Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนเอกเทศ 1 (ฉ.ปรับปรุง)

เอกสารประกอบการสอนเอกเทศ 1 (ฉ.ปรับปรุง)

Published by suchin.kri, 2018-02-26 22:20:21

Description: เอกสารประกอบการสอนเอกเทศ 1 (ฉ.ปรับปรุง)

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 1ความสัมพนั ธ์ระหว่างเอกเทศสัญญากบั หลกั ทว่ั ไป 1.1 ความหมายของเอกเทศสัญญา เอกเทศสัญญา (Specific Contract) คือ สัญญาที่มีกฎหมายกําหนดชื่อไว้ให้โดยเฉพาะเจาะจง และกาํ หนดสิทธิหนา้ ท่ีของคูก่ รณีเป็นพิเศษแยกมาจากสญั ญาทวั่ ๆ ไป ในบรรพ 2 ซ่ึงการท่ีกฎหมายไดก้ าํ หนดชื่อและสิทธิหน้าท่ีของคู่สัญญาเอาไวน้ ้นั ก็เพราะสัญญาดังกล่าวเป็ นสัญญาท่ีสําคญั และมีการใชก้ นั ในทางปฏิบตั ิอยู่เป็ นประจาํ จึงเห็นสมควรบญั ญตั ิหลกั เกณฑ์ของสัญญาเอาไวใ้ ห้ชัดแจง้ เพ่ือให้คู่สัญญาทราบถึงหลักเกณฑ์ สิทธิ หน้าท่ีระหว่างคู่สัญญา และสามารถนาํ ไปปรับใชใ้ นกรณีท่ีเกิดขอ้ พิพาทระหวา่ งคู่สญั ญาได้ โดยหลักเกณฑ์ในเร่ืองของเอกเทศสัญญาน้ันจะบัญญัติอยู่ในบรรพ 3 ของประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ต้งั แต่ลกั ษณะ 1 ซ้ือขาย ไปจนถึงลกั ษณะ 22 หุน้ ส่วนและบริษทั แต่ท้งั น้ีมิไดห้ มายความวา่ สัญญาที่กฎหมายไทยยอมรับจะมีเพียง 22 ลกั ษณะน้ีเท่าน้นั เพราะแทท้ ่ีจริงแลว้คูก่ รณีสามารถตกลงทาํ สัญญาอ่ืนใดก็ไดอ้ นั เป็ นไปตาม “หลักเสรีภาพในการทาสัญญา” ซ่ึงถือเป็ นหลกั การพ้ืนฐานที่สําคญั ท่ีกฎหมายไทยไดร้ ับรองไวใ้ นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา151 ท่ีบญั ญตั ิวา่ “การใดเป็ นการแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย ถ้ามิใช่กฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้ อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นไม่เป็ นโมฆะ” ซ่ึงบทบญั ญตั ิดงั กล่าวหมายความวา่ คูก่ รณีตามสัญญาสามารถตกลงทาํ สัญญาที่มีเน้ือหาแตกต่างจากที่กฎหมายบญั ญตั ิไว้ได้ สัญญาน้นั ไม่เป็ นโมฆะ เวน้ แต่ส่ิงท่ีตกลงกนั น้นั ขดั ต่อกฎหมายอนั เกี่ยวกบั ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน ขอ้ ตกลงน้นั จึงจะเป็ นโมฆะ ท้งั น้ีในโลกยคุ ปัจจุบนั ไดเ้ กิดสัญญาต่างๆ ข้ึนมากมายท่ีคูส่ ญั ญาตกลงกนั และไม่ไดบ้ ญั ญตั ิอยใู่ นบรรพ 3 ของประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ อาทิเช่น สัญญาแฟรนไชน์ สัญญาต่างตอบแทนพิเศษยิ่งกว่าการเช่าธรรมดา สัญญาใหเ้ ช่าแบบลีสซ่ิง สัญญากิจการร่วมคา้ สัญญาเช่าใช้โทรศพั ท์เคล่ือนที่ สัญญาทรัสต์รีซีท เป็ นตน้ โดยสัญญาต่างๆ เหล่าน้ีนกั กฎหมายจะเรียกวา่ “สัญญาท่ีไม่มีชื่อ” อนั หมายถึง สัญญาท่ีไม่มีกฎเกณฑ์ของกฎหมายกาํ หนดไวโ้ ดยเฉพาะแต่ใชห้ ลกั เกณฑท์ วั่ ไปของสัญญา1 1.2 ความสัมพนั ธ์ระหว่างเอกเทศสัญญากบั หลกั ทวั่ ไป เม่ือเอกเทศสัญญา คือ สัญญาอยา่ งหน่ึง ฉะน้นั หลกั เกณฑ์ท้งั หลายที่วา่ ด้วยเรื่องของนิติกรรมสัญญาจึงจะตอ้ งนาํ มาใช้กบั เอกเทศสัญญาทุกเรื่องดว้ ย ส่วนในการใช้จะใช้อย่างไรน้นั ก็เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ในเร่ืองของการใช้กฎหมาย คือ ในกรณีใดหากมีกฎหมายบัญญัติไว้ 1 ศนนั ท์กรณ์ (จาํ ปี ) โสตถิพนั ธุ์, คาอธิบายซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้, พิมพค์ ร้ังที่ 4, 2550 (กรุงเทพฯ :บริษทั สาํ นกั พิมพว์ ญิ ํชู น จาํ กดั ), น.23.

2โดยเฉพาะในเอกเทศสัญญาก็ตอ้ งใชก้ ฎหมายน้ีก่อน ต่อเมื่อในกรณีใดหรือประเด็นใดบทกฎหมายเฉพาะไม่มีบญั ญตั ิไวก้ ็ตอ้ งไปใช้หลกั เกณฑ์ทว่ั ไปของสัญญา ซ่ึงหลกั เกณฑ์ทว่ั ไปของสัญญาที่จะตอ้ งนาํ มาใชใ้ นเอกเทศสัญญา ไดแ้ ก่ในเรื่องดงั ต่อไปน้ี 1.2.1 การเกดิ ของสัญญา สญั ญาน้นั ไดแ้ ก่ นิติกรรมซ่ึงเกิดข้ึนโดยการแสดงเจตนาของบุคคลต้งั แต่สองฝ่ ายข้ึนไป ซ่ึงในการแสดงเจตนาของทุกฝ่ ายน้นั ทุกฝ่ ายจะตอ้ งแสดงเจตนาตกลงยินยอมตอ้ งกนั กล่าวคือ ฝ่ ายหน่ึงแสดงเจตนาเป็ นคาํ เสนอข้ึนมา แลว้ อีกฝ่ ายหน่ึงแสดงเจตนาเป็ นคาํ สนองรับ เม่ือคาํ เสนอ คาํสนองถูกตอ้ งตรงกนั สัญญาจึงเกิดข้ึน โดยทว่ั ไปแลว้ สัญญาจะเกิดได้ 2 วธิ ี คือ (1) การเกดิ สัญญาโดยชัดแจ้ง ซ่ึงสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 กรณี คือ ก. สัญญาเกิดระหว่างบุคคลซ่ึงอยู่เฉพาะหน้า ซ่ึงหมายถึงบุคคลท่ีสามารถติดต่อสื่อสารเขา้ ใจกนั ไดใ้ นทนั ที ซ่ึงรวมไปถึงการใชโ้ ทรศพั ท์ วีดีโอคอนเฟอร์เรนท์ หรือการส่ือสารอื่นใดท่ีบุคคลสามารถส่ือสารกนั ไดท้ นั ที ในกรณีน้ีสัญญาเกิดเมื่อผูร้ ับคาํ เสนอไดต้ อบรับคาํ เสนอหรือท่ีเรียกวา่ สนองตรงตามที่ผเู้ สนอไดเ้ สนอมาโดยไม่มีการแกไ้ ขเปล่ียนแปลงใดๆ และในกรณีที่ผเู้ สนอไมไ่ ดใ้ หเ้ วลาในการทาํ คาํ สนอง ผรู้ ับคาํ เสนอจะตอ้ งตอบทนั ทีท่ีเสนอมา สัญญาจึงจะเกิดข้ึนทนั ทีท่ีมีการสนองรับคาํ เสนอ แตห่ ากผรู้ ับคาํ เสนอไม่ตอบรับทนั ที คาํ เสนอน้นั ก็จะเป็ นอนั สิ้นความผกู พนัผเู้ สนอ2 ข. สั ญญาเกิดระหว่างบุคคลผู้ไม่ อยู่เฉพาะหน้ า อันหมายถึงบุคคลท่ีไม่สามารถติดตอ่ สื่อสารกนั ไดใ้ นทนั ที อาจตอ้ งใชว้ ธิ ีติดต่อกนั โดยจดหมาย โทรสาร อีเมลล์ เป็ นตน้ ในกรณีน้ีสญั ญาจะถือวา่ เกิดข้ึน เมื่อคาํ สนองไดไ้ ปถึงผเู้ สนอ ไม่วา่ ผเู้ สนอจะไดท้ ราบถึงคาํ สนองน้นั หรือไม่กต็ าม3 แตค่ าํ สนองน้นั จะตอ้ งตรงตามคาํ เสนอทุกอยา่ ง ไม่มีการแกไ้ ขเปล่ียนแปลง เพราะหากมีการแกไ้ ขเปล่ียนแปลงคาํ เสนอ จะเทา่ กบั วา่ ผสู้ นองปฏิเสธสิ่งท่ีเขาเสนอมา ซ่ึงส่งผลให้คาํ เสนอยอ่ มตกไป ส่วนคาํ สนองที่มีการแกไ้ ขน้นั ก็จะกลบั กลายเป็ นคาํ เสนอข้ึนใหม่ นอกจากน้ี ในกรณีที่ผเู้ สนอกาํ หนดระยะเวลาในการทาํ คาํ สนอง แลว้ คาํ สนองมาถึงผูเ้ สนอล่วงเวลาที่ไดใ้ ห้ไว้ คาํ สนองน้นั ก็จะกลายเป็ นคาํ เสนอข้ึนใหม่เช่นเดียวกนั 4 ในกรณีเหล่าน้ี เม่ือคาํ สนองถือเป็ นคาํ เสนอข้ึนใหม่ จึงหมายความวา่ สัญญาจะยงั ไม่เกิดจนกวา่ จะมีการสนองรับจากผูเ้ สนอในตอนแรกอีกคร้ังหน่ึงก่อนและจะตอ้ งไมม่ ีการแกไ้ ขเปล่ียนแปลงใดๆ ดว้ ย 2 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 356 และมาตรา 357. 3 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 361. 4 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 359.

3 (2) การเกิดสัญญาโดยปริยาย หมายถึง สัญญาที่มิไดเ้ กิดจากการแสดงเจตนาโดยชดั แจง้ของบุคคลที่เก่ียวขอ้ ง แตเ่ กิดจากการกระทาํ ซ่ึงโดยลาํ พงั แลว้ การกระทาํ น้นั ไม่เป็ นการแสดงเจตนาแต่ตอ้ งอาศยั ขอ้ สันนิษฐานจากพฤติการณ์แห่งกรณีเป็นสาํ คญั ดว้ ย5 1.2.2 ความสมบูรณ์ของสัญญา เม่ือสัญญาที่ทาํ มีองคป์ ระกอบทุกอย่างของสัญญาครบถว้ น สัญญาน้นั ยอ่ มเกิดข้ึนในทางขอ้ เทจ็ จริงแต่สัญญาท่ีทาํ น้นั จะก่อใหเ้ กิดผลในทางกฎหมายไดห้ รือไม่ตอ้ งพิจารณาประเด็นในเร่ืองความสมบูรณ์ของสญั ญา วา่ สัญญาที่ทาํ น้นั ในสายตาของกฎหมายถือวา่ สมบูรณ์หรือไม่ ถา้ สมบูรณ์สัญญาน้นั ยอ่ มก่อใหเ้ กิดผลของสญั ญาตอ่ ไป แตถ่ า้ สญั ญาน้นั ไม่สมบูรณ์ ตอ้ งมาพิจารณากนั ก่อนวา่ไมส่ มบูรณ์อยา่ งไร แลว้ สญั ญาท่ีไมส่ มบูรณ์น้นั จะก่อใหเ้ กิดผลในทางกฎหมายอยา่ งไร กล่าวคือ จะเป็นโมฆะหรือโมฆียะ ซ่ึงจะก่อใหผ้ ลในทางกฎหมายที่ไม่เหมือนกนั 6 ส่วนสาเหตุที่ทาํ ให้สัญญาที่ทาํ กนั ข้ึนมาน้นั ไม่สมบูรณ์ อาจจะเกิดมาจากสาเหตุดว้ ยกนัหลายประการ ดงั ต่อไปน้ี 1) ความสามารถในการทานิติกรรมของคู่สัญญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 153 บัญญัติว่า “การใดมิได้เป็ นไปตามบทบญั ญตั ิของกฎหมายวา่ ดว้ ยความสามารถของบุคคล การน้นั เป็นโมฆียะ” ความสามารถของบุคคล หมายถึง ความสามารถในการทาํ นิติกรรมสัญญาตามกฎหมายมิใช่ความสามารถตามความเป็ นจริง ฉะน้นั แมบ้ ุคคลใดจะมีความรู้สึกนึกคิดชว่ั ดี แต่กฎหมายอาจถือว่ายงั หย่อนความสามารถและไม่ยอมให้ทาํ นิติกรรมโดยลาํ พงั เวน้ แต่จะให้ผูอ้ ื่นเป็ นผูแ้ สดงเจตนาหรือหรือทาํ การแทนหรือได้รับความยินยอมจากบุคคลอื่นที่กฎหมายกาํ หนดไวโ้ ดยเฉพาะหากผูใ้ ดทาํ นิติกรรมโดยฝ่ าฝื นหลกั เกณฑ์ดงั กล่าว นิติกรรมที่ผูน้ ้นั ทาํ ย่อมตกเป็ นโมฆียะ อนั เป็ นเหตุใหถ้ ูกบอกลา้ งได7้ โดยบุคคลที่กฎหมายจาํ กดั ความสามารถในการทาํ นิติกรรมสัญญา สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็ น2 กรณี คือ (1) บุคคลธรรมดา ไดแ้ ก่ ก. ผ้เู ยาว์ ผูเ้ ยาว์ หมายถึง บุคคลท่ียงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ซ่ึงบุคคลย่อมบรรลุนิติภาวะเม่ืออายุ 20 ปีบริบูรณ์ หรือเมื่อไดท้ าํ การสมรสตามหลกั เกณฑท์ ี่กฎหมายกาํ หนด8 5 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 1, น.26-27. 6 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 1, น.28. 7 วษิ ณุ เครืองาม, คาํ อธิบายประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ซ้ือขาย แลกเปล่ียน ให้, พิมพค์ ร้ังที่ 10,2549 (กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพน์ ิติบรรณการ), น.24-25. 8 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 19 และ 20.

4 การท่ีผูเ้ ยาวค์ นใดจะทาํ นิติกรรมสัญญาใดจะตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมเสียก่อน มิฉะน้นั จะตกเป็ นโมฆียะ9 ตามมาตรา 21 ซ่ึงผูแ้ ทนโดยชอบธรรมอาจบอกลา้ งได้เวน้ แต่จะเขา้ ขอ้ ยกเวน้ ที่กฎหมายกาํ หนดให้ผูเ้ ยาวส์ ามารถกระทาํ นิติกรรมสัญญาน้นั ได้เองโดยลาํ พงั คือ กรณีตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 22-25 นนั่ เอง ข. คนไร้ความสามารถ คนไร้ความสามารถ หมายถึง บุคคลวิกลจริต ซ่ึงศาลได้มีคาํ สั่งให้บุคคลน้ันเป็ นคนไร้ความสามารถและตกอยใู่ นความอนุบาลของผอู้ นุบาล คนไร้ความสามารถจะทาํ นิติกรรมสัญญาใดๆ เองไม่ไดเ้ ลย จะตอ้ งให้ผูอ้ นุบาลเป็ นผูท้ าํแทนท้งั สิ้น มิฉะน้นั นิติกรรมสัญญาน้นั จะตกเป็นโมฆียะ10 ค. คนวกิ ลจริต คนวกิ ลจริตซ่ึงศาลยงั มิไดส้ ่ังใหเ้ ป็ นคนไร้ความสามารถยอ่ มทาํ นิติกรรมสัญญาไดเ้ อง เวน้แต่จะทาํ นิติกรรมสัญญาในขณะท่ีบุคคลน้นั มีอาการจริตวิกล และคู่กรณีอีกฝ่ ายหน่ึงไดร้ ู้แลว้ ดว้ ยวา่บุคคลน้นั เป็นคนวกิ ลจริต ในกรณีน้ีนิติกรรมสญั ญาน้นั กจ็ ะตกเป็นโมฆียะ11 ง. คนเสมือนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หมายถึงบุคคลผูไ้ ม่สามารถจดั ทาํ การงานของตนเองได้ เพราะกายพกิ าร หรือมีจิตฟ่ันเฟื อนไม่สมประกอบ หรือประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทาํ นองเดียวกนั น้นั และศาลส่ังให้บุคคลน้ันเป็ นคนเสมือนไร้ความสามารถโดยใหอ้ ยใู่ นความพิทกั ษข์ องผพู้ ทิ กั ษ์ โดยปกติแลว้ คนเสมือนไร้ความสามารถสามารถทาํ นิติกรรมสัญญาใดๆ ไดเ้ องโดยลาํ พงัมีเพยี งแตน่ ิติกรรมสญั ญาท่ีสาํ คญั ๆ บางประการ ที่กฎหมายกาํ หนดให้ตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากผู้พิทกั ษเ์ สียก่อนจึงจะทาํ ได้ ซ่ึงนิติกรรมใดบา้ งที่ตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากผูพ้ ิทกั ษก์ ่อน จะกาํ หนดอยใู่ นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 34 (2) นิติบุคคล ความสามารถในการทาํ นิติกรรมสัญญาของนิติบุคคลน้นั จะถูกจาํ กดั ใหเ้ ป็ นไปตามกรอบวตั ถุประสงคท์ ี่กาํ หนดไวใ้ นตราสารจดั ต้งั เช่น หากเป็ นบริษทั วตั ถุประสงคข์ องการก่อต้งั บริษทั จะถูกกาํ หนดอยใู่ นหนงั สือบริคณห์สนธิ แต่ถา้ เป็นห้างหุน้ ส่วนวตั ถุประสงคใ์ นการจดั ต้งั หา้ งหุน้ ส่วนตอ้ งไปพิจารณาท่ีสัญญาจดั ต้งั หา้ งหุน้ ส่วน เป็ นตน้ และเน่ืองจากนิติบุคคลมิใช่บุคคลธรรมดา การทาํ นิติกรรมสญั ญาใดๆ ก็ตามจึงตอ้ งกระทาํ โดยผา่ นผแู้ ทนของนิติบุคคลน้นั ซ่ึงผูแ้ ทนของนิติบุคคล 9 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 21. 10 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 29. 11 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 30.

5จะกระทาํ นิติกรรมสัญญาใดๆ ท่ีจะมีผลผกู พนั นิติบุคคล นิติกรรมสัญญาน้นั ตอ้ งเป็ นไปตามกรอบวตั ถุประสงคแ์ ห่งการก่อต้งั นิติบุคคล 2) การแสดงเจตนาของคู่สัญญา สัญญาน้นั ยอ่ มเกิดข้ึนจากการแสดงความตกลงยินยอมโดยความสมคั รใจของคู่สัญญาท่ีจะผกู พนั กนั จริงตามสญั ญา การแสดงเจตนาเขา้ ทาํ สญั ญาของคูส่ ัญญาจึงตอ้ งไม่ผดิ ปกติ กล่าวคือ - จะตอ้ งไมใ่ ช่การแสดงเจตนาซ่อนเร้น ในกรณีท่ีมีการแสดงเจตนาซ่อนเร้น และคู่กรณีอีกฝ่ ายหน่ึงไดร้ ู้ถึงเจตนาอนั ซ่อนอยใู่ นใจของผแู้ สดง ผลจะเป็นโมฆะ12 - จะตอ้ งไม่ใช่การแสดงเจตนาลวง โดยสมรู้กบั คู่กรณีอีกฝ่ ายหน่ึง ผลจะเป็นโมฆะ13 - จะต้องไม่ใช่การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิด ไม่ว่าจะเป็ นการสําคัญผิดในส่ิงท่ีเป็ นสาระสําคญั แห่งนิติกรรม ซ่ึงส่งผลให้นิติกรรมเป็ นโมฆะ14 หรือสาํ คญั ผิดในคุณสมบตั ิของบุคคลหรือทรัพยส์ ิน ซ่ึงส่งผลใหน้ ิติกรรมเป็นโมฆียะ15 - จะตอ้ งไม่ใช่การแสดงเจตนาเขา้ ทาํ สัญญาโดยถูกกลฉ้อฉล หรือถูกข่มขู่ ซ่ึงส่งผลให้นิติกรรมเป็ นโมฆียะ16 3) วตั ถุประสงค์ของสัญญา วตั ถุประสงค์ หมายถึง ประโยชนส์ ุดทา้ ยหรือความมุ่งหมายสุดทา้ ยของคู่กรณีในการทาํ นิติกรรมน้นั 17 ซ่ึงประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 150 บญั ญตั ิวา่ “การใดมีวตั ถุประสงคเ์ ป็ นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายเป็ นการพ้นวิสัยหรือเป็ นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน การน้นั เป็นโมฆะ” ดงั น้นั วตั ถุประสงคข์ องสัญญาจะตอ้ งไม่ใช่วตั ถุประสงคท์ ี่มีกฎหมายห้ามไวโ้ ดยชดั แจง้หรือเป็ นการพน้ วิสัย หรือขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน มิฉะน้ันสญั ญาน้นั จะเป็นโมฆะ 4) แบบของสัญญา โดยหลกั แลว้ คู่สญั ญามีวธิ ีการในการสื่อเจตนาทาํ สัญญาอยา่ งไรก็ได้ อาจจะดว้ ยคาํ พูดปากเปล่า ดว้ ยกิริยาอาการที่ชดั เจน หรือเขียนเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรก็ได้ ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่ สัญญาไม่จาํ ตอ้ งกระทาํ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเสมอไป เวน้ แตก่ รณีท่ีกฎหมายกาํ หนดไวโ้ ดยเฉพาะวา่ สัญญาบางอยา่ งจะตอ้ งกระทาํ การตามวธิ ีการท่ีกฎหมายกาํ หนดไว้ หรือท่ีเรียกวา่ “แบบ” 12 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 154. 13 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 155. 14 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 156. 15 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 157. 16 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 159 และมาตรา 164. 17 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 7, น.27.

6 แบบของสัญญา คือ ระเบียบพิธีของสัญญาที่กฎหมายกาํ หนดว่าจะตอ้ งกระทาํ หากไม่กระทาํ ตามแบบที่กฎหมายกาํ หนดแลว้ ผลของสัญญาท่ีไดก้ ระทาํ ไปก็จะเป็ นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 152 ซ่ึงบญั ญตั ิวา่ “การใดมิไดท้ าํ ใหถ้ ูกตอ้ งตามแบบที่กฎหมายบงั คบั ไว้ การน้นั เป็นโมฆะ” เช่น สัญญาซ้ือขายอสงั หาริมทรัพย์ กฎหมายกาํ หนดใหต้ อ้ งทาํ เป็ นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจา้ หน้าท่ี มิฉะน้ันจะเป็ นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456วรรคหน่ึง หรือ สัญญาเช่าซ้ือ กฎหมายกาํ หนดให้ตอ้ งทาํ เป็ นหนงั สือ มิฉะน้นั จะเป็ นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 572 วรรคสอง แบบของนิติกรรมสัญญาตามกฎหมายไทยน้นั จะมีอยู่ 3 ประเภท18 คือ 1) แบบที่ต้องทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบียนกับพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น การซ้ือขายอสังหาริมทรัพยห์ รือสังหาริมทรัพยพ์ ิเศษ ตามมาตรา 456 วรรคหน่ึง, การแลกเปล่ียน ตามมาตรา519, การใหท้ รัพยส์ ิน ตามมาตรา 525, การจาํ นอง ตามมาตรา 714 เป็นตน้ 2) แบบที่ตอ้ งจดทะเบียนกบั พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี เช่น การจดทะเบียนหา้ งหุน้ ส่วนสามญั นิติบุคคล ตามมาตรา 1064, การจดทะเบียนสมรส ตามมาตรา 1457 และมาตรา 1458, จดทะเบียนรับรองบุตร ตามมาตรา 1548 เป็นตน้ 3) แบบท่ีตอ้ งทาํ เป็นหนงั สือ 3.1) คู่กรณีทาํ หนงั สือกนั เอง เช่น การโอนสิทธิเรียกร้อง ตามมาตรา 306, การต้งัตวั แทน ตามมาตรา 798 เป็นตน้ 3.2) พนกั งานเจา้ หน้าที่ทาํ ให้ เช่น การทาํ พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ ายเมือง ตามมาตรา 1658 เป็นตน้ ข้อสังเกต ในเร่ืองของแบบน้นั จะตอ้ งพิจารณาใหด้ ีวา่ ที่กฎหมายบงั คบั ให้ทาํ เป็ นแบบของสัญญาหรือเป็นเพียงหลกั ฐานในการฟ้องร้องบงั คบั คดีเท่าน้นั อาทิเช่น ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 538 บญั ญตั ิวา่ “เช่าอสงั หาริมทรัพยน์ ้นั ถา้ มิไดม้ ีหลกั ฐานเป็ นหนงั สืออยา่ งหน่ึงอยา่ งใดลงลายมือช่ือฝ่ ายที่ตอ้ งรับผดิ เป็ นสาํ คญั ท่านวา่ จะฟ้องร้องใหบ้ งั คบั คดีหาไดไ้ ม่ ถา้ เช่ามีกาํ หนดกวา่ สามปี ข้ึนไป หรือกาํ หนดตลอดอายุของผูเ้ ช่าหรือผใู้ หเ้ ช่าไซร้ หากมิไดท้ าํ เป็นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ท่านวา่ การเช่าน้นั จะฟ้องร้องให้บงั คบั คดีไดแ้ ตเ่ พยี งสามปี ” 18 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.110-111.

7 บทบญั ญตั ิดงั กล่าว หมายความวา่ เรื่องการเช่าอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายมิไดก้ าํ หนดแบบเอาไวใ้ ห้ตอ้ งทาํ ฉะน้ัน แมค้ ู่สัญญาไม่ทาํ สัญญาเป็ นหนังสือ หรือมิได้ทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบียนตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ สัญญาเช่าก็เกิดข้ึนและสมบูรณ์หาเป็ นโมฆะไม่ เพียงแต่วา่ ในกรณีท่ีเกิดขอ้ โตแ้ ยง้ ในสัญญากนั แล้วตอ้ งฟ้องร้องต่อศาล หากคู่สัญญาขาดหลกั ฐานตามที่มาตรา 538กาํ หนดไว้ คู่สัญญาก็ไม่สามารถฟ้องร้องบงั คบั คดีตามสัญญาน้นั ได้ ซ่ึงบทบญั ญตั ิลกั ษณะน้ีไม่ใช่แบบ แต่เป็ นเพียงบทบญั ญตั ิในเร่ืองของหลกั ฐานการฟ้องร้องบงั คบั คดีเท่าน้นั ซ่ึงนอกจากมาตรา538 แลว้ กรณีตามมาตรา 456 วรรคสองและวรรคสาม ก็เป็ นบทบญั ญตั ิในเรื่องของหลกั ฐานการฟ้องร้องบงั คบั คดีเช่นกนั 1.2.3 ความเป็ นผลของสัญญา เม่ือสัญญาเกิดข้ึนและมีความสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ สัญญาก็ก่อใหเ้ กิดสิ่งหน่ึงท่ีเรียกวา่ “หน้ี” ซ่ึงหน้ีน้นั ทาํ ใหค้ ู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงหรือท้งั สองฝ่ ายมีหนา้ ที่จะตอ้ งปฏิบตั ิการชาํ ระหน้ีใหถ้ ูกตอ้ งตรงมูลหน้ี หากไม่ชาํ ระแลว้ กจ็ ะถือวา่ มีการผดิ นดั ไม่ชาํ ระหน้ี ซ่ึงคู่สัญญาอีกฝ่ ายหน่ึงที่มีสิทธิบงั คบั ชาํ ระหน้ีก็สามารถฟ้องร้องบงั คบั ชาํ ระหน้ีได้ และเมื่อมีหน้ีเกิดข้ึนแลว้ หน้ีน้นั ก็อาจระงบั ไปได้ ดว้ ยเหตุอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงใน 5 เหตุ ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) การชาํ ระหน้ี (2) ปลดหน้ี (3) หกั กลบลบหน้ี (4) หน้ีเกล่ือนกลืนกนั (5) แปลงหน้ีใหม่ 1.2.4 การเลกิ สัญญา สัญญาที่เกิดข้ึนอาจจะมีการเลิกสัญญาได้ โดยสิทธิในการเลิกสัญญาของคู่สัญญาน้ันอาจจะเกิดข้ึนได้ 2 กรณี คือ 1) สิทธิเลกิ สัญญาโดยกฎหมาย กรณีน้ี คือ หากเป็ นกรณีเขา้ หลกั เกณฑ์ตามที่กม.กาํ หนดใหค้ ู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงมีสิทธิบอกเลิกสญั ญาได้ คูส่ ัญญาฝ่ ายน้นั กม็ ีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ เช่น ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 560 บญั ญตั ิวา่ “ ถา้ ผเู้ ช่าไม่ชาํ ระค่าเช่า ผูใ้ ห้เช่าจะบอกเลิกสญั ญาเสียกไ็ ด”้ 2) สิทธิเลกิ สัญญาโดยข้อสัญญา กรณีน้ี คือ ในสัญญาที่คู่สัญญามาตกลงกนั น้นั มีขอ้ สัญญากาํ หนดว่า หากคู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงปฏิบตั ิผดิ ขอ้ ตกลงในสัญญา คูส่ ัญญาอีกฝ่ ายหน่ึงมีสิทธิบอกเลิกสญั ญาได้

