ฉบับร่าง กองทัพบก คมู่ อื ราชการสนาม วา่ ดว้ ย ทศั นสญั ญาณและเสียงสัญญาณ (รส.๒๑-๖๐) พ.ศ.๒๕๖๕
สารบญั หนา้ ๑ ตอนที่ ๑ กล่าวท่ัวไป ๑ ความมงุ่ หมาย ขอบเขต ๒ ๒ ตอนท่ี ๒ ทา่ สญั ญาณ ๓๐ กลา่ วท่วั ไป ๓๒ ทา่ สญั ญาณมาตรฐาน ทา่ สญั ญาณการฝึกหมู่ทำการรบสำหรบั ทหารราบ ๓๔ ทา่ สัญญาณสำหรบั ปักหลกั เล็ง ๓๔ ๔๖ ตอนท่ี ๓ ธง กลา่ วทว่ั ไป ๔๗ การใช้ ๔๗ สญั ญาณธงต่าง ๆ ในการฝกึ ยิงปืนในสนามยงิ ปนื ชองรถถัง ๔๘ ๔๘ ตอนท่ี ๔ พลสุ ญั ญาณ ๔๙ กลา่ วทัว่ ไป ๔๙ คำจำกัดความ ๕๑ คณุ ลกั ษณะ ๕๑ สัญญาณควัน ๕๒ ลกู ระเบิดขว้างควนั ๕๓ ลกู ระเบดิ ยิงจากปนื เล็กและพลุสญั ญาณพ้นื ดิน กล่าวทว่ั ไป ๕๔ ลูกระเบดิ ควันยิงจากปืนเล็ก ๕๔ พลสุ ญั ญาณพืน้ ดนิ ๕๕ พลสุ ญั ญาณพื้นดนิ แบบจรวดชนิดมือจบั ๕๕ เครือ่ งยงิ ลูกระเบิดจากปืนเล็ก การเตรยี มการสำหรับการยิง ขอ้ ระมัดระวังและการรกั ษา พลสุ ญั ญาณยงิ จากยื่นยงิ พลุ พลสุ ญั ญาณเคร่อื งบิน
พลสู ัญญาณแบบทำใหเ้ กิดประกายแสงและเสยี ง หนา้ พลุสัญญาณพื้นดินชนดิ กะกำหนดความสูงกระสนุ ตก ๕๖ ตอนท่ี ๕ สัญญาณอากาศพน้ื ดิน ๕๗ ระบบแผน่ ผ้าสญั ญาณ กล่าวโดยทัว่ ไป ขนาดของแผ่นผ้าสัญญาณ ๕๗ ลานปูแผ่นผ้าสญั ญาณ ๕๘ เครอ่ื งหมายกำกับ ๕๘ เคร่อื งหมายกำกบั การอ่าน ๕๘ เครื่องหมายกำกบั อักษร ๕๘ เครอ่ื งหมายกำกับจำนวนเลข ๕๘ เครอื่ งหมายกำกับประมวล ๕๙ ระเบียบปฏบิ ตั ิ ๕๙ การเว้นชอ่ งวา่ งระหวา่ งแผน่ ผ้าสัญญาณ ๖๐ ประมวลแผ่นผา้ สัญญาณ ๖๑ ความหมายซ่ึงกำหนดไว้ลว่ งหนา้ ๖๖ การทราบความหมายและการตอบรับจากเคร่อื งบิน ๖๙ สญั ญาณแสดงฝา่ ยเดยี วกันจากพน้ื ดินสู่อากาศ ๖๙ เครื่องหมายพิเศษ ๖๙ ทัศนสญั ญาณฉุกเฉนิ ๗๐ ประมวลแผ่นผา้ สัญญาณฉุกเฉนิ จากพนื้ ดินสู่อากาศ ๗๗ ตอนท่ี ๖ ธงสญั ญาณ ๗๗ ธงเด่ยี ว ธงคู่ ๗๙ ตอนที่ ๗ สญั ญาณพเิ ศษ ๗๙ ท่าสญั ญาณของเจ้าหนา้ ทส่ี ำรวจ ทา่ สญั ญาณในการวางสายโทรศพั ท์ ๘๘ ท่าสญั ญาณเครือ่ งบนิ ๙๕ ท่าสัญญาณของพลประจำรถปั้นจนั่ และรถกู้ ๙๕ ทา่ สัญญาณเพิม่ เติมคำบอกคำสงั่ กระโดด ๑๑๘ ๑๒๗
ตอนที่ ๘ เสียงสญั ญาณ หน้า การสอื่ สารประเภทเสยี ง เสียงสัญญาณ ๑๓๒ ๑๓๒
ตอนท่ี ๑ กล่าวท่วั ไป ๑. ความม่งุ หมาย ก. คู่มือน้สี ำหรับเป็นแนวทางเพือ่ ใหท้ หารได้นำไปใชใ้ นการปฏิบตั ทิ างทศั นสญั ญาณและเสยี งสัญญาณ ข. ในการใช้ให้ได้ผลอย่างจริงจังของหน่วยทหารทางภาคพื้นดินนั้น ขึ้นอยู่กับความถูกต้องแม่นยำ การรักษาความลับ และความอ่อนตัวในการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยพื้นดิน หน่วยบิน ทบ. และหน่วยบิน สนับสนุนทางยุทธวิธี เนื่องจากปัจจัย เวลาและพื้นที่ในการทำสงครามสมัยใหม่ที่ปฏิบัติการร่วมกัน ระหว่าง หนว่ ยอากาศ/พน้ื ดนิ ทม่ี กี ารควบคุมและการประสานงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพน้นั จะกระทำได้โดยใชเ้ คร่ืองมือ พเิ ศษ ท่สี ามารถตดิ ต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว ระหวา่ งบุคคลและหน่วยท่ีกำลังปฏิบตั ิการทางยุทธวิธีอยู่เท่านั้น