ภาพรายงานผลกจิ กรรมถอดบทเรยี นและประเมนิ โครงการอบรมการผลิตสื่อมลั ตมิ ีเดีย พัฒนาการอ่าน การเขยี น และการคดิ วิเคราะห์ (ภายใตโ้ ครงการยกระดบั คุณภาพการเรียนรู้ ด้านการอา่ น การเขียนและการคิดวเิ คราะห์ของนกั เรียนในระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน) ระหวา่ งวนั ที่ ๓-๔ สิงหาคม พ.ศ.256๒ ณ หอ้ งประชุมโรงแรมรเี จ้นท์ ชะอำ จังหวัดเพชรบรุ ี
ภาพรายงานผลกจิ กรรมถอดบทเรยี นและประเมนิ โครงการอบรมการผลิตสื่อมลั ตมิ ีเดีย พัฒนาการอ่าน การเขยี น และการคดิ วิเคราะห์ (ภายใตโ้ ครงการยกระดบั คุณภาพการเรียนรู้ ด้านการอา่ น การเขียนและการคิดวเิ คราะห์ของนกั เรียนในระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน) ระหวา่ งวนั ที่ ๓-๔ สิงหาคม พ.ศ.256๒ ณ หอ้ งประชุมโรงแรมรเี จ้นท์ ชะอำ จังหวัดเพชรบรุ ี
ภาพรายงานผลกจิ กรรมถอดบทเรยี นและประเมนิ โครงการอบรมการผลิตสื่อมลั ตมิ ีเดีย พัฒนาการอ่าน การเขยี น และการคดิ วิเคราะห์ (ภายใตโ้ ครงการยกระดบั คุณภาพการเรียนรู้ ด้านการอา่ น การเขียนและการคิดวเิ คราะห์ของนกั เรียนในระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน) ระหวา่ งวนั ที่ ๓-๔ สิงหาคม พ.ศ.256๒ ณ หอ้ งประชุมโรงแรมรเี จ้นท์ ชะอำ จังหวัดเพชรบรุ ี
ภาพรายงานผลกจิ กรรมถอดบทเรยี นและประเมนิ โครงการอบรมการผลิตสื่อมลั ตมิ ีเดีย พัฒนาการอ่าน การเขยี น และการคดิ วิเคราะห์ (ภายใตโ้ ครงการยกระดบั คุณภาพการเรียนรู้ ด้านการอา่ น การเขียนและการคิดวเิ คราะห์ของนกั เรียนในระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน) ระหวา่ งวนั ที่ ๓-๔ สิงหาคม พ.ศ.256๒ ณ หอ้ งประชุมโรงแรมรเี จ้นท์ ชะอำ จังหวัดเพชรบรุ ี
ภาพรายงานผลกจิ กรรมถอดบทเรยี นและประเมนิ โครงการอบรมการผลิตสื่อมลั ตมิ ีเดีย พัฒนาการอ่าน การเขยี น และการคดิ วิเคราะห์ (ภายใตโ้ ครงการยกระดบั คุณภาพการเรียนรู้ ด้านการอา่ น การเขียนและการคิดวเิ คราะห์ของนกั เรียนในระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน) ระหวา่ งวนั ที่ ๓-๔ สิงหาคม พ.ศ.256๒ ณ หอ้ งประชุมโรงแรมรเี จ้นท์ ชะอำ จังหวัดเพชรบรุ ี
หลกั สตู ร รายงานผลการอบรมข้าราชการครู โครงการการประดิษฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งง่าย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวิทย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวนั ที่ ๑๔ - ๑๕ สงิ หาคม พ.ศ.256๒ ณ หอ้ งประชมุ อาคาร 11 ชนั้ 9 มหาวิทยาลยั ราชภัฏบ้านสมเด็จเจา้ พระยา จงั หวดั กรุงเทพมหานคร โดย นายดลภมู ิ สรุ ิยันต์ ครผู ูช้ ว่ ย โรงเรียนวัดยกกระบัตร (ชุบราษฎรน์ สุ รณ)์ สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสาคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ กลุ่มงานวชิ าการโรงเรียนวดั ยกกระบตั ร(ชุบราษฎรน์ ุสรณ)์ ท่ี พิเศษ / 25๖๒ วันท่ี ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. 25๖๒ เร่ือง รายงานผลการอบรมตามโครงการการประดษิ ฐช์ ุดการทดลองวิทยาศาสตร์อยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใตโ้ ครงการ Chevron Enjoy Science “สนกุ วิทย์ พลงั คดิ เพื่ออนาคต” เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวัดยกกระบัตร(ชบุ ราษฎร์นสุ รณ์) ข้าพเจ้า นายดลภูมิ สุริยันต์ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย มีความประสงค์ขอเข้ารับการพัฒนาตาม โครงการการประดิษฐ์ชุดการทดลองวิทยาศาสตร์อย่างง่าย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวิทย์ พลังคิด เพื่ออนาคต”ระหว่างวันที่ 14 – 15 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชุม อาคาร 11 ชนั้ 9 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา จงั หวัดกรงุ เทพมหานคร โดยใช้พาหนะเป็นรถยนต์ส่วนบุคคล ข้าพเจ้าขอรับรองