๔ ม ห า มิ ต ร 50 พูดถึงความจงรักภักดี และความเคารพรักในพระผู้มีพระภาค พระอานนท์มีอยู่อย่างสุดพรรณนา ยอมสละแม้แต่ชีวิตของท่าน เพอื่ พระพทุ ธองคไ์ ดอ้ ยา่ งอาจหาญ เชน่ ครงั้ หนง่ึ พระเทวทตั รว่ มกบั พระเจ้าอชาตศัตรูวางแผนสังหารพระจอมมุน ี โดยการปล่อยช้าง นาฬาคิรีซึ่งก�ำลังตกมันและมอมเหล้าเสีย ๑๖ หม้อ ช้างนาฬาคิรี ย่ิงคะนองมากขน้ึ วนั นน้ั เวลาเช้า พระพุทธองคม์ พี ระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ เขา้ สนู่ ครราชคฤหเ์ พอื่ บณิ ฑบาต ในขณะทพี่ ระองคก์ ำ� ลงั รบั อาหาร จากสตรผี หู้ นงึ่ อยนู่ น้ั เสยี งแปรน๋ ๆ ของนาฬาคริ ดี งั ขน้ึ ประชาชนท่ี คอยดักถวายอาหารแด่พระผู้มีพระภาคแตกกระจายว่ิงเอาตัวรอด
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า 51
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ทง้ิ ภาชนะอาหารเกลอื่ นกลาด พระพทุ ธองคเ์ หลยี วมาทางซง่ึ ชา้ งใหญ ่ ก�ำลังวิ่งมาด้วยอาการสงบ พระอานนท์พุทธอนุชา เดินล�้ำมายืน เบอ้ื งหนา้ ของพระผมู้ พี ระภาคดว้ ยคดิ จะปอ้ งกนั ชวี ติ ของพระศาสดา ด้วยชีวติ ของท่านเอง “หลกี ไปเถดิ อานนท ์ อยา่ ปอ้ งกนั เรา” พระศาสดาตรสั อยา่ ง ปรกติ “พระองค์ผู้เจริญ” พระอานนท์ทูล “ชีวิตของพระองค์มีค่า ยิ่งนัก พระองค์อยู่เพื่อประโยชน์แก่โลก เป็นดวงประทีปของโลก เปน็ ทพี่ งึ่ ของโลก ประดจุ โพธแิ์ ละไทรเปน็ ทพี่ งึ่ ของหมนู่ ก เหมอื นนำ้� เป็นที่พึ่งของหมู่ปลา และป่าเป็นที่พ่ึงอาศัยของสัตว์จตุบททวิบาท 52 พระองค์อย่าเส่ียงกับอันตรายครั้งน้ีเลย ชีวิตของข้าพระองค์มีค่า นอ้ ย ขอใหข้ า้ พระองคไ์ ดส้ ละสง่ิ มคี า่ นอ้ ย เพอ่ื รกั ษาสง่ิ ซงึ่ มคี า่ มาก เหมือนสละกระเบื้อง เพอื่ รักษาไว้ซ่ึงแกว้ มณเี ถดิ พระเจา้ ข้า” “อยา่ เลย อานนท ์ บารมเี ราไดส้ รา้ งมาดแี ลว้ ไมม่ ใี ครสามารถ ปลงตถาคตลงจากชวี ติ ได ้ ไมว่ า่ สตั วด์ ริ จั ฉานหรอื มนษุ ยห์ รอื เทวดา มารพรหมใดๆ” ขณะนน้ั นาฬาคริ วี ง่ิ มาจวนจะถงึ องคพ์ ระจอมมนุ อี ยแู่ ลว้ เสยี ง ร้องกร๊ีดของหมู่สตรีดังข้ึนเป็นเสียงเดียวกัน ทุกคนอกสั่นขวัญหนี นกึ วา่ ครง้ั นแ้ี ลว้ เปน็ วาระสดุ ทา้ ยทเ่ี ขาจะไดเ้ หน็ พระศาสดาผบู้ รสิ ทุ ธิ ์ ดุจดวงตะวนั พระพุทธองคท์ รงแผ่พระเมตตาซง่ึ อบรมมาเป็นเวลา ยดื ยาวนานหลายแสนชาตซิ า่ นออกจากพระหฤทยั กระทบเขา้ กบั ใจ อนั คลกุ อยดู่ ว้ ยความมนึ เมาของนาฬาคริ ี ชา้ งใหญห่ ยดุ ชะงกั เหมอื น กระทบกับเหล็กท่อนใหญ่ ใจซึ่งเร่าร้อนกระวนกระวายเพราะ
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า โมหะของมันสงบเย็นลง เหมือนไฟน้อยกระทบกับอุทกธาราพลัน ก็ดับวูบลง มันหมอบลงแทบพระมงคลบาทของพระศาสดา พระ พุทธองค์ทรงใช้ฝ่าพระหัตถ์อันวิจิตรซึ่งส�ำเร็จมาด้วยบุญญาธิการ ลูบศรี ษะของพญาชา้ ง พร้อมด้วยตรสั ว่า “นาฬาคิรีเอย เธอถือก�ำเนิดเป็นดิรัจฉานในชาติน้ี เพราะ กรรมอนั ไมด่ ขี องเธอในชาตกิ อ่ นแตง่ ให ้ เธออยา่ ประกอบกรรมหนกั คอื ทำ� รา้ ยพระพทุ ธเจา้ เชน่ เราอกี เลย เพราะจะมผี ลเปน็ ทกุ ขแ์ กเ่ ธอ ตลอดกาลนาน” นาฬาคิรีสงบนิ่งอยู่ครู่หน่ึง แล้วใช้งวงเคล้าเคลียพระชงฆ์ ของพระผู้มีพระภาคเหมือนสารภาพผิด ความมึนเมาและตกมัน ปลาสนาการไปสน้ิ นแ่ี หละพทุ ธานุภาพ 53 ประชาชนเห็นเป็นอัศจรรย์ พากันสักการบูชาพระศาสดา ด้วยดอกไมแ้ ละของหอมจำ� นวนมาก คร้ังหนึ่ง พระผู้มีพระภาคทรงพระประชวรด้วยโรคลมใน พระอทุ ร พระอานนทเ์ ปน็ หว่ งยงิ่ นกั จงึ ไดป้ รงุ ยาค ู (ขา้ วตม้ ตม้ จน เหลว) ดว้ ยมอื ของทา่ นเอง แลว้ นอ้ มนำ� เขา้ ไปถวาย เพราะพระพทุ ธ องค์เคยตรสั ว่า ยาคเู ป็นยาไล่ลมในท้องในล�ำไส้ไดด้ ี พระพุทธองค์ ตรสั ถามวา่ “อานนท ์ เธอได้ยาคมู าจากไหน” “ขา้ พระองคป์ รงุ เอง พระเจ้าข้า” “อานนท์ท�ำไมเธอจึงท�ำอย่างน้ี เธอท�ำส่ิงที่ไม่สมควร ไม่ใช่ กิจของสมณะ เธอทราบมิใช่หรือว่าสมณะไม่ควรปรุงอาหารเอง
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ท�ำไมเธอจึงมักมากถึงปานนี้ เอาไปเทเสียเถิด อานนท์ เราไม่รับ ยาคขู องเธอดอก” พระอานนทค์ งกม้ หนา้ นง่ิ ทา่ นมไิ ดป้ รปิ ากโตแ้ ยง้ แมแ้ ตน่ อ้ ย ทา่ นเป็นผูน้ ่าสงสารอะไรเช่นน้ัน คร้ังหนึ่ง พระกายของพระผู้มีพระภาคหมักหมมด้วยสิ่ง เปน็ โทษเปน็ เหตใุ หท้ รงอดึ อดั มพี ระพทุ ธประสงคจ์ ะเสวยยาระบาย พระอานนทท์ ราบแลว้ จงึ ไปหาหมอชวี กโกมารภจั จแ์ จง้ เรอ่ื งนใ้ี หท้ ราบ หมอเรียนท่านว่า ขอให้ท่านกราบทูลให้พระองค์ทรงพักผ่อน เพ่ือ ใหพ้ ระกายชมุ่ ชนื่ สกั ๒-๓ วนั กอ่ น พระอานนทก์ ก็ ระทำ� ตามนนั้ ได ้ เวลาแล้วท่านก็ไปหาหมออีก หมอชีวกได้ปรุงยาระบายพิเศษ อบ 54 ด้วยก้านอุบล ๓ ก้าน ถวายให้พระผู้มีพระภาคสูดดม มิใช่เสวย ปรากฏวา่ ทรงระบายถงึ ๓๐ ครง้ั คร้ังหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่นิโครธาราม นคร กบิลพัสดุ์ พระองค์เพิ่งทรงฟื้นจากไข้หนักไม่นาน ท้าวมหานาม เขา้ เฝา้ และทลู ถามปญั หาหนกั ๆ เชน่ ปญั หาวา่ ญาณเกดิ กอ่ นสมาธิ หรือสมาธิเกิดก่อนญาณ ท่านอานนท์เห็นว่าเป็นการล�ำบากแก่ พระผู้มีพระภาค จึงจับพระหัตถ์ท้าวมหานาม น�ำเสด็จไปข้างนอก แก้ปัญหาน้นั เสียเอง อีกครั้งหน่ึง เม่ือพระพุทธองค์ประทับ ณ นครเวสาลี ทรง ประชวรหนักและทรงใช้ความเพียรขับไล่อาพาธน้ันจนหาย พระ อานนทท์ ลู ความในใจของทา่ นแดพ่ ระผมู้ พี ระภาคว่า “พระองคผ์ เู้ จรญิ เมอื่ พระองคท์ รงประชวรอยนู่ นั้ ขา้ พระองค์ กลมุ้ ใจเปน็ ทสี่ ดุ กายของขา้ พระองคเ์ หมอื นงอมระงมไป มคี วามรสู้ กึ
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า เหมือนว่า ทิศท้ังหลายมืดมน แต่ข้าพระองค์ก็เบาใจอยู่หน่อยหน่ึง ว่า พระองค์คงจักยังไม่ปรินิพพาน จนกว่าจะได้ประชุมสงฆ์ แล้ว ตรสั พระพุทธพจนอ์ ยา่ งใดอย่างหน่งึ ” พระอานนท์นี่เองเป็นผู้ออกแบบจีวรของพระสงฆ์ ซ่ึงใช้มา ตั้งแต่สมัยพระพุทธเจ้าด�ำรงชีวิตอยู่มาจนบัดนี้ นับว่าเป็นแบบ เคร่ืองแต่งกายเก่าแก่ที่สุดในโลก และยังทันสมัยอยู่เสมอ เข้าได ้ ทุกการทุกงาน ครง้ั หนงึ่ ทา่ นตามเสดจ็ พระผมู้ พี ระภาคไปทกั ขณิ าครี ชี นบท พระพทุ ธองคท์ อดพระเนตรเหน็ คนั นาของชาวมคธเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี ม มีคันนาส้นั ๆ คนั่ ในระหวา่ ง แล้วตรสั ถามพระอานนทว์ ่า “อานนท์ เธอจะทำ� จีวรแบบนาของชาวมคธน้ไี ดห้ รอื ไม่” 55 “ลองท�ำดูกอ่ น พระเจา้ ขา้ ” ท่านทลู ตอบ ต่อมา ท่านได้ท�ำการตัดเย็บจีวรแบบคันนาของชาวมคธน้ัน แล้วน�ำข้ึนทูลถวายให้พระผู้มีพระภาคทรงพิจารณา พระพุทธองค ์ ทอดพระเนตรแล้วเห็นชอบด้วย รับสั่งให้ภิกษุทั้งหลายใช้จีวรที่ตัด และเยบ็ แบบทที่ า่ นอานนทอ์ อกแบบนน้ั พรอ้ มกนั นนั้ ไดต้ รสั ชมเชย ท่านอานนท์ท่ามกลางสงฆว์ า่ “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย อานนทเ์ ปน็ คนฉลาด มปี ญั ญา สามารถเขา้ ใจ ในคำ� ท่เี ราพูดแตโ่ ดยยอ่ ได้โดยทวั่ ถึง” พูดถึงเรื่องประหยัด หรือใช้ส่ิงของให้คุ้มค่า พระอานนท ์ ก็เป็นผู้ประหยัดและฉลาดในเร่ืองน้ีมาก ดังครั้งหนึ่งหลังพุทธ- ปรินิพพาน ท่านเดนิ ทางโดยทางเรอื ไปส่นู ครโกสัมพ ี เพื่อประกาศ ลงพรหมทัณฑ์แก่พระฉนั นะพระหวั ดื้อ ตามรบั สงั่ ของพระผ้มู ีพระ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ภาค ขนึ้ จากเรอื แลว้ ทา่ นเขา้ อาศยั พกั ณ อทุ ยานของพระเจา้ อเุ ทน ราชาแห่งนครนั้น ขณะนั้นพระเจ้าอุเทนและพระมเหสีประทับอยู่ ณ พระราชอทุ ยาน พระมเหสที รงทราบวา่ พระอานนทม์ ากท็ รงโสมนสั ทลู ลาพระสวามไี ปเยย่ี มพระอานนท์ สนทนาพอเปน็ สมั โมทนยี กถา แล้ว พระอานนท์แสดงธรรมเป็นท่ีเลื่อมใสจับจิตย่ิงนัก พระนาง ไดถ้ วายจวี รจ�ำนวน ๕๐๐ ผนื ในเวลาตอ่ มาแดพ่ ระอานนท์ พระเจา้ อเุ ทนทรงทราบเรอื่ งน ้ี แทนทจ่ี ะทรงพโิ รธพระมเหส ี กลบั ทรงตำ� หนิ ท่านอานนท์ว่า รับจีวรไปท�ำไมมากมายหลายผืน จะไปตั้งร้าน ขายจีวรหรืออย่างไร เมื่อมีโอกาสได้พบพระอานนท์ พระองค์จึง เรียนถาม 56 “พระคณุ เจ้า ทราบว่าพระมเหสีถวายจีวรพระคุณเจา้ ๕๐๐ ผนื พระคณุ เจา้ รับไวท้ ั้งหมดหรือ” “ขอถวายพระพร อาตมภาพรับไวท้ ้งั หมด” พระอานนท์ทลู “พระคณุ เจา้ รบั ไวท้ �ำไมมากมายนัก?” “เพ่อื แบ่งถวายภิกษุท้ังหลายผมู้ จี ีวรเก่าคร่�ำครา่ ” “จะเอาจีวรเก่าคร�่ำคร่าไปท�ำอะไร?” “เอาไปทำ� เพดาน” “จะเอาผา้ เพดานเก่าไปทำ� อะไร?” “เอาไปท�ำผา้ ปูที่นอน” “จะเอาผ้าปูทน่ี อนเกา่ ไปท�ำอะไร?” “เอาไปท�ำผ้าปพู ื้น” “จะเอาผา้ ปูพ้ืนเกา่ ไปท�ำอะไร?” “จะเอาไปทำ� ผา้ เช็ดเทา้ ”
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “จะเอาผา้ เชด็ เทา้ เก่าไปท�ำอะไร?” “เอาไปท�ำผา้ เชด็ ธุลี” “จะเอาผ้าเชด็ ธุลีเกา่ ไปทำ� อะไร?” “เอาไปโขลกขยำ� กบั โคลนแล้วฉาบทาฝา” พระเจา้ อเุ ทนทรงเลอ่ื มใสวา่ สมณศากยบตุ รเปน็ ผปู้ ระหยดั ใชข้ องไม่ใหเ้ สียเปล่า จึงถวายจีวรแดพ่ ระอานนท์อกี ๕๐๐ ผนื พระอานนท์นอกจากเป็นผู้กตัญญูต่อผู้ใหญ่แล้ว ยังส�ำนึก แม้ในอุปการะของผู้น้อยด้วย ศิษย์ของท่านเองที่กระท�ำดีต่อท่าน เปน็ พเิ ศษ ทา่ นกอ็ นเุ คราะหเ์ ปน็ พเิ ศษ เชน่ คราวหนงึ่ ทา่ นไดจ้ วี รมา เป็นจ�ำนวนร้อยๆ ผืน ซ่ึงพระเจ้าปเสนทิโกศลถวาย ท่านระลึกถึง ศิษย์รูปหน่ึงของท่านซ่ึงท�ำอุปการะปฏิบัติต่อท่านดี มีการถวายน้�ำ 57 ล้างหน้า ไม้ช�ำระฟัน ปัดกวาดเสนาสนะ ที่อาศัย เวจกุฎี (ส้วม) เรือนไฟ นวดมือ นวดเท้า เป็นต้น แปลว่าศิษย์ผู้น้ีปฏิบัติดีต่อท่าน มากกว่าศิษย์อื่นๆ และปฏิบัติอย่างสมำ�่ เสมอ ท่านจึงมอบจีวรท่ีได้ มาทัง้ หมดแก่ศิษย์รูปดงั กล่าวน้ี เนอ่ื งจากพระภกิ ษรุ ปู นเ้ี ปน็ พระดจี รงิ ๆ จงึ เอาจวี รทอ่ี ปุ ชั ฌายะ มอบให้ไปแจกแก่ภิกษุผู้ร่วมอุปัชฌายะเดียวกันจนหมดสิ้น ดู เหมอื นจะเปน็ ความประสงคข์ องพระอานนทท์ จ่ี ะใหเ้ ปน็ เชน่ นน้ั ดว้ ย ภิกษุทงั้ หลายไปเฝา้ พระผู้มีพระภาค ทลู ถามว่า “พระเจ้าข้าอคติหรือความเห็นแก่หน้ายังมีแก่พระโสดาบัน หรือ?” “มเี รือ่ งอะไรหรอื ภิกษุ?” เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นให้ทรงทราบแล้ว พระ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ พุทธองค์จึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย การท�ำเพราะเห็นแก่หน้าหรือ อคติหามีแก่อานนท์ไม่ แต่ท่ีอานนท์ท�ำเช่นนั้น ก็เพราะระลึกถึง อุปการะของศิษย์ผู้นั้นซ่ึงเป็นผู้ปฏิบัติชอบต่อเธอเหลือเกิน ภิกษ ุ ทง้ั หลาย ขนึ้ ชอื่ วา่ อปุ การะผอู้ นื่ แมเ้ ลก็ นอ้ ย อนั บณั ฑติ ระลกึ ถงึ และ หาทางตอบแทนในโอกาสอนั ควร” 58
๕ กั บ พ ร ะ น า ง ม ห า ป ช า บ ดี 59 พระอานนท์เป็นผู้มีจิตเมตตากรุณา ทนเห็นความทุกข์ความ เดอื ดรอ้ นของผอู้ นื่ ไมไ่ ด ้ คอยเปน็ ธรุ ะชว่ ยเหลอื เทา่ ทสี่ ามารถ ไมว่ า่ ผู้นั้นจะเป็นใคร ดังเช่นเรื่องเก่ียวกับพระนางมหาปชาบดีโคตม ี เปน็ ต้น พระนางทรงเลื่อมใส และรักใคร่ในพระผู้มีพระภาคยิ่งนัก คราวหน่ึงทรงปรารภว่า ศากยวงศ์อ่ืนๆ ได้ถวายสิ่งของแด่พระผู้มี พระภาคบ้าง ได้ออกบวชตามบ้าง แต่ส่วนพระนางเองยังมิได้ท�ำ อะไรเปน็ ชนิ้ เปน็ อนั เพอื่ พระพทุ ธองคเ์ ลย จงึ ตดั สนิ พระทยั จะถวาย จีวรแด่พระผู้มีพระภาค พระนางเริ่มต้ังแต่ปั่นฝ้ายเอง ทอเอง ตัด และเยบ็ เอง ย้อมเอง เสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ น�ำไปถวายพระศาสดา
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค หม่อมฉันท�ำจีวรผืนนี้ด้วยมือของ ตนเองโดยตลอดต้ังแต่เริ่มต้น ขอพระผู้มีพระภาคทรงรับเพ่ือ อนุเคราะห์หม่อมฉันด้วยเถิด” “อย่าเลย อย่าถวายตถาคตเลย ขอพระนางได้น�ำไปถวาย พระภิกษุสงฆ์รูปอ่ืนเถิด ตถาคตมีจีวรใช้อยู่แล้ว” พระศาสดาทรง ปฏเิ สธอย่างอ่อนโยน พระนางอ้อนวอนถึง ๓ คร้ัง แต่พระศาสดาก็หาทรงรับไม ่ คงยืนยันอย่างเดิม พระนางถึงแก่โทมนัสเป็นอย่างยิ่ง ไม่อาจทรง กล้ันอัสสุชลไว้ได้ ทรงน้อยพระทัยท่ีอุตส่าห์ต้ังพระทัยท�ำเองโดย ตลอด ยิ่งระลึกถึงความหลังครั้งอดีตท่ีเคยโอบอุ้มเล้ียงดูพระพุทธ 60 องคม์ าตงั้ แตเ่ ยาวว์ ยั ดว้ ยแลว้ ยงิ่ นอ้ ยพระทยั หนกั ขนึ้ พระนางทรง กนั แสง นำ� จวี รผนื นน้ั ไปสสู่ ำ� นกั พระสารบี ตุ ร เลา่ เรอื่ งใหท้ า่ นทราบ และกล่าวว่า “ขอพระคณุ เจา้ ไดโ้ ปรดรบั จวี รผนื นไี้ วด้ ว้ ยเถดิ เพอ่ื อนเุ คราะห์ ขา้ พเจา้ ” พระสารบี ตุ รทราบเรอื่ งแลว้ กห็ ารบั ไม่ แนะนำ� ใหน้ ำ� ไปถวาย พระภิกษุรูปอ่ืน และปรากฏว่าไม่มีใครรับจีวรผืนนั้นเลย พระนาง ยิง่ เสียพระทยั เป็นพนั ทวี ในที่สุดพระพุทธองค์รับสั่งให้ประชุมสงฆ์แล้วให้พระนาง ถวายแกภ่ กิ ษบุ วชใหม่รปู หน่ึง แลว้ ทรงปลอบให้พระนางคลายจาก ความเศรา้ โศกและใหร้ ่าเริงบันเทิงด้วยบุญกิรยิ าอนั ย่งิ ใหญ่น้ันวา่ “ดูก่อนโคตมี ผ้าท่ีท่านถวายแล้วน้ี ได้ชื่อว่าถวายสงฆ์ ซ่ึงมี พระพทุ ธเจา้ เปน็ ประมขุ ผลานสิ งสม์ มี ากกวา่ การถวายเปน็ สว่ นบคุ คล
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า 61
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ แก่ภิกษุรูปใดรูปหน่ึง หรือมากกว่าการถวายแก่พระพุทธเจ้าเอง โคตมเี อย การทตี่ ถาคตไมร่ บั จวี รของทา่ นนนั้ มใิ ชเ่ พราะใจไมไ้ สร้ ะกำ� อะไร แตเ่ พราะมงุ่ ประโยชนอ์ นั สงู สดุ ทจี่ ะพงึ มแี กท่ า่ นเอง ปาฏบิ คุ คลกิ ทานใดๆ จะมผี ลเทา่ สังฆทานหาไดไ้ ม่” “อานนท์เอย” พระพุทธองค์ทรงผินพระพักตร์มาตรัสแก่ พระอานนท์ “ข้อที่เธออ้อนวอนเราเพื่อรับจีวรของพระนางโคตม ี โดยอ้างว่าพระนางมีอุปการะมากแก่เรา เคยเลี้ยงดู เคยให้น้�ำนม และถอื วา่ เปน็ ผมู้ อี ปุ การะมากนน้ั เรากเ็ หน็ อย ู่ แตเ่ พราะเหน็ อยา่ งนนั้ นั่นเอง เราจึงต้องการให้พระนางได้รับประโยชน์อันไพศาล โดย การน�ำจีวรถวายแก่สงฆ์ ซึ่งมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข อานนท์เอย 62 การท่ีบุคคลได้อาศัยผู้ใดแล้ว ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระ สงฆ ์ ไดง้ ดเวน้ จากการฆา่ สตั ว ์ ลกั ทรพั ย ์ เปน็ ตน้ การทจ่ี ะตอบแทน ผนู้ น้ั มใิ ชเ่ ปน็ สงิ่ ทที่ ำ� ไดโ้ ดยงา่ ยเลย การทำ� ตอบแทนดว้ ยการถวาย ขา้ วนำ้� และเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ และการเคารพกราบไหว ้ เปน็ ตน้ ยงั เปน็ ส่ิงเล็กน้อย คือไม่สามารถตอบแทนคุณความดีของท่านผู้นั้นได้ ด้วยเหตเุ พยี งเท่านี้ อานนท์ ปาฏิบคุ คลิกทานมอี ย่ ู ๑๔ ชนดิ คอื ๑. ของที่ถวายแก่พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ๒. ของทีถ่ วายแกพ่ ระปจั เจกพทุ ธเจา้ ๓. ของท่ถี วายแก่พระอรหันตสาวก ๔. ของทีถ่ วายแกผ่ ้ปู ฏบิ ตั ิ เพื่อบรรลุอรหัตตผล ๕. ของทถี่ วายแก่พระอนาคามี ๖. ของท่ีถวายแก่ผูป้ ฏิบตั ิ เพื่อบรรลุอนาคามิผล
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ๗. ของท่ถี วายแกพ่ ระสกทาคามี ๘. ของทีถ่ วายแกผ่ ปู้ ฏบิ ัติดี เพ่อื บรรลสุ กทาคามิผล ๙. ของทถี่ วายแกพ่ ระโสดาบนั ๑๐. ของท่ีถวายแกผ่ ู้ปฏบิ ตั ิ เพ่ือบรรลโุ สดาปัตติผล ๑๑. ของทีใ่ หแ้ ก่คนภายนอกพทุ ธศาสนา ซงึ่ ปราศจากกามราคะ ๑๒. ของท่ีใหแ้ กป่ ถุ ชุ นผมู้ ศี ีล ๑๓. ของทใ่ี ห้แกป่ ุถุชนผ้ทู ุศลี ๑๔. ของท่ใี หแ้ ก่สัตว์ดิรัจฉาน อานนท์ ของที่ให้แก่สัตว์ดิรัจฉานยังมีผลมากผลไพศาล อานนท์ คราวหน่ึงเราเคยกลา่ วแกป่ ริพพาชกผู้หน่งึ วา่ บุคคลเทนำ้� 63 ล้างภาชนะลงในดินด้วยต้ังใจว่า ขอให้สัตว์ในดินได้อาศัยอาหาร ท่ีติดน�้ำล้างภาชนะน้ีได้ดื่มกินเถิด แม้เพียงเท่าน้ีเรายังกล่าวว่าผู้ กระท�ำได้ประสบบุญแล้วเป็นอันมาก เพราะฉะนั้น จะกล่าวไปไย ในทานที่บุคคลให้แล้วแก่ปุถุชนผู้มีศีลหรือผู้ทุศีล จนถึงแก่พระ อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า จะไม่มีผลมากเล่า แต่ท้ังหมดนี้เป็น ปาฏบิ คุ คลกิ ทาน คอื ทานทใี่ หเ้ จาะจงบคุ คล เรากลา่ ววา่ ปาฏบิ คุ คลกิ ทานใดๆ จะมผี ลเทา่ สงั ฆทานมิได้เลย อานนท์เอย ต่อไปเบื้องหน้าจักมีแต่โคตรภูสงฆ์ คือสงฆ์ผู้ ทุศีลมีธรรมทราม สักแต่ว่ามีกาสาวพัสตร์พันคอ การให้ทานแก ่ ภิกษุผู้ทุศีลเห็นปานนั้น แต่สังฆทานก็ยังเป็นทานที่มีผลมาก มี อานิสงส์ไพศาลประมาณมไิ ด”้ แล้วทรงหนั ไปตรสั แก่พระนางผูม้ ีจีวรอนั จักถวายวา่
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “ดกู อ่ นโคตม ี เพราะฉะนนั้ การทที่ า่ นไดถ้ วายจวี รแกส่ งฆซ์ ง่ึ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขในคร้ังน ี้ จึงจัดเป็นโชคลาภอันประเสริฐ ยง่ิ แลว้ ” พระนางมหาปชาบดีโคตมีทรงเลื่อมใสศรัทธา ปรารถนา จะบวชในส�ำนักของพระผู้มีพระภาค เคยทูลอ้อนวอนขออนุญาต บวชเป็นภิกษุณีตั้งแต่พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ นิโครธาราม กรงุ กบลิ พสั ด ์ุ แตพ่ ระพทุ ธองคไ์ มท่ รงอนญุ าต ทรงออ้ นวอนครงั้ แลว้ ครง้ั เลา่ พระพทุ ธองคก์ ห็ าทรงอนญุ าตไม ่ จนกระทง่ั พระผมู้ พี ระภาค เสด็จออกจากนครกบิลพัสดุ์ไปประทับ ณ กรุงเวสาลี ประทับอยู ่ ที่กฏู าคารศาลา ปา่ มหาวนั 64 พระนางโคตมีพร้อมด้วยสตรีศากยวงศ์หลายพระองค ์ ทรง ตัดสินพระทัยอย่างเด็ดเดี่ยวท่ีจะบวชเป็นภิกษุณี จึงพร้อมกันปลง พระเกศา นุ่งผ้าห่มกาสายะ เสด็จจากกรุงกบิลพัสดุ์ด้วยพระบาท เปล่าไปสู่นครเวสาลีท่ีประทับของพระศาสดา ทูลขอบรรพชา อุปสมบท แต่พระพุทธองค์ก็ไม่ทรงอนุญาตตามเคย พระนางเสีย พระทยั และขมขน่ื ย่ิงนัก มาประทับยืนรอ้ งไหอ้ ย่ทู ป่ี ระตูปา่ มหาวัน พระอานนท์มาพบพระนางเข้า ทราบเรื่องโดยตลอดแล้ว มีใจกรุณา ปรารถนาจะช่วยเหลือ จึงเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคทูล อ้อนวอนเพอ่ื ประทานอุปสมบทแกพ่ ระนางโคตมี “พระองค์ผเู้ จรญิ ” ตอนหน่ึงพระอานนท์ทูล “พระนางโคตม ี พระน้านางของพระองค์ บัดน้ีปลงพระเกศาแล้วนุ่งห่มผ้ากาสายะ มีพระวรกายขะมุกขะมอม เพราะเสด็จโดยพระบาทมาจากนคร กบิลพัสดุ์ พระวรกายแปดเปื้อนไปด้วยธุลี แต่ก็หาค�ำนึงถึงความ
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ล�ำบากเรื่องน้ีไม่ มุ่งพระทัยแต่ในเร่ืองบรรพชาอุปสมบท พระนาง เปน็ ผมู้ อี ปุ การะมากตอ่ พระองค ์ เปน็ ผปู้ ระทานขรี ธาราแทนพระมารดา ขอพระองคไ์ ดท้ รงอนเุ คราะหพ์ ระนางเถดิ ขอใหพ้ ระนางไดอ้ ปุ สมบท เปน็ ภิกษุณีตามพระประสงคเ์ ถิด” พระผู้มีพระภาคประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “อานนท ์ เร่ืองท่ีพระนางมีอุปการะมากต่อเราน้ัน เราส�ำนึกอยู่ แต่เธอต้อง ไม่ลืมว่า เราเป็นธรรมราชา ต้องรับผิดชอบในสังฆมณฑล จะเอา เรื่องส่วนตัวมาปะปนกับเร่ืองความเส่ือมความเจริญของส่วนรวม ก็ต้องตรองให้ดีก่อน อานนท์ ถ้าเปรียบสังฆมณฑลของเราเป็น นาข้าว การที่ยอมให้สตรีมาบวชในธรรมวินัยนี้ก็เหมือนปล่อย ตัวเพล้ียตัวแมลงลงในนาข้าวน้ัน รังแต่จะท�ำความพินาศวอดวาย 65 ใหแ้ กน่ าขา้ วอยา่ งไมต่ อ้ งสงสยั อานนท ์ เราเคยพดู เสมอมใิ ชห่ รอื วา่ สตรีที่บุรุษเอาใจเข้าไปข้องนั้น เป็นมลทินอย่างย่ิงของพรหมจรรย ์ อานนทเ์ อย ถา้ ศาสนาของเราจะพงึ อยไู่ ด้ ๑,๐๐๐ ป ี แตห่ ากมสี ตร ี มาบวชด้วยจะอยู่ได้ ๕๐๐ ปี เท่านั้น หรือสมมติว่าศาสนาของเรา จะพึงด�ำรงอยู่ได้ ๕๐๐ ปี เม่ือมีสตรีมาบวชในธรรมวินัยด้วยก็จะ ทอนลงเหลือเพียงคร่ึงเดียว คือ ๒๕๐ ปี อย่าเลย อานนท์เธออย่า พอใจขวนขวายให้มีภิกษุณีขึ้นในศาสนาเลย จะเป็นเรื่องล�ำบาก ในภายหลงั ” พระอานนท์ ผู้อันเมตตากรุณาเตือนอยู่เสมอ กระท�ำความ พยายามตอ่ ไป ไดท้ ูลพระผมู้ ีพระภาคว่า “พระองค์ผู้เจริญ ถ้าสตรีได้บวชในธรรมวินัยของพระองค ์ นางจะสามารถหรอื ไม่ ทจี่ ะบรรลคุ ณุ วเิ ศษมโี สดาปตั ตผิ ล เปน็ ตน้ ”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “อาจทีเดียว อานนท์ นางสามารถจะท�ำให้แจ้งซึ่งคุณวิเศษ มโี สดาปตั ตผิ ล เปน็ ต้น” “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ถ้าอย่างน้ัน ขอพระองค์โปรด ประทานอนญุ าตใหพ้ ระนางโคตมบี วชเถดิ พระเจา้ ขา้ ” พระพุทธองค์ประทับน่ิงอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “อานนท ์ ถ้าพระนางโคตมีสามารถรับครุธรรม ๘ ประการได้ ก็เป็นอันว่า พระนางได้บรรพชาอุปสมบทสมปรารถนา ครุธรรม ๘ ประการ นนั้ มีดังนี้ ๑. ภกิ ษณุ แี มบ้ วชแลว้ ตงั้ ๑๐๐ ป ี กต็ อ้ งทำ� การอภวิ าท การ ลุกขึ้นต้อนรับ อัญชลีกรรมและสามีจิกรรมแก่ภิกษุแม้ผู้บวชแล้ว 66 ในวนั นั้น ๒. ภกิ ษุณตี ้องไม่จ�ำพรรษาในอาวาสทไี่ ม่มีภิกษุ ๓. ภกิ ษณุ ตี อ้ งถามวนั อโุ บสถ และเขา้ ไปรบั โอวาทจากภกิ ษุ ทกุ กึ่งเดอื น ๔. ภกิ ษณุ จี ำ� พรรษาแลว้ ตอ้ งปวารณา คอื เปดิ โอกาสใหต้ กั เตอื น สง่ั สอนจากสำ� นกั ทง้ั สอง คือทั้งจากภกิ ษุณสี งฆแ์ ละจากภกิ ษสุ งฆ์ ๕. ภกิ ษณุ ตี อ้ งอาบตั หิ นกั เชน่ สงั ฆาทเิ สสแลว้ ตอ้ งประพฤติ มานัตตลอด ๑๕ วันในสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่าย คือท้ังในภิกษุสงฆ์และ ภกิ ษณุ ีสงฆ์ ๖. นางสกิ ขมานาคอื สตรที เี่ ตรยี มจะบวชเปน็ ภกิ ษณุ ี จะตอ้ ง ประพฤตปิ ฏบิ ตั ศิ ลี ๖ ขอ้ คอื ตง้ั แตข่ อ้ ๑ ถงึ ขอ้ ๖ ใหค้ รบบรบิ รู ณ์ ตลอดเวลา ๒ ปีขาดไม่ได้ ถ้าขาดลงจะต้องต้ังต้นใหม่ เม่ือทำ� ได้ ครบแล้วต้องอุปสมบทในสงฆ ์ ๒ ฝ่าย
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ๗. ภิกษุณีต้องไม่ด่าว่าเปรียบเปรยหรือบริภาษภิกษุ ไม่ว่า กรณใี ดๆ ๘. ตงั้ แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป หา้ มภกิ ษณุ วี า่ กลา่ วสง่ั สอนภกิ ษ ุ ให้ ภกิ ษวุ า่ กล่าวส่ังสอนภกิ ษุณไี ด้ฝา่ ยเดียว ดูก่อนอานนท์ นี่แลครุธรรมท้ัง ๘ ประการ ซ่ึงภิกษุณีจะ ตอ้ งสักการะเคารพนบั ถือ บชู าตลอดชีวิต จะลว่ งละเมดิ มไิ ด้” พระอานนทจ์ ำ� ครธุ รรม ๘ ประการไดแ้ ลว้ ทลู ลาพระผมู้ พี ระ ภาคไปเฝ้าพระนางโคตมี บอกเล่าถึงเงื่อนไข ๘ ประการตามพุทธ ด�ำรสั แลว้ กล่าวว่า “โคตมี ท่านพอจะรับครุธรรม ๘ ประการน้ีได้อยู่หรือ ถ้า ท่านรับได้ อันนี้แหละเป็นบรรพชาอุปสมบทของท่าน พระผู้มีพระ 67 ภาคตรสั มาอยา่ งนี้” พระนางโคตมปี ลมื้ พระทยั ยงิ่ นกั พระนางเปน็ เหมอื นสภุ าพ สตรีซ่ึงอาบน้�ำช�ำระกายอย่างดีแล้ว นุ่งห่มด้วยผ้าใหม่มีราคาแพง ประพรมน�้ำหอมเรียบร้อยแล้ว มีพวงมาลัยซ่ึงท�ำด้วยดอกไม้หอม ลงสวมศีรษะ สตรีนั้นหรือจะไม่พอใจ ฉันใดก็ฉันน้ัน พระนางทรง รับครุธรรม ๘ ประการทันท ี และปฏิญาณว่าจะประพฤติปฏิบัติให ้ บริสุทธิ์บริบรู ณ์ตลอดชวี ิต ท�ำไมพระพุทธองค์จึงไม่ทรงประสงค์ให้สตรีได้บวชเป็น ภิกษุณี? เหตุผลแจ่มแจ้งอยู่แล้วในพระด�ำรัสของพระองค์ น่าจะ ทรงเกรงความยงุ่ เหยงิ อนั จะพงึ เกดิ ขน้ึ ในภายหลงั ในครธุ รรม ๘ ก ็ มีอยู่ข้อหนึ่งซึ่งบัญญัติว่าภิกษุณีจะต้องอยู่อาวาสเดียวกับพระสงฆ ์ แยกส�ำนักไปตั้งเป็นอิสระอยู่ต่างหากไม่ได้ แต่คงจะให้แบ่งเขตกัน
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ มิใช่อยู่ปะปนกัน เรื่องที่ทรงห้ามมิให้ภิกษุณีแยกไปต้ังส�ำนัก ตา่ งหากกนั เปน็ เรอ่ื งทเ่ี ขา้ ใจไดง้ า่ ย คอื ภกิ ษณุ คี มุ้ ครองรกั ษาตวั เอง ไม่ได้ พวกอันธพาลอาจจะบุ่มบ่ามเข้าไปก่อกวนให้ได้รับความ เดอื ดรอ้ น คราวนี้มาถึงปัญหาอีกข้อหน่ึงว่า ทีแรกดูเหมือนจะเป็น ความประสงค์ของพระพุทธองค์จริงๆ ท่ีจะไม่ยอมให้ภิกษุณีมีข้ึน ในศาสนา แต่มายอมจ�ำนนต่อเหตุผลของพระอานนท์หรืออย่างไร จึงยอมใหภ้ ายหลัง เรื่องน้ีกล่าวแก้กันว่า พระพุทธองค์จะยอมจ�ำนนต่อเหตุผล ของพระอานนท์ก็หามิได้ แต่พระองค์ต้องการให้เป็นเรื่องยาก คือ 68 ใหบ้ วชไดโ้ ดยยาก เพอื่ ภกิ ษณุ จี ะไดถ้ นอมสงิ่ ทตี่ นไดม้ าโดยยากนนั้ และตอ้ งการพสิ จู นค์ วามแนว่ แนเ่ ดด็ เดยี่ วของพระนางโคตมดี ว้ ยวา่ จะจรงิ แค่ไหน อยา่ งไรกต็ าม เรอื่ งนพี้ ระพทุ ธองคน์ า่ จะไมป่ ระสงคใ์ หภ้ กิ ษณุ ี มีข้ึนในศาสนาจริงๆ แต่ที่ยอมน้ันอย่างขัดไม่ได้ และจะเห็นว่า เม่ือยอมโดยขัดไม่ได้แล้ว พระองค์ก็ทรงวางระเบียบไว้อย่างถี่ยิบ เพอ่ื บบี คน้ั ใหภ้ กิ ษณุ หี มดไปโดยเรว็ สกิ ขาบททมี่ าในพระปาฏโิ มกข ์ ของพระสงฆ์มีเพียง ๑๕๐ ข้อ หรือท่ีรู้กันว่า พระสงฆ์มีศีล ๒๒๗ ข้อ แต่ภิกษุณีมีถึง ๓๑๑ ข้ออาบัติเบาๆ ของพระ แต่เม่ือภิกษุณ ี ท�ำเข้ากลายเป็นเร่ืองหนัก แปลว่าพระพุทธองค์ประสงค์ให้ภิกษุณ ี หมดไปโดยเรว็ และความประสงคข์ องพระองคก์ ส็ มั ฤทธผ์ิ ล ปรากฏ ว่าในสมัยท่ีพระองค์นิพพานน้ัน มิได้มีเรื่องกล่าวถึงภิกษุณีเลย สันนิษฐานกันว่าภิกษุณีอาจจะหมดแล้วก็ได้ มาโผล่ข้ึนอย่างไรใน
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า สมยั พระเจา้ อโศกอกี ไมท่ ราบ ขอ้ ทนี่ า่ คดิ อกี อยา่ งหนง่ึ กค็ อื ปวตั ตนิ ี (หมายถงึ อปุ ชั ฌายะผใู้ หภ้ กิ ษณุ บี วช) รปู หนงึ่ บวชภกิ ษณุ ไี ด ้ ๑ รปู ตอ่ ๑ ป ี และตอ้ งเวน้ ไป ๑ ปจี งึ จะบวชไดอ้ กี รปู หนงึ่ แบบนห้ี มดแน ่ บางทา่ นให้เหตุผลเก่ยี วกับเร่อื งน้วี ่า การท่ีพระพทุ ธเจา้ ไมป่ ระสงค์ ให้มีภิกษุณีนั้น เพราะต้องการให้สตรีเป็นกองเสบียง การบวช เหมือนการออกรบ กองทัพถ้าไม่มีเสบียงก็ไปไม่ไหว ให้ผู้หญิงอยู ่ เป็นกองเสบียงบ�ำรุงศาสนจักร ซึ่งมีพระเป็นทหาร และพระพุทธ องค์นั้นเปน็ พระธรรมราชา อีกอย่างหน่ึงท่ีไม่ทรงยอมให้บวช ก็เพราะมีพระกรุณาต่อ สตร ี ตอ้ งลำ� บาก การบวชเปน็ เรอื่ งยากเปน็ เรอื่ งผจญภยั นานาประการ ผบู้ วชอยไู่ ดต้ อ้ งเปน็ คนเขม้ แขง็ มใิ ชค่ นออ่ นแอ สตรเี ปน็ เพศออ่ นแอ 69 พระพุทธองค์ไม่ตอ้ งการใหล้ �ำบาก เรอื่ งทม่ี สี กิ ขาบทบญั ญตั มิ าก สำ� หรบั ภกิ ษณุ นี น้ั บางทา่ นให้ เหตุผลว่าเพราะภิกษุณีเป็นลูกหญิงของพระพุทธเจ้า ธรรมดาลูก หญิงพ่อต้องเป็นห่วงมากกว่าลูกชาย และมีข้อห้ามมากกว่า จะ ปล่อยเหมือนลูกชายไม่ได้ ท้ังน้ีก็ด้วยความหวังดี หวังความสุข ความเจริญน่นั เอง
๖ ค ว า ม รั ก - ค ว า ม ร้ า ย 70 นอกจากมีเมตตากรุณา หวั่นใจในความทุกข์ยากของผู้อื่นแล้ว พระอานนท์ยังเป็นผู้สุภาพอ่อนโยนอย่างยิ่งอีกด้วย ความสุภาพ อ่อนโยนและลักษณะอันน่ารัก มีรูปงาม ผิวพรรณดีน่ีเองได้เคย คล้องเอาดวงใจน้อยๆ ของสตรีผู้หน่ึงให้หลงใหลใฝ่ฝัน โดยท่ีท่าน มไิ ดเ้ จตนาเลย เรือ่ งเป็นดงั น้ี คราวหน่ึง ท่านเดินทางจากที่ไกลมาสู่วัดเชตวัน อากาศซ่ึง ร้อนอบอ้าวในเวลาเที่ยงวัน ท�ำให้ท่านมีเหง่ือโทรมกาย และรู้สึก กระหายน้�ำ พอดีเดินมาใกล้บ่อน้�ำแห่งหนึ่ง เห็นนางทาสีก�ำลังตัก น้ำ� ท่านจงึ กล่าวขึน้ ว่า
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “น้องหญิง อาตมาเดินทางมาจากที่ไกล รู้สึกกระหายน�้ำ ถ้าไม่เป็นการรบกวน อาตมาขอบิณฑบาตน�้ำจากท่าน ด่ืมพอแก ้ กระหายดว้ ยเถดิ ” นางทาสีได้ยินเสียงอันสุภาพอ่อนโยนจึงเงยหน้าข้ึนดู นาง ตะลงึ อยู่ครหู่ น่งึ แลว้ ถอยออกห่างท่าน ๒-๓ ก้าว พลางกล่าวว่า “พระคุณเจ้า ข้าพเจ้าถวายน�้ำแก่ท่านมิได้ดอก ท่านไม่ควร ดมื่ นำ�้ จากมอื อนั ตำ�่ ชา้ ของขา้ พเจา้ ทา่ นเปน็ วรรณะกษตั รยิ ์ ขา้ พเจา้ เปน็ เพียงนางทาส”ี “อย่าคิดอย่างน้ันเลย น้องหญิง อาตมาไม่มีวรรณะแล้ว อาตมาเป็นสมณศากยบุตร อาตมามิได้เป็นกษัตริย์ พราหมณ์ ไวศยะ ศูทรหรือจัณฑาลอย่างใดอย่างหนึ่งเลย อาตมาเป็นมนุษย์ 71 เหมอื นนอ้ งหญิงน่แี หละ” “ข้าพเจ้าเกรงแต่จะเป็นมลทินแก่พระคุณเจ้า และเป็นบาป แก่ข้าพเจ้าที่ถวายน้�ำ การที่ท่านจะรับของจากมือคนต่างวรรณะ และโดยเฉพาะวรรณะท่ีต�ำ่ อยา่ งข้าพเจ้าด้วยแล้ว ขา้ พเจ้าไม่สบาย ใจเลย ความจริงข้าพเจ้ามิได้หวงน�้ำดอก” นางยังคงยืนกรานอยู ่ อยา่ งเดิม ขณะพดู มีเสยี งส่นั นอ้ ยๆ “น้องหญิง มลทินและบาปจะมีแก่ผู้มีเมตตากรุณาไม่ได ้ มลทนิ ยอ่ มมแี กผ่ ปู้ ระกอบกรรมชว่ั บาปยอ่ มมแี กผ่ ไู้ มส่ จุ รติ การท่ี อาตมาขอน้�ำ และน้องหญิงจะให้น�้ำนั้นเป็นธรรม ธรรมย่อม ปลดเปลอ้ื งบาปและมลทนิ เหมอื นนำ้� สะอาดชำ� ระสงิ่ สกปรกฉะนน้ั น้องหญิง บัญญัติของพราหมณ์เรื่องบาปและมลทินอันเกี่ยวกับ วรรณะนั้น เป็นบัญญัติท่ีไม่ยุติธรรม เป็นการแบ่งแยกมนุษย์ให ้
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ เหินห่างจากมนุษย์ เป็นการเหยียดหยามมนุษย์ด้วยกัน เร่ืองน ้ี อาตมาไมม่ แี ลว้ อาตมาเปน็ สมณศากยบตุ ร สาวกของพระพทุ ธเจา้ เป็นผู้ไม่มีวรรณะ เพราะฉะนั้น ถ้าน้องหญิงต้องการจะให้น้�ำ ก็จง เทลงในบาตรนเี้ ถิด” นางรสู้ กึ จบั ใจในคำ� พดู ของพระอานนท ์ ครง้ั นเี้ ปน็ ครงั้ แรกใน ชวี ติ ของนางทไี่ ดย้ นิ คำ� ระรนื่ ห ู จากชนซง่ึ สมมตเิ รยี กกนั วา่ “ชนั้ สงู ” มืออันเรียวงามส่ันน้อยๆ ของนางค่อยๆ ประจงเทน�้ำในหม้อลงใน บาตรของทา่ นอานนท ์ ในขณะนนั้ นางนงั่ คกุ เขา่ พระอานนทย์ นื โนม้ ตัวลงรับน�้ำจากนางแล้วด่ืมด้วยความกระหาย นางช้อนสายตาข้ึน มองดูพระอานนท์ซ่ึงก�ำลังด่ืมน�้ำ ด้วยความรู้สึกปีติซาบซ่าน แล้ว 72 ยิ้มอย่างเอียงอาย “ขอให้มีความสุขเถิด น้องหญิง” เสียงอันไพเราะจากพระ อานนท ์ หนา้ ของทา่ นยง่ิ แจม่ ใสขน้ึ เมอื่ ไดด้ ม่ื นำ้� ระงบั ความกระหาย แลว้ “พระคณุ เจา้ ดมื่ อกี หนอ่ ยเถดิ ” นางพดู พลางเอยี งหมอ้ นำ�้ ในทา่ จะถวาย “พอแลว้ นอ้ งหญิง ขอให้มคี วามสุขเถดิ ” “พระคุณเจ้า ท�ำอย่างไรข้าพเจ้าจึงจะทราบนามพระคุณเจ้า พอเป็นมงคลแก่โสต และความรู้สึกของข้าพเจ้าบ้าง” นางพูดแล้ว ก้มหนา้ ดว้ ยความขวยอาย “นอ้ งหญงิ ไมเ่ ปน็ ไรดอก นอ้ งหญงิ เคยไดย้ นิ ชอ่ื พระอานนท์ อนุชาของพระพทุ ธเจา้ หรอื ไม?่ ” “เคยได้ยิน พระคณุ เจ้า?”
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “เคยเห็นทา่ นไหม?” “ไม่เคย พระคุณเจ้า เพราะข้าพเจ้าท�ำงานอยู่เฉพาะในบ้าน และมาตกั น�้ำทน่ี ี ่ ไมม่ โี อกาสไปทใ่ี ดเลย” “เวลานี้ นอ้ งหญิงก�ำลังสนทนากับพระอานนทอ์ ยู่แลว้ ” นางมอี าการตะลงึ อยคู่ รหู่ นงึ่ แลว้ แววแหง่ ปตี คิ อ่ ยๆ ฉายออก มาทางดวงหน้าและแววตา “พระคณุ เจา้ ” นางพดู ดว้ ยเสยี งสนั่ นอ้ ยๆ “เปน็ มงคลแกโ่ สต และดวงตาของขา้ พเจา้ ยงิ่ นกั ทไี่ ดฟ้ งั เสยี งของทา่ น และไดเ้ หน็ ทา่ นผ ู้ มศี ลี ผมู้ เี กยี รตศิ พั ทร์ ะบอื ไปไกล ขา้ พเจา้ เพง่ิ ไดเ้ หน็ และไดส้ นทนา กบั ทา่ นโดยมริ มู้ ากอ่ น นบั เปน็ บญุ อนั ประเสรฐิ ของขา้ พเจา้ ยง่ิ แลว้ ” และแลว้ พระอานนทก์ ล็ านางทาส ี เดนิ มงุ่ หนา้ สวู่ ดั เชตวนั อนั 73 เป็นที่ประทับของพระศาสดา เม่ือท่านเดินมาได้หน่อยหนึ่ง ได้ยิน เสียงเหมือนมีคนเดินตามมาข้างหลัง ท่านเหลียวดู ปรากฏว่าเป็น นางทาสีที่ถวายน้�ำน่ันเองเดินตามมา ท่านเข้าใจว่าบ้านของนาง คงจะอยู่ทางเดียวกับที่ท่านเดินมา จึงมิได้สงสัยอะไรและเดินมา เรอื่ ยๆ จนจวนจะถงึ ซมุ้ ประตู ไมม่ ที างแยกไปทอี่ นื่ อกี แลว้ นอกจาก ทางเข้าสู่วัด ท่านเหลียวมาเห็นนางทาสีเดินตามอย่างกระช้ันชิด นัยน์ตาก็จ้องมองดูท่านตลอดเวลา ท่านหยุดอยู่ครู่หนึ่ง พอนาง เข้ามาใกล ้ ทา่ นจงึ กลา่ วว่า “น้องหญิง เธอจะไปไหน?” “จะเข้าไปในวดั เชตวนั น่แี หละเจ้าคะ่ ” นางตอบ “เธอจะเข้าไปทำ� ไม?” “ไปหาพระคณุ เจา้ สนทนากับพระคุณเจา้ ”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “อย่าเลยน้องหญิง เธอไม่ควรจะเข้าไป ที่น่ีเป็นท่ีอาศัยอยู่ ของพระสงฆ์ เธอไม่มีธุระอะไร อย่าเข้าไปเลย เธอกลับบ้านเสีย เถิด” “ขา้ พเจา้ ไมก่ ลบั ขา้ พเจา้ รกั ทา่ น ขา้ พเจา้ ไมเ่ คยพบใครดเี ทา่ พระคุณเจ้าเลย” “น้องหญิง พระศาสดาตรัสว่า ปรกติของคนเราอาจจะรู้ได ้ ดว้ ยการอยรู่ ว่ มกนั และตอ้ งอยรู่ ว่ มกนั นานๆ ตอ้ งมโี ยนโิ สมนสกิ าร และต้องมีปัญญา จึงจะรู้ว่าคนนั้นคนนี้มีปรกติอย่างไร คือดีหรือ ไม่ด ี น่ีน้องหญิงพบเราเพียงครู่เดียว จะตัดสินได้อย่างไรว่าอาตมา เป็นคนดี อาตมาอาจจะเอาช่ือท่านอานนท์มาหลอกเธอก็ได้ อย่า 74 เขา้ มาเลย กลับเสียเถดิ ” “พระคุณเจ้าเป็นใครก็ช่างเถิด” นางคงพร�่ำต่อไป มือหนึ่ง ถือหม้อน้�ำ ซึ่งบัดน้ีนางได้เทน้�ำออกหมดแล้ว “ข้าพเจ้ารักท่าน ซึ่ง ขา้ พเจา้ สนทนาอยู่ด้วยเวลาน้ี” “นอ้ งหญงิ ความรกั เปน็ เรอื่ งรา้ ย มใิ ชเ่ ปน็ เรอ่ื งด ี พระศาสดา ตรัส ว่าความรักเป็นเหตุให้เกิดทุกข์โศกและทรมานใจ เธอชอบ ความทุกข์หรือ?” “ขา้ พเจา้ ไมช่ อบความทกุ ขเ์ ลยพระคณุ เจา้ และความทกุ ขน์ น้ั ใครๆ ก็ไมช่ อบ แต่ขา้ พเจ้ามคี วามรัก โดยเฉพาะรกั พระคณุ เจ้า” “จะเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งไร นอ้ งหญงิ ! ในเมอื่ ทำ� เหตกุ ต็ อ้ งไดร้ บั ผล การที่จะให้มีรัก แล้วมิให้ทุกข์ติดตามมาน้ันเป็นสิ่งท่ีเป็นไปไม่ได้ เป็นไปไมไ่ ดเ้ ลย”
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “แต่ข้าพเจ้ามีความสุขเม่ือได้เห็นพระคุณเจ้า ได้สนทนากับ พระคุณเจ้า ผู้เป็นท่ีรักอย่างยิ่งของข้าพเจ้า รักอย่างสุดหัวใจเลย ทเี ดยี ว” “ถ้าไม่ได้เห็นอาตมา ไม่ได้สนทนากับอาตมา น้องหญิงจะม ี ความทุกขไ์ หม?” “แน่นอนทีเดียว ขา้ พเจา้ จะต้องมคี วามทุกขอ์ ย่างมาก” “นัน่ แปลวา่ ความรกั เปน็ เหตุใหเ้ กิดทกุ ข์แล้วใชไ่ หม?” “ไม่ใช่พระคุณเจ้า น่ันเป็นเพราะการพลัดพรากจากสิ่งอัน เป็นท่รี ักตา่ งหากเลา่ มใิ ชเ่ พราะความรกั ” “ถา้ ไมม่ รี กั การพลดั พรากจากสง่ิ อนั เปน็ ทรี่ กั จะมไี ดห้ รอื ไม”่ “มไี ม่ไดเ้ ลย พระคุณเจ้า” “นแ่ี ปลวา่ นอ้ งหญงิ ยอมรบั แลว้ ใชไ่ หมวา่ ความรกั เปน็ สาเหต ุ 75 ชน้ั ทหี่ นงึ่ ทจ่ี ะใหเ้ กดิ ทกุ ข”์ พระอานนทพ์ ดู จบแลว้ ยม้ิ นอ้ ยๆ ดว้ ยรสู้ กึ มีชัย แต่ใครเล่าจะเอาชนะความปรารถนาของหญิงได้ง่ายๆ ลงจะ เอาอะไรก็จะเอาให้ได้ เพราะธรรมชาติของเธอมักจะใช้อารมณ์ มากกว่าเหตุผล ถ้าผู้หญิงคนใดใช้เหตุผลในการตัดสินปัญหาชีวิต หรือในการด�ำเนินชีวิต หญิงคนนั้นจะเป็นสตรีที่ดีที่สุดและน่ารัก ที่สุด เหตุผลที่กล่าวนี้มิใช่มากมายอะไรเลย เพียงไม่ถึงกึ่งเท่านั้น ด้วยเหตุน้ี แม้นางจะมองเห็นเหตุผลของพระอานนท์ว่าคมคายอยู ่ แตน่ างกห็ ายอมไม ่ นางกลา่ วตอ่ ไปว่า “พระคณุ เจา้ ความรกั ทเี่ ปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข ์ ดงั ทพ่ี ระคณุ เจา้ กล่าวมานั้นเห็นจะเป็นความรักของคนที่รักไม่เป็นเสียละกระมัง คนทรี่ กั เป็น ย่อมรกั ไดโ้ ดยมใิ หเ้ ป็นทกุ ข์”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “น้องหญิงเคยรักหรือ หมายถึงเคยรักใครคนใดคนหน่ึงมา บ้างหรอื ไมใ่ นชวี ิตท่ีผ่านมา” “ไม่เคยมาก่อนเลย คร้ังนี้เป็นคร้ังแรก และคงจะเป็นครั้ง สดุ ทา้ ยอกี ด้วย” “เมื่อไม่เคยมาเลย ท�ำไมเธอจึงจะรักให้เป็นโดยมิต้องเป็น ทกุ ขเ์ ลา่ นอ้ งหญงิ คนทจ่ี บั ไฟนนั้ จะจบั เปน็ หรอื จบั ไมเ่ ปน็ จะรหู้ รอื ไมร่ ู้ ถา้ ลงได้จับไฟดว้ ยมือแลว้ ย่อมร้อนเหมอื นกัน ใชไ่ หม?” “ใช่ พระคณุ เจ้า” “ความรกั กเ็ หมอื นการจบั ไฟนน่ั แหละ ทางทจ่ี ะไมใ่ หม้ อื พอง เพราะไฟเผามีอยู่ทางเดียว คืออย่าจับไฟ อย่าเล่นกับไฟ ทางท่ีจะ 76 ปลอดภยั จากรักก็ฉนั น้นั มีอยทู่ างเดียว คืออย่ารัก” “พระคุณเจ้าจะว่าอย่างไรก็ตามเถิด แต่ข้าพเจ้าหักรักจาก พระคุณเจ้ามิได้เสียแล้ว แม้พระคุณเจ้าจะไม่ปรานีข้าพเจ้าเย่ียง คนรกั กข็ อใหพ้ ระคณุ เจา้ รบั ขา้ พเจา้ ในฐานะทาสผซู้ อื่ สตั ย ์ ขา้ พเจา้ จักปฏิบัติพระคุณเจ้า บ�ำรุงพระคุณเจ้าเพ่ือความสุขของท่านและ ของข้าพเจ้าด้วย” “น้องหญิง ประโยชน์อะไรที่เธอจะมารักคนอย่างอาตมา อาตมารกั พระศาสดาและพรหมจรรยห์ มดหวั ใจเสยี แลว้ ไมม่ หี วั ใจ ไว้รักอะไรได้อีก แม้เธอจะขอสมัครอยู่ในฐานะเป็นทาสก็ไม่ได้ พระศาสดาทรงห้ามมิให้ภิกษุในพระศาสนามีทาสไว้ใช้ ยิ่งเธอเป็น ทาสหญงิ ดว้ ยแลว้ ยงิ่ เปน็ การผดิ มากขนึ้ แมจ้ ะเปน็ ศษิ ยค์ อยปฏบิ ตั ิ ก็ไม่ควร จะเป็นท่ีต�ำหนิของวิญญูชนเป็นทางแห่งความเสื่อมเสีย อาตมาเหน็ ใจนอ้ งหญงิ แตจ่ ะรบั ไวใ้ นฐานะใดฐานะหนง่ึ ไมไ่ ดท้ งั้ นนั้
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า กลับเสียเถิดน้องหญิง พระศาสดาหรือภิกษุสามเณรเห็นเข้า จะต�ำหนิอาตมาได้ น่ีก็จวนจะถึงพระคันธกุฎีแล้ว อย่าเข้ามานะ” พระอานนท์ยกมือขน้ึ หา้ มในขณะทน่ี างทาสีจะกา้ วตามท่านเข้าไป พระผู้มีพระภาคทรงสดับเสียงเถียงกันระหว่างพระอานนท์ กับสตร ี จงึ ตรสั ถามมาจากภายในพระคันธกฎุ วี า่ “อะไรกัน อานนท์” “ผู้หญิง พระเจา้ ข้า เขาตามขา้ พระองค์เข้ามายังวิหาร” “ใหเ้ ขาเขา้ มาเถอะ พามาน ่ี มาหาตถาคต” พระศาสดาตรสั พระอานนท์พานางทาสีเข้าเฝ้าพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว นงั่ อย ู่ ณ ทคี่ วรสว่ นขา้ งหนงึ่ พระผมู้ พี ระภาคมพี ระวาจาวา่ “อานนท์ เรอ่ื งราวเปน็ มาอยา่ งไร ทำ� ไมเขาจงึ ตามเธอมาถงึ น?ี่ ” เมอ่ื พระอานนท ์ 77 ทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า “ภคนิ ี เธอรกั ใคร่พอใจในอานนทห์ รอื ?” “พระเจา้ ข้า” นางทาสยี กมือแค่อกรับตามเปน็ จรงิ “เธอรักอะไรอานนท?์ ” “ข้าพระพทุ ธเจา้ รักนัยน์ตาพระอานนท์ พระเจ้าขา้ ” “นัยน์ตาน้ันประกอบด้วยเส้นประสาทและเนื้ออ่อน ต้อง หม่ันเช็ดส่ิงสกปรกในดวงตาอยู่เป็นนิตย์ มีข้ีตาไหลออกมาจาก นัยนต์ าอยู่เสมอ ครนั้ แก่ลงกจ็ กั ฝ้าฟางขุ่นมัวไม่แจม่ ใส อย่างนีเ้ ธอ ยังรักนัยนต์ าของอานนท์อย่หู รอื ?” “ถ้าอยา่ งน้นั ข้าพระองคร์ ักหูของพระอานนท ์ พระเจ้าข้า” “ภคนิ ี หนู นั้ ประกอบดว้ ยเสน้ เอน็ และเนอ้ื ภายในชอ่ งหมู ขี อง โสโครกเปน็ อนั มาก มกี ลน่ิ เหมน็ ตอ้ งแคะไคอ้ ยเู่ สมอ ครน้ั ชราลงก็
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ หนวก จะฟงั เสยี งอะไรกไ็ มถ่ นดั หรอื อาจไมไ่ ดย้ นิ เลย ดงั นแี้ ลว้ เธอ ยงั จะรักอย่หู รือ?” นางเอียงอายเล็กน้อย แล้วตอบเล่ียงต่อไปว่า “ถ้าอย่างน้ัน ขา้ พระองคร์ กั จมูกอนั โด่งงามของพระอานนท์ พระเจ้าขา้ ” “ภคนิ ี จมกู นน้ั ประกอบขนึ้ ดว้ ยกระดกู ออ่ นทม่ี โี พรง ภายใน มีน�้ำมูกและเส้นขนกับของโสโครก มีกล่ินเหม็นเป็นก้อนๆ อย่างน้ ี เธอยงั จะรกั อย่อู ีกหรือ?” ไม่ว่านางจะตอบเล่ียงไปอย่างไรพระพุทธองค์ก็ทรงช้ีแจงให้ พิจารณาเห็นความเป็นจริงของร่างกายอันสกปรกเปื่อยเน่าน้ี ในท ี่ สุดนางกน็ ่ังก้มหน้าน่ิง พระพทุ ธองคต์ รสั ว่า 78 “ภคินี อันร่างกายนี้สะสมไว้แต่ของสกปรกโสโครก มีสิ่ง ปฏกิ ลู ไหลออกมาจากทวารทง้ั ๙ มชี อ่ งหู ชอ่ งจมกู เปน็ ตน้ เปน็ ที่ อาศยั แหง่ สตั วเ์ ลก็ สตั วน์ อ้ ย เปน็ ปา่ ชา้ แหง่ ซากสตั วน์ านาชนดิ เปน็ รังแห่งโรค เป็นท่ีเก็บมูตร (ปัสสาวะ) และกรีส (อุจจาระ) อุปมา เหมือนถุงหนังซึ่งบรรจุเอาส่ิงโสโครกต่างๆ เข้าไว้ และซึมออกมา เสมอๆ เจา้ ของกายจงึ ตอ้ งชำ� ระลา้ งขดั ถวู นั ละหลายๆ ครง้ั เมอื่ เวน้ จากการช�ำระล้างแม้เพียงวันเดียวหรือสองวัน กลิ่นเหม็นก็ปรากฏ เปน็ ท่รี ังเกยี จ เปน็ ของนา่ ขยะแขยง “ภคินี ร่างกายน้ีเป็นเหมือนเรือนซึ่งสร้างด้วยโครงกระดูก มีหนังและเลือดเป็นเครื่องฉาบทา ท่ีมองเห็นเปล่งปล่ังผุดผาดน้ัน เป็นเพียงผิวหนังเท่านั้น เหมือนมองเห็นความงามแห่งหีบศพอัน วิจิตรตระการตา ผู้ไม่รู้ก็ติดในหีบศพน้ัน แต่ผู้รู้เมื่อทราบว่าเป็น หีบศพ แม้ภายนอกจะวิจิตรตระการตาเพียงไร ก็หาพอใจยินดีไม ่
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า เพราะทราบชัดว่าภายในแห่งหีบอันสวยงามน้ัน มีสิ่งปฏิกูลพึง รงั เกียจ” แม้พระศาสดาตรัสอยู่อย่างนี้ ความรักของเธอท่ีมีต่อพระ อานนทก์ ห็ าลดลงไม ่ บางคราวแสงสวา่ งฉายวบู เขา้ มาสหู่ ทยั ของนาง ท�ำให้นางมองเห็นความเป็นจริงตามพระศาสดาตรัสก็ตาม แต่มัน มีน้อยเกินไปไม่สามารถจะข่มความเสน่หาที่เธอมีต่อพระอานนท์ เสียได้ เหมือนน�้ำน้อยไม่พอที่จะดับไฟโดยสิ้นเชิง ไฟคือราคะใน จิตใจของนางก็ฉันนั้น คุกรุ่นอยู่ตลอดเวลา นางคิดว่าท�ำไฉนหนอ จกั สามารถอยใู่ กลพ้ ระอานนทไ์ ด้ เมอ่ื ไมท่ ราบจะท�ำประการใด จงึ ทูลลาพระศาสดาและพระอานนท์กลับบ้าน ก่อนกลับ นางไม่ลืม ท่จี ะชำ� เลืองมองพระอานนท์ดว้ ยความเสน่หา เนื่องจากมาเสียเวลาในวัดเชตวันเสียนาน นางจึงกลับไปถึง 79 บ้านเอาจวนค�่ำ นางรู้สึกตะครั่นตะครอทั้งกายและใจ เกรงว่า ระหวา่ งทน่ี างหายไปนานนนั้ นายอาจจะเรยี กใช ้ เมอื่ ไมพ่ บ นางคง ถกู ลงโทษอยา่ งหนกั อยา่ งทเี่ คยถกู มาแลว้ อนจิ จา ชวี ติ ของคนทาส ชา่ งไมม่ อี ิสระและความสขุ เสียเลย เป็นการบังเอิญอย่างย่ิง ปรากฏว่าตลอดเวลาที่นางหายไป น้ันนายมิได้เรียกใช้เลย ผิดจากวันก่อนๆ นี่เป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ นอกจากพทุ ธานภุ าพ โอ พทุ ธานภุ าพ ชา่ งนา่ อศั จรรยอ์ ะไรเชน่ นน้ั คนื นน้ั นางนอนกระวนกระวายอยตู่ ลอดคนื จะขม่ ตาใหห้ ลบั สักเท่าใดก็หาส�ำเร็จไม่ พอเคลิ้มๆ นางต้องผวาตื่นขึ้นด้วยภาพ แห่งพระอานนทป์ รากฏทางประสาททีห่ ก หรอื มโนทวาร นางนอน ภาวนาชอื่ ของพระอานนทเ์ หมอื นนามเทพเจา้ ผศู้ กั ดสิ์ ทิ ธ ิ์ พระพทุ ธ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ คุณก็คอยไหลวนเวียนเข้ามาสู่ความส�ำนึกอันลึกซึ้ง นางคิดว่า ภายใตพ้ ทุ ธฉายานา่ จะมคี วามสงบเยน็ และบรสิ ทุ ธนิ์ า่ พงึ ใจเปน็ แนแ่ ท ้ แตจ่ ะทำ� อยา่ งไรหนอ จึงจะประสบความสงบเย็นเช่นน้ัน เสียงไก่โห่อยู่ไม่นาน ท้องฟ้าก็เริ่มสาง ลมเย็นตอนรุ่งอรุณ พดั แผว่ เขา้ มาทางชอ่ งหนา้ ตา่ ง นางสลดั ผา้ หม่ ออกจากกาย ลกุ ขน้ึ เพ่ือเตรียมอาหารไว้ส�ำหรับนาย นางภาวนาอยู่ในใจว่า เช้านี้ขอให ้ พระอานนทบ์ ณิ ฑบาตผา่ นมาทางนีเ้ ถิด แสงแดดในเวลาเช้าให้ความชุ่มช่ืนพอสบาย นางเสร็จธุระ อย่างอ่ืนแล้วออกมายืนเหม่ออยู่หน้าบ้าน มองไปเบ้ืองหน้าเห็น ภิกษุณีรูปหน่ึงมีบาตรในมือ เดินผ่านบ้านของนางไป ทันใดน้ัน 80 ความคดิ ก็แวบเขา้ มา ท�ำให้นางดใี จจนเนอ้ื เต้น ภกิ ษณุ ี โอ ภกิ ษณุ ี เราบวชเปน็ ภกิ ษณุ สี ิ จะไดอ้ ยใู่ นบรเิ วณวดั เชตวนั กบั ภกิ ษณุ ที งั้ หลาย และคงมีโอกาสได้อยู่ใกล้และพบเห็นพระคุณเจ้าอันเป็นที่รัก ของเราเปน็ แนแ่ ท้ นางลานายไปเฝา้ พระศาสดา และทลู ขอบรรพชาอปุ สมบทใน พระพทุ ธศาสนา พระศาสดาทรงเหน็ อปุ นสิ ยั แหง่ นางแลว้ ประทาน อนุญาตให้อุปสมบทอย่ ู ณ สำ� นกั แหง่ ภิกษณุ ใี นวัดเชตวันนน่ั เอง เม่ือบวชแล้วภิกษุณีรูปใหม่ก็ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนท่องบ่น พระธรรมวินัย ตั้งใจประพฤติปฏิบัติด้วยดี ส�ำรวมอยู่ในสิกขาบท ปาฏโิ มกข ์ มสี กิ ขาและอาชพี เสมอดว้ ยภกิ ษณุ ที งั้ หลาย เปน็ ทร่ี กั ใคร่ ชอบพอของภิกษุณีอ่ืนๆ ทั้งนี้เพราะนางเป็นผู้เสงี่ยมเจียมตนและ พอใจในวิเวกอีกด้วย
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ถึงกระนั้นก็ตาม ทุกเวลาบ่าย เม่ือนางได้เห็นพระอานนท ์ ขณะใหโ้ อวาทแก่ภกิ ษณุ ีบริษทั ความรญั จวนใจกย็ ังเกดิ ข้ึนรบกวน นางอยู่มเิ ว้นวาย จะพยายามข่มด้วยอสภุ กรรมฐานสักเท่าใด ก็หา สงบราบคาบอยา่ งภิกษณุ ีอ่ืนๆ ไม่ คราวหน่ึงนางได้ฟังโอวาทจากพระศาสดาเรื่องกิเลส ๓ ประการ คือ ราคะ โทสะ และโมหะ พระพุทธองคต์ รัสวา่ “กิเลสท้ัง ๓ ประการน้ีย่อมเผาบุคคลผู้ยอมอยู่ใต้อ�ำนาจ ของมันให้รุ่มร้อนกระวนกระวาย เหมือนไฟเผาไหม้ท่อนไม้และ แกลบให้แห้งเกรียม ข้อแตกต่างแห่งกิเลสท้ัง ๓ ประการน้ี ก็คือ ราคะนนั้ มโี ทษนอ้ ยแตค่ ลายชา้ โทสะมโี ทษมากแตค่ ลายเรว็ โมหะ มีโทษมากด้วย คลายช้าด้วย บุคคลซ่ึงออกบวชแล้วประพฤติตน 81 เป็นผู้ไม่มีเรือน เรียกว่าได้ชักกายออกห่างจากกามราคะ แต่ถ้าใจ ยงั หมกมนุ่ พวั พนั อยใู่ นกาม กห็ าสำ� เรจ็ ประโยชนแ์ หง่ การบวชไม ่ คอื เขาไม่สามารถจะท�ำท่ีสุดแห่งทุกข์โดยชอบได ้ อุปมาเหมือนไม้สด ชุ่มอยู่ด้วยยาง แม้จะวางอยู่บนบก บุคคลผู้ต้องการไฟก็ไม่อาจ นำ� มาสใี หเ้ กดิ ไฟขนึ้ ได ้ เพราะฉะนน้ั ภกิ ษ ุ ภกิ ษณุ ผี ชู้ กั กายออกจาก กามแลว้ ควรพยายามชกั ใจออกจากกามความเพลดิ เพลนิ หลงใหล เสยี ด้วย” นางได้ฟังพระพุทธภาษิตนี้แล้ว ให้รู้สึกละอายใจตนเองสุด ประมาณ ท่ีนางเข้ามาบวชก็มิได้มุ่งหมายเพื่อก�ำจัดทุกข์ให้สูญส้ิน หรอื เพอื่ ทำ� ลายกองตณั หาอะไรเลย แตเ่ พอื่ ใหม้ าอยใู่ กลค้ นอนั เปน็ ทร่ี กั คดิ ดแู ลว้ เหมอื นนำ� นำ้� มนั มาวางไวใ้ กลเ้ พลงิ มนั มแี ตจ่ ะลกุ เปน็ ไฟกองมหึมาข้ึนสกั วันหนึ่ง
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ เมอ่ื ปรารภดงั น ี้ นางยงิ่ กระวนกระวายใจมากขนึ้ พระอานนท์ หรือก็ไม่เคยทักทายปราศรัยเป็นส่วนตัวเลย การท่ีได้เห็นคนอัน เป็นที่รักเป็นความสุขก็จริง แต่มันเล็กน้อยเกินไป เมื่อน�ำมาเทียบ กบั ความทรมานในขณะทต่ี อ้ งอยโู่ ดดเดย่ี วและวา้ เหว ่ กาสาวพสั ตร ์ เปน็ กำ� แพงเหลอื งมหมึ าทค่ี อยกน้ั มใิ หค้ วามรกั เดนิ ถงึ กนั ถงึ กระนนั้ ก็ยังมีภิกษุและภิกษุณีบางท่านกระโดดข้ามก�ำแพงนี้ ล่วงละเมิด สกิ ขาบทวนิ ยั ของพระองคจ์ นได ้ นางคดิ มาถงึ เรอ่ื งนแ้ี ลว้ เสยี วสนั หลงั วาบ เหมอื นถูกกอ้ นหมิ ะอนั เยอื กเยน็ โดยไมร่ ู้สึกตัวมาก่อน นางพยายามสะกดใจมใิ หค้ ดิ ถงึ พระอานนท ์ พยายามทอ่ งบน่ สาธยายพระธรรมวินัย แต่ทุกขณะจิตที่ว่างลง ดวงใจของนางก็จะ 82 คร่�ำครวญร�ำพันถึงพระอานนท์อีก นางรู้สึกปวดศีรษะและวิงเวียน เพราะความคิดหมกมุ่นสับสน นี่เองกระมังท่ีพระอานนท์พูดไว้แต ่ แรกทีพ่ บกันว่าความรกั เปน็ ความรา้ ย วนั หนง่ึ นางชวนเพอ่ื นภกิ ษณุ รี ปู หนง่ึ ไปหาพระอานนท์ พระ อานนท์เป็นผู้มีอัธยาศัยงาม จึงต้อนรับนางด้วยเมตตาธรรม นาง รู้สึกชุ่มช่ืนข้ึนบ้าง เหมือนข้าวกล้าท่ีจวนแห้งเกรียมเพราะขาดน้�ำ ชุ่มช่ืนข้ึน เพราะฝนผิดฤดูกาลหล่ังลงมา แต่เม่ือนางจะลากลับ นนั่ เอง พระอานนทพ์ ดู ว่า “น้องหญิง ต่อไปเมื่อไม่มีธุระอะไรก็อย่ามาอีก ถ้ามีความ สงสัยเก่ียวกับข้อธรรมวินัยอันใด ก็ให้ถามเมื่ออาตมาไปสู่ส�ำนัก ภิกษณุ ีเพ่ือใหโ้ อวาท” คืนนั้นนางนอนร้องไห้ตลอดคืน น้อยใจ เสียใจ และเจ็บใจ ตนเอง “พระอานนทห์ รอื กช็ า่ งใจไมไ้ สร้ ะก�ำเสยี เตม็ ประดา จะเหน็
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า แกค่ วามรกั ของเราบา้ งก็ไมม่ เี ลย” นางย่งิ คิดยิง่ ชำ้� ใจและน้อยใจ ภิกษณุ ผี พู้ กั อยู่ ณ ที่ใกล ้ ไดย้ นิ เสยี งสะอนื้ ในยามดึก จงึ ลุก มาหาด้วยความเปน็ ห่วง ถามนางวา่ “โกกิลา มเี รื่องอะไรหรือ?” “อ้อ ไม่มีอะไรดอก สุมิตรา ข้าพเจ้าฝันร้ายไป รู้สึกตกใจ มากเลยร้องไห้ออกมา ขอบใจมาก ท่ีท่านเป็นห่วงข้าพเจ้า” นาง ตอบ ฝนื สีหนา้ ให้ชมุ่ ชน่ื ขนึ้ “พระศาสดาสอนว่า ให้เจริญเมตตาแล้วจะไม่ฝันร้าย ท่าน เจรญิ เมตตาหรอื เปลา่ กอ่ นนอนนะ่ ” ภกิ ษณุ สี มุ ติ ราถามอยา่ งกนั เอง “ออ่ื เมื่อเจรญิ เมตตาแล้วจะไม่ฝนั รา้ ยอยา่ งน้นั หรือ?” “ใช”่ 83 “กอ่ นนอนคนื น ี้ ขา้ พเจา้ ลมื ไป ทา่ นกลบั ไปนอนเถดิ ขา้ พเจา้ ขออภยั ด้วยที่รอ้ งไหด้ งั ไปจนท่านตนื่ ” เมื่อภิกษุณีสุมิตรากลับไปแล้ว ภิกษุณีโกกิลาก็คิดถึงชีวิต ของตัว ชีวิตของนางเต็มไปด้วยความเป็นทาส เม่ือก่อนบวชก็เป็น ทาสทางกาย พอปลกี จากทาสทางกายมาไดก้ ม็ าตกเปน็ ทาสทางใจ เข้าอีก แน่นอนทีเดียวผู้ใดตกอยู่ในความรัก ดวงใจของผู้นั้นย่อม เปน็ ทาส ทาสของความรกั ทาสรกั นน้ั จะไมม่ ใี ครสามารถชว่ ยปลด ปล่อยได ้ นอกจากเจ้าของดวงใจจะปลดปล่อยเอง นางหลับไปด้วย ความออ่ นเพลียเมอ่ื จวนจะรงุ่ สางอยแู่ ลว้
๗ กั บ โ ก กิ ล า ภิ ก ษุ ณี 84 ในท่ีสุดเม่ือเห็นว่าจะสะกดไว้ไม่อยู่แน่แล้ว นางจึงตัดสินใจลา พระศาสดา พระอานนท์ และเพื่อนภิกษุณีอ่ืนๆ จากวัดเชตวัน เมอื งสาวตั ถ ี มงุ่ หนา้ สโู่ ฆสติ าราม เมอื งโกสมั พ ี ดว้ ยคดิ วา่ “การอย ู่ หา่ ง อาจจะเปน็ ยารักษาโรคไดบ้ ้างกระมงั ” นางจากเชตวนั ดว้ ยความอาลยั อาวรณเ์ ปน็ ทย่ี งิ่ อปุ มาเหมอื น มารดาต้องจ�ำใจจากบุตรสุดท่ีรักของตัวฉันใดก็ฉันนั้น นางอยู่จ�ำ พรรษา ณ โฆสติ าราม ซงึ่ โฆสติ มหาเศรษฐสี รา้ งถวายพระพทุ ธองค์ ๓ เดอื นทอ่ี ยหู่ า่ งจากพระอานนท ์ ดวงจติ ของนางผอ่ งแผว้ แจม่ ใสขนึ้ การท่องบ่นสาธยายและการบ�ำเพ็ญสมณธรรมก็ดีขึ้นตามไปด้วย นางคดิ ว่าคราวนคี้ งตัดอาลัยในพระอานนทไ์ ด้เปน็ แนแ่ ท้
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า แต่ความรักย่อมมีวงจรของมัน จนกว่ารักน้ันจะส้ินสุดลง ชวี ติ มกั จะเปน็ อยา่ งนเ้ี สมอ เมอื่ ใครคนหนงึ่ พยายามดนิ้ รนหาความ รกั เขามกั จะไมส่ มปรารถนา แตพ่ อเขาทำ� ทา่ จะหน ี ความรกั กต็ าม มา ความรักจึงมีลักษณะคล้ายเงา เมื่อบุคคลวิ่งตาม มันจะวิ่งหน ี แต่เมือ่ เขาวง่ิ หนี มันจะวิ่งตาม ด้วยกฎอันนี้กระมัง เม่ือนางหนีรักออกจากเชตวันและมา สงบอยู่ ณ กรุงโกสัมพีน้ี เมื่อออกพรรษาแล้ว ข่าวการเสด็จสู่กรุง โกสัมพีของพระผู้มีพระภาคก็แพร่สะพัดมา ซึ่งเป็นการแน่นอนว่า พระอานนท์จะตอ้ งตามเสดจ็ มาดว้ ย ชาวโกสัมพีทราบข่าวนี้ด้วยความช่ืนชมโสมนัส ภิกษุสงฆ์ ตา่ งจดั แจงปดั กวาดเสนาสนะ เตรยี มพระคนั ธกฎุ ที ป่ี ระทบั ของพระ 85 ศาสดา พระเจา้ อเุ ทนเองซงึ่ ไมค่ อ่ ยจะสนพระทยั ในทางธรรมนกั ก ็ อดท่ีจะทรงปรีดาปราโมชมิได้ เพราะถือว่าพระศาสดาเสด็จไป ณ ที่ใด ย่อมน�ำความสงบสุขและมงคลไปสู่ที่นั้นด้วย การสนทนา เรอ่ื งการเสดจ็ มาของพระศาสดา มอี ยทู่ กุ หวั ระแหงแหง่ กรงุ โกสมั พ ี ศาสดาคณาจารยเ์ จา้ ลทั ธติ า่ งๆ กเ็ ตรยี มผกู ปญั หาเพอ่ื ทลู ถาม บาง ท่านก็เตรียมถามเพ่ือความรู้ความเข้าใจจริง และบางท่านก็ต้อง เตรียมถามเพียงเพ่ือเทียบเคียงความคิดเห็นเท่าน้ัน หมู่ภิกษุสงฆ ์ ปีติปราโมชเป็นอันมาก เพราะการเสด็จมาของพระศาสดา ย่อม หมายถึงการได้ยินได้ฟังมธุรภาษิตจากพระองค์ด้วย และบางท่าน อาจจะไดบ้ รรลุคณุ วเิ ศษเบอื้ งสูงเพราะธรรมเทศนาน้ัน ใครจะทราบบ้างเล่าว่า ดวงใจของโกกิลาภิกษุณีจะเป็น ประการใด เมื่อบา่ ยวันหน่ึง เพื่อนภกิ ษณุ ีน�ำขา่ วมาบอกนางวา่
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “น่ี โกกิลา ท่านทราบไหมว่าพระศาสดาจะเสด็จมาถึงเร็วๆ น”ี้ “อย่างนั้นหรือ?” นางมีอาการต่ืนเต้นเต็มท่ี “เสด็จมาองค์ เดียวหรอื อย่างไร?” “ไมอ่ งคเ์ ดยี วหรอก ใครๆ กร็ วู้ า่ เมอ่ื พระพทุ ธองคเ์ สดจ็ มาจะ ตอ้ งมพี ระเถระผใู้ หญม่ าดว้ ยหรอื อาจจะมาสมทบทหี ลงั กไ็ ด ้ แตท่ า่ น ท่ีตอ้ งตามเสด็จแน่ คอื พระอานนทพ์ ทุ ธอนุชา” “พระอานนท์” นางอทุ าน พร้อมด้วยเอามอื ทาบอก “ท�ำไมหรือ โกกิลา ดูท่านต่ืนเต้นมากเหลือเกิน?” ภิกษุณี รูปนนั้ ถามอย่างสงสัย 86 “เปล่าดอก ข้าพเจ้าดีใจที่จะได้เฝ้าพระศาสดา และฟังพระ ธรรมเทศนาของพระองค์ ดีใจจนควบคมุ ตวั ไม่ได้” นางตอบเล่ยี ง “ใครๆ เขาก็ดีใจกันท้ังน้ันแหละโกกิลา คราวน้ีเราคงได้ฟัง ธรรมกถาอนั ลกึ ซง้ึ และไดฟ้ งั มธรุ ภาษติ ของพระมหาเถระ เชน่ พระ สารีบุตรและพระมหากัสสปะ หรือพระอานนท์ เป็นต้น” ภิกษุณี รูปนั้นกลา่ ว วันที่รอคอยก็มาถึง พระศาสดา มีพระภิกษุสงฆ์อรหันต์หมู ่ ใหญ่แวดล้อม เสด็จถึงกรุงโกสัมพี พระราชาธิบดีอุเทนและเสนา มหาอ�ำมาตย์ พ่อค้าประชาชน สมณพราหมณาจารย์ ถวายการ ต้อนรับอย่างมโหฬาร ย่ิงก่อนถึงซุ้มประตูโฆสิตารามประมาณกึ่ง โยชน์มีประชาชนจ�ำนวนแสนคอยรับเสด็จ มรรคาดารดาษไปด้วย กลีบดอกไม้นานาพันธุ์หลากสี ที่ประชาชนน�ำมาโปรยปรายเพ่ือ เปน็ พทุ ธบชู า
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ในบริเวณอารามก่อนเสด็จถึงพระคันธกุฎี มีภิกษุและ ภกิ ษณุ จี ำ� นวนมากรอรบั เสดจ็ ทกุ ทา่ นมแี ววแหง่ ปตี ปิ ราโมช ถวาย บังคมพระศาสดาดว้ ยความเคารพอันสงู สดุ พระอานนทต์ ามเสด็จ พระพทุ ธองค์ดว้ ยกิริยาที่งดงามมองดูนา่ เลือ่ มใส ทกุ คนตา่ งช่นื ชม พระศาสดาและพระอานนท ์ และผทู้ ช่ี นื่ ชมในพระอานนทเ์ ปน็ พเิ ศษ กเ็ หน็ จะเป็นโกกิลาภกิ ษุณนี ั่นเอง ทนั ใดทน่ี างไดเ้ หน็ พระอานนท ์ ความรกั ซง่ึ สงบตวั อยกู่ ฟ็ งุ้ ขนึ้ มาอีก คราวน้ีดูเหมือนจะรุนแรงย่ิงกว่าคราวก่อน เพราะเป็นเวลา ๓ เดือนแล้วท่ีนางมิได้เห็นพระอานนท์ ความรักท่ีท�ำท่าจะสงบลง นน้ั มนั เปน็ เหมอื นตณิ ชาตซิ งึ่ ถกู รดิ รอน ณ เบอ้ื งปลาย เมอ่ื ขน้ึ ใหม่ ยอ่ มขึ้นไดส้ วยกวา่ มากกว่าและแผข่ ยายโตกวา่ ฉะนนั้ นางรบี กลบั สหู่ อ้ งของตน บดั น ี้ ใจของนางเรมิ่ ปน่ั ปว่ นรวนเร 87 อีกแล้ว จริงทีเดียว ในจักรวาลน้ีไม่มีไฟอะไรร้อนแรงและดับยาก เท่าไฟรัก ความรักเป็นความเรียกร้องของหัวใจ มนุษย์เราท�ำอะไร ลงไปเพราะเหตุเพียง ๒ อย่างเท่านั้น คือเพราะหน้าที่อย่างหนึ่ง และเพราะความเรียกร้องของหัวใจอีกอย่างหน่ึง ประการแรก แม้ จะส�ำเร็จบ้างไม่ส�ำเร็จบ้าง มนุษย์ก็ไม่ค่อยจะเดือดร้อนเท่าใดนัก เพราะคนสว่ นมากหาไดร้ กั หนา้ ทเี่ ทา่ กบั ความสขุ สว่ นตวั ไม ่ แตส่ งิ่ ที่ หัวใจเรียกร้องน่ีสิ ถ้าไม่ส�ำเร็จ หรือไม่สามารถสนองได้ หัวใจจะ ร�่ำร้องอยู่ตลอดเวลา มันจะทรมานไปจนกว่าจะหมดฤทธิ์ของมัน หรือมนุษยผ์ ู้น้ันตายจากไป โกกิลาภิกษุณีก�ำลังต่อสู้กับสิ่ง ๒ อย่างน้ีอย่างน่าสงสาร หน้าที่ของนาง คือ การท�ำลายความรักความใคร่ บัดนี้นางเป็น
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ภกิ ษณุ ี มิใชห่ ญงิ ชาวบา้ นธรรมดา นางจงึ ตอ้ งพยายามกำ� จัดความ รกั ความใครร่ ะหวา่ งเพศใหห้ มดไป แตห่ วั ใจของนางกำ� ลงั เรยี กรอ้ ง หาความรัก หน้าท่ีกับความเรียกร้องของหัวใจ อย่างไหนจะแพ้จะ ชนะกแ็ ลว้ แตค่ วามเขม้ แขง็ ของอำ� นาจฝา่ ยสงู หรอื ฝา่ ยตำ�่ ผหู้ ญงิ นน้ั ลงไดท้ มุ่ เทความรกั ใหแ้ กใ่ ครแลว้ กม็ น่ั คงเหนยี วแนน่ ยง่ิ นกั ยากท ี่ จะถ่ายถอน และความรักที่ไม่มีทางสมปรารถนาเลยนั้นเป็นความ ปวดรา้ วอยา่ งยง่ิ สำ� หรบั ผหู้ ญงิ ดวงใจของเธอจะระบมบม่ หนอง ใน ทส่ี ดุ กแ็ ตกสลายลงดว้ ยความชอกชำ�้ นนั้ อนจิ จา โกกลิ า แมเ้ ธอจะร ู้ ว่าความรักของเธอไม่มีทางจะสมปรารถนาได้เลย แต่เธอก็ยังรัก สดุ ทีจ่ ะหักห้ามและถา่ ยถอนได้ 88 อีกคืนหน่ึงท่ีนางต้องกระวนกระวายรัญจวนจิตถึงพระ อานนท์ นอนพลิกไปพลิกมา นัยน์ตาเหม่อลอยอย่างไร้จุดหมาย นานๆ จึงจะจับน่ิงอยู่ท่ีเพดานหรือขอบหน้าต่าง นางรู้สึกว้าเหว ่ เหมอื นอยทู่ า่ มกลางปา่ ลกึ เพยี งคนเดยี ว ทำ� ไมนางจงึ วา้ เหว ่ ในเมอื่ คืนน้ันเป็นคืนแรกท่ีพระศาสดาเสด็จมาถึง ราชามหาอำ� มาตย์และ พ่อค้าคหบดีมากหลายมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเหมือนสายน้�ำท่ี หลง่ั ไหลอยมู่ ไิ ดข้ าดระยะ มนั เปน็ เรอื่ งของผหู้ ญงิ ทผี่ ชู้ ายนอ้ ยคนนกั จะเขา้ ใจและเหน็ ใจ ภิกษุณีโกกิลาถอนสะอ้ืนเบาๆ เมื่อเร่าร้อนและกลัดกลุ้มถึง ท่ีสุด น�้ำตาเท่าน้ันที่จะช่วยบรรเทาความระทมขมข่ืนลงได้บ้าง เพอ่ื นทด่ี ใี นยามทกุ ขส์ ำ� หรบั ผหู้ ญงิ กค็ อื นำ�้ ตา ดเู หมอื นจะไมม่ อี ะไร อกี แลว้ จะเปน็ เครอ่ื งปลอบประโลมใจไดเ้ ทา่ นำ�้ ตา แมม้ นั จะหลงั่ ไหล จากข้วั หวั ใจ แต่มนั ก็ช่วยบรรเทาความอดึ อดั ลงได้บ้าง
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า เนอ่ื งจากผหู้ ญงิ ถอื วา่ ชวี ติ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของความรกั ตรงกนั ข้ามกับผู้ชายซ่ึงมักจะเห็นว่าความรักเป็นเพียงบางส่วนของชีวิต เทา่ นนั้ เมอื่ เกดิ ความรกั ผหู้ ญงิ จงึ ทมุ่ เทชวี ติ และจติ ใจใหแ้ กค่ วามรกั นั้น ทุม่ เทอย่างยอมเป็นทาส โกกลิ าเปน็ ผู้หญิงคนหนง่ึ ในโลก เธอ จะหลกี เลย่ี งความจรงิ ในชวี ิตหญงิ ไปไดอ้ ยา่ งไร พระด�ำรัสของพระศาสดา ซ่ึงทรงแสดงแก่พุทธบริษัทเมื่อ สายณั หย์ งั คงแวว่ อยใู่ นโสตของนาง พระองคต์ รสั วา่ “ไมค่ วรปลอ่ ย ตนให้ตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจแห่งความรัก เพราะการพลัดพรากจาก สิ่งอนั เปน็ ทีร่ ักเป็นเรอ่ื งทรมาน และเรือ่ งทจ่ี ะบงั คบั มใิ หพ้ ลดั พราก ก็เป็นสิ่งที่สุดวิสัย ทุกคนจะต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นท่ีรัก ทพี่ อใจ ไมว่ นั ใดกว็ นั หนงึ่ ” พระพทุ ธดำ� รสั นช้ี า่ งเปน็ ความจรงิ เสยี น่ี 89 กระไร แต่เธอจะพยายามหักห้ามมิให้คิดถึงพระอานนท์สักเท่าใด กห็ าส�ำเร็จไม่ เธอตกเป็นทาสแหง่ ความรักแลว้ อยา่ งหมดสิ้นหัวใจ รงุ่ ขน้ึ เวลาบา่ ย นางเทยี่ วเดนิ ชมโนน่ ชมน ี่ ในบรเิ วณโฆสติ าราม เพื่อบรรเทาความกระวนกระวายกลัดกลุ้มรุ่มร้อน เธอเดินมา หยดุ ยนื อยูร่ ิมสระซ่ึงมีบวั บานสะพรง่ั รอบๆ สระมีมา้ นั่งท�ำดว้ ยไม้ และมีพนักพิงอย่างสบาย เธอชอบมานั่งเล่นบริเวณสระนี้เสมอๆ ดูดอกบัว ดูแมลงซ่ึงบินวนไปเวียนมาอยู่กลางสระ ลมพัดเฉ่ือยฉิว หอบเอากลิ่นดอกบัวและกล่ินน�้ำคละเคล้ากันมา ท�ำให้นางมีความ แชม่ ชน่ื บา้ ง ธรรมชาตเิ ปน็ สงิ่ ทมี่ คี ณุ คา่ ตอ่ ชวี ติ เสมอ มนั เปน็ เพอ่ื น ที่ดีทั้งยามสุขและยามทุกข์ ชีวิตที่อยู่กับธรรมชาติมักจะเป็นชีวิต ท่ีช่ืนสุข เบาสบาย ย่ิงมนุษย์ทอดทิ้ง ห่างเหินจากธรรมชาติมาก เทา่ ใด เขากย็ ่ิงห่างความสขุ ออกไปทกุ ทีมากเท่าน้นั
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ขณะท่ีนางก�ำลังเพลินอยู่กับธรรมชาติอันสวยงาม และดู เหมือนความรุ่มร้อนจะลดลงไปบ้างนั้นเอง นางได้ยินเสียงเหมือน คนเดินอยู่เบ้ืองหลัง ทันทีท่ีนางเหลียวไปดู ภาพ ณ เบื้องหน้านาง เข้ามาท�ำลายความสงบราบเรียบโดยพลัน พระอานนท์และโฆสิต มหาเศรษฐเี จา้ ของอารามนนั่ เอง นางรสู้ กึ ตะครนั่ ตะครอ มอื และรมิ ฝปี ากของนางเรมิ่ สน่ั นอ้ ยๆ เหมอื นคนเรม่ิ จะจบั ไข ้ เมอื่ พระอานนท ์ เข้ามาใกล้ นางถอยหลังไปนิดหน่ึงโดยมิได้ส�ำนึกว่าเบื้องหลังของ นาง ณ บัดน้ีคือสระน�้ำ บังเอิญเท้าข้างหน่ึงของเธอเหยียบดินแข็ง กอ้ นหนึ่ง เธอเสียหลกั และล้มลง พระอานนทแ์ ละโฆสติ มหาเศรษฐตี กตะลงึ จงั งงั ยนื นง่ิ เหมอื น 90 รูปปั้นศิลา สักครู่หนึ่งจึงได้สติ แต่ไม่ทราบจะช่วยเธอประการใด เธอเปน็ ภกิ ษณุ ี อนั ใครๆ จะถกู ตอ้ งมไิ ด ้ อยา่ พดู ถงึ พระอานนทเ์ ลย แม้โฆสิตมหาเศรษฐีเองก็ไม่กล้าย่ืนมือประคองนางให้ลุกข้ึน นาง พยายามชว่ ยตวั เองจนสามารถลกุ ขน้ึ มาสำ� เรจ็ แลว้ คกุ เขา่ ลงเบอ้ื งหนา้ พระอานนท ์ กม้ หน้านงิ่ ดว้ ยความละอาย “น้องหญิง” เสียงทุ้มๆ นุ่มนวลของพระอานนท์ปรากฏแก่ โสตของนางเหมือนแว่วมาตามสายลมจากท่ีไกล “อาตมาขออภัย ด้วย ทีท่ ำ� ให้เธอตกใจและล�ำบาก เธอเจบ็ บา้ งไหม?” เสียงเรียบๆ แต่แฝงไว้ด้วยความห่วงใยของพระอานนท ์ ได ้ เป็นเหมือนน้�ำทิพย์ชโลมใจนางให้ชื่นบาน อะไรเล่าจะเป็นความ ชน่ื ใจของสตรมี ากเทา่ รสู้ กึ วา่ ชายทต่ี นพะวงรกั มคี วามหว่ งใยในตน สตรเี ปน็ เพศทจี่ ำ� ความดขี องผอู้ น่ื ไดเ้ กง่ พอๆ กบั การใหอ้ ภยั และลมื ความผิดพลาดของชายอันตนรัก เหมือนเด็กน้อย แม้จะถูกเฆี่ยน
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า 91
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ มาจนปวดรา้ วไปทงั้ ตวั แตพ่ อมารดาผเู้ พงิ่ จะวางไมเ้ รยี วแลว้ หนั มา ปลอบด้วยค�ำอันอ่อนหวานสักครู่หนึ่ง และแถมด้วยขนมชิ้นน้อยๆ บ้างเท่าน้ัน เด็กน้อยจะลืมเรื่องไม้เรียว กลับหันมาชื่นชมยินดีกับ คำ� ปลอบโยนและขนมชน้ิ นอ้ ย เขาจะซกุ ตวั เขา้ สอู่ อ้ มอกของมารดา และกอดรัดเหมือนอาลัยอย่างท่ีสุด การให้อภัยแก่คนที่ตนรักน้ัน ไมม่ ที สี่ นิ้ สดุ ในหวั ใจของสตร ี และบางทกี เ็ ปน็ เพราะธรรมชาตอิ นั นี้ ด้วยท่ีท�ำให้เธอชอกช้�ำแล้วชอกช�้ำอีก แต่มนุษย์ทั้งบุรุษและสตรี เปน็ สตั วโ์ ลกทไี่ มค่ อ่ ยรจู้ กั เขด็ หลาบ จงึ ตอ้ งชอกชำ�้ ดว้ ยกนั อยเู่ นอื งๆ นางช้อนสายตาขึ้นมองพระอานนท์แว่บหนึ่งแล้วคงก้มหน้า ตอ่ ไป ไมม่ เี สยี งตอบจากนาง เหมอื นมอี ะไรมาจกุ ทค่ี อหอย เธอพดู 92 ไม่ออกบอกไม่ถูก ว่าเธอดใี จหรือเสยี ใจทเี่ กิดเหตุการณ์น้ีข้นึ “น้องหญิง” เสียงพระอานนท์ถามข้ึนอีก “เธอเจ็บบ้างไหม? อาตมาเป็นห่วงว่าเธอจะเจบ็ ” “ไม่เปน็ ไร พระคณุ เจา้ ” เสยี งตอบอย่างยากเย็นเต็มที “เธอมาอยู่ทีน่ ี่สบายดหี รอื ?” “พอทนได้ พระคณุ เจา้ ” “แม่นางต้องการอะไรเก่ียวกับปัจจัย ๔ ขอให้บอกข้าพเจ้า ขา้ พเจา้ ขอปวารณาไว”้ ทา่ นเศรษฐพี ดู ขน้ึ บา้ ง แลว้ พระอานนทแ์ ละ โฆสติ เศรษฐีก็จากไป นางมองตามพระอานนท์ด้วยความรัญจวนพิศวาส นางรสู้ ึก เหมอื นอยากใหห้ กลม้ วนั ละ ๕ ครงั้ ถา้ การหกลม้ นน้ั เปน็ เพราะเธอ ได้เหน็ พระอานนท์อนั เปน็ ที่รกั นางเดินตามพระอานนทไ์ ปเหมือน ถูกสะกด ความรักท�ำให้บุคคลท�ำสิ่งต่างๆ อย่างคร่ึงหลับคร่ึงต่ืน
