7. กลุ่มของสตั ว์ที่ต้องการลอกคราบคือกลุ่มใด ก. หนอน Worm ข. แอเนลดิ Annelid ค. ซีเลนเทอเรต Coelenterate ง. อารโ์ ทรพอด Arthropo 8. ราในดวิ ิชัน่ Division เรียกได้ว่าราถงุ Sac fungi ก. Division Zygomycota ข. Division Ascomycota ค. Division Basidiomycota ง. DivisionDeuteromycota 9. เฟิน Fern เป็นดิวิช่นั Division ใดในอาณาจักรพืช ก. Division Bryophyta ข. Division Pterophyta ค. Division Cycadophyta ง. Divisionconiferophyta 10. ไฟลมั ซีเลนเทอเรตา Phylum Coelenterata มลี ักษณะอยา่ งไร ก. มสี มมาตรแบบรัศมี ข. มเี นอื้ เยือ่ 2ชั้น ค. ทางเดินอาหารเปน็ แบบถุงไม่สมบูรณ์ ง. ถูกทุกข้อ เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 6.ข 7. ง 8.ข 9.ข 10. ข 1. ค 2. ก 3. ค 4. ง 5. ค
ใบความรู้สำหรับผู้เรียน เรอื่ ง อาณาจกั รสง่ิ มีชวี ิต กลุ่มที่เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีง่ายที่สุด ลักษณะเด่นก็คือ เซลล์ของมันจะไม่มีนิวเคลียส หรือใจกลางของเซลล์ เชน่ แบคทเี รีย สาหรา่ ยสีเขยี วแกมน้ำเงินที่ข้นึ ในน้ำเป็นต้น กลุ่มท่ีสอง คือ สิ่งมีชีวิตประเภทเซลล์เดียวเช่นตัวอมีบา และสาหร่ายเล็กๆ สิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้ จะมีการ ดำรงชีวิตได้เหมือนสัตว์ คือต้องหาอาหาร หรือบางชนิดยังดำรงชีวิตแบบพืช คือ ใช้แสงอาทิตย์ในการ สรา้ งอาหาร เพอ่ื เปน็ พลงั งานใหต้ ัวมนั เอง กลุ่มท่ีสาม คือ ส่ิงมีชีวิตจำพวกเห็ดและรา ซ่ึงดำรงชีวิตโดยการดูดซึมสารเคม ีท่ีปล่อยออกมาจากซาก พชื และสัตวท์ ี่เน่าเป่อื ย กลุ่มท่ีสี่ คือ พืช ซงึ่ มีลักษณะเด่นคือ การจับแสงอาทติ ย์มาช่วยในการสร้างอาหาร หรือท่ีเราเรียกว่าการ สังเคราะห์แสง พลังงานแสงอาทิตย์ จะถกู ใช้ในการเช่ือมสารเล็กๆ ท่ีมีอยูใ่ นพืช ให้เป็นอาหารทม่ี ีโมเลกุลท่ีใหญ่ขึ้น เช่น คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน นอกจากน้ีพืชยังแบ่งเป็นชนิดต่างๆ ได้มากมายตั้งแต่สาหร่ายทะเล มอส เฟิร์น ดอกไม้ และตน้ ไมค้ ะ่ กลมุ่ ทห่ี า้ คือ สิ่งมีชวี ติ ประเภทสัตว์ ทด่ี ำรงชีวติ โดยการย่อยสลายส่ิงมีชีวติ ประเภทอนื่ ๆ ใหเ้ ป็นชน้ิ เล็กๆ เพ่ือที่จะทำให้เป็นพลังงานเพ่ือร่างกายต่อไป ซึ่งพลังงานดังกล่าวก็คืออาหารนั่นเอง แมลง ปลา นกและสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนมทุกชนิดจัดอย่ใู นกลุ่มท่เี ป็นสตั ว์ท้งั สน้ิ คะ่ ปัจจุบันมีสิ่งมีชีวิตท่ีได้รับการจำแนกชนิดประมาณ 2 ล้านชนิด โดยจำแนกออกเป็นอาณาจักร (Kingdom) ตา่ ง ๆ กนั ถึงการจำแนกชนิดของส่ิงมชี ีวิตนั้นอาศัยลักษณะสำคัญทเี่ ป็นลกั ษณะเฉพาะของสิง่ มีชีวติ แต่ ละกลมุ่ โดยการแบ่งตามลำดบั ชนั้ จากกลุ่มใหญ่ที่สดุ ลงไปถึงชนดิ ดังนี้ - อาณาจกั ร (Kingdom) - ไฟลัม (Phylum) ของสัตว์ หรือ ดิวชิ ัน (Division) ของพชื - ชัน้ (Class) - อันดับ (Order) - วงศ์ (Family) - สกลุ (Genus) - ชนดิ (Species)
การจำแนกอาณาจกั รสง่ิ มชี ีวิต ออกเป็น 5 อาณาจักรดังนี้ 1. อาณาจกั รมอเนอรา (Kingdom Monera) 2. อาณาจกั รเห็ดรา (Kingdom Fungi) 3. อาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) 4. อาณาจักรพชื (Kingdom Plantae) 5. อาณาจกั รสัตว์ (Kingdom Animalia) 1. อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) มอเนอราเปน็ ส่ิงมชี ีวติ จำพวกเซลลเ์ ดียวที่ไมม่ ีนิวเคลียส หรอื ไมม่ เี ยอื่ หมุ้ นิวเคลียส เรียกสิ่งมีชวี ิตพวกน้ีรวมๆ ว่า โพรแคริโอต (Prokaryote) ได้แก่ แบคทีเรีย และสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน หรือไซอาโนแบคทีเรีย (cyanobacteria) 2. อาณาจักรเห็ดรา (Kingdom Fungi) เห็ดราเป็นส่ิงชีวิตท่ีเซลล์มีนิวเคลียสหรือมีเย่ือหุ้มนิวเคลียสเรียกว่า ยูแคริโอต (eukaryote) อาจเป็น สิ่งมีชีวิตที่เซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์ สังเคราะห์อาหารเองไม่ได้ กินอาหารโดยสร้างน้ำย่อยแล้ว ปลอ่ ยออกมายอ่ ยสารอินทรีย์จนเปน็ โมเลกลุ เลก็ และดดู เข้าเซลล์ (saprophyte) ได้แก่ เหด็ และราชนดิ ต่าง ๆ 3. อาณาจกั รโพรทสิ ตา (Kingdom Protista) โพรทิสตาเป็นส่ิงมีชีวิตท่ีมีเซลล์ชนิดยูแคริโอต มีท้ังชนิดเซลล์เดียวและหลายเซลล์ ได้แก่ สัตว์เซลล์เดียว (protozoa) สาหรา่ ยตา่ งๆได้แก่ สาหรา่ ยสเี ขยี ว สาหร่ายสนี ำ้ ตาล สาหรา่ ยสีแดง สาหร่ายสที อง เชน่ ไดอะตอม 4. อาณาจกั รพืช (Kingdom Plantae) พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เซลล์เป็นชนิดยูแคริโอต มีสารสีเพ่ือการสังเคราะห์ด้วยแสงเรียกว่าคลอโรฟิลล์ ซ่ึงมีหลายชนิด มีผนังเซลล์เป็นสาร เซลลูโลส สืบพันธุ์ท้ังแบบอาศัยเพศและ ไม่อาศัยเพศ มีวัฏจักรชีวิตแบบ สลบั (alternation of generation) การจำแนกเปน็ ไฟลัมหรอื ดวิ ิชันใชล้ ักษณะวฏั จักรชีวิตแบบสลลั ที่มีระยะแกมี โทไฟต์ (gemetophyte) และสปอโรไฟต์ (sporophyte) การมีท่อลำเลียงอาหารและน้ำ มีรากและใบ และมีดอก (fower) หรอื ไม่มีดอก 5. อาณาจกั รสตั ว์ (Kingdom Animalia) สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ประกอบด้วยเซลล์ชนิดยูแคริโอต การจำแนกเป็นไฟลัมต่างๆใช้ลักษณะสำคัญคือ จำนวนชั้นของเนื้อเย่ือ ช่องภายในตัว ปล้องขา ลำตัว ชนิดของท่อทางเดินอาหาร สมมาตร (symmetry) ของ ลำตัว ชนิดของระบบไหลเวียน และการพัฒนาของระบบอ่ืนๆ แบ่งออกเป็นสอง ซับคิงดอม (Subkingdom) คือ ซบั คิงดอมพาราซวั (Parazoa) ไดแ้ ก่ฟองน้ำและซบั คิงดอมเมทาซัว (Metazoa) ได้แก่สัตวอ์ ่ืนๆท่ีเหลือ ซ่ึงแบง่ ยอ่ ย เป็นไฟลมั ต่างๆมากถึง 30 ไฟลัมในปจั จบุ นั แต่ทส่ี ำคัญมี 10 ไฟลมั (ทมี่ า ubonzoo.com)
อาณาจกั รโปรติสตา (PROTISTA KINGDOM) ลักษณะสำคัญของสง่ิ มชี วี ิตในอาณาจักรโปรตสิ ตา 1. ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บาง ชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยังไม่ทำหน้าที่ ร่วมกันเป็นเน้ือเย่ือ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถทำหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วน อย่าง อสิ ระ 2. ไม่มรี ะยะตวั อ่อน (Embryo) ซง่ึ ตา่ งจากพชื และสตั วท์ ม่ี รี ะยะตวั ออ่ นก่อนทจ่ี ะเจรญิ เตบิ โตเปน็ ตวั เตม็ วยั 3. การดำรงชีพ มีท้ังชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer) และ เปน็ ผ้ยู ่อยสลายอินทรยี สาร (Decomposer) 4. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซึ่งมีเย่ือหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมอื ก สาหรา่ ยตา่ ง ๆ 5. การเคล่ือนท่ี บางชนิดเคล่ือนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางชนิดเคล่ือนทไ่ี ม่ได้ 6. ก ารสื บ พั น ธุ์ ท้ั งแ บ บ ไม่ อ าศั ย เพ ศ (Asexual reproduction) แ ล ะแ บ บ อ าศั ย เพ ศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซ่ึงเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาด เหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นท่ีพบในพารามีเซียม ราดำ เป็นต้น และชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์ สืบพันธ์ุ ที่มรี ูปรา่ งและขนาดตา่ งกันมารวมกัน ดังเช่นทพี่ บในสาหรา่ ยเป็นส่วนใหญ่ เป็นตน้ สง่ิ มีชีวติ ในอาณาจกั รนแ้ี บง่ เป็น 1. Division Diplomonadida เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลลย์ ูคารโี อตท่ยี ังไม่มี organelle คือ ไม่ มี mitochondria, endoplasmic reticulum, golgi complex และ centriole เป็นตน้ มักอยู่ในสภาวะที่ไมม่ ี ออกซเิ จน (Anaerobic environment) ลกั ษณะ - มีนวิ เคลียส 2 อนั ขนาดเท่ากัน - มี Flagella หลายเสน้ ตัวอย่างเชน่ Giardia intestinalis : เปน็ ปรสติ ในลำไสเ้ ล็กของคน
2. Division Parabasala เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตท่ียังไม่มี organelle คือ ไม่ มี Mitochondria, endoplasmic reticulum, golgi complex และ centriole เป็นต้น มักอยู่ในสภาวะที่ไม่มี ออกซเิ จน (Anaerobic environment) ลักษณะ - มี Flagella หลายเสน้ - มีเยอื้ หุม้ ลักษณะเป็นรอยหยกั คล้ายคลื่น ตวั อย่างเช่น Trichomonas vaginalis : เป็นปรสติ ในชอ่ งคลอด Trichonympha : อาศยั อยู่ในลำไส้ปลวกดำรงชีพแบบภาวะพงึ่ พากัน 3. Division Kinetoplastida เป็นโพรทิสตก์ ลมุ่ ทเ่ี คลื่อนทโ่ี ดยใช้ Flagella ซ่งึ ประกอบด้วย Microtubule เรยี งกัยแบบ 9+2 มีท้ังที่เปน็ ผู้ผลติ ผู้บรโิ ภคและปรสิต ลกั ษณะ - มี Mirochondria อันเดียวขนาดใหญ่ ภายในมี DNA เรียกวา่ Kinetoplast - มที ้งั พวกทดี่ ำรงชีวิตอิสระ และเปน็ ปรสิต. ตวั อย่างเชน่ Trypanosoma sp. - เกิดโรคเหงาหลับ (sleeping sickness) ในแอฟริกามี African tsetse fly เป็นพาหะ - โรค Chagas's disease ในอเมริกาใต้ มี Kissing bug เปน็ พาหะ 4. Division Euglenophyta ลกั ษณะ - มี Chlorplast สามารถสงั เคราะห์ดว้ ยแสงได้ จงึ ดำรงชีพเปน็ ผผู้ ลิตเม่ือมแี สง - เกบ็ อาหารที่สรา้ งไดใ้ น Paramylon granules - เมอื่ ไม่มีแสงก็ดำรงชพี เป็นผ้บู ริโภค - มอี ายสปอต (eye spot) ในการตอยสนองต่อแสง
5. Division Dinoflagellata ลักษณะ - เป็น Phytoplakton ท้งั ในน้ำจืดและนำ้ ทะเล - ส่วนใหญ่อยู่เป็นเซลลเ์ ดียว มีบา้ งที่อาศัยอยรู่ วมกนั เป็น colony - ลกั ษณะสำคัญคือ มีแผ่น Cellulose อยภู่ ายใน ประกอบกันคลา้ ยเกราะ มลี วดลายสวยงามและ มี Flagellum 2 เส้น - บางชนดิ มกี ารสะสมสารพษิ ทำให้ทะเลมีสแี ดง เกิดปรากฏการณ์ข้ีปลาวาฬ (red tide) ซงึ่ เป็น อนั ตรายต่อสตั ว์นำ้ เปน็ จำนวนมาก - บางชนดิ อาศยั ร่วมกับปะการงั โดยนำ CO2 จากปะการงั มาสงั เคราะห์ด้วยแสง 6. Division Apicomplexa ลกั ษณะ - กลุม่ น้ีทุกชนดิ เปน็ ปรสติ ในสตั ว์ มโี ครงสร้างสำหรับแทงผา่ ยเซลลโ์ ฮสต์ - ไมม่ โี ครงสรา้ งในการเคลื่อนที่ ยกเวน้ ในเซลล์สืบพันธ์เุ พศผู้ - ตวั อย่างในกล่มุ น้ี ไดแ้ ก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทำใหเ้ กิดโรคมาลาเรียในคนและสัตว์อ่ืน - malaria เป็นโรคเขตร้อน มียุงกน้ ปลอ้ งเป็นพาหะเชื้อ Plasmodium ท่ีก่อโรคในคนมี 4 ชนิด ได้แก่ - Plasmodium falciparum - Plasmodium vivax - Plasmodium malariae - Plasmodium ovale * ในประเทศไทยเช้ือที่พบสว่ นใหญ่เปน็ ชนิด P.falciparum และ P.vivax * 7. Division Ciliophora
ลักษณะ - มขี นาดใหญ่ เคล่ือนทีโ่ ดยใช้ Cilia - อาศัยอย่ใู นสภาพแวดลอ้ มที่มีน้ำหรอื ความช้ืนสงู - ตวั อยา่ งเชน่ Stentor , Paramecium , Vorticella - มีการสบื พันธแุ์ บบอาศัยเพศเรยี กว่า Conjugation 8. Division Oomycota ลักษณะ - เรยี กวา่ Egg fungus : water mold, white rust, downy mildews - แตกต่างจาก Stramenopila กล่มุ อื่นๆ ตรงทไ่ี ม่มรี งควัตถุที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ย แสง - มลี กั ษณะเป็นเสน้ ยาวๆ ทีป่ ระกอบด้วยหลายนิวเคลียส - ไม่ได้จัดเป็นรา - ส่วนใหญด่ ำรงชีวติ เปน็ ผยู้ ่อยสลายในน้ำ - มีบา้ งทเ่ี ป็นปรสิตในพชื เชน่ white rust (ราขาวในมนั ฝรงั่ ) 9. Division Bacillariophyta ลักษณะ - เปน็ สาหร่ายท่ีมีสารสชี นดิ เดียวกบั ท่ีพบในสาหรา่ ยสีนำ้ ตาล - เป็นสงิ่ มีชวี ติ เซลล์เดียว มผี นังเซลล์ประกอบดว้ ย Silica - สว่ นมากมักสืบพันธแุ์ บบไม่อาศัยเพศ - พบมากในแหล่งน้ำจดื และน้ำเค็ม เป็นแหลง่ อาหารทสี่ ำคัญของส่ิงมชี วี ติ ในระบบนิเวศ - ซากไดอะตอมท่ีตายทับถมกันนานๆเปน็ diatomaceous earth เป็นแหลง่ รวมของแร่ธาตุและ น้ำมนั ซง่ึ นำมาใชป้ ระโยชนใ์ นการทำไสก้ รองและยาขัด
10. Division Phaeophyta ลักษณะ - เป็นสาหรา่ ยทม่ี ีขนาดใหญ่ และมีโครงสรา้ งซับซ้อน - สาหรา่ ยสนี ้ำตาล เรยี กว่า Seaweed - เกอื บทั้งหมดอาศัยอยูใ่ นทะเล มักอยูใ่ นกระแสน้ำเยน็ - มีความสำคญั ต่อส่ิงมชี วี ิตทอ่ี าศยั ในนำ้ โดยเป็นแหล่งอาหาร ที่อาศัยและใชใ้ นการหลบภยั - มสี ารสีน้ำตาล เรียกวา่ ฟิวโคแซนทิน - เรียกโครงสรา้ งรวม ๆ ของสาหรา่ ยชนิดน้วี า่ Thallus - มโี ครงสรา้ งคล้ายราก เรียกว่า Holdfast - โครงสรา้ งคลา้ ยลำตน้ เรยี กว่า Stipe - โครงสรา้ งคลา้ ยใบ เรยี กวา่ Blade หรอื Lamina ตวั อย่างเชน่ - สาหร่ายเคลป์ ( Kelp) ซงึ่ อาจมีความยาวถึง 60 เมตร - สาหร่ายทุ่น (sagassum sp.) - ลามนิ าเรีย (Laminaria sp.) - พาไดนา (Padina sp.) - ฟวิ กสั (Fucus sp.)
11. Division Rhodophyta สาหรา่ ยสแี ดง (red algae) มสี ารสีไฟโคอีรีทิน (phycoerythrin) แคโรทีนและคลอโรฟิลล์ ต่างจากสาหร่าย กลุ่มอ่ืน บางชนิดไม่มีสารสี เป็นปรสิตกับสาหร่ายสีแดงชนิดอื่นๆ สามารถดูดกลืนแสงสีน้ำเงินและเขียวในการ สงั เคราะห์ด้วยแสงได้ดี ส่วนใหญ่จะมีหลายเซลล์ สามารถมีขนาดใหญ่เรยี กว่า Seaweed ได้ในลักษณะเดียวกันกับ สาหร่ายสนี ำ้ ตาล และท่ีสำคญั คอื ไมม่ รี ะยะทมี่ ีแฟลกเจลลา ตัวอยา่ ง เชน่ - จฉี ่าย หรอื พอร์ไฟรา (Porphyra sp.) นำมาทำเป็นอาหาร - สาหร่ายผมนางหรือ กราซลิ าเรีย (Gracilaria sp.) ใช้ผลติ ว้นุ 12. Division Chlorophyta สาหร่ายสีเขียว (green algae) มีลักษณะคล้ายพืชท้ังในแง่โครงสร้าง ผนังเซลล์และส่วนประกอบของสารสี คอื คลอโรฟิลล์ เอ บีและแคโรทีน ส่วนใหญ่พบในแหล่งน้ำจืด บางชนิดอย่รู ่วมกับราเป็น lichens เกือบทุกชนิดมี ระยะอาศัยเพศ โดยเซลล์สืบพันธ์ุใช้ Flagella 2 เส้นในการเคลือ่ นที่ สามารถปรบั ตวั ในท่ไี ม่เหมาะสมได้ เช่น หิมะ (watermelon snow) และเชอ่ื ว่าพชื มีววิ ัฒนาการมาจากสาหร่ายสเี ขียว ลกั ษณะ - เซลล์เดียว ได้แก่ Chlamydomonas Chlorella (ปน็ สาหรา่ ยสีเขียวเซลล์เดยี วทีม่ โี ปรตนี สงู นยิ มผลติ เปน็ อาหารเสริม) - อย่รู วมกนั หลายเซลลเ์ ป็น Colony ได้แก่ Volvox - เซลลร์ วมกนั มีขนาดใหญ่ (Supercell) ได้แก่ Caulerpa - โครงสร้างเปน็ Cell weed ได้แก่ Ulva - ไมม่ ี Flagellum ในการเคลือ่ นที่ ไดแ้ ก่ Spirogyra หรือ เทานำ้ (ใช้ Ameboid gamete)
13. Division Gymnamoeba ลักษณะ - เป็นกลมุ่ ที่มีความหลากหลายมาก เชน่ Amoeba - สว่ นมากเป็นผบู้ รโิ ภค - บางชนดิ เปน็ ผู้ยอ่ ยสลาย (Detritus) 14. Division Entamoeba ลักษณะ - Entamoeba histolytica เปน็ ปรสติ ก่อให้เกิดโรคบดิ มีตวั ผลแทรกซอ้ นใหเ้ กิดฝีในตับ - Entamoeba gingivalis อาศัยแบบพ่งึ พากับคนในช่องปาก เก็บเศษอาหารต่าง ๆ เปน็ เหตุให้มี กลน่ิ ปาก 15. Division Myxogastrida มี 2 ระยะ คอื - ระยะ Plasmodium หากนิ โดยใช้ Pseudopodium ซ่งึ มีขนาดใหญไ่ ด้มากเป็นเซนตเิ มตร เป็นหลายๆเซลลร์ วมกนั เป็นเซลล์ขนาดใหญม่ ากมหี ลายนิวเคลียส กนิ อาหารโดยใช้กระบวนการ Phagocytosis มักมีสารสีซง่ึ มกั เปน็ สสี ม้ หรือสเี หลอื ง - ระยะ Fruiting body ระยะที่มีการสบื พันธโุ์ ดยการแบ่งไมโอซสเพ่ือสร้างสปอร์ และมกี าร สร้างเซลลส์ บื พนั ธุ์
16. Division Dictyostelida - ลกั ษณะแตกต่างจากplasmodial slime moldsคอื ระยะจะเป็นเซลลเ์ ดยี วไม่ได้รวมกันเป็นเซลล์ขนาด ใหญ่ - ในวงชีพมีความแตกต่างกนั 1. อาณาจักรมอเนอรา (KINGDOM MONERA) ลกั ษณะสำคัญของสงิ่ มชี วี ิตในอาณาจักรมอเนอรา - เป็นส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวท่ีมีโครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) ในขณะที่ สิ่งมีชีวิต อ่นื ๆทกุ อาณาจักรมีโครงสร้างเซลล์แบบยคู ารโี อต (eukaryotic cell) - ไม่มอี อรแ์ กเนลลช์ นิดมีเยื่อหุม้ เช่น รา่ งแหเอนโดพลาสซมึ กอลจคิ อมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเย่ือหุ้มคือไรโบโซม ส่ิงมีชีวิตในอาณาจักรน้ีแบ่งเป็น 2 ไฟลัม คอื 1. ไฟลมั ชโิ ซไฟตา (Phylum Schizophyta) สง่ิ มีชีวติ ทจ่ี ัดอยู่ในไฟลัมนี้ ได้แก่ แบคทเี รีย ลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ิตในไฟลัมซิโซไฟดา คือ 1. มเี ซลลข์ นาดเลก็ 2. ลกั ษณะรูปร่างมี 3 ลักษณะคือ 2.1 รปู ร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน)์ 2.2 รปู ร่างแบบแท่งยาว เรยี กว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์ bacilli = พหพู จน์) 2.3 รปู ร่าง เกลยี ว เรยี กวา่ spirillum (spirillum = เอกพจน์ spirillum = พหพู จน)์
3. เซลลร์ ปู รา่ งต่าง ๆ มีการเรยี งตวั ทำใหเ้ กดิ ลักษณะเฉพาะ เชน่ แบคทีเรียท่ีมีรปู ร่างทรงกลม มีการเรียงตัวหลายแบบ - เซลล์ทรงกลม 2 เซลลเ์ รียงต่อกันเรียก diplococci - เซลลห์ ลายเซลลเ์ รียงตอ่ กันเป็นลูกโซเ่ รยี ก streptococci - เซลล์หลายเซลลเ์ รียงกนั เป็นกลุ่มกอ้ นคล้ายพวงองนุ่ เรียก staphylococci - เซลล์ 8 เซลล์ เรียงเป็นลกู บาศกเ์ รยี ก sarcina แบคทีเรียทม่ี ีรปู รา่ งทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวท่ีเด่นชดั เทา่ ทรงกลม แต่ อาจมกี ารเรียงตัวของเซลล์เน่ืองมาจากระยะการเจริญเตบิ โตหรือขึ้นกับสภาพของการเพาะเล้ียงในอาหาร แบคทเี รียทม่ี ีรูปรา่ งแบบเกลียว มักอยู่เปน็ เซลลเ์ ดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน ท้งั ทางดา้ นความยาว จำนวนเกลยี ว ความโค้ง ประโยชน์ของแบคทเี รีย 1. ด้านอตุ สาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใชฟ้ อกหนัง 2. ดา้ นการเกษตร เช่นใชเ้ ปน็ ป๋ยุ 3. การทดสอบคณุ ภาพน้ำ 4. ทางดา้ นการแพทย์ เช่นการผลิตยาปฏิชวี นะ 5. ใชใ้ นเทคโนโลยชี วี ภาพ โดยใชเ้ ทคนคิ ทางพันธวุ ศิ วกรรมสรา้ งแบคทเี รยี ทมี่ ีลกั ษณะตา่ ง ๆ 6. ชว่ ยย่อยสลายซากสง่ิ มชี ีวิตให้เป็นอาหารของพชื โทษของแบคทเี รีย 1. ผลติ สารพษิ ท่ีเป็นอันตราย 2. ทำให้เกดิ โรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหวิ าตกโรค ปอดบวม วณั โรค คอตีบ สตั ว์ เชน่ แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพชื เชน่ โรครากเนา่ โรคใบไม้ของสาล่ี 2. ไฟลมั ไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) ไดแ้ ก่ สาหรา่ ยสีเขยี วแกมน้ำเงนิ (Blue-green algae) ปัจจุบันเรยี กชอ่ื ใหม่วา่ Cyanobacteria ลกั ษณะของสิ่งมีชีวติ ในไฟลัมไซยาโนไฟตา คือ 1. ไมม่ เี ยื่อหมุ้ นิวเคลยี ส เป็นเซลลพ์ วกโปรคารโี อต ไม่มี flagella 2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์ แต่ไมไ่ ด้รวมเปน็
chloroplast 3. ผนงั เซลล์เป็น cellulose และ pectin 4. มีขนาดเล็ก อาจอยใู่ นลักษณะ 4.1 เซลล์เดี่ยว หรอื เซลล์กลุ่ม เช่น Gloeocapsa, Chroococcus และ Eucapsis 4.2 เซลลท์ จ่ี ดั เรยี งเปน็ สาย เชน่ Anabaena, Oscillatoria และ Spirulina การสบื พนั ธขุ์ อง Cyanocacteria 1. การแบง่ ตวั Binary fission. 2. การหักเปน็ ทอ่ น (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย 3. สรา้ งสปอรห์ รอื สรา้ งเซลลพ์ เิ ศษ เชน่ akinete ประโยชนข์ อง Cyanocacteria - เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2 - Spirulina หรอื เกลียวทอง มี protein สูง ใชท้ ำอาหารเสริมคนและสตั ว์ - Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรงึ N ทำเป็นปุ๋ยในดนิ เชน่ แหนแดง (Azolla) ซง่ึ Anabaena อยู่ช่องว่างกลางใบ 2. อาณาจักรพชื (PLANT KINGDOM) พืช เปน็ สิง่ มีชีวติ ทม่ี กี ำเนิดข้ึนมาแลว้ ไมต่ ำ่ กวา่ 400 ล้านปี มหี ลกั ฐานหลายอยา่ งทท่ี ำให้ เชื่อวา่ พืชมีววิ ฒั นาการมาจากสาหร่ายสเี ขียว กลมุ่ Charophytes โดยมีการปรบั ตัวจากสภาพทเี่ คย อยู่ในนำ้ ขนึ้ มาอยู่บนบก ด้วยการสร้างคณุ สมบตั ติ า่ ง ๆ ท่ีเหมาะสมขึน้ มา เชน่ มกี ารสร้างควิ ตนิ (cutin)
ขน้ึ มาปกคลุมผิวของลำต้นและใบเรียกว่า ควิ ทิเคลิ (cuticle) เพือ่ ปอ้ งกนั การสูญเสียนำ้ และการเกดิ สโทมาตา (stomata) เพอ่ื ทำหนา้ ทรี่ ะบายนำ้ และแลกเปลีย่ นกา๊ ซ เป็นต้น อาณาจักรพืชแบ่งเปน็ 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ - พชื ไมม่ ีท่อลำเล้ียง ได้แก่ Division Bryophyta - พืชทม่ี ที ่อลำเลยี ง ได้แก่ Division Psilophyta, Division Lycophyta, Division Sphenophyta, Division Pterophyta, Division Coniferophyta, Division Cycadophyta, Division Ginkophyta, Division Gnetophyta, Division Anthophyta สิง่ มีชีวติ ในอาณาจกั รน้ีแบ่งเปน็ 10 ดิวชิ ั่น คอื 1. Division Bryophyta พืชท่ไี ม่มรี ะบบทอ่ ลำเลียง มขี นาดเล็ก ไดแ้ ก่ มอส ลิเวอรเ์ วิรต์ และฮอรน์ เวริ ์ด 2. Division Psilophyta พืชท่ีมีทอ่ ลำเลยี งชนั้ ตำ่ ไม่มีใบและรากทแ่ี ทจ้ ริง ได้แก่ หวายทะนอย (Psilotum) 3. Division Lycophyta พชื ทม่ี ีท่อลำเลียงทมี่ ลี ำต้น ใบ และรากที่แท้จริงแตย่ งั มีใบขนาดเล็ก ได้แก่ ชอ้ งนางคลี่ ( Lycopodium ) และ ตนี ตุ๊กแก ( Sellaginella )
4. Division Sphenophyta พืชทมี่ ีท่อลำเลียง ลำต้นลักษณะเป็นข้อและปล้อง มีการสรา้ งสปอร์ ไดแ้ ก่ สนหางมา้ หรือหญ้าถอดปลอ้ ง (Equisetum) 5. Division Pterophyta พชื ทม่ี ีท่อลำเลียง มหี ลายชนิดแตกต่างกัน ได้แก่ เฟิรน์ (Fern) แหนแดง (Azolla) และจอกหูหนู (Salvinia) 6. Division Coniferophyta พชื ท่สี รา้ งเมลด็ เปือย ส่วนใหญ่เป็นไมย้ ืนต้นขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่ พวกสน (Pinus) เช่น สนสองใบและสนสามใบ 7. Division Cycadophyta พืชที่สร้างเมลด็ เปือย ได้แก่ ปรง (Cycad) 8. Division Ginkgophyta พืชที่สรา้ งเมลด็ เปือย ได้แก่ แปะก๊วย (Ginkgo biloba)
9. Division Gnetophyta พชื ทส่ี รา้ งเมลด็ เปอื ย ไดแ้ ก่ มะเม่ือย (Gnetum) 10. Division Anthophyta พชื ที่สรา้ งเมล็ดมีสิ่งห่อหุม้ ถือวา่ มีวิวัฒนาการสงู สุด พบมากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ พืชดอก (Flowering plant) 3. อาณาจักรสตั ว์ (KINGDOM ANIMALIA) สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจำนวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6 แสน ชนิด สัตวถ์ อื เป็นสิง่ มชี ีวติ ทมี่ คี วามสำคัญต่อระบบนิเวศในแงข่ องผู้บริโภค ซง่ึ เปน็ ผลทำให้มีการถ่ายทอด พลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทำให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงมี ความสำคัญในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื และก่อใหเ้ กิดความสมดลุ ในธรรมชาติ สตั ว์เปน็ ส่ิงมชี ีวิตหลายเซลล์ ไมม่ คี ลอโรฟิลลจ์ งึ ไมส่ ามารถสรา้ งอาหารได้เอง และมีระยะตัวออ่ น (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจกั รสตั ว์แบ่งออกเปน็ ไฟลัมตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. ไฟลมั พอรเิ ฟอรา(PHYLUM PORIFERA) สตั ว์ทล่ี ำตัวเป็นรพู รุน ไดแ้ ก่ ฟองน้ำ ลักษณะสำคัญของสตั วใ์ น Phylum Porifera
- เป็นสัตวท์ ่มี วี ิวัฒนาการต่ำสดุ และ ไม่มีเนอ้ื เย่ือแท้จริง (Parazoa) - ตัวเต็มวัยเกาะกับท่ี จงึ ไมม่ ี nervous system และ sense organ - มีทั้งอาศยั ในน้ำจดื และน้ำเค็ม - มสี สี ดใส (แดง สม้ เหลือง มว่ ง) เกิดจากรงควัตถทุ ี่อยใู่ นเซลลผ์ ิว - ฟองนำ้ ที่มีรูปรา่ งซบั ซ้อนน้อยท่สี ดุ จะมสี มมาตรรัศมี แตฟ่ องนำ้ ส่วนใหญไ่ มม่ สี มมาตร - จะสร้าง Gemmule (แตกหนอ่ )เวลาสภาวะแวดลอ้ มไมเ่ หมาะสม - มีโครงรา่ งแข็งค้ำจนุ (Spicule ทีเ่ ปน็ หินหรือแก้ว , Spongin ท่เี ปน็ เสน้ ใยโปรตีน) 2. ไฟลัมซเี ลนเทอราตา (PHYLUM COELENTERATA) ได้แก่ แมงกะพรนุ ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา ลกั ษณะสำคัญของสตั วใ์ น Phylum Coelenterata - รา่ งกายประกอบดว้ ย เน้อื เยอ่ื 2 ชนั้ คือ Epidermis เเละ Gastrodermis - ระหวา่ งชน้ั เนือ้ เยือ่ มีสารคล้ายวนุ้ เรยี กว่า Mesoglea เเทรกอยู่ - ลำตัวกลวงลกั ษณะเป็นถงุ ตันมชี อ่ งเปิดช่องเดยี วเรยี กว่า gastrovascula cavity ทำหน้าที่ เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางชอ่ งเปดิ เดยี วกนั - มีหนวดอยู่รอบปากเรยี กวา่ เทนทาเคลิ ( tentacle )ใช้สำหรับจับเหยื่อ - ท่ีหนวดมีเซลล์สำหรบั ตอ่ ยเรียกวา่ cnidocyte เเละมเี ข็มสำหรบั ตอ่ ยเรยี กว่า nematocyst - มีวงจรชีพสลบั - สบื พนั ธ์ุแบบไมอ่ าศยั เพศ โดยการแตกหน่อ - มี 2 เพศในตัวเดยี วกนั 3. ไฟลมั แพลทเิ ฮลมินทิส (PHYLUM PLATYHELMINTHES) ได้แก่ พยาธใิ บไม้ พยาธิตวั ตดื และพลานาเรยี ลักษณะสำคัญของสตั ว์ใน Phylum Platyhelminthes - มสี มมาตรเปน็ แบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry) - ไมม่ ชี ่องว่างในลำตวั (Acoelomate animal) เนอื่ งจากเน้ือเยื่อชน้ั กลางมีเนอื้ เยื่อหยุ่นๆ บรรจุอยู่เต็มไปหมด - ไมม่ ีระบบหมนุ เวียนโลหิต ไมม่ เี ส้นเลอื ด ไม่มหี วั ใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพรจ่ าก
