๒. เมือ่ เพ่ือนรว่ มงานได้เลื่อนตาแหน่ง ไม่คิดริษยา พลอยยินดี กบั เขาด้วย ชื่อว่าปฏิบตั ิตามพรหมวิหารธรรมข้อใด ? (๒๕๕๗) ขอ้ ๓ มทุ ิตา คือ ความพลอยยินดี เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๐. ธาตุ ๔ * ๑. ปฐวีธาตุ ธาตดุ ิน ๒. อาโปธาตุ ธาตนุ ้า ๓. เตโชธาตุ ธาตไุ ฟ ๔. วาโยธาตุ ธาตลุ ม อธิบาย ธาตุมลี กั ษณะแขน้ แขง็ คอื ธาตุดนิ ธาตุมลี กั ษณะเอบิ อาบ คอื ธาตุน้า ธาตุอนั มลี กั ษณะรอ้ น คอื ธาตไฟ ธาตุอนั มลี กั ษณะพดั ไปมา คอื ธาตุลม เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 95
๑. ธาตุ ๔ มีธาตอุ ะไรบา้ ง ? ธาตมุ ีลกั ษณะแข้นแขง็ คือธาตอุ ะไร ? (๒๕๕๑) ธาตุ ๔ คือ ๑) ธาตดุ ิน ๒) ธาตนุ ้า ๓) ธาตไุ ฟ ๔) ธาตลุ ม ฯ ธาตมุ ีลกั ษณะแข้นแขง็ คือ ธาตดุ ิน ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑๑. อริยสจั ๔ * ๑. ทกุ ข์ คือ ความไมส่ บายกายไม่สบายใจ ๒. สมทุ ยั คือ เหตใุ ห้เกิดทกุ ข์ ๓. นิโรธ คือ ความดบั ทุกข์ ๔. มรรค คือ ข้อปฏิบตั ิให้ถงึ ความดบั ทกุ ข์ อธิบาย อรยิ สจั ๔ หมายถงึ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ หรอื ความจรงิ ของ พระอรยิ เจา้ เหตุใหเ้ กดิ ทุกขใ์ นอรยิ สจั ๔ คอื คอื ตณั หา ความทะยานอยาก เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 96
๑. อริยสจั ๔ มีอะไรบา้ ง ? ความไม่สบายกายไม่สบายใจ จดั เป็นอริยสจั ข้อไหน ? (๒๕๖๑) ๑) ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไมส่ บายใจ ๒) สมทุ ยั คือ เหตใุ ห้เกิดทุกข์ ๓) นิโรธ คือ ความดบั ทกุ ข์ ๔) มรรค คือ ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดบั ทกุ ข์ ฯ จดั เป็นทกุ ข์ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. เหตใุ ห้เกิดทกุ ขใ์ นอริยสจั ๔ คืออะไร ? (๒๕๕๗) คือ ตณั หา ความทะยานอยาก ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 97
๓. ทกุ ขใ์ นอริยสจั ๔ คืออะไร ? เหตใุ ห้เกิดทุกขค์ ืออะไร ? (๒๕๕๔) คือ ความไม่สบายกายไมส่ บายใจ ฯ คือ ตณั หา ความทะยานอยาก ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔. ปัญญาอนั เหน็ ชอบอย่างไร จึงช่ือว่ามรรคในอริยสจั ๔ ? เพราะเหตไุ ร ? (๒๕๕๒) ปัญญาอนั เหน็ ชอบว่า ส่ิงนี้ทกุ ข์ ส่ิงนี้เหตใุ ห้ทุกขเ์ กิด ส่ิง นี้ความดบั ทกุ ข์ สิ่งนี้ทางให้ถงึ ความดบั ทุกข์ ได้ช่ือว่า มรรค ฯ เพราะเป็นข้อปฏิบตั ิให้ถงึ ความดบั ทุกข์ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 98
๑๒. อิทธิบาท ๔ * ๑. ฉันทะ คือ พอใจรกั ใครใ่ นสิ่งนัน้ ๒. วิริยะ คือ เพียรประกอบส่ิงนัน้ ๓. จิตตะ คือ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ่งนัน้ ไมว่ างธรุ ะ ๔. วิมงั สา คือ หมนั่ ตริตรองพิจารณาเหตผุ ลในสิ่งนัน้ อธิบาย อทิ ธบิ าท แปลว่า ขอ้ ปฏบิ ตั นิ าไปสคู่ วามสาเรจ็ ตามความมงุ่ หมาย เป็นคณุ เครอ่ื งใหส้ าเรจ็ ความประสงค์ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. คณุ ธรรมเครื่องให้สาเรจ็ ความประสงค์ คืออะไร ? มีอะไรบา้ ง ? (๒๕๕๗) อิทธิบาท ๔ คือ คณุ เครอ่ื งให้สาเรจ็ ความประสงค์ ๔ อย่าง คือ ๑) ฉันทะ คือ พอใจรกั ใครใ่ นสิ่งนัน้ ๒) วิริยะ คือ เพียรประกอบส่ิงนัน้ ๓) จิตตะ คือ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ่งนัน้ ไมว่ างธรุ ะ ๔) วิมงั สา คือ หมนั่ ตริตรองพิจารณาเหตผุ ลในสิ่งนัน้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 99
๒. นักเรียนผตู้ ้องการจะเรียนหนังสือให้ได้ผลดี จะนาอิทธิบาท มาใช้อย่างไร ? (๒๕๕๓) ๑) ต้องสรา้ งความพอใจในการศึกษาเล่าเรียนก่อน ท่ี เรียกว่าฉันทะ ๒) เมื่อมีความพอใจ จะเป็นเหตใุ ห้ขยนั ศึกษาหาความรู้ ท่ีเรียกว่าวิริยะ ๓) เกิดความใฝ่ ใจใครร่ สู้ ่ิงต่าง ๆ มากขึน้ ท่ีเรียกว่า จิตตะ ๔) นาความรนู้ ัน้ มาใครค่ รวญพิจารณาให้เข้าใจเหตแุ ละ ผลอย่างถกู ต้อง ที่เรียกว่า วิมงั สา ดงั นี้กจ็ ะประสบผลสาเรจ็ ในการศึกษาเล่าเรียนได้ ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 100
ปัญจกะ หมวด ๕ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. อนันตริยกรรม ๕ * ๑. มาตฆุ าต ฆ่ามารดา ๒. ปิ ตฆุ าต ฆ่าบิดา ๓. อรหนั ตฆาต ฆ่าพระอรหนั ต์ ๔. โลหิตตปุ บาท ทารา้ ยพระพทุ ธเจา้ จนถงึ ยงั พระโลหิต ให้ห้อขึน้ ไป ๕. สงั ฆเภท ยงั สงฆใ์ ห้แตกกนั อธิบาย อนนั ตรยิ กรรม ๕ เป็นกรรมทใ่ี หผ้ ลไมม่ รี ะหว่างคนั่ เป็นกรรมหนกั ฝ่ายอกุศล หา้ มสวรรค์ หา้ มนิพพาน สงั ฆเภท คอื ไมท่ าสงั ฆกรรมรว่ มกนั เชน่ การบวช, การลงพระ ปาฏโิ มกข์ เป็นตน้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 101