เมื่อเครื่องมือติดต่อสื่อสารทางไฟฟ้าไม่มีหรือมีไม่เพียงพอ จะต้องจัดระบบทัศนสัญญาณเป็นสถานีขึ้นเป็น เครื่องมือสำรองเทา่ ที่มอี ยู่ เพื่อเปน็ เคร่อื งมือสำหรับสง่ คำสั่ง ส่งขา่ วสารและเสนอความต้องการเร่งดว่ น ท่ีจะ ให้ทำการชว่ ยเหลือหรือสนับสนนุ และใช้ในการปฏบิ ตั ิการพิเศษ ๒. ขอบเขต ก. คู่มือแนะนำการใช้ท่าสัญญาณ, ธง, พลุสัญญาณ, แผ่นผ้าสัญญาณ สัญญาณสำหรับปฏิบัติการ พเิ ศษ และเสยี งสญั ญาณ ข. ทศั นสัญญาณต่าง ๆ ทปี่ รากฏในคมู่ ือน้ี ท่ีมหี ัวลูกศรช้ไี ป-ทางเดยี ว แสดงว่าเป็นการปฏิบัติครงั้ เดยี ว ซึ่งอาจจะทำซ้ำอีก จนกระท่งั ผู้รับตอบรับหรือปฏบิ ัติตามทำสญั ญาณนน้ั ค. ท่าสัญญาณที่แสดงด้วยหัวลูกศรชี้สองทาง จะต้องทำต่อเนื่องติดต่อกันไป จนกระทั่งผู้รับตอบรับ หรอื ปฏิบัตติ ามท่าสัญญาณนัน้ ง. คู่มือนีส้ ามารถนำไปใช้ได้ทุกโอกาส ทั้งในการทำสงครามนวิ เคลียรแ์ ละสงครามปกติ จ. ผใู้ ชค้ ู่มือนี้แล้ว ควรให้ข้อเสนอแนะเพื่อเปล่ียนแปลง หรอื ข้อคิดเห็นเพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไขคู่มือนี้ให้ ดีขึ้น ข้อคิดเห็นเหล่านั้นควรจะระบุหน้า, ข้อ, บรรทัด, กับเนื้อความเดิม ซึ่งเสนอแนะให้เปลี่ยนแปลงไว้ด้วย ขอ้ คดิ เห็นแตล่ ะข้อ ควรจะเสนอเหตุผลประกอบขอ้ พจิ ารณา เพ่อื ให้เข้าใจถูกต้องและประมวลความได้สมบูรณ์ และควรสง่ โดยตรงไปยัง โรงเรียนทหารส่ือสาร กรมการทหารสอื่ สาร
ตอนท่ี ๒ ทา่ สัญญาณ ๓. กลา่ วทว่ั ไป ก. สัญญาณต่างๆ ที่แสดงไว้ในตอนนี้นั้น เป็นวิธีธรรมดาของการส่งข่าวทางทัศนะ ทหารจะต้องทำ การฝึกจนกระทัง่ มีความชำนาญเคยชิน การส่งสัญญาณตอ้ งถูกตอ้ งและชัดเจน เพื่อผู้รับจะได้แปลความหมาย ได้โดยถูกต้อง ข. เมื่อส่วนใดส่วนหน่ึงหรือหลายส่วนของกำลังในหน่วย จะต้องปฏิบัติการเคลื่อนย้ายตามอาณัติ สัญญาณที่ได้นัดหมายกันไว้แล้ว สัญญาณในขั้นต้นจะต้องให้อาณัติสัญญาณ โดยส่งไปยังหน่วยหรือหลาย หน่วยท่จี ะตอ้ งเคล่อื นยา้ ย นอกจากจะกำหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอ่ืน โดยปกตผิ ู้สง่ สัญญาณจะต้องหนั หน้าไปยังบุคคล หรือหน่วยที่จะต้องปฏิบัติตามสญั ญาณนั้น สัญญาณส่วนมากอาจจะส่งทางพื้นดินหรือจากยานพาหนะ เว้นไว้ แต่จะกำหนดนัดหมายกันอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อจะให้เคลื่อนย้ายรวมทั้งหน่วย ท่าสัญญาณที่ใช้ในการ เคล่อื นย้ายหรอื ใหป้ ฏิบัติน้นั ควรจะใช้ท่าสัญญาณเตรียมตวั ก่อน กอ่ นทจี่ ะให้ทำสญั ญาณเคลือ่ นย้าย ค. การส่งท่าสัญญาณนั้น ควรจะใช้ส่งที่เดียวดีกว่าที่จะใช้หลายๆ ท่ารวมกัน เมื่อจะใช้ท่าสัญญาณ หลายๆ ทา่ ประกอบกนั กค็ วรให้ใชท้ ่าต่างๆ ที่รู้จกั กันท่วั ไปอยู่แลว้ และใชต้ ามลำดบั ที่ต้องการให้หน่วยปฏิบัติ เช่น ตวั อย่างสัญญาณใหเ้ ข้าแถวในรูปขบวนหมวดแถวตอนชน้ั แรกควรสง่ สญั ญาณการรวมพลก่อน แล้วจึงส่ง สญั ญาณขบวนหมวดแถวตอน ง. การเปลี่ยนรูปขบวนของหน่วยรอง สิ่งที่ดีที่สุดซึ่ง ผบ. หน่วยควรจะกำหนด หรือให้สัญญาณ เคลอื่ นยา้ ยหน่วยหลักไปตามรปู ขบวนท่ตี อ้ งการ แลว้ หนว่ ยอ่ืนๆ เคลือ่ นย้ายตามหนว่ ยหลัก ๔. ท่าสัญญาณมาตรฐาน ก. การใช้ท่าสัญญาณเหล่านี้ จะอำนวยประโยชน์แก่ทหารในการติดต่อสื่อสารซึ่งจะเป็นช่องทางช่วย ใหก้ ารควบคมุ และการประสานงานในระหว่างบุคคลผูน้ ัน้ กบั บคุ คลอน่ื หรอื หนว่ ยอืน่ ไดด้ ยี ่ิงขึ้น ข. รูปที่ ๑ ถึง ๔๕ อธิบายและแสดงภาพท่าสัญญาณที่ได้กำหนดนัดหมายกันไว้ล่วงหน้า ทั้งในเวลา กลางวนั และกลางคนื ซึง่ ปกติจะใช้ในการควบคมุ การเคล่อื นยา้ ยหนว่ ยทหารและยานพาหนะ
๓ รูปที่ ๑ เตรยี มตวั เหยียดแขนออกไปทางข้างเหนือระดับไหลเ่ ล็กน้อยหนั ฝ่ามือไปขา้ งหน้า แล้วโบกแขนขึ้นลงเหนือศรี ษะหลาย ๆ ครง้ั รูปท่ี ๒ ข้าพเจ้าพรอ้ มแลว้ หรือ ท่านพร้อมหรือยัง เหยียดแขนขนึ้ เหนือระดับไหลเ่ ลก็ น้อย ไปทางบคุ คลที่สง่ สญั ญาณ หนั ฝ่ามือออกข้างนอก
๔ รูปที่ ๓ ข้าพเจ้าไมเ่ ข้าใจ หันหน้าไปทางเหลง่ สญั ญาณท่ีมา ยกแขนท้ังสองข้างเสมอระดับไหล่ งอแขนทงั้ สองเสมอข้อศอก ใหม้ ือตรงกับใบหนา้ หนั ฝ่ามอื ตรงไปข้างหนา้ รปู ที่ ๔ ไม่เขา้ ใจคำส่ังหรือจะให้ปฏิบตั ิอยา่ งไร หนั หนา้ ไปยังบุคคลหรอื หน่วย ทสี่ ่งสญั ญาณ ยกแขนทั้งสองข้นึ ประสานกันเหนือศีรษะ หันฝ่ามอื ไปขา้ งหน้า
๕ รปู ท่ี ๕ รวมพลหรอื รวมกำลัง ยกแขนตรงขนึ้ ไปเหนือศีรษะ หนั ฝ่ามือไปข้างหนา้ แลว้ โบกมือ และหมนุ เป็นวงกลม รูปท่ี ๖ มาหาข้าพเจ้าหรือตามขา้ พเจา้ ชม้ี ือไปทางบุคคล พาหนะ หรอื หนว่ ย กวกั มือเรียกโดยยกแขนใหเ้ สมอระดบั ไหล่ หนั ฝ่ามือข้นึ แล้วโบกมอื ใหแ้ ขนท่อนล่างงอเขา้ หาตัว
๖ รูปท่ี ๗ ไปข้างหน้า หันหน้าไปยังทศิ ทางทต่ี อ้ งการเคลื่อนย้ายที่ เหยียดแขนขวาไปข้างหลงั แลว้ เหวยี่ งแขนขวาขน้ึ เหนือศีรษะไปข้างหนา้ ในทิศทางที่ต้องการเคลอ่ื นที่ จนกระท้ังแขนไดร้ ะดบั คว่ำฝ่ามือลง รปู ที่ ๘ ทางปีกขวา (ซา้ ย) เหยียดแขนทั้งสองไปในทิศทางทีต่ อ้ งการให้ เคล่ือนที่ (บุคคล ยานพาหนะหรือเรือ เลยี้ วกลับพร้อมกนั )
๗ รูปที่ ๙ หยดุ พักหรือหยดุ ยกแขนขวาข้นึ ขา้ งบนเหนอื ศีรษะ เหยยี ดตรง หนั ฝ่ามือไปขา้ งหน้า และใหย้ กแขนไว้อยู่ในท่าน้ี จนกว่าจะเขา้ ใจสัญญาณ รปู ที่ ๑๐ เพ่ิมความร็ว เดินจังหวะเรว็ หรือวงิ่ ยกมือขวาขึน้ เสมอไหล่ กำมือ ยกแขนเหยยี ดตรง ขึ้นไปข้างบนเหนือศรี ษะ แล้วลดลงมาอยูใ่ นท่าเดิม กระทำอยา่ งรวดเรว็ หลายๆ ครงั้
๘ รปู ท่ี ๑๑ ลดความเร็วลง (ยานพาหนะ ) จังหวะเดินเร็ว (หนว่ ยทหารเดินดนิ ) เหยียดแขนออกไป ทางขา้ งใหไ้ ด้ระดับกบั แนวไหล่ หนั ฝ่ามอื ไปข้างหนา้ แลว้ โบกแขนข้นึ ลงเล็กน้อยหลายๆ ครง้ั แขนต้องเหยียดตรงอยู่เสมอ อย่าให้แขนโบกขึ้นเลยเหนอื ระดบั ไหล่ รปู ที่ ๑๒ ขยายแถว (เปดิ ขบวน ) เหยยี ดแขนทั้งสองข้ึนขา้ งบนเหนอื ศรี ษะ หนั ฝา่ มือท้งั สองเข้าหากัน และ โบกแขนทง้ั สองลงมาทางข้างเสมอไหล่ คว่ำฝ่ามือลง ในเมือ่ จำเป็นเราทำสญั ญาณซ้ำอีก โดยนำ แขนท้งั สองกลบั ไปข้างหนา้ แลว้ ไปที่ตงั้ ตน้ ทำสัญญาณ และทำสญั ญาณซ้ำอีกจนกระทั่งเข้าใจ หมายเหตุ สัญญาณนี้ ใช้เฉพาะ ผบ.หน่วยยานยนตส์ ายพาน สำหรบั ผบ. หนว่ ยยานยนตล์ ้อ พลิกไปดูรูปที่ ๔