8 เช่น ในการทาํ สญั ญาซ้ือขาย ผซู้ ้ือกบั ผขู้ ายอาจตกลงกนั วา่ หากผขู้ ายส่งมอบทรัพยท์ ี่ซ้ือขายเกินกาํ หนดเวลาตามท่ีคู่สญั ญากาํ หนดไว้ ใหผ้ ซู้ ้ือมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ หรือในสญั ญามีขอ้ ตกลงกนั วา่ คูส่ ัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงหรือท้งั สองฝ่ ายมีสิทธิเลิกสัญญาได้แมจ้ ะไม่มีการทาํ ผดิ สัญญาเลยก็ได้ กล่าวคือ เป็นการใหส้ ิทธิเลิกสัญญาโดยอาํ เภอใจ เช่น นายแดงเช่ารถจกั รยานยนตจ์ ากนายดาํ เป็ นเวลา 1 เดือน โดยนายดาํ ตกลงกบั นายแดงวา่ หากนายแดงไม่อยากใชร้ ถจกั รยานยนตค์ นั ดงั กล่าวแลว้ ให้เอามาคืนไดแ้ ลว้ นายดาํ จะคืนเงินค่าเช่าใหต้ ามวนั ท่ีไม่ไดใ้ ช้ เช่นน้ี ถือเป็นการใหส้ ิทธิแก่นายแดงที่สามารถเลิกสัญญาไดโ้ ดยลาํ พงั โดยที่นายดาํ (ผใู้ หเ้ ช่า) ไมต่ อ้ งทาํ ผดิ สัญญาขอ้ ใดเลยกไ็ ด้

9 บทท่ี 2กฎหมายลกั ษณะซื้อขาย 2.1 ความหมายและลกั ษณะของสัญญาซื้อขาย นิยามความหมายของสัญญาซ้ือขายบญั ญตั ิอยูใ่ นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา453 ซ่ึงบญั ญตั ิวา่ “อนั วา่ ซ้ือขายน้นั คือสัญญาซ่ึงบุคคลฝ่ ายหน่ึงเรียกว่าผูข้ าย โอนกรรมสิทธ์ิแห่งทรัพยส์ ินใหแ้ ก่บุคคลอีกฝ่ ายหน่ึงเรียกวา่ ผซู้ ้ือ และผซู้ ้ือตกลงวา่ จะใชร้ าคาทรัพยส์ ินน้นั ใหแ้ ก่ผขู้ าย” จากบทบญั ญตั ิดงั กล่าวสามารถบง่ ลกั ษณะของสญั ญาซ้ือขายไดด้ งั น้ี 1) ซื้อขาย คือสัญญา กล่าวคือเป็ นนิติกรรมสองฝ่ าย และมีลักษณะเป็ นสัญญาต่างตอบแทนซ่ึงสัญญาตา่ งตอบแทน คือ สญั ญาท่ีคู่สัญญาท้งั สองฝ่ ายตา่ งเป็นเจา้ หน้ีและลูกหน้ีซ่ึงกนั และกนั ผู้ขาย ผู้ซื้อ ลูกหน้ี ทรัพย์ เจา้ หน้ี เจา้ หน้ี ราคา ลูกหน้ี ดังน้ัน บทบัญญัติท้ังหลายว่าด้วยสัญญาต่างตอบแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 369-372 จึงตอ้ งนาํ มาใชก้ บั สัญญาซ้ือขายดว้ ย กล่าวคือ หากผซู้ ้ือไม่ชาํ ระราคา ผขู้ ายก็มีสิทธิที่จะไม่ส่งมอบทรัพยส์ ิน หรือโดยนยั กลบั กนั หากผขู้ ายไม่ส่งมอบทรัพยส์ ิน ผูซ้ ้ือก็มีสิทธิท่ีจะไม่ชาํ ระราคา และก็จะตอ้ งนาํ เรื่องการรับความเสี่ยงในภยั พิบตั ิมาวินิจฉยั วา่ ผูข้ ายหรือผซู้ ้ือ ใครเป็นผทู้ ี่ตอ้ งรับความเสี่ยงในภยั พิบตั ิท่ีเกิดข้ึนกบั ทรัพยท์ ี่ซ้ือขายดว้ ย หากสัญญาซ้ือขายก่อใหเ้ กิดผลเป็นการโอนกรรมสิทธ์ิทนั ทีที่ทาํ สัญญา ผูซ้ ้ือก็จะเป็ นเจา้ ของทรัพยท์ นั ทีที่ทาํ สัญญา ดงั น้นั ถา้ มีภยัพิบตั ิเกิดข้ึนกบั ทรัพยท์ ี่ซ้ือขายก็จะตกเป็ นพบั แก่ผูซ้ ้ือ ตามมาตรา 370 วรรคหน่ึง แต่หากสัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาประวิงการโอนกรรมสิทธ์ิ กรรมสิทธ์ิในทรัพยย์ งั อยู่ที่ผูข้ าย ถา้ มีภยัพิบตั ิเกิดข้ึนกบั ทรัพยท์ ี่ซ้ือขายก่อนที่เง่ือนไขจะสําเร็จหรือก่อนที่จะถึงเงื่อนเวลา ภยั พิบตั ิน้นั จะตกเป็นพบั แก่ผขู้ าย ตามมาตรา 371 และหากเป็ นเพียงสัญญาจะซ้ือจะขายก็ตอ้ งพิจารณากนั ตามมาตรา372 กล่าวคือ หากมีภยั พิบตั ิเกิดกบั ทรัพยท์ ่ีจะซ้ือจะขาย โดยเหตุใดเหตุหน่ึงอนั จะโทษผูซ้ ้ือหรือผขู้ ายไม่ได้ ภยั พบิ ตั ิน้นั จะตกเป็นพบั แก่ผขู้ าย เพราะกรรมสิทธ์ิในทรัพยอ์ ยทู่ ่ีผขู้ าย19 19 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 1, น.47.

10 2) สัญญาซื้อขายประกอบด้วยคู่สัญญาสองฝ่ าย โดยบุคคลฝ่ ายหน่ึงเรียกว่า “ผู้ขาย” กับบุคคลอกี ฝ่ ายหนึ่งเรียกว่า “ผู้ซื้อ” ซ่ึงแต่ละฝ่ ายจะเป็ นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ และแต่ละฝ่ ายจะมีคนเดียวหรือหลายคนกไ็ ด้ 3) วตั ถุประสงค์ของสัญญาซื้อขาย คือ ก. ผขู้ ายโอนกรรมสิทธ์ิแห่งทรัพยส์ ินใหแ้ ก่ผซู้ ้ือ และ ข. ผซู้ ้ือตกลงวา่ จะชาํ ระราคาแห่งทรัพยส์ ินน้นั ใหแ้ ก่ผขู้ าย ข้อพจิ ารณา มีขอ้ พิจารณาวา่ “ราคา” ในท่ีน้ีจะตอ้ งเป็ นเงินเท่าน้นั หรือไม่ ราคาจะเป็ นทรัพยส์ ินอื่นท่ีเอามาตอบแทนการโอนกรรมสิทธ์ิไดห้ รือไม่? ในประเด็นน้ี “ราคา” ที่คู่สัญญาซ้ือขายตกลงกนั จะชาํ ระเพ่ือตอบแทนการโอนกรรมสิทธ์ิแห่งทรัพย์สินท่ีซ้ือขาย จะต้องเป็ นเงินเท่าน้ัน หากเป็ นทรัพย์สินอย่างอ่ืนจะทาํ ให้สัญญาน้ันกลายเป็นสญั ญาแลกเปลี่ยนไป ไมใ่ ช่สญั ญาซ้ือขาย และมีประเด็นท่ีจะตอ้ งพิจารณาต่อไปวา่ ถา้ ในขณะตกลงทาํ สัญญา คู่สัญญาตกลงกนั ว่าผูร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยจ์ ะชาํ ระราคาดว้ ยเงิน แต่พอถึงกาํ หนดเวลาชาํ ระผูร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิไม่มีเงินมาชาํ ระจึงขอชาํ ระดว้ ยทรัพยส์ ินอย่างอ่ืนแทน เช่นน้ีสัญญาที่คู่สัญญาทาํ ดงั กล่าวจะเป็ นสัญญาซ้ือขายหรือไม?่ ในประเด็นน้ีการพิจารณาวา่ สญั ญาดงั กล่าวเป็นสญั ญาซ้ือขายหรือไม่ ให้พิจารณาในขณะที่เกิดสัญญาว่า คู่สัญญาตกลงกนั ชาํ ระราคาเพื่อตอบแทนการโอนกรรมสิทธ์ิด้วยเงินหรือไม่ ถา้ ใช่สัญญาน้นั กจ็ ะมีลกั ษณะเป็ นสัญญาซ้ือขาย แมต้ ่อมาผูซ้ ้ือจะไม่สามารถชาํ ระราคาดว้ ยเงินได้ แต่ขอชาํ ระดว้ ยทรัพยส์ ินอยา่ งอื่นแทน กเ็ ป็นกรณีลูกหน้ีขอชาํ ระหน้ีอยา่ งอ่ืนแทนการชาํ ระหน้ีท่ีไดต้ กลงกนั ไว้ ซ่ึงผูข้ ายมีสิทธิปฏิเสธไม่ยอมรับชาํ ระได้ หากผูข้ ายยอมรับเอาทรัพยส์ ินที่ผูซ้ ้ือเสนอชาํ ระแทนดว้ ยเงิน หน้ีตามสัญญาก็เป็ นอนั ระงบั เช่นกนั 20 แต่ที่สําคญั ก็คือสัญญาที่คู่สัญญาตกลงกนั น้นัเป็นสญั ญาซ้ือขาย การชาํ ระหน้ีดว้ ยทรัพยส์ ินอยา่ งอื่นแทนการชาํ ระหน้ีดว้ ยเงินของผซู้ ้ือมิไดท้ าํ ให้สัญญาน้นั เปล่ียนเป็นสัญญาแลกเปลี่ยนแต่อยา่ งใด 2.2 ทรัพย์สินตามสัญญาซื้อขาย คาํ วา่ “ทรัพยส์ ิน” ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยม์ ีการใหน้ ิยามความหมายอยูใ่ นมาตรามาตรา 138 ซ่ึงบญั ญตั ิวา่ “ทรัพยส์ ิน หมายความรวมท้งั ทรัพยแ์ ละวตั ถุไม่มีรูปร่างซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได”้ และมาตรา 137 ไดบ้ ญั ญตั ิความหมายคาํ วา่ “ทรัพย์ หมายความวา่ วตั ถุมีรูปร่าง” ดว้ ยเหตุน้ีทรัพยส์ ินตามสัญญาซ้ือขายจึงหมายถึงวตั ถุมีรูปร่าง และวตั ถุไม่มีรูปร่างซ่ึงอาจมีราคาและถือเอาได้ ท้งั น้ีไม่ว่าจะเป็ นสังหาริมทรัพยห์ รืออสังหาริมทรัพย์ อย่างไรก็ตาม มิใช่ 20 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 320 และมาตรา 321.

11ทรัพยส์ ินทุกชนิดท่ีจะเป็ นวตั ถุแห่งสัญญาซ้ือขายได้ มีทรัพยส์ ินบางประเภทท่ีไม่อาจเป็ นวตั ถุแห่งสัญญาซ้ือขายได้ ท่ีเรียกวา่ “ทรัพย์นอกพาณิชย์” ซ่ึงมาตรา 143 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยไ์ ดใ้ หค้ วามหมายของทรัพยน์ อกพาณิชยไ์ วว้ า่ “ทรัพยน์ อกพาณิชย์ หมายความว่า ทรัพยท์ ี่ไม่สามารถถือเอาได้ และทรัพยท์ ่ีโอนแก่กนัมิไดโ้ ดยชอบดว้ ยกฎหมาย” จากความหมายดงั กล่าวสามารถแยกพิจารณาทรัพยน์ อกพาณิชยไ์ ดเ้ ป็น 2 กรณี คือ ก. “ทรัพย์ท่ีไม่สามารถถือเอาได้” คือ ทรัพยท์ ่ีไม่สามารถยึดถือหรือครอบครองได้ เช่นดวงดาว ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ หรือท่ีดินบนดวงดาวต่างๆ อุกกาบาตที่อยู่บนอวกาศ เป็ นต้นอยา่ งไรก็ตาม ทรัพยท์ ่ีไม่สามารถยดึ ถือหรือครอบครองไดด้ งั กล่าว หากต่อมามีบุคคลใดสามารถเขา้ยดึ ถือหรือครอบครองได้ ทรัพยน์ ้นั ก็เป็นวตั ถุแห่งสญั ญาซ้ือขายได้ เช่น อุกกาบาตท่ีตกลงมายงั โลกหากมีผเู้ ขา้ ไปเก็บเศษอุกกาบาตท่ีตกลงมาแลว้ ยึดถือไว้ ก็สามารถนาํ มาเป็ นวตั ถุแห่งสัญญาซ้ือขายไดเ้ ช่นกนั ข. “ทรัพย์ทโ่ี อนแก่กนั ไม่ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย” มีอยหู่ ลายกรณี อาทิเช่น 1) สาธารณสมบัติของแผ่นดนิ มาตรา 1304 บญั ญตั ิว่า “สาธารณสมบตั ิของแผ่นดินน้ัน รวมทรัพยส์ ินทุกชนิดของแผน่ ดินซ่ึงใชเ้ พ่ือสาธารณประโยชนห์ รือสงวนไวเ้ พื่อประโยชน์ร่วมกนั เช่น (1) ท่ีดินรกร้างวา่ งเปล่า และที่ดินซ่ึงมีผูเ้ วนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลบั มาเป็ นของแผ่นดินโดยประการอ่ืน ตามกฎหมายท่ีดิน (2) ทรัพยส์ ินสาํ หรับพลเมืองใชร้ ่วมกนั เป็นตน้ วา่ ท่ีชายตล่ิง ทางน้าํ ทางหลวงทะเลสาบ (3) ทรัพยส์ ินใชเ้ พื่อประโยชน์ของแผน่ ดินโดยเฉพาะ เป็ นตน้ วา่ ป้อม และโรงทหาร สาํ นกัราชการบา้ นเมือง เรือรบ อาวธุ ยทุ ธภณั ฑ์” มาตรา 1305 บญั ญตั ิวา่ “ทรัพยส์ ินซ่ึงเป็นสาธารณสมบตั ิของแผน่ ดินน้นั จะโอนแก่กนั มิได้เวน้ แตอ่ าศยั อาํ นาจแห่งบทกฎหมายเฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา” เช่น คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 48/2479 ขา้ หลวงประจาํ จงั หวดั ไม่มีอาํ นาจทาํ สัญญาขาย ทางเดินซ่ึงเป็นทางสาธารณชนใชไ้ ปมาใหแ้ ก่เอกชน เพราะเป็นการตดั สิทธิสาธารณชน เอกชนผู้ ซ้ือยอ่ มไมไ่ ดก้ รรมสิทธ์ิตามมาตรา 1305 คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1626/2511 ท่ีพิพาทเป็ นสาธารณสมบตั ิของแผน่ ดิน จาํ เลย ครอบครองอยโู่ จทกจ์ าํ เลยทาํ หนงั สือสัญญากนั โดยจาํ เลยโอนสิทธิครอบครองท่ีพิพาทให้โจทก์ และโจทกใ์ หเ้ งินแก่จาํ เลยเป็นการตอบแทนดงั น้ี สัญญาระหวา่ งโจทกจ์ าํ เลยมีลกั ษณะเป็ นสัญญา ซ้ือขายอสังหาริมทรัพย์ เม่ือไม่จดทะเบียน ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีจึงเป็ นโมฆะ การบอกเลิก สัญญาของโจทกย์ อ่ มไมม่ ีผลในกฎหมาย

12 แมจ้ ะเป็ นสาธารณสมบตั ิของแผน่ ดิน และส่วนหน่ึงเป็ นทางสาธารณประโยชน์ จาํ เลยก็มีสิทธิครอบครองที่อาจใชย้ นั บุคคลอ่ืนไดน้ อกจากรัฐ เมื่อจาํ เลยส่งมอบท่ีพิพาทใหโ้ จทก์ ครอบครอง โจทก์ย่อมไดไ้ ปซ่ึงสิทธิครอบครอง การที่จาํ เลยโอนการครอบครองที่พิพาทให้ โจทก์และโจทก์ชาํ ระเงินให้จาํ เลยเป็ นการตอบแทนโดยท้งั สองฝ่ ายทาํ สัญญากนั เอง เห็นไดว้ ่า โจทก์ยอมเส่ียงภยั รับเอาซ่ึงสิทธิครอบครองที่พิพาทในสภาพเท่าที่จาํ เลยมีสิทธิอยู่ จะอา้ งว่าไม่ ทราบวา่ ที่ดินดงั กล่าวเป็ นท่ีดินและทางสาธารณประโยชน์ยอ่ มไม่ไดโ้ จทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกเงิน คืนจากจําเลย เพราะจาํ เลยรับเงินไว้จากโจทก์เป็ นค่าตอบแทนในการที่จําเลยโอนสิทธิ ครอบครองท่ีพิพาทของจาํ เลยใหแ้ ก่โจทกเ์ สร็จสิ้นกนั ไปแลว้ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 395/2538 ที่ดินบางส่วนตามสัญญาซ้ือขายท่ีดินเป็ นที่สา ธารณสมบตั ิของแผ่นดินที่สงวนไวใ้ ชเ้ พ่ือประโยชน์ของแผน่ ดินโดยเฉพาะ จึงเป็ นทรัพยน์ อก พาณิชยท์ ี่ซ้ือขายไม่ได้ สัญญาซ้ือขายและสัญญาจะซ้ือขายท่ีดินส่วนดงั กล่าว จึงมีวตั ถุประสงค์ เป็ นการตอ้ งห้ามชดั แจง้ ตามกฎหมาย ตกเป็ นโมฆะ ผลเท่ากบั จาํ เลยไม่เคยทาํ สัญญาจะซ้ือขาย และสัญญาซ้ือขายท่ีดินส่วนดงั กล่าวกบั โจทก์ อยา่ งไรก็ตาม สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดินดงั กล่าวก็อาจจาํ หน่ายจ่ายโอนกนั ต่อไปได้ ถา้ มีกฎหมายถอนสภาพการเป็ นสาธารณสมบตั ิของแผน่ ดิน หรือมีกฎหมายใหอ้ าํ นาจจาํ หน่ายจ่ายโอนหรือทรัพยส์ ินน้นั หมดสภาพการเป็นสาธารณสมบตั ิของแผน่ ดินอีกตอ่ ไป 2) สิทธิทก่ี ฎหมายห้ามจาหน่ายจ่ายโอน เช่น - ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 446 สิทธิที่จะเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนเน่ืองจากถูกกระทาํ ละเมิด ไม่อาจโอนกนั ได้ มาตรา 446 บญั ญตั ิวา่ “ในกรณีทาํ ให้เขาเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามยั ก็ดี ในกรณีทาํ ให้เขาเสียเสรีภาพก็ดี ผูต้ อ้ งเสียหายจะเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความที่เสียหายอยา่ งอื่นอนัมิใช่ตวั เงินดว้ ยอีกก็ได้ สิทธิเรียกร้องอนั น้ีไม่โอนกนั ได้ และไม่ตกสืบไปถึงทายาท เวน้ แต่สิทธิน้นัจะไดร้ ับสภาพกนั ไวโ้ ดยสัญญาหรือไดเ้ ริ่มฟ้องคดีตามสิทธิน้นั แลว้ อน่ึง หญิงท่ีตอ้ งเสียหายเพราะผูใ้ ดทาํ ผิดอาญาเป็ นทุรศีลธรรมแก่ตนก็ยอ่ มมีสิทธิเรียกร้องทาํ นองเดียวกนั น้ี” - ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1619 สิทธิในการรับมรดกของผทู้ ่ียงั มีชีวิตอยู่จาํ หน่ายจ่ายโอนไมไ่ ด้ มาตรา 1619 บญั ญตั ิวา่ “ผใู้ ดจะสละหรือจาํ หน่ายจ่ายโอนโดยประการใด ซ่ึงสิทธิอนั หากจะมีในภายหนา้ ในการสืบมรดกผทู้ ี่ยงั มีชีวติ อยนู่ ้นั ไมไ่ ด”้ 3) ทรัพย์สินทกี่ ฎหมายห้ามขายหรือจาหน่าย หรือมีไว้เป็ นความผดิ ทางอาญา ทรัพยส์ ินบางประเภทผใู้ ดมีไวใ้ นครอบครองยอ่ มมีความผิด และหากจาํ หน่ายจ่ายโอนก็มีความผดิ เช่นเดียวกนั เช่น ยาเสพติด ภาพลามก ปื นไม่มีทะเบียน เป็นตน้

13 4) วดั และทธี่ รณสี งฆ์ ตามพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 มาตรา 34 กาํ หนดให้ท่ีธรณีสงฆจ์ ะโอนไปไดก้ ็โดยอาศยั พระราชบญั ญตั ิหรือพระราชกฤษฎีกาเทา่ น้นั มาตรา 34 บญั ญตั ิวา่ “การโอนกรรมสิทธ์ิท่ีวดั ท่ีธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบตั ิกลาง ให้กระทาํ ไดก้ แ็ ต่โดยพระราชบญั ญตั ิ เวน้ แต่เป็นกรณีตามวรรคสอง การโอนกรรมสิทธ์ิท่ีวัด ที่ธรณีสงฆ์ หรื อที่ศาสนสมบัติกลาง ให้แก่ส่วนราชการรัฐวสิ าหกิจ หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ เมื่อมหาเถรสมาคมไม่ขดั ขอ้ งและไดร้ ับค่าผาติกรรมจากส่วนราชการ รัฐวสิ าหกิจ หรือหน่วยงานน้นั แลว้ ใหก้ ระทาํ โดยพระราชกฤษฎีกา ห้ามมิให้บุคคลใดยกอายุความข้ึนต่อสู้กับวดั หรือสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติแลว้ แตก่ รณี ในเร่ืองทรัพยส์ ินอนั เป็นที่วดั ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบตั ิกลาง” เช่น คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1758-1759/2516 ท่ีดินของวดั น้นั กรรมสิทธ์ิจะโอนไปไดก้ ็แตโ่ ดยการออกพระราชบญั ญตั ิเท่าน้นั ท่ีพิพาทอยูใ่ นเขตพระพุทธบาทซ่ึงพระเจา้ ทรงธรรมไดอ้ ุทิศไวแ้ ตโ่ บราณกาลโดยมีวดั พระพุทธบาทเป็ นผดู้ ูแล แมจ้ าํ เลยจะไดร้ ับโฉนดสําหรับที่พิพาทมา ก็หาถือไดว้ า่ เป็นการไดม้ าโดยการออกเป็ นพระราชบญั ญตั ิไม่ จาํ เลยจึงไม่อาจยกเอาการไดท้ ี่ดินมาโดยการรังวดั ออกโฉนดหรือโดยการโอนชื่อทางทะเบียนใช้ยนั ต่อวดั ไดแ้ มจ้ าํ เลยจะไดค้ รอบครองท่ีพิพาทอยา่ งเป็ นเจา้ ของมาเป็ นเวลานานเท่าใด ก็ไม่มีทางที่จะแยง่ เอากรรมสิทธ์ิที่ดินซ่ึงเป็ นของวดัไปเป็นของตนได้ และแมท้ างวดั จะไดป้ ล่อยปละละเลยไวเ้ ป็ นเวลานานกวา่ จะไดใ้ ชส้ ิทธิติดตามวา่กล่าวเอาจากจาํ เลย กรรมสิทธ์ิในที่ดินของวดั ก็หาระงบั สิ้นสุดไม่ 5) ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตามพระราชบญั ญตั ิจดั ระเบียบทรัพยส์ ินฝ่ ายพระมหากษตั ริย์ พ.ศ.2479 และฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเติม มาตรา 7 กาํ หนดวา่ ทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษตั ริยจ์ ะโอนไปไดก้ ็โดยอาศยั บทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายเทา่ น้นั มาตรา 7 บญั ญตั ิวา่ “ภายใตบ้ งั คบั แห่งมาตรา 6 ทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษตั ริยจ์ ะโอนหรือจาํ หน่ายได้ก็แต่เพื่อประโยชน์แก่ทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษตั ริย์ และโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตหรือเพ่ือสาธารณประโยชน์อนั ได้มีบทกฎหมายให้โอนหรือจาํ หน่ายได้เท่าน้นั ” 6) ทรัพย์สินซ่ึงได้มาโดยมีข้อกาหนดห้ามโอน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1700 วรรคหน่ึง บญั ญตั ิวา่ “ภายใตบ้ งั คบั แห่งบทบญั ญตั ิในหมวดน้ีบุคคลจะจาํ หน่ายทรัพยส์ ินใด ๆ โดยนิติกรรมที่มีผลในระหวา่ งชีวติ หรือเม่ือตายแลว้ โดยมีขอ้ กาํ หนดห้ามมิให้ผูร้ ับประโยชน์โอนทรัพยส์ ินน้นั ก็ได้ แต่ตอ้ งมีบุคคลใดบุคคลหน่ึงนอกจากผรู้ ับประโยชน์กาํ หนดไว้ สาํ หรับเป็ นผูจ้ ะไดร้ ับทรัพยส์ ินน้นั เป็ นสิทธิเด็ดขาด ในเม่ือมีการละเมิดขอ้ กาํ หนดหา้ มโอน”

14 ขอ้ กาํ หนดน้ี เรียกว่า ขอ้ กาํ หนดห้ามโอนซ่ึงมีผลทาํ ให้ผูร้ ับทรัพยส์ ินน้ันไวไ้ ม่อาจโอนทรัพยส์ ินน้นั ต่อไปได้ หากฝ่ าฝืนจะมีผลทาํ ใหผ้ รู้ ับประโยชนต์ ามขอ้ กาํ หนดไดร้ ับทรัพยส์ ินน้นั เป็ นสิทธิเดด็ ขาดแทน เวน้ แตข่ อ้ กาํ หนดหา้ มโอนจะมิไดเ้ ป็นไปตามเงื่อนไขของกฎหมายดงั ท่ีบญั ญตั ิไว้ในมาตรา 1700 ถึงมาตรา 1702 การทาํ สญั ญาซ้ือขายทรัพยส์ ินต่างๆ เหล่าน้ี โดยฝ่ าฝืนบทกฎหมายท่ีกาํ หนดไว้ ยอ่ มมีผลทาํให้สัญญาซ้ือขายเป็ นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150 โดยในบางกรณีถือว่าเป็ นโมฆะเพราะวตั ถุประสงค์เป็ นการพ้นวิสัย บางกรณีโมฆะเพราะวตั ถุประสงค์เป็ นการตอ้ งหา้ มชดั แจง้ โดยกฎหมาย และบางกรณีถือวา่ โมฆะเพราะวตั ถุประสงคข์ ดั ตอ่ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนั ดีของประชาชนแลว้ แต่กรณี ข้อพจิ ารณา 1. ทรัพย์สินในอนาคตจะสามารถทาสัญญาซื้อขายกนั ได้หรือไม่? โดยทรัพยส์ ินในอนาคตอาจมีไดอ้ ยู่ 2 กรณี คือ 1) ทรัพย์สินทย่ี งั ไม่มีตัวตนอยู่ในปัจจุบัน แต่จะมขี นึ้ ในอนาคต เช่น ก. ทาํ สัญญาซ้ือแกว้ น้าํ จาก ข. เป็ นจาํ นวน 1,000 ชิ้น ขณะที่ ก. และ ข. ทาํ สัญญากนัน้นั ข. ยงั ไมม่ ีแกว้ น้าํ ที่ทาํ สาํ เร็จแลว้ อยใู่ นครอบครองเลย เช่นน้ี ก. และ ข. จะสามารถทาํ สัญญาซ้ือขายแกว้ น้าํ กนั ไดห้ รือไม่? 2) ทรัพย์สินมีตัวตนอยู่แล้วในปัจจุบัน แต่ผู้ขายไม่มีกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินน้ัน หรือไม่อยู่ในฐานะทจี่ ะโอนกรรมสิทธ์ิในขณะทท่ี าสัญญาได้ เช่น ก. ตกลงขายท่ีดินผนื หน่ึง ใหแ้ ก่ ข. โดยในขณะที่ทาํ สัญญาน้นั ที่ดินผืนน้นั เป็ นของ ค.ซ่ึง ก. ยงั ไม่มีกรรมสิทธ์ิในที่ดินผนื ดงั กล่าว เช่นน้ี ก. และ ข. จะสามารถทาํ สัญญาซ้ือขายที่ดินกนัไดห้ รือไม?่ ในเร่ืองทรัพยส์ ินในอนาคตน้นั แมไ้ ม่มีกฎหมายบญั ญตั ิเรื่องน้ีไวโ้ ดยเฉพาะ แต่บุคคลก็อาจทาํ สัญญาซ้ือขายทรัพยส์ ินในอนาคตได้ แต่สัญญาซ้ือขายท่ีคู่สัญญาทาํ กนั ข้ึนมาน้ันจะตอ้ งอยู่ในรูปลกั ษณะของสัญญาจะซ้ือจะขาย หรือในลกั ษณะสัญญาซ้ือขายมีเง่ือนไขหรือเงื่อนเวลาเท่าน้ันคู่สัญญาจะตกลงทาํ สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดไม่ได้ ท้งั น้ีเพราะสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดที่ไม่มีเง่ือนไขหรือเง่ือนเวลา กรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินจะโอนจากผขู้ ายไปยงั ผูซ้ ้ือทนั ทีเม่ือมีการทาํ สัญญาแมย้ งั ไม่ไดม้ ีการส่งมอบทรัพยห์ รือชาํ ระราคากนั กต็ าม ดงั น้นั ผขู้ ายจึงตอ้ งมีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขายขณะทาํ สัญญา มิฉะน้นั ผูซ้ ้ือก็จะไม่ไดก้ รรมสิทธ์ิไปดว้ ย21 ซ่ึงคาํ พิพากษาศาลฎีกาหลายฉบับได้ตดั สินในทาํ นองดังกล่าวว่าในขณะทาํ สัญญาซ้ือขาย ผูข้ ายไม่จาํ ต้องมีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่ขายแต่อยา่ งใด อาทิเช่น 21 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.43.