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า ครหู่ นง่ึ นางจงึ หยดุ เหมอื นนกึ อะไรขน้ึ ได ้ แลว้ เหลยี วหลงั กลบั สทู่ อี่ ย ู่ ของนาง นางกลับสู่ภิกขุนูปัสสยะท่ีพักของภิกษุณี ด้วยหัวใจที่เศร้า หมอง ความอยากพบและอยากสนทนาด้วยพระอานนท์น้ันมีมาก สุดประมาณ บุคคลเมื่อมีความปรารถนาอย่างรุนแรง ย่อมคิดหา อุบายเพ่ือให้บรรลุส่ิงที่ปรารถนาน้ัน เม่ือไม่ได้โดยอุบายท่ีชอบ ก ็ พยายามท�ำโดยเล่ห์กลมารยา สุดแล้วแต่ความปรารถนานั้นจะ ส�ำเร็จได้โดยประการใด โดยเฉพาะความปรารถนาในเร่ืองรักด้วย แล้ว ย่อมหันเหบิดเบือนจิตใจของผู้ตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจของมันให้ กระทำ� ไดท้ กุ อยา่ ง พระพทุ ธองคจ์ งึ ตรสั วา่ เมอื่ ใดความรกั และความ หลงครอบง�ำ เม่อื นนั้ บุคคลก็มืดมนเสมือนคนตาบอด นางปิดประตูกุฏินอนเหมือนคนเจ็บหนัก ภิกษุณีผู้อยู่ห้อง 93 ตดิ กนั ไดย้ นิ เสยี งคราง จึงเคาะประตูเรียก “ทา่ นเปน็ อะไรหรอื โกกลิ า?” สนุ นั ทาภกิ ษณุ ถี ามดว้ ยความ เป็นห่วง “ไมเ่ ปน็ ไรมากดอก สนุ นั ทา ปวดศรี ษะเลก็ นอ้ ย แตด่ เู หมอื น จะมอี าการไข ้ ตะครั่นตะครอ เนอ้ื ตวั หนักไปหมด” โกกิลาตอบ “ฉนั ยาแลว้ หรือ?” “เรยี บรอ้ ยแล้ว” “อ้อ มีอะไรจะให้ข้าพเจ้าช่วยท่านบ้าง ไม่ต้องเกรงใจนะ ข้าพเจา้ ยินดเี สมอ” “มีธุระบางอย่าง ถ้าท่านเต็มใจจะช่วยเหลือก็พอท�ำได้” โกกิลาพดู มีแววแชม่ ชื่นขน้ึ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ “มีอะไรบอกมาเถิด ถ้าข้าพเจ้าพอช่วยได้ก็ยินดี” สุนันทา ตอบดว้ ยความจรงิ ใจ “ท่านรจู้ ักพระอานนท์มใิ ชห่ รือ?” “รสู้ โิ กกลิ า พระอานนท ์ ใครๆ กต็ อ้ งรจู้ กั ทา่ น เวน้ แตผ่ ไู้ มร่ จู้ กั พระผู้มพี ระภาคเจา้ เทา่ นน้ั ท่านมีธุระที่พระอานนทห์ รอื ?” “ถา้ ไมเ่ ป็นการล�ำบากแกท่ า่ น ขา้ พเจ้าอยากวานใหท้ า่ นชว่ ย นิมนต์พระอานนท์มาท่ีนี่ ข้าพเจ้าอยากฟังโอวาทจากท่าน เวลาน ี้ ขา้ พเจา้ กำ� ลงั ปว่ ย ชวี ติ เปน็ ของไมแ่ น ่ พระพทุ ธองคต์ รสั ไวม้ ใิ ชห่ รอื วา่ ความแตกดบั แหง่ ชวี ติ ความเจบ็ ปว่ ย กาลเปน็ ทตี่ าย สถานทท่ี ง้ิ ร่างกายและคติในสัมปรายภพเป็นส่ิงที่ไม่มีเครื่องหมาย ใครๆ รู้ 94 ไมไ่ ด ้ เพราะฉะนน้ั ขอทา่ นอาศยั ความอนเุ คราะห ์ เกอื้ กลู แกข่ า้ พเจา้ ไปหาพระอานนท์ แล้วเรียนท่านตามค�ำของข้าพเจ้าว่า โกกิลา ภิกษุณีขอนมัสการท่านด้วยเศียรเกล้า เวลาน้ีนางป่วยไม่สามารถ ลุกข้ึนได้ ถ้าพระคุณเจ้าจะอาศัยความกรุณาไปเยี่ยมไข้ จะเป็น ประโยชนเ์ ก้อื กลู และความสขุ แก่นางหานอ้ ยไม่” เวลานั้นบ่ายมากแล้ว ความอบอ้าวลดลง บริเวณอารามซึ่ง มีพันธุ์ไม้หลายหลากดูร่มรื่นย่ิงขึ้น นกเล็กๆ บนก่ิงไม้ว่ิงไล่กัน อยา่ งเพลดิ เพลนิ บางพวกรอ้ งทกั ทายกนั อยา่ งสนทิ สนมและชนื่ สขุ ดิรัจฉานเป็นสัตว์โลกที่มีความรู้น้อยและความสามารถน้อย มันม ี ความรคู้ วามสามารถแตเ่ พยี งหากนิ และหลบหลกี ภยั เฉพาะหนา้ แต่ ดเู หมอื นมนั จะมคี วามสขุ ยง่ิ กวา่ มนษุ ยซ์ ง่ึ ถอื ตนวา่ ฉลาดและมคี วาม สามารถเหนอื สตั วโ์ ลกทง้ั มวล เปน็ ความจรงิ ทวี่ า่ ความสขุ นน้ั ขนึ้ อย ู่ กบั ความพอใจ มนษุ ยไ์ มว่ า่ จะอยใู่ นเพศไหนและภาวะใด ถา้ สามารถ
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า พอใจในภาวะนนั้ ได้ เขากม็ คี วามสขุ คนยากจนหาเชา้ กนิ ค�่ำอาจจะ มีความสุขกว่ามหาเศรษฐีหรือมหาราชาผู้เร่าร้อนอยู่เสมอ เพราะ ความปรารถนาและทะยานอยากอนั ไมร่ จู้ กั สนิ้ สดุ มนษุ ยเ์ ราจะมสี ต ิ ปญั ญาฉลาดปานใดกต็ าม ถา้ ไรเ้ สยี แลว้ ซง่ึ ปญั ญาในการหาความสขุ ให้แก่ตนโดยทางที่ชอบ เขาผู้น้ันควรจะทะนงตนว่าฉลาดกว่าสัตว์ ละหรือ?” มนุษย์ส่วนใหญ่มักจะปล่อยให้ความอยากความดิ้นรน ออกหน้า แล้วว่ิงตาม เหมือนวิ่งตามเงาของตนเองในเวลาบ่าย ยิ่ง วง่ิ ตาม กด็ เู หมอื นเงาจะหา่ งตวั ออกไปทกุ ท ี ทกุ คนตอ้ งการและมงุ่ มน่ั ในความสุข แต่ความสุขก็เป็นเหมือนเงาน่ันเอง ความสุขมิใช่เป็น สง่ิ ทเี่ ราจะตอ้ งแสวงหาและมงุ่ มอง หนา้ ทโี่ ดยตรงทมี่ นษุ ยค์ วรทำ� นน้ั 95 คอื การมองทกุ ขใ์ หเ้ หน็ พรอ้ มทง้ั ตรวจสอบพจิ ารณาสาเหตแุ หง่ ทกุ ข ์ น้ัน แล้วท�ำลายสาเหตุแห่งทุกข์เสีย โดยนัยน้ีความสุขก็จะเกิดขึ้น เอง เหมอื นผปู้ รารถนาความสขุ ความเจรญิ แกป่ ระเทศชาต ิ ถา้ ปราบ เสยี้ นหนามและเรอ่ื งรา้ ยในประเทศมไิ ด ้ กอ็ ยา่ หวงั เลยวา่ ประชาชาติ จะเจริญและผาสุก หรือเหมือนผู้ปรารถนาสุขแก่ร่างกาย ถ้ายัง กำ� จดั โรคในรา่ งกายมไิ ด ้ ความสขุ กายจะมไี ดอ้ ยา่ งไร แตถ่ า้ รา่ งกาย ปราศจากโรค มอี นามยั ด ี ความสุขกายกม็ มี าเอง ดว้ ยประการฉะนป้ี รชั ญาเถรวาทจงึ ใหห้ ลกั เราไวว้ า่ “มองทกุ ข์ ใหเ้ หน็ จงึ เปน็ สขุ ” อธบิ ายวา่ เมอื่ เหน็ ทกุ ข ์ กำ� หนดรทู้ กุ ข ์ และคน้ หา สมฏุ ฐานของทกุ ขแ์ ลว้ ทำ� ลายสาเหตแุ หง่ ทกุ ขน์ นั้ เสยี เหมอื นหมอ ทำ� ลายเชอ้ื อนั เปน็ สาเหตแุ หง่ โรค ยงิ่ ทกุ ขล์ ดนอ้ ยลงเทา่ ใด ความสขุ ก็ยิ่งเพ่ิมขึ้นเท่าน้ัน ความทุกข์ท่ีลดลงน่ันเองคือความสุข เหมือน
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ ทศั นะทางวทิ ยาศาสตรท์ ถี่ อื วา่ ความเยน็ ไมม่ ี มแี ตค่ วามรอ้ น ความเยน็ คือความร้อนท่ีลดลง เมื่อความร้อนลดลงถึงท่ีสุดก็กลายเป็น ความเย็นท่ีสุด ท�ำนองเดียวกันเมื่อความทุกข์ลดลงถึงท่ีสุดก็กลาย เป็นความสุขท่ีสุด ขั้นแห่งความสุขน้ันมีข้ึน ตามขั้นแห่งความทุกข์ ทล่ี ดลง คำ� สอนทางศาสนาเมอ่ื วา่ โดยนยั หนงึ่ จงึ เปน็ เรอื่ งของ “ศลิ ปะ แหง่ การลดทุกข”์ น่ันเอง พระอานนทไ์ ดร้ บั คำ� บอกเลา่ จากสนุ นั ทาภกิ ษณุ แี ลว้ ใหร้ สู้ กึ เป็นหว่ งกังวลถึงโกกลิ าภกิ ษุณยี ่งิ นกั ท่านคิดวา่ หรือจะเป็นเพราะ นางหกล้มเม่ือบ่ายน้ีกระมัง จึงเป็นเหตุให้นางป่วยลง อนิจจา โกกิลา เธอรักเรา เราหรือจะไม่รู้ แต่เธอมาหลงรักคนท่ีไม่มีหัวใจ 96 จะรักเสียแล้ว เหมือนเด็กน้อยผู้ไม่ประสาต่อความตาย นั่งร�่ำร้อง เร่งเร้าขอค�ำตอบจากมารดาผู้นอนตายสนิทแล้ว ช่างน่าสงสาร สังเวชเสียนี่กระไร ผู้หญิงมีความอ่อนแอท้ังด้านร่างกายและจิตใจ พระศาสดาจึงกีดกันนักหนาในเบ้ืองแรกท่ีจะให้สตรีบวชในศาสนา ท้ังนี้เป็นเพราะพระมหากรุณาของพระองค์ ท่ีไม่ต้องการให้สตร ี ลำ� บาก มเี รอ่ื งเดยี วเทา่ นนั้ ทสี่ ตรที นไดด้ กี วา่ บรุ ษุ นนั้ คอื การทนตอ่ ความเจ็บปวด พระอานนทม์ พี ระรปู หนง่ึ เปน็ ปจั ฉาสมณะ ไปสสู่ ำ� นกั ภกิ ษณุ ี เพื่อเย่ียมไข้ แต่เม่ือเห็นอาการไข้ของโกกิลาภิกษุณีแล้ว ความ สงสารและกังวลของท่านก็ค่อยๆ คลายตัวลง ความฉลาดอย่าง เลิศล้�ำของพระพุทธอนุชาแทงทะลุความรู้สึกและเคลัญญาการ (อาการไข้) ของนาง ท่านรู้สึกว่าท่านถูกหลอก ท่านไม่เช่ือเลยว่า นางจะเป็นไข้จริง “แต่เอาเถิด” พระอานนท์ปรารภกับตัวเอง
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า “โอกาสน้กี ็เป็นโอกาสดเี หมือนกนั ทีจ่ ะแสดงบางอยา่ งใหน้ างทราบ เพ่ือนางจะได้ละความพยายาม เลิกรักเลิกหมกมุ่นในโลกิยวิสัย หนั มาทำ� ความเพยี รเพอื่ ละสง่ิ ทค่ี วรละและเจรญิ สง่ิ ทค่ี วรทำ� ใหเ้ จรญิ ให้เหมาะสมกับเพศภิกษุณีแห่งนาง คงจะเป็นประโยชน์เก้ือกูล แก่นางไปตลอดกาลนาน คงจะเป็นปฏิการอันประเสริฐส�ำหรับ ความรกั ของนางผู้ภักดีตอ่ เราตลอดมา” 97
๘ โ ก กิ ล า ป ร ะ ห า ร กิ เ ล ส 98 และแล้วพระอานนท์ก็กลา่ วข้นึ วา่ “นอ้ งหญงิ ชวี ติ นเ้ี รม่ิ ตน้ ดว้ ยเรอ่ื งทนี่ า่ ละอาย ทรงตวั อยดู่ ว้ ย เรื่องที่ยุ่งยากสับสน และจบลงด้วยเร่ืองเศร้า อน่ึง ชีวิตนี้เร่ิมต้น และจบลงดว้ ยเสยี งครำ่� ครวญ เมอ่ื ลมื ตาขน้ึ ดโู ลกเปน็ ครงั้ แรก เราก็ ร้องไห้ และเม่ือจะหลับตาลง เราก็ร้องไห้อีก หรืออย่างน้อยก็เป็น สาเหตุให้คนอื่นหล่ังน้�ำตา เด็กร้องไห้พร้อมด้วยก�ำมือแน่น เป็น สัญลักษณ์ว่าเขาเกิดมาเพื่อจะหน่วงเหนี่ยวยึดถือ แต่เมื่อหลับตา ลาโลกนน้ั ทกุ คนแบมอื ออก เหมอื นจะเตอื นใหผ้ อู้ ยเู่ บอ้ื งหลงั สำ� นกึ และเปน็ พยานวา่ เขามิไดเ้ อาอะไรไปเลย
พ ร ะ อ า น น ท์ พุ ท ธ อ นุ ช า นอ้ งหญงิ อาตมาขอเลา่ เรอ่ื งสว่ นตวั ใหฟ้ งั สกั เลก็ นอ้ ยอาตมา เกิดแล้วในศากยวงศ์อันมีศักด์ิ ซึ่งเป็นที่เลื่องลือว่าบริสุทธิ์ยิ่งใน เร่ืองตระกูล อาตมาเป็นอนุชาแห่งพระบรมศาสดา และออกบวช ติดตามพระองค์เม่ืออายุได้ ๓๖ ปี ราชกุมารผู้มีอายุ ถึง ๓๖ ปี ที่ ยงั มดี วงใจผอ่ งแผว้ ไมเ่ คยผา่ นเรอ่ื งรกั ๆ ใครๆ่ มาเลยนนั้ เปน็ บคุ คล ทหี่ าไดย้ ากในโลก หรอื อาจจะหาไมไ่ ดเ้ ลยกไ็ ด ้ นอ้ งหญงิ อยา่ นกึ วา่ อาตมาจะเป็นคนวิเศษเลิศเลอกว่าราชกุมารทั้งหลาย อาตมาเคย ผ่านความรักมาแล้ว และได้ประจักษ์ว่าความรักเป็นความร้าย ความรักเป็นส่ิงที่ทารุณและเป็นเครื่องท�ำลายความสุขของปวงชน อาตมากลัวต่อความรักนั้น ทุกคนต้องการความสมหวังในชีวิตรัก แตค่ วามรกั ไมเ่ คยใหค้ วามหวงั แกใ่ ครถงึ ครงึ่ หนงึ่ แหง่ ความตอ้ งการ 99 ย่ิงความรักที่ฉาบทาด้วยความเสน่หาด้วยแล้ว จะเป็นพิษแก่จิตใจ ทำ� ใหท้ รุ นทรุ ายดน้ิ รนไมร่ จู้ กั จบสนิ้ ความสขุ ทเ่ี กดิ จากความรกั นน้ั เหมือนความสบายของคนป่วยท่ีได้กินของแสลง เธออย่าพอใจใน เรอ่ื งความรกั เลย เมอ่ื หวั ใจถกู ลบู ไลด้ ว้ ยความรกั หวั ใจนน้ั จะสรา้ ง ความหวังขึ้นอย่างเจิดจ้า แต่ทุกคร้ังท่ีเราหวัง ความผิดหวังก็จะรอ เราอย ู่ นอ้ งหญงิ อยา่ หวงั อะไรใหม้ ากนกั จงมองดชู วี ติ อยา่ งผชู้ ำ�่ ชอง อย่าวติ กกงั วลอะไรลว่ งหน้า ชีวติ นเี้ หมือนเกลยี วคลืน่ ซง่ึ ก่อตวั ข้นึ แล้วม้วนเข้าหาฝั่งและแตกกระจายเป็นฟองฝอย จงยืนมองดูชีวิต เหมอื นคนผยู้ ืนอยบู่ นฝัง่ มองดเู กลียวคลื่นในมหาสมทุ รฉะนน้ั โกกลิ าเอย เมอื่ ความรกั เกดิ ขน้ึ ความละอายและความเกรง กลวั ในสง่ิ ทคี่ วรกลวั กพ็ ลนั สน้ิ ไป เหมอื นกอ้ นเมฆมหมึ า เคลอื่ นตวั เข้าบดบังดวงจันทร์ให้อับแสง ธรรมดาสตรีน้ันควรจะยอมตาย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434