๙ รูปที่ ๑๓ บีบรูปขบวน ยกแขนท้งั สองขน้ึ ไปทางขา้ งเสมอไหล่ แขนทง้ั สองเหยียดตรง หันฝ่ามอื ขน้ึ โบกแขนท้ังสองข้ึนเหนือศรี ษะใหฝ้ ่ามือมาชิดกนั ในเมื่อจำเป็น เราทำสัญญาณซ้ำอกี โดยนำ แขนทง้ั สองกลับไปข้างหนัาและไปท่ตี ั้งต้นทำสัญญาณ หมายเหตุ สญั ญาณนี้ ใชเ้ ฉพาะ ผบ.หนว่ ยยานยนต์สายพาน สำหรับ ผบ.หนว่ ยยานยนตล์ ้อ ให้ไปดรู ปู ท่ี ๔๖ รปู ท่ี ๑๔ เปลยี่ นทิศทางหรือยา้ ยการยิง ยกมือขึน้ ทางขา้ งเสมอไหล่ไปทางทิศทางใหม่ งอแขนท่อนลา่ ง เขา้ หาลำตวั ตรงข้ามกบั ไหล่ หนั ฝ่ามือไปข้างหน้า แล้วเหยยี ดแขน และมอื ชีไ้ ปในทิศทางใหม่ สำหรับการเปลีย่ นทศิ ทางเพียงเล็กนอ้ ยโบกมอื จากท่าสดุ ทา้ ย (ที่กล่าวมาแลว้ ขา้ งตนั ) ไปใน ทิศทางที่ต้องการเคล่ือนย้าย
๑๐ รูปที่ ๑๕ เล้ียวซ้ายหรือทางซ้าย (ขณะเคลื่อนท)่ี เหยียดแขนช้ายไปทางข้างเสมอแนวไหล่ หนั ฝามอื ไปข้างหน้า รูปท่ี ๑๖ เลี้ยวขวาหรอื ทางขวา (ขณะเคลอ่ื นท)ี่ เหยยี ดแขนขวาไปทางข้าง เสมอแนวไหล่ หันฝ่ามือไปข้างหนา้
๑๑ รปู ท่ี ๑๗ กระจายกำลงั เหยยี ดแขนขา้ งใดขา้ งหนึ่งข้นึ เหนือศรีษะ เหยยี ดตรง โบกแขน และมือซา้ ยไปข้างหนา้ ซา้ ย ขวา และข้างหลัง พร้อมกับ ฝ่ามอื ชไี้ ปยงั ทิศทางทีเ่ คล่ือนที่แต่ละแห่ง รปู ที่ ๑๘ รูปขบวนแถวตอน ยกแขนขา้ งใดข้างหน่ึงตรงขึ้นไป เหว่ียงแขนไป ข้างหลงั ทำเป็นรูปวงกลมตั้งฉากกบั ลำตัว สัญญาณนีอ้ าจใช้กบั หนว่ ยทหาร หรือขบวนยานพาหนะอย่างหนึง่ อย่างใด หมายเหตุ เมื่อใช้กับรปู ขบวนปืนเล็ก ใหใ้ ชเ้ พิ่มเตมิ กับการส่ังการของผ้บู ังคับบัญชาด้วยปากเปลา่
๑๒ รปู ที่ ๑๙ ขบวนแถวตอนเดินทาง ยกแขนทง้ั สองข้างตรงขน้ึ ไป แสดงเป็นรปู วงกลม โดยแกว่งแขนออกไปทางหลังต้งั ฉากกับลำตวั หมายเหตุ ใชใ้ นเมื่อหมปู่ ืนเลก็ เคลอื่ นท่อี ยู่ในรูปขบวนเดียวกันในชุดยงิ รูปท่ี ๒๐ รูปขบวนล่ิม เหยียดแขนทง้ั สองขึน้ เหนือศรี ษะ งอขอ้ ศอกเล็กน้อย และนิว้ มือทั้งสองมือจรดกนั
๑๓ รปู ที่ ๒๑ รปู ขบวนรูปตวั วี เหยยี ดแขนทัง้ สองขน้ึ ช้างบนและไปทางข้างทำมมุ ๔๕ องศา เหนือระดับไหล่ รปู ท่ี ๒๒ รูปขบวนขั้นบนั ไดไปทางขวา (ซา้ ย) หันหนา้ เขา้ หาหนว่ ยทรี่ บั สัญญาณและเหยยี ดแขนไปในทิศทาง ในท่ีซึ่งหน่วยต้องทำรูปรบวนขน้ั บันใดและไปข้างลา่ งขา้ งตัว ทำมมุ ๔๕ ต่ำกว่าระดบั ไหล่ หันฝ่ามือ ไปทางหนา้ เหยียดแขนอีกขา้ งหนงึ่ ขึ้นขา้ งบนและไปทางขา้ ง ทำมุม ๔๔ องศา หันฝ่ามือไปทางหน้า
๑๔ รปู ที่ ๒๓ รปู ขบวนหน้ากระดาน ยกแขนทง้ั สองไปทางขา้ งเสมอระดบั ไหล่ มอื และแขนท้ังสองเหยียดตรง ฝ่ามือทงั้ สองควำ่ ลง รูปท่ี ๒๔ รูปขบวนหนา้ กระดาน ปลก. ซ้าย (ขวา) ยกแขนทง้ั สองออกไปทางขา้ งเสมอแนวไหล่ มือและแขนท้งั สองเหยยี ดตรงคว่ำฝ่ามือลง แกวง่ แขนที่ต้องการให้ ปลก. เคลือ่ นท่ีไป ทางข้างและข้ึนข้างบน เหยียดตรง แลว้ ลดลงมาอยู่ในทา่ เดิม จนกระทง่ั เลกิ ให้สัญญาณ