15 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1214/2498 ผูท้ าํ สัญญาจะขายทรัพยส์ ินไม่จาํ เป็ นตอ้ งเป็ นเจา้ ของทรัพยส์ ินอยู่ในขณะทาํ สัญญาน้ันก็ได้ ถา้ หากผูข้ ายสามารถจดั การให้ผูซ้ ้ือไดก้ รรมสิทธ์ิไปโดยชาํ ระราคาตามท่ีตกลงกนั ไดส้ ญั ญาจะซ้ือขายน้นั กใ็ ชไ้ ดแ้ ลว้ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2525 ผูท้ าํ สัญญาจะซ้ือขายท่ีดินไม่จาํ เป็ นตอ้ งเป็ นเจา้ ของที่ดินอยู่ในขณะทาํ สัญญาก็ได้ เพราะสาระสําคญั ที่เป็ นวตั ถุประสงค์ของการซ้ือขายก็คือให้ผูซ้ ้ือได้กรรมสิทธ์ิไปโดยชาํ ระราคาตามที่ตกลง หากผูข้ ายสามารถจดั การใหผ้ ูซ้ ้ือไดก้ รรมสิทธ์ิโดยชาํ ระราคาตามท่ีตกลงไวส้ ญั ญาจะซ้ือขายน้นั ก็ใชไ้ ดแ้ ลว้ คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 2302/2533 สญั ญาจะซ้ือขายเป็นสญั ญาท่ีกาํ หนดใหโ้ อนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินกนั ภายหนา้ แมข้ ณะทาํ สัญญาผูจ้ ะขายยงั ไม่มีกรรมสิทธ์ิหรือกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินยงั ไม่สมบูรณ์ สัญญาก็มีผลบงั คบั แลว้ ผูจ้ ะซ้ือท่ีดินยอ่ มฟ้องบงั คบั ใหเ้ จา้ ของท่ีดินไปจดทะเบียนโอนที่ดินแก่ตนได้ แมจ้ ะมีชื่อผูอ้ ่ืนในหนงั สือสําคญั สําหรับท่ีดินน้นั แทนเจา้ ของที่ดินอยู่ก็ตามกรณีมิใช่สภาพแห่งหน้ีไมเ่ ปิ ดช่องแตเ่ ป็นเร่ืองการปฏิบตั ิทางทะเบียนเท่าน้นั . คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1881/2540 ผูท้ าํ สัญญาจะซ้ือขายท่ีดินไม่จาํ ตอ้ งเป็ นเจา้ ของที่ดินในขณะทาํ สัญญาก็ได้เพราะสาระสําคญั ที่เป็ นวตั ถุประสงค์ของการซ้ือขายก็คือให้ผูซ้ ้ือได้กรรมสิทธ์ิโดยชาํ ระราคาตามท่ีตกลงหากผขู้ ายสามารถจดั การใหผ้ ซู้ ้ือไดก้ รรมสิทธ์ิโดยชาํ ระราคาตามท่ีตกลงกนั ไวส้ ัญญาจะซ้ือขายน้นั ก็ใชไ้ ดแ้ ลว้ ฉะน้นั การที่จาํ เลยไปที่สาํ นกั งานท่ีดินในวนั นดัพร้อมกบั ส. ผมู้ ีชื่อเป็นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิในที่ดินและไดแ้ สดงเจตนาวา่ จะโอนกรรมสิทธ์ิในท่ีดินใหแ้ ก่โจทกต์ ามสัญญาแตโ่ จทกเ์ ก่ียงใหจ้ าํ เลยรับโอนกรรมสิทธ์ิจาก ส. ก่อนแลว้ จดั การโอนใหแ้ ก่โจทก์จึงไม่อาจตกลงกนั ไดก้ รณีเช่นน้ีแมว้ า่ จาํ เลยจะไม่ไดม้ ีกรรมสิทธ์ิในท่ีดินในวนั นบั โอนก็จะถือวา่ จาํ เลยเป็นฝ่ ายผดิ สญั ญาไมไ่ ด้ 2. “สิทธิ” สามารถเป็ นทรัพย์สินอนั เป็ นวตั ถุแห่งสัญญาซื้อขายได้หรือไม่? สิทธิต่างๆ เป็ นทรัพยส์ ินอย่างหน่ึงชนิดไม่มีรูปร่าง แต่สิทธิบางชนิดมีตวั ทรัพย์ชนิดมีรูปร่างเป็ นเคร่ืองรองรับอยู่ และสิทธิบางชนิดมีลกั ษณะพิเศษ คือเป็ นท้งั ตวั สิทธิและวตั ถุแห่งสิทธิในตวั เอง สิทธิชนิดหลงั น้ี เช่น ลิขสิทธ์ิ สิทธิบตั ร เครื่องหมายการคา้ ซ่ึงเรียกกนั ว่าทรัพยส์ ินทางปัญญา22 ซ่ึงสิทธิเหล่าน้ีจะมีกฎหมายพิเศษหรือกฎหมายเฉพาะกาํ หนดเอาไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2537 พระราชบญั ญตั ิสิทธิบตั ร พ.ศ.2522 และพระราชบญั ญตั ิเคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ.2534 จึงมีปัญหาท่ีน่าพิจารณาวา่ สิทธิประเภททรัพยส์ ินทางปัญญาเหล่าน้ีจะถือเป็ นวตั ถุแห่งสัญญาซ้ือขายได้หรือไม่ และจะนาํ บทบญั ญตั ิลกั ษณะซ้ือขายในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยม์ าบงั คบั ใชก้ บั การโอนสิทธิเหล่าน้ีไดห้ รือไม่? 22 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 7, น.44.

16 ในประเด็นน้ีมีความเห็นเป็น 2 แนวทางคือ แนวทางแรก เห็นวา่ ทรัพยส์ ินทางปัญญาไม่วา่ จะเป็ นลิขสิทธ์ิ สิทธิบตั ร หรือเครื่องหมายการคา้ ก็เป็ นสิทธิชนิดหน่ึงอยภู่ ายใตค้ วามหมายของคาํ วา่ “ทรัพยส์ ิน” ดงั ท่ีมาตรา 453 บญั ญตั ิไว้เม่ือเป็นเช่นน้ีแลว้ ทรัพยส์ ินทางปัญญาเหล่าน้ีกเ็ ป็นวตั ถุแห่งสญั ญาซ้ือขายได้ ซ่ึงก็เป็ นท่ีรู้และเขา้ ใจกนั อยทู่ ว่ั ไปไม่น่าจะมีประเด็นปัญหาอะไร แนวทางท่ีสอง เห็นว่า “ทรัพย์สินทางปัญญา” ไม่ว่าจะเป็ นลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร หรือเครื่องหมายการคา้ น้นั ไมส่ ามารถเป็นวตั ถุแห่งสัญญาซ้ือขายตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ได้ เพราะลิขสิทธ์ิ สิทธิบตั ร หรือเคร่ืองหมายการคา้ ไม่มีเร่ืองกรรมสิทธ์ิเป็ นเพียงสิทธิท่ีกฎหมายรับรองและคุม้ ครองให้ ซ่ึงไม่ตรงกบั ที่มาตรา 453 ไดบ้ ญั ญตั ิไว้ เพราะตามมาตรา 453 น้นั ผูข้ ายโอนกรรมสิทธ์ิให้แก่ผูซ้ ้ือ เม่ือไม่มีกรรมสิทธ์ิท่ีจะโอนก็ไม่ใช่เรื่องซ้ือขายตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย2์ 3 ในประเดน็ น้ีศาสตราจารย์ ดร.ไผทชิต เอกจริยกร มีความเห็นวา่ “เม่ือใดท่ีมกี ฎหมายพิเศษหรือกฎหมายเฉพาะบัญญัติเร่ืองใดไว้ก็ต้องเป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายน้ันๆ เช่น กรณีพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการค้า พ.ศ.2534 กาหนดไว้เป็ นการเฉพาะ การโอนสิทธิหรือวิธีการโอนว่าจะต้องทาเช่นใดจึงจะเป็นการถกู ต้องถกู กฎหมาย กต็ ้องเป็นไปตามกฎหมายเหล่านี้ แต่เมื่อใดไม่มกี ฎหมายจะปรับใช้แก่คดีโดยตรง อาจจะต้องนาบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะซื้อขายมาใช้ได้ แต่น่าจะไม่ใช่โดยตรง โดยอาจนามาใช้ในฐานะเป็ นบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างย่ิงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 4 (หากว่าเห็นกันว่าการโอนลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร หรือเคร่ืองหมายการค้า ไม่สามารถเป็นวตั ถแุ ห่งการซื้อขายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์) เช่นในเรื่องค่าตอบแทน (ราคา) หรือการรอนสิทธิ”24 ในส่วนของสิทธิอื่นๆ นอกจากสิทธิประเภททรัพยส์ ินทางปัญญา แมจ้ ะไม่มีกฎหมายบญั ญตั ิแยกไวเ้ ป็ นพิเศษ แต่เม่ือสิทธิเป็ นทรัพยส์ ินอย่างหน่ึง ก็ย่อมน่าจะเป็ นส่ิงท่ีซ้ือขายกนั ได้เช่นกนั ซ่ึงศาลฎีกาเคยตดั สินวา่ การซ้ือขายสิทธิการเช่า หรือสิทธิการเช่าซ้ือน้นั มีได้ คาพิพากษาศาลฎกี าที่ 1562/2530 ระเบียบขององคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยไม่มีขอ้หา้ มการโอนสิทธิการเช่าโทรศพั ท์ เพียงแต่จะให้ไปทาํ การเปล่ียนช่ือผเู้ ช่าต่อองคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยเท่าน้นั เม่ือผูเ้ ช่าสิทธิการเช่าโทรศพั ท์ขายสิทธิให้แก่ผูร้ ้อง การโอนสิทธิการเช่า 23 ไผทชิต เอกจริยกร, คาอธิบายซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้, พิมพค์ ร้ังที่ 5, 2552 (กรุงเทพฯ : บริษทัสาํ นกั พิมพว์ ญิ ํชู น จาํ กดั ), น.56. 24 เพง่ิ อา้ ง, น.58.

17โทรศพั ทจ์ ึงสมบูรณ์ต้งั แต่ท้งั สองฝ่ ายไดต้ กลงซ้ือขายสิทธิการเช่าและส่งมอบเครื่องโทรศพั ท์ให้ฝ่ ายผรู้ ับโอนครอบครอง โจทกจ์ ึงไมม่ ีสิทธินาํ ยดึ สิทธิการเช่าดงั กล่าว คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 5466/2539 จาํ เลยขายสิทธิการเช่าซ้ือท่ีดินพร้อมอาคารจากการเคหะแห่งชาติใหโ้ จทก์ โดยให้โจทก์เขา้ ไปสวมสิทธิของจล.ที่มีต่อการเคหะแห่งชาติในการที่จะรับโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินพร้อมอาคารตอ่ ไป สิทธิการเช่าซ้ือดงั กล่าวเป็นทรัพยส์ ินชนิดหน่ึงท่ีสามารถซ้ือขายกนั ได้ ขอ้ ตกลงดงั กล่าวเป็ นการซ้ือขายสิทธิ แมไ้ ม่ทาํ เป็ นหนงั สือ แต่เมื่อไดม้ ีการชาํ ระหน้ีเนื่องในการซ้ือขายกนั บา้ งแลว้ ยอ่ มมีผลผกู พนั ระหวา่ งกนั โจทกม์ ีอาํ นาจฟ้องบงั คบั ตามขอ้ ตกลงได้ อยา่ งไรก็ตาม ในเรื่องการโอนสิทธิ ก็มีนกั กฎหมายเห็นวา่ สิทธิมิใช่ทรัพยส์ ินแทๆ้ ดงั กรณีทรัพยส์ ินอ่ืน การโอนสิทธิแมม้ ีค่าตอบแทนก็ไม่ใช่เร่ืองของการซ้ือขาย 2.3 บุคคลผู้มีสิทธิทาสัญญาซื้อขาย ผู้ซื้อ บุคคลใดมีความสามารถในการทาํ นิติกรรมสัญญาก็สามารถเป็ นผูซ้ ้ือได้ แต่ก็มีบา้ งที่กฎหมายจาํ กดั สิทธิไวส้ ําหรับบุคคลบางประเภท เช่น กรณีการขายทอดตลาด มาตรา 511 และมาตรา 512 ห้ามมิให้ผูท้ อดตลาดและผูข้ ายเขา้ สู้ราคาโดยเป็ นผูซ้ ้ือเสียเอง หรือคนต่างดา้ ว ที่ถูกจาํ กดั การซ้ือ “ที่ดิน” เป็นตน้ ผู้ขาย ไดแ้ ก่บุคคลดงั ตอ่ ไปน้ี 1) เจ้าของกรรมสิทธ์ิ เมื่อวตั ถุประสงคข์ องสัญญาซ้ือขายจะตอ้ งมีการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขายใหแ้ ก่ผซู้ ้ือ ฉะน้นั ผูข้ ายจึงตอ้ งเป็ นผมู้ ีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีขาย ผขู้ ายจึงสามารถโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินให้กบั ผูซ้ ้ือได้ และผซู้ ้ือก็ไดก้ รรมสิทธ์ิ เพราะตามหลกั แลว้ ผูเ้ ป็ นเจา้ ของทรัพยส์ ินมีสิทธิจาํ หน่ายจ่ายโอนทรัพยส์ ินของตนได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336 ท่ีได้บญั ญตั ิไวว้ า่ “ภายในบงั คบั แห่งกฎหมาย เจา้ ของทรัพยส์ ินมีสิทธิใชส้ อยและจาํ หน่ายทรัพยส์ ินของตนและไดซ้ ่ึงดอกผลแห่งทรัพยส์ ินน้นั กบั ท้งั มีสิทธิติดตามและเอาคืนซ่ึงทรัพยส์ ินของตนจากบุคคลผู้ไมม่ ีสิทธิจะยึดถือไว้ และมีสิทธิขดั ขวางมิใหผ้ อู้ ื่นสอดเขา้ เกี่ยวขอ้ งกบั ทรัพยส์ ินน้นั โดยมิชอบดว้ ยกฎหมาย” ดงั น้นั โดยหลกั เบ้ืองตน้ แลว้ หากผูใ้ ดไม่ไดเ้ ป็ นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินไดท้ าํ การขายทรัพยส์ ินของบุคคลอื่น โดยท่ีตนเองมิไดม้ ีอาํ นาจในการขายทรัพยส์ ินเช่นวา่ น้นั การขายก็ไม่ผกู พนั เจา้ ของท่ีแทจ้ ริง โดยท่ีเจา้ ของท่ีแทจ้ ริงมีสิทธิติดตามเอาคืนซ่ึงทรัพยส์ ินดงั กล่าวได้ และผูซ้ ้ือน้นั ก็ไม่ไดก้ รรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินน้นั แมว้ า่ จะซ้ือมาโดยสุจริตก็ตาม ท้งั น้ีเป็ นไปตามหลกั “ผูร้ ับโอนไมม่ ีสิทธิดีกวา่ ผโู้ อน” หลกั ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน หมายความว่า ถ้าผู้โอนมีสิทธิเพยี งใด ผ้รู ับโอนกม็ ีสิทธิเพยี งเท่าทผ่ี ู้โอนมีอยู่

18 เช่น กรณีซ้ือขาย หากผขู้ ายไม่มีสิทธิหรือไมอ่ ยใู่ นฐานะจะโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินใหแ้ ก่ผใู้ ดแลว้ ผทู้ ี่รับโอนทรัพยส์ ินน้นั ไวเ้ ช่นผซู้ ้ือยอ่ มไมม่ ีทางไดก้ รรมสิทธ์ิ เพราะเมื่อผโู้ อนไมม่ ีสิทธิแลว้ ดงั น้ี ผรู้ ับโอนจะมีสิทธิดียง่ิ ไปกวา่ ผโู้ อนไดอ้ ยา่ งไร หลกั กฎหมายน้ีไม่ปรากฏอยูใ่ นมาตราใดมาตราหน่ึงในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์โดยเฉพาะ แต่หากเป็ นสุภาษิตกฎหมายที่ศาลฎีกาไดย้ อมรับและปรากฏอยู่ในคาํ พิพากษาศาลฎีกาหลายฎีกา เช่น คาพิพากษาศาลฎีกา 1440/2479 ซ้ือที่ดินจากผูไ้ ม่มีอาํ นาจขาย แมจ้ ะเป็ นการซ้ือขายโดยสุจริต แต่เมื่อไดค้ วามวา่ มิไดซ้ ้ือจากเจา้ ของ การซ้ือขายจึงไม่ผูกพนั โจทก์ผเู้ ป็ นเจา้ ของ โจทก์จึงมีสิทธิขอใหท้ าํ ลายนิติกรรมซ้ือขายท่ีดินของโจทกไ์ ด้ คาพิพากษาศาลฎีกา 174/2494 เช่าเคร่ืองมือในการตดั ผมและเครื่องอุปกรณ์อื่นในร้านตดัผมของเขาไว้ เปิ ดทาํ การตดั ผมคิดค่าเช่าเป็ นรายเดือน และชาํ ระค่าเช่าเรื่อยมาภายหลงั กลบั เอาเครื่องมือและเครื่องอุปกรณ์เหล่าน้นั ไปโอนขายแก่ผอู้ ื่นเสียดงั น้ีผรู้ ับซ้ือไม่ไดก้ รรมสิทธ์ิและไม่ใช่กรณีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยม์ าตรา 1303 และไม่เขา้ ขอ้ ยกเวน้ ตามมาตรา 1332เจา้ ของยงั คงมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 353/2503 ถา้ มีการปลอมใบมอบอาํ นาจให้ทาํ การขายฝากท่ีดินผรู้ ับซ้ือก็ไม่ไดก้ รรมสิทธ์ิ ผรู้ ับซ้ือจะอา้ งวา่ เป็นผรู้ ับโอนโดยสุจริตไมไ่ ดเ้ พราะการโอนยอ่ มมีไมไ่ ด้ การท่ีโจทกล์ งลายมือช่ือมอบอาํ นาจให้เขาเอาท่ีดินมีโฉนดของตนไปทาํ การอยา่ งหน่ึง โดย ไมไ่ ดก้ รอกขอ้ ความในใบมอบอาํ นาจ เขากลบั ยกั ยอกลายมือชื่อน้นั ไปทาํ การขายฝากท่ีดินเสียเม่ือ ผซู้ ้ือรับโอนโดยสุจริต โจทก์จะอา้ งความประมาทเลินเล่อของตนมาเพิกถอนนิติกรรมน้นั โดยอา้ ง วา่ นิติกรรมเป็นโมฆะหาไดไ้ ม่สุจริตดว้ ยกนั ผปู้ ระมาทเลินเล่อยอ่ มเป็ นผเู้ สียเปรียบ อน่ึง การท่ีผขู้ ายไม่มีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายและไม่สามารถท่ีจะไดร้ ับกรรมสิทธ์ิ มาเพื่อโอนใหแ้ ก่ผซู้ ้ือได้ กไ็ ม่ไดห้ มายความวา่ สัญญาซ้ือขายไม่ไดเ้ กิดข้ึน ตรงกนั ขา้ มถือวา่ สัญญา ซ้ือขายเกิดข้ึนแลว้ เพราะในขณะทาํ สัญญาซ้ือขาย ผขู้ ายไมจ่ าํ ตอ้ งมีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขาย แต่อย่างใด เพียงแต่ผูข้ ายมีหน้าท่ีจะต้องโอนกรรมสิทธ์ิให้กับผูซ้ ้ือให้ได้ก็พอ แต่ถ้าผูข้ ายไม่ สามารถโอนกรรมสิทธ์ิให้กับผูซ้ ้ือได้ก็เป็ นกรณีผูข้ ายผิดสัญญากับผูซ้ ้ือ หากผูซ้ ้ือได้รับความ เสียหายจากการท่ีผขู้ ายผดิ สัญญาดงั กล่าว ผซู้ ้ือยอ่ มสามารถเรียกร้องใหผ้ ขู้ ายชดใชค้ า่ เสียหายได้ นอกจากน้ี แมว้ า่ โดยหลกั ที่ไดก้ ล่าวไปแลว้ วา่ ผขู้ ายตอ้ งเป็นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่ ขายผูซ้ ้ือจึงจะไดร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิ แต่ผูซ้ ้ือก็อาจจะไดร้ ับกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินดงั กล่าวไดแ้ ต่ ไม่ใช่โดยผลของสัญญาซ้ือขาย โดยอาจจะไดม้ าตามหลกั เกณฑใ์ นเร่ืองกฎหมายลกั ษณะทรัพย์ เช่น โดยการครอบครองปรปักษ์ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1382 คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 967/2536 ผรู้ ้องเขา้ ครอบครองท่ีพิพาทโดยความสงบและเปิ ดเผยดว้ ย เจตนาเป็ นเจา้ ของติดต่อกนั เป็ นเวลานานกวา่ 10 ปี แมผ้ ขู้ ายท่ีพิพาทให้แก่บิดาผูร้ ้องมิใช่เจา้ ของที่

19 พิพาทก็ตาม แต่เมื่อผูร้ ้องมิได้ครอบครองแทนผูอ้ ื่น ผูร้ ้องจึงได้กรรมสิทธ์ิในท่ีดินพิพาทตาม ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1382 ข้อยกเว้นหลกั ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดกี ว่าผ้โู อน ตามกฎหมายไทย ดงั ที่กล่าวมาขา้ งตน้ แมก้ ฎหมายไทยจะยอมรับในหลกั กฎหมายผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกวา่ ผู้โอน แตอ่ ยา่ งไรก็ดียงั คงมีขอ้ ยกเวน้ หลกั ดงั กล่าวเพือ่ คุม้ ครองบุคคลในบางกรณี ซ่ึงส่วนใหญ่แลว้ ผูท้ ่ีกฎหมายใหค้ วามคุม้ ครองก็คือผูส้ ุจริต คือไม่รู้ถึงการโอนอนั ไม่มีสิทธิของผูโ้ อนน้นั และมกั จะเป็ นผเู้ สียหายโดยตรง หรือเสียค่าตอบแทนสาํ หรับการโอนน้นั ดว้ ย อาทิเช่น (1) การรับโอนทรัพย์สินจากนิติกรรมซึ่งทาโดยมีเจตนาลวง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 155 “การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กบั คู่กรณีอีกฝ่ ายหน่ึงเป็ นโมฆะ แต่จะยกข้ึนเป็ นขอ้ ต่อสู้บุคคลภายนอกผกู้ ระทาํ การโดยสุจริต และตอ้ งเสียหายจากการแสดงเจตนาลวงน้นั มิได”้ หมายความว่า แมน้ ิติกรรมน้นั จะเป็ นโมฆะเพราะคู่กรณีทาํ นิติกรรมโดยมีเจตนาลวงสมรู้กนั แต่ผรู้ ับโอนซ่ึงเป็ นบุคคลภายนอกและสุจริตยอ่ มไดร้ ับความคุม้ ครอง และไดป้ ระโยชน์ตามนิติกรรมน้นั ทุกประการ เช่น นาย เอ เกรงวา่ เจา้ หน้ีของตนคือ นาย บี จะมายึดรถยนต์ของตน จึงขายรถยนตใ์ ห้กบันาย ซี โดยท่ีนาย เอ และ นาย ซีสมคบกนั ซ้ือขายรถยนตห์ ลอกๆ มิไดม้ ีการชาํ ระราคากนั จริง ต่อมาหากนาย ซี นาํ รถยนตค์ นั ดงั กล่าวไปขายต่อให้กบั นาย ดี โดยนาย ดี ไม่ทราบถึงเจตนาลวงที่ทาํ กนัระหวา่ ง นาย เอ และนาย ซี เม่ือนาย ดี ชาํ ระเงินค่ารถยนตด์ งั กล่าวให้กบั นาย ซี แล้ว กรณีเช่นน้ีแมว้ า่ นาย ดี ถือเป็ นบุคคลภายนอกผูส้ ุจริต และไดร้ ับความเสียหาย กฎหมายจึงให้ความคุม้ ครองแมว้ า่ นาย ซี ผโู้ อน รถยนตค์ นั ดงั กล่าวน้นั ไม่มีสิทธิที่จะโอน (2) การรับโอนทรัพย์สินจากตัวแทนเชิด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 821 “บุคคลผใู้ ดเชิดบุคคลอีกคนหน่ึงออกแสดงเป็นตวั แทนของตนก็ดี รู้แลว้ ยอมใหบ้ ุคคลอีกคนหน่ึงเชิดตวั เขาเองออกแสดงเป็ นตวั แทนของตนก็ดีท่านวา่ บุคคลผูน้ ้นั จะตอ้ งรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกผูส้ ุจริต เสมือนวา่ บุคคลอีกคนหน่ึงน้นั เป็ นตวั แทนของตน” ขอ้ ยกเวน้ หลกั ผรู้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกวา่ ผโู้ อนในกรณีน้ีคือ หากวา่ บุคคลใดรับโอนทรัพยส์ ินโดยสุจริตจากบุคคลหน่ึงท่ีเจา้ ของทรัพยส์ ินไดเ้ ชิดว่าเป็ นตวั แทนของตนก็ดี หรือได้รับโอนจากบุคคลที่ไดแ้ สดงตนว่าเป็ นตวั แทนของเจา้ ของทรัพยส์ ิน และมีอาํ นาจขายทรัพยส์ ินแทนเจา้ ของได้ซ่ึงความจริงหาเป็ นเช่นน้นั ไม่ และเจา้ ของน้ันแมท้ ราบความแล้วก็มิได้ขดั ขวางหรือปฏิเสธการ

20กระทาํ ของตวั แทนน้ัน กรณีน้ีบุคคลผูร้ ับโอนทรัพยส์ ินย่อมไดก้ รรมสิทธ์ิเช่นเดียวกบั ว่าซ้ือจากเจา้ ของที่แทจ้ ริง เช่น นาย ก. นาํ สร้อยคอทองคาํ ของนาย ข. มาขาย โดยอา้ งว่าเป็ นตวั แทนของนาย ข. เมื่อนาย ข. ทราบแลว้ ก็มิไดป้ ฏิเสธ และต่อมา นาย ค. ไดซ้ ้ือสร้อยคอทองคาํ ดงั กล่าวน้นั ไปโดยสุจริตกรณีเช่นน้ี นาย ค. กย็ อ่ มไดก้ รรมสิทธ์ิในสร้อยคอทองคาํ ดงั กล่าว แมว้ า่ นาย ก. จะเป็ นผูโ้ อนท่ีไม่มีกรรมสิทธ์ิในสร้อยคอทองคาํ ดงั กล่าว คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 1137/2534 การที่ ศ. ซ่ึงเคยเป็นกรรมการบริษทั โจทกล์ งช่ือในสัญญาซ้ือขายโดยโจทกย์ อมรับเอาผลของนิติกรรมที่ ศ.ลงชื่อเป็ นผูซ้ ้ือตลอดมามิไดท้ กั ทว้ งเท่ากบั โจทกไ์ ด้รับรู้ให้ ศ. เชิดตวั เองเพื่อให้จาํ เลยที่ 2 หลงเชื่อว่าเป็ นตวั แทนของโจทก์ โจทก์จึงตอ้ งผูกพนั ตามสญั ญาซ้ือขายน้นั แมก้ ารลงช่ือของ ศ. กต็ าม (3) การรับโอนทรัพย์สินโดยได้จดทะเบียนสิทธิแล้ว ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299 วรรค 2 “ ถา้ มีผไู้ ดม้ าซ่ึงอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพยสิทธิอนั เก่ียวกบั อสังหาริมทรัพยโ์ ดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรม สิทธิของผไู้ ดม้ าน้นั ถา้ ยงัมิไดจ้ ดทะเบียนไซร้ ท่านวา่ จะมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนไม่ได้ และสิทธิอนั ยงั มิไดจ้ ดทะเบียนน้นั มิใหย้ กข้ึนเป็ นขอ้ ต่อสู้บุคคลภายนอกผูไ้ ดส้ ิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตและไดจ้ ดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแลว้ ” หมายความว่า สิทธิของบุคคลผูไ้ ด้มาซ่ึงอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพยสิทธิอนั เก่ียวกับอสังหาริมทรัพยโ์ ดยสุจริต เสียค่าตอบแทน และจดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแลว้ ยอ่ มมีสิทธิดีกวา่ ผู้เป็นเจา้ ของอสังหาริมทรัพยท์ ่ีแทจ้ ริงซ่ึงยงั ไมไ่ ดจ้ ดทะเบียน เช่น นาย ก. ครอบครองปรปักษ์ที่ดินของนาย ข. จนได้กรรมสิทธ์ิโดยอายุความ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1382 แต่นาย ก. ยงั มิไดไ้ ปจดทะเบียนกรรมสิทธ์ิ ต่อมานาย ข. ไดข้ ายท่ีดินแปลงน้นั ใหก้ บั นาย ค. ซ่ึงเป็ นผซู้ ้ือโดยสุจริต และไดจ้ ดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแลว้ ดงั น้ี นาย ค. ย่อมได้กรรมสิทธ์ิในที่ดินแปลงดงั กล่าว แมว้ ่า นาย ข.น้นั จะเป็ นผูโ้ อนที่ไม่มีกรรมสิทธ์ิในท่ีดินแลว้ กต็ าม (4) การรับโอนทรัพย์สินจากนิตกิ รรมอันเป็ นโมฆียะ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 1329 “สิทธิของบุคคลผไู้ ดม้ าซ่ึงทรัพยสิทธิ โดยมีค่าตอบแทนและโดยสุจริตน้นั ท่านวา่ มิเสียไปถึงแมว้ ่า ผูโ้ อนทรัพยส์ ินให้จะไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาโดยนิติกรรมอนั เป็นโมฆียะ และนิติกรรมน้นั ไดถ้ ูกบอกลา้ งภายหลงั ” กล่าวคือ หากมีการทาํ นิติกรรมใดและนิติกรรมน้นั เป็ นโมฆียะเพราะเหตุอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงต่อมาไดม้ ีการโอนทรัพยส์ ินตามนิติกรรมน้นั ต่อใหก้ บั บุคคลภายนอกซ่ึงรับโอนทรัพยส์ ินโดยเสีย

21ค่าตอบแทนและสุจริต บุคคลภายนอกท่ีรับโอนทรัพยส์ ินน้ันย่อมได้กรรมสิทธ์ิ แมว้ ่าจะไดม้ ีการบอกลา้ งนิติกรรมอนั เป็นโมฆียะน้นั ในภายหลงั ก็ตาม เช่น เด็กชาย ก. ซ่ึงยงั คงเป็ นผูเ้ ยาวไ์ ด้ขายสร้อยคอทองคาํ ของคนให้กบั นาย ข. โดยท่ียงัไมไ่ ดร้ ับความยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม และนาย ข. ก็ไดข้ ายสร้อยคอทองคาํ เส้นดงั กล่าวต่อใหก้ บั นาย ค. โดยนาย ค. รับซ้ือไวโ้ ดยสุจริต ต่อมาผูแ้ ทนโดยชอบธรรมของเด็กชาย ก. ไดบ้ อกลา้ งนิติกรรมท่ี เด็กชาย ก. ได้ทาํ การขายสร้อยคอทองคาํ เส้นดงั กล่าวน้นั การบอกล้างน้นั ไม่เป็ นการกระทบถึง นาย ค. หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงคือ นาย ค. ยอ่ มไดก้ รรมสิทธ์ิในสร้อยคอเส้นน้นั (5) การรับโอนทรัพย์สินจากการขายทอดตลาดตามคาส่ังศาลหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 “ สิทธิของบุคคลผซู้ ้ือทรัพยส์ ินโดยสุจริตในการขายทอดตลาดตามคาํ ส่ังศาล หรือคาํ สั่งเจา้ พนกั งานรักษาทรัพยใ์ นคดีลม้ ละลายน้นั ท่านวา่ มิเสียไป ถึงแมภ้ ายหลงั จะพิสูจน์ไดว้ า่ ทรัพยส์ ินน้นั มิใช่ของจาํ เลย หรือลูกหน้ีโดยคาํ พิพากษา หรือผู้ลม้ ละลาย” หมายความว่า บุคคลผูซ้ ้ือทรัพยส์ ินไวโ้ ดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคาํ สั่งศาล หรือตามคาํ ส่ังเจา้ พนกั งานพิทกั ษ์ทรัพยใ์ นคดีลม้ ละลายย่อมไดร้ ับความคุม้ ครอง แมว้ ่าในท่ีสุดแลว้ จะพสิ ูจน์ไดว้ า่ ทรัพยส์ ินน้นั มิไดเ้ ป็นของจาํ เลยหรือลูกหน้ีตามคาํ พิพากษาหรือผลู้ ม้ ละลาย เช่น นาย ก. ซ้ือคอมพิวเตอร์จากการขายทอดตลาดตามคาํ ส่ังศาลโดยสุจริตโดยเขา้ ใจว่าคอมพวิ เตอร์ดงั กล่าวน้นั เป็นของ นาย ข. ท่ีเป็ นลูกหน้ีตามคาํ พิพากษา แต่ภายหลงั กลบั ปรากฏวา่ แท้ท่ีจริงเป็นคอมพิวเตอร์ของนาย ค. แตเ่ จา้ พนกั งานบงั คบั คดีนาํ ยดึ ทรัพยส์ ินของลูกหน้ีผิด กรณีน้ี นายก. ยงั คงไดท้ รัพยส์ ินดงั กล่าวจากการขายทอดตลาด เป็ นขอ้ ยกเวน้ ของหลกั ผรู้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกวา่ผโู้ อน (6) การรับโอนทรัพย์สินจากการขายทอดตลาด จากท้องตลาด หรือจากพ่อค้า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 1332 “ บุคคลผซู้ ้ือทรัพยม์ าโดยสุจริตในการขายทอดตลาดหรือในทอ้ งตลาดหรือจากพ่อคา้ ซ้ือขายของชนิดน้นั ไม่จาํ ตอ้ งคืนให้แก่เจา้ ของที่แทจ้ ริงเวน้ แตเ่ จา้ ของจะชดใชร้ าคาท่ีซ้ือมา” สิทธิของบุคคลผูซ้ ้ือทรัพยส์ ินมาโดยสุจริตจากการขายทอดตลาด หรือจากทอ้ งตลาดทวั่ ไปหรือจากพ่อคา้ ซ่ึงขายของชนิดน้นั ยอ่ มไม่เสียไป ผูซ้ ้ือย่อมไดก้ รรสิทธ์ิถึงแมว้ า่ ทรัพยส์ ินน้นั จะเป็ นของบุคคลอื่นก็ตาม เวน้ แต่เจา้ ของทรัพยส์ ินจะชดใช้ราคาท่ีซ้ือมาให้ เช่นน้ีผูซ้ ้ือจะตอ้ งยอมคืนทรัพยส์ ินน้นั ใหแ้ ก่เจา้ ของ เช่น นาย ก. ซ้ือโทรศพั ทม์ ือถือโดยสุจริตจาก นาย ข. ซ่ึงเป็ นพ่อคา้ ขายโทรศพั ท์มือถือ แต่อนั ท่ีจริง โทรศพั ทม์ ือถือที่นาย ก. ซ้ือมาน้นั เป็ นของนาย ค. ซ่ึงมีผูล้ กั มาขายให้กบั นาย ข. ในกรณี

22ดงั กล่าว แมน้ าย ค. จะเป็ นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิในโทรศพั ทม์ ือถือดงั กล่าว แต่ นาย ก. ก็ไม่จาํ ตอ้ งคืนโทรศพั ทม์ ือถือน้นั ใหก้ บั นาย ค. เวน้ แต่ นาย ค. จะยอมชดใชร้ าคาตามท่ี นาย ก. ซ้ือมา (7) การรับโอนทรัพย์สินจากการซื้อขายท่ีผ้ขู ายทาใบมอบอานาจไว้ การซ้ือทรัพยส์ ินจากผูข้ ายที่ปราศจากอาํ นาจย่อมไม่ทาํ ให้ผูซ้ ้ือไดก้ รรมสิทธ์ิ แต่ถ้าหากผขู้ ายทาํ ใบมอบอาํ นาจหรือมอบฉนั ทะไวโ้ ดยลงลายมือชื่อถูกตอ้ ง เพียงแต่ไม่ไดก้ รอกขอ้ ความ เป็ นเหตุให้ผรู้ ับมอบอาํ นาจกรอกขอ้ ความเองจนผิดไปจากความประสงค์ของผมู้ อบอาํ นาจ หรือท่ีเรียกกนั วา่ “ยกั ยอกลายมือช่ือ” และมีการนาํ ทรัพยส์ ินไปขายโดยท่ีผซู้ ้ือน้นั เป็ นผูส้ ุจริต เช่น กรอกลายมือช่ือไวใ้ นใบมอบอาํ นาจ ขายที่ดิน หากผูซ้ ้ือสุจริต เจา้ ของท่ีดินจะอา้ งความประมาทเลินเล่อของตนมาเพกิ ถอนการซ้ือขายน้นั มิได2้ 5 คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 6403/2540 จาํ เลยที่ 1 ขอใหโ้ จทกช์ ่วยค้าํ ประกนั หน้ีกูย้ มื โดยจาํ เลยที่1 นาํ หนงั สือมอบอาํ นาจซ่ึงยงั ไม่มีขอ้ ความกรอกไวม้ าให้โจทก์ลงลายมือช่ือและแจง้ ว่าถา้ กรอกขอ้ ความไปไม่ถูกตอ้ งเจา้ พนกั งานที่ดินจะไม่ดาํ เนินการให้ โจทกเ์ ชื่อใจจาํ เลยท่ี 1 จึงลงลายมือช่ือในหนงั สือมอบอาํ นาจดงั กล่าวพร้อมกบั มอบสําเนาทะเบียนบา้ น สาํ เนาบตั รประจาํ ตวั ประชาชนและโฉนดที่ดินพิพาทใหไ้ ป การกระทาํ ของโจทกเ์ ป็นการกระทาํ โดยความประมาทเลินเล่อ ยอมเส่ียงภยัในการกระทาํ ของตนเองอยา่ งร้ายแรง แมจ้ าํ เลยท่ี 1 จะปลอมหนงั สือมอบอาํ นาจดงั กล่าวโดยกรอกขอ้ ความว่าโจทก์มอบอาํ นาจให้จาํ เลยที่ 1 มีอาํ นาจขายท่ีดินและบา้ นพิพาทไดก้ ็ตาม ดงั น้ี การที่จาํ เลยที่ 1จดทะเบียนซ้ือขายเปลี่ยนชื่อเจา้ ของกรรมสิทธ์ิในท่ีดินและบา้ นพิพาทจากโจทก์เป็ นจาํ เลยท่ี 1 แลว้ จดทะเบียนจาํ นองเป็ นประกนั หน้ีต่อธนาคารจนกระทง่ั จดทะเบียนไถ่ถอนจาํ นองและโอนขายให้แก่จาํ เลยที่ 2 จึงเป็ นผลสืบเน่ืองมาจากการประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของโจทก์ดงั กล่าวโดยตรง เม่ือไม่ปรากฏว่าจาํ เลยท้งั สองคบคิดกนั ฉ้อฉลโจทก์อย่างไรลาํ พงั ราคาทรัพยท์ ่ีระบุในสัญญาจดทะเบียนโอนขายเป็นราคาประเมินหาใช่ราคาท่ีแทจ้ ริงตามที่จาํ เลยท้งั สองซ้ือขายกนั จะถือวา่ เป็ นการกระทาํ ท่ีไม่สุจริตของจาํ เลยที่ 2 หาไดไ้ ม่ การที่จาํ เลยท่ี 2 ซ้ือที่ดินและบา้ นพิพาทมาจากจาํ เลยท่ี 1 มิไดล้ ่วงรู้ถึงขอ้ ตกลงระหวา่ งโจทกก์ บั จาํ เลยที่ 1 และไม่ทราบวา่ จาํ เลยท่ี 1 ปลอมแปลงหนงั สือมอบอาํ นาจเก่ียวกบั การโอนท่ีดินและบา้ นพิพาทเปลี่ยนช่ือเจา้ ของกรรมสิทธ์ิจากโจทกเ์ ป็ นจาํ เลยที่ 1 จาํ เลยท่ี 2 จึงรับโอนท่ีดินและบา้ นพิพาทมาโดยสุจริตและเสียค่าตอบแทนเช่นกนั หากให้เพกิ ถอนการจดทะเบียนซ้ือขายที่ดินและบา้ นพพิ าทดว้ ยเหตุผลวา่ จาํ เลยที่ 2 ผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกวา่จาํ เลยท่ี 1 ซ่ึงเป็นผโู้ อนยอ่ มก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่จาํ เลยที่ 2 เป็ นอยา่ งมาก และความเสียหายน้ีก็เกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของโจทกโ์ ดยตรงดงั น้นั การท่ีโจทก์ใช้สิทธิติดตามเอาที่ดินและบา้ นพิพาทคืนโดยฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนซ้ือขายเป็ นคดีน้ี ถือไดว้ ่าโจทก์ใช้สิทธิโดยไมส่ ุจริต ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 5 โจทกจ์ ึงไม่มีอาํ นาจฟ้อง 25 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 7, น.52-56.

23 คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 7906/2544 การที่โจทกฟ์ ้องเพ่ือติดตามเอาคืนซ่ึงทรัพยส์ ินของโจทก์จากจาํ เลยที่ 1 ผูป้ ลอมเอกสารโดยกรอกขอ้ ความอนั เป็ นเท็จลงในหนงั สือมอบอาํ นาจซ่ึงยงั ไม่ได้กรอกขอ้ ความวา่ โจทกม์ อบใหจ้ าํ เลยที่ 1 มีอาํ นาจจดั การยนื่ คาํ ขอจดทะเบียนขายที่ดินของโจทก์โดยยอมให้จาํ เลยที่ 1 เป็ นผูร้ ับโอนในนามของจาํ เลยที่ 1 ได้ดว้ ย ทาํ ให้สามารถโอนท่ีดินไปเป็ นของตนเองได้ ถือไดว้ ่าจาํ เลยที่ 1 เป็ นบุคคลผไู้ ม่มีสิทธิที่จะยึดถือท่ีดินไว้ โจทก์สามารถฟ้องจาํ เลยท่ี 1ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336 แม้โจทก์จะมีส่วนประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง กย็ งั มีสิทธิติดตามเอาคืนซ่ึงทรัพยส์ ินของโจทกจ์ ากจาํ เลยท่ี 1 ได้ ในเมื่อที่ดินน้นั ยงั มิไดโ้ อนเปลี่ยนมือไปเป็ นของบุคคลอื่น ยงั อยู่ในวิสัยท่ีจะเพิกถอนการจดทะเบียนโอนขายท่ีทาํ ข้ึนโดยปราศจากอาํ นาจได้ โจทกจ์ ึงมีอาํ นาจฟ้องจาํ เลยที่ 1 จาํ เลยที่ 2 รับจาํ นองท่ีดินพพิ าทโดยสุจริตและเสียคา่ ตอบแทนแก่จาํ เลยท่ี 1 ผปู้ รากฏช่ือเป็ นเจา้ ของท่ีดินอยใู่ นขณะน้นั แมข้ ณะจดทะเบียนจาํ นองจาํ เลยท่ี 1 จะมิไดเ้ ป็ นเจา้ ของที่ดินที่จาํ นอง แต่พฤติการณ์ของโจทก์ซ่ึงเป็ นเจา้ ของท่ีดินท่ีลงลายมือช่ือในหนังสือมอบอาํ นาจซ่ึงยงั ไม่ได้กรอกขอ้ ความมอบให้จาํ เลยที่ 1 ยึดถือไวพ้ ร้อม น.ส.3 ก. ท้งั ยงั มอบสําเนาทะเบียนบา้ นและสาํ เนาบตั รประจาํ ตวั ประชาชนของโจทกไ์ วก้ บั จาํ เลยท่ี 1 เป็ นการกระทาํ ท่ีเปิ ดโอกาสให้จาํ เลยท่ี 1 นาํ เอกสารเหล่าน้นั ไปใชใ้ นกิจการอยา่ งอ่ืน ถือว่าโจทก์ประมาทเลินเล่ออยา่ งร้ายแรงโจทก์จะยกเอาผลท่ีเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของโจทก์มาเป็ นมูลเหตุฟ้องร้องจาํ เลยท่ี 2 ซ่ึงเป็ นบุคคลภายนอกผูร้ ับจาํ นองโดยสุจริตหาได้ไม่ หากสุจริตด้วยกันผูป้ ระมาทเลินเล่อย่อมเป็ นผู้เสียเปรียบ การท่ีโจทก์มาฟ้องขอใหเ้ พิกถอนการจาํ นองจึงถือไดว้ า่ โจทกใ์ ช้สิทธิโดยไม่สุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 5 โจทก์จึงไม่มีอาํ นาจฟ้องจาํ เลยท่ี 2 และแมท้ ่ีดินจะตอ้ งถูกโอนกลบั ไปเป็นของโจทกน์ ิติกรรมจาํ นองที่จาํ เลยที่ 1 ก่อไวย้ อ่ มตกติดมาดว้ ย 2) เจ้าของรวม กรณีที่ทรัพยส์ ินมีผูถ้ ือกรรมสิทธ์ิหลายคน ซ่ึงเรียกวา่ กรรมสิทธ์ิรวม การจดั การทรัพยส์ ินยอ่ มเป็ นไปตามบทบญั ญตั ิในบรรพ 4 วา่ ดว้ ยกรรมสิทธ์ิรวม กล่าวคือ เจา้ ของกรรมสิทธ์ิรวมคนใดคนหน่ึงยอ่ มมีอาํ นาจจาํ หน่ายจ่ายโอนทรัพยส์ ินเฉพาะในส่วนของตนได้ แต่การที่เจา้ ของรวมคนใดไดท้ าํ การจาํ หน่ายหรือขายทรัพยส์ ินไปทงั หมดรวมท้งั ในส่วนที่เป็ นของเจา้ ของรวมคนอ่ืนดว้ ย โดยท่ีเจา้ ของรวมคนอื่นมิไดร้ ู้เห็น หรือให้ความยินยอม การน้นั ก็ไม่ผูกพนั เจา้ ของรวมคนน้นั ดว้ ย และเจา้ ของรวมคนน้นั มีสิทธิขอใหม้ ีการเพิกถอนการทาํ สัญญาซ้ือขายดงั กล่าวได้ เช่น คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1232/2491 จาํ เลยไดท้ าํ สัญญาแบ่งขายท่ีดินซ่ึงจาํ เลยมีกรรมสิทธ์ิร่วมอยกู่ บั ผูอ้ ื่นอีกคนหน่ึง ให้แก่โจทก์เป็ นจาํ นวนเน้ือที่ 15 ไร่โดยเจา้ ของร่วมอีกคนหน่ึงน้นั มิไดร้ ู้เห็นยนิ ยอมดว้ ย ดงั น้ีโจทกจ์ ะฟ้องขอใหบ้ งั คบั จาํ เลยโอนขายที่ดินใหแ้ ก่โจทกต์ ามสัญญาไม่ได้

24 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1072/2497 เจา้ ของรวมคนหน่ึงทาํ สัญญาจะขายที่ดินท้งั แปลงโดยเจา้ ของรวมคนอ่ืนมิได้ยินยอม สัญญาจะขายไม่เป็ นโมฆะ เป็ นแต่ผูซ้ ้ือจะฟ้องบงั คบั ให้โอนตามสัญญา (ท้งั แปลง) ไม่ได้ คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 326/2499 เจ้าของร่วมเอาที่ท้ังแปลงไปทําสัญญาซ้ือขายให้กับบุคคลภายนอกโดยเจา้ ของร่วมอีกผหู้ น่ึงไม่รู้เห็นยินยอมดว้ ยเจา้ ของร่วมผูไ้ ม่ยนิ ยอมน้นั มีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนสัญญาซ้ือขายในส่วนที่เก่ียวกบั สิทธิของตนไดแ้ ต่จะเพิกถอนสัญญาซ้ือขายท้งั หมดหาไดไ้ ม่ คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 3135/2529 ที่ดินพิพาทเป็ นของโจทก์จาํ เลยร่วมกนั จาํ เลยไม่มีสิทธินาํ ที่ดินพิพาทส่วนของโจทกไ์ ปขายโดยโจทกไ์ ม่ยนิ ยอม จาํ เลยคงมีสิทธิขายไดเ้ ฉพาะส่วนของตนเทา่ น้นั การท่ีจาํ เลยทาํ สัญญาขายท่ีดินพพิ าทให้แก่ผรู้ ้องจึงมีผลผูกพนั เฉพาะส่วนของจาํ เลยส่วนของโจทกย์ งั คงมีอยตู่ ามเดิม ผรู้ ้องเขา้ ครอบครองทาํ กินในท่ีดินพิพาทก่อนจาํ เลยทาํ สัญญาขายท่ีดินพิพาทให้ผูร้ ้องน้นัเป็ นการเขา้ ครอบครองทาํ กินต่างดอกเบ้ีย ถือว่าเป็ นการครอบครองแทนโจทก์จาํ เลย ส่วนหลงั จากจาํ เลยทาํ สัญญาขายที่ดินพิพาทให้ผรู้ ้องถือไดว้ า่ ผรู้ ้องเขา้ ครอบครองที่ดินพิพาทตามสัญญาซ้ือขายซ่ึงผูร้ ้องไดส้ ิทธิเฉพาะส่วนของจาํ เลยเท่าน้นั ท่ีผูร้ ้องครอบครองท่ีดินพิพาทท้งั แปลงย่อมถือไดว้ ่าเป็ นการครอบครองแทนโจทก์ซ่ึงเป็ นเจา้ ของร่วม มิใช่เป็ นการแยง่ การครอบครองโดยมิชอบดว้ ยกฎหมายจะนาํ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใชบ้ งั คบั ไม่ได้ ผรู้ ้องขอออกหนงั สือรับรองการทาํ ประโยชน์ในที่ดินพิพาทก็ดีเสียภาษีบาํ รุงทอ้ งท่ีในท่ีดินพิพาทก็ดี ไม่ปรากฏว่าโจทก์ซ่ึงเป็ นเจา้ ของร่วมไดร้ ู้เห็นในการกระทาํ ดงั กล่าวดว้ ย ยงั ถือไม่ไดว้ ่าเป็ นการบอกกล่าวแสดงเจตนาเปลี่ยนลักษณะแห่งการครอบครองต่อโจทก์ผูร้ ้องจึงไม่ได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทส่วนของโจทก์ ข้อสังเกต หากปรากฏว่าเจา้ ของรวมไดร้ ู้เรื่องการที่เจา้ ของรวมคนอื่นนาํ ที่ดินไปขายและเจา้ ของรวมคนน้ีไมไ่ ดค้ ดั คา้ น ก็ถือไดว้ า่ เจา้ ของรวมคนน้ียนิ ยอมใหข้ ายที่ดินโดยปริยายดว้ ย คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 1608/2512 การท่ีจาํ เลยท่ี 2 ขายที่ดินมือเปล่าซ่ึงจาํ เลยที่ 1 เป็ นเจา้ ของรวมอยดู่ ว้ ยโดยท่ีจาํ เลยที่ 1 กร็ ู้เร่ืองและมิไดค้ ดั คา้ นประการใดน้นั ยอ่ มถือไดว้ า่ จาํ เลยที่ 1 ยินยอมให้จาํ เลยที่ 2 ขายส่วนของจาํ เลยที่ 1 โดยปริยายดว้ ย 3) ผ้ทู าสัญญาจะขาย ในกรณีทาํ สัญญาจะซ้ือจะขาย ผูท้ าํ สัญญาจะขายทรัพย์สินไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นเจ้าของทรัพยส์ ินในขณะทาํ สัญญาน้นั ก็ได้ เพราะอาจจดั ให้ตนมีกรรมสิทธ์ิในภายหลงั และโอนให้แก่ผูจ้ ะ

25ซ้ือในที่สุด แต่ถา้ ผูจ้ ะขายไม่สามารถจดั การเช่นน้นั ได้ ก็เป็ นเรื่องที่จะตอ้ งรับผิดต่อผจู้ ะซ้ือดว้ ยการชดใชค้ ่าเสียหาย แตม่ ิไดห้ มายความวา่ บุคคลดงั กล่าวเป็นผขู้ ายในสัญญามิได้ 4) บุคคลอ่ืนซึ่งมสี ิทธิขายได้ตามกฎหมาย นอกจากเจา้ ของกรรมสิทธ์ิแลว้ บุคคลอื่นก็อาจมีสิทธิขายได้ตามกฎหมาย เช่น ผูจ้ ดั การมรดกมีสิทธิขายทรัพยม์ รดกเพื่อชาํ ระหน้ีและแบ่งปันกบั ทายาท , ผูป้ กครอง ผูใ้ ช้อาํ นาจปกครองและผอู้ นุบาล มีสิทธิขายอสังหาริมทรัพยข์ องผเู้ ยาว์ เม่ือไดร้ ับอนุญาตจากศาล, เจา้ พนกั งานบงั คบั คดีมีสิทธิขายทอดตลาดทรัพยส์ ินของลูกหน้ีตามคาํ พิพากษา, เจา้ พนักงานพิทกั ษ์ทรัพยม์ ีสิทธิขายทรัพยส์ ินของลูกหน้ีผูถ้ ูกพิทกั ษ์ทรัพย์, เจา้ พนักงานของรัฐมีสิทธิขายทรัพยส์ ินซ่ึงได้ใช้ในการกระทาํ ความผดิ หรือไดม้ าโดยการกระทาํ ความผดิ และผขู้ ายซ่ึงยดึ หน่วงทรัพยท์ ี่ขายไปแลว้ แต่ยงัไม่ไดส้ ่งมอบให้แก่ผูซ้ ้ือ สามารถทาํ การขายทรัพยน์ ้นั ต่อไปเพ่ือให้ตนไดร้ ับใชร้ าคาแห่งทรัพยส์ ินน้นั 26 นอกจากน้ี ยงั มีบุคคลซ่ึงมีสิทธิขายไดต้ ามสัญญา ก็คือ ตวั แทนหรือผูไ้ ดร้ ับมอบอาํ นาจให้จดั การแทนบุคคลท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ท้งั หมด ยอ่ มมีอาํ นาจขายทรัพยไ์ ดเ้ ช่นเดียวกบั ตวั การหรือผมู้ อบอาํ นาจ โดยอยภู่ ายในขอบเขตของการมอบหมายหรือมอบอาํ นาจ 2.4 เปรียบเทยี บสัญญาซื้อขายกบั สัญญาอ่ืนๆ ความสําคญั ท่ีจะตอ้ งทราบให้ไดก้ ่อนวา่ ขอ้ ตกลงที่คู่สัญญาทาํ กนั ข้ึนมาน้นั เป็ นสัญญาซ้ือขายหรือไม่น้นั มีความสําคญั มาก เหตุผลเพราะเพื่อท่ีจะไดน้ าํ กฎหมายมาบงั คบั ใช้กบั ขอ้ ตกลงน้นัไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และทาํ ใหท้ ราบถึงสิทธิและหนา้ ที่ของคู่สัญญา ตลอดจนอายุความฟ้องร้องคดี หากขอ้ ตกลงน้นั ไม่ใช่สัญญาซ้ือขายก็จะนาํ บทบญั ญตั ิในเรื่องซ้ือขายมาบงั คบั ใชไ้ มไ่ ด้ โดยในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงท่ีคู่สัญญาตกลงกันน้ันเป็ นสัญญาซ้ือขายหรือไม่น้ัน จะพิจารณาเพียงแต่ชื่อสัญญาที่คู่สัญญาเขียนหรือพิมพเ์ อาไวใ้ นเอกสารหรือแบบพิมพส์ ัญญาแต่เพียงอยา่ งเดียว คงจะไม่ค่อยถูกตอ้ งนกั เพราะในบางกรณี คู่สัญญาอาจจะระบุไวใ้ นตอนตน้ ของสัญญาวา่ เป็นสญั ญาซ้ือขาย แต่ขอ้ ความในสัญญาอาจจะไม่ใช่ลกั ษณะของสัญญาซ้ือขายก็ได้ เพราะฉะน้นัการพิเคราะห์วา่ ขอ้ ตกลงที่คู่สัญญาตกลงกนั น้นั เป็ นสัญญาอะไร จึงตอ้ งพิจารณาจากขอ้ ความในสัญญาวา่ เขา้ ลกั ษณะสัญญาประเภทใดมากกวา่ กนั ซ่ึงขอ้ ความในสัญญาเป็ นส่ิงท่ีแสดงเจตนาของคู่สญั ญาไดด้ ีที่สุดวา่ คูส่ ญั ญามีเจตนาที่จะทาํ สญั ญาอะไรกนั แน่ ซ่ึงหลกั การน้ีก็ไดร้ ับการยอมรับอยู่ในคาํ พิพากษาศาลฎีกาหลายฉบบั เช่น คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 321-322/2538 การทาํ สัญญาจะใชแ้ บบพิมพส์ ัญญาประเภทใดไม่ใช่ขอ้ สาํ คญั หากแต่ความสาํ คญั อยูท่ ่ีวา่ ขอ้ ความท่ีทาํ กนั ไวใ้ นแบบพิมพส์ ัญญาดงั กล่าวเขา้ ลกั ษณะเป็ นสัญญาประเภทใดเมื่อสัญญาที่โจทก์จาํ เลยทาํ กนั ไวม้ ีขอ้ ความที่เขียนไวว้ า่ จาํ เลยขายท่ีพิพาทให้แก่ 26 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 7, น.50.

26โจทกใ์ นราคา 100,000 บาทโดยโจทก์ไดช้ าํ ระราคาจาํ นวน 72,000 บาทให้แก่จาํ เลยส่วนจาํ เลยได้มอบท่ีพิพาทพร้อมหนงั สือรับรองการทาํ ประโยชน์ให้แก่โจทก์ในวนั ทาํ สัญญาสําหรับราคาค่าท่ีพิพาทส่วนที่เหลือโจทกจ์ ะชาํ ระใหแ้ ก่จาํ เลยในภายหลงั จึงเขา้ ลกั ษณะเป็ นสัญญาซ้ือขายมิใช่สัญญาเช่าซ้ือ คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 1696/2527 หนงั สือสัญญาใชช้ ื่อวา่ หนงั สือสัญญาขายโดยมีเง่ือนไขคูส่ ัญญา ฝ่ ายหน่ึงเรียกวา่ 'เจา้ ของ' อีกฝ่ ายหน่ึงเรียกวา่ 'ผจู้ ะซ้ือ' มีขอ้ ความวา่ ตกลงจะซ้ือขายโทรทศั น์สีตามราคาที่กาํ หนด ชาํ ระเงินในวนั ทาํ สัญญาจาํ นวนหน่ึง ท่ีเหลือผอ่ นชาํ ระเป็ นงวด และกาํ หนดเง่ือนไขไวว้ ่า กรรมสิทธ์ิในโทรทศั น์สีจะตกแก่ผูจ้ ะซ้ือ เม่ือผูจ้ ะซ้ือปฏิบตั ิตามขอ้ สัญญาท้งั หมดรวมท้งั ไดช้ าํ ระเงิน ครบถว้ นแลว้ มีลกั ษณะเป็ น ทาํ นองเจา้ ของเอาโทรทศั น์สี ออกให้เช่า และให้คาํ มนั่ ว่าจะให้โทรทศั น์สีตกเป็ นสิทธิแก่ผูจ้ ะซ้ือ โดยเงื่อนไขที่ ผูจ้ ะซ้ือได้ชําระเงินเป็ นจาํ นวนเทา่ น้นั เทา่ น้ีคราว และมี ขอ้ สญั ญาที่มีผลเท่ากบั ใหผ้ จู้ ะซ้ือมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดด้ ว้ ยการไม่ชาํ ระราคาต่อไปโดยส่งมอบทรัพยส์ ินคืนแก่เจา้ ของ กบั ให้ริบเงินที่ไดใ้ ชม้ าแลว้ ไดด้ ว้ ย อนั เป็ นวิธีการของสัญญาเช่าซ้ือ ขอ้ สัญญาที่วา่ ให้ผูจ้ ะซ้ือชาํ ระเงินเป็ นจาํ นวนเท่าน้นั เท่าน้ีคราว ครบถว้ นแลว้ จึงใหก้ รรมสิทธ์ิตกเป็น ของผจู้ ะซ้ือมิใช่เป็นเพียงเง่ือนไข การโอนกรรมสิทธ์ิเทา่ น้นั สัญญาดงั กล่าวจึงเป็นสัญญาเช่าซ้ือ สัญญาเช่าซ้ือที่มิไดป้ ิ ดอากรแสตมป์ จะใชเ้ ป็นหลกั ฐานฟ้องคดีมิได้ คาํ พิพากษาศาลฎีกาเหล่าน้ี ศาลฎีกาได้พิเคราะห์ขอ้ ความในสัญญาว่าเข้าลักษณะของสัญญาประเภทใดมากกวา่ ที่จะยดึ ถือแต่เพียงช่ือสญั ญาที่คูส่ ญั ญาระบุไวเ้ ทา่ น้นั ดงั น้นั ในการศึกษากฎหมายลกั ษณะซ้ือขาย จึงมีความจาํ เป็ นจะตอ้ งทราบวา่ สัญญาซ้ือขายมีลกั ษณะที่แตกต่างกบั สัญญาลกั ษณะอ่ืนอยา่ งไร เพื่อที่จะไดท้ ราบวา่ ขอ้ ตกลงที่คู่สัญญาตกลงกนัน้นั เป็นสญั ญาซ้ือขายหรือเขา้ ลกั ษณะของสญั ญาอะไรกนั แน่ 2.4.1 สัญญาซื้อขายกบั สัญญาแลกเปลย่ี น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 518 บญั ญตั วิ ่า “อนั ว่าแลกเปลยี่ นน้ัน คือสัญญาซ่ึงคู่กรณตี ่างโอนกรรมสิทธ์ิแห่งทรัพย์สินให้กนั และกัน” จากบทนิยามความหมายของสัญญาแลกเปล่ียนดงั กล่าว จะเห็นไดว้ า่ สัญญาซ้ือขายแตกต่างจากสัญญาแลกเปล่ียนตรงที่สัญญาซ้ือขายเป็ นเรื่องการเอาทรัพย์ไปแลกกับเงิน ส่วนสัญญาแลกเปลี่ยนเป็นเร่ืองเอาทรัพยแ์ ลกกบั ทรัพย์ แต่สัญญาซ้ือขายกับสัญญาแลกเปล่ียนมีกรณีที่ใกล้เคียงกัน คือ กรณีการแลกเปลี่ยนทรัพยส์ ินและผนวกเงินเพ่ิมเติมเขา้ ไปดว้ ย เช่นน้ีขอ้ ตกลงดงั กล่าวจะเป็ นสัญญาซ้ือขายหรือสัญญาแลกเปล่ียน? การจะวนิ ิจฉยั ปัญหาน้ีจาํ ตอ้ งพิเคราะห์จากเจตนาของคู่สัญญา ประกอบกบั พฤติการณ์เป็ นสาํ คญั กล่าวคือ หากเป็ นกรณีที่มีการเพ่ิมเงินอีกเพียงเล็กนอ้ ยเม่ือเทียบกบั ราคาของทรัพยท์ ี่โอนแก่

27กันแล้ว แสดงว่าคู่สัญญามีเจตนามุ่งถึงการโอนทรัพย์สินแก่กันมากกว่า ดังน้ี ก็เป็ นสัญญาแลกเปล่ียน เช่น รถยนต์ราคา 80,000 บาท และเพิ่มเงินอีก 10,000 บาท เพื่อไปแลกกบั รถยนต์ราคา90,000 บาท เช่นน้ี ราคาส่วนท่ีเพิ่ม 10,000 บาท ถือได้ว่าเป็ นจาํ นวนเล็กน้อยเมื่อเทียบกบั ราคารถยนตท์ ี่โอนกนั ก็ถือเป็นสัญญาแลกเปลี่ยน แต่ถา้ เงินที่เพิม่ ข้ึนน้นั เม่ือเทียบกบั ราคาทรัพยส์ ินแลว้ มีจาํ นวนท่ีมากกวา่ ราคาทรัพยส์ ินเสียอีก เช่นน้ี กน็ ่าจะถือวา่ เป็นสัญญาซ้ือขาย เพราะแสดงวา่ คู่สัญญาเพง็ เลง็ ถึงราคาท่ีตอ้ งชดใชแ้ ก่กนั ย่งิกวา่ ตวั ทรัพยท์ ่ีโอนแก่กนั เช่น นาํ รถยนตร์ าคา 80,000 บาท ไปแลกกบั รถยนตร์ าคา 200,000 บาท และจะตอ้ งเพ่ิมเงินอีก 120,000 บาท ดงั น้ีก็อาจถือว่าเป็ นสัญญาซ้ือขาย เพราะคู่กรณีย่อมเล็งถึงราคาที่ตอ้ งใช้จาํ นวน120,000 บาท มากกวา่ ตวั ทรัพยส์ ินหรือรถยนตท์ ่ีโอนใหแ้ ก่กนั 27 อยา่ งไรก็ตาม ไมว่ า่ จะเป็นสญั ญาซ้ือขายหรือสญั ญาแลกเปล่ียน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 519 และมาตรา 520 ก็ไดบ้ ญั ญตั ิใหน้ าํ บทบญั ญตั ิท้งั หลายในลกั ษณะซ้ือขาย มาใช้กบั สญั ญาแลกเปล่ียนดว้ ย ขอ้ น้ียอ่ มแสดงวา่ สญั ญาซ้ือขายกบั สัญญาแลกเปล่ียนมีความใกลเ้ คียงกนัมากจนกฎหมายตอ้ งบญั ญตั ิใหน้ าํ เรื่องซ้ือขายมาใชก้ บั แลกเปล่ียนดว้ ย 2.4.2 สัญญาซื้อขายกบั สัญญาให้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 521 บัญญตั ิว่า “อนั ว่าให้น้ัน คือสัญญาซ่ึงบุคคลคนหน่ึงเรียกว่า ผู้ให้ โอนทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอกี คนหนึ่งเรียกว่า ผ้รู ับ และผ้รู ับยอมรับเอาทรัพย์สินน้ัน” สญั ญาซ้ือขายมีความแตกต่างจากสญั ญาให้ ดงั น้ี - สัญญาซ้ือขายเป็ นสัญญาที่มีค่าตอบแทนและเป็ นสัญญาต่างตอบแทน แต่สัญญาให้เป็ นสัญญาท่ีไมม่ ีค่าตอบแทนและไม่ใช่สญั ญาต่างตอบแทน - สัญญาใหจ้ ะบริบูรณ์เมื่อส่งมอบ ตามมาตรา 52328 แต่การส่งมอบทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขายไม่เก่ียวกบั ความสมบูรณ์ของสัญญาซ้ือขายแต่อย่างใด การส่งมอบเป็ นแต่เพียงหน้ีหรือหน้าท่ีของผขู้ ายเท่าน้นั ไมเ่ กี่ยวกบั การเกิดข้ึนหรือความบริบูรณ์ของสัญญาซ้ือขาย - สญั ญาใหส้ ามารถเพิกถอนการใหไ้ ดเ้ พราะเหตุเนรคุณ ตามมาตรา 53129 แต่สัญญาซ้ือขายไมอ่ าจทาํ ได้ 27 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 7, น.31. 28 มาตรา 523 บญั ญตั ิวา่ “การใหน้ ้นั ท่านวา่ ยอ่ มสมบูรณ์ตอ่ เม่ือส่งมอบทรัพยส์ ินที่ให”้ 29 มาตรา 531 บญั ญตั ิวา่ “อนั ผใู้ ห้จะเรียกถอนคืนการให้เพราะเหตุผูร้ ับประพฤติเนรคุณน้นั ท่านวา่อาจจะเรียกไดแ้ ต่เพียงในกรณีดงั จะกล่าวต่อไปน้ี

28 คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 636/2509 บิดาจาํ เลยไดอ้ อกเงินใชห้ น้ีแทนโจทก์ไปและโจทก์ตกลงจะยกท่ีดินให้จาํ เลยต่อมาอีก 7 วนั โจทก์ก็จดทะเบียนโอนที่ดินใหจ้ าํ เลยดงั น้ี ไม่ใช่เป็ นการให้โดยเสน่หาแตเ่ ป็นลกั ษณะการซ้ือขายท่ีกนั โจทกจ์ ึงไมม่ ีสิทธิฟ้องขอใหเ้ พิกถอนการโอนที่ดินน้นั 2.4.3 สัญญาซื้อขายกบั สัญญาเช่า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 537 บัญญตั ิว่า “อันว่าเช่าทรัพย์สินน้ัน คือสัญญาซ่ึงบุคคลคนหนึ่งเรียกว่าผู้ให้เช่าตกลงให้บุคคลอีกคนหน่ึงเรียกว่ าผู้เช่ าได้ ใช้ หรื อได้ รับประโยชน์ ในทรัพย์ สิ นอย่ างใดอย่ างหนึ่งชั่ วระยะเวลาอันมีจากัดและผ้เู ช่าตกลงจะให้ค่าเช่าเพ่ือการน้ัน” จากบทนิยามความหมายของสัญญาเช่าดงั กล่าว จะเห็นไดว้ ่าสัญญาซ้ือขายแตกต่างจากสัญญาเช่าตรงที่ สัญญาเช่ากรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีเช่ายงั เป็ นของเจา้ ของทรัพยส์ ินและไม่มีทางโอนไปยงั ผูเ้ ช่า ผูเ้ ช่าเพียงแต่ใช้ค่าเช่าเป็ นค่าตอบแทนการเช่าเท่าน้ัน มิใช่เป็ นการชดใช้ราคาทรัพยส์ ินแต่อยา่ งใด ซ่ึงต่างจากสัญญาซ้ือขายท่ีมีวตั ถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินเพื่อแลกกบั ราคา 2.4.4 สัญญาซื้อขายกบั สัญญาเช่าซื้อ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 572 บัญญตั ิว่า “อันว่าเช่าซื้อน้ัน คือสัญญาซ่ึงเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คาม่ันว่าจะขายทรัพย์สินน้ันหรือว่าจะให้ทรัพย์สินน้ันตกเป็ นสิทธิแก่ผู้เช่า โดยเง่ือนไขทผ่ี ู้เช่าได้ใช้เงินเป็ นจานวนเท่าน้ันเท่านีค้ ราว สัญญาเช่าซื้อน้ันถ้าไม่ทาเป็ นหนังสือ ท่านว่าเป็ นโมฆะ” จากบทนิยามความหมายของสัญญาเช่าซ้ือดงั กล่าว จะเห็นไดว้ า่ สัญญาซ้ือขายแตกต่างจากสัญญาเช่าซ้ือตรงที่ สัญญาเช่าซ้ือเป็ นสัญญาเช่าผนวกกบั คาํ มนั่ วา่ จะขายทรัพยส์ ินน้นั หรือวา่ จะให้ทรัพยส์ ินน้นั ตกเป็ นสิทธิแก่ผูเ้ ช่าซ้ือ ในขณะที่สัญญาซ้ือขายเป็ นสัญญาที่มีการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีขายไปยงั ผซู้ ้ือทนั ที หรือแมจ้ ะมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาบงั คบั ไวใ้ ห้กรรมสิทธ์ิโอนไปในภายหลงั แต่ก็เป็ นเรื่องท่ีตกลงกนั จนเป็ นท่ีแน่นอนในขณะทาํ สัญญาแลว้ วา่ กรรมสิทธ์ิจะตอ้ งโอนไปอย่างแน่นอน ส่วนสัญญาเช่าซ้ือน้ันกรรมสิทธ์ิจะโอนไปยงั ผูเ้ ช่าซ้ือหรือไม่ก็สุดแทแ้ ต่ความประสงคข์ องผเู้ ช่าซ้ือในภายหลงั (1) ถา้ ผูร้ ับไดป้ ระทุษร้ายต่อผูใ้ ห้เป็ นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรงตามประมวลกฎหมายลกั ษณะอาญา หรือ (2) ถา้ ผรู้ ับไดท้ าํ ใหผ้ ใู้ หเ้ สียช่ือเสียง หรือหม่ินประมาทผใู้ หอ้ ยา่ งรา้ ยแรง หรือ (3) ถา้ ผรู้ ับไดบ้ อกปัดไมย่ อมใหส้ ่ิงของจาํ เป็ นเล้ียงชีวติ แก่ผใู้ ห้ ในเวลาที่ผูใ้ ห้ยากไร้และผรู้ ับยงั สามารถจะใหไ้ ด”้

29 ความใกลเ้ คียงระหวา่ งสญั ญาซ้ือขายกบั สญั ญาเช่าซ้ือ คือ กรณีท่ีเป็ นสัญญาซ้ือขายประเภทผอ่ นส่ง และผูข้ ายยงั ไม่โอนกรรมสิทธ์ิให้ผูซ้ ้ือจนกวา่ จะชาํ ราคาครบถว้ นเสียก่อน ซ่ึงขอ้ น้ีมีความใกลเ้ คียงกบั สัญญาเช่าซ้ือท่ีจะตอ้ งส่งค่าเช่าซ้ือเป็ นงวดๆ และกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่เช่าซ้ือยงั ไม่โอนไปยงั ผเู้ ช่าซ้ือจนกวา่ ผเู้ ช่าซ้ือจะชาํ ระค่าเช่าซ้ือครบถว้ น หลกั ท่ีจะนาํ มาวินิจฉยั วา่ เป็ นสัญญาซ้ือขายหรือสัญญาเช่าซ้ือน้นั ตอ้ งดูขอ้ ตกลงในสัญญาวา่ คูส่ ัญญาฝ่ ายท่ีตอ้ งชาํ ระเงินมีสิทธิเลิกสญั ญาเม่ือใดกไ็ ดห้ รือไม่ หรือวา่ จะตอ้ งชาํ ระไปจนครบทุกงวดและจะตอ้ งรับเอาทรัพยส์ ินน้นั ไวใ้ นท่ีสุด ถา้ คูส่ ญั ญาฝ่ ายท่ีตอ้ งชาํ ระเงินมีสิทธิเลิกชาํ ระเงินแลว้คืนทรัพยส์ ินน้นั ให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ ายหน่ึงเมื่อใดก็ได้ ขอ้ ตกลงเช่นน้ีก็เป็ นสัญญาเช่าซ้ือ30 แต่ถา้ ไม่มีสิทธิยตุ ิการชาํ ระเงินฝ่ ายเดียว จะตอ้ งผอ่ นชาํ ระไปจนครบตามสัญญา ขอ้ ตกลงเช่นน้ีก็เป็ นสัญญาซ้ือขาย31 คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ 949/2519 สัญญาซ้ือขายรถยนตใ์ ห้ผูซ้ ้ือผอ่ นชาํ ระราคารายเดือน จะโอนกรรมสิทธ์ิให้เม่ือผูซ้ ้ือผ่อนชาํ ระราคาครบถ้วนแลว้ ไม่มีขอ้ ความตอนใดให้เห็นว่าเป็ นเร่ืองเจา้ ของเอาทรัพยส์ ินออกให้เช่า และให้คาํ มน่ั ว่าจะขายทรัพยส์ ินน้นั ท้งั ไม่บงั คบั ตาม มาตรา 574เป็ นสัญญาซ้ือขายโดยมีเง่ือนไขในการโอนกรรมสิทธ์ิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 459 หาใช่สัญญาเช่าซ้ือไม่ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1951/2521 สัญญาซ่ึงตกลงราคาซ้ือขายรถยนต์ไว้ ชาํ ระราคาคร้ังแรกและผอ่ นชาํ ระตอ่ ไปรายเดือนเท่าๆ กนั อีก 24 งวดกาํ หนดเงื่อนไขกรรมสิทธ์ิโอนเมื่อชาํ ระราคาครบถว้ นแลว้ ถา้ ผดิ เง่ือนไขขอ้ ใด ผขู้ ายครอบครองรถไดท้ นั ที ดงั น้ีเป็นสัญญาเช่าซ้ือ คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 4024/2526 สัญญาท้ายฟ้องระบุราคารถยนต์ที่ซ้ือขายเป็ นเงิน130,650 บาท โดยตกลงกนั ในขอ้ 2 วา่ ผซู้ ้ือจะชาํ ระราคาแก่ผูข้ ายเป็ นรายเดือน เดือนละ 4,355 บาทรวม 30 เดือนและระบุไวใ้ นขอ้ 10 วา่ กรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขายยงั เป็ นของผูข้ ายโดยไม่โอนไปยงั ผซู้ ้ือจนกว่าผูข้ ายจะไดร้ ับชาํ ระค่าซ้ือครบถว้ น ตามสัญญาแลว้ สัญญาดงั กล่าวเป็ นสัญญาซ้ือขายมีเง่ือนไข ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 459 ไม่ใช่เป็นสญั ญาเช่าซ้ือ แมจ้ ะมีขอ้11 ระบุวา่ หากผซู้ ้ือผดิ สญั ญา สญั ญาเลิกกนั ทนั ทีโดยผขู้ ายมิตอ้ งบอกกล่าวและมีสิทธิเอารถคืนโดยไม่ตอ้ งคืนเงินที่ผูซ้ ้ือชาํ ระแลว้ ก็เป็ นเพียงการรักษาผลประโยชน์ของผูข้ ายเท่าน้นั หาทาํ ใหส้ ัญญาซ้ือขาย กลบั กลายเป็นสัญญาเช่าซ้ือไม่ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 155/2535 สัญญาระบุวา่ เป็ นสัญญาซ้ือขายมีเง่ือนไข โดยมีขอ้ ตกลงวา่ กรรมสิทธ์ิในรถยนตจ์ ะตกไปอยแู่ ก่ผูซ้ ้ือเมื่อผซู้ ้ือชาํ ระราคา ตามเงื่อนไขครบถว้ นและในกรณีท่ี 30 มาตรา 573 บญั ญตั ิวา่ “ผเู้ ช่าจะบอกเลิกสัญญาในเวลาใดเวลาหน่ึงก็ไดด้ ว้ ยส่งมอบทรัพยส์ ินกลบั คืนใหแ้ ก่เจา้ ของโดยเสียคา่ ใชจ้ ่ายของตนเอง” 31 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.33.

30ผซู้ ้ือผดิ นดั ขาดการชาํ ระเงินงวดใด ผูข้ ายมีสิทธิที่จะเรียก ใหผ้ ูซ้ ้ือชาํ ระราคาที่เหลืออยโู่ ดยพลนั ซ่ึงแตกต่างจากบทบญั ญตั ิเร่ืองเช่าซ้ือตาม ป.พ.พ. มาตรา 572 และ มาตรา 574 ในสาระสาํ คญั จึงเป็ นสัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไขดงั ท่ีระบุไวใ้ นสัญญา มิใช่สัญญาเช่าซ้ือตามท่ีจาํ เลยอา้ ง โจทก์ทาํ หนงั สือมอบอาํ นาจให้ ม.มีอาํ นาจจดทะเบียนและโอนทะเบียนรถยนต์ไปยงั ผูซ้ ้ือแทนโจทก์ได้ ม. จึงมีอาํ นาจลงลายมือชื่อในสญั ญาซ้ือขายแทนโจทก์ 2.4.5 สัญญาซื้อขายกบั สัญญาจ้างทาของ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 587 บญั ญตั วิ ่า “อนั ว่าจ้างทาของน้ัน คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหน่ึงเรียกว่าผ้รู ับจ้าง ตกลงจะทาการงานส่ิงใดสิ่งหน่ึงจนสาเร็จให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ว่าจ้าง และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสาเร็จแห่งการทที่ าน้ัน” จากบทนิยามความหมายของสัญญาจา้ งทาํ ของดงั กล่าว จะเห็นไดว้ า่ สัญญาซ้ือขายแตกต่างจากสัญญาจา้ งทาํ ของตรงท่ี สัญญาจา้ งทาํ ของเป็ นสัญญาท่ีมุ่งผลสาํ เร็จของงานที่ทาํ เป็ นการสร้างงาน ในขณะที่สัญญาซ้ือขายเป็นเร่ืองการมุ่งโอนกรรมสิทธ์ิ อยา่ งไรก็ตาม ในบางกรณีมีปัญหาคาบเก่ียววา่ สัญญาน้นั เป็ นสัญญาซ้ือขายหรือเป็ นสัญญาจา้ งทาํ ของ ก็คือ กรณีท่ีวสั ดุอุปกรณ์ท้งั หมดเป็ นของคู่สัญญาฝ่ ายท่ีรับทาํ เช่น จา้ งตดั เส้ือ หรือจา้ งวาดภาพ หากผา้ ท่ีใช้ตดั เส้ือ หรือผา้ ใบ สีที่ใชใ้ นการวาดภาพเป็ นของช่างตดั เส้ือหรือช่างวาดภาพในกรณีน้ีการจา้ งตดั เส้ือหรือจา้ งวาดภาพจะเป็นสัญญาซ้ือขายหรือเป็นสญั ญาจา้ งทาํ ของกนั แน่? ในเร่ืองน้ีน้นั ก็ตอ้ งพิจารณาจากเจตนาของคู่สัญญาและประเพณีปฏิบตั ิในเร่ืองน้นั เป็ นสาํ คญั แต่ศาลฎีกาไดเ้ คยวางหลกั ในการวินิจฉยั วา่ เป็ นสัญญาซ้ือขายหรือสัญญาจา้ งทาํ ของไวใ้ นคาํพิพากษาศาลฎีกาที่ 258/2530โดยศาลฎีกาในคดีน้ีใชห้ ลกั ในการวนิ ิจฉยั คือ ระหวา่ งสัมภาระกบั การงานที่รับทาํ จนสําเร็จน้นั สิ่งไหนสําคญั กวา่ กนั ถา้ การงานท่ีรับทาํ จนสําเร็จสําคญั กว่าก็เป็ นสัญญาจา้ งทาํ ของ แต่ถา้ สมั ภาระสาํ คญั กวา่ ก็เป็นสญั ญาซ้ือขาย คาพิพากษาศาลฎกี าท่ี 258/2530 ขอ้ แตกต่างระหวา่ งการซ้ือขายและการรับจา้ งทาํ ของน้นัหาไดอ้ ยูท่ ่ีเจตนาและกริยาของคู่กรณีที่ประพฤติต่อกนั แต่ประการเดียวไม่ แต่ความสําคญั อยูท่ ่ีว่าสัมภาระกบั การงานท่ีรับทาํ จนสําเร็จน้นั สิ่งไหนสําคญั กว่ากนั ถา้ การงานท่ีรับทาํ จนสําเร็จสําคญักวา่ สมั ภาระกเ็ ป็นรับจา้ งทาํ ของ แตถ่ า้ ไม่สาํ คญั กวา่ ก็เป็นการซ้ือขาย การผลิตอิฐทนไฟไมว่ า่ จะเป็นการผลิตแบบมาตรฐานหรือผลิตตามคาํ สั่งเป็ นการเฉพาะรายวตั ถุดิบหรือสมั ภาระท่ีใชไ้ ดแ้ ก่บล๊อกไซดช์ ามอสอลูมิน่า ดินทนไฟ นาํ มาผสมกนั เติมดว้ ยสารเคมีแล้วนาไปอัดเป็ นรูปแบบต่าง ๆ จากน้ันจึงนําไปเผาไฟ จึงเห็นได้ว่าอิฐทนไฟที่ผลิตหาได้มีความสาํ คญั ไปกวา่ สัมภาระหรือวตั ถุดิบที่นาํ มาใชใ้ นการผลิตไม่ การผลิตอิฐทนไฟตามคาํ ส่ังเฉพาะรายของลูกคา้ จึงมิใช่เป็นการรับจา้ งทาํ ของ แตเ่ ป็นการผลิตและจาํ หน่ายอิฐทนไฟเช่นเดียวกบั อิฐทนไฟแบบมาตรฐานนน่ั เอง ดงั น้นั รายรับท่ีไดจ้ ากการผลิตและจาํ หน่ายอิฐทนไฟตามคาํ ส่ังของลูกคา้

31เป็นการเฉพาะราย จึงตอ้ งเสียภาษีการคา้ ในประเภทการคา้ 1.การขายของ ชนิด 1(ก) ตามบญั ชีอตั ราภาษีการคา้ ในอตั ราร้อยละ 7 เช่นเดียวกบั รายรับที่ได้จากการผลิตและจาํ หน่ายอิฐทนไฟแบบมาตรฐาน มิใช่เสียภาษีการคา้ ในประเภทการคา้ 4.การรับจา้ งทาํ ของ ชนิด 1(ฉ) ในอตั ราร้อยละ 2 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2169-2170/2534 การซ้ือขายสินคา้ น้นั ผูข้ ายไม่จาํ เป็ นตอ้ งทาํ สินคา้สําเร็จไวล้ ่วงหน้าเสมอไปตอ้ งคาํ นึงถึงคุณลกั ษณะพิเศษของสินค้าท่ีจะขายด้วย โจทก์ท้งั สองประกอบธุรกิจคอนกรีตผสมเสร็จไม่อาจผสมคอนกรีตไวก้ ่อนได้ เพราะหากไม่มีผูใ้ ดซ้ือภายใน 1ชวั่ โมง คอนกรีตผสมเสร็จท่ีทาํ ไวจ้ ะแข็งตวั ไม่อาจนาํ ไปใชง้ านได้ สินคา้ ชนิดน้ีจาํ เป็ นตอ้ งขายตามคาํ สัง่ ของลูกคา้ แตล่ ะรายไปนอกจากน้ีท้งั ลูกคา้ ของโจทกท์ ี่ 1 กบั โจทก์ที่ 1 และโจทก์ที่ 2 กบั โจทก์ที่ 1 ตา่ งมีเจตนาจะมุง่ ใหม้ ีการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยเ์ พื่อตอบแทนการใชร้ าคา มิไดห้ วงั ผลสาํ เร็จในการงานเป็ นสาระสําคญั งานท่ีโจทก์ท้งั สองรับทาํ จนสําเร็จมิได้สําคญั ไปกว่าสัมภาระหรือส่วนผสมท่ีนาํ มาใชใ้ นการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จโจทก์ท้งั สองประกอบธุรกิจเป็ นการทวั่ ไปเป็ นปกติธุระมิใช่เป็ นการคร้ังคราวแมล้ ูกคา้ จะเป็ นผูก้ าํ หนดอตั ราส่วนหรือสูตรในการผสมคอนกรีตผสมเสร็จตามที่ลูกคา้ ตอ้ งการหรือมีการกาํ หนดรวมค่าขนส่งและกาํ หนดอตั ราค่าจอดรถคอยการเทคอนกรีตลงไวด้ ว้ ย กเ็ ป็นการกาํ หนดรายละเอียดไวเ้ ป็นเง่ือนไขในการรับซ้ือ เขา้ ลกั ษณะเป็ นสัญญาซ้ือขาย หาใช่สัญญาจา้ งทาํ ของไม่โจทก์ท้งั สองจึงมิใช่ผูป้ ระกอบการคา้ ที่มีหน้าท่ีเสียภาษีการคา้ทา้ ยหมวด 4 ลกั ษณะ 2 แห่งประมวลรัษฎากร (ต่อมามีคาํ พิพากษาศาลฎีกาที่ 2382/2534 วนิ ิจฉยัทาํ นองเดียวกนั ) 2.4.6 สัญญาซื้อขายกบั สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 587 บัญญตั ิว่า “อนั ว่ายืมใช้สิ้นเปลืองน้ัน คือสัญญาซึ่งผู้ให้ยืมโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินชนิดใช้ไปสิ้นไปน้ันเป็ นปริมาณมีกาหนดให้ไปแก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็ นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดยี วกนั ให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมน้ัน สัญญานีย้ ่อมบริบูรณ์ต่อเมื่อส่งมอบทรัพย์สินทยี่ ืม” จากบทนิยามความหมายของสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองดงั กล่าว จะเห็นได้ว่าสัญญาซ้ือขายแตกต่างจากสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองตรงท่ี สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองผูใ้ ห้ยืมจะโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินให้แก่ผูย้ ืม (ซ่ึงเหมือนกบั ซ้ือขาย) แต่ต่างกนั ตรงท่ีผูย้ ืมจะให้ค่าตอบแทนแก่ผูใ้ ห้ยืมหรือไม่ก็ได้ เพียงแต่ว่าเม่ือครบกาํ หนดแล้วผูย้ ืมจะต้องคืนทรัพย์สินท่ีเป็ นประเภท ชนิด และปริมาณอยา่ งเดียวกนั ให้แก่ผูใ้ ห้ยมื ต่างกบั สัญญาซ้ือขายเน่ืองจากผูซ้ ้ือไม่ตอ้ งคืนทรัพยส์ ินที่ซ้ือมาใหแ้ ก่ผขู้ าย กรณีที่มีความใกล้เคียงกนั ก็คือ กรณีที่มีการกูย้ ืมเงิน ซ่ึงเป็ นสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองอย่างหน่ึง แลว้ มีการนาํ ทรัพยส์ ินมาตีใชห้ น้ีแทนการคืนเงินที่กูไ้ ป เช่นน้ีจะเป็ นสัญญาซ้ือขายหรือสัญญายมื ใชส้ ิ้นเปลือง? (เพราะเหมือนกบั มีการเอาทรัพยแ์ ลกกบั เงิน เช่นเดียวกบั ซ้ือขาย)

32 หลกั ในการวนิ ิจฉยั กค็ ือ พจิ ารณาในขณะที่คูส่ ญั ญาทาํ สัญญาวา่ คู่สัญญาฝ่ ายหน่ึงมีเจตนาท่ีจะโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินใหแ้ ก่คู่สญั ญาอีกฝ่ ายหน่ึงต้งั แต่แรกหรือไม่ ถา้ ใช่ก็เป็นสัญญาซ้ือขายแต่ถา้ ในขณะท่ีทาํ สัญญาคู่สัญญาฝ่ ายหน่ึงไมม่ ีเจตนาที่จะโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ ายหน่ึงเลย เพียงแต่หลงั จากทาํ สัญญาแล้วไม่มีเงินมาชาํ ระคืน จึงนาํ ทรัพยส์ ินมาชาํ ระแทนเช่นน้ีกเ็ ป็นสญั ญายมื ใชส้ ิ้นเปลือง ซ่ึงเป็นกรณีนาํ ทรัพยส์ ินมาตีใชห้ น้ี คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1683/2493 สัญญากูม้ ีใจความวา่ กูเ้ งินไปจาํ นวนหน่ึง สัญญาจะใช้คืนภายในกาํ หนด และมีขอ้ ความวา่ ผกู้ ูไ้ ดน้ าํ นาแปลงหน่ึงมาใหผ้ ูใ้ ห้กูย้ ึดถือไวเ้ ป็ นประกนั โดยมีบนั ทึกวา่ นารายน้ีขา้ พเจา้ ไมน่ าํ เงินตน้ และดอกเบ้ียมาใหท้ ่านตามสัญญาน้ี ขา้ พเจา้ ยอมโอนท่ีนารายน้ีให้แก่ท่านเป็ นกรรมสิทธ์ิ ดงั น้ี ถือวา่ เป็ นสัญญากูห้ น้ีธรรมดา ไม่ใช่สัญญาจะซ้ือขายที่นา ฉะน้นัจึงตอ้ งบงั คบั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยมื ใชส้ ิ้นเปลือง คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี 1427/2497 บิดาเป็ นเจา้ ของที่ดินร่วมกบั บุตร ต่อมาบิดาไดท้ าํ สัญญากเู้ งินจากผอู้ ื่น โดยนาํ โฉนดที่ดินให้ผใู้ ห้กูย้ ดึ ถือไวเ้ ป็ นประกนั เงินกูแ้ ละกล่าววา่ ถา้ ไม่นาํ เงินตน้ มาส่งภายในกาํ หนดเวลา จะยอมยกท่ีดินให้เป็ นสิทธิตลอดไป ดงั น้ี ถือวา่ เป็ นสัญญาซ้ือขาย เมื่อไม่จดทะเบียน ยอ่ มเป็นโมฆะ ถา้ พิจารณาจากยอ่ คาํ พิพากษาศาลฎีกาสองเร่ืองน้ี จะทาํ ใหเ้ ขา้ ใจวา่ ขอ้ เท็จจริงใกลเ้ คียงกนัแต่คาํ วนิ ิจฉยั ต่างกนั ซ่ึงความจริงหาเป็ นเช่นน้นั ไม่ แทจ้ ริงแลว้ คาํ พิพากษาศาลฎีกาที่ 1427/2497 มีขอ้ เทจ็ จริงพิเศษเพ่ิมออกไป กล่าวคือ โดยทว่ั ไปแลว้ การยกที่ดินตีใชห้ น้ี ยอ่ มเป็ นเร่ืองกูย้ ืมซ่ึงตอ้ งบงั คบั ตามกฎหมายว่าด้วยยืมใช้สิ้นเปลือง ตามนัยคาํ พิพากษาศาลฎีกาท่ี 1683/2493 แต่ในคาํพิพากษาศาลฎีกาที่ 1427/2497 ปรากฏความเพม่ิ เติมวา่ เดิมทีคูส่ ัญญายมื เจตนาจะซ้ือขายที่ดินกนั แต่ทาํ ไม่ได้ เพราะติดขดั เร่ืองกรรมสิทธ์ิรวม จึงเลี่ยงไปทาํ ในรูปสัญญากูแ้ ละตกลงยกท่ีดินตีใชห้ น้ีโดยปล่อยให้ที่หลุดเป็ นสิทธิ ไม่ชาํ ระหน้ีกูย้ ืม ศาลฎีกาจึงตีความจากเจตนาท่ีแทจ้ ริงว่าประสงคจ์ ะซ้ือขายกนั นนั่ เอง32 2.5 ประเภทของข้อตกลงในสัญญาซื้อขาย สามารถแบง่ ประเภทของขอ้ ตกลงในสัญญาซ้ือขายออกไดเ้ ป็น 4 ประเภทดงั น้ี 1) สญั ญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด 2) สัญญาจะซ้ือจะขาย 3) สญั ญาซ้ือขายมีเง่ือนไขหรือเงื่อนเวลา 4) คาํ มน่ั วา่ จะซ้ือหรือจะขาย ความสาํ คญั ของการที่จะตอ้ งทราบใหไ้ ดว้ า่ ขอ้ ตกลงท่ีคู่กรณีแห่งสัญญาซ้ือขายมาตกลงกนัน้นั เป็ นขอ้ ตกลงประเภทไหนกนั แน่ในสัญญาซ้ือขาย เพราะเหตุวา่ กฎหมายไดก้ าํ หนดช่ือและผล 32 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.37.

33ของขอ้ ตกลงแต่ละประเภทเอาไวแ้ ตกต่างกนั อาทิเช่น ขอ้ ตกลงบางอยา่ งตอ้ งทาํ ตามแบบท่ีกฎหมายกาํ หนด แตข่ อ้ ตกลงบางอยา่ งไม่มีแบบแต่ตอ้ งมีหลกั ฐานการฟ้องร้องบงั คบั คดี มิฉะน้นั จะฟ้องร้องบงั คบั คดีกนั ไม่ได้ หรือขอ้ ตกลงบางอยา่ งกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายจะโอนทนั ทีเมื่อสัญญาซ้ือขายเกิดข้ึน แต่ขอ้ ตกลงบางอยา่ งกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายยงั ไม่โอนไปยงั ผซู้ ้ือในขณะที่เกิดสัญญา ตลอดจนขอ้ ตกลงแต่ละประเภททาํ ให้เกิดสิทธิหน้าที่หรือหน้ีของคู่กรณีแตกต่างกนัออกไป ดงั น้ัน จึงจาํ เป็ นตอ้ งทราบให้ได้ก่อนว่าขอ้ ตกลงท่ีคู่กรณีมาตกลงกนั น้ันมีลกั ษณะเป็ นขอ้ ตกลงประเภทใดในสัญญาซ้ือขายเพือ่ ที่จะไดบ้ งั คบั ใชก้ ฎหมายไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งนน่ั เอง 2.5.1 สัญญาซื้อขายเสร็จเดด็ ขาดกบั สัญญาจะซื้อจะขาย การอธิบายความหมายของสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดกบั สัญญาจะซ้ือจะขาย จะอธิบายควบคู่กนั เพื่อใหเ้ ห็นลกั ษณะและความแตกต่างของสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดกบั สัญญาจะซ้ือจะขาย เพราะหากขอ้ ตกลงใดเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดแลว้ ก็จะไม่ยอ้ นไปเป็ นสัญญาจะซ้ือจะขายอีก ในทางกลบั กนั หากขอ้ ตกลงใดเป็นสญั ญาจะซ้ือจะขาย ก็ไมใ่ ช่สญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาด การแบ่งแยกวา่ ขอ้ ตกลงท่ีคู่สัญญาตกลงกนั น้นั เป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาจะซ้ือจะขาย จะอาศยั เพียงช่ือสัญญาท่ีคู่สัญญาเขียนก็คงจะไม่ได้ เพราะคู่สัญญาอาจจะระบุชื่อของสัญญากนั ผิดไปจากที่กฎหมายกาํ หนดก็ได้ หากแต่ตอ้ งพิจารณาจาก “เจตนา” อนั แทจ้ ริงของคู่สัญญามากกว่าที่จะพิจารณาเพียงตัวอักษรในสัญญา ซ่ึงเจตนาของคู่สัญญาอาจปรากฏจากขอ้ ความตอนหน่ึงตอนใดในสัญญา หรือปรากฏจากทางปฏิบตั ิของคู่สัญญาก็ได้ ดงั น้นั แมค้ ู่สัญญาจะเรียกว่าสัญญาจะซ้ือจะขาย แต่ขอ้ ความในสัญญาหรือในทางปฏิบตั ิของคู่สัญญาลกั ษณะของขอ้ ตกลงเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด ก็ตอ้ งถือว่าขอ้ ตกลงน้ันเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดในทางกลบั กนั ถา้ คู่สัญญาเรียกสัญญาที่ทาํ กนั วา่ เป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด แต่ทางปฏิบตั ิหรือขอ้ ความตอนใดตอนหน่ึงท่ีปรากฏในสัญญาบ่งวา่ คู่สัญญาประสงคจ์ ะทาํ สัญญาจะซ้ือจะขายกนั ก็ตอ้ งถือวา่ เป็นสญั ญาจะซ้ือจะขาย 1) ความหมายของสัญญาซื้อขายเสร็จเดด็ ขาด คาํ วา่ “สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด” เป็ นคาํ ท่ีไม่มีอยูใ่ นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ในประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยม์ ีแตค่ าํ วา่ “สัญญาซ้ือขายสาํ เร็จบริบูรณ์” อยใู่ นมาตรา 455 แต่คาํ วา่ สญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาดกเ็ ป็นคาํ ที่ใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายในวงวชิ าการนกั กฎหมาย และในคาํพิพากษาศาลฎีกาก็ปรากฏคาํ ๆ น้ีเช่นกนั โดยเป็ นการใช้เพ่ือให้มีความหมายอย่างเดียวกบั คาํ ว่า“สัญญาซ้ือขายสาํ เร็จบริบูรณ์” ตามมาตรา 455 นนั่ เอง สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดคือสัญญาอะไรกนั แน่ ประเด็นก็อยู่ที่วา่ “อะไรกนั แน่ที่เสร็จเดด็ ขาด” หรือ “อะไรกนั แน่ที่สาํ เร็จบริบูรณ์”? จะหมายถึง - ชาํ ระราคาและส่งมอบทรัพยส์ ินกนั เสร็จเด็ดขาดกนั แลว้ ใช่หรือไม่? - มีการโอนกรรมสิทธ์ิกนั เสร็จสิ้นแลว้ ใช่หรือไม่?

34 ประเด็นท่ีหนึ่ง สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดจาํ เป็ นที่จะตอ้ งมีการชาํ ระราคาและส่งมอบทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายกนั ก่อนหรือไม่? ในประเด็นน้ี ถา้ นาํ เร่ืองการชาํ ระราคาและส่งมอบทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายมาใชเ้ ป็ นเกณฑ์ที่ถือวา่ เป็นสญั ญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด ก็จะเกิดขอ้ สงสัยในกรณีท่ีคู่กรณีตกลงทาํ การซ้ือขายท่ีดิน แลว้ ผู้ซ้ือชาํ ระราคาให้แก่ผูข้ าย และผูข้ ายส่งมอบที่ดินให้แก่ผซู้ ้ือแลว้ โดยตกลงกนั วา่ จะไปจดทะเบียนกนั ในภายหลงั ขอ้ ตกลงเช่นน้ีก็จะเป็นสญั ญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด ไม่ใช่สัญญาจะซ้ือจะขายเพราะมีการชาํ ระราคาและส่งมอบท่ีดินกนั แลว้ แต่ในความเป็ นจริงไม่มีทางเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดไดเ้ ลย เพราะจะเห็นไดว้ า่ คู่กรณียงั จะตอ้ งมีการดาํ เนินการจดทะเบียนตามกฎหมายต่อไป33 ซ่ึงในประเด็นน้ี ศาลฎีกาเคยตดั สินวา่ แมช้ าํ ระราคาแลว้ ก็เป็นเพยี งสัญญาจะซ้ือจะขาย คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1235/2481 การชาํ ระราคาไม่ใช่สาระสาํ คญั แห่งการโอนกรรมสิทธ์ิทรัพยต์ ามสญั ญาซ้ือขาย ซ้ือขายท่ีดินกนั แต่ยงั หาไดไ้ ปจดทะเบียนไม่ผูข้ ายกลบั เอาที่ดินน้นั ไปขายให้แก่ผอู้ ่ืนซ่ึงทราบถึงการซ้ือขายรายเดิมดงั น้ี ผูซ้ ้ือรายแรกเรียกให้เพิกถอนการจดทะเบียนการซ้ือขายรายหลงั ได้ เพราะเป็นผทู้ ่ีอยใู่ นฐานะอนั จะใหจ้ ดทะเบียนสิทธิของตนไดอ้ ยกู่ ่อน คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1700/2527 เม่ือโจทกจ์ าํ เลยทาํ หนงั สือสัญญาซ้ือขายท่ีพิพาทและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่แลว้ การซ้ือขายยอ่ มเสร็จเด็ดขาด กรรมสิทธ์ิใน ทรัพยส์ ินท่ีขายยอ่ มโอนไปยงั ผซู้ ้ือในทนั ที เม่ือไดท้ าํ สัญญากนั ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 458 การชาํ ระราคาทรัพยส์ ินท่ีขายเป็นเพียงขอ้ กาํ หนดของสัญญาเท่าน้นั หาใช่สาระสําคญั ที่จะทาํ ให้สัญญาซ้ือขายไมส่ มบูรณ์ไม่ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3601/2538 สัญญาซ้ือขายที่ดินระหว่างโจทก์และจาํ เลยไดท้ าํ เป็ นหนงั สือและจดทะเบียนตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีและกรรมสิทธ์ิในที่ดินท่ีซ้ือขายกนั ไดโ้ อนไปยงั จาํ เลยแลว้ แต่หากจาํ เลยยงั ชาํ ระราคาท่ีดินให้โจทก์ไม่ครบถว้ น ก็เป็ นเรื่องที่จาํ เลย ไม่ชาํ ระหน้ี โจทก์มีสิทธิกาํ หนดระยะเวลาพอสมควรแลว้ บอกกล่าวใหจ้ าํ เลยชาํ ระราคาท่ียงั คา้ งชาํ ระให้โจทก์ภายในกาํ หนดระยะเวลาน้นั ได้ และถา้ จาํ เลยยงั ไม่ชาํ ระ โจทกย์ อ่ มมีสิทธิบอกเลิกสัญญาซ้ือขายแก่จาํ เลยได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 387 และเมื่อโจทก์ได้ใช้สิทธิเลิกสัญญาแล้วโจทกย์ อ่ มมีสิทธิเรียกท่ีดินคืนจากจาํ เลยตามมาตรา 391 ดงั น้นั การชาํ ระราคาจึงเป็นคนละประเดน็ กบั ความเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด ในเรื่องการส่งมอบก็เช่นกนั ทรัพยส์ ินใดท่ีการซ้ือขายตอ้ งจดทะเบียนแมจ้ ะส่งมอบทรัพยใ์ ห้แก่กนั แล้วกรรมสิทธ์ิกย็ งั ไมโ่ อนไปจนกวา่ จะจดทะเบียนและระหวา่ งการรอจดทะเบียนน้นั แมส้ ่งมอบไปแลว้กเ็ ป็นเพยี งสญั ญาจะซ้ือจะขาย ไม่ใช่สัญญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาด 33 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.65.

35 คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 878/2491 ทาํ หนงั สือสัญญาขายที่ดินมีขอ้ สัญญาวา่ จะชาํ ระราคาท่ีคา้ งเม่ือโอนทะเบียน แมจ้ ะมอบท่ีดินใหผ้ ซู้ ้ือเขา้ ทาํ ประโยชน์ในท่ีดินทนั ที ก็นบั วา่ เป็ นสัญญาจะซ้ือจะขาย เพราะฉะน้นั แลว้ จึงสรุปไดว้ ่า การชาํ ระราคาและการส่งมอบทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายจึงเป็ นเพียงหน้ีท่ีผซู้ ้ือและผขู้ ายมีหนา้ ท่ีจะตอ้ งชาํ ระใหแ้ ก่กนั มิใช่เกณฑก์ ารตดั สินวา่ จะเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดหรือไม่ เพราะแมส้ ่งมอบแลว้ ชาํ ระราคาแลว้ กอ็ าจเป็ นสัญญาจะซ้ือจะขายก็ได้ ตรงกนัขา้ ม แมย้ งั ไมส่ ่งมอบยงั ไมช่ าํ ระราคากเ็ ป็นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดได้ ประเดน็ ทสี่ อง สญั ญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดตอ้ งมีการโอนกรรมสิทธ์ิก่อนใช่หรือไม่? การโอนกรรมสิทธ์ิเป็ นสาระสาํ คญั ของสัญญาซ้ือขาย ไม่วา่ จะเป็ นสัญญาซ้ือขายประเภทใด ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 453 แต่มีปัญหาวา่ ผขู้ ายจาํ ตอ้ งโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินน้นั ใหแ้ ก่ผซู้ ้ือโดยสําเร็จเด็ดขาดดว้ ยหรือไม่? จึงจะถือเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด ถา้ไมม่ ีการโอนกรรมสิทธ์ิโดยเดด็ ขาดหรือสาํ เร็จบริบูรณ์ยอ่ มเป็นเพียงสญั ญาจะซ้ือจะขายใช่หรือไม่ หากพิเคราะห์มาตรา 453 (นิยามของสัญญาซ้ือขาย) จะเห็นไดว้ า่ มาตรา 453 ไม่ใช่นิยามของสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด เพราะมาตรา 453 เป็นลกั ษณะของสัญญาซ้ือขายโดยทว่ั ไป ไม่วา่ จะเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาจะซ้ือจะขาย จะตอ้ งมีการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยอ์ ยา่ งแน่นอน แต่จะโอนเมื่อไรน้ัน ช้าหรือเร็วเป็ นอีกเรื่องหน่ึง มาตรา 453 ไม่ไดก้ าํ หนดว่าการโอนกรรมสิทธ์ิจะตอ้ งโอนกนั ทนั ทีจึงจะเป็ นสัญญาซ้ือขาย การโอนกรรมสิทธ์ิเป็ นเรื่องภายหลังที่สัญญาเกิดข้ึนแลว้ ดงั น้นั มาตรา 453 จึงไม่ใช่บทบญั ญตั ิที่แสดงให้เห็นในตวั วา่ เป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด มาตรา 455 ต่างหากท่ีไดก้ ล่าวถึง “สญั ญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด” ซ่ึงมาตรา 455 อยหู่ ลงัมาตรา 453 แต่ก่อนมาตรา 456 ซ่ึงมาตรา 456 ถือเป็ นมาตราท่ีสําคญั ท่ีจะให้ผลแตกต่างกนั ระหวา่ งสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดกับสัญญาจะซ้ือจะขาย ข้อน้ีแสดงอยู่ในตัวว่า มาตรา 453 ไม่ใช่ความหมายของสญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาดแต่อยา่ งใด เม่ือเราพิเคราะห์แลว้ วา่ การโอนกรรมสิทธ์ิ เป็ นเร่ืองท่ีเกิดข้ึนภายหลงั มีสัญญาซ้ือขายแลว้เหตุใดจึงจะเอาเรื่องการโอนกรรมสิทธ์ิไปแลว้ หรือยงั มาเป็ นเกณฑใ์ นการตดั สินว่าสัญญาน้นั เป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาจะซ้ือจะขาย เพราะการใช้เร่ืองการโอนกรรมสิทธ์ิมาเป็ นตวั ช้ีวดั ก็จะก่อใหเ้ กิดขอ้ สงสยั ในกรณีที่คู่กรณีมาตกลงซ้ือขายบา้ นและที่ดินกนั โดยตกลงกนั วา่ ไม่ตอ้ งไปจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หน้าที่ ตามมาตรา 456 วรรคแรก เพราะอาจจะเกรงว่าเป็ นการยุง่ ยาก หรือไม่ตอ้ งการจะเสียค่าธรรมเนียม หรือมีเหตุผลอ่ืนใดก็ตาม จึงไดใ้ ชร้ าคาให้กนั ท้งั หมดและส่งมอบบา้ นและที่ดินให้แก่กนั เช่นน้ี ผลในทางกฎหมายก็คือ ขอ้ ตกลงซ้ือขายบา้ นและท่ีดินดงั กล่าวตกเป็นโมฆะ เพราะวา่ ไม่ทาํ ตามแบบท่ีกฎหมายกาํ หนด ซ่ึงเม่ือเป็ นโมฆะแลว้ กรรมสิทธ์ิก็ไมม่ ีทางโอนไปยงั ผซู้ ้ือได้ เช่นน้ีก็ไมใ่ ช่สญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาดหากใชเ้ กณฑก์ ารโอนกรรมสิทธ์เป็นตวั ช้ีวดั และเม่ือไม่ใช่สญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาดแลว้ จะเป็นสญั ญาอะไร จะเรียกวา่ สัญญาจะซ้ือ

36จะขายก็ไม่ได้ เพราะคู่สัญญาตกลงกนั วา่ จะไม่ไปจดทะเบียนเสียแลว้ สัญญาเป็ นโมฆะ เม่ือเป็ นโมฆะจะเรียกวา่ สัญญาจะซ้ือจะขายก็ไม่ได้ เพราะคู่สัญญาไม่มีเจตนาจะไปจดทะเบียน ไม่มีทางท่ีกฎหมายจะบงั คบั ใหไ้ ปจดทะเบียนได3้ 4 คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 525/2497 โจทก์ชาํ ระเงินราคาให้แก่จาํ เลยและจาํ เลยไดส้ ่งมอบทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายให้แก่โจทก์ จนโจทกต์ กลงให้จาํ เลยทาํ สัญญาเช่าอยูใ่ นเรือนที่ซ้ือขายต่อไป อีกท้งั ขอ้ ความในหนงั สือสัญญาซ้ือขายหมาย ก. ก็แจง้ ชดั ปราศจากความเคลือบแคลงสงสัย ตีความวา่เป็ นสัญญาซ้ือขายเด็ดขาด เมื่อมิไดจ้ ดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีสัญญายอ่ มตกเป็ นโมฆะ เมื่อทอ้ งสํานวนไม่มีเหตุให้สันนิษฐานว่าโจทก์จาํ เลยยงั มีเจตจาํ นงว่าถ้าหนังสือสัญญาซ้ือขายไม่สมบูรณ์ก็คงจะไดต้ ้งั ใจใหส้ มบูรณ์ตามแบบนิติกรรมอยา่ งอ่ืนหาไดไ้ ม่ คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 964/2509 สัญญาซ้ือขายมีใจความชดั แจง้ วา่ คู่สัญญามีเจตนามุ่งซ้ือขายที่ดินกนั เด็ดขาดไม่มีขอ้ ความใดแสดงวา่ คู่สัญญามีเจตนาจะไปจดทะเบียนโอนกนั ในภายหลงัอนั จะทาํ ให้เห็นวา่ เป็ นเพียงสัญญาจะซ้ือขาย เม่ือมิไดจ้ ดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ก็เป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 456 ตามสัญญาซ้ือขาย คู่สัญญามีเจตนามุ่งใหส้ ัญญาซ้ือขายเป็ นสัญญาซ้ือขายเด็ดขาดและไม่มีทางจะแปลได้วา่ เป็ นสัญญาจะซ้ือขายแล้วเมื่อสัญญาซ้ือขายเป็ นโมฆะนิติกรรมน้ีจะสมบูรณ์ในฐานะเป็นสัญญาจะซ้ือจะขายโดยอาศยั ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 136 ไม่ได้ คาํ พพิ ากษาศาลฎีกาท้งั 2 ฎีกาดงั กล่าว ศาลฎีกาไดต้ ดั สินวา่ แมก้ รรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขายไม่โอนไปยงั ผซู้ ้ือ เน่ืองจากสัญญาซ้ือขายเป็นโมฆะเพราะไมไ่ ดท้ าํ ตามแบบ ตามมาตรา 456 แต่สญั ญาซ้ือขายดงั กล่าวกเ็ ป็นสัญญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาด และเม่ือคูส่ ัญญามีเจตนามุ่งใหเ้ ป็ นสัญญาซ้ือขายเด็ดขาดแลว้ ศาลไม่มีทางจะแปลไดว้ า่ เป็ นสัญญาจะซ้ือขาย ตามมาตรา 136 ได้ (ปัจจุบนั คือมาตรา 17435) ประเด็น เมื่อไม่นาํ การโอนกรรมสิทธ์ิ การส่งมอบทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขาย การชาํ ระราคา มาเป็ นตวั ช้ีวดั วา่ ขอ้ ตกลงของคู่สัญญาเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาจะซ้ือจะขายแลว้ จะใชอ้ ะไรมาเป็นตวั ช้ีวดั ? คาํ ตอบก็คือ การพิจารณาวา่ ขอ้ ตกลงท่ีคู่สัญญาตกลงกนั น้นั เป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาจะซ้ือจะขาย ใหพ้ ิจารณาจาก “เจตนาและการกระทา” ของคู่สัญญาเป็ นสําคญั กล่าวคือในกรณีสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดน้นั คู่สัญญาไดแ้ สดงเจตนาตกลงกนั และทาํ ทุกอยา่ งที่กฎหมาย 34 ประพนธ์ ศาตะมาน และไพจิตร ปุญญพนั ธุ,์ คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะซื้อขาย, พมิ พค์ ร้ังท่ี 13, 2545 (กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พน์ ิติบรรณการ), น.34-36. 35 มาตรา 174 บญั ญตั ิวา่ “การใดเป็ นโมฆะแต่เขา้ ลกั ษณะเป็ นนิติกรรมอยา่ งอื่นซ่ึงไม่เป็ นโมฆะ ให้ถือตามนิติกรรมซ่ึงไมเ่ ป็ นโมฆะ ถา้ สนั นิษฐานไดโ้ ดยพฤติการณ์แห่งกรณีวา่ หากคูก่ รณีไดร้ ู้วา่ การน้นั เป็ นโมฆะแลว้ก็คงจะไดต้ ้งั ใจมาต้งั แตแ่ รกท่ีจะทาํ นิติกรรมอยา่ งอ่ืนซ่ึงไม่เป็ นโมฆะน้นั ”

37กาํ หนดวา่ ตอ้ งทาํ เสร็จเด็ดขาดแลว้ 36 หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงก็คือ ถา้ สัญญาน้นั ตอ้ งมีการจดทะเบียนตามกฎหมายก็ไดจ้ ดทะเบียนกนั เสร็จแลว้ ถา้ ไม่ตอ้ งจดทะเบียนตามกฎหมายเพราะไม่มีกฎหมายบงั คบั กเ็ สร็จสิ้นกนั ทนั ทีที่ตกลงทาํ สัญญากนั หรือแมแ้ ต่ในกรณีท่ีกฎหมายบงั คบั ให้ไปจดทะเบียนแต่คู่สัญญาตกลงกนั วา่ ไม่ตอ้ งจดทะเบียนก็นบั วา่ เสร็จเด็ดขาดแลว้ เช่นกนั เพราะคู่สัญญาไดต้ กลงกนั เสร็จสิ้นแลว้ แมแ้ ต่ในเรื่องแบบกต็ กลงกนั แลว้ วา่ จะไม่ทาํ ซ่ึงผลในทางกฎหมายก็คือ สัญญาน้นัตกเป็นโมฆะ เพราะวา่ ไม่ไดท้ าํ ตามแบบ สรุปก็คือ สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด เป็ นสัญญาที่คู่สัญญาไดแ้ สดงเจตนากนั เสร็จสิ้นในทุกเร่ืองแลว้ ไม่มีอะไรที่คู่สัญญาจะตอ้ งทาํ กนั อีก แมแ้ ต่ในเรื่องการทาํ ตามแบบของกฎหมาย ส่วนกรรมสิทธ์ิจะโอนไปหรือไม่ หรือมีการส่งมอบทรัพยห์ รือชาํ ระราคากนั แลว้ หรือไม่ ไม่ใช่ตวั ช้ีวดั วา่เป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด (การโอนกรรมสิทธ์ิ การส่งมอบทรัพยแ์ ละการชาํ ระราคาเป็ นแต่เพียงผลของสัญญาหรือหน้ีตามสญั ญาเทา่ น้นั ) เช่น 1. แดงตกลงขายโทรศพั ท์มือถือให้แก่ดาํ ในราคา 5,000 บาท นายดาํ ตกลงซ้ือเช่นน้ีสญั ญาซ้ือขายดงั กล่าวของแดงและดาํ เป็นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดแลว้ เพราะแดงและดาํ ได้ตกลงกนั ในทุกเร่ืองท่ีเป็ นสาระสําคญั ของสัญญาซ้ือขายแลว้ (คือการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยใ์ ดและชาํ ระราคากนั เท่าไร) ส่วนกรรมสิทธ์ิในโทรศพั ทม์ ือถือจะโอนไปยงั ดาํ หรือยงั หรือแดงจะได้ส่งมอบโทรศพั ท์มือถือให้แก่ดาํ หรือยงั หรือดาํ จะชาํ ระราคาให้แก่แดงหรือยงั เป็ นเพียงผลของสญั ญาหรือหน้ีตามสญั ญาเท่าน้นั 2. ขาวตกลงขายที่ดินของตนใหแ้ ก่เขียวในราคา 1,000,000 บาท เขียวตกลงซ้ือ ท้งัคู่ไดต้ กลงกนั วา่ จะไปจดทะเบียนโอนในอีก 7 วนั ขา้ งหนา้ เช่นน้ีสัญญาซ้ือขายดงั กล่าวยงั ไม่ถือเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด เพราะขาวและเขียวยงั มีสิ่งที่ตอ้ งทาํ กนั อยู่ นน่ั ก็คือการทาํ สัญญาเป็ นหนงั สือและจดทะเบียนตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ (แบบตามมาตรา 456) สัญญาซ้ือขายระหวา่ งขาวและเขียวจะเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดก็ต่อเมื่อ ขาวและเขียวไดไ้ ปทาํ สัญญาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ใหเ้ สร็จสิ้นเสียก่อน 3. ฟ้าตกลงขายบา้ นและท่ีดินของตนใหแ้ ก่เหลืองในราคา 2,000,000 บาท เหลืองตกลงซ้ือ โดยท้งั ฟ้าและเหลืองตกลงกนั ว่าจะไม่ไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจา้ หน้าที่เพราะไม่ตอ้ งการเสียค่าธรรมเนียม แลว้ ฟ้ามอบการครอบครองบา้ นและที่ดินให้แก่เหลือง เหลืองชาํ ระราคาท้งั หมดใหแ้ ก่ฟ้า เช่นน้ีสัญญาซ้ือขายระหวา่ งฟ้าและเหลืองดงั กล่าวเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดแลว้ เพราะไมม่ ีสิ่งใดที่คูส่ ญั ญาตอ้ งทาํ กนั อีก แมแ้ ตใ่ นเร่ืองของแบบคู่สัญญากต็ กลงกนั แลว้ วา่ จะไม่ทาํ ผลก็คือสัญญาซ้ือขายดงั กล่าวเป็นโมฆะตามมาตรา 456 36 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.77.