ทางเดนิ อาหารเขา้ สู่เซลลโ์ ดยตรง - มรี ะบบทางเดนิ อาหารเปน็ แบบไมส่ มบูรณ์มปี ากแต่ไมม่ ีทวารหนกั และในพวกพยาธติ ัวตืด ไม่มีทางเดินอาหาร - มีระบบประสาทอยู่ทางดา้ นหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลำตวั - มีทง้ั สองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพนั ธุ์ไดภ้ ายในตวั เอง (Self fertilization) และผสม พันธุ์ขา้ มตัว (Cross fretilization) 4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD) ได้แก่ พยาธิตัวกลมตา่ งๆ เช่น พยาธิไสเ้ ดอื น ไส้เดอื น ฝอยและหนอนในน้ำสม้ สายชู ลักษณะสำคญั ของสัตวใ์ น Phylum Nemetoda - ลำตวั กลมยาวหวั ทา้ ยเเหลม ไมม่ ีรยางค์ - มเี ปลอื กเป็นคิวตเิ คิลหนาปกคลมุ - สมมาตรครงึ่ ซีก - มที างเดนิ อาหารสมบรู ณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนกั - ร่างกายมเี น้ือเยื่อ 3 ชั้น - มชี อ่ งลำตวั เทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดริ ์มซงึ่ มีของเหลว บรรจุอยเู่ ต็ม - ระบบประสาท เปน็ วงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาททีย่ าวตลอดลำตัว - ไม่มรี ะบบไหลเวียนเลอื ดเเละระบบหายใจ - การสืบพันธเุ์ เบบอาศยั เพศ มีตัวผตู้ ัวเมียคนละตวั กัน ไขม่ สี ารไคตนิ หุ้มจงึ ทนทานต่อสภาพ เเวดล้อมได้ดี 5. ไฟลมั แอนนลิ ิดา (PHYLUM ANNILIDA) ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดดู เลือด และปลงิ นำ้ จืด ลกั ษณะสำคญั ของสัตว์ใน Phylum Annilida - มีลำตวั กลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเน้ือเย่ือกั้นระหวา่ งปล้อง เรียกวา่ เซปตา (septa) - เเตล่ ะปล้องมีอวยั วะ คือ เดือย (saeta) 4 คู่ เนฟรเิ ดยี (อวัยวะขบั ถ่าย) 1 คู่ เสน้ ประสาท 3
คู่ ทางเดินอาหารเเละช่องลำตวั สว่ นหนงึ่ ยกเว้นปล้อง - ท่ีมีหัวทีซ่ งึ่ มีอวยั วะสำคญั (สมอง คอหอย หวั ใจ) - ร่างกายมสี มมาตรครึ่งซกี - มีเน้ือเย่อื 3 ชนั้ - มชี อ่ งลำตัวเเทจ้ ริง (coelom) ซงึ่ เปน็ ชอ่ งลำตวั ในเนือ้ เยอื่ มีโซเดิร์ม - ระบบประสาทประกอบดว้ ย ปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ดา้ นท้อง 6. ไฟลมั อารโ์ ทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) ไดแ้ ก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เหบ็ ไร ตะขาบ ก้งิ กือ แมงมมุ แมงดาทะเล ลักษณะสำคญั ของสัตวใ์ น Phylum Arthropoda - มีลำตวั เปน็ ปล้องและมีรยางคเ์ ป็นขอ้ ๆตอ่ กัน (jointed appendage) ยืน่ ออกมาจากแตล่ ะ ปลอ้ งของลำตวั - มีจำนวนชนิดมากทสี่ ดุ ในอาณาจักรสัตว์ ประมาณว่ามีถงึ กวา่ 9 แสนชนิดท่มี นุษย์เราได้ คน้ พบ - สามารถอาศยั อยูไ่ ด้ในแทบทกุ สภาพภูมิประเทศบนโลก นับวา่ ประสบความสำเร็จในการ ดำรงชีวติ บนโลกเปน็ อย่างมาก เห็นได้จากการท่ีเราพบสัตว์เหลา่ น้ีไดแ้ ทบทุกหนทุกแห่ง ทกุ ฤดูกาล และ พบเปน็ จำนวนมาก - มีโครงสรา้ งของรา่ งกายท่ีแขง็ แรง - มรี ะบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรสู้ ึกหลายชนิด - มกี ารแบ่งสดั สว่ นของร่างกายเป็นข้อปล้องชดั เจน 3สว่ น คือ หัว (Head), อก (Thorax) และ ทอ้ ง (Abdomen) - ระบบหมนุ เวยี นเปน็ ระบบเปิด ประกอบไปดว้ ยหวั ใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel) 7. ไฟลมั มอลลสั กา (PHYLUM MOLLUSCA) สัตวท์ ม่ี ีลำตัวอ่อนนมุ่ ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่าง ๆ ลกั ษณะสำคญั ของสตั วใ์ น Phylum Mollusca
- รา่ งกายจะแบง่ เป็น 3 ส่วนหลัก ไดแ้ ก่ 1. head and foot 2. visceral mass 3. mantle, palium เกิด mantle cavity มเี หงอื กภายใน - สตั วใ์ นไฟลมั นม้ี ลี ำตวั อ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมเี ปลือกแข็งหุ้มลำตวั เปน็ CaCO3 - แยกเพศผู้-เมีย - สว่ นใหญ่อาศัยอย่ใู นน้ำทัง้ น้ำจดื และนำ้ ทะเล มอี าศยั อย่บู นบกบา้ ง - อวยั วะในการแลกเปลย่ี นแกส๊ ประกอบด้วย 1. เหงอื ก (gill) อยู่ภายในช่องแมนเตลิ พบในมอลลัสท่ัวไป 2. ผวิ ตวั ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผวิ ตวั จะเปลย่ี นรปู ไปเป็นแขนงอยบู่ น ลำตวั เรยี กว่า เซอราตา (cerata) หรือบางชนดิ มอี ยู่รอบทวารหนัก (anal gill) 3. ช่องแมนเติลหรอื ปอด หอยฝาเดียวที่ขึน้ มาอยู่บนบกจะมชี ่องแมนเติลทม่ี ีผนังย่ืนลง มาก้ันเป็นห้อง มีของเหลวหล่อเลี้ยงในช่องนี้ทำใหส้ ามารถแลกเปลยี่ นแกส๊ ได้ 8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) สัตว์ท่ีผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เมน่ ทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบคร่ึงซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตร เเบบรศั มี - ลำตวั เเบ่งเปน็ 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยนื่ ออกมาจากเเผ่นกลมท่เี ปน็ ศนู ยก์ ลาง - มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ท่ียึดติดกันด้วยกล้ามเน้ือหรือผิวหนังที่ปกคลุม อย่บู างชนิด - มเี สน้ ประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน - การเคลอ่ื นไหวใชร้ ะบบทอ่ น้ำ ( water vascula system ) ภายในรา่ งกาย - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศ บางชนดิ เช่น การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง สว่ นท่ขี าดก็จะเจริญไปเปน็ ตวั เต็มอกี ทีหน่ึง
9. ไฟลมั คอรด์ าตา (PHYLUM CHORDATA) คุณสมบัติเฉพาะของ Phylum Chordata - มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้ำจุนหรือพยุงกายเกิดข้ึนในระยะใดระยะหนึ่ง ของชีวิต หรอื ตลอดชวี ิต ในพวกสตั ว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรอื กระดกู แขง็ แทนโนโตคอรด์ - มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือ ทางเดินอาหารซึ่งแตกตา่ งจากสัตวพ์ วกไม่มีกระดูกสันหลงั ซงึ่ มีระบบประสาทอยู่ทางดา้ นท้อง (Ventral nerve cord) ใตท้ างเดนิ อาหารและเป็นเส้นตนั - มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหน่ึงของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวกสัตว์มีกระดูก สนั หลังช้ันสูง เชน่ สัตว์ปีก สัตว์เล้ียงลูกดว้ ยน้ำนมจะมีช่องเหงอื กตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น เม่ือโตขึ้นช่อง เหงอื กจะปดิ ส่วนปลามชี ่องเหงือกตลอดชวี ติ - มหี างเปน็ กล้ามเนอ้ื (Muscular post anal tail) ใบความรู้สำหรับผเู้ รยี น เรอ่ื ง อาณาจกั รของสิ่งมีชวี ิต คอื อะไร
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (lichen) คือ สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เกิดจากการมาอยู่ร่วมกัน (symbiosis) ของรา (fungi) เรียกว่า mycobiontกับสาหร่าย(algae)หรือไซยาโนแบคทีเรีย(cyanobacteria) เรียกว่า photobiont (เรียก phycobiontสำหรับสาหร่ายและเรียก cyanobiont สำหรับ cyanobacteria/blue green algae) โดย mycobiont มีหน้าที่เก็บความช้ืนและป้องกันอันตรายให้กับ photobiont ส่วน photobiont ทำหน้าที่สร้าง อาหารและแบ่งปนั ให้ mycobiont ดังนั้น ทั้งสองต่างเอื้อประโยชน์ซ่ึงกันและกันอย่างลงตัว ทำให้อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เกิดขึ้นได้แม้ใน สภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ นักอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต วิทยาส่วนใหญ่เช่ือว่าการอยู่ร่วมกันของ mycobiont และ photobiont ในอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต เป็นแบบ พ่ึงพาอาศยั กนั (mutualism) อย่างไรก็ตาม นกั อาณาจักรของสงิ่ มชี วี ิตวิทยาบางส่วนเช่ือวา่ การอยู่ร่วมกนั น้ี น่าจะ เป็นแบบ controlled parasitism มากกว่าจนถึงบัดนี้ ข้อโต้แย้งน้ีก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่นอนว่า mycobiont และ photobiont ในอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต นั้น แท้ที่จริงแล้วมีความสัมพันธ์กันแบบไหนกันแน่ ด้วยเหตุนี้ textbooks หรือ papers หลาย ๆ เรื่อง จึงพยายามหลีกเล่ียงท่ีจะระบุชัดไปว่า อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต น้ันเป็น ความสัมพันธ์แบบ mutualism หรือ controlled parasitism แต่จะใช้คำท่ีครอบคลุมทั้งสอง น่ันคือ symbiosis แทน (Nash, 2008) คำว่า lichen (อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต) เป็นภาษากรีกซึ่ง Theophratus ได้บรรยายไว้ใน หนงั สือ History of Plant วา่ เป็นส่ิงมชี ีวิตท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยพืช เตบิ โตอยบู่ นเปลอื กไม้ ตัวอยา่ ง อาณาจกั รของส่ิงมีชีวิต ในสภาพธรรมชาติ ครัสโตสอาณาจักรของสงิ่ มชี ีวิต (ซ้าย) โฟลิโอส อาณาจกั ร ของส่งิ มีชวี ติ (กลาง) และฟรูทิโคสอาณาจกั รของสงิ่ มชี ีวติ (ขวา) อาณาจักรของส่งิ มชี ีวติ เกือบทกุ ชนิดมีสัดส่วนของ mycobiont ประมาณ 90-93 เปอร์เซ็นต์ และมสี ดั สว่ น ของ photobiont เพียง 7 - 10 เปอรเ์ ซ็นต์ เท่าน้นั (ภาพที่ 2) (Collins and Farrar, 1978; Ahmadjian, 1993; Sundberg et al., 1999) ด้วยเหตทุ ่ีมสี ัดส่วนสำหรับสร้างอาหารน้อยประกอบกบั ช่วงเวลาในการสรา้ งอาหาร (สงั เคราะห์แสง) มีจำกดั จึงส่งผลใหอ้ าณาจักรของส่งิ มชี วี ิต เตบิ โตได้ชา้ อยา่ งไรก็ตาม อาณาจกั รของสงิ่ มีชีวิต บางกลมุ่ มสี ดั ส่วนของ photobiont มากกว่า mycobiont เช่น สกลุ Coenogonium โครงสร้างภายในของอาณาจกั รของสิ่งมีชวี ติ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 4 สว่ น หลัก ๆ ดังน้ี 1. ช้ันคอรเ์ ทก็ ซ์บน (upper cortex layer) เปน็ ชนั้ ทอี่ ยู่ดา้ นบนสดุ ของแทลลัส (แทลลสั (thallus) คือ คำลกั ษณะนามท่ีใช้เรยี กอาณาจกั รของสงิ่ มชี วี ติ เชน่ เดียวกับต้นสำหรบั พชื หรือตัวสำหรับสตั ว์ เป็นตน้ ) ช้นั คอร์
เทก็ ซ์นม้ี ีหน้าท่ีสำคญั คือป้องกนั อันตรายจากสิ่งแวดลอ้ มภายนอก โดยเฉพาะความเข้มแสงสูง และการกัดกินของ สัตวจ์ ำพวกแมลง อาณาจักรของสง่ิ มชี วี ติ สว่ นใหญม่ ีช้นั นแี้ ต่อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตบางชนดิ อาจไมพ่ บ 2. ช้ันสาหร่าย (algae layer) เปน็ ชนั้ ทอี่ ยู่ดา้ นลา่ งของชนั้ คอรเ์ ท็กซ์บน มหี น้าท่สี ำคญั คือสรา้ งอาหารโดย กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง สาหร่ายในช้ันน้ีเรียกว่า photobiont (เรียก phycobiont สำหรับสาหร่าย และ เรียก cyanobiont สำหรับ cyanobacteria/blue green algae) อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ส่วนใหญ่ประมาณ 85 เปอร์เซ็นต์ มีสาหร่ายสีเขียว (green algae) เป็นองค์ประกอบของชั้นน้ี, ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นไซยาโน แบคทีเรียหรือสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (cyanobateria หรือ blue-green algae),ประมาณ 3-4 เปอร์เซ็นต์ มี ท้ังไซยาแบคทีเรียและสาหร่ายสเี ขยี ว รูจ้ ักกนั ในชื่อ cephalodiate lichens และ photosymbiodemes และอีก <1เปอร์เช็นต์ เป็นสาหร่ายสนี ้ำตาล (brown algae:e.g. Petroderma (Phaeophyceae), Heterococcus (Xanthophyceae)) (Sanders et al., 2004; Friedl & Budel, 2008) 3. ชั้นเมดัลลา (medulla layer) ช้ันน้ีเป็นช้ันของรา อยู่ถัดจากช้ันสาหร่ายลงมา ราในอาณาจักรของ ส่ิงมีชีวิต เรียกว่า mycobiont ส่วนใหญ่เป็นราในกลุ่ม Ascomycota (ca. 98%) มีส่วนน้อยเป็นราในกลุ่ม Basidiomycota (ca.0.4%)แ ล ะ ก ลุ่ ม Deuteromycota/anamorphic fungi/fungi imperfecti/imperfect fungi ประมาณ 1.5 เปอร์เซ็นต์ (Honegger, 2008) ชั้นนี้มีหน้าที่สำคัญคือกักเก็บความช้ืนและสร้างสารที่จำเป็น ตอ่ การเติบโตและการอยรู่ อดของอาณาจักรของสิ่งมชี วี ติ 4. ชั้นคอร์เท็กซ์ล่าง (lower cortex layer) เป็นชั้นที่อยู่ล่างสุดของแทลลัส มีหน้าที่หลักคือยึดเกาะกับ พน้ื ท่ียึดเกาะอาศัย (substrate) อาณาจกั รของสง่ิ มชี วี ติ บางชนิดมีชั้นน้ี แต่บางชนิดไม่มี โดยเฉพาะอาณาจักรของ สิ่งมีชวี ิต ในกล่มุ คลสั โตส ภาพตดั ตามขวางแทลลสั ของอาณาจกั รของสง่ิ มชี วี ติ (ภาพดา้ นชา้ ยคือภาพจำลองสว่ นภาพดา้ นขวาคือภาพจรงิ ) แม้ว่าองค์ประกอบของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ประกอบด้วยราและสาหร่าย แต่อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ก็ ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มของสาหร่ายแต่อย่างไร แต่ถูกจดั อยู่ในกลุ่มของรา (fungi) นอกจากนี้ การจำแนกชนิดและการตงั้ ชื่อ ของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต อาศัยคุณสมบัติของราเป็นหลัก ดังนั้น ช่ืออาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ก็คือชื่อ ของรา (mycobiont) ท่ีอยู่ในอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น แต่สาหร่าย (photobiont) มีช่ือแยกต่างหาก เช่น อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตชนิด Parmotrema tinctorum ประกอบด้วยราชนิด Parmotrema tinctorum และ สาหร่ายชนิด Trebouxia sp. จะเห็นว่าช่ืออาณาจักรของส่ิงมีชีวิต และราเป็นช่ือเดียวกัน อาณาจักรของ สิ่งมีชีวิต ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาด้านราวิทยา (mycology) และพฤกษศาสตร์ (botany) ทั้งๆ ท่ี การศึกษา ด้านพฤกษศาสตร์เนน้ ไปท่ีการศึกษาด้านพชื แต่นกั พฤกษศาสตรส์ ่วนใหญ่ก็ยอมรับว่าอาณาจักร
ของสิ่งมีชีวิตนั้น เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ส่วนใหญ่ถูกค้นพบโดยนัก พฤกษศาสตร์ งานประชุมพฤกษศาสตร์นานาชาติ (IBC) ก็มี session ของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ร่วมอยู่ด้วยทุก คร้ัง หรือแม้แต่วารสารวิชาการด้านพฤกษศาสตร์หลาย ๆ ฉบับก็มีงานวิจัยด้านอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ลงตีพิมพ์ อยู่เสมอ ๆ นอกจากนีก้ ารต้ังชือ่ อาณาจกั รของสง่ิ มชี วี ิตก็อาศัยหลักการเดยี วกับการตงั้ ชือ่ พืช อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต มีความหลากหลายมาก พบได้ต่ังแต่พ้ืนท่ีท่ีหนาวจัดอย่างเขตข้ัวโลกถึงพื้นท่ีท่ีร้อน จัดอย่างทะเลทราย สามารถพบได้ที่ทุกระดับความสูงตั่งแต่ทะเลถึงยอดเขาสูง นักอาณาจักรของ ส่ิงมีชีวิตวิทยาประเมินวา่ ระบบนิเวศบนบกประมาณ 8 - 10 เปอร์เซ็นต์ของโลก ถูกป้องคลุมด้วยอาณาจักรของ สิ่งมีชวี ติ (Larson, 1987; Seaward, 2008) ปัจจุบันสำรวจพบอาณาจักรของส่ิงมีชีวิตแล้ว 19,409 ชนิด (species) 1,002 สกุล (genera) 119 วงศ์ (families) 40 อันดับ (orders) และ 8 ช้ัน (classes) (Lucking, Hodkinson & Leavitt, 2017) ส่วนในประเทศ ไทยพบแลว้ 1,292 ชนดิ (Buaruang et al., 2017) ความหลากหลายของอาณาจักรของสง่ิ มีชีวติ ในทะเลทราย Atacama ประเทศชลิ ี (ภาพซา้ ย) และความ หลากหลากของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิตบริเวณเขตขั่วโลก (ภาพขวา) (ทีม่ า: http://www.atacamaphoto.com (ภาพซา้ ย) และ http://churchillpolarbears.org/2010/10/october-21-2010 (ภาพขวา) อาณาจักรของส่ิงมชี วี ิต อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีมีการดำรงชีวิตแบบภาวะพ่ึงพากันระหว่างสาหร่ายสีเขียวและไซยาโน แบคทีเรียกับฟังไจ (fungi) โดยท่ีเรียกสาหร่ายสีเขียวหรือไซยาโนแบคทีเรียในอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ว่าโฟโตไบ ออนท์ (photobiont) และเรยี กฟังไจว่าไมคอไบออนท์ (mycobiont) ฟังไจในอาณาจักรของส่ิงมีชีวติ ส่วนมากอยู่ ในไฟลัมแอสโคไมโคตา และมีบางชนิดเป็นฟังไจในไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา บ้างเรียกอาณาจกั รของส่ิงมีชีวิตที่เกิดจาก
ฟังไจ 2 ไฟลัมน้ีว่าแอสโค อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต (ascolichen) (ภาพท่ี 1) และเบสิดิโออาณาจักรของส่ิงมีชีวิต (basidiolichen) (ภาพท่ี 2) ตามลำดับ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต อาจ เปน็ ได้ 3 รูปแบบ คอื 1. ฟงั ไจกบั สาหร่ายสเี ขยี ว 2. ฟังไจกับไซยาโนแบคทีเรยี 3. ฟงั ใจกับสาหร่ายสีเขยี วและไซยาโนแบคทเี รยี การดำรงชีวิตของอาณาจักรของส่ิงมีชวี ิต สาหร่ายสีเขียวและไซยาโนแบคทีเรียสามารถสร้างอาหารได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ฟังไจ จึง ได้รบั อาหารน้ันด้วย ขณะเดียวกนั เสน้ ใยหรือไฮฟา (hypha) ของฟงั ไจมสี มบัตใิ นการเกบ็ ความช้ืนไดด้ ี ฟังไจจึงชว่ ย รักษาความชื้นให้กับสาหร่ายสีเขียวและไซยาโนแบคทีเรีย นอกจากน้ีเส้นใยของฟังไจที่สานตัวกันแน่นจะช่วย ปอ้ งกนั ความร้อนและแสงแดดอีกดว้ ย อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต พบได้ท่ัวไป ทั้งบริเวณท่ีมีอากาศหนาวแถบขั้วโลกหรือตามทะเลทรายที่ร้อนและ แห้งแล้ง ตามชายหาดหิน ป่าในเขตอบอุ่นและเขตร้อนตั้งแต่พื้นราบจนถึงยอดเขาสูง แต่จะไม่พบอาณาจักรของ สิ่งมีชีวิตบริเวณท่ีมีมลพิษในอากาศ เช่น เขตอุตสาหกรรม เขตเมืองที่มีมลพิษ หรือบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น ดงั นัน้ อาณาจักรของส่งิ มชี วี ติ จงึ เสมือนเปน็ ตัวบ่งชค้ี ณุ ภาพของอากาศได้อกี ดว้ ย อ้างอิง บรรณานุกรม • Ahmadjian V. (1993). The Lichen Symbiosis. New York: John Wiley & Sons. ISBN 0-471- 57885-1. • Brodo, I.M., S.D. Sharnoff, and S. Sharnoff, 2001. Lichens of North America. Yale University Press, New Haven. • Gilbert, O. 2004. The Lichen Hunters. The Book Guild Ltd. England. • Haugan, Reidar / Timdal, Einar (1992): Squamarina scopulorum (Lecanoraceae), a new lichen species from Norway[ลงิ ก์เสีย]. Nordic Journal of Botany 12(3): 357-360. • Hawksworth, D.L. and Seaward, M.R.D. 1977. Lichenology in the British Isles 1568 - 1975. The Richmond Publishing Co. Ltd., 1977. อาณาจักรของส่งิ มีชีวติ
https://www.youtube.com/watch?v=1OS2hCPSK0w https://www.youtube.com/watch?v=KT3fEo64OfU ใบความรสู้ ำหรบั ผู้เรยี น
เร่ือง ไวรสั และไวรอยด์ ไวรัส เป็นศัพท์จากภาษาลาตินแปลว่า พิษ ในตำราชีววิทยาเก่าของไทยอาจเรียกว่า วิสา อันเป็นการทับ ศพั ท์ในยุคแรกจากภาษาสันสกฤตท่ีแปลว่า พิษ เช่นเดียวกัน ปัจจุบนั คำวา่ ไวรัส หมายถึงสิ่งที่ไม่อาจจะสรุปได้ว่า เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีสามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้(infectiousagents)ท้ังในมนุษย์,สัตว์,พืช และ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ท่ีเป็น สิ่งมีชีวิตมีเซลล์ (cellular life) ทำให้เกิดโรคที่ส่งผลกระทบกว้างขวาง จึงมีความสำคัญท่ีจะต้องศึกษาท้ังในทาง การแพทย์และทางเศรษฐกิจ ไวรัสเป็นปรสิตอยู่ในร่างของสิ่งมีชีวิตอ่ืน (obligate intracellular parasite) ไม่ สามารถเติบโตหรือแพร่พันธ์ุนอกเซลล์อื่นได้ ไวรัสอาจถือได้ว่าเป็นจุลินทรีย์ท่ีมีลักษณะของการเป็นส่ิงมีชีวิตเพียง ประการเดียวคือสามารถแพรพ่ ันธ์ุ หรอื การถ่ายทอดสารพันธุกรรมของตนเองจากรุ่นหน่ึงไปยังอีกรุ่นหน่ึง อย่างไรก็ ตามไวรัสไม่ใช่จลุ ินทรยี ์ท่ีมขี นาดเล็กท่ีสุด ยงั มีจุลินทรีย์ท่ีมขี นาดเลก็ กวา่ ไวรัสคอื ไวรอยด์ (viroid) และพรอี อน (prion) ไวรสั ชนิดแรกท่คี ้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่าง (TMV หรือ Tobacco Mosaic Virus) ซึ่งค้นพบโดย มารต์ ินัส ไบเย อรินิค ใน ค.ศ. 1899 ในปัจจุบันมีไวรัสกว่า 5,000 ชนิดที่ได้รับการบันทึกไว้ วิชาท่ีศึกษาไวรัสเรียกว่า วิทยา ไวรสั (virology) อนั เป็นสาขาหน่งึ ของจุลชีววิทยา (microbiology) ไวรอยด์ (อังกฤษ: Viroid) เป็นเช้ือสาเหตุโรคพืช (plant pathogen) ที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าท่ีมีรายงาน สมัยก่อนถูกจัดจำแนกไว้รวมกับไวรัส (virus) แต่ปัจจุบันถูกจัดจำแนกมาเป็นกลุ่มของตัวเอง เนื่องจากความ แตกตา่ งทางโครงสรา้ งและระดบั อารเ์ อ็นเอ ไวรอยด์เป็นเชื้อสาเหตุโรคพืชที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่เคยมีรายงานซ่ึงมีขนาดที่เล็กกว่าเชื้อไวรัสอีก นอกจากน้ีไวรอยด์ยังมีลักษณะพิเศษและแตกต่างจากเช้ือสาเหตุโรคชนิดอื่นๆ คือ โครงสร้างของไวรอยด์ (และ ไวรัส) ไม่ได้มีลักษณะเป็นเซลล์เหมือนส่ิงมีชีวิตชนิดอื่น กล่าวคือ ไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) รวมถึง องค์ประกอบเซลล์ (cell organelle) ที่จำเป็นในขั้นพื้นฐานสำหรับส่ิงมีชีวิต เช่น ไรโบโซม (ribosome) ซ่ึงมี หน้าทีใ่ นการสังเคราะห์โปรตนี ให้กบั เซลล์สิ่งมีชีวิต ด้วยเหตุผลดงั กล่าวทำให้โครงสร้างของเชื้อไวรอยด์ (และไวรัส) ถกู จัดจำแนกเป็น “อนุภาค” (particle) และเน่ืองจากองค์ประกอบพ้ืนฐานที่ไม่เป็นเซลล์ของท้ังไวรอยด์และไวรัส จึงทำให้เช้ือทั้งสองชนิดมีคุณลักษณะเป็น “ปรสิตถาวร” (obligate parasite) ที่จะเพ่ิมปริมาณตัวเอง, มีการ ก่อให้เกิดโรคหรือแสดงอาการผิดปกติ รวมถึงแสดงคุณสมบัติความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ก็ต่อเม่ือเช้ือไวรอยด์และไวรัส น้ันจะต้องตดิ เช้อื (infection) อย่ภู ายในเซลลเ์ จา้ บ้าน (host cell) แลว้ เท่าน้นั หากอยู่ภายนอกเซลล์โฮสตไ์ ม่วา่ จะ
เป็นพื้นผิววัสดุต่างๆ หรือในสิ่งแวดล้อม ไวรอยด์ (และไวรัส) จะไม่มีกิจกรรมหรือแสดงคุณสมบัติของความเป็น สิ่งมีชีวิตอยู่เลยแม้แต่น้อย ซึ่งต่างจากเช้ือสาเหตุโรคชนิดอ่ืนๆ (เชื้อรา, แบคทีเรีย, ไฟโตพลาสมา, โปรโตซัว และ ไส้เดือนฝอย) คุณสมบัติที่สำคญั ของไวรสั มี ดงั น้ี 1. ไวรสั มีกรดนิวคลีอกิ เพยี งชนิดเดยี วเปน็ DNA หรือ RNA (ยกเว้นบางชนิด) 2. ไวรัสมีขนาดเล็กมาก (20-300 nanometers) จนสามารถหลุดรอดผ่านเคร่ืองกรองท่ีใช้กรองแบคทีเรีย ได้ ในสมัยก่อนเรยี กไวรัสว่าเป็น filterable agents การดูรูปร่างของไวรัสต้องใช้กล้องจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนจะใช้ กล้องจุลทรรศน์ธรรมดาไมไ่ ด้ 3. ไวรัสมีการเพิ่มจำนวนเฉพาะในเซลล์ของสิ่งท่ีมีชีวิตเท่าน้ันจึงจัดไวรัสเป็น obligate intracellular parasite และ กลไกของไวรัสในการเพิ่มจำนวนทีเ่ รียกวา่ replication ก็แตกต่างจากการเพ่ิมจำนวนของจุลินทรีย์ ชนิดอ่ืนอย่างชัดเจน ท้ังนี้เพราะไวรัสมีโครงสร้างและส่วนประกอบแบบง่ายๆ ไม่มีเมตาโบลิซึมและ organells ตา่ งๆ เชน่ ไรโบโซมหรอื ไมโทคอนเดรีย ของตวั เอง จำเปน็ ตอ้ งอาศยั การทำงานจากเซลล์โฮสต์ทั้งสิ้น 4. ไวรัสไม่ถูกทำลายโดยยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาโรคติดเช้ือแบคทีเรีย แต่มีสารอินเตอร์เฟียรอน(Interferon, IFN) และยาหรือสารเคมที ี่ยับยั้งการเพ่ิมจำนวนของไวรัสได้ 5. การติดเชื้อไวรัสสามารถทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่างๆ บนเซลล์โฮสต์ เช่น ทำให้เซลล์ตาย, มีการ รวมตวั ของเซลล์, หรือทำใหเ้ ซลล์เกดิ การเปล่ยี นแปลงคุณสมบัติ (transformation) กลายเปน็ เซลล์มะเรง็ ได้ โครงสรา้ ง โครงสรา้ งของไวรสั ใบยาสบู ด่าง ซึง่ อาร์เอน็ เอของไวรสั ขดอยู่ในเฮลิกซ์เกิดจากหนว่ ยยอ่ ยของโปรตีนซ้ำๆ กัน ไวรสั จัดเป็นจุลินทรีย์ทม่ี ีโครงสรา้ งแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ไวรัสที่มีสว่ นประกอบครบสมบรู ณ์เรียกว่าวิริออน (virion) ซึ่งจะประกอบดว้ ยแกนกลาง (core) ของกรดนิวคลิอิกซ่งึ เปน็ RNA หรือ DNA และมีโปรตนี หุ้มล้อมรอบเพื่อ ปอ้ งกันกรดนิวคลิอิก โปรตีนที่หุ้มนเ้ี รียกวา่ แคพซิด (capsid) ซง่ึ ประกอบ
ด้วยหนว่ ยยอ่ ย เรียกวา่ แคพโซเมอร์ (capsomer) กรดนวิ คลิอิกและโปรตนี ท่ีห้มุ น้ีเรยี กวา่ นิวคลโี อแคพ ซดิ (nucleocapsid) ในไวรสั บางชนิดจะมีชั้นไขมันหุ้มล้อมรอบนิวคลีโอแคพซิด (nucleocapsid) อกี ชั้นหนึ่งเรียกไวรัสพวกน้ีว่า enveloped virus ไวรัสบางชนิดมีเฉพาะนิวคลีโอแคพซิดเท่าน้ันเรียกว่าไวรัสเปลือย (non-enveloped virus หรือ naked virus) ไวรัสท่ีมี envelope บางชนิดมีปุ่มย่ืนออกมาจากชั้น envelope เรียกว่า spike หรือ peplomer ซ่ึงมี ความสำคญั ในการใช้เกาะกับ receptor บนผิวเซลล์และบางชนิดเป็นตวั กระตนุ้ ระบบภูมคิ ุ้มกนั ท่ีดี spikeของไวรัส อาจมีคุณสมบัติเป็นสารบางอย่างเช่น เป็นฮีแมกกลูตินิน (hemagglutinin) หรือเป็นเอนไซม์นิวรามินิเดส (neuraminidase) โดยท่ัวไป naked virus มีความทนทานตอ่ สภาพแวดล้อมได้ดกี ว่า enveloped virus และจะไม่ถูกทำลาย ด้วยสารละลายไขมนั เชน่ ether, alcohol หรือ bile คณุ สมบตั ทิ างชีววิทยา คุณสมบัตสิ ำคัญทางชีววทิ ยาของไวรสั คือ 1. ไวรัสไมจ่ ดั วา่ เปน็ \"เซลล์\" เน่อื งจากไมม่ ีเยื่อหมุ้ เซลล์ อันเป็นพ้ืนฐานทที่ ุกเซลล์ตอ้ งมี 2. ไวรสั มีกรดนิวคลีอิค ซงึ่ การสลับการเรยี งตวั ของนิวคลโี อไทด์ คือ รหสั พนั ธุกรรมอย่ใู นสภาพของยนี ที่ ควบคมุ ลักษณะทางกรรมพนั ธ์ุ 3. ไวรัสเพม่ิ จำนวนไดใ้ นเซลล์ของส่งิ มชี วี ิตเท่าน้นั อาหารทใี่ ชเ้ พาะเลย้ี งแบคทเี รยี ใชเ้ พาะเลย้ี งไวรัสไม่ได้ นอกจากจะเพาะเลีย้ งในเซลล์ของสิ่งมชี วี ติ 4. รหัสพันธุกรรมของไวรัสเม่ือผันแปร ไวรัสก็ผันแปรด้วยไวรัสท่ีผันแปรแตกต่างไปจากไวรัสปกติอาจ ตรวจสอบไดโ้ ดยเลีย้ งกับเซลลต์ ่างๆ และเปรยี บเทียบไวรัสดตู รวจสอบคณุ สมบัติตา่ งๆ เชน่ (1) คุณสมบตั ทิ างฟิสิกส์ของไวรัส เช่น ความทนของไวรัสต่อรงั สี ความทนของไวรัสต่ออุณหภูมิระดบั ต่าง ๆ (2) คณุ สมบัติทางเคมขี องไวรัส เช่นความทนของไวรัสต่อสารเคมี (3) คุณสมบตั ิทางชวี วิทยาของไวรสั เช่น ความสามารถในการสงั เคราะห์ไวรัส ความสามารถของไวรัสใน การทำลายเซลล์รุนแรงมากนอ้ ยเพียงใด ความสามารถในการสังเคราะห์เอน็ ไซม์ สงั เคราะห์แอนติเจนท่ีเฉพาะของ ไวรัส ยีนท่ีควบคุมชนิดของเซลล์ที่ไวรัสจะเจริญ ยีนท่ีทำให้เกิดการสลายเซลล์ท่ีผันแปรจากเซลล์ปกติ โดย เปรียบเทียบความสามารถของไวรัสท่ีจะแพร่พันธุ์ โดยตรวจสอบดูคุณสมบัติทางฟิสิกส์ ทางเคมีและทางชีววิทยา ของไวรัสตามแบบดังกล่าวข้างต้น ความรู้เรื่องไวรัสกับเซลล์น้ัน ส่วนใหญ่จะได้จากการศึกษาไวรัสแบคทีเรีย กับ แบคทีเรียชนิด อี.โคไล (E.coli) การที่มีการศึกษาไวรัสแบคทีเรียกับแบคทีเรีย อี.โคไล มาก เพราะแบคทีเรียชนิดน้ี เป็นแบคทีเรียทีเ่ ราทราบคุณสมบตั ทิ างชวี วทิ ยาอยา่ งดี การเพมิ่ จำนวนของไวรสั
ไวรัส ทว่ั ไปตามธรรมชาติจำเป็นต้องเข้าไปเจริญและทวีแพร่พันธใ์ุ นเซลล์ของส่ิงมชี วี ติ เท่าน้นั โดยยนี ของ ไวรสั และยีนของเซลล์ทีเ่ พาะเล้ียงไวรสั ตอ้ งมีกลไกสอดคล้องต้องกนั ไวรัสจะสามารถเจริญแพร่พนั ธุ์ไวรัสใหมไ่ ด้ หรือไม่ ขน้ึ อยู่กบั ชนิดของเซลลแ์ ละชนิดของไวรัส ดังนน้ั แตล่ ะชนดิ ของไวรัสจึงทำให้เกิดโรคเฉพาะมนุษย์ สตั ว์ แมลง พชื สาหร่ายสนี ้ำเงนิ รา หรือแบคทีเรีย ตา่ งๆ กนั ไวรัสไข้หวดั ใหญ่ เมอื่ ฉีดเพาะเล้ยี งลงในถุงนำ้ คร่ำลูกไก่ ไวรัสไข้หวดั ใหญ่จะทวีจำนวนได้มากมาย แตถ่ ้าฉีด เล้ยี งบนเย่ือคอรโิ ออลนั ตอยส์ของลูกไก่ จะไมเ่ กิดการสังเคราะห์ไวรสั ไขห้ วดั ใหญ่เลย แสดงวา่ สภาพแตกต่างกันโดย รูปรา่ ง และหน้าที่ (differentiation) ของเซลลถ์ ุงน้ำครำ่ กับของเซลล์เย่อื คอรโิ ออลันตอยส์ อำนวยให้มี ความสามารถในการสงั เคราะหไ์ วรัสไดต้ า่ งกัน ข้ันตอนการเพิม่ จำนวนไวรัส ไวรัสหดู ของโชพ เม่อื ฉีดเขา้ ผวิ หนังกระตา่ ยบ้าน จะเกิดเป็นหูดท่ผี วิ หนัง ภายในเซลลท์ เี่ ป็นหูดจะมีการสรา้ ง สารของไวรสั หูดของโชพ แตจ่ ะไมส่ ร้างไวรัสหูดที่สมบรู ณ์เลย แต่ถ้าทดลองกับกระต่ายปา่ หางปยุ ฝ้าย จะพบวา่ สรา้ งไวรสั ท่หี ดู ท่ีสมบูรณ์ได้มากมาย ในการทวีแพรพ่ นั ธุ์ของไวรสั น้ันไวรสั จะสังเคราะห์ไวรสั ท่ีสมบรู ณ์ไดโ้ ดย 1. เข้าไปอยภู่ ายในเซลลข์ องส่ิงมีชวี ิต เพราะไวรัสไมม่ เี อนไซม์ ตอ้ งอาศยั เอนไซมข์ องเซลล์ 2. สงั เคราะหส์ รา้ งกรดนวิ คลีอคิ เพ่ิมขึ้น 3. สงั เคราะหโ์ ปรตนี ท่หี อ่ หุ้มกรดนวิ คลอี คิ ของไวรัส 4. สงั เคราะหอ์ ินทรียสาร ที่กำหนดโดยแตล่ ะยนี ของไวรสั เฉพาะ สำหรับไวรัสที่ทำให้เกิดโรคพืชสาหร่ายสีน้ำเงิน รา บัคเตรี ไวรัสจะต้องผ่านผนังเซลล์ก่อนที่จะผ่านเย่ือหุ้ม เซลล์เขา้ ไปข้างใน โปรตนี ที่พอกห่อหุ้มกรดนวิ คลีอิคของไวรัสจะทำปฏิกิริยากบั ผนังเซลล์ (อาจจะเป็นไลโพโพลแิ ซกคา ไรด์ หรือ โพลิแซกคาไรด์) กระตุ้นกลไกให้กรดนิวคลีอิคของไวรัสหรือไวรัสเปลือยอย่างเดียวผ่านผนังเซลล์ แต่มัก ผ่านผนังเซลล์พืชไม่ได้ ทำใหท้ ราบว่าโปรตีนท่ีห่อหุ้มกรดนิวคลีอิคของไวรสั มีความสำคัญในการชว่ ยให้ไวรสั เข้าไป เจริญแพร่พนั ธุใ์ นเซลล์ได้ อย่างไรก็ดี ในระยะหลังนี้ ได้พบวา่ กรดนิวคลีอคิ ของไวรสั หรือไวรัสเปลอื ยของโรค ไวรัสใบยาสูบด่าง ก็สามารถผ่านผนังเซลล์ใบยาสูบ และสังเคราะห์ไวรัสใบยาสูบด่างท่ีสมบูรณ์ได้ด้วยกลไกพิเศษ สภาวะดังกลา่ วน้ีปจั จุบันเรียกวา่ \"ทรานสเฟคชัน\" (transfection) สำหรับไวรัสท่ีทำให้เกิดโรคในคนและสัตว์ ไวรัสที่มีเยื่อหุ้มมักเข้าไปในเซลล์ทั้งอนุภาคไวรัส เยื่อมักค้างติด อยู่ท่ีผิวเซลล์ โปรตีนท่ีหุ้มห่อกรดนิวคลีอิคของไวรัสจะถูกย่อยสลายภายในเซลล์ ทำให้กรดนิวคลีอิคของไวรัสหรือ ไวรสั เปลือยอยภู่ ายในเซลล์ เมื่อกรดนิวคลีอคิ ของไวรสั เปลอื ยเขา้ ไปในเซลล์แล้ว ไวรสั เปลือยอาจจะ
1. เปลี่ยนสภาพเปน็ โปรไวรัส แฝงตัวรว่ มกับกรดนวิ คลีอิคของเซลลใ์ นลักษณะของชีพเภทนะ(lysogency) 2. ไวรัสเปลือยหากเป็นอิสระ หรือโปรไวรัสหากเปล่ียนสภาพเป็นไวรัสเปลือย ย่อมทวีจำนวนแพร่พันธ์ุ สังเคราะหไ์ วรัสทีส่ มบรู ณ์ในลักษณะวงชพี เภทนะ 3. โปรไวรสั ที่ผันแปร หรือไวรสั ท่ผี นั แปร หากทวีจำนวนแพรพ่ ันธ์ุยอ่ มสังเคราะห์ไวรัสไม่สมบรู ณ์ อาจจะอยู่ ทงั้ ในลักษณะเซลลส์ ลายหรอื ไมส่ ลายก็ได้ ไวรัสตามธรรมชาตจิ ำเป็นจะตอ้ งเขา้ ไปเจริญและทวแี พร่พันธ์ุในเซลลข์ องสง่ิ ที่มีชีวติ เท่านั้น ไวรัสจะสามารถ เจริญและทวีแพร่พนั ธุ์ในเซลล์ชนิดใดนน้ั แล้วแต่ชนิดของไวรัส ในการเจรญิ ทวแี พร่พันธ์ุของไวรสั มขี ้ันตอน ดังน้ี 1. ไวรสั จะต้องเข้าไปภายในเซลลข์ องสง่ิ ที่มีชวี ิต 2. ไวรัสจะต้องสรา้ งกรดนิวคลีอคิ ขึ้นใหมใ่ นเซลล์ของสิ่งที่มีชีวติ นน้ั ได้ (replicating nucleic acid) 3. ไวรัสจะต้องสร้างโปรตีนหุ้ม (coat protein) ห่อหุ้มกรดนิวคลีอิคเพื่อให้เกิดไวรัสที่สมบูรณ์ ส่วนท่ีเป็น กรดนิวคลีอิคเท่าน้ัน จะทวีจำนวนมากมายในเซลล์ กรดนิวคลีอิคของไวรัสบางชนิดอาจจะเป็นดีเอ็นเอ สายเดียว (+) บางชนิดอาจจะเป็นดีเอ็นเอ สองสาย (+ และ -) บางชนิดอาจจะเป็น อาร์เอ็นเอ สายเดียว (+) บางชนิด อาจจะเป็น อารเ์ อ็นเอ สองสาย (+ และ -) รูปรา่ งของไวรัสที่เปน็ สาเหตุของโรคพชื ไวรัส ที่เป็นสาเหตุของโรคพืชแต่ละชนิดย่อมจะมีรูปร่างของอนุภาคตลอดจนขนาดที่แตกต่างกัน พอจะจัดแบ่ง ประเภทรูปร่างของไวรัสโรคพชื ได้ ดงั ต่อไปนี้ 1. ไวรัสที่มีรูปร่างเป็นท่อนตรง (Stiff rod) ไวรัสแบบนี้มักมีความกว้างของอนุภาคไม่เกิน 25 nm และ ความยาว 130-300 nm 2. ไวรัสท่ีมีรูปร่างเป็นแท่งคด (Flexuous or Filamentous particle) อนุภาคไวรัสแบบน้ีมักมีความกว้าง ไม่เกิน 13 nm และมคี วามยาวตัง้ แต่ 480-2,000 nm 3. ไวรัสท่ีมีรูปหลายเหล่ียม (Icosahedron) แต่เดิมการศึกษาไวรัสด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน กำลังขยายต่ำทำให้เข้าใจกันว่า เป็นอนุภาคแบบทรงกลม แต่ปัจจุบันพบว่าไวรัสที่มีรูปทรงกลม ท่ีจริงเป็นรูป หลายเหล่ียมท่ีมีด้าน 20 หน้า ประกอบขึ้นเป็นรูปทรงหลายเหลี่ยม แต่ละหน้าจะมีโปรตีนหน่วยย่อย (Protein sub-unit) เรียงกันอย่างสม่ำเสมอ มีโพรงแกนกลางของกรด นิวคลีอิค อนุภาคของไวรัสจำพวกน้ีมีขนาด อนุภาค 20-80 nm 4. ไวรัสท่ีมีรูปร่างแบบกระสุนปืน (Bullet-shape) อนุภาคท่ีมีรูปร่างแบบน้ีจะเป็นแท่งตรง หัวท้ายมน ไม่ ตัดตรงแบบทอ่ นตรง (Stiff rod) มกั จะมคี วามกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ 1/3 ของความยาวไวรัส อ้างองิ
Dimmock, N.J; Easton, Andrew J; Leppard, Keith (2007) Introduction to Modern Virology sixth edition, Blackwell Publishing, ISBN 1-4051-3645-6 Witzany G. (2006). Natural Genome Editing Competences of Viruses. Acta Biotheoretica 54: 235-253. \"การปอ้ งกนั และการรักษาโรค\". คลังข้อมลู เกา่ เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2010-03-22. สบื คน้ เมอ่ื 2013- 03-22. Norrby E (2008). \"Nobel Prizes and the emerging virus concept\". Arch. Virol. 153 (6) : 1109– 23. doi:10.1007/s00705-008-0088-8. PMID 18446425. Dimmock p. 49
ใบความรู้ เรื่อง ไลเคน อาณาจักรของสิ่งมีชวี ติ (Lichen) 1. นิเวศวิทยาของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต (lichen) เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีเกิดจากการอยู่ ร่วมกันแบบพ่ึงพาอาศัยกัน (symbiosis) ของรา (fungi) และสาหร่าย (algae) โดยท่ัวไปอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต จะอยู่ในโครงสร้างเฉพาะที่เรียกว่า ทัลลัส (thallus) โดยราจะทำหน้าท่ีปกป้องสาหร่ายจากความแห้งแล้ง และ สาหร่ายจะมีหน้าที่สังเคราะห์แสงเพ่ือสรา้ งอาหาร โดยส่ิงมีชีวิตท่ีสังเคราะห์ด้วยแสง จะเป็นสาหร่ายสีเขียว (green algae) หรือสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (blue algae or cyanobacteria) แต่โดยส่วนใหญ่อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต จะพบในสาหร่ายสเี ขียว มากกว่า (วนารักษ์และคณะ, 2550; Gilbert, 2000; Nash III, 1996) อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ส่วนใหญ่ มีราเป็นโครงสร้างหลักของทัลลัส รวมทั้งเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเฉพาะของราด้วย ซึ่งเราเรียกกัน ท่ัวไปวา่ ชนดิ ของอาณาจักรของสิ่งมีชวี ิต” แต่ความหมายที่ถูกต้อง คือ ชนิดของราท่ีก่อให้เกิดอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต และสาหร่ายในอาณาจักรของ ส่ิงมีชีวิต ท่ีมีช่ือวิทยาศาสตร์แยกกัน อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีอยู่ ร่วมกันและเอ้ือประโยชน์ต่อ
กันได้เป็นอย่างดี (สุรีย์พร, 2557) ทัลลัสของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เกือบทุกชนิดมีสดั ส่วนของรา (mycobiont) ประมาณ 90 - 93 เปอร์เซ็นต์ และมีสัดส่วนของสาหร่าย (photobiont) เพียง 7 - 10 เปอร์เซ็นต์เท่าน้ัน การที่ อาณาจักรของสิง่ มีชีวิต มีสัดส่วน สำหรับสร้างอาหารน้อยประกอบกับช่วงเวลาในการสร้างอาหาร (การสังเคราะห์ ด้วยแสง) มีจำกัด จึงส่งผลให้อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตเติบโตได้ช้า อย่างไรก็ตามอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตบางกลุ่มมี สัดส่วนของ photobiont มากกว่า mycobiont เช่น สกุล Coenogonium (หน่วยวิจัยอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง, 2556) 2. ลักษณะท่ัวไปของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต โครงสร้างทัลลัสของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต จะแบ่ง ออกเป็น 4 สว่ นหลัก ดังนี้ (หนว่ ยวิจยั อาณาจักรของสงิ่ มีชวี ติ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง, 2556) 2.1 Upper cortex layer เป็นช้ันที่อยู่ด้านบนสุดของทัลลัส ช้ันนี้มีหน้าที่สำคัญในการ ป้องกันอันตราย จากส่ิงแวดล้อมภายนอก โดยเฉพาะความเข้มแสงสูงและการกัดกินของสัตว์จำพวก แมลง อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต สว่ นใหญม่ ีชน้ั น้แี ตอ่ าณาจกั รของสิง่ มีชวี ิต บางชนิดอาจไม่พบ 2.2 Algae layer เป็นช้ันที่อยู่ด้านล่างของชั้น upper cortex มีหน้าท่ีสำคัญ คือ สร้างอาหาร โดย กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง สาหร่ายในชั้นน้ีเรียกว่า photobiont (เรียกphycobiont สำหรับสาหร่ายและ เรียก cyanobiont สำหรับ cyanobacteria/blue green algae) ความหลากหลายของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ใน เขตบริการและเขตนันทนาการ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์จังหวัดเชียงใหม่ 4 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรม อุทยานแหง่ ชาติจังหวดั เชยี งใหม่ อาณาจกั รของสิ่งมชี วี ติ ส่วนใหญป่ ระมาณ 85% มีสาหรา่ ยสเี ขยี ว (green algae) เป็นองค์ประกอบ นอกจากน้ี ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์เป็นไซยาโนแบคทีเรียหรือสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (cyanobateria หรือ blue-green algae) และประมาณ 3-4 เปอรเ์ ซ็นตม์ ที ง้ั ไซยาโนแบคทีเรยี และสาหร่ายสีเขยี ว 2.3 Medulla layer เป็นช้ันของราท่ีอยู่ถัดจากช้ันสาหร่ายลงมา ราในอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เรียกว่า mycobiont ส่วนใหญ่เป็นราในกลุ่ม Ascomycota (98%) มีส่วนน้อยเป็นราในกลุ่ม Basidiomycota (0.4%) และ กลุ่ม Deuteromycota/anamorphic fungi/fungi imperfecti/ imperfect fungi ประมาณ 1.5% (Honegger, 2008) ช้ันนี้มีหน้าท่ีสำคัญ คือ กักเก็บความชื้นและสร้างสารที่จำเป็นต่อการเติบโตและการอยู่รอดของอาณาจักร ของสิ่งมีชวี ติ 2.4 Lower cortex layer เป็นช้ันท่ีอยู่ล่างสุดของทัลลัส มีหน้าท่ีหลัก คือ ยึดเกาะกับพ้ืนที่ ยึดเกาะ อาศัย (substrate) อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีช้ันน้ีแต่บางชนิดไม่มีโดยเฉพาะอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ใน กล่มุ ครัสโตส
แสดงภาพตดั ขวางทัลลสั อาณาจักรของสง่ิ มีชีวติ (Gilbert, 2000) 3. ประเภทของอาณาจักรของสงิ่ มีชวี ิต สามารถแบ่งอาณาจักรของส่งิ มีชวี ิต ออกเปน็ 4 กลุม่ ตาม รปู แบบการเจรญิ เตบิ โต (growth forms) (ปฏญิ ญา, 2549) ได้แก่ 3.1 ครัสโตส (crustose) เป็นอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ที่มีทัลลัสแนบติดเป็นเนื้อเดียวกันกับวัตถุท่ี อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตเกาะอยู่ มีชั้นคอร์เท็กซ์เพียงด้านเดียว อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้ ไม่สามารถ ลอกทัลลัสออกได้โดยง่าย ยกเว้นการทำลาย หรือสกัดเอาพ้ืนที่อาศัยออกไปด้วย (พิบูลย์, 2548; Budel and Scheidegger, 1996) 3.2 โฟลิโอส (foliose) เป็นอาณาจักรของสง่ิ มีชีวติ ที่มีลักษณะเป็นแผ่นใบ ปลายขอบเป็นแผ่นบาน อาจ ยกตัว ข้ึนเหนือวัสดุหรือราบกับวัตถุยึดเกาะ มีการแตกเป็นแขนงย่อย มีช้ันคอร์เท็กซ์ ทั้งบนและล่างยึดเกาะกับ พ้นื ทอ่ี าศัยโดยใช้เสน้ ใยของรา (hyphae) โดยตรง (พิบลู ย์, 2548) หรือมอี วัยวะยึดเกาะพิเศษอ่ืนๆ เชน่ ไรซนี หรือ สว่ นท่ีคล้ายราก
3.3 ฟรตู โิ คส (fruticose) เปน็ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตท่มี ลี กั ษณะเป็นกอ หรือเสน้ สายคล้ายรากฝอยของ พืช ทลั ลสั อาจจะมลี ักษณะกลมหรอื แบนก็ได้ 3.4 สแควมโู ลส (squamulose) ลักษณะของทัลลัสจะเป็นเกล็ดปลา มลี กั ษณะบางประการ คล้ายกบั ค รัสโตส คอื มชี นั้ คอรเ์ ท็กซ์ดา้ นบนเพยี งด้านเดยี ว แต่จะมีการยกตวั ขน้ึ ของขอบจากพื้นท่ี อาศยั เล็กน้อย (Hawksworth and Rose, 1976) 4. การขยายพันธุ์ของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวติ มีการขยายพันธุ์ได้ 2 แบบ คือ แบบอาศัย เพศ (sexual reproduction) และแบบไม่ อาศยั เพศ (asexual reproduction) ดงั นี้
4.1 การขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) เกิดจากโครงสรา้ งที่ เรียกว่า fruiting body ที่ภายในมีสปอร์(spore) บรรจุอยู่มีความแตกต่างกันข้ึนอยู่กับชนิดอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต บางผลมีลักษณะคล้าย ถ้วยหรือจานที่ยกขึ้นมาเหนือผิวของทัลลัส บางชนิดเป็นลักษณะภูเขาไฟ บางชนิดยกตัวนูนข้ึนเป็นแนวยาวคล้ายริม ฝีปาก เม่ือสปอร์แก่จะถูกปล่อยออกมาจาก fruiting body และแพร่กระจายไปในทิศทางต่างๆ โดยอาศัยพาหะ เช่น ลม น้ำ หรือแมลง เม่ือไปตกในพื้นท่ีเหมาะสมและเติบโตร่วมกับสาหร่ายท่ีมีความจำเพาะก็จะเจริญเป็น อาณาจกั รของส่งิ มีชีวติ ตอ่ ไป 4.2 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) เกิดจากโครงสร้างท่ีมีทั้งราและสาหร่าย รวมกัน หรือเกิดการแตกหักหรือฉีกขาดของทัลลัส และกระจายไปตกอยู่ในบริเวณที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต เป็นทัลลสั อาณาจกั รของสิ่งมีชวี ิตใหม่ โดยโครงสรา้ งดังกล่าว (ปฏิญญา, 2549) 4.3 ไอซิเดีย (isidia) มีลักษณะรูปแท่งเลก็ คล้ายน้ิวมือ หรอื เข็มทู่ มีชั้นคอร์เท็กซ์หุ้มอยู่ เม่ือแท่งดังกล่าว หักหรอื หลดุ กจ็ ะตกส่พู นื้ และมีการกระจายไปยงั ท่ีตา่ งๆ คลา้ ยกบั สปอร์ 4.4 ซอริเดีย (soredia) เป็นลักษณะคล้ายถ้วยฟูหรือผงแป้ง ซึ่งเป็นการรวมตัวกันหลวมๆ ระหว่างรา และสาหรา่ ย ติดอยบู่ ริเวณขอบของทัลลัสและด้านบนของทัลลสั มักมีสีจางกว่าทัลลสั 5. ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต มีการ เจรญิ เติบโตที่คอ่ นขา้ งชา้ บางกลุ่มมอี ัตราการเจริญเติบโตนอ้ ยกวา่ 0.1 มลิ ลิเมตรต่อปี (Gilbert, 2004) ซ่ึงมีหลาย ปัจจัยที่มผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโต ไดแ้ ก่ 5.1 แสง เป็นปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ กระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช อาณาจกั รของสิง่ มีชีวิต แต่ละชนดิ มจี ุด อม่ิ ตวั ของแสงท่ีแตกตา่ งกัน ข้ึนอยกู่ ับสภาพแวดล้อมทอี่ าณาจักรของส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่ เม่ืออาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ได้รับความเข้มแสงสูงเป็นเวลานาน คลอโรฟิลล์จะถูกทำลาย อาจส่งผลให้อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตตายได้ ในทาง ตรงกันขา้ มหากความเข้มแสงน้อยก็มีผลทำให้อัตราการสังเคราะห์แสงของอาณาจักรของสงิ่ มีชีวิตลดลง (วันวิสาข์, 2555) แสงที่อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต สามารถนำไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis active radiation ; PAR) มีความยาวคล่ืนอยู่ระหว่าง 400-700 นาโนเมตร (Nash III, 1996) นอกจาก PAR แล้ว ยงั มีความยาวคลื่นช่วงต่างๆ ท่มี ีผลกระทบตอ่ อาณาจกั รของสิง่ มชี วี ติ (Hawksworth and Hill, 1984) ได้แก่ - ความยาวคลื่นสูงกว่า 700 นาโนเมตร เช่น อินฟาเรด เป็นคลื่นที่มีอุณหภูมิสูง อาจจะทำให้ อุณหภูมิ โดยรอบสูงข้ึน รวมถึงอุณหภูมิในทัลลัสในสภาพแห้ง อาจสูงถึง 50 °c หรือมากกว่า ซึ่งสูงกว่า อุณหภูมิภายนอก
ดงั น้ัน อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตทส่ี ามารถสะทอ้ นกลับรงั สีอนิ ฟาเรดได้จงึ เปน็ ผลดีเฉพาะอาณาจักรของสิ่งมีชวี ิตท่ีอยู่ ในพ้ืนที่อบอุ่น ส่วนอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตที่สามารถดูดกลืนรังสี อินฟาเรดได้จะได้รับประโยชน์อย่างมาก เช่น อาณาจกั รของส่ิงมชี ีวิตทอี่ ยูใ่ นพืน้ ที่หนาวเย็น - ความยาวคล่ืนต่ำกว่า 300 นาโนเมตร เช่น รังสี UV เป็นอันตรายอย่างมากต่ออาณาจักรของส่ิงมีชีวิต แต่อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตบางชนิดมีการดูดกลืนแสงช่วงความยาวคลื่นน้ีโดยการผลิตรงควัตถุอยู่ในชั้น Upper cortex เพื่อช่วยดูดกลืนแสงและป้องกันช้ันสาหร่าย หน่วยวิจัยอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2553) ทำการศึกษาความเข้มแสงท่ีมีผลต่อการดำรงชีวิตของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ พบว่าช่วงเวลาที่อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตอยู่ในสภาพท่ีพร้อมท่ีจะเกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง อยู่ท่ีเวลา 6.00 – 10.00 น. ซึ่งความเข้มแสงในช่วงเวลาดังกล่าวมี ความสำคัญ เนื่องจากเป็นช่วงที่อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ค่อนข้างชุ่มนำ้ 5.2 ความช้ืน อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตในสภาพแห้งจะมีความจุของน้ำภายในทัลลัสไม่เกิน 15-30% ของ น้ำหนักแห้ง เมื่ออยู่ในสภาพเปียกช้ืนมักมีการดูดซับน้ำเข้าทัลลัสอย่างรวดเร็ว โดยอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตที่มี สาหร่ายสีเขียว เป็นส่วนประกอบสามารถดูดซับน้ำได้ 250-400% ส่วนอาณาจักรของส่ิงมีชีวิตที่มีสาหร่ายสีเขียว แกมน้ำเงิน เป็นส่วนประกอบสามารถดูดซับน้ำได้ 600 - 2,000% และอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตก็มีการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของทัลลัสสำหรับเก็บรักษาน้ำ การสังเคราะห์แสงของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เป็นการ แลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ (CO2 ) ซ่ึงไม่เกิดกับอาณาจักรของส่ิงมีชีวิตในสภาพแห้ง จากการศึกษาจะ พบว่าการสังเคราะหแ์ สงสมดุล เม่ือทัลลสั มีความความจขุ องน้ำประมาณ 22% และเพ่ิมขึ้นจนถึงระดับความจุของ น้ำในทัลลัส มีความอ่ิมตัว จากนั้นการสังเคราะห์แสงจะลดลง เนื่องจากทัลลัสมีน้ำมากเกินไปจนกีดขวางการแพร่ ของก๊าซ CO2 ที่เข้าไปในชั้นสาหร่าย การสังเคราะห์แสงของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ท่ีมีสาหร่ายสีเขียวเป็น ส่วนประกอบมีประสิทธิภาพสูง เม่ือทัลลัสมีความจุของน้ำ 70-150% ส่วนอาณาจักรของส่ิงมีชีวิตที่มีสาหร่ายสี เขียวแกมน้ำเงินเป็นส่วนประกอบมักอยู่ในช่วง 300-6,000% หรือมากกว่า จึงเป็นผลทำให้พบอาณาจักรของ สิ่งมีชีวิตประเภทนี้ในพื้นท่ีท่ีมีความชื้นสูง (Nash III, 1996) ความช้ืนและปริมาณน้ำมีความสำคัญต่อการ เจริญเติบโตของอาณาจกั รของสิง่ มีชีวิต ปริมาณน้ำและความช้ืน มีผลโดยตรงต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของ อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต เนื่องจากอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ไม่มีข้ีผ้ึงหรือแวกซ์เคลือบช้ันผิว เพ่ือป้องกันการสูญเสีย น้ำหรือความช้ืน ปริมาณน้ำท่ีน้อยหรือมากเกินไปส่งผลกับอัตราการ สังเคราะห์แสงของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ดว้ ย (วนั วสิ าข์, 2555) 5.3 อุณหภูมิอุณหภูมิมีผลโดยตรงกับสาหร่าย เนื่องจากเม่ือมีอุณหภูมิสูงข้ึนจะทำให้เพ่ิม การสูญเสียน้ำ และเพ่ิมการหายใจของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ในช่วงอุณหภูมิสูงอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต จะหยุดการสังเคราะห์ ด้วยแสง การเจริญเติบโตจึงลดต่ำลงในอุณหภูมิต่ำมักพบอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตท่ีมีสาหร่ายสีเขียว เพราะ อาณาจักรของสิง่ มชี วี ิต ทมี่ ีส่วนประกอบของสาหรา่ ยสีเขยี วแกมน้ำเงิน จะไมส่ ามารถสังเคราะห์ดว้ ยแสงทอี่ ุณหภมู ิ ต่ำกว่า -2 °C (Lange, 1965) ความหลากหลายของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ในเขตบริการและเขตนันทนาการ
อทุ ยานแห่งชาติดอยอินทนนท์จังหวัดเชียงใหม่ 11 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่ ในสภาวะอุณหภูมิต่ำกว่า 0 °C นอกจากจะทำให้อัตราการาการเจริญเติบโตลดลง เน่ืองจากมีน้ำแข็งปกคลุม ยัง อาจถูกทำลายจากสภาพถูกแช่แข็งได้ (Hale,1967) อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการ สังเคราะห์ด้วยแสงของอาณาจักร ของสิ่งมีชีวิต อยู่ในช่วง 5-20°C (Hawksworth and Hill,1984) อุณหภูมิท่ีเหมาะสมกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ในประเทศไทยซึ่งศึกษา โดยหน่วยวิจัยอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต มหาวิทยาลัย รามคำแหง (2553) พบว่า อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ทอี่ ุทยานแห่งชาตเิ ขาใหญ่มีการสังเคราะหด์ ้วยแสงเกิดได้ดที ่ีสุด ที่อุณหภูมิ19-22 °C ซ่ึงอยู่ในช่วงเวลา 6.00-10.00 น. หลังจากนั้นการ สังเคราะห์ด้วยแสงจะไม่เกิดขึ้น เนื่องจากเม่อื มีอณุ หภมู สิ งู ขน้ึ ทลั ลสั จะขาดนำ้ 5.4 พ้ืนที่อาศัยและความเป็นกรด - ดา่ งของวัตถุหรือเปลือกไม้พ้ืนที่อาศัยของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต มี หลายปัจจัยเข้ามาเก่ียวข้อง ไม่ว่าจะเป็นลักษณะของพื้นที่อาศัย ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นท่ีอาศัยกับน้ำ องค์ประกอบทางเคมีของพ้ืนท่ีอาศัย เป็นต้น เรามักพบอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต บนวัตถุท่ีมีความคงทน พื้นผิว ของวัตถุไม่หลุดลอก อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ที่พบบนเปลอื กไม้จะพบในส่วนท่ีเปลือกไม่หลุดออก ส่วนของเปลือก ไม้ที่แตก เป็นร่องจะพบอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต น้อยกว่าเปลือกไม้ท่ีเป็นผิวเรียบ (ปฏิญญา, 2549) รูปแบบการ กระจายตัวของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ยังพิจารณาถึงองค์ประกอบทางเคมีของพื้นท่ีอาศัย เน่ืองจาก อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต มีความสามารถดูดซับสารอินทรีย์และแร่ธาตุต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย เราจึงไม่พบ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต บนดินทมี่ ีการเคล่ือนตัวตลอดเวลา เช่น บริเวณทะเลทราย แต่ในพ้ืนทรายท่ีมีความเสถียร แล้ว อาจมีอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ท่ีอาศัยเป็นพ้ืนที่ยึดเกาะ นอกจากนี้ชนิดของดินและหินก็ยังมีผลต่อการดูดซับ นำ้ การกกั เก็บนำ้ หรือการสูญเสียน้ำของพื้นที่อาศัย ในดินทรายมักมีการกักเก็บน้ำได้น้อยกว่าดินทราย ท่ีปน ซากอินทรียห์ รือดินร่วน และกักเก็บนำ้ ได้เพียงระยะเวลาส้ันๆ ซ่งึ มผี ลในการได้รับสารอาหารบริเวณพ้ืนท่อี าศัยอีก ด้วย (Brodo,1973) อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต มีการสะสมสารอินทรีย์และแร่ธาตุต่างๆ ได้หลากหลาย เช่น ธาตุ ไนโตรเจนและคาร์บอน ธาตไุ นโตรเจนมีความสำคญั ในการสังเคราะหโ์ ปรตนี ของทง้ั ราและสาหร่าย คาร์บอนมีสว่ น สำคัญต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของสาหร่าย อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ได้รับธาตุอาหารจากแหล่งต่างๆ เช่น บรรยากาศ และพ้ืนท่ีอาศัย เปน็ ต้น น่ันหมายถึงการมีธาตอุ าหารละลายปนอยู่ในบรรยากาศและซมึ เข้าสทู่ ัลลัส ใน รปู แบบของสารละลาย (Hale,1967 ; Brodo,1973) ความเป็นกรดเป็นด่างมีความสัมพันธก์ บั วตั ถทุ ่อี าณาจักรของ ส่ิงมีชีวิต ใช้เป็นท่ียึดเกาะ การได้รับธาตุอาหารและสารอินทรีย์โดยการแพร่ ทำให้อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต แต่ละ ชนิดมีอัตราการเจริญเติบโตท่ีต่างกัน อัตราการแพร่ของธาตุอาหารอาจจะเปล่ียนแปลงตามความเป็นกรด -ด่าง รวมถึงการได้รบั สารบางประเภท เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2 ) จะมีความเป็นพิษมากขึ้นเมื่ออยู่ในสภาพท่ี เป็นกรด และในวัตถุยึดเกาะประเภทดินจะมีความเป็นกรด-ด่างอยู่ท่ี 4.5-8.3 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต จะ เจรญิ เตบิ โตไดด้ ีบนเปลอื กไม้ทีม่ ีความ เป็นกรด-ด่าง ไม่สูงหรือต่ำจนเกินไป อาณาจกั รของส่ิงมีชีวิต ที่เตบิ โตบนดิน ส่วนใหญ่มักชอบดินในสภาพท่ีมีความเป็นกรด ซ่ึงตรงข้ามกับอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ท่ีเจริญเติบโตบนเปลือกไม้ อย่างไรก็ตาม การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต บนดินกับความเป็นกรด-ด่าง ยังไม่แน่ชัด
(Brodo, 1973) ส่วนอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ท่ีพบตามสิ่งปลูกสร้าง หรือกำแพงคอนกรีตจะเป็นอาณาจักรของ สิง่ มชี วี ิต ท่ีสามารถเจรญิ ไดใ้ นสภาวะท่ีเปน็ ด่าง 6. ประโยชน์ของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในหลากหลายด้าน ต้ังแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง การใช้อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เป็นดัชนีบ่งช้ีคุณภาพอากาศ อาณาจักรของส่ิงมชี ีวิต สามารถใช้ตรวจวดั คณุ ภาพอากาศไดอ้ ย่างแม่นยำ ใช้คา่ ใช้จ่ายน้อย ใช้งา่ ย สามารถบ่งช้ีถึง ระดับความเป็นพิษในชั้นบรรยากาศได้อย่างชัดเจน อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต มีคุณสมบัติที่เหมาะสมในด้านน้ีเป็น อย่างยิ่ง ซ่ึงไม่พบในส่ิงมีชีวิตชนิดอ่ืน อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต สามารถสะท้อนถึงอาการของสิ่งมีชีวิตเม่ือได้รับสาร มลพิษทางอากาศได้โดยตรง ซ่ึงเคร่ืองมือตรวจวัดไม่สามารถทำได้ เพราะฉะน้ันหลายพ้ืนที่ทั่วโลก จึงนิยมใช้ อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตเป็นตวั ตรวจวัดคุณภาพอากาศควบคู่กับการใช้เครื่องมือตรวจวัด นอกจากน้ีอาณาจักรของ สิ่งมีชีวิต ถูกนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านอาหาร อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ไม่มีแป้งท่ีแท้จริง หรือแม้แต่ เซลลูโลส (cellulose) แต่มีสารพวกอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต นิน (lichenin) ที่ผนังเซลล์ของไฮฟีของรา ซ่ึงนำมาเป็นอาหาร ได้ในซีกโลกทางเหนือมีอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต Cetraria islandica หรือ iceland moss ซึ่งเม่ือนำมาผ่าน กระบวนการที่กำจัดรสขมของสารอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตออก นำมาทำซุปหรือต้มกับนมรับประทานเป็นอาหาร และยาช่วยย่อยได้ นอกจากน้ียังใช้ป่นเป็นผงผสมแป้งทำขนมปังกรอบ ด้านสมุนไพรและยา ชาวอียปิ ต์โบราณ ใช้ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เป็นส่วนประกอบของยาและสมุนไพร โดยใน ปี ค.ศ.1864 มีการค้นพบโถท่ีบรรจุเมล็ด และส่วนของพืชต่างๆ รวมทั้งอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ท่ีมีอายุประมาณ 1,700 – 1,800 ปีก่อนคริสตกาล อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตที่พบ คือ Evernia furfuracea อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต บางชนิดมีสารช่วยให้กล้ามเน้ือใน กระเพาะอาหารเคล่ือนท่ี อาจช่วยทำให้การย่อยอาหารดีขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นสารที่ทำให้ประสาทตื่นตัว (nerve exctement) ได้ด้วย พบอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด ท่ีมีพิษ คือ Lethara vulpina และ Cetraria pinastri ซ่ึง ชาวยุโรปเหนือ ใช้เบือ่ สุนัขจิ้งจอก การใช้อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ในการฟอกย้อม อาณาจกั รของสง่ิ มีชีวิต เป็นสีย้อม มาต้ังแต่สมัยอียิปต์โบราณ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต Rocella tinctoria และชนิดต่างๆ ในสกุลนี้ให้สีท่ีเรียกว่าออ ชิลล์(orchil) เป็นโทนสีม่วง สีแดงได้ จาก Parmelia saxatilis สีน้ำตาลแดงได้จาก Haematoma ventosum, H. occineum สีเหลือง น้ำตาลได้จาก Parmelia conspersa (salazinic acid) สีน้ำตาลไดจ้ าก Parmelia perlata, P. physodes, Lobaria pulmonaria แ ล ะ Cetraria islandica สี เห ลื อ งได้ จ า ก Xanthoria parietina, Cetraria funlperium, Teloschistes flavicans, Letharia vulpina, Lecanora parella, Pertusaria melaleuca แ ล ะ Usnea barbata ส่วน Candellariella vutellina และ Xanthoria lychnea ให้สีเหลืองท่ีใช้ย้อมเทียนในพิธีทาง ศาสนาในสวีเดน ประเทศฝรั่งเศสใช้อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ผสมในน้ำหอม เพื่อให้กล่ินช่ืนใจ และยังติดทนนาน โดยใชส้ ารสกัดจากอาณาจักรของส่ิงมชี ีวิต เหลา่ นีผ้ สมกับกลิ่นอน่ื ๆ นอกจากคุณสมบัติในการเป็นแอสตรินเจนของ Cetraria islandica และ Lobaria pulmonaria ทำให้ถูก นำมาใช้ในการฟอกหนังแล้ว ยังพบวา่ L. pulmonaria ถูกนำมาแทนท่ีฮอพ (hop) ในการหมักทำเบียร์ในไซบีเรีย มีการเก็บอาณาจักรของสงิ่ มชี ีวติ ที่เตบิ โตบนต้นสนมาหมกั ท าเบยี ร์ซงึ่ ได้เบยี ร์ท่ีมี รสชาติคล้ายกบั ท่ีหมักด้วยฮอบ
มากแต่แรงกว่า ในคริสตวรรษท่ี 19 มีการใช้อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ในการทำเคร่ืองด่ืม แอลกอฮอล์ เช่นใน สวีเดน อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ท่ีใช้มีหลายชนิด เช่น Cladonia rangiferina, Cetraria islandica, Alectoria jubata, Physia ciliaris Ramalina fraxinea และ Usnea florida เป็นต้น โดยต้องนำอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต มา ผ่านกรรมวิธีต่างๆ เพ่ือให้ lichenin เปล่ียนเป็น glucose แล้วจึงหมักให้ เป็นแอลกอฮอล์พบว่า Cladonia rangiferina มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบถึง 68% ทำให้กลั่นเป็น บร่ันดีท่ีมีคุณภาพดีโดยอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต 1 กิโลกรัม สามารถกลั่นเป็นแอลกอฮอล์ได้ถึงคร่ึงลิตร มีการตั้งโรงงาน กล่ันสุราจากอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ใน สวีเดน แตต่ ้องปิดกิจการไปใน ค.ศ.1884 เน่ืองจากหาวัตถุดิบได้ไม่เพียงพอ ประโยชนท์ างด้านการทำความสะอาด ในศตวรรษท่ี 17 มีการใช้ผงจากอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต Ramalina calciaris ใส่ผมทำให้ผมสวยและสะอาดโดย กำจัดรังแค นอกจากน้ี มี Evernia prunestri, Physcia ciliaris หรือ Usnea คุณค่าของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ในการดูดและรักษากล่ินถูกผลิตเป็นอุตสาหกรรมใน Montpellier ในฝรัง่ เศส การใช้อาณาจักรของส่ิงมีชีวติ บอก อายุหินและโบราณวัตถุเม่ือผิวหน้าวัตถุใดๆ เริ่มเปิดหรือ สัมผัสอากาศจะมีอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต เข้ามาเกาะ อาศัยและเติบโตทำให้ขนาดของอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต จะเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ตามอายุ อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต ท่ี นิยมใช้ในกรณีน้ีคือ Rhizocarpon geographicum อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต มีอายุยืนยาวมาก มีรายงานว่า อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต บางชนิด มีอายุยืนยาวถึง 4,000 ปี เมื่อเราทราบอัตราการเติบโตของอาณาจักรของ สิ่งมีชีวิต ก็จะสามารถประเมินอายุของวัตถุน้ันได้วิธีการน้ีเรียกว่า อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต โนเมตริ (Lichenometry) ใชป้ ระเมินอายขุ องหนิ และโบราณสถาน 7. การจัดจำแนกอาณาจักรของสง่ิ มีชวี ิต 7.1 แยกโดยใช้รูปแบบการเติบโต (growth form) ซ่ึงโดยท่ัวไปอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต แบ่งรูปแบบการ เติบโตออกเป็น 3 กลุ่ม หลัก ๆ คือ กลุ่มครัสโตสอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต (crustose) กลุ่มโฟลิโอสอาณาจักรของ ส่ิงมีชีวิต (foliose) และกลุ่มฟรทู ิโคส (fruticose) การจัดแยกหมวดหมู่ของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต แบบน้ีจะช่วย ให้การ จำแนกชนิดอาณาจกั รของส่งิ มีชวี ติ ทำไดส้ ะดวกย่งิ ขน้ึ โดยเฉพาะการเลอื กใช้คมู่ อื การจัดจำแนก (key) 7.2 คัดแยกกลุ่มอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต จากโครงสร้างสืบพันธ์ุภายนอกอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ในหนึ่ง กลุ่มสร้าง โครงสร้างสบื พันธ์แุ บบอาศัยเพศ (sexsual reproductive struture) หลายแบบ บางชนิดสร้างแอโพทิ เชียแบบจาน (disc-like apothecia) บางชนิดสร้างแอโพทิเชียแบบริมฝีปากหรือลายเส้น (lirellate apothecia) และบางชนิดสร้างแบบเพอริทิเชีย (perithecia) การแยกกลุ่ม อาณาจักรของส่ิงมีชีวิต แบบนี้เป็นการช่วยย่อย
ความหลากหลายของอาณาจักรของสิ่งมีชีวติ ลงไปอกี ข้นั เนื่องจากอาณาจักรของส่ิงมชี ีวิต แต่ละชนิดมี โครงสรา้ ง สบื พันธุ์แบบอาศัยเพศเพียงแบบใดหรือแบบหนึ่งเทา่ น้ัน 7.3 วิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายนอก ภายหลังจากท่ีแยกกลุ่มอาณาจักรของส่ิงมีชีวิต เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อจากน้ีคือบันทึกลักษณะที่เฉพาะของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต แต่ละตัวอย่าง เพื่อนำเอา ลักษณะเฉพาะเหล่าไปเทียบกับคมู่ ือการจัดจำแนกเพ่ือคน้ หาชื่อของอาณาจักรของส่ิงมีชีวติ ชนิดน้นั ๆ ต่อไป สงิ่ ที่ ต้องบนั ทึกเปน็ อันดบั แรกคือ ลักษณะทางสัณฐานวทิ ยาภายนอก ท่ีสามารถมองเห็นดว้ ยตา ได้แก่ 7.3.1 สีและลักษณะของแทลลสั 7.3.2 ขนาดและลักษณะของโลป 7.3.3 สแี ละลักษณะของโครงสรา้ งสืบพนั ธ์แุ บบอาศยั เพศ 7.3.4 ชนดิ ของโครงสรา้ งสืบพนั ธุแ์ บบไม่อาศยั เพศ (soredia หรือ isidia) 7.3.5 มขี น (cilia) ที่ขอบโลปหรอื ไมม่ ี 7.3.6 มrี hizine หรือ holdfast หรือ ไมม่ ี 7.4 วเิ คราะห์ลักษณะโครงสรา้ งภายในของแทลลัส ไดแ้ ก่ ชนิด/กลมุ่ ของสาหร่ายท่ีเป็นองค์ประกอบใน ชั้นของสาหร่าย (สาหร่ายสีเขียวหรือ สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) การเรียงตัวของชั้นต่าง ๆ ในอาณาจักรของ ส่ิงมีชีวิต มีอยู่ 2 แบบ คือ heteromerous กับ homoiomerous การเรียงตัวของรา ซ่ึงมีอยู่ 2 แบบหลัก ๆ คือ paraplectenchyma กับ prosoplectenchyma
วิดีโอ เรือ่ ง ไลเคน https://www.youtube.com/watch?v=hk64e7G-pCA
แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอื่ ง อาณาจกั รส่งิ มีชวี ติ - อาณาจักรไวราและไลเคน คำชแี้ จง แบบทดสอบก่อนเรียน มีจำนวนท้ังหมด 10 ข้อ คำสั่ง จงทำเคร่ืองหมายกากบาท (X) หน้าข้อที่ถูกต้องท่ีสุด เพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดคือระดบั ทีใ่ หญท่ ส่ี ดุ ของสิง่ มีชวี ติ ก. อาณาจักร Kingdom ข. ไฟลมั Phylum ค. ครอบครัว family ง. สปีชสี ์ Species 2. ในไฟลัมคอร์ดาตา คลาสใดเป็นพวกสตั ว์ครึง่ นำ้ ครึ่งบก ก. Class Chondricthyes ข. Class Osteicthyes ค. Class Amphibia ง. Class Reptilia 3. ข้อใดเปน็ องคป์ ระกอบของความหลากหลายทางชวี ภาพ Biological diversity ก. ความหลากหลายของสปชี สี ์ Specific diversity ข. ความหลากหลายทางพนั ธ์ุกรรม Genetic diversity ค. ความหลากหลายของระบบนิเวศ Ecological diversity ง. ถกู ทกุ ข้อ 4. อาณาจักรใดไม่มเี ย่ือห้มุ นิวเคลยี ส ข. อาณาจกั รสัตว์ ก. อาณาจักรฟังไจ ง. อาณาจักรพืช ค. อาณาจักรมอเนอรา 5. สาหรา่ ยสเี ขียวแกมน้ำเงนิ อยู่อาณาจกั รใด ข. อาณาจักรโพรทิสตา ก. อาณาจักรมอเนอรา ง. อาณาจกั รฟงั ไจ ค. อาณาจกั รพชื 6. กลุม่ ของสตั ว์ท่ีตอ้ งการลอกคราบคือกลุ่มใด ก. หนอน Worm ข. แอเนลดิ Annelid ค. ซีเลนเทอเรต Coelenterate ง. อารโ์ ทรพอด Arthropo
7. ไฟลัมโพรโตซัว Phylum protozoa อยู่ในอาณาจกั รใด ก. อาณาจักรพืช ข. อาณาจักรสตั ว์ ค. อาณาจกั รมอเนอรา ง. อาณาจักรโพรทิสตา 8. เฟิน Fern เปน็ ดิวชิ ัน่ Division ใดในอาณาจักรพชื ก. Division Bryophyta ข. Division Pterophyta ค. Division Cycadophyta ง. Divisionconiferophyta 9. ราในดวิ ิชัน่ Division เรยี กได้ว่าราถงุ Sac fungi ก. Division Zygomycota ข. Division Ascomycota ค. Division Basidiomycota ง. DivisionDeuteromycota 10. Phylum Coelenterata มลี กั ษณะอย่างไร ก. มีสมมาตรแบบรัศมี ข. มีเน้อื เยื่อ2ชัน้ ค. ทางเดินอาหารเป็นแบบถุงไมส่ มบรู ณ์ ง. ถกู ทกุ ขอ้ เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ก 2. ค 3. ง 4. ค 5. ค 6.ง 7. ข 8.ข 9.ข 10.ข
แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียน ชื่อโครงการ/กจิ กรรม........................................................................................................................ ชื่อโรงเรยี น/สถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………….. ชอ่ื หัวหนา้ โครงการ/กิจกรรม............................................................................................................. คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินทำเคร่ืองหมายถูก () ลงในช่องระดับพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีเกณฑ์ระดับคุณภาพ การประเมินดังน้ี 5 มีพฤติกรรมการเรียนรู้ มากทส่ี ุด 4 มีพฤตกิ รรมการเรียนรู้ มาก 3 มพี ฤติกรรมการเรียนรู้ ปานกลาง 2 มพี ฤตกิ รรมการเรยี นรู้ นอ้ ย 1 มีพฤติกรรมการเรียนรู้ น้อยทส่ี ดุ เกณฑก์ ารพิจารณาระดับคุณภาพ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 0 - 50 ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 50 - 69 ระดับคณุ ภาพ พอใช้ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 70 – 79 ระดบั คุณภาพ ดี คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 80 – 89 ระดบั คุณภาพ ดีมาก คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 90 - 100 ระดบั คุณภาพ ดีเยย่ี ม พฤติกรรมการเรียนรู้ ระดับพฤตกิ รรม 54321 1. ความตั้งใจในการทำงาน 2. ความรบั ผิดชอบ 3. ความกระตือรอื รน้ 4. การตรงต่อเวลา 5. ผลสำเร็จของงาน 6. การทำงานรว่ มกับผู้อ่นื 7. มคี วามคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ 8. มกี ารวางแผนในการทำงาน 9. การมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ ในกลมุ่ 10. การมสี ่วนรว่ มในการแกไ้ ขปัญหาในกลุ่ม ลงชอ่ื ......................................................................ผูป้ ระเมนิ ............../.............................../.....................
แผนการสอนครงั้ ที่ 16 เร่อื ง กำเนดิ ส่งิ มชี วี ิตและทฤษฎกี ำเนดิ สิ่งมชี วี ติ มหี ลายทฤษฎีท่ีพยายามอธิบายการเกดิ ของสิง่ มีชีวิต เช่น ทฤษฎี “spontaneous generation” ท่ีกล่าว ว่าส่ิงมีชีวิตเกิดข้ึนได้ด้วยตัวเองจากสิ่งไม่มีชีวิตเช่น กบและแมลงเกิดจากดิน หรือแมลงเกิดจากเน้ือเน่า อย่างไรก็ ตามปัจจุบันทฤษฎีดังกล่าวได้รับการพิสูจน์แล้วว่าไม่เป็นความจริง เป็นท่ีทราบในปัจจุบันว่าส่ิงมีชีวิตเกิดจาก ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกัน เช่น สุนัขจะให้กำเนิดสุนัข หนอนผีเส้ือเกิดจากผีเสื้อและพัฒนาเป็นผีเสื้อในลำดับต่อมา อย่างไรก็ตามหากสิง่ มีชวี ติ เกิดจากสิง่ มีชีวติ แล้วสิง่ มชี ีวิตเริม่ แรกมาจากที่ใดหรอื เกดิ ขนึ้ ได้อยา่ งไร ? นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษช่ือ ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และ แอลเฟรด รัสเซล วอลแลนซ์ (Alfred Russel Wallance) ได้เสนอทฤษฎีวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตบนโลก (theory of evolution by natural selection) วิวัฒนาการของสง่ิ มีชีวติ เกดิ จากการคดั เลอื กตามธรรมชาติ ซง่ึ ทฤษฏดี งั กล่าว กล่าวว่า สง่ิ มีชวี ติ หนึ่ง ๆ ภายในชนิดเดียวกัน (สปีชีส์ ; species) จะมีความแตกต่างกันอยู่บ้าง ซึ่งเราเรียกว่าแตกต่างภายในส่ิงมีชีวิตชนิด เดียวกันนี้ว่า ความผันแปร (variations) โดยความผันแปรดังกล่าว จะเป็นผลให้ส่ิงมีชีวิตสามารถอยู่รอดในได้ สภาวะแวดล้อม ตัวอย่างเช่น เม่ือเกิดสภาวะแห้งแล้ง แมลง สายพันธุ์ท่ีมีความสามารถกินอาหารได้หลายชนิดทั้ง ใบพืชและหญ้า จะสามารถมีชีวิตรอดได้ดีกว่าแมลง สายพันธ์ุที่สามารถกินหญ้าได้อย่างเดียว เมื่อส่ิงมีชีวิต สาย พันธ์ุหนึ่งสามารถมีชีวิตได้นาน ก็สามารถมีลูกหลานได้มากกว่าสิ่งมีชีวิต สายพันธ์ุอื่นท่ีมีอายุส้ันและเม่ือเวลาผ่าน ไปสง่ิ มีชีวิต สายพันธุ์น้นั จะมีจำนวนมากข้นึ และเกิดเปน็ ชนดิ ใหม่ (new species) สงิ่ มีชีวิตเร่ิมแรกเกิดข้ึนได้อย่างไร ? แรกเริ่มเดิมทีเมื่อโลกยงั ร้อน ส่ิงมีชีวิตไม่สามารถอาศัยบนโลกใบนี้ได้ เมื่อเวลาผ่านไปโลกเร่ิมเย็นตัวลง อุณหภูมิบนโลกจึงเหมาะท่ีจะเกิดสิ่งมีชีวิตขึ้น โดยทฤษฎีท่ียอมรับเกี่ยวกับการ เกิดส่ิงมีชีวิตเริ่มแรก เกิดจากการทำปฏิกิริยากันของสารเคมีซ่ึงเกิดข้ึนในทะเล หลังจากน้ันเกิดเป็นสารประกอบ พวกโปรตีน กรดอะมิโน และเอนไซม์ สะสมอยู่ในทะเลเป็นจำนวนมาก สำหรับสมมุติฐานดังกล่าวได้รับการ สนับสนุนโดยการทดลองของ สแตนลีย์ มิลเลอร์ (Stanley Miller) โดยมิลเลอร์ได้ทำการจำลองสภาวะซึ่งเป็น ระบบปิด หลังจากนั้นได้ใส่ก๊าซมีเทน (CH4) แอมโมเนีย (NH3) ไฮโดรเจน และน้ำ ซ่ึงเช่ือว่าสภาวะดังกล่าวเคย เกิดขึ้นในบรรยากาศของโลกในอดีต หลังจากน้ันให้ความร้อนและทำให้เกิดประกายไฟข้ึน ภายในระบบท่ีจัดไว้ หลังจากเวลาผา่ นไปหนึง่ สปั ดาห์ มลิ เลอร์พบว่าในชุดการทดลองพบกรดอะมิโนและกรดอินทรยี ์เกิดขึน้ ส ำ ห รั บ ขั้ น ต อ น ต่ อ ม า ส า ร ป ร ะ ก อ บ อิ น ท รี ย์ จ ะ ร ว ม ตั ว กั น เป็ น โ ม เล กุ ล อิ น ท รี ย ส า ร ข น า ด ใ ห ญ่ (macromolecules) และวิวัฒนาการต่อไปจนเกิดเป็นโปรโตเซลล์ (protocell) ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นของเซลล์ มี โครงสร้างของผนังเป็นไขมันและโปรตีน และเกิดการสันดาปภายในเซลล์ได้ หลังจากน้ัน โปรโตเซลล์ ซ่ึงเช่ือว่ามี อาร์เอ็นเอทำหน้าท่ีเป็นท้ังสารพันธุกรรมและเอนไซม์ จะวิวัฒนาการกลายเป็นเซลล์เริ่มแรกของสิ่งมีชีวิตซ่ึงมี ความสามารถในการเพิม่ จำนวนหรอื สบื พันธุ์
ลักษณะของสิ่งมีชีวติ ส่งิ ตา่ งๆ ที่เราพบเห็นอยู่ทวั่ ไป ทกุ คนคงสามารถแยกไดว้ า่ สง่ิ ใดเป็นส่งิ มชี ีวติ ซากของส่งิ มีชวี ิต หรอื สงิ่ ไม่มชี วี ิต ทงั้ น้ีเพราะสิง่ มีชวี ติ จะต้องมลี ักษณะและกระบวนการของชีวิตดงั นี้ 1. การกินอาหาร สิง่ มชี วี ติ ต้องการอาหารเพ่ือสร้างพลังงานและการเจรญิ เติบโต โดยพชื สามารถสงั เคราะห์อาหาร ข้นึ เองได้ดว้ ยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ซ่ึงต้องใชพ้ ลังงานจากแสงอาทิตยเ์ ปล่ยี นน้ำและแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์เป็นน้ำตาล ส่วนสตั วไ์ ม่สามารถสร้างอาหารเองไดต้ ้องกินพชื หรอื สตั วอ์ ื่นเปน็ อาหาร สัตวต์ อ้ งกินอาหารเพ่ือสรา้ งพลังงานให้แก่ร่างกาย
พชื สังเคราะห์อาหารไดโ้ ดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. การหายใจ กระบวนการหายใจของสงิ่ มชี วี ิตเปน็ วิธีการเปลีย่ นอาหารทก่ี ินเข้าไปเป็นพลงั งาน สำหรบั ใชใ้ นการ เคลอ่ื นไหว การเจริญเตบิ โต และการซ่อมแซมสว่ นที่สกึ หรอของรา่ งกาย สิ่งมีชีวติ ทั่วไปใช้แก๊สออกซเิ จนใน กระบวนการหายใจ แผนภาพแสดงสมการการหายใจของสิ่งมีชีวิต 3. การเคลอ่ื นไหว ขณะท่ีพชื เจรญิ เตบิ โต พชื จะมีการเคล่ือนไหวอยา่ งช้าๆ เชน่ รากเคล่ือนลงสู่พืน้ ดินดา้ นลา่ ง หรือส่วนยอดของตน้ ที่จะเคล่ือนขึน้ หาแสงด้านบน สัตวจ์ ะสามารถเคล่ือนไหวได้ท้ังตวั ไม่ใช่เพียงสว่ นใดส่วนหน่ึง ของรา่ งกาย สตั วจ์ งึ เคลื่อนที่ไปหาอาหารหรือหลบหนีจากการถูกล่าได้ สง่ิ มีชวี ิตทุกชนิดขณะทย่ี ังมีชีวติ อยูจ่ ะมกี ารเคล่อื นไหว 4. การเจริญเตบิ โต ส่งิ มชี วี ิตทกุ ชนิดเติบโตได้ พชื เตบิ โตได้ตลอดชีวิต สว่ นสตั ว์หยดุ การเจริญเติบโตเม่อื เจริญเตบิ โตจนมขี นาดถงึ ระดับหนึ่ง ส่ิงมีชีวิตบางชนดิ ขณะเจรญิ เตบิ โตไม่มีการเปลย่ี นแปลงรูปร่าง แตบ่ างชนดิ ขณะเจริญเติบโตมีการเปลีย่ นแปลงรูปร่างซ่ึงสามารถสงั เกตเห็นไดอ้ ย่างชดั เจน
การเจรญิ เติบโตของไหมมกี ารเปลย่ี นแปลงรูปร่างลักษณะเป็น 4 ชน้ั คือ ระยะวางไข่ ระยะตัวหนอนไหม ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวยั 5. การขับถ่าย เป็นการกำจัดของเสียที่สิง่ มีชีวติ นั้นไม่ต้องการออกจากร่างกาย พืชจะขับของเสยี ออกมาทางปาก ใบ สัตว์จะขับของเสยี ออกมาในรปู ของเหง่ือ ปสั สาวะ และปะปนออกมากับลมหายใจ สนุ ขั ขับเหงื่อออกมาทางจมูกและล้ิน 6. การตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ สงิ่ มชี ีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งแวดลอ้ มเพื่อความอย่รู อด เช่น พชื จะหันใบเข้าหาแสง สัตวม์ อี วัยวะรบั ความรูส้ กึ ทีแ่ ตกต่างกันหลายชนดิ ใบไมยราบจะหบุ เม่ือถูกสัมผัส
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336