๑๕ รูปที่ ๒๕ พบขา้ ศึก ยกอาวธุ ประจำกายขนึ้ เหนือศีรษะดว้ ยแขนขา้ งเดยี ว แขนเหยียดตรง พรอ้ มกับอาวธุ ขนานกับพนื้ ดนิ และช้ีไปในทิศทางข้าศกึ รปู ที่ ๒๖ ตดิ ดาบ ใช้มือขวาทำทา่ คล้ายกับถอดดาบปลายยืนออกจากฝั่ก แลว้ ทำท่านำมาตดิ กับปืน
๑๖ รูปท่ี ๒๗ เตรียมปฏิบตั ิการ ยกแขนท่อนลา่ งข้ึนเสมอข้อศอก มอื กำ หมุนตามเข็มนาฬิกา เปน็ รูปวงกลมหลาย ๆ คร้งั รปู ท่ี ๒๘ ปฏิบตั ิการตรงหนา้ (ขวา, ข้าย หรอื หลัง) เดินยงิ หรอื การยิงตะลมุ บอน ยกแขนข้นึ เสมอระดับไหล่แลว้ งอเล็กนอ้ ย กำมือแล้ว เหยียดตรง ๆ หลาย ๆ ครั้ง ไปในทิศทาง ทต่ี อ้ งการใหป้ ฏบิ ัติการ
๑๗ รูปที่ ๒๙ คุ้มครองการรุกของฝา่ ยเรา ยกมอื ข้นึ ตบลงบนศีรษะหรอื หมวกเหล็ก หลาย ๆ ครง้ั รปู ท่ี ๓๐ ยิง ยกแขนข้ึนตั้งตรงเหนอื ศรี ษะ แลัวฟาดลงมาข้างตัวอย่างแรง ในเมื่อตอ้ งการให้อาวุธ อยา่ งเดยี วของหมู่ทำการยิง เหยยี ดแขนพรอ้ มกบั ชไี้ ปทอ่ี าวุธน้ันโดยเฉพาะ แล้วฟาดแขน โดยแรงไปทางข้าง สญั ญาณน้ใี ชส้ ่ังยงิ สำหรบั อาวุธที่มีความกว้างปากลำกลอ้ งขนาดใหญ่
๑๘ รปู ท่ี ๓๑ เริ่มยงิ เหยยี ดแขนออกไปชา้ งหนา้ เสมอเอว ฝ่ามือคว่ำลง แลว้ แกวง่ แขนเป็นรูปครึ่งวงกลม หลาย ๆ ครง้ั ยิงจงั หวะเรว็ ปฏบิ ตั สิ ัญญาณสำหรบั เร่ิมยงิ โดยทำใหเ้ รว็ ขนึ้ ยิงจงั หวะชา้ ปฏิบัตสิ ญั ญาณสำหรับเร่ิมยิง โดยทำให้ชา้ ลง รปู ท่ี ๓๒ ระยะยงิ หรอื ศูนยร์ บ หนั หน้าไปทางบุคคลหรือหนว่ ยซง่ึ เปน็ ผ้รู บั สญั ญาณ เหยยี ดแขนไป ขา้ งหน้าได้ระดบั กบั แนวไหล่ กำมือ สัญญาณ น้ใี ช้สำหรับระยะยงิ ท่ที ราบกันอยู่แลว้ ถา้ ไมม่ ี สญั ญาณอื่นตามมา ก็ให้ตง้ั ศูนยร์ บท่ีมาตราระยะยิง ๑ น้ิวมอื สำหรับแต่ละ ๑๐๐ เมตร ของ ระยะที่มาตราระยะยงิ
๑๙ รปู ท่ี ๓๓ ส่ายไปทางขวาหรอื ซา้ ย / เพ่ิมมุมยงั หรือลดมุมยิ่ง เหยียดแขน ข้างหน่ึงไปยังพลประจำปืน ที่เกี่ยวข้อง กระดกแขนและมือไปในทิศทางที่ต้องการแก้ไข (เพิ่มมุมสูง ลดมุมสูง ขวา หรือ ช้าย) งอแขนตรง ข้อมือ และชี้นิ้วขึ้น ๑ น้ิว สำหรับแต่ละมิลเลยี ม ( หรือสำหรับแต่ละ ๑๐๐ เมตร ของระยะยงิ ) ทตี่ ้องการแก้ไข สำหรับปืนกลเหยียดนวิ้ มือ ช้ีนว้ิ 2 มลิ เลยี ม สำหรับปืน ที่มขี าหยัง่ และ ๑ เมตร สำหรับยนื ท่ีมขี าทราย รปู ที่ ๓๔ หยดุ ยิง ยกมือขน้ึ ขา้ งหน้าเสมอหนา้ ผาก ฝา่ มอื หันไปขา้ งหน้า โบกมือ และแขนท่อนลา่ ง ข้นึ ลงหลาย ๆ ครง้ั ตรงกับใบหน้า
๒๐ รูปท่ี ๓๕ เลิกปฏิบตั ิการ (หุบกำบ้นั ลงบนฝ่ามืออีกข้างหน่ึงเรว็ ๆ หลาย ๆ คร้ังตดิ กัน รูปท่ี ๓๖ สญั ญาณเตอื นภยั นิวเคลียร์ ปดิ ตาทง้ั สองขา้ งดว้ ยมือขวา เป็นการเตอื นให้หน่วยทหาร เขา้ ทก่ี ำบัง ก่อนที่อาวธุ นวิ เคลยี ร์จะเกดิ การระเบดิ ข้นึ
๒๑ รูปท่ี ๓๗ ติดเคร่อื งยนตห์ รือเตรยี มเคล่อื นที่ ทำทา่ เหมือนกับหมนุ เคร่ืองยนต์ ของยานพาหนะ โดย หมนุ แขนเป็นวงกลมในระดับเอว รปู ท่ี ๓๘ ดับเครื่องยนต์ ควำ่ ฝ่ามือลง ดึงมือขวาผา่ นลำคอ จากซ้ายไปขวา ในทา่ \" ตดั คอ\"