38 คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 950/2525 การซ้ือขายท่ีดินตอ้ งพิจารณาถึงเจตนาของคู่กรณีวา่ ต้งั ใจจะทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจา้ หน้าท่ีกนั ในภายหลงั หรือไม่ หากไม่มีเจตนาดงั กล่าวก็เป็นการซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด สัญญาตกเป็นโมฆะ หากมีเจตนาดงั กล่าว ก็เป็ นสัญญาจะซ้ือขายการชาํ ระราคาและส่งมอบท่ีดินใหแ้ ก่กนั ก็ถือเป็ นการชาํ ระหน้ีบางส่วนซ่ึงจะบงั คบั ตามสัญญาซ้ือขายได้ เม่ือโจทกจ์ าํ เลยมีเจตนาชดั แจง้ ท่ีจะไมน่ าํ การซ้ือขายที่ดินพพิ าทไปทาํ เป็ นหนงั สือและจดทะเบียนตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีในภายหลงั อีก แต่โจทก์จะโอนขายที่ดินพิพาทให้แก่บุคคลอ่ืนต่อไปโดยอาศยั ใบมอบอาํ นาจของจาํ เลยจึงเป็ นการซ้ือขายเด็ดขาด เมื่อไม่ได้ทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบียนตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ก็เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 456 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 394/2508 จาํ เลยขายที่ดินมือเปล่าให้แก่โจทก์ทาํ หนงั สือสัญญากนั เองท้งั สองฝ่ ายมิได้มีเจตนาท่ีจะไปจดทะเบียนการโอนต่อพนักงานเจา้ หน้าท่ีโจทก์ชาํ ระเงินใหแ้ ก่จาํ เลยครบถว้ นแลว้ แต่จาํ เลยไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาและขดั ขวางไม่ให้โจทก์เขา้ ทาํ ประโยชน์ในที่พิพาทดงั น้ีสัญญาซ้ือขายระหวา่ งโจทก์จาํ เลยเป็ นสัญญาซ้ือขายเด็ดขาด เม่ือไม่ไดจ้ ดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หน้าที่จึงเป็ นโมฆะจาํ เลยยงั ไม่ไดส้ ่งมอบที่ดินให้โจทก์ โจทก์ฟ้องบงั คบั ให้จาํ เลยส่งมอบท่ีดินและขบั ไล่จาํ เลยไม่ได้ คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1290/2529 การซ้ือขายที่พิพาทระหวา่ งโจทกจ์ าํ เลยไม่ไดท้ าํ สัญญาซ้ือขายกนั ก่อน โดยตกลงกนั วา่ ชาํ ระราคาแลว้ จะนดั ไปทาํ การจดทะเบียนโอนกนั ท่ีสาํ นกั งานที่ดินเลย คร้ังถึงวนั นดั โจทกจ์ าํ เลยไปยน่ื คาํ ขอจดทะเบียนที่สาํ นกั งานท่ีดินจดั หวดั อุบลราชธานี แต่ผูร้ ้องสอดไปคดั คา้ นและขออายดั ที่ดิน โจทก์จาํ เลยจึงขอถอนยกเลิกคาํ ขอจดทะเบียน สัญญาซ้ือขายดงั กล่าวถือได้วา่ เป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดเม่ือทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายเป็ นอสังหาริมทรัพย์ และไม่ไดท้ าํ เป็ นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่จึงตกเป็ นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 และจะถือวา่ สมบูรณ์ในฐานะเป็ นสัญญาจะซ้ือจะขายก็ไม่ได้ โจทก์ยอ่ มไมม่ ีสิทธิฟ้องบงั คบั ใหจ้ าํ เลยโอนท่ีพิพาทให้โจทก์ ผรู้ ้องสอดซ่ึงเป็ นผทู้ าํ สัญญาจะซ้ือจะขายท่ีพพิ าทจากจาํ เลย จึงเป็นผทู้ ่ีมีสิทธิฟ้องบงั คบั ใหจ้ าํ เลยโอนท่ีพิพาทใหแ้ ก่ตนเพยี งผเู้ ดียว คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1990/2516 การซ้ือขายโคเสร็จเด็ดขาด ซ่ึงผูข้ ายไดส้ ่งมอบโคที่ขายใหผ้ ซู้ ้ือพร้อมท้งั ตว๋ั พมิ พร์ ูปพรรณโดยไมม่ ีเจตนาที่จะทาํ การโอนตว๋ั พิมพร์ ูปพรรณโคที่ซ้ือขายตามกฎหมาย การซ้ือขายน้ีตกเป็ นโมฆะ ผูข้ ายไม่มีอาํ นาจฟ้องผูซ้ ้ือให้ชาํ ระราคาโคที่ยงั คา้ งชาํ ระตามสญั ญาซ้ือขายน้นั 2) ความหมายของสัญญาจะซื้อจะขาย

39 สัญญาจะซ้ือจะขาย คือ สัญญาที่คู่สัญญาตกลงกนั ในข้นั แรกเพียงว่ามีสัญญาต่อกนั แล้วและคู่สัญญายงั มีหนา้ ที่ตอ้ งไปทาํ อะไรตอ่ ไปอีกในภายหนา้ ซ่ึงสิ่งที่จะตอ้ งทาํ กนั น้นั ก็คือ ทาํ สัญญาเป็นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีนนั่ เอง37 เช่น ก. ตกลงขายบา้ นและท่ีดินของตนให้แก่ ข. โดย ก. ไดส้ ่งมอบบา้ นและท่ีดินใหแ้ ก่ ข.ในวนั น้นั และ ข. ไดช้ าํ ระราคาใหแ้ ก่ ก. ก่อนคร่ึงหน่ึง อีกคร่ึงหน่ึงตกลงกนั วา่ ข. จะชาํ ระใหแ้ ก่ ก.ก็ตอ่ เมื่อ ก.ไดไ้ ปจดทะเบียนโอนบา้ นและท่ีดินดงั กล่าวให้แก่ตน ขอ้ ตกลงระหวา่ ง ก. กบั ข. เช่นน้ีถือเป็ นสัญญาจะซ้ือจะขาย เพราะคู่สัญญายงั มีเจตนาท่ีจะไปกระทาํ ตามแบบให้ถูกต้องตามที่กฎหมายกาํ หนดอยใู่ นขณะทาํ สัญญา คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 605/2490 ทาํ หนงั สือสัญญาซ้ือขายเรือขนาด 19 ตนั เศษโดยชาํ ระราคาบางส่วน และวา่ จะไปทาํ การโอนกนั ในวนั หนา้ แมจ้ ะมอบเรือใหผ้ ูซ้ ้ือแลว้ ก็ถือเป็ นสัญญาจะซ้ือขายไม่ใช่สัญญาซ้ือขายเด็ดขาด และเป็นสญั ญาที่ฟ้องร้องบงั คบั ตามสญั ญาได้ คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 312/2511 แมส้ ัญญาซ้ือขายตามเอกสารหมาย จ.ล.1 ขอ้ 2 มีความวา่นบั แต่วนั ทาํ หนงั สือสัญญาเป็ นตน้ ไป กรรมสิทธ์ิในทรัพยท์ ี่ซ้ือขายยอ่ มโอนไปเป็ นของผูซ้ ้ือ ฯลฯแต่สัญญาข้อ 4 ก็มีความว่า โดยท่ีผูซ้ ้ือเป็ นนิติบุคคลสัญชาติต่างด้าวจะตอ้ งได้รับอนุญาตจากกระทรวงมหาดไทยเสียก่อนจึงเขา้ รับโอนกรรมสิทธ์ิตามหนา้ โฉนดได้ และเมื่อผูซ้ ้ือไดร้ ับอนุญาตจากทางราชการให้เขา้ ถือกรรมสิทธ์ิไดแ้ ลว้ ผขู้ ายพร้อมท่ีจะโอนกรรมสิทธ์ิตามหน้าโฉนดให้เป็ นของผซู้ ้ือดงั น้ี แสดงวา่ กรรมสิทธ์ิในทรัพยพ์ ิพาทยงั ไม่โอนไปเป็ นของจาํ เลยผูซ้ ้ือซ่ึงเป็ นนิติบุคคลสัญชาติต่างด้าว โดยคู่สัญญามีเจตนาที่จะไปจดทะเบียนซ้ือขายโอนกรรมสิทธ์ิกนั ต่อพนักงานเจา้ หน้าท่ีต่อไป ถึงแมว้ า่ ผูจ้ ะซ้ือไดช้ าํ ระราคาและเขา้ ครอบครองทรัพยด์ ว้ ย ก็เป็ นการครอบครองแทนผจู้ ะขาย เม่ือพิจารณาขอ้ ความในสัญญาซ้ือขายตามเอกสารหมาย จ.ล. 1 ท้งั หมด สัญญาน้ีเป็ นเพยี งสัญญาจะซ้ือขายเทา่ น้นั คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 906/2513 สัญญาซ้ือขายท่ีดินระบุว่าผูข้ ายจะตอ้ งทาํ การรังวดัแบ่งแยกโฉนดใหก้ บั ผซู้ ้ือและโอนใส่ช่ือผซู้ ้ือ ณ สาํ นกั งานท่ีดิน ถือเป็นเพยี งสัญญาจะซ้ือขาย คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 1915/2520 โจทกฟ์ ้องวา่ ในการซ้ือขายท่ีพพิ าทไดต้ กลงกนั วา่ จาํ เลยจะตอ้ งไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิให้โจทก์ดว้ ย โดยจาํ เลยจะไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิให้โจทกห์ ลงั จากท่ีจาํ เลยแบ่งแยกท่ีพิพาทออกจากโฉนดแลว้ ดงั น้ี การซ้ือขายท่ีพิพาทระหวา่ งโจทก์กบั จาํ เลยมิใช่เป็นการซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด แต่เป็นเพียงสัญญาจะซ้ือขาย การท่ีโจทก์และจาํ เลยตกลงจะซ้ือจะขายที่พิพาทกนั แลว้ โจทก์เขา้ ครอบครองที่พิพาทน้นัเป็ นการครอบครองโดยอาศยั สิทธิของจาํ เลยตามสัญญาจะซ้ือขาย อนั เป็ นการยึดถือท่ีพิพาทแทนจาํ เลย มิใช่เป็นการ ยดึ ถือในฐานะเป็นเจา้ ของ ท้งั ไม่ปรากฏวา่ ตอ่ มาโจทกเ์ ปลี่ยนแปลงลกั ษณะ แห่ง 37 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 34, น.38.

40การยึดถือโดยบอกกล่าวไปยงั จาํ เลยว่าไม่เจตนาจะยึดถือที่พิพาทแทนจาํ เลยต่อไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1381 ดงั น้นั แมจ้ ะฟังว่าโจทก์ครอบครองที่พิพาทติดต่อกนั เป็ นเวลาเกิน 10 ปี โจทก์ ก็ไม่ไดก้ รรมสิทธ์ิโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1382 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5610/2541 ในสัญญาซ้ือขายที่ดินพิพาทรวม 9 ฉบบั ไดก้ าํ หนดเงื่อนไขในสัญญาแต่ละฉบบั วา่ ให้เจา้ ของท่ีดินท่ียงั เป็ นผูเ้ ยาวบ์ รรลุนิติภาวะเสียก่อนจึงจะไปโอนที่ดินพิพาทกนั ได้ สญั ญาซ้ือขาย ท่ีดินพพิ าทดงั กล่าวจึงเป็ นสัญญาจะซ้ือจะขายไม่ใช่สัญญา ซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาด สญั ญาซ้ือขายท่ีดินพพิ าทจึงไม่ตกเป็นโมฆะ และใชบ้ งั คบั ได้ สรุป สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดต่างกบั สัญญาจะซ้ือจะขายตรงที่ว่า หากคู่สัญญาแสดงเจตนาตกลงกนั เสร็จทุกเรื่องแลว้ ไม่มีอะไรที่คู่สัญญาจะตอ้ งทาํ กนั อีก แมแ้ ต่ในเร่ืองแบบ ก็เป็ นสญั ญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด แต่ถา้ คู่สัญญาเพียงแต่แสดงเจตนาทาํ สัญญากนั ไวใ้ นเบ้ืองตน้ ก่อน แลว้ตกลงกนั วา่ จะไปทาํ เป็นหนงั สือและจดทะเบียนกบั พนกั งานเจา้ หนา้ ที่อีกทีหน่ึง กรณีน้ีก็เป็ นสัญญาจะซ้ือจะขาย 3) ลกั ษณะของสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดและสัญญาจะซื้อจะขาย ลกั ษณะของสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด (1) ทรัพยส์ ินท่ีขายมีตวั ตนอยู่แน่นอนแลว้ ตอ้ งไม่ใช่ทรัพยส์ ินในอนาคตหรือทรัพยส์ ินท่ีผขู้ ายยงั ไม่มีกรรมสิทธ์ิในขณะสญั ญา (2) ผูข้ ายมีสิทธิจะโอนกรรมสิทธ์ิไปยงั ผซู้ ้ือไดท้ นั ทีท่ีมีการตกลงทาํ สัญญากนั โดยถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องกฎหมาย (3) ผูซ้ ้ือและผูข้ ายไดต้ กลงทาํ สัญญาซ้ือขายจนเป็ นการแน่นอนแลว้ กล่าวคือ ผูข้ ายไดต้ กลงโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยเ์ ฉพาะสิ่งใหแ้ ก่ผซู้ ้ือ และผซู้ ้ือไดต้ กลงชาํ ระราคาเป็นการตอบแทน (4) สัญญาซ้ือขายน้นั ไม่มีเงื่อนไขหรือเง่ือนเวลาประวงิ การโอนกรรมสิทธ์ิ (5) แมจ้ ะยงั ไม่ส่งมอบหรือชาํ ระราคาทรัพยส์ ินก็ไม่ใช่ประเด็น เพราะในที่สุดก็ตอ้ งมีการปฏิบตั ิการชาํ ระหน้ีอยนู่ นั่ เอง38 ลกั ษณะของสัญญาจะซื้อจะขาย (1) มีการตกลงกนั เช่นเดียวกบั สญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาด คือ ตกลงกนั วา่ จะโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยใ์ หแ้ ละไดร้ ับชาํ ระราคาเป็นการตอบแทน (2) กรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินยงั ไม่ได้โอนไปยงั ผูซ้ ้ือในขณะที่ตกลงทาํ สัญญาซ้ือขายกนัเพราะยงั ไม่ไดจ้ ดั ทาํ ตามแบบพิธีใหก้ รรมสิทธ์ิโอนไป เม่ือกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายยงั อยูท่ ี่ผู้จะขาย จึงก่อใหเ้ กิดผลตามมา ดงั น้ี 38 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.63-64.

41 (2.1) หากเกิดภยั พิบตั ิแก่ทรัพยส์ ินอนั จะโทษผูจ้ ะซ้ือไม่ได้ ผจู้ ะขายก็เป็ นผรู้ ับบาปเคราะห์ในภยั พิบตั ิไปเอง ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 372 คาพิพากษาศาลฎกี าที่ 2603/2520 ซ้ือขายโคที่อายุยงั ไม่ถึงทาํ ตวั๋ พิมพร์ ูปพรรณ ซ่ึงมีขอ้สญั ญาวา่ จะไปจดทะเบียนโอน เป็นสัญญาจะซ้ือขาย กรรมสิทธ์ิยงั ไม่โอน แต่ไดม้ อบโคใหผ้ ูซ้ ้ือไปแลว้ โคถูกลกั ไปไมป่ รากฏวา่ โทษผซู้ ้ือได้ ผขู้ ายเรียกราคาโคไมไ่ ด้ (2.2) ในกรณีท่ีผจู้ ะซ้ือไดค้ รอบครองทรัพยส์ ิน เช่น ท่ีดิน ก็ถือวา่ เป็ นการครอบครองแทนผู้จะขาย คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2264/2524 สัญญาระบุให้ผูซ้ ้ือที่ดินชาํ ระราคาเป็ นงวด และมีเงื่อนไขกาํ หนดใหผ้ ขู้ ายโอนทรัพยพ์ ิพาทใหแ้ ก่ผซู้ ้ือในวนั ที่ผขู้ ายไดร้ ับเงินงวดสุดทา้ ยครบถว้ นแลว้เม่ือผซู้ ้ือยงั ชาํ ระราคาไม่ครบถว้ นตามสัญญา สัญญาดงั กล่าวจึงเป็ นเพียงสัญญาจะซ้ือจะขายเท่าน้นัการท่ีผูข้ ายส่งมอบการครอบครองทรัพยพ์ ิพาท ซ่ึงเป็ นท่ีดินไม่มีหนงั สือสําคญั ใหแ้ ก่ผซู้ ้ือในวนั ทาํสัญญา เป็ นเพียงการมอบใหค้ รอบครองไวแ้ ทนเท่าน้นั หาไดม้ อบการครอบครองใหโ้ ดยสิทธิขาดอนั จะเป็นเหตุใหผ้ ซู้ ้ือไดม้ าซ่ึงสิทธิครอบครองในท่ีดินน้นั ไม่ คาพิพากษาศาลฎกี าท่ี 3050/2530 การท่ีจาํ เลยเขา้ ครอบครองที่ดินพิพาท โดยอาศยั สิทธิตามสัญญาจะซ้ือขายที่มีขอ้ ตกลงว่าจะไปโอนท่ีพิพาทกนั ในภายหลงั เป็ นการยึดถือท่ีพิพาทแทนโจทก์ผูจ้ ะขาย มิใช่เป็ นการยึดถือในฐานะเป็ นเจา้ ของ ถือไม่ไดว้ า่ มีการแย่งการครอบครอง หากจาํ เลยจะเปล่ียนลกั ษณะแห่งการยดึ ถือกต็ อ้ งบอกกล่าวไปยงั โจทก์วา่ ไม่เจตนาจะยดึ ถือที่พิพาทแทนโจทกต์ อ่ ไปตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1381 การท่ีโจทก์บอกกล่าวใหจ้ าํ เลยซ้ือที่พิพาท จาํ เลยไมซ่ ้ือ บอกใหจ้ าํ เลยออกไป จาํ เลยเพิกเฉย แต่ไดร้ ้ือบา้ นไมท้ ี่ปลูกอยูใ่ นท่ีพิพาทแลว้ปลูกเป็ นบา้ นตึกใหม่ ยงั ถือไม่ไดว้ า่ จาํ เลยไดบ้ อกกล่าวเปล่ียนลกั ษณะแห่งการยึดถือ อนั เป็ นการแย่งการครอบครองที่พิพาท ดงั น้นั จึงไม่อาจเริ่มนบั ระยะเวลาที่โจทก์ถูกแยง่ การครอบครองตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1375 (3) มีสัญญากนั ว่าผูข้ ายจะโอนกรรมสิทธ์ิไปยงั ผูซ้ ้ือในภายหลงั โดยผูกพนั ตนว่าจะเป็ นผูจ้ ดั การโอนกรรมสิทธ์ิให้ตามแบบที่กฎหมายกาํ หนด ดงั น้ัน ผูจ้ ะขายจึงไม่จาํ ตอ้ งเป็ นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินขณะท่ีทาํ สัญญาจะซ้ือจะขายก็ได3้ 9 ข้อพจิ ารณา สัญญาจะซื้อจะขายสังหาริมทรัพย์ทวั่ ไปมีได้หรือไม่? ในประเด็นน้ี มีความเห็นอยู่ 2 ฝ่ าย ดงั น้ี ฝ่ ายหน่ึงเห็นว่า จะมีไม่ได้ เพราะการซ้ือขายไม่ตอ้ งทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ จึงมีไม่ไดไ้ ปในตวั สัญญาซ้ือขายใดท่ีมีขอ้ กาํ หนดมิใหก้ รรมสิทธ์ิโอนไป ยอ่ ม 39 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.87.

42ตกเป็ นสัญญาซ้ือขายมีเง่ือนไขหรือเง่ือนเวลาบงั คบั ไวไ้ ปเสียหมด ซ่ึงสัญญาซ้ือขายมีเง่ือนไขหรือเงื่อนเวลาน้นั ไม่ใช่สัญญาจะซ้ือจะขาย อีกฝ่ ายหน่ึงเห็นว่า สัญญาจะซ้ือจะขายสังหาริมทรัพย์ท่ัวไปมีได้ เพราะสัญญาที่มีขอ้ กาํ หนดทาํ ให้กรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินยงั ไม่โอนไปย่อมเป็ นสัญญาจะซ้ือจะขาย แมจ้ ะเรียกว่าสัญญาซ้ือขายมีเง่ือนไขหรือเง่ือนเวลาบงั คบั ไวก้ ็ตาม ท้งั น้ีเป็ นไปตามหลกั ท่ีเขา้ ใจว่า สัญญาที่มีขอ้ ตกลงมิใหก้ รรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินโอนไปยงั ผซู้ ้ือเรียกวา่ สัญญาจะซ้ือจะขาย40 ประเด็น ก็คือ สัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด หรือสัญญาจะซ้ือจะขาย? สัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา ถือเป็นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด เพราะมาตรา 459ซ่ึงเป็ นมาตราที่บญั ญตั ิเกี่ยวกบั สัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา อยหู่ ลงั มาตรา 455 ซ่ึงมาตรา455 ไดบ้ ญั ญตั ิวา่ “เมื่อกล่าวต่อไปเบ้ืองหนา้ ถึงเวลาซ้ือขาย ท่านหมายความวา่ เวลาซ่ึงทาํ สัญญาซ้ือขายสําเร็จบริบูรณ์” ฉะน้ัน คาํ ว่าสัญญาซ้ือขายในมาตรา 459 จึงหมายถึงสัญญาซ้ือขายสําเร็จบริบูรณ์ หรือสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดน่ันเอง41 เพราะฉะน้ัน สัญญาท่ีมีข้อกําหนดทําให้กรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินยงั ไม่โอนไปยงั ผูซ้ ้ือขณะทาํ สัญญา ซ่ึงถือเป็ นสัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาน้นั จึงเป็นสญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาดท้งั สิ้น โดยเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดมีเง่ือนไขหรือเง่ือนเวลา ดงั น้นั สัญญาจะซ้ือจะขายสังหาริมทรัพยท์ วั่ ไปจึงไมน่ ่าท่ีจะมีได้ 2.5.2 สัญญาซื้อขายมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา สญั ญาซ้ือขายมีเงื่อนไขหรือเง่ือนเวลา บญั ญตั ิอยใู่ นมาตรา 459 ซ่ึงบญั ญตั ิวา่ “ถา้ สัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไข หรือเงื่อนเวลาบงั คบั ไว้ ท่านว่ากรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินยงั ไม่โอนไปจนกวา่ การจะไดเ้ ป็นไปตามเงื่อนไขหรือถึงกาํ หนดเง่ือนเวลาน้นั ” “เงื่อนไข” คือ เหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอนวา่ จะเกิดข้ึนหรือไม่ คาํ วา่ “เงื่อนไข” ในมาตรา 459 หมายความถึง เง่ือนไขในการโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขาย ไม่ใช่เง่ือนไขของการเกิดสัญญาหรือการสิ้นผลของสัญญา สัญญาซ้ือขายตอ้ งเกิดข้ึนแลว้หากแต่มีเง่ือนไขในการโอนกรรมสิทธ์ิ ซ่ึงโดยปกติการโอนกรรมสิทธ์ิเกิดข้ึนพร้อมกบั การเกิดสัญญาซ้ือขายตามมาตรา 45842 แต่ถ้าคู่สัญญากําหนดเงื่อนไขเพ่ือประวิงการโอนกรรมสิทธ์ิกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินกย็ งั ไม่โอนไปจนกวา่ จะเป็นไปตามเง่ือนไขที่คู่สญั ญาตกลงกนั เช่น กรรมสิทธ์ิจะยงั ไม่โอนไปจนกว่าจะชาราคากนั ครบถ้วน 40 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 34, น.47. 41 คาํ พิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2497 การตกลงซ้ือขายโต๊ะบิลเลียดเป็ นทรัพยท์ ี่มีอยู่แน่นอน มิได้มีกฎหมายหา้ มมิใหโ้ อนกนั เองได้ แมจ้ ะมีขอ้ ตกลงกนั มิใหก้ รรมสิทธ์ิโอนไป ก็เป็ นสญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาด 42 มาตรา 458 บญั ญตั ิว่า “กรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีขายน้นั ย่อมโอนไปยงั ผูซ้ ้ือต้งั แต่ขณะเม่ือไดท้ าํสญั ญาซ้ือขายกนั ”

43 คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 155/2535 สัญญามีขอ้ ตกลงวา่ กรรมสิทธ์ิในรถยนตจ์ ะตกไปอยูแ่ ก่ผู้ซ้ือเม่ือผซู้ ้ือชาํ ระราคา ตามเงื่อนไขครบถว้ น ดงั น้ีเป็นสัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไข คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 127/2471 โจทก์ตกลงซ้ือเครื่องโรงสีขา้ วโดยผอ่ นใชเ้ งิน แต่ตกลงกนั วา่ เคร่ืองโรงสีขา้ วยงั เป็นของจล.จนกวา่ โจทกจ์ ะชาํ ระเงินครบถว้ น สัญญาน้ีเป็ นสัญญาซ้ือขายมีเงื่อนไขบงั คบั ก่อน คาพพิ ากษาศาลฎกี าที่ 716-717/2493 ทะเบียนรถยนตไ์ ม่เหมือนโฉนดที่ดิน ซ่ึงเป็ นเอกสารอนั เป็ นท่ีต้งั แห่งกรรมสิทธ์ิทะเบียนรถยนตเ์ ป็ นแต่พยานหลกั ฐานอยา่ งหน่ึง ท่ีแสดงว่าผูม้ ีชื่อเป็ นเจา้ ของรถ การซ้ือขายรถยนต์ โดยฝ่ ายผูซ้ ้ือรับมอบรถไป และต่างตกลงกนั ว่าฝ่ ายผูซ้ ้ือจะตอ้ งชาํ ระราคาให้หมดเสียก่อนผูข้ ายจึงจะโอนทะเบียนให้น้นั เป็ นเง่ือนไขตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 459 ซ่ึงกรรมสิทธ์ิในรถยงั ไมโ่ อนไปยงั ผซู้ ้ือ เงื่อนเวลา คือ กาํ หนดระยะเวลาในอนาคตซ่ึงตอ้ งมาถึงอยา่ งแน่นอน เช่นเดียวกัน คาํ ว่า “เงื่อนเวลา” ในมาตรา 459 หมายความว่า เง่ือนเวลาในการโอนกรรมสิทธ์ิ ไม่ใช่เงื่อนเวลาของการเกิดหรือสิ้นผลของสัญญา สัญญาซ้ือขายเกิดข้ึนแลว้ เพียงแต่ผู้ซ้ือยงั ไม่สามารถบงั คบั ใหผ้ ขู้ ายโอนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายให้ตนก่อนท่ีจะถึงกาํ หนดเวลาตามที่คู่สัญญาไดต้ กลงกนั เช่น ก. ตกลงซ้ือรถยนตจ์ าก ข. เมื่อวนั ที่ 1 มกราคม 2556 โดยตกลงกนั ว่า กรรมสิทธ์ิในรถยนต์คันดังกล่าวจะโอนไปในวนั ท่ี 1 มีนาคม 2556 เช่นน้ี ก่อนหน้าวนั ท่ี 1 มีนาคม 2556กรรมสิทธ์ิในรถยงั เป็ นของ ข. อยู่ ยงั ไม่โอนไปยงั ก. ซ่ึง ก. จะทวงถามให้ ข. โอนรถยนต์ให้ตนก่อนกาํ หนดมิได้ ข้อสังเกต ท้งั สญั ญาซ้ือขายมีเง่ือนไขและสัญญาซ้ือขายมีเงื่อนเวลา ถือเป็นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดเพราะคู่สัญญาได้ตกลงกนั เสร็จสิ้นหมดแล้ว ไม่มีอะไรจะตอ้ งทาํ กนั อีก กล่าวคือ ไม่ต้องไปทาํสัญญาท่ีสองหรือสัญญาใดเพิ่มเติมในภายหน้าอีกดงั สัญญาจะซ้ือจะขาย ถ้าจะมีขอ้ แตกต่างกับสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดอยู่บา้ งก็เพียงว่ามีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาประวิงการโอนกรรมสิทธ์ิเทา่ น้นั 2.5.3 คามน่ั ว่าจะซื้อหรือจะขาย บทบญั ญตั ิในเร่ืองคาํ มนั่ วา่ จะซ้ือหรือจะขายบญั ญตั ิอยใู่ นมาตรา 454 ซ่ึงบญั ญตั ิวา่ “การท่ีคู่กรณีฝ่ ายหน่ึงให้คาํ มนั่ ไวก้ ่อนวา่ จะซ้ือหรือขายน้นั จะมีผลเป็ นการซ้ือขายต่อเมื่ออีกฝ่ ายหน่ึงได้บอกกล่าวความจาํ นงว่าจะทาํ การซ้ือขายน้ันให้สําเร็จตลอดไปและคาํ บอกกล่าวเช่นน้นั ไดไ้ ปถึงบุคคลผใู้ หค้ าํ มน่ั แลว้

44 ถา้ ในคาํ มน่ั มิไดก้ าํ หนดเวลาไวเ้ พ่ือการบอกกล่าวเช่นน้นั ไซร้ ท่านว่าบุคคลผใู้ ห้คาํ มน่ั จะกาํ หนดเวลาพอสมควร และบอกกล่าวไปยงั คู่กรณีอีกฝ่ ายหน่ึงให้ตอบมาเป็ นแน่นอนภายในเวลากาํ หนดน้ันก็ได้ ว่าจะทาํ การซ้ือขายให้สําเร็จตลอดไปหรือไม่ ถา้ และไม่ตอบเป็ นแน่นอนภายในกาํ หนดเวลาน้นั ไซร้ คาํ มนั่ ซ่ึงไดใ้ หไ้ วก้ ่อนน้นั กเ็ ป็นอนั ไร้ผล” 1) ความหมายของคามั่นว่าจะซื้อหรือจะขาย กฎหมายมิไดใ้ หค้ วามหมายของคาํ มนั่ วา่ จะซ้ือหรือจะขายไว้ และนกั กฎหมายก็มีความเห็นแตกต่างกนั บางทา่ นเห็นวา่ เป็นนิติกรรมสองฝ่ าย ผูกพนั ท้งั ผูใ้ ห้คาํ มน่ั และผรู้ ับเอาคาํ มนั่ บางท่านก็มีความเห็นวา่ เป็ นนิติกรรมสองฝ่ าย มีความผูกพนั อย่างสัญญา แต่เป็ นสัญญาท่ีผูกมดั เฉพาะผูใ้ ห้คาํ มนั่ ฝ่ ายเดียว43 แต่ในที่น้ีจะขอให้ความหมายของคาํ มนั่ วา่ จะซ้ือหรือจะขายตามที่ศาสตราจารย์ประพนธ์ ศาตะมานและศาสตราจารยไ์ พจิตร ปุญญพนั ธุ์ ไดใ้ หไ้ ว4้ 4ดงั น้ี “คาม่ันว่าจะซื้อหรือจะขาย คือ นิติกรรมท่ีบุคคลฝ่ ายหน่ึงได้แสดงเจตนาผูกมัดตัวเองไว้ฝ่ ายเดยี ว ให้อกี ฝ่ ายหน่ึงได้รับทราบว่าจะซื้อทรัพย์สินหรือจะขายทรัพย์สินให้ โดยยงั ไม่มีผู้ใดรับคาหรือสนองรับ” 2) ลกั ษณะของคามนั่ ว่าจะซื้อหรือจะขาย จากความหมายดงั กล่าวสามารถบ่งลกั ษณะของคาํ มน่ั วา่ จะซ้ือหรือจะขายได้ ดงั น้ี - คาํ มนั่ เป็นนิติกรรมฝ่ ายเดียว แตกต่างกบั สัญญาท่ีเป็นนิติกรรมสองฝ่ าย - คาํ มน่ั ผกู พนั เฉพาะผใู้ หค้ าํ มนั่ วา่ จะปฏิบตั ิตามคาํ มนั่ ที่ใหไ้ ว้ กล่าวคือ ถา้ บุคคลอีกฝ่ ายหน่ึงซ่ึงเรียกวา่ “ผรู้ ับคาํ มน่ั ” แสดงเจตนาตอบรับมาวา่ จะเขา้ ทาํ สัญญาดว้ ย สัญญาซ้ือขายก็เกิดข้ึน - ส่วนสัญญาท่ีเกิดข้ึนอาจจะเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาจะซ้ือจะขายก็ได้สุดแทแ้ ต่ลกั ษณะของคาํ ตอบรับและเจตนาที่จะผกู พนั กนั - ผใู้ หค้ าํ มน่ั จะเป็น “ผซู้ ้ือ” หรือ “ผขู้ าย” ก็ได้ ถา้ เป็นผซู้ ้ือก็เรียกวา่ “คาํ มนั่ วา่ จะซ้ือ” เช่น นายแดงสนใจจะซ้ือรถยนต์ของนายดาํ แต่นายดาํ ยงั ไม่อยากขายตอนน้ี นายแดงจึงบอกแก่นายดาํ วา่ “หากนายดาํ จะขายรถเมื่อไร นายแดงยินดีจะซ้ือในราคา 100,000 บาท” เช่นน้ีเป็น “คาํ มน่ั วา่ จะซ้ือ” ถา้ ผขู้ ายเป็นผใู้ หค้ าํ มนั่ กจ็ ะเรียกวา่ “คาํ มนั่ วา่ จะขาย” เช่น นายขาวบอกแก่นายเขียววา่ “หากนายเขียวประสงคจ์ ะซ้ือที่ดินของตนเมื่อใด ตนยนิ ดีจะขายใหใ้ นราคา 1,000,000 บาท” เช่นน้ี เป็น “คาํ มนั่ วา่ จะขาย” ตวั อยา่ งคาํ พิพากษาศาลฎีกาที่ตดั สินวา่ ตามขอ้ เทจ็ จริงท่ีเกิดข้ึนน้นั เป็ นคาํ มนั่ จะซ้ือจะขายเช่น 43 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 7, น.96. 44 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 34, น.27.

45 คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2597/2530 ทาํ สัญญากนั ว่า 'ถ้าผูเ้ ช่าประสงค์จะซ้ือท่ีดินผูใ้ ห้เช่ายนิ ยอมจะขายให้ ในราคา 8,000 บาท ถา้ ผูเ้ ช่าทอดเวลาซ้ือขายไปนาน ผูใ้ หเ้ ช่ามีสิทธิที่จะเสนอขายในราคาใหม่ไดต้ ามสภาพหรือสภาวะของการเงินในขณะน้นั ' ดงั น้ี เป็ นขอ้ ตกลงท่ีราคาพิพาทยงั ไม่ยตุ ิแต่เพียง 8,000 บาทอีกท้งั โจทก(์ ผใู้ หเ้ ช่า) มีสิทธิที่จะขายในราคาใหม่ไดถ้ า้ การซ้ือขายทอดเวลาออกไป จึงเป็นเพียงการให้คาํ มนั่ วา่ จะขายท่ีพิพาทแก่จาํ เลยเท่าน้นั หาใช่สัญญาจะซ้ือจะขายไม่ เมื่อไม่ปรากฏว่าจาํ เลยได้แสดงเจตนาสนองรับจะซ้ือที่พิพาทตามคาํ มน่ั ของโจทก์ จาํ เลยย่อมไม่อาจถือเอาประโยชน์จากขอ้ สญั ญาน้ีได.้ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 347/2488 เม่ือพน้ กาํ หนดไถ่ถอนการขายฝากแลว้ คู่สัญญามาทาํสัญญากนั วา่ ผูข้ ายยอมโอนที่ให้เป็ นสิทธิแก่ผูซ้ ้ือ และผูซ้ ้ือยอมให้ผูข้ ายซ้ือคืนไดเ้ ม่ือผูข้ ายมาฟ้องขอซ้ือคืนผซู้ ้ือตอ่ สู้วา่ ผขู้ ายผดิ สญั ญาดงั น้ี ศาลบงั คบั ใหผ้ ขู้ ายชนะคดี โดยถือวา่ เป็นคาํ มนั่ จะซ้ือขายความผกู พนั ของผใู้ หค้ าํ มนั่ 3) คาม่นั จะมีผลเป็ นสัญญาซื้อขายเมื่อใด คาํ มนั่ จะมีผลเป็ นสัญญาซ้ือขายเม่ือ ผูร้ ับคาํ มนั่ ไดบ้ อกกล่าวแสดงความจาํ นงวา่ จะซ้ือหรือจะขาย และคาํ บอกกล่าวน้นั ไดไ้ ปถึงผใู้ หค้ าํ มนั่ แลว้ ตามมาตรา 454 วรรคหน่ึง ซ่ึงคาํ วา่ “ไปถึง” น้นัมีความหมายตามหลกั เกณฑท์ ี่บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา 361 กล่าวคือ เจตนาของผูร้ ับคาํ มนั่ ท่ีจะสนองรับเอาคาํ มนั่ น้นั เพียงแต่ไปถึงผใู้ หค้ าํ มนั่ กพ็ อ ผใู้ หค้ าํ มนั่ ไม่จาํ ตอ้ งทราบ หรือถา้ ไม่ยอมรับไม่ยอมฟังก็ตอ้ งถือวา่ ไปถึงแลว้ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4145/2539 ตามสัญญาขอ้ 15 ระบุว่าผูจ้ ะซ้ือสัญญาว่าจะซ้ือที่ดินส่วนอ่ืนขา้ งเคียงท้งั หมดของผูจ้ ะขายในราคาไร่ละ1,200,000 บาทภายในกาํ หนด 1 ปี นับจากวนัโอน ดงั น้ีตามสัญญาขอ้ ดงั กล่าวเป็ นการแสดงเจตนาของโจทก์เพียงฝ่ ายเดียวที่มีความประสงคจ์ ะซ้ือท่ีดินขา้ งเคียงท่ีดินจาํ นวน 8 โฉนดท่ีได้ทาํ สัญญาจะซ้ือจะขายไวแ้ ลว้ จึงเป็ นเพียงคาํ มนั่ ของโจทก์เพียงฝ่ ายเดียวท่ีแสดงความประสงคข์ อซ้ือที่ดินจากจาํ เลยเท่าน้นั ต่อเมื่อจาํ เลยไดบ้ อกกล่าวความจาํ นงวา่ จะทาํ การซ้ือขายให้สาํ เร็จตลอดไปและคาํ บอกกล่าวน้นั ไดไ้ ปถึงโจทกผ์ ูใ้ หค้ าํ มนั่ แลว้จึงจะมีผลเป็ นสัญญาจะซ้ือจะขาย และบงั คบั ให้ปฏิบตั ิตามสัญญาได้ เมื่อไม่ปรากฏว่าจาํ เลยได้แสดงความจาํ นงจะทาํ การขายที่ดินให้โจทก์ สัญญาจะซ้ือจะขายจึงยงั ไม่เกิดข้ึน โจทก์จะบงั คบั ให้จาํ เลยขายที่ดินใหไ้ ม่ได้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องให้จาํ เลยปฏิบตั ิตามสัญญาหรือเรียกค่าเสียหายจากจาํ เลย 4) การสิ้นผลผกู พนั ของคามน่ั ผใู้ หค้ าํ มน่ั ยอ่ มพน้ ความผกู พนั ตามคาํ มน่ั ที่ใหไ้ วไ้ ดเ้ ฉพาะในกรณีดงั ต่อไปน้ี (1) คาํ มน่ั ที่กาํ หนดระยะเวลาเอาไว้ หากผรู้ ับคาํ มน่ั ไม่ตอบรับมาภายในกาํ หนดเวลา คาํ มน่ัน้นั กส็ ิ้นผล แตใ่ นระหวา่ งระยะเวลาดงั กล่าวผใู้ หค้ าํ มน่ั จะถอนคาํ มนั่ ไมไ่ ด้

46 เช่น ขาวใหค้ าํ มน่ั กบั ไกรวา่ จะขายรถยนตค์ นั สีแดงของตนใหไ้ กรในราคา 80,000 บาท โดยไกรตอ้ งตอบรับมาวา่ จะซ้ือหรือไม่ภายใน 7 วนั เช่นน้ี ถา้ ไกรไมต่ อบรับมาภายใน 7 วนั ขาวเป็ นอนัสิ้นความผกู พนั ในคาํ มน่ั ที่ตนไดใ้ หไ้ ว้ แต่ขาวจะขอถอนคาํ มน่ั ของตนก่อน 7 วนั ไม่ได้ คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 1634/2526 หนงั สือใหค้ าํ มน่ั ของโจทกท์ ี่ให้ไวแ้ ก่จาํ เลยระบุไวโ้ ดยชดั แจง้ แลว้ ว่า จาํ เลยตอ้ งยื่นคาํ เสนอวา่ จะซ้ือที่พิพาทคืนภายในกาํ หนดเวลา 2 ปี นบั แต่วนั ท่ี 14ธนั วาคม 2515 การท่ีจาํ เลยเพ่ิงเสนอวา่ จะซ้ือที่พิพาทคืนเมื่อวนั ท่ี 20 พฤศจิกายน 2522 จึงล่วงเลยกาํ หนดระยะเวลาตามคาํ มนั่ เสียแลว้ คาํ เสนอขอซ้ือของจาํ เลยจึงไร้ผล (2) คาํ มน่ั ที่มิไดก้ าํ หนดระยะเวลา ผูใ้ หค้ าํ มนั่ จะกาํ หนดเวลาพอสมควร และบอกกล่าวไปยงั ผรู้ ับคาํ มน่ั ใหต้ อบกลบั มาภายในเวลาที่กาํ หนดน้นั หากไม่มีการตอบกลบั มาภายในกาํ หนดเวลาน้นั คาํ มน่ั กเ็ ป็นอนั ไร้ผลและสิ้นความผกู พนั ผใู้ หค้ าํ มนั่ ตามมาตรา 454 วรรคสอง เช่น ดาํ ใหค้ าํ มน่ั กบั ฟ้าวา่ จะขายสุนขั ของตนใหใ้ นราคา 2,000 บาท โดยไม่ไดก้ าํ หนดวา่ ฟ้าจะต้องตอบมาเม่ือใด เช่นน้ี คาํ มนั่ ของดาํ ย่อมผูกพนั ดาํ ตลอดไป คาํ มนั่ จะสิ้นผล ต่อเมื่อดาํ ได้กาํ หนดเวลาพอสมควรไปใหฟ้ ้าทราบวา่ ฟ้าจะตอ้ งตอบรับคาํ มนั่ ภายในเวลาเท่าใด เช่น ภายในเวลา7 วนั ซ่ึงเม่ือดาํ กาํ หนดเวลาดงั น้นั แลว้ หากฟ้ามิไดต้ อบรับมาภายในกาํ หนด ดาํ ยอ่ มสิ้นความผกู พนั คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1004/2485 ตามสัญญาโจทก์โอนขายที่พิพาทให้เป็ นกรรมสิทธ์ิแก่จาํ เลย.แต่ถา้ โจทก์มีเงินตามจาํ นวนท่ีกาํ หนดไวม้ าไถ่คืนเมื่อใด.จาํ เลยจะยอมคืนท่ีพิพาทให้เมื่อน้นัไมม่ ีกาํ หนด. ดงั น้ีสญั ญาน้ียอ่ มเขา้ ลกั ษณะเป็นคาํ มน่ั ในการซ้ือขายท่ีมิไดก้ าํ หนดเวลา ถา้ จาํ เลยมิได้ใชส้ ิทธิตาม มาตรา 454(2) (ปัจจุบนั คือมาตรา 454 วรรคสอง) สัญญาน้นั ยอ่ มมีผลอยตู่ ่อไป (ประชุมใหญ่ คร้ังท่ี 28/2485) (3) ผใู้ หค้ าํ มน่ั และผรู้ ับคาํ มนั่ ตกลงยกเลิกคาํ มน่ั 5) คาม่นั กบั อายุความ คาํ มน่ั ท่ีไม่มีกาํ หนดระยะเวลา และผูใ้ ห้คาํ มน่ั มิได้บอกกล่าวกาํ หนดเวลาให้ตอบคาํ มน่ัคาํ มนั่ น้นั ก็คงผกู พนั อยูต่ ลอดไป ไม่สิ้นผลแมจ้ ะเลยกาํ หนด 10 ปี ก็ตาม อีกฝ่ ายก็ยงั มีสิทธิตอบตกลงซ้ือขายได้ เพราะระยะเวลาตามคาํ มน่ั ไม่ใช่เรื่องอายคุ วาม (คาํ พพิ ากษาศาลฎีกาที่ 1004/2485) ข้อสังเกต คาํ มน่ั น้นั จะตอ้ งปรากฏอยา่ งชดั เจนวา่ ผใู้ หค้ าํ มน่ั มีเจตนาท่ีจะผกู พนั ตนเองวา่ จะซ้ือหรือจะขาย ไมใ่ ช่เป็นแตเ่ พียงคาํ ปรารภ เช่น คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 411/2490 คาํ เสนอที่มีขอ้ ความว่า มีความประสงค์จะซ้ือแร่ 60 ตนัแต่จะซ้ือวนั น้ีเพียง 10 ตนั น้นั ถือวา่ เป็ นคาํ เสนอขอซ้ือ 10 ตนั ส่วนอีก 50 ตนั เป็ นเพียงคาํ ปรารภไม่ใช่คาํ เสนอและไมใ่ ช่คาํ มน่ั จะซ้ือ ตามคาํ พิพากษาศาลฎีกาฉบบั น้ีจดหมายขอซ้ือแร่มีขอ้ ความแบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ตอน ตอนแรกขอซ้ือแร่ 10 ตนั ตอนท่ีสองขอซ้ือแร่ 50 ตนั ขอ้ ความตอนแรกมีใจความวา่ “ดว้ ยฉนั ประสงคจ์ ะ

47ไดซ้ ้ือดีบุกแท่ง 99.5% ข้ึนไปของบริษทั เพือ่ ส่งออกนอกประเทศเป็นจาํ นวนประมาณ 50 ตนั แต่ฉนัจะขอซ้ือในวนั น้ีเพียง 10 ตนั ก่อน” ขอ้ ความดงั น้ี ศาลฎีกาถือว่าเป็ นคาํ เสนอมิใช่คาํ มนั่ เพราะน้ําหนักของข้อความแสดงอยู่ในตวั ว่าเป็ นการเสนอขอซ้ือ โดยแจง้ ความประสงค์ไปให้ผูข้ ายตอบสนอง มากกวา่ จะขอผกู พนั ตนเองอยา่ งคาํ มน่ั ขอ้ ความตอนที่สองมีใจความวา่ “ท่ีเหลือจะไดม้ าขอรับซ้ือเป็นคราวๆ ไปจนกวา่ จะหมด” ขอ้ ความดงั น้ี ศาลฎีกาถือวา่ เป็ นคาํ ปรารภวา่ ต่อไปจะมาทาํคาํ เสนอขอซ้ือใหมอ่ ีกเท่าน้นั ไมใ่ ช่เป็นคาํ เสนอหรือคาํ มนั่ วา่ จะซ้ือ 2.6 แบบของสัญญาซื้อขาย แบบของสัญญาซ้ือขาย บญั ญตั ิอยใู่ นมาตรา 456 วรรคหน่ึง ซ่ึงบญั ญตั ิวา่ “การซ้ือขายอสังหาริมทรัพย์ ถา้ มิไดท้ าํ เป็ นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีเป็นโมฆะ วธิ ีน้ีใหใ้ หใ้ ชถ้ ึงซ้ือขายเรือมีระวางต้งั แตห่ า้ ตนั ข้ึนไป ท้งั ซ้ือแพและสตั วพ์ าหนะดว้ ย” สัญญาซ้ือขายน้นั เกิดข้ึนโดยอาศยั เจตนาของคู่สัญญาเป็ นสาํ คญั กล่าวคือ เมื่อมีคาํ เสนอคาํสนองตอ้ งตรงกนั สัญญาซ้ือขายก็เกิด การโอนกรรมสิทธ์ิ การส่งมอบทรัพยส์ ินที่ซ้ือขายและการชาํ ระราคา ลว้ นเป็ นเร่ืองหลงั จากท่ีมีสัญญาซ้ือขายเกิดข้ึนแลว้ ท้งั สิ้น ในเรื่องแบบก็เช่นเดียวกนัแบบของสัญญามิใช่สาระสําคญั ที่จะนาํ มาพิจารณาว่าสัญญาซ้ือขายเกิดข้ึนหรือไม่ สัญญาซ้ือขายเกิดข้ึนแลว้ เพียงแตก่ ารซ้ือขายทรัพยบ์ างอยา่ ง หากไม่กระทาํ ตามแบบ สัญญาซ้ือขายท่ีเกิดข้ึนน้นั ก็จะเป็นโมฆะ ไมใ่ ช่วา่ สญั ญาซ้ือขายไมเ่ กิดข้ึนเลยเพราะวา่ ไม่กระทาํ ตามแบบ45 ดงั น้นั หากเป็นกรณีซ้ือขายทรัพยส์ ินท่ีกฎหมายมิไดบ้ งั คบั ให้ตอ้ งกระทาํ ตามแบบแลว้ เม่ือคาํ เสนอสนองของคู่สัญญาตอ้ งตรงกนั สัญญาซ้ือขายก็เกิดและสมบูรณ์ โดยไม่ตอ้ งพิจารณาเรื่องแบบแตอ่ ยา่ งใด เช่น นางแดงขายสร้อยเพชรราคา 10,000,000 บาท ให้แก่นางขาว นางขาวตกลงซ้ือเช่นน้ีสัญญาซ้ือขายสร้อยเพชรดงั กล่าวกเ็ กิดข้ึนและสมบูรณ์ โดยไมต่ อ้ งกระทาํ ตามแบบแตอ่ ยา่ งใด การซ้ือขายรถยนต์ ซ่ึงรถยนตเ์ ป็ นสังหาริมทรัพยท์ ว่ั ไปที่อยูน่ อกรายการท่ีระบุไว้ในมาตรา 456 วรรคหน่ึง ดงั น้ัน เมื่อผูซ้ ้ือตกลงซ้ือและผูข้ ายตกลงขาย สัญญาซ้ือขายรถยนต์ก็เกิดข้ึนและสมบูรณ์โดยไมต่ อ้ งกระทาํ ตามแบบแตอ่ ยา่ งใด ส่วนในเร่ืองการโอนทะเบียนรถยนตน์ ้นัไม่ใช่แบบที่กฎหมายกาํ หนด เป็ นแต่เพียงส่ิงท่ีใชค้ วบคุมการใช้ยานพาหนะและแสดงความเป็ นเจา้ ของรถเทา่ น้นั การซ้ือขายในมาตรา 456 วรรคหน่ึงน้ี หมายถึง สัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด ท้งั น้ีก็เป็ นไปตามท่ีมาตรา 455 กาํ หนดไวน้ น่ั เอง ดงั น้นั มาตรา 456 วรรคหน่ึง จึงเป็ นแบบของสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาด ไม่ใช่แบบของสัญญาจะซ้ือจะขาย หรือคาํ มนั่ วา่ จะซ้ือหรือจะขาย ส่วนสัญญาซ้ือขาย 45 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 7, น.112.

48มีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาน้นั โดยเหตุท่ีเป็ นสัญญาซ้ือขายเสร็จเด็ดขาดจึงตกอยูใ่ นบงั คบั เร่ืองแบบของสัญญาดว้ ย 2.6.1 ประเภทของทรัพย์สินทตี่ ้องทาตามแบบ 1) อสังหาริมทรัพย์ คาํ ว่า “อสังหาริมทรัพย”์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 139 ได้ให้นิยามความหมายไวด้ งั น้ี “อสังหาริมทรัพย์ หมายความวา่ ท่ีดินและทรัพยอ์ นั ติดอยู่กบั ที่ดินมีลกั ษณะเป็ นการถาวรหรือประกอบเป็ นอนั เดียวกบั ที่ดินน้นั และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอนั เกี่ยวกบั ที่ดิน หรือทรัพยอ์ นั ติดอยกู่ บั ที่ดินหรือประกอบเป็นอนั เดียวกบั ที่ดินน้นั ดว้ ย” จากความหมายดงั กล่าวอสงั หาริมทรัพยห์ มายถึง (1) ทดี่ นิ ตามมาตรา 1 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน บญั ญตั ิวา่ “ที่ดิน หมายความวา่ พ้ืนดินทว่ั ไป และใหห้ มายความถึงภูเขา ห้วยหนอง คลอง บึง บาง ลาํน้าํ ทะเลสาบ เกาะ และท่ีชายทะเลดว้ ย” ข้อพจิ ารณา การขายทงี่ อกริมตลงิ่ ต้องทาตามแบบหรือไม่? ในประเด็นน้ีศาลฎีกาเคยวนิ ิจฉยั ในคาํ พพิ ากษาศาลฎีกาท่ี 1860/2539 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1860/2539 ที่งอกริมตล่ิงเป็ นกรรมสิทธ์ิเมื่อที่งอกอยูต่ ิดกบั ท่ีดินมี โฉนดที่งอกยอ่ มเป็ นส่วนหน่ึงของที่ดินแปลงดงั กล่าวและเป็ นกรรมสิทธ์ิของ ส. โดยหลกั ส่วน ควบดว้ ยผลของกฎหมายไมจ่ าํ ตอ้ งรังวดั ข้ึนทะเบียนเป็ นหลกั ฐานวา่ เป็ นที่ดินส่วนหน่ึงของท่ีดิน ตามโฉนดเดิมเสียก่อนแลว้ ที่งอกจึงจะเป็ นท่ีดินมีกรรมสิทธ์ิ การที่ ส. ขายท่ีดินพิพาทซ่ึงอยตู่ ิด กบั ท่ีดินมีโฉนดให้โจทก์ถือวา่ ไดแ้ บ่งที่ดินมีโฉนดขายแก่โจทก์หาใช่เป็ นการขายที่ดินมือเปล่า แต่อย่างใดไม่การซ้ือขายท่ีดินมีกรรมสิทธ์ิจะตอ้ งทาํ เป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน เจา้ หนา้ ท่ีโจทก์กบั ส. เพียงแต่ทาํ สัญญาซ้ือขายกนั เองไม่ไดท้ าํ ตามแบบจึงตกเป็ นโมฆะตาม ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยม์ าตรา 456 วรรคแรกโจทกไ์ ม่ไดก้ รรมสิทธ์ิที่ดินพิพาทจึงไม่ มีอาํ นาจฟ้องบงั คบั จาํ เลยท้งั สามออกไปจากท่ีดินพพิ าท จากคาํ พิพากษาศาลฎีกาดงั กล่าวสามารถสรุปไดว้ า่ การซ้ือขายท่ีงอกริมตล่ิง หากท่ีงอก น้นั งอกจากที่ดินมีกรรมสิทธ์ิ การซ้ือขายตอ้ งทาํ ตามแบบมิฉะน้ันจะเป็ นโมฆะ แมท้ ่ีงอกน้ัน เจา้ ของ ยงั ไม่ไดร้ ังวดั ข้ึนทะเบียนเป็นหลกั ฐานก็ตาม (2) ทรัพย์อนั ติดอยู่กับทด่ี ิน หมายถึง ของท่ีติดตรึงตราอยกู่ บั ที่ดิน มีลกั ษณะเป็ นการถาวรหรือประกอบเป็ นอนั เดียวกบั ท่ีดินน้นั ไม่วา่ ดว้ ยการปลูกปักส่ิงน้นั ๆ ลงในที่ดินโดยไม่มีเจตนาจะ

49ร้ือถอนไปหรือทรัพยท์ ี่เกิดข้ึนเองหรือติดอยูก่ บั ที่ดินเองตามธรรมชาติ เช่น อาคาร บา้ นเรือน เจดีย์อนุสาวรีย์ สะพาน ตน้ ไมย้ นื ตน้ เป็นตน้ 46 ข้อพจิ ารณา การซื้อเรือนเพ่ือรื้อเอาไปเป็ นการซื้อขายทต่ี ้องทาตามแบบหรือไม่? ในประเด็นน้ี ศาลฎีกาเคยตดั สินว่าเป็ นการซ้ือขายสังหาริมทรัพย์ จึงไม่ตอ้ งทาํ ตามแบบ(คาํ พพิ ากษาศาลฎีกาที่ 923/2485, 17/2491) ซ่ึงการร้ือน้ีอาจยงั ไม่มีการร้ือไปเลยก็ได้ เพียงแต่ตกลงกนั ในการซ้ือขายวา่ ซ้ือเพ่ือจะร้ือเอาไปหรือจะมีการร้ือกนั ในอนาคตก็ได้ (คาํ พิพากษาศาลฎีกาที่799/2492) แต่การขายฝาก (ซ่ึงเป็ นสัญญาซ้ือขายรูปแบบหน่ึงที่อยู่ภายใตม้ าตรา 456 วรรคหน่ึงเช่นกนั ) ที่มีขอ้ ตกลงวา่ หากผขู้ ายฝากไมม่ าไถ่ทรัพยค์ ืนภายในกาํ หนดระยะเวลาไถ่ ให้ผซู้ ้ือฝากร้ือถอนเอาบา้ นไปได้ เช่นน้ีการขายฝากดงั กล่าวถือเป็ นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ ถา้ ไม่ทาํ ตามแบบสญั ญาขายฝากเป็นโมฆะ คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1514/2518 จาํ เลยทาํ สัญญาขายฝากบา้ นไวแ้ ก่โจทก์โดยไม่ไดจ้ ดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ มีเง่ือนไขกนั วา่ หากจาํ เลยไม่ไถ่คืนภายในกาํ หนด โจทก์มีสิทธิร้ือถอนเอาบา้ นไปได้ ดงั น้ี การขายฝากบา้ นซ่ึงบา้ นยงั คงสภาพเป็ นอสังหาริมทรัพยอ์ ยูต่ ามเดิมจนกวา่จาํ เลยจะไม่ไถ่คืนและโจทก์ได้ร้ือถอนเอาไป แต่ถา้ จาํ เลยไถ่คืนแล้วก็ไม่มีทางท่ีบา้ นน้นั จะแปรสภาพเป็นสงั หาริมทรัพยไ์ ปได้ จึงเป็ นสัญญาขายฝากอสังหาริมทรัพยห์ าใช่สัญญาซ้ือขายไมท้ ี่ปลูกสร้างซ่ึงเป็ นสังหาริมทรัพยไ์ ม่ เม่ือทาํ สัญญากนั เองและมิไดจ้ ดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หน้าที่ยอ่ มเป็ นโมฆะ ตามคาํ พิพากษาฉบบั น้ี สัญญาขายฝากบา้ น (ไม่รวมที่) ตกเป็ นโมฆะแลว้ ต้งั แต่ตน้ เพราะเป็นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ และคูส่ ัญญามิไดม้ ีเจตนาจะร้ือถอนบา้ นไปต้งั แต่ในขณะท่ีทาํ การซ้ือขาย หากแตม่ ีเง่ือนไขวา่ ถา้ ผูข้ ายฝากมาไถ่ (ซ่ึงอาจไถ่ก็ได้ ไม่ไถ่ก็ได)้ ผูซ้ ้ือยอ่ มไม่มีทางร้ือถอนออกไป แต่ถ้าผูข้ ายฝากไม่ไถ่ ผูซ้ ้ือจึงจะร้ือถอนเอาไป ความไม่แน่นอนน้ีไม่อาจทาํ ให้เรือนกลายเป็ นทรัพยป์ ระเภทใดก็ได้ แต่ตอ้ งถือวา่ เป็ นอสังหาริมทรัพยเ์ พียงอยา่ งเดียวมาโดยตลอด และแมผ้ ูข้ ายจะไม่ยอมไถ่ในภายหลงั อนั จะเป็ นเหตุใหผ้ ูซ้ ้ือร้ือเอาไปได้ อสังหาริมทรัพยก์ ็ไม่อาจแปรสภาพเป็นสงั หาริมทรัพยไ์ ดอ้ ีกแลว้ สญั ญาน้ีจึงเป็นโมฆะ เพราะไม่ไดจ้ ดทะเบียนใหถ้ ูกตอ้ ง47 (3) ทรัพย์ประกอบเป็ นอันเดียวกับท่ีดิน หมายถึง วตั ถุต่างๆ บรรดาที่จะพึงเห็นไดว้ ่ามีอยู่ในที่ดินรวมท้งั เน้ือดินน้นั เอง เช่น แร่ ดีบุก เงิน ทอง ซ่ึงเกิดข้ึนหรือมีอยู่เองตามธรรมชาติ อนั มี 46 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.114. 47 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถท่ี 7, น.118.

50ขอ้ สังเกตว่า ทรัพยเ์ หล่าน้ีหากนาํ ข้ึนมาจากท่ีดินแลว้ ก็จะเป็ นสังหาริมทรัพยซ์ ่ึงการซ้ือขายไม่ตอ้ งทาํ ตามแบบ (4) ทรัพยสิทธิอันเก่ียวกับท่ีดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับทดี่ ินหรือประกอบเป็ นอันเดียวกับทดี่ ินน้ันด้วย หมายถึงสิทธิอนั ไดแ้ ก่ กรรมสิทธ์ิในที่ดิน สิทธิครอบครองในที่ดิน ภาระจาํ ยอม สิทธิอาศยั สิทธิเหนือพ้ืนดิน ภารติดพนั ในอสังหาริมทรัพย์ สิทธิจาํ นอง ข้อสังเกต ทรัพยสิทธิบางประเภทมีกฎหมายบญั ญตั ิหา้ มโอน เช่น สิทธิอาศยั 48 ดงั น้นั ทรัพยสิทธิน้ีจึงไมส่ ามารถเป็นวตั ถุแห่งสญั ญาซ้ือขายได้ ข้อพจิ ารณา ก. การซื้อขายทดี่ นิ มือเปล่า ท่ีดินมือเปล่า คือ ท่ีดินที่ไม่มีหนงั สือสําคญั และไม่อาจจดทะเบียนนิติกรรมได้ สัญญาซ้ือขายท่ีดินมือเปล่าจึงเป็ นโมฆะเสมอ ไม่มีการโอนกรรมสิทธ์ิแก่กนั แมผ้ ูข้ ายก็ไม่มีกรรมสิทธ์ิมาแต่แรกจะมีก็แต่เพียงสิทธิครอบครอง จึงอาจทาํ ไดก้ ็แต่เพียงโอนสิทธิครอบครองของตนไปให้บุคคลอื่น ดงั น้นั แมส้ ัญญาซ้ือขายจะเป็ นโมฆะ แต่ผูซ้ ้ืออาจไดร้ ับสิทธิครอบครองได้ เมื่อผูข้ ายไดแ้ สดงเจตนาสละการครอบครองและไม่ยึดถือที่ดินเพื่อตน ส่วนผูซ้ ้ือไดย้ ึดถือครอบครองที่ดินเพื่อตนจึงไดส้ ิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1377, 1378 และ 137949 เช่น นายแดงตกลงซ้ือท่ีดินมือเปล่าจากนายดาํ นายดาํ ตกลงขาย โดยนายแดงไดช้ าํ ระราคาใหแ้ ก่นายดาํ และเขา้ ครอบครองที่ดินดงั กล่าวแลว้ เช่นน้ี แมส้ ัญญาซ้ือขายท่ีดินระหวา่ งนายแดงกบันายดาํ ดงั กล่าวจะเป็ นโมฆะ ตามมาตรา 456 วรรคแรก เพราะเป็ นท่ีดินมือเปล่า ไม่มีหนงั สือสําคญัและไม่อาจจดทะเบียนนิติกรรมได้ อย่างไรก็ตาม นายแดงก็ได้มาซ่ึงสิทธิครอบครองในท่ีดินดงั กล่าวได้ โดยการที่นายดาํ ผูข้ ายสละเจตนาครอบครองที่ดิน แล้วส่งมอบการครอบครองให้แก่นายแดงผูซ้ ้ือ และนายแดงเขา้ ไปครอบครองท่ีดิน ก็จะไดม้ าซ่ึงสิทธิครอบครอง โดยคาํ พิพากษาศาลฎีกาที่ 378/2525 ใชค้ าํ วา่ “สมบูรณ์เป็นสญั ญาโอนการครอบครองโดยมีค่าตอบแทน” คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 863/2510 แมก้ ารซ้ือขายไม่ไดท้ าํ เป็ นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่จะเป็ นโมฆะก็ดี แต่ที่พิพาทเป็ นท่ีดินมือเปล่า ผูข้ ายมีแต่เพียงสิทธิครอบครองเท่าน้ัน เมื่อผูข้ ายได้ส่งมอบท่ีพิพาทให้ผูซ้ ้ือตามสัญญาซ้ือขายก็ฟังได้ว่าผูข้ ายได้สละเจตนาครอบครองไม่ยึดถือที่พิพาทต่อไป การครอบครองของผูข้ ายสิ้นสุดลงแลว้ ผูซ้ ้ือได้รับโอนการ 48 ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1404 บญั ญตั ิวา่ “สิทธิอาศยั น้นั จะโอนกนั ไม่ไดแ้ มโ้ ดยทางมรดก” 49 อา้ งแลว้ , เชิงอรรถที่ 23, น.117.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook