทว่ั ไป คณุ สมบตั ิที่สำคัญของไวรัสมดี ังน้ี 6. ไวรัสมีกรดนิวคลอี กิ เพียงชนดิ เดยี วเป็น DNA หรือ RNA (ยกเว้นบางชนิด) 7. ไวรัสมีขนาดเล็กมาก (20-300 nanometer) จนสามารถหลุดรอดผ่านเครื่องกรองท่ีใช้กรองแบคทีเรียได้ ในสมัยก่อนเรียกไวรัสวา่ เป็น filterable agents การดูรปู ร่างของไวรัสต้องใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน จะใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ธรรมดาไมไ่ ด้ 8. ไวรัสมีการเพ่ิมจำนวนเฉพาะในเซลล์ของส่ิงที่มีชีวิตเท่าน้ันจึงจัดไวรัสเป็น obligate intracellular parasite และ กลไกของไวรัสในการเพ่ิมจำนวนที่เรียกว่า replication ก็แตกต่างจากการเพ่มิ จำนวนของ จุลินทรีย์ชนิดอ่ืนอย่างชัดเจน ทั้งนี้เพราะไวรัสมีโครงสร้างและส่วนประกอบแบบง่ายๆ ไม่มีเมตาโบลิซึม
และ organell ต่างๆเช่นไรโบโซมหรือไมโตคอนเดรีย ของตัวเอง จำเป็นต้องอาศัยการทำงานจากเซลล์ โฮสต์ทง้ั สิน้ 9. ไวรัสไม่ถูกทำลายโดยยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาโรคติดเช้ือแบคทีเรีย แต่มีสารอินเตอร์เฟียรอน (Interferon, IFN) และยาหรอื สารเคมีท่ยี ับยั้งการเพ่มิ จำนวนของไวรัสได้ 10. การติดเช้ือไวรสั สามารถทำใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงต่างๆ บนเซลล์โฮสต์ เชน่ ทำใหเ้ ซลลต์ าย, มกี ารรวมตัว ของเซลล์, หรอื ทำให้เซลลเ์ กิดการเปล่ยี นแปลงคุณสมบัติ (transformation) กลายเป็นเซลล์มะเร็งได้ คณุ สมบัติสำคัญทางชวี วิทยาของไวรสั คอื 5. ไวรัสไมจ่ ัดว่าเปน็ \"เซลล\"์ เน่ืองจากไม่มเี ย่อื หุ้มเซลล์ อนั เป็นพ้นื ฐานทท่ี ุกเซลลต์ ้องมี 6. ไวรัสมีกรดนิวคลีอิค ซึ่งการสลับการเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์ คือ รหัสพันธุกรรมอยู่ในสภาพของยีน ที่ ควบคมุ ลักษณะทางกรรมพนั ธุ์ 7. ไวรัสเพ่ิมจำนวนได้ในเซลล์ของส่ิงมีชีวิตเท่านั้น อาหารที่ใช้เพาะเลี้ยงแบคทีเรีย ใช้เพาะเลี้ยงไวรัสไม่ได้ นอกจากจะเพาะเลีย้ งในเซลลข์ องสิง่ มชี ีวติ 8. รหัสพันธุกรรมของไวรัสเม่ือผันแปร ไวรัสก็ผันแปรด้วยไวรัสท่ีผันแปรแตกต่างไปจากไวรัสปกติอาจ ตรวจสอบได้โดยเล้ยี งกบั เซลลต์ ่าง ๆ และเปรียบเทียบไวรสั ดตู รวจสอบคุณสมบัติตา่ ง ๆเชน่ 1. คุณสมบตั ิทางฟิสกิ สข์ องไวรัส เช่น ความทนของไวรัสต่อรงั สี ความทนของไวรัสต่ออณุ หภมู ิระดับ ต่าง ๆ: 2. คุณสมบตั ทิ างเคมขี องไวรสั เช่นความทนของไวรัสต่อสารเคมี 3. คุณสมบัติทางชีววิทยาของไวรัส เช่น ความสามารถในการสงั เคราะห์ไวรสั ความสามารถของไวรัส ในการทำลายเซลล์รุนแรงมากน้อยเพียงใด ความสามารถในการสังเคราะห์เอ็นไซม์ สังเคราะห์ แอนติเจน ที่เฉพาะของไวรัส ยนี ที่ควบคุมชนิดของเซลล์ท่ีไวรัสจะเจริญ ยีนที่ทำให้เกิดการสลาย เซลล์ท่ีผันแปรจากเซลล์ปกติ::โดยเปรียบเทียบความสามารถของไวรัสที่จะแพร่พันธุ์ โดย ตรวจสอบดูคุณสมบัติทางฟิสิกส์ ทางเคมีและทางชีววิทยาของไวรัสตามแบบดังกล่าวข้างต้น: ความรู้เรื่องไวรัสกับเซลล์นั้น ส่วนใหญ่จะได้จากการศึกษาไวรัสแบคทีเรีย กับแบคทีเรียชนิด อี. โคไล (E. coli) การท่ีมีการศึกษาไวรสั แบคทีเรียกบั แบคทเี รีย อ.ี โคไล มาก เพราะแบคทีเรียชนิด น้ีเป็นแบคทเี รยี ทีเ่ ราทราบคณุ สมบัติทางชวี วิทยาอยา่ งดี ไวรอยด์
ไวรอยด์ (อังกฤษ: Viroid) เป็นเชอื้ สาเหตโุ รคพืช (plant pathogen) ทีม่ ีขนาดเล็กทส่ี ดุ เทา่ ทมี่ ีรายงาน สมัยก่อน ถูกจัดจำแนกไวร้ วมกบั ไวรัส (virus) แตป่ ัจจุบนั ถูกจัดจำแนกมาเป็นกลุม่ ของตัวเองเนื่องจากความแตกต่างทาง โครงสรา้ งและระดบั อารเ์ อน็ เอ องค์ประกอบ เชอ้ื ไวรอยด์มอี งคป์ ระกอบเป็นเสน้ อารเ์ อ็นเอสายเดี่ยวท่ีเป็นวงปดิ มขี นาดต้งั แต่ 296 - 463 นิวคลโี อไทด์ (nucleotide) และไมม่ ีโคดโปรตีนห่อหมุ้ สารพันธุกรรมเหมือนกบั ไวรสั และทีส่ ำคญั สายอาร์เอ็นเอของไวรอยด์ไม่ สามารถถอดระหสั เป็นโปรตนี ไดเ้ หมือนกบั สิง่ มีชีวิตอนื่ ๆ โดยปกติแล้ววงอาร์เอ็นเอจะอยู่ในลักษณะทเ่ี ปน็ โครงสรา้ งทตุ ิยภูมคิ ือไมไ่ ดเ้ ป็นวงกลม ๆ เหมอื นกบั หนงั สติ๊กแต่จะเกดิ การจับกนั ระหวา่ งเบสทอ่ี ยู่ตรวข้ามกนั ดว้ ย พันธะไฮโดรเจน แบบทดสอบ ครัง้ ท่ี 16 เรอื่ งอาณาจกั รสงิ่ มชี วี ิต คำชี้แจง ให้ผเู้ รียนเลอื กคำตอบท่ถี กู ที่สดุ เพียงขอ้ เดียวแล้วทำเคร่ืองหมาย x ลงใน กระดาษคำตอบ 1. . อาณาจักรของสงิ่ มีชีวิตแบง่ ไดเ้ ป็นก่อี าณาจักร ก. 2 อาณาจกั ร ข. 3 อาณาจกั ร ค. 4 อาณาจกั ร ง. 5 อาณาจักร 2. เหด็ เปน็ สิง่ มีชีวติ ทจี่ ัดอยู่ในอาณาจักรใด ก. อาณาจกั รโมเนอรา (kingdom Monera) ข. อาณาจักรโพรทสิ ตา (kingdom Protista) ค. อาณาจักรฟังไจ (kingdom Fungi) ง. อาณาจักรพชื (kingdom Plantae) 3. ปะการังเปน็ สิง่ มชี ีวิตท่จี ัดอยใู่ นไฟลัมใดต่อไปนี้ ก. phylum Platyhelminthes ข. phylum Coelenterata