๑. กรรมอนั เป็นบาปหนักที่สดุ ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน คือ กรรมอะไร ? มีอะไรบา้ ง (๒๕๕๘) คือ อนันตริยกรรม ๕ ฯ ได้แก่ ๑) มาตฆุ าต ฆ่ามารดา ๒) ปิ ตฆุ าต ฆ่าบิดา ๓) อรหนั ตฆาต ฆ่าพระอรหนั ต์ ๔) โลหิตปุ บาท ทารา้ ยพระพทุ ธเจ้าจนยงั พระโลหิตให้ ห้อขึน้ ไป ๕) สงั ฆเภท ยงั สงฆใ์ ห้แตกจากกนั ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. อภิณหปัจจเวกขณ์ ๕ * ๑. เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไมล่ ่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒. เรามีความเจบ็ เป็นธรรมดา ไมล่ ่วงพ้นความเจบ็ ไปได้ ๓. เรามีความตายเป็นธรรมดา ไมล่ ่วงพ้นความตายไปได้ ๔. เราจะต้องพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจด้วยกนั หมดทงั้ สิ้น ๕. เรามีกรรมเป็นของตน เราทาดีจกั ได้ดี ทาชวั่ จกั ได้ชวั่ อธิบาย อภณิ หปัจจเวกขณ์ ๕ เป็นธรรมทค่ี วรพจิ ารณาอย่เู นืองๆ เป็น อบุ ายบรรเทาความมวั เมาในชวี ติ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 102
๑. อภิณหปัจจเวกขณ์ คือข้อที่ควรพิจารณาเนือง ๆ ๕ อย่าง ทรงสอนให้พิจารณาอะไรบา้ ง ? (๒๕๕๖) ทรงสอนให้พิจารณา ๑) ความแก่ ว่าเรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความ แก่ไปได้ ๒) ความเจบ็ ไข้ ว่าเรามีความเจบ็ ไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้น ความเจบ็ ไข้ไปได้ ๓) ความตาย ว่าเรามีความตายเป็นธรรมดาไมล่ ่วงพ้น ความตายไปได้ ๔) ความพลดั พราก ว่าเราจะต้องพลดั พรากจากของรกั ของ ชอบใจทงั้ นัน้ ๕) กรรม ว่าเรามีกรรมเป็นของตวั เราทาดีจกั ได้ดี ทาชวั่ จกั ได้ชวั ่ ฯเกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. อภิณหปัจจเวกขณ์ข้อว่า ควรพิจารณาทุก ๆ วนั ว่า เรา จะต้องพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจทงั้ สิ้น ดงั นี้ ผพู้ ิจารณาได้รบั ประโยชน์อย่างไร ? จงอธิบาย (๒๕๕๔) ได้รบั ประโยชน์ คือ สามารถบรรเทาความพอใจรกั ใคร่ในของรกั ของชอบใจ และป้องกนั ความทกุ ขโ์ ทมนัส ในเวลาเมือ่ ตนต้องพลดั พราก จากของรกั ของชอบใจ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 103
๓. สิ่งที่พระพทุ ธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาเนือง ๆ มีอะไรบา้ ง ? ทรงให้พิจารณาอย่างไร ? (๒๕๖๑) มี ความแก่ ความเจบ็ ไข้ ความตาย ความพลดั พราก และ กรรม ฯ ทรงสอนให้พิจารณาว่า ๑) เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒) เรามีความเจบ็ ไข้เป็นธรรมดา ไมล่ ่วงพ้นความเจบ็ ไข้ ไปได้ ๓) เรามีความตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔) เราจะต้องพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจทงั้ สิ้น ๕) เรามีกรรมเป็นของตวั เรา ทาดีจกั ได้ดีทาชวั่ จกั ได้ชวั่ ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓. อานิสงสแ์ ห่งการฟังธรรม ๕ * ๑. ผฟู้ ังย่อมได้ฟังสิ่งที่ยงั ไมเ่ คยฟัง ๒. ส่ิงท่ีได้เคยฟังแล้ว แต่ไมเ่ ข้าใจชดั ย่อมเข้าใจชดั ขนึ้ ๓. บรรเทาความสงสยั เสียได้ ๔. ทาความเหน็ ให้ถกู ต้องได้ ๕. จิตของผฟู้ ังย่อมผอ่ งใส อธิบาย อานิสงสแ์ หง่ การฟังธรรม ๕ เรยี กวา่ ธมั มสั สวนานสิ งส์ คอื ผลดแี หง่ การฟังธรรม เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 104
๑. อานิสงสก์ ารฟังธรรม มีอะไรบา้ ง ? (๒๕๕๘) ๑) ผฟู้ ังธรรมย่อมได้ฟังสิ่งท่ียงั ไม่เคยฟัง ๒) ส่ิงใดได้เคยฟังแล้ว แต่ไม่เข้าใจชดั ย่อมเข้าใจสิ่งนัน้ ชดั ๓) บรรเทาความสงสยั เสียได้ ๔) ทาความเหน็ ให้ถกู ต้องได้ ๕) จิตของผฟู้ ังย่อมผอ่ งใส ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔. พละ ๕ * ความเช่ือ ๑. สทั ธา ความเพียร ความระลึกได้ ๒. วิริยะ ความตงั้ ใจมนั่ ๓. สติ ความรอบรู้ ๔. สมาธิ ๕. ปัญญา อธิบาย พละ ๕ เป็นธรรมทเ่ี ป็นกาลงั ในการต่อสกู้ บั ขา้ ศกึ คอื อกศุ ล หรอื เรยี กวา่ อนิ ทรยี ์ ๕ เพราะเป็นใหญ่ ในกจิ ของตน เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 105
๑. ธรรมเป็นกาลงั ๕ อย่าง คืออะไรบา้ ง ? ธรรม ๕ อย่างนัน้ เรียกว่าอินทรีย์ เพราะเหตไุ ร ? (๒๕๕๒) ธรรมเป็นกาลงั ๕ อย่าง คือ ๑) สทั ธา ความเช่ือ ๒) วิริยะ ความเพียร ๓) สติ ความระลึกได้ ๔) สมาธิ ความตงั้ ใจมนั่ ๕) ปัญญา ความรอบรู้ ฯ ธรรม ๕ อย่างนัน้ เรียกว่า อินทรีย์ เพราะเป็นใหญ่ในกิจ ของตน ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๕. นิวรณ์ ๕ * ๑. กามฉันทะ ความพอใจรกั ใครใ่ นอารมณ์ที่ชอบใจ ๒. พยาบาท การปองรา้ ยผอู้ ื่น ๓. ถีนมิทธะ ความท่ีจิตหดห่แู ละเคลิบเคลิ้ม ๔. อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ ฟ้งุ ซ่านและราคาญ ๕. วิจิกิจฉา ความลงั เลไมแ่ น่ใจ อธิบาย นิวรณ์ ๕ เป็นอกุศลธรรมทก่ี นั้ จติ ไมใ่ หบ้ รรลคุ วามด,ี ขวางกนั้ ความดี เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 106
๑. ธรรมอนั เป็นเครอื่ งกนั้ จิตไมใ่ ห้บรรลคุ วามดี คืออะไร ? มีอะไรบา้ ง ? (๒๕๖๐) คือ นิวรณ์ ๕ ฯ ๑) กามฉันท์ คือ พอใจรกั ใครใ่ นอารมณ์ที่ชอบใจ มีรปู เป็ นต้น ๒) พยาบาท คือ คิดปองรา้ ยผอู้ ื่น ๓) ถีนมิทธะ คือ ความท่ีจิตหดห่แู ละเคลิบเคลิ้ม ๔) อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ คือ ความฟ้งุ ซ่านและราคาญ ๕) วิจิกิจฉา คือ ความลงั เลไม่ตกลงใจ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. คิดอย่างไรเรียกว่า พยาบาท ? คิดอย่างนัน้ เกิดโทษอะไร ? (๒๕๕๕) คิดปองรา้ ยผอู้ ื่น ฯ เกิดโทษคือปิ ดกนั้ จิตใจไม่ให้บรรลคุ วามดี ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 107
๖. ขนั ธ์ ๕ * ๑. รปู ขนั ธ์ ธาตุ ๔ ดิน น้า ลม ไฟ> รา่ งกาย ๒. เวทนาขนั ธ์ ความรสู้ ึกสขุ ทกุ ข์ เฉย ๓. สญั ญาขนั ธ์ ๔. สงั ขารขนั ธ์ ความจาได้หมายรู้ ๕. วิญญาณขนั ธ์ ความคิดท่ีเกิดจากใจ, ปรงุ แต่งจิต ความรสู้ ึกท่ีเกิดจากอายตนะ อธิบาย ภายในกบั ภายนอกกระทบกนั ขนั ธ์ ๕ ยอ่ เป็น ๒ อยา่ งน้ี คอื รปู กบั นาม ๑) รปู ขนั ธ์ คงเป็นรปู ๒) เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ และวญิ ญาณขนั ธ์ ๔ ขนั ธน์ ้ี เป็นนาม ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ขนั ธ์ ๕ ได้แก่อะไรบา้ ง ? ย่อเป็น ๒ อย่างไร ? (๒๕๕๖) ได้แก่ รปู ขนั ธ์ เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ และ วิญญาณขนั ธ์ ฯ ย่อเป็น ๒ อย่างนี้ คือ ๑) รปู ขนั ธ์ คงเป็นรปู ๒) เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ และวิญญาณ ขนั ธ์ ๔ ขนั ธน์ ี้ เป็นนาม ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 108
๒. กายกบั ใจของเรานี้แบง่ ออกเป็นกี่กอง ? อะไรบา้ ง ? (๒๕๕๙) แบง่ ออกเป็น ๕ กอง ฯ คือ ๑) กองรปู ๒) กองเวทนา ๓) กองสญั ญา ๔) กองสงั ขาร ๕) กองวิญญาณ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๗. องคแ์ ห่งธรรมกถึก ๕ * ๑. แสดงธรรมไปตามลาดบั ไมต่ ดั ลดั ให้ขาดความ ๒. อ้างเหตผุ ลแนะนาให้ผฟู้ ังเข้าใจ ๓. ตงั้ จิตเมตตาปรารถนา ให้ประโยชน์แก่ผฟู้ ัง ๔. ไม่แสดงธรรมเพราะเหน็ แก่ลาภ ๕. ไมแ่ สดงธรรมกระทบตนและผอู้ ่ืน คือ ไมย่ กตนเสียดสี ผอู้ ื่น ฯ อธิบาย องคแ์ หง่ ธรรมกถกึ ๕ เป็นขอ้ ปฏบิ ตั ทิ พ่ี ระนกั เทศน์ควรตงั้ ไว้ ในตน เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 109
๑. การจะเป็นนักเทศน์ที่ดีจะต้องมีคณุ สมบตั ิอะไรบา้ ง ? จง ตอบมาสกั ๓ ขอ้ (๒๕๕๗) การจะเป็นนักเทศน์ที่ดีจะต้องมีคณุ สมบตั ิ ๕ ประการ คือ ๑) แสดงธรรมไปตามลาดบั ไม่ตดั ลดั ให้ขาดความ ๒) อ้างเหตผุ ลแนะนาให้ผฟู้ ังเข้าใจ ๓) ตงั้ จิตเมตตาปรารถนา ให้ประโยชน์แก่ผฟู้ ัง ๔) ไมแ่ สดงธรรมเพราะเหน็ แก่ลาภ ๕) ไมแ่ สดงธรรมกระทบตนและผอู้ ่ืน คือ ไมย่ กตนเสียด สีผอู้ ื่น ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 110
ฉักกะ หมวด ๖ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. คารวะ ๖ * ๑. พทุ ธคารวะ เคารพในพระพทุ ธเจ้า ๒. ธมั มคารวะ เคารพในพระธรรม เคารพในพระสงฆ์ ๓. สงั ฆคารวะ เคารพในการศึกษา ๔. สิกขาคารวะ เคารพในความไมป่ ระมาท เคารพในปฏิสนั ถาร ๕. อปั ปมาทคารวะ ๖. ปฏิสนั ถารคารวะ อธิบาย คารวะ ๖ คอื ความเคารพ เออ้ื เฟ้ือ เป็นความเคารพนบั ถอื อยา่ งหนกั แน่น เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 111
๑. คารวะ คืออะไร ? มีก่ีอย่าง ? ข้อว่า คารวะในการศึกษา หมายถงึ อะไร ? (๒๕๕๒) คือ ความเคารพ เอือ้ เฟื้ อ ฯ มี ๖ อย่าง ฯ หมายถงึ ความเคารพ เอือ้ เฟื้ อในไตรสิกขา ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. อายตนะภายใน ๖ * ๑. จกั ขุ ตา ๒. โสตะ หู ๓. ฆานะ จมกู ๔. ชิวหา ลิ้น กาย ๕. กายะ ใจ ๖. มนะ อธิบาย อายตนะภายใน หมายถงึ สอ่ื เชอ่ื มต่อทอ่ี ยใู่ นตวั คน เรยี กว่า อินทรีย์ ๖ มี ๖ คอื ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ทงั้ หมดน้ีเป็นทเ่ี ชอ่ื มตอ่ กบั อายตนะภายนอก เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 112
๑. อินทรีย์ ๖ กบั อารมณ์ ๖ มีความสมั พนั ธก์ นั อย่างไร ? (๒๕๕๙) มีความสมั พนั ธก์ นั อย่างนี้ ๑) ตา เป็นใหญ่ในการเหน็ อารมณ์ คือ รปู ๒) หู เป็นใหญ่ในการฟัง อารมณ์ คือ เสียง ๓) จมกู เป็นใหญ่ในการสดู ดม อารมณ์ คือ กลิ่น ๔) ลิ้น เป็นใหญ่ในการลิ้ม อารมณ์ คือ รส ๕) กาย เป็นใหญ่ในการถกู ต้อง อารมณ์ คือ โผฏฐพั พะ ๖) ใจ เป็นใหญ่ในการรู้ อารมณ์ คือ ธรรม ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. อายตนะภายใน ๖ ได้แก่อะไรบา้ ง ? (๒๕๕๔) ได้แก่ ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 113
๑. อายตนะภายนอก ๖ * ๑. รปู ะ รปู ๒. สทั ทะ เสียง ๓. คนั ธะ กลิ่น ๔. รสะ รส ๕. โผฏฐพั พะ ผสั สะท่ีถกู ต้องกาย ๖. ธรรมารมณ์ เรอื่ งราวหรอื อารมณ์ที่เกิดกบั ใจ อธิบาย อายตนะภายนอก หมายถงึ สอ่ื เชอ่ื มตอ่ ทอ่ี ยนู่ อกตวั คน บา้ ง เรยี กวา่ อารมณ์ ๖ มี ๖ คอื รปู เสยี ง กลนิ่ รส โผฏฐพั พะ ธรรมารมณ์ ทงั้ หมดน้ีเป็นคกู่ บั อายตนภายใน เชน่ รปู คกู่ บั ตา หคู ู่กบั เสยี ง เป็นตน้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. อายตนะภายนอก ๖ ได้แก่อะไรบา้ ง ? (๒๕๖๑) ได้แก่ รปู , เสียง, กล่ิน, รส, โผฏฐพั พะ คือ อารมณ์ที่มา ถกู ต้องกาย, ธรรม คือ อารมณ์ท่ีเกิดกบั ใจ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 114
สตั ตกะ หมวด ๗ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. สปั ปรุ ิสธรรม ๗ * ๑. ธมั มญั ญตุ า ความเป็นผรู้ จู้ กั เหตุ ๒. อตั ถญั ญตุ า ความเป็นผรู้ จู้ กั ผล ๓. อตั ตญั ญตุ า ความเป็นผรู้ จู้ กั ตน ๔. มตั ตญั ญตุ า ความเป็นผรู้ จู้ กั ประมาณ ๕. กาลญั ญตุ า ความเป็นผรู้ จู้ กั กาล ๖. ปริสญั ญตุ า ความเป็นผรู้ จู้ กั ประชุมชน ๗. ปคุ คลปโรปรญั ญตุ า ความเป็นผรู้ จู้ กั เลือกคบบคุ คล อธิบาย สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ เป็นธรรมของสตั บุรษุ หรอื ธรรมทท่ี าใหเ้ ป็น สตั บรุ ษุ , ธรรมของคนดี เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 115
๑. จงให้ความหมายของคาว่าต่อไปนี้ ? (๒๕๕๗) ๑) ธมั มญั ญตุ า ๒) มตั ตญั ญตุ า ๓) กาลญั ญตุ า ๑) ธมั มญั ญตุ า คือ ความเป็นผรู้ จู้ กั เหตุ เช่น รจู้ กั ว่า สิ่งนี้ เป็นเหตแุ ห่งสขุ ส่ิงนี้เป็นเหตแุ ห่งทุกข์ ๒) มตั ตญั ญตุ า คือ ความเป็นผรู้ จู้ กั ประมาณในการ แสวงหาเครอื่ งเลี้ยงชีวิต แต่โดยทางที่ชอบและรปู้ ระมาณใน การบริโภคแต่พอควร ๓) กาลญั ญตุ า คือ ความเป็นผรู้ จู้ กั กาลเวลาอนั สมควร ในอนั ประกอบกิจนัน้ ๆ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 116
อฏั ฐกะ หมวด ๘ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. โลกธรรม ๘ * ๑. มีลาภ ๒. เสื่อมลาภ ๓. มียศ ๔. เสื่อมยศ ๕. นินทา ๖. สรรเสริญ ๗. สขุ ๘. ทกุ ข์ อธิบาย โลกธรรม ๘ เป็นธรรมทค่ี รอบงาสตั วโ์ ลกอยู่ ควรพจิ ารณาวา่ สง่ิ น้เี กดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ รา กส็ กั แต่วา่ เกดิ ขน้ึ มนั ไม่เทย่ี ง เป็นทุกข์ มี ความแปรปรวนเป็นธรรมดา เมอ่ื พจิ ารณาเหน็ แลว้ กอ็ ยา่ ยนิ ดใี นสว่ น ทน่ี ่าปรารถนา และอยา่ ยนิ รา้ ยในสว่ นทไ่ี มน่ ่าปรารถนา เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 117
๑. เมื่อโลกธรรม ๘ เกิดขึน้ แก่ตน ควรพิจารณาอย่างไร ? (๒๕๕๙) ควรพิจารณาว่า สิ่งนี้เกิดขึน้ แล้วแก่เรา กส็ กั แต่ว่า เกิดขึน้ มนั ไม่เที่ยง เป็นทกุ ข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา เมอ่ื พิจารณาเหน็ แล้วกอ็ ย่ายินดีในส่วนที่น่าปรารถนา และอย่ายินรา้ ยในส่วนท่ีไม่น่าปรารถนา ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. โลกธรรม ๘ มีอะไรบา้ ง? (๒๕๕๕) ๑) มีลาภ ๒) ไม่มีลาภ ๓) มียศ ๔) ไม่มียศ ๕) สรรเสริญ ๖) นินทา ๗) สขุ ๘) ทกุ ข์ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 118
๒. มรรคมีองค์ ๘ * ๑. สมั มาทิฏฐิ เหน็ ชอบ ๒. สมั มาสงั กปั ปะ ดาริชอบ ๓. สมั มาวาจา เจรจาชอบ ๔. สมั มากมั มนั ตะ ทาการงานชอบ ๕. สมั มาอาชีวะ เลีย้ งชีวิตชอบ ๖. สมั มาวายามะ เพียรชอบ ๗. สมั มาสติ ระลึกชอบ ๘. สมั มาสมาธิ ตงั้ ใจไวช้ อบ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. มรรคมีองค์ ๘ สมั มากมั มนั ตะ ทาการงานชอบ คอื ทาโดยเวน้ จากกาย ทจุ รติ ๓ ไดแ้ ก่ ๑) เวน้ จากการฆา่ สตั ว์ ๒) เวน้ จากการลกั ทรพั ย์ ๓) เวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม สมั มาวายามะ เพยี รชอบ คอื เพยี รในท่ี ๔ สถาน (สมั มปั ปธาน ๔) คอื ๑) เพยี รระวงั ไมใ่ หบ้ าปเกดิ ขน้ึ ๒) เพยี รละ บาปทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ๓) เพยี รใหก้ ุศลเกดิ ขน้ึ ๔) เพยี รรกั ษากุศลท่ี เกดิ ขน้ึ แลว้ สมั มาวาจา เจรจาชอบ คอื เจรจาเวน้ จากวจที จุ รติ ๔ ไดแ้ ก่ ๑) เวน้ จากพดู เทจ็ ๒) เวน้ จากพดู สอ่ เสยี ด ๓) เวน้ จากพดู คาหยาบ ๔) เวน้ จากพดู เพอ้ เจอ้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 119
๑. สมั มากมั มนั ตะ ทาการงานชอบ คือทาอย่างไร ? (๒๕๖๑) คือ ทาโดยเว้นจากกายทุจริต ๓ ได้แก่ ๑) เว้นจากการฆ่าสตั ว์ ๒) เว้นจากการลกั ทรพั ย์ ๓) เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. สมั มาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรอย่างไร? (๒๕๕๕) เพียรในที่ ๔ สถาน (สมั มปั ปธาน ๔) คือ ๑) เพียรระวงั ไมใ่ ห้บาปเกิดขึน้ ๒) เพียรละบาปที่เกิดขึน้ แล้ว ๓) เพียรให้กศุ ลเกิดขึน้ ๔) เพียรรกั ษากศุ ลที่เกิดขึน้ แล้ว ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 120
๓. คาว่า เจรจาชอบ ในมรรคมีองค์ ๘ นัน้ คือ เจรจาอย่างไร ? (๒๕๖๐) เจรจาเว้นจากวจีทุจริต ๔ ได้แก่ ๑) เว้นจากพดู เทจ็ ๒) เว้นจากพดู ส่อเสียด ๓) เว้นจากพดู คาหยาบ ๔) เวน้ จากพดู เพ้อเจ้อ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 121
นวกะ หมวด ๙ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. มละ ๙ * โกรธ ๑. โกธะ ลบหล่คู ณุ ท่าน ริษยา ๒. มกั ขะ ตระหนี่ ๓. อิสสา มารยา ๔. มจั ฉริยะ มกั อวด ๕. มายา พดู ปด ๖. สาเถยยะ มีความปรารถนาลามก ๗. มุสาวาท เหน็ ผิดจากคลองธรรม ๘. ปาปิ จฉา ๙. มิจฉาทิฏฐิ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 122
๑. มละ ๙ อธิบาย มละ ๙ เป็นกเิ ลสทเ่ี ป็นมลทนิ ของใจ ๑) โกรธ ชาระดว้ ยเมตตา ๒) มกั ขะ ชาระดว้ ยกตญั ญกู ตเวที ๓) อิสสา ชาระดว้ ยมทุ ติ า ๔) มจั ฉริยะ ชาระดว้ ยจาคะ ๕) สาเถยยะ ชาระดว้ ยความซ่อื ตรง ๖) สาเถยยะ ชาระดว้ ย ถอ่ มตน ๗) มสุ าวาท ชาระดว้ ยพดู จรงิ ๘) ปาปิ จฉา ชาระดว้ ยมกั น้อยสนั โดษ ๙) มิจฉาทิฏฐิ ชาระดว้ ยสมั มาทฏิ ฐิ สว่ นปาปิจฉา คอื ความปรารถนาจะใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจผดิ ใน คณุ สมบตั อิ นั ไมม่ ใี นตน เชน่ อยากใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจวา่ ตนมศี รทั ธา ศลี เป็นตน้ ซง่ึ ไมม่ ใี นตน เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. มละ คืออะไร ? เป็นศิษยไ์ ด้ดีแล้วทามึนตึงกบั อาจารย์ จดั เข้าในมละอย่างไหน ? และควรชาระมละอย่างนัน้ ด้วย ธรรมอะไร ? (๒๕๕๐, ๒๕๕๒) มละ คือมลทิน จดั เข้าในมกั ขะ ลบหล่คู ณุ ท่าน ฯ ควรชาระด้วยกตญั ญกู ตเวทิตา ความรคู้ ณุ ท่านแล้ว ตอบแทน ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 123
ทสกะ หมวด ๑๐ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑.ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ๑๐* ๑. บดั น้ีเรามเี พศต่างจากคฤหสั ถแ์ ลว้ อาการกริ ยิ าใดๆ ของ สมณะ เราตอ้ งทาอาการกริ ยิ านนั้ ๆ ๒. การเลย้ี งชวี ติ ของเราเน่อื งดว้ ยผอู้ น่ื เราควรทาตวั ใหเ้ ขา เลย้ี งงา่ ย ๓. อาการทางกาย วาจา อยา่ งอน่ื ทเ่ี ราจะตอ้ งทาใหด้ ขี น้ึ ไปกวา่ น้ยี งั มอี ยอู่ กี ไมใ่ ชเ่ พยี งเท่าน้ี ๔. ตวั ของเราเองตเิ ตยี นตวั เราเองโดยศลี ไดห้ รอื ไม่ ๕. ผรู้ ใู้ ครค่ รวญแลว้ ตเิ ตยี นเราโดยศลี ไดห้ รอื ไม่ ๖. เราจะตอ้ งพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจทงั้ นนั้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 124
๗. เรามกี รรมเป็นของตวั เราทาดจี กั ไดด้ ี ทาชวั่ จกั ไดช้ วั่ ๘. วนั คนื ลว่ งไป ๆ บดั น้ีเราทาอะไรอยู่ ๙. เรายนิ ดใี นทส่ี งดั หรอื ไม่ ๑๐. คุณวเิ ศษของเรามอี ยหู่ รอื ไม่ ทจ่ี ะทาใหเ้ ราเป็นผไู้ มเ่ กอ้ เขนิ ในเวลาเพอ่ื นบรรพชติ ถาม ในกาลภายหลงั เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. บรรพชิตผพู้ ิจารณาเนือง ๆ ว่า วนั คืนล่วงไป ๆ บดั นี้เราทาอะไรอยู่ จะได้รบั ประโยชน์อะไร ? (๒๕๕๖) จะได้รบั ประโยชน์ คือ เป็นผไู้ ม่ประมาท มีความเพียร งดเว้นสิ่งท่ีเป็นโทษ ทาในส่ิงท่ีเป็นประโยชน์ ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 125
คิหิปฏิบตั ิ (ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องคฤหสั ถ)์ จตกุ กะ คือ หมวด ๔ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ฆราวาสธรรม ๔ * ๑. สจั จะ ซ่ือสตั ยต์ ่อกนั ๒. ทมะ รจู้ กั ข่มจิตของตน ๓. ขนั ติ ความอดทน ๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนท่ีควรให้ปัน อธิบาย ฆราวาสธรรม ๔ เป็นธรรมสาหรบั ใชใ้ นการครองเรอื นของ คฤหสั ถ์ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 126
๑. ฆราวาสผคู้ รองเรอื น ควรตงั้ อย่ใู นธรรมข้อใดบา้ ง ? (๒๕๕๕, ๒๕๕๙, ๒๕๖๑) ควรตงั้ อย่ใู นฆราวาสธรรม ๔ คือ ๑) สจั จะ สตั ยซ์ ่ือต่อกนั ๒) ทมะ รจู้ กั ข่มจิตของตน ๓) ขนั ติ อดทน ๔) จาคะ สละให้ปันส่ิงของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. อบายมขุ ๔ * ๑. ความเป็นนักเลงหญิง ๒. ความเป็นนักเลงสรุ า ๓. ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน ๔. ความคบคนชวั่ เป็นมิตร อธิบาย อบายมขุ ๔ เป็นทางแหง่ ความเสอ่ื มหรอื เหตุเป็นเครอ่ื งฉิบหาย เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 127
๑. อบายมขุ คืออะไร ? ความเป็นนักเลงสรุ าจดั เป็นอบายมุข เพราะเหตไุ ร ? (๒๕๕๗) อบายมขุ คือ เหตเุ ครอื่ งฉิบหาย ฯ เพราะเป็นเหตใุ ห้เสียทรพั ย์ ก่อการทะเลาะวิวาท เกิด โรค ต้องติเตียน ไมร่ จู้ กั อาย ทอนกาลงั ปัญญา ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๒. อบายมขุ ๔ มีอะไรบา้ ง ? (๒๕๖๐) ๑) ความเป็นนักเลงหญิง ๒) ความเป็นนักเลงสรุ า ๓) ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน ๔) ความคบคนชวั่ เป็นมิตร ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 128
๓. ทิฏฐธมั มิกตั ถประโยชน์ ๔ * ๑. อฏุ ฐานสมั ปทา ถงึ พรอ้ มด้วยความหมนั่ ๒. อารกั ขสมั ปทา ถึงพร้อมด้วยการรกั ษา ๓. กลั ยาณมิตตตา ความมีเพอ่ื เป็นคนดี ๔. สมชีวิตา ความเลีย้ งชีวิตตามสมควร อธิบาย ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถประโยชน์ ๔ เป็นธรรมทเ่ี ป็นไปเพอ่ื ประโยชน์ใน ปัจจุบนั เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) อธิบาย ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถประโยชน์ ๔ เป็นธรรมทเ่ี ป็นไปเพอ่ื ประโยชน์ใน ปัจจบุ นั มดี งั น้ี ๑) อุฏฐานสมั ปทา คอื ถงึ พรอ้ มดว้ ยความหมนั่ ในการประกอบ กจิ เครอ่ื งเลย้ี งชวี ติ กด็ ี ในการศกึ ษาเล่าเรยี นกด็ ี ในการทาธุระหน้าท่ี ของตนกด็ ี ๒) อารกั ขสมั ปทา คอื ถงึ พรอ้ มดว้ ยการรกั ษา คอื รกั ษาทรพั ย์ ทแ่ี สวงหามาไดด้ ว้ ยความหมนั่ ไมใ่ หเ้ ป็นอนั ตรายกด็ ี รกั ษาการงาน ของตน ไมใ่ หเ้ สอ่ื มเสยี ไป ๓) กลั ยาณมติ ตตา คอื ความมเี พอ่ื นเป็นคนดี ไมค่ บคนชวั่ ๔) สมชวี ติ า คอื ความเลย้ี งชวี ติ ตามสมควรแกก่ าลงั ทรพั ยท์ ่ี หาไดไ้ มใ่ หฝ้ ืดเคอื งนกั ไมใ่ หฟ้ ุ่มเฟือยนกั เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 129
๑. ธรรมท่ีเป็นไปเพ่ือประโยชน์ในปัจจบุ นั เรียกว่าอะไร ? มี อะไรบา้ ง ? (๒๕๕๒) ผหู้ วงั ประโยชน์ปัจจบุ นั จะต้องปฏิบตั ิ อย่างไรจึงจะได้สมหวงั ? (๒๕๖๒) เรียกว่า ทิฏฐธมั มิกตั ถประโยชน์ ฯ มีดงั นี้ ๑) อฏุ ฐานสมั ปทา คือ ถงึ พร้อมด้วยความหมนั่ ในการ ประกอบกิจ เครอ่ื งเลี้ยงชีวิตกด็ ี ในการศึกษาเล่าเรียนกด็ ี ใน การทาธรุ ะหน้าท่ีของตนกด็ ี ๒) อารกั ขสมั ปทา คือ ถึงพรอ้ มด้วยการรกั ษา คือรกั ษา ทรพั ยท์ ่ีแสวงหามาได้ด้วยความหมนั่ ไมใ่ ห้เป็นอนั ตรายกด็ ี รกั ษาการงานของตน ไมใ่ ห้เสื่อมเสียไป ๓) กลั ยาณมิตตตา คือ ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไมค่ บคนชวั่ ๔) สมชีวิตา คือ ความเลีย้ งชีวิตตามสมควรแก่กาลงั ทรพั ย์ ท่ีหาได้ไมใ่ ห้ฝื ดเคืองนัก ไม่ให้ฟ่ มุ เฟื อยนัก ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔. มิตรแท้ ๔ จาพวก * ๑. มิตรมีอปุ การะ ๒. มิตรรว่ มสขุ รว่ มทกุ ข์ ๓. มิตรแนะนาประโยชน์ ๔. มิตรมีความรกั ใคร่ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 130
๑. มิตรแท้ที่ควรคบ มีกี่ประเภท ? อะไรบา้ ง ? (๒๕๖๐) มี ๔ ประเภท คือ ๑) มิตรมีอปุ การะ ๒) มิตรรว่ มสขุ รว่ มทุกข์ ๓) มิตรแนะประโยชน์ ๔) มิตรมีความรกั ใคร่ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔. มิตรแท้ ๔ จาพวก ๑. มิตรมีอปุ การะ มีลกั ษณะ ๔ ๑. ป้องกนั เพ่ือนผปู้ ระมาทแล้ว ๒. ป้องกนั ทรพั ยส์ มบตั ิของเพ่ือนผปู้ ระมาทแล้ว ๓. เมอ่ื มีภยั เอาเป็นท่ีพึ่งพานักได้ ๔. เมอื่ มีธรุ ะ ช่วยออกทรพั ยใ์ ห้เกินกว่าที่ออกปาก เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 131
๔. มิตรแท้ ๔ จาพวก * ๒. มิตรรว่ มสขุ รว่ มทกุ ข์ มีลกั ษณะ ๔ ๑. ขยายความลบั ของตนแก่เพ่ือน ๒. ปิ ดความลบั ของเพ่ือนไมใ่ ห้แพรง่ พราย ๓. ไม่ละทิ้งในยามวิบตั ิ ๔. แม้ชีวิตกอ็ าจสละแทนได้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ข้อว่า “แม้ชีวิตกอ็ าจสละแทนได้” ดงั นี้ เป็นลกั ษณะของ มิตรแท้ ประเภทใด ? (๒๕๕๑) มิตรรว่ มสขุ รว่ มทกุ ข์ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 132
๔. มิตรแท้ ๔ จาพวก ๓. มิตรแนะประโยชน์ มีลกั ษณะ ๔ ๑. ห้ามไม่ให้ทาความชวั่ ๒. แนะนาให้ตงั้ อย่ใู นความดี ๓. ให้ฟังส่ิงที่ยงั ไมเ่ คยฟัง ๔. บอกทางสวรรคใ์ ห้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๔. มิตรแท้ ๔ จาพวก ๔.มิตรมีความรกั ใคร่ มีลกั ษณะ ๔ ๑. ทุกข์ ทุกขด์ ้วย ๒. สขุ สขุ ด้วย ๓. โต้เถียงคนท่ีพดู ติเตียนเพื่อน ๔. รบั รองคนที่พดู สรรเสริญเพ่ือน เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 133
๕. สงั คหวตั ถุ ๔ * ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ ๒. ปิ ยวาจา เจรจาวาจาท่ีอ่อนหวาน ๓. อตั ถจริยา ประพฤติส่ิงที่เป็นประโยชน์ ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไมถ่ อื ตวั อธิบาย สงั คหวตั ถุ ๔ เป็นธรรมเป็นเครอ่ื งยดึ เหน่ียวน้าใจของผอู้ น่ื ไวไ้ ด้ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. คณุ ธรรมเป็นเครอื่ งยึดเหน่ียวน้าใจของผอู้ ื่นไวไ้ ด้ มีอะไรบา้ ง ? (๒๕๕๑, ๒๕๕๔, ๒๕๕๖, ๒๕๖๑) ๑) ทาน คือ ให้ปันส่ิงของ ของตนแก่ผอู้ ่ืนท่ีควรให้ปัน ๒) ปิ ยวาจา คือ เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๓) อตั ถจริยา คือ ประพฤติสิ่งท่ีเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ื่น ๔) สมานัตตตา คือ ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตวั ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 134
๖. สขุ ของคฤหสั ถ์ ๔ * ๑. สขุ เกิดจากความมีทรพั ย์ ๒. สขุ เกิดจากการจา่ ยทรพั ยบ์ ริโภค ๓. สขุ เกิดจากความไม่ต้องเป็นหนี้ ๔. สขุ เกิดจากการประกอบการงานท่ีปราศจากโทษ อธิบาย สขุ ของคฤหสั ถ์ ๔ เป็นความสขุ ของผคู้ รองเรอื นตามหลกั พระพทุ ธศาสนา เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑.ความสขุ ของผคู้ รองเรอื นตามหลกั พระพทุ ธศาสนา เกิดมาจากเหตอุ ะไรบา้ ง ? (๒๕๖๒) เกิดจากเหตุ ๔ อย่าง คือ ๑) สขุ เกิดแต่ความมีทรพั ย์ ๒) สขุ เกิดแต่การจ่ายทรพั ยบ์ ริโภค ๓) สขุ เกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้ ๔) สขุ เกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 135
๗. ตระกลู อนั มงั่ คงั่ จะตงั้ อย่นู านไม่ได้ เพราะสถาน ๔ * ๑. ไมแ่ สวงหาพสั ดทุ ่ีหายไปแล้ว ๒. ไมบ่ รู ณะพสั ดทุ ี่ครา่ ครา่ ๓. ไมร่ จู้ กั ประมาณในการบริโภค ๔. ตงั้ สตรีหรอื บรุ ษุ ทศุ ีลให้เป็นแมบ่ า้ น พ่อเรอื น เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ตระกลู อนั มงั่ คงั่ จะตงั้ อย่นู านไมไ่ ด้ เพราะเหตอุ ะไร? (๒๕๕๕) เพราะเหตุ ๔ อย่าง คือ ๑) ไมแ่ สวงหาพสั ดทุ ี่หายแล้ว ๒) ไมบ่ รู ณะพสั ดทุ ่ีครา่ ครา่ ๓) ไม่รจู้ กั ประมาณในการบริโภคสมบตั ิ ๔) ตงั้ สตรีหรอื บรุ ษุ ทุศีล ให้เป็นแม่เรอื นพ่อเรอื น ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 136
คิหิปฏิบตั ิ (ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องคฤหสั ถ)์ ปัญจกะ คือ หมวด ๕ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ศีล ๕ * ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี ๒. อทินนาทานา เวรมณี ๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี ๔. มุสาวาทา เวรมณี ๕. สรุ าเมรยมชั ชปมาทฏั ฐานา เวรมณี อธิบาย ศลี ๕ เหตุใหอ้ ยดู่ กี นิ ดี ใหม้ งั่ มศี รสี ขุ และใหอ้ ยู่เยน็ เป็นสขุ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 137
๑. ศีล ๕ ผลของการละเมิดศีล ๕ ๑. ฆ่าสตั ว์ อานวยให้ มีอายสุ นั้ ๒. ลกั ทรพั ย์ อานวยให้ โภคทรพั ยฉ์ ิบหาย ๓. ทาชู้ อานวยให้ มีค่เู วรจองล้างมาก ๔. พดู เทจ็ อานวยให้ ถกู กล่าวตู่ ๕. พดู ส่อเสียด อานวยให้ แตกจากมิตร ๖. พดู คาหยาบ อานวยให้ ได้ฟังแต่เสียงไม่ช่ืนใจ ๗. พดู เพ้อเจ้อ อานวยให้ วาจาไม่เป็นท่ีเช่ือถอื ๘. ดื่มน้าเมา อานวยให้ เป็นคนบา้ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ศีลที่คฤหสั ถค์ วรรกั ษาเป็นนิตย์ คือศีลอะไร ? ได้แก่อะไรบา้ ง ? (๒๕๕๓, ๒๕๕๖, ๒๕๖๑) คือ ศีล ๕ ฯ ได้แก่ ๑) เว้นจากทาชีวิตสตั วใ์ ห้ตกล่วงไป ๒) เว้นจากถอื เอาสิ่งของท่ีเจ้าของไมไ่ ด้ให้ด้วยอาการ แห่งขโมย ๓) เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ๔) เวน้ จากพดู เทจ็ ๕) เวน้ จากดื่มน้าเมา คือ สรุ าและเมรยั อนั เป็นท่ีตงั้ แห่ง ความประมาท ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 138