๒๒ รูปที่ ๓๙ ขนึ้ รถ เหยียดแขนลงขา้ งล่าง อย่ขู ้างขา พร้อมกับหงายฝา่ มือออก ยกแขนขา้ งหนง่ึ ขึน้ ลง ทำมุม ๔๕ องศา เหนอื พ้ืนระดับ อาจใช้แขนทั้งสองเม่ือทำสัญญาณนี้ ทำซ้ำๆ จนกระทงั่ เขา้ ใจ รูปที่ ๔๐ ลงรถ เหยยี ดแขนไปทางขา้ ง ทำมุม ๔๕ องศา เหนือระดับ คว่ำฝ่ามอื ลง แล้วลดลงข้างขา อาจใชแ้ ขนท้ังสองข้างในเมื่อ ใช้สญั ญาณน้ี ทำช้าๆ จนกระทั่งเขา้ ใจ
๒๓ รูปที่ ๔๑ ถอยหลงั หันหน้าไปยังหนว่ ยรบั สญั ญาณ ยกมือข้างหนึง่ ข้ึนเสมอไหล่ หันฝ่ามือไปข้างหนา้ เหยียดแขนไปทางหนา้ จนสุดแลว้ ชกั กลับมา คอยระวงั ใหฝ้ ่ามือหนั ไปขา้ งหน้าอยู่เสมอ รปู ที่ ๔๒ เปลี่ยนทิศทาง ( ใช้นำทศิ ทางยานพาหนะทางพืน้ ดิน ) หนั หน้าไป ยงั ผู้รบั สญั ญาณ ยกมอื ทง้ั สองขึน้ ข้างหนา้ เสมอไหล่ กำมือสองแขน ขา้ งท่ตี ้องการให้ทำการเลย้ี ว พรอ้ มกบั กวักมืออีกข้างหนึ่งเรียก ยานพาหนะไปทางหนา้ , ถอยหลัง
๒๔ รูปท่ี ๔๓ ปลดเกียรว์ า่ ง ไขว้ข้อมือเสมอคอ ชี้น้ิวไปในทศิ ทางทจี่ ะใหป้ ลดเกียร์ อีกมือหนึ่งกำไว้ รปู ที่ ๔๔ ปิดระยะระหว่างยานพาหนะและหยุด หนั หนา้ ไปทางยานพาหนะ ทีร่ ับสญั ญาณ และ เหยยี ดแขนทอ่ นลา่ งไปขา้ งหน้า หนั ฝ่ามือเขา้ ข้างใน และแขนทอ่ นลา่ งห่างกนั ประมาณ ความกว้างขอบไหล่ นำฝ่ามือท้งั สองเขา้ หากันในระยะใกล้ ยานพาหนะต้องหยดุ เมอื่ ฝ่ามอื ท้ังสองมาบรรจบกัน
๒๕ รูปที่ ๔๕ เปิดระยะ ( ระยะต่อระหวา่ งยานพาหนะ ) เหยียดแขนข้างหน่ึงไป ทางขา้ งเสมอไหล่ หันฝ่ามือไปข้างหน้า แล้วโบกแขนลงข้างลา่ ง ทำมุม ๔๕ องศา ต่ำกว่าระดบั ทำช้าๆ หลายๆ คร้งั หมายเหตุ สัญญาณน้ใี ช้สำหรับ ผบ. หน่วยยานยนต์ลอ้ ผบ. หนว่ ยยานยนต์สายพาน พลิกไปดูรูปที่ ๑๒ รปู ที่ ๔๖ ปิดระยะ เหยียดแขนชาั ยไปทางขา้ งในระดับไหล่ หงายฝ่ามอื ขน้ึ และ ยกตรงขึน้ ไปเหนอื ศรี ษะ ทำซำ้ หลาย ๆ คร้งั หมายเหตุ ผบ. หน่วยยานยนต์ลอ้ ใช้สัญญาณน้ี ผบ. หน่วยยานยนตส์ ายพาน พลิกไปดรู ูปท่ี ๑๓
๒๖ รูปท่ี ๔๗ เลีย้ วขวา เหยยี ดและยกแขนชัายไปทางข้างทำมุม ๔๔ องศา เหนือระดับไหล่หันฝ่ามอื ไปข้างหนา้ จนกระทั่งเริม่ ต้นเลี้ยว รปู ท่ี ๔๘ เล้ียวซา้ ย เหยยี ดและยกแขนซา้ ยไปทางขา้ งเสมอไหล่ หนั ผา่ มอื ไปข้างหนา้ จนกระทั่งเริ่มต้นเล้ียว
๒๗ รปู ท่ี ๔๙ หยุดและเคลื่อนท่ีต่อไป เหยยี ดแขนซ้ายไปทางข้างเสมอแนวไหล่ หมนุ ฝ่ามอื ไปขา้ งหน้าและหมนุ มือ เป็นวงกลมขนาดใหญ่ไปข้างหน้าโดยหมนุ มือตามเข็มนาฬิกาจากข้อศอก รูปท่ี ๕๐ ชา้ หรอื หยุด เหยยี ดแขนซา้ ยลงข้างล่างทำมมุ ๔๕ องศา ต่ำกวา่ ระดบั ไหล่ หนั ฝ่ามือไปทางหลัง
๒๘ รูปท่ี ๕๑ ตดิ เครื่องยนต์ ถอื ไฟฉายไปข้างหน้าในระดับไหล่ แลว้ แฉลบไฟฉาย ข้ึนลงเป็นรปู เลข ๘ รปู ท่ี ๕๒ หยดุ หรอื ดบั เครือ่ งยนต์ ถอื ไฟฉายประมาณระดบั ไหล่ แลว้ ดึงผ่านหนา้ อกไปมาหลาย ๆ คร้ัง ทีแ่ นวเสน้ ทางเคลื่อนทเ่ี พื่อใหร้ ถหยดุ เมื่อต้องการให้ดบั เครื่องยนต์ก็คงใช้สญั ญาณเช่นเดียวกนั
๒๙ รปู ที่ ๕๓ ไป,ไปขา้ งหนา้ ,เคล่ือนทไี่ ด้, เพ่ิมความเรว็ , หรือเดินจงั หวะเรว็ ถือไฟฉายขึ้นลงตรง ๆ ขา้ งหนา้ ตวั หลาย ๆ คร้ัง รูปที่ ๕๕ ถอยหถัง ถือไฟฉายระดับไหล่ และปิดเปิดหลาย ๆ คร้ัง ไปทางยานหาหนะ
๓๐ รูปท่ี ๕๕ เลี้ยวซา้ ย ( ขวา ) หมนุ ไฟฉายเป็นวงกรมในขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๒ ถงึ ๑๘ นวิ้ ไปในทศิ ทางทตี่ ้องการเลี้ยว ๕. ท่าสัญญาณการฝึกหมูท่ ำการรบสำหรับทหารราบ รปู ที่ ๕๖ แสดงภาพสัญญาณการฝึกหมทู่ ำการรบ จากรปู ขบวนแถวตอนหมู่ ส่งั การพร้อมกับให้สัญญาณ ก . ดำเนินกลยทุ ธทางขวา กำมอื และผลกั ไปในทิศทางท่ตี ้องการใหด้ ำเนินกลยทุ ธ รูปที่ ๕๖ สัญญาณการฝึกหมู่ทำการรบสำหรับทหารราบ
๓๑ ข. ดำเนินกลยทุ ธทางซ้าย กำมือและผลักไปในทิศทางท่ีตอ้ งการให้ดำเนินกลยุทธ ค. ดำเนินกลยทุ ธข้างหน้าทางช้าย (ขวา) จากหม่แู ถวตอน ยกแขนทีต่ ้องการใหด้ ำเนินกลยทุ ธข้นึ เหนือศรี ษะ แลว้ โบกแขนลงมาเสมอระดับไหล่ ไปในทิศทางทต่ี อ้ งการให้ดำเนนิ กลยทุ ธ รูปที่ ๔๖ (ต่อ)
๓๒ ๖. ทา่ สญั ญาณสำหรับปักหลกั เล็ง รปู ท่ี ๕๗ เป็นภาพแสดงทา่ สัญญาณ สำหรับปักหลักเล็งซึ่ง พลประจำปืนของอาวุธประจำหนว่ ยเป็นผ้ใู ช้ ก. ยา้ ยหลกั ไปทางขวาของพลยงิ ข. ยา้ ยหลักไปทางซา้ ยของพลยงิ ค. ตอกหลกั ง. เอียงหลักไปทางขวาของพลยงิ รูปที่ ๕๗ ท่าสัญญาณสำหรับปกั หลกั เลง็
๓๓ จ. เอยี งหลักไปทางซ้ายของพลยงิ ฉ. หลักถกู ต้อง รูปที่ ๕๗ ท่าสญั ญาณสำหรบั ปกั หลักเล็ง (ต่อ)
ตอนท่ี ๓ ธง ๗. กลา่ วทั่วไป ธงที่จ่ายให้หน่วยยานเกราะ มีความมุ่งหมายเพื่อใช้ในการควบคุมและเป็นเครื่องมือสำรองในการ ติดต่อสื่อสาร ซึ่งมีอยู่ภายในหน่วยเหล่านี้เครื่องยุทธภัณฑ์ของยานรบแต่ละคันนั้นจะมีธง ๑ ชุดด้วย อันประกอบดว้ ยธงสแี ดง สีส้ม และสีเขยี ว อยา่ งละหนง่ึ ธง ๘. การใช้ สัญญาณธงนัน้ เราอาจใชธ้ งเดียว หรอื ผสมกันใน ๒ หรอื ๓ ธงกไ็ ด้ ฉะน้ันตอ้ งเตรยี มประมวลสญั ญาณ ไว้ก่อน สัญญาณธงต่าง ๆ นั้นเพื่อที่จะให้เข้าใจ เราต้องทำซ้ำ ๆ และติดต่อกันไป ในรูปที่ ๕๘ ถึงรูปท่ี ๖๒ แสดงถึงการใช้ทั่วๆ ไป ในรูปที่ ๖๓ แสดงสัญญาณธงต่างๆ ที่ใช้ในการฝึกทำการรบสำหรับรถถังและหมวด ทหารม้ายานเกราะตา่ ง ๆ แดง รูปท่ี ๕๘ สำหรบั สญั ญาณตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี ยกแขนข้างหน่ึงขึน้ ตรงไปเหนือศรี ษะ ถือธงสไี ว้ อันตรายหรอื พบข้าศึก - สีแดง ปลอดภยั พรอ้ ม หรอื เขา้ ใจ - สีเซยี ว ไม่ตอ้ งสนใจหรือรถไมใ่ ชง้ าน – สีส้ม
๓๕ แดง รูปที่ ๕๙ ปฏิบัติการทางขวา (ทางซา้ ย ทางหนา้ หรือทางหลงั ) ถอื ธงแดง ต้งั ตรงไว้ ใหข้ ้อศอกประมาณ ระดบั ไหล่ และฟาดธงลงไปหลาย ๆ ครง้ั ในทศิ ทางทต่ี ้องการให้ปฏบิ ัตกิ าร แดง รปู ที่ ๖๐ การโอบขวา ( ซา้ ยหรือโอบสองบกี ) ถอื ธงแดงตัง้ ตรงไว้ แลว้ เหยียดแขนไปทางขวา ( ช้าย, ขวา และช้าย ) แกว่งแขนไปข้างหน้า ในระดบั ไหล่ เป็นรปู ครงึ่ วงกลมหลาย ๆ ครัง้
๓๖ เขียว ส้ม รูปที่ ๖๑ รวมพลหรือปิดระยะ ถอื ธงสีส้มและสีเขียวไวด้ ้วยมอื ขวา เหนือศีรษะ ยกขึ้นไปตรง แดง ส้ม เขยี ว รปู ที ๖๒ ปรากฏสารเคมี ( ไอพิษ) ถอื ธงแดงและสสี ม้ ไว้เหนอื ศีรษะดว้ ยมือขวา และถือธงเขยี วไวด้ ว้ ย มอื ซ้ายในวธิ เี ดวี ยกนั
๓๗ เขียว ส้ม ก. รปู ขบวนหนา้ กระดาษ รูปที ๖๓ สัญญาณธง การฝึกทำการรบ ส้ม เขียว ข. รูปขบวนแถวตอน รูปท่ี ๖๓ (ต่อ)
๓๘ เขียว ค. รปู ขบวนขั้นบันไดทางขวา (ซา้ ย) ส้ม เขยี ว สม้ ง. เปลปลายปกี ขวา (ซ้าย) รูปที่ ๖๓ (ตอ่ )
๓๙ สม้ เขยี ว จ. ขบวนรปู ลม่ิ เขียว ฉ. ขบวนรปู ล่ิมกลบั ส้ม รปู ที่ ๖๓ (ต่อ)
๔๐ เขียว ส้ม หยุด ส้ม แดง ช. หยุด, เข้าท่ีกำบงั , ยงั อยู่ประจำรถ รปู ที่ ๖๓ (ต่อ)
๔๑ ส้ม ด. ขบวนแถวตอนทางขวา เขียว ต. ขบวนแถวตอนทางซา้ ย รูปที่ ๖๓ (ตอ่ )
๔๒ สส้มม้ ถ. ขึ้นรถ เขียว เขยี ว ท. เคลื่อนท่ีได้ รูปท่ี ๖๓ (ตอ่ ) รูปที่ ๖๓ (ตอ่ )
๔๓ เขยี ว สม้ เขียว แดง น. ลงรถ โบกธงทง้ั สองจากข้างบนในทางด่ิง ลงมาทางข้างไดร้ ะดับกับแนวไหล่ แดง เขยี ว บ. ลงรถ และตลมุ บอน โบกธงทั้งสองจากข้างถนนในทางดิ่ง ลงมาทางขา้ งได้ระดับกับแนวไหล่ รูปท่ี ๖๓ (ต่อ)
๔๔ เขยี ว ส้ม ป. ขบวนหน้ากระดานไปทางขวา สม้ รูปท่ี ๖๓ (ต่อ) เขียว ผ. ขบวนหน้ากระดานไปทางซา้ ย สม้ เขยี ว ฝ. รปู ขบวนดาววา่ ว
๔๕ เขียว สสม้ ม้ พ. แบบตวั ที ถอื ธงเขยี วด้วยมอื ซ้าย พร้อมกับเหยียดตรงขึ้นไป โบกธง สีส้มในมอื ขวาเปน็ รูปคร่ึงวงกลม จากขวาไปซา้ ยและกลบั มา เขียว สม้ ฟ. แบบตวั วี. โบกธงสีส้มในมอื ขวา และธงสีเขยี วในมือซ้าย เป็นรูปครงึ่ วงกลมจากขวาไปซ้าย รูปที่ ๖๓ ( ตอ่ )
๔๖ ๙. สญั ญาณธงต่าง ๆ ในการยิงปืนในสนามยงิ ปืนของรถถัง ธงสญั ญาณตา่ ง ๆ ชกั ขน้ึ แสดงไว้ ณ ตำบลควบคุมและบนรถถงั ในระหวา่ งทำการยิงปืนในสนามยงิ ปืน ก. ชกั ธงไว้ ณ ตำบลควบคุม เพ่ือแสดงวา่ จะปฏบิ ัติการยิงปืนหรอื ไม่ ธงแดง หมายความว่า อนญุ าตให้ทำการยงิ ได้ ธงเขียว หมายความวา่ สนามยงิ ปนื ไมป่ ลอดภยั ในการยิง ข. ความหมายของธงสญั ญาณตา่ ง ๆ ท่ีแสดงไว้บนรถถังในการปฏบิ ตั กิ ารยงิ มีดังตอ่ ไปน้.ี ๑. ธงแดง หมายความว่า รถถังบรรทุกกระสุนจริง และจะเริ่มทำการยิง ปืนต้องเล็งไปยังพื้นท่ี เป้าหมาย ๒. ธงเขียว หมายความวา่ ปืนรถถังทัง้ หมด ไม่มีกระสุนและยกลำกลอ้ งขึ้นแล้วและลกู กระสุนจรงิ ใน รถถงั ไดเ้ ก็บเขา้ ทเ่ี รียบร้อย ๓. ธงสสี ้ม หมายความวา่ รถถังไมส่ ามารถทำการยิง หรือเกดิ การตดิ ขดั หมายเหตุ สำหรับหลักการยิงปืนใหญ่รถถังแล้ว ธงสีสัมอาจใช้ร่วมกับธงแดง หรือธงเขียวอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือท้งั สองอย่างเสมอ ๆ ๔. ธงแดง และธงเขยี ว หมายความว่ารถถังกำลังเตรยี มทำการยิงหรือฝึกยงิ โดยไมใ่ ช้กระสนุ ปืนทกุ กระบอกไม่มรี ะสนุ แต่ลำกล้องไมย่ กขึ้น ๕. ธงแดง และธงสสี ม้ หมายความวา่ รถถังเกิดการตดิ ขัดหรือกระสุนต้านในลำกล้อง ปืนยงั คงมี กระสุน และปืนเล็งไปยงั พ้ืนท่ีเป้าหมาย ๖. ธงสเี ขียว และธงสีส้ม หมายความว่ารถถงั เกดิ การติดขัด ปืนทง้ั หมดไม่มกี ระสนุ ๗. ธงแดง ธงเขียว และธงสสี ้ม หมายความว่ารถถังเสรจ็ สิ้นการยงิ และไดย้ กลำกลอ้ งขึ้นแล้วปืน ทัง้ หมดไม่มีกระสุน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272