ค. phylum Mollusca ง. phylum Annelida 4.ปนู ำ้ จืดและปูนำ้ เค็ม เปน็ สงิ่ มชี ีวิตทจ่ี ดั อย่ใู นไฟลัมใดดังต่อไปนี้ ก. phylum Echinodermata ข. phylum Chaetognatha ค. phylum Arthropoda ง. phylum Mollusca 5. . ความสมั พันธ์ของสง่ิ มชี ีวิตในระบบนเิ วศน์ท่มี ีการกินต่อกันเป็นทอดๆ ตามลำดับ เรียกความสมั พันธน์ ้วี ่าอะไร ก. หว่ งโซ่อาหาร ข. สายใยอาหาร ค. หว่ งโซ่ความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่ิงมีชีวิต ง. สายใยความสัมพนั ธ์ระหว่างสง่ิ มชี วี ติ 6. นักวทิ ยาศาสตร์ทา่ นใดทไี่ ด้ชือ่ วา่ บดิ าแหง่ วชิ าอนุกรมวธิ าน ก. คาโรลสั ลนิ เนยี ส ข. จอหน์ เรย์ ค. ดาวินชี ง. โรเบิรต์ ฮุค 7. “. แบคทีเรียจดั เป็นสิ่งมชี ีวติ ในอาณาจักรใด ก. อาณาจักรโมเนอรา ข. อาณาจักรโพรติสตา ค. อาณาจักรฟังใจ ง. อาณาจกั รพชื 8.มนุษย์มีช่ือทางวิทยาศาสตร์ (Scientifiname) ว่า Homo sapiens คำว่า Homo เป็นชอ่ื ของอะไร ก. จีนสั ข. ไฟลัม ค. คลาส ง. คิงดอม 9. นกั วทิ ยาศาสตรค์ นแรกทน่ี ำคำว่า “สปชี ี” มาใช้ในชวี วทิ ยาคือใคร ก. ดาวนิ ชี
ข. จอหน์ เรย์ ค. อารสิ โตเติล ง. โรเบริ ต์ ฮุค 10. ผู้สุนัข ววั แมว จดั อยู่ในสงิ่ มชี วี ิตคลาสใดต่อไปนี้ ก. class vermes ข. class pisecst ค. class aves ง. class mamalia เฉลย 1.ง. 5 อาณาจักร 2. ค. อาณาจักรฟงั ไจ (kingdom Fungi 3. ข. phylum Coelenterata 4.ค. phylum Arthropoda 5.ก. ห่วงโซอ่ าหาร 6.ก. คาโรลสั ลินเนียส 7. ก. อาณาจักรโมเนอรา 8. ก. จนี สั 9. ข. จอหน์ เรย์ 10. ง. class mamalia
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 17 เรือ่ ง ข่าวและ ขา่ วปลอม (Fake News) เวลาเรียน 6 ช่วั โมง แนวคิด ในปัจจบุ นั พฤตกิ รรมการบรโิ ภคข่าวสารของผ้อู ่านไดเ้ ปลยี่ นไปอยา่ งมาก เนอื่ งจากสือ่ และเทคโนโลยี ได้ พัฒนาอย่างรวดเรว็ มีการบริโภคขา่ วสารผ่านทางส่อื สงั คมออนไลน์ เชน่ เฟซบุ๊ก ทวติ เตอร์ หรือ ไลน์ มากขึ้น และ ในสือ่ โซเชียลผ้ใู ชง้ านอินเทอร์เนต็ ทั่วไปยังสามารถแสดงบทบาทเปน็ ผนู้ ำเสนอข่าว เองได้ โดยมีผ้อู า่ นจำนวนไม่ น้อยให้ความสนใจและคอยติดตาม เนื่องจากนำเสนอข่าวที่รวดเร็ว แปลกใหม่ หวอื หวาและเรา้ อารมณ์ ถึงแม้ว่า ความรวดเร็วในการรายงานข่าวทางออนไลน์จะชว่ ยทำให้ผู้อ่านรับข้อมูลข่าวสารอย่าง ทันทว่ งที แตป่ ัญหาที่ เกิดขึ้นคือข่าวออนไลนบ์ างสว่ นไม่ไดร้ บั การกลัน่ กรองคุณภาพและความถูกต้อง เน่อื งจากเป็นส่ือทเี่ ปิดกวา้ ง และ ไม่ไดถ้ กู จำกดั ว่าเป็นข่าวนำเสนอจากสื่อมวลชนกระแสหลักแต่เพียง อย่างเดยี วอีกต่อไป นอกจากน้ี ขา่ วท่ีนำเสนอ ผา่ นทางหนา้ นิวส์ฟีดของโซเชียลมีเดียยงั สามารถ ถกู สง่ ต่อหรือแบ่งปันให้ผู้อนื่ อ่านตอ่ ได้ในวงกว้าง ซ่งึ ส่งผลทำให้ เกดิ การแพรก่ ระจายของข่าวสาร อย่างรวดเร็วและสร้างอิทธิพลต่อความคิดของคนในสังคมเปน็ อย่างมาก ดว้ ยเหตุ น้จี งึ เปน็ การเปิด โอกาสใหผ้ ูไ้ มห่ วงั ดีสร้างข่าวปลอมเขา้ มาปะปนกับข่าวอ่ืนๆ บนโลกออนไลน์ จนทำให้ผอู้ า่ น หลงเช่ือ ขา่ วปลอม ข่าวลือ หรือ ข่าวบดิ เบอื นเพราะไม่รู้เท่าทันสอื่ เหลา่ นี้ ตัวช้ีวดั 1. บอกความหมาย ความสำคัญ คุณลกั ษณะ องค์ประกอบ และ ประเภทของขา่ วได้ 2. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของข่าว 3. บอกความหมาย ลกั ษณะและ ประเภทของข่าวปลอม (Fake News) ได้ 4. อธิบายกระบวนการเกิดขา่ ว ปลอม (Fake News) ในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ 5. สามารถเปรยี บเทียบความ แตกต่างระหว่าง ขา่ วจริงกบั ขา่ วปลอม (Fake News) ได้ 6. บอกผลกระทบของ ข่าวปลอม (Fake News) 7. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบ ท่ีเกิดขึน้ จากข่าวปลอม (Fake News) ทีเ่ กิดขึ้น ในปัจจุบัน 8. สามารถวิเคราะห์ขา่ ว ทเี่ กิดขน้ึ ได้ว่าเป็นข่าวจรงิ หรอื ข่าว ปลอม (Fake News) เนื้อหา 1. ความรู้เบ้อื งต้นเกยี่ วกับข่าว 1.1 ความหมาย ความสำคญั ของขา่ ว 1.2 คุณลกั ษณะของข่าว 1.3 องค์ประกอบของข่าว 1.4 ประเภทของขา่ ว
2. ขา่ วปลอม (Fake News) 2.1 ความหมายของขา่ วปลอม (Fake News) 2.2 ลักษณะของขา่ วปลอม (Fake News) 2.3 ประเภทของขา่ วปลอม (Fake News) 3. กระบวนการเกิดข่าวปลอม (Fake News 4. ความแตกตา่ งระหว่างข่าวจรงิ และข่าว ปลอม (Fake News) 4.1 ลกั ษณะข่าวจรงิ และ ข่าวปลอม (Fake News) 4.2 วธิ สี ังเกตข่าวจรงิ และ ข่าวปลอม (Fake News) ในโลกออนไลน์ 5. ผลกระทบของข่าวปลอม (Fake News) 6. การตรวจสอบก่อนการแชร์ ขนั้ ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้ ขัน้ ตอนที่ 1 การสร้างแรงบนั ดาล (Passion : P) 1. ครทู ักทายผ้เู รียน พร้อมทง้ั แนะนำตนเอง และแผนการจัดการเรยี นรู้ ซง่ึ การจดั การเรยี นร้ทู ผ่ี ู้เรียนจะต้อง เรยี นร้รู ่วมกนั ในครงั้ นี้ คือ เร่ือง “ขา่ วและ ข่าวปลอม (Fake News)” และชวนคดิ ชวนคยุ เกยี่ วกบั เรื่องทีจ่ ะเรียนรู้ เพ่ือกระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดความสนใจและมีความกระตือรือร้นในการเชื่อมโยงและสรา้ งความพร้อมท่จี ะเรยี นรู้หรือทำ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้ ครัง้ น้ี 2. ครชู แี้ จงวัตถุประสงค์ เน้อื หา กิจกรรม การวดั และประเมินผลของการเรียนรู้ในคร้งั น้ี ท่ีสอดคล้องกบั ตวั ช้ีวัดตามแผนการจัดการเรียนร้คู รง้ั นี้ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนเขา้ ใจอยา่ งชัดเจนวา่ ผู้เรียนจะต้องเรียนรูใ้ ห้บรรลตุ วั ชวี้ ดั ท่ี กำหนดตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 10 นาที 4. ครูใหผ้ ู้เรยี นศึกษา ใบความรู้ นอกจากน้ี ในการพบกลมุ่ แต่ละครั้งน้นั ครจู ะมอบหมายงานใหผ้ ูเ้ รยี นไปเรยี นรู้ด้วยวธิ กี ารเรียนรดู้ ้วย ตนเอง ซึ่งวธิ ีการเรียนรู้ดว้ ยตนเองจะตอ้ งเกิดขึ้นในทุก ๆ ตวั ชี้วดั และเนื้อหาท่ีกำหนดโดยผเู้ รยี นจะต้องปฏิบตั ิ กิจกรรมท่ีกำหนดให้ด้วยวิธเี รียนรู้ออนไลน์ และศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียน ดงั นนั้ ครูจะตอ้ งเชอ่ื มโยง รายละเอยี ดดังกลา่ วขา้ งตน้ ใหผ้ ูเ้ รียนได้เกิดความเขา้ ใจและเกิดแรงบันดาลใจในการเรียนรทู้ ีจ่ ะเกดิ ข้ึน เพราะ การ มอบหมายงานให้ผเู้ รียนไปเรียนรูด้ ว้ ยวธิ ีเรยี นรู้ดว้ ยตนเองนนั้ ผเู้ รยี นจะตอ้ งเรียนรู้ออนไลน์ผา่ นอินเทอรเ์ น็ต และ ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน 5. ครูชวนคดิ ชวนคุยเกยี่ วกบั ประสบการณ์เดมิ ของครูในเร่ืองที่จะเรียนรู้ตามแผนการจดั การเรียนรู้นี้ โดยครู สุ่มผู้เรยี นตามความสมัครใจ จำนวน 4-5 คน ให้ยกตัวอยา่ งข่าวทเ่ี ปน็ ปัจจุบนั ขัน้ ตอนท่ี 2 การนำไปใช้ประโยชน์ (Utilization : U)
1. ครูให้ผเู้ รียนแลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยแบง่ ผู้เรยี นออกเปน็ กลุ่ม ๆ กลุ่มละ 3-4 คน ดำเนินกจิ กรรมตามใบงาน เปน็ รายกลมุ่ ศกึ ษาเนื้อหาในอินเตอรเ์ น็ต เรื่องข่าว และขา่ วปลอม พรอ้ มใหย้ กตัวอยา่ ง ระหว่างข่าวจริงและขา่ ว ปลอม 2. ครูแนะนำแหล่งเรียนรูใ้ ห้กับผเู้ รียนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง อาทิ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หน่วยงาน สถานศึกษาต่าง ๆ รวมท้ังการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรยี นรู้ด้วยตนเอง เปน็ ตน้ 3. ครดู ำเนนิ การทำหนา้ ท่นี ำการอภิปราย โดยให้ผู้เรียนกลุม่ ใหญ่รว่ มกันแสดงความคดิ เห็น คิดวิเคราะห์ อภิปราย และวิเคราะห์ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในเนื้อหาหรือประเด็นท่ียังไม่ชัดเจนตามรายละเอียดท่ีผู้เรียนได้ แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน หากผู้เรียนกลุ่มใหญ่หรือครูเห็นว่ายังไม่สมบูรณ์ มีความตอ้ งการในการเรยี นรู้เพ่ิมเตมิ ครูจะชว่ ยเติมเต็มความรูใ้ หก้ ับผเู้ รียน หลงั จากนั้นครูและผู้เรียนสรปุ ส่งิ ที่ได้เรยี นรู้ในภาพรวมท้ังหมดแล้วใหผ้ เู้ รียน สรปุ สิง่ ท่ีได้เรียนร้ลู งในสมุดบันทึกการเรียนรู้ของตน หมายเหตุ : ในการดำเนนิ กิจกรรมกลมุ่ ครชู ีแ้ จงบทบาทหนา้ ทใี่ นการทำงานให้ผ้เู รียนได้มีความรับผดิ ชอบร่วมกันในการ ทำงาน ซ่ึงมอบหมายให้ผู้เรียนดำเนินการแต่งตั้งประธานหรือผู้นำในการอภิปรายแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และการ มอบหมายให้มีผ้รู บั ผดิ ชอบในภารกจิ ตา่ ง ๆ รวมถึงการแตง่ ตงั้ เลขานกุ ารของกลมุ่ เป็นผจู้ ดบนั ทกึ และผ้รู ักษาเวลา เพือ่ ปฏบิ ัติงานของกลมุ่ ใหญ่ใหบ้ รรลุตามวตั ถุประสงคท์ ี่ตงั้ ไว้ และพจิ ารณาวา่ สมาชิกลุ่มทุกคนควรมีความเขา้ ใจ ตรงกันวา่ ตนมบี ทบาทหนา้ ท่ีทจ่ี ะต้องชว่ ยให้กล่มุ ทำงานได้สำเรจ็ ครคู วรใหค้ ำแนะนำถงึ ความสำคญั ของการให้ สมาชิกทกุ คนในกลุ่มมสี ่วนรว่ มในการอภิปรายอยา่ งทว่ั ถึง ไม่ใหม้ ีการผูกขาดการอภิปรายโดยผใู้ ดผหู้ นึง่ และควรมี การจำกัดเวลาของการอภปิ รายแตล่ ะประเดน็ ในระหว่างการทำกิจกรรมของผู้เรียน ครมู บี ทบาทในการสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผ้เู รยี นคอยกระตุ้น ผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ โดยบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนร้ขู องผู้เรียน และ เคร่อื งมอื ประเมินการสงั เกตแบบประมาณค่า 4. ครูเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นทงั้ กลุม่ ร่วมกนั สนทนา เพื่อใหผ้ ู้เรียนมีทกั ษะในการฟัง พูด คิดวเิ คราะห์ การ ทำงานรว่ มกับผู้อืน่ การคิดสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ และการนำความรูใ้ นเนื้อหามาใช้โดยครบู ูรณาการเน้ือหา การเรียนรู้ มีการใช้ส่ือเทคโนโลยที เี่ ปน็ คลิปวิดีโอจาก youtube ทส่ี มั พันธก์ ับเนื้อหา ท้ังน้ีครูเชอื่ มโยงส่งิ ที่ได้เรยี นรู้ ตามขัน้ ตอนที่ 1 ในการนำความรไู้ ปสกู่ ารปฏิบตั ิและประยุกต์ใช้ หลงั จากนั้น ครูดำเนนิ การ ดงั นี้ (1) ครูบรรยายเน้ือหาตามใบความรู้ เพ่ือใชส้ ำหรับประกอบกิจกรรมการเรยี นรู้ (2) ครเู ปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้แลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยใหผ้ ู้เรียนตั้งประเดน็ ข้อสงสัยหรือส่ิงท่ีต้องการเรยี นรู้ ในกระบวนการของการสาธติ และเช่ือมโยงสกู่ ารนำไปใชใ้ นชีวติ จริงของผูเ้ รยี นต่อไป 5. ครแู ละผเู้ รยี นอภิปรายและสรุปผลการเรยี นรรู้ ว่ มกนั
ข้นั ตอนที่ 3 การสะทอ้ นความคดิ จากการเรยี นรู้ (Reflection : R) 1. แบง่ ผูเ้ รียนออกเปน็ กล่มุ ๆ ละ 3-4 คน ใหผ้ ู้เรยี นแต่ละกลมุ่ ลงมือปฏิบตั ิจริง โดยผู้เรยี นแต่ละกลุ่ม วางแผนและดำเนินการ 2. ใหผ้ เู้ รยี นแต่ละกล่มุ ปฏิบตั ิกิจกรรมตามใบงาน 3. ให้ผู้เรียนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอผลการทำกิจกรรมกลุ่ม 4. ครูให้ผู้เรียนสะท้อนความคิดในการเรียนรู้ที่ได้จากการเรียนรู้และการปฏิบัติการ 5. ครแู ละผู้เรยี นอภิปรายและสรปุ ผลการเรียนรู้รว่ มกนั ขั้นตอนที่ 4 การการตดิ ตามประเมินและแก้ไข (Action : A) 1. ครแู ละผู้เรยี นอภปิ รายและสรปุ ผลการเรียนรู้ 3. ให้ผ้เู รยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น จำนวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 10 นาที 4. ครแู ละผู้เรยี นสรปุ ภาพรวมส่ิงทไ่ี ด้เรยี นร้รู ว่ มกนั นอกจากนี้ ในตอนทา้ ยของการพบกลมุ่ หลังจากเสร็จสิ้นขัน้ ตอนท่ี 3 ครูมอบหมายงานให้ผเู้ รยี น เรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง สื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ใบความรู้สำหรับผูเ้ รียน 3. .ใบงาน การวัดและประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วม ความตง้ั ใจ และความสนใจของผเู้ รยี น 2. ผลการทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น 3. ผลการออกแบบและสร้างสรรค์นวัตกรรมและส่งิ ทตี่ ้องการพัฒนา/ชนิ้ งาน/ผลงาน 4. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผูเ้ รียน
บนั ทกึ ผลหลังการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผลการใช้แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. จำนวนเนอื้ หากบั จำนวนเวลา เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 2. การเรยี งลำดับเนือ้ หากบั ความเข้าใจของผเู้ รยี น เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. 3. การนำเขา้ สูบ่ ทเรียนกับเนือ้ หาแตล่ ะหัวขอ้ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ระบเุ หตผุ ล…………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 4. วิธีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้กับเน้ือหาในแตล่ ะขอ้ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบุเหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 5. การประเมินผลกับตวั ชวี้ ดั ในแตล่ ะเนอ้ื หา
เหมาะสม ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ผลการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………… ผลการจัดกระบวนการเรียนรขู้ องครู ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………. ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………................. ......................................................
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่อื ง ข่าว และ ข่าวปลอม คำช้แี จง แบบทดสอบก่อนเรียนแบบปรนยั มจี ำนวนท้ังหมด 10 ขอ้ คำส่งั จงทำเครื่องหมายกากบาท (X) หนา้ ข้อท่ีถูกต้องทส่ี ุด เพียงข้อเดยี ว ข้อ 1. ขอ้ ใดคือความหมายของข่าว ก. เหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ขึ้นสดๆใหม่ๆ ข. เร่อื งราวอะไรอย่างหนง่ึ ที่ประชาชนพูดถงึ ค. รายงานขอ้ เท็จจริงหรือเหตุการณ์ตา่ งๆท่เี กิดข้ึน ง. ถกู ทุกข้อ ข้อ 2. ขอ้ ใดไม่ใช่คุณลกั ษณะของข่าว (Qualification of News) ก. ความน่าสนใจ ข. ผูอ้ า่ นหรือผรู้ ับข่าวสาร ค. เรอ่ื งราวที่ถูกสร้างขน้ึ ง. เหตกุ ารณ์หรือข้อเทจ็ จริง ขอ้ 3. ขอ้ ใดหมายถึง เหตกุ ารณ์ หรือข้อเทจ็ จริง ก. สถาณการณ์ท่ีเกดิ ขน้ึ จริง ข. เร่ืองราวท่ีเปน็ มาหรือเป็นอยู่ตามความเปน็ จรงิ ค. ขอ้ ความท่แี สดงเรื่องราวเหตกุ ารณ์ ปรากฏการณ์ ข้อมูล และสิ่งต่าง ๆ ทีเ่ ปน็ จรงิ ตามธรรมชาติ ง. ถูกทุกข้อ ข้อ 4. ข้อใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของขา่ ว (Elements of News) ก. ความงมงาย ข. ความเปลยี่ นแปลง ค. ความมีเง่ือนงำ ง. ความขดั แย้ง ข้อ 5. สิง่ ทเี่ ปน็ หัวใจสำคัญของการนำเสนอข่าวคือข้อใด ก. ความเด่น ข. ความสดต่อสมัย ค. ความประหลาดใจ ง. ความเปลย่ี นแปลง ขอ้ 6. เหตุการณ์ท่ีเกิดข้นึ จากการคน้ คว้าทดลองทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นองค์ประกอบของขา่ วดา้ นใด
ก. ความมีเง่ือนงำ (Suspense/Mystery) ข. ความเปล่ียนแปลง (Change) ค. ความก้าวหนา้ (Progress) ง. ความสดต่อสมัย (Timeliness) ขอ้ 7. ข้อใดคือความหมายขา่ วปลอม(Fake News) ก. เรื่องราวอะไรอย่างหนงึ่ ท่ปี ระชาชนพดู ข. เหตกุ ารณ์ตา่ งๆทเ่ี กิดข้นึ สดๆใหมๆ่ ค. ขา่ วที่มเี นื้อหาอันไม่เป็นขอ้ เท็จจรงิ ง. ถูกทุกข้อ ข้อ 8. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลักษณะของข่าวปลอม ก. ข่าวสดใหม่ ข. โฆษณาชวนเชือ่ ค. ขา่ วลอ้ เลยี นและเสยี ดสี ง. ขา่ วหลอกลวง ข้อ 9. การไดร้ ับขา่ วปลอมทำให้เกดิ ผลกระทบด้านใด ก. ผลกระทบดา้ นการเงินและสุขภาพ ข. ผลกระทบดา้ นอารมณค์ วามรู้สกึ ค. ผลกระทบดา้ นความรุนแรง ง. ทุกข้อท่ีกลา่ วมา ขอ้ 10. ข้อใดคอื สงิ่ แรกท่ีควรคำนงึ ถงึ ในการแชร์ข่าว ก. สอบถามหน่วยงานหรือสำนกั ขา่ วทีน่ ่าเชอ่ื ถือ ข. ดูความน่าเช่ือถอื ของเน้ือหาและการอ้างอิง ค. ต้งั ขอ้ สงั เกตเบื้องตน้ ง. ตรวจสอบชื่อขา่ วหรอื เนื้อความในขา่ ว
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น เรือ่ ง ขา่ ว และ ข่าวปลอม 1. ง. ถกู ทุกข้อ 2. ค. เรอ่ื งราวที่ถูกสรา้ งขน้ึ 3. ง. ถูกทุกข้อ 4. ก. ความงมงาย 5. ข. ความสดตอ่ สมยั 6. ค. ความก้าวหน้า (Progress) 7. ค. ขา่ วทีม่ ีเน้ือหาอันไมเ่ ป็นข้อเท็จจริง 8 ก. ขา่ วสดใหม่ 9. ง. ทกุ ข้อที่กลา่ วมา 10. ข. ดูความน่าเชื่อถือของเน้อื หาและการอ้างอิง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336