๒. มิจฉาวณิชชา ๕ * ๑. ค้าขายเครื่องประหาร ๒. ค้าขายมนุษย์ ๓. ค้าขายสตั วเ์ ป็นสาหรบั ฆ่าเพื่อเป็นอาหาร ๔. ค้าขายน้าเมา ๕. ค้าขายยาพิษ อธิบาย มจิ ฉาวณิชชา ๕ คอื การคา้ ขายไมช่ อบธรรม เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. มิจฉาวณิชชา คืออะไร ? การค้าขายเดก็ การค้าขายยา เสพติด การค้าขายเบด็ ตกปลา จดั เป็นมิจฉาวณิชชาข้อใด ? (๒๕๕๒) มิจฉาวณิชชา คือ การค้าขายไม่ชอบธรรม ฯ การค้าขายเดก็ จดั เข้าในค้าขายมนุษย์ การค้าขายยาเสพติด จดั เข้าในค้าขายน้าเมา การค้าขายเบด็ ตกปลา จดั เขา้ ในค้าขายเครอ่ื งประหาร ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 139
๒. อบุ าสกอบุ าสิกา ได้แก่บคุ คลเช่นไร ? การค้าขายที่ห้าม อบุ าสกอบุ าสิกาประกอบ คืออะไรบา้ ง ? (๒๕๕๔) ได้แก่ คฤหสั ถผ์ ถู้ ึงพระรตั นตรยั เป็นสรณะ ฯ คือ ๑) ค้าขายเคร่อื งประหาร ๒) ค้าขายมนุษย์ ๓) ค้าขายสตั วเ์ ป็นสาหรบั ฆ่าเพื่อเป็นอาหาร ๔) ค้าขายน้าเมา ๕) ค้าขายยาพิษ ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๓. การค้าขายสรุ า เป็นอาชีพที่ถกู ต้องตามกฎหมาย ในทาง พระพทุ ธศาสนา มีความเหน็ ไว้อย่างไร ? (๒๕๕๑) ทางพระพทุ ธศาสนา จดั เป็นมิจฉาวณิชชา การค้าขายไม่ชอบธรรมเป็นข้อห้าม อบุ าสกไม่ควร ประกอบ ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 140
๓. สมบตั ิของอบุ าสก ๕ (ช-ญ) * ๑. ประกอบด้วยศรทั ธา ๒. มีศีลบริสทุ ธ์ิ ๓. ไมถ่ อื มงคลตื่นข่าว คือ เช่ือกรรม ไมเ่ ชื่อมงคล ๔. ไมแ่ สวงหาเขตบญุ นอกพระพทุ ธศาสนา ๕. บาเพญ็ บญุ แต่ในพระพทุ ธศาสนา อธิบาย อุบาสกธรรม คอื คณุ สมบตั ปิ ระจาตวั ของคฤหสั ถ์ ผนู้ ับถอื พระพทุ ธศาสนา เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. อบุ าสกอบุ าสิกาควรตงั้ อย่ใู นคณุ สมบตั ิอะไรบา้ ง ? (๒๕๕๗) อบุ าสกอบุ าสิกาควรตงั้ อย่ใู นคณุ สมบตั ิ ๕ ประการ คือ ๑) ประกอบด้วยศรทั ธา ๒) มีศีลบริสทุ ธ์ิ ๓) ไมถ่ ือมงคลต่ืนข่าว คือ เช่ือเรอ่ื งกรรม ไม่เช่ือมงคล ๔) ไม่แสวงหาเขตบญุ นอกพระพทุ ธศาสนา ๕) บาเพญ็ บญุ แต่ในพระพทุ ธศาสนา ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หนา้ 141
คิหิปฏิบตั ิ (ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องคฤหสั ถ)์ ฉักกะ คือ หมวด ๖ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ทิศ ๖ * ๑. ปรุ ตั ถิมทิส ทิศเบอื้ งหน้า มารดาบิดา ๒. ทกั ขิณทิส ทิศเบอื้ งขวา ครอู าจารย์ ๓. ปัจฉิมทิส ทิศเบอื้ งหลงั บตุ รภรรยา ๔. อตุ ตรทิส ทิศเบอื้ งซ้าย มิตร ๕. เหฏฐิมทิส ทิศเบอื้ งตา่ บา่ วไพร่ ๖. อปุ ริมทิส ทิศเบอื้ งบน สมณพราหมณ์ อธิบาย ทศิ ๖ คอื บคุ คลประเภทตา่ ง ๆ ทเ่ี ราตอ้ งเกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธท์ าง สงั คม ดจุ ทศิ รอบตวั เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 142
๑. ในทิศ ๖ เหล่านี้หมายถึงใคร ? (๒๕๕๗) ก) ทิศเบอื้ งหน้า ข) ทิศเบอื้ งขวา ค) ทิศเบอื้ งหลงั ง) ทิศเบอื้ งซ้าย จ) ทิศเบอื้ งบน ก) ทิศเบอื้ งหน้า คือ บิดา มารดา ข) ทิศเบอื้ งขวา คือ ครอู าจารย์ ค) ทิศเบอื้ งหลงั คือ บตุ รภรรยา ง) ทิศเบอื้ งซ้าย คือ มิตรสหาย จ) ทิศเบอื้ งบน คือ สมณพราหมณ์ ฯ เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. ปรุ ตั ถิมทิศ (ทิศเบอื้ งหน้า มารดาบิดา) * บตุ รพึงบารงุ มารดาบิดาด้วยสถาน ๕ ดงั นี้ ๑. ท่านได้เลี้ยงเรามาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ ๒. ช่วยทากิจของท่าน ๓. ดารงวงศส์ กลุ ๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรบั ทรพั ยม์ รดก ๕. เมื่อท่านล่วงลบั ไปแล้ว ทาบญุ อทุ ิศให้ท่าน เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 143
๑. ปรุ ตั ถิมทิศ (ทิศเบอื้ งหน้า มารดาบิดา) มารดาบิดาพึงอนุเคราะหบ์ ตุ ร ด้วยสถาน ๕ ดงั นี้ ๑. ด้วยห้ามไม่ให้ทาความชวั่ ๒. ด้วยสอนให้ตงั้ อย่ใู นความดี ๓. ด้วยการให้ศึกษาศิลปวิทยา ๔. ด้วยหาค่คู รองท่ีเหมาะสม ๕. ด้วยมอบทรพั ยใ์ ห้ในสมยั เก็งสอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชน้ั ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) ๑. บตุ รธิดาพึงปฏิบตั ิต่อมารดาบิดาอย่างไร ? (๒๕๕๘) พึงปฏิบตั ิอย่างนี้ ๑) ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลีย้ งท่านตอบ ๒) ทากิจของท่าน ๓) ดารงวงศส์ กลุ ๔) ประพฤติตนให้เป็นคนควรรบั ทรพั ยม์ รดก ๕) เมื่อท่านล่วงลบั ไปแล้ว ทาบญุ อทุ ิศให้ท่าน ฯ เกง็ สอบธรรม สนามหลวง นกั ธรรมชนั้ ตรี วชิ าธรรมวภิ าค โดย พระอตคิ ุณ ฐติ วโร, ดร. ร.ร.พระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย (ส.ค. ๒๕๖๓) หน้า 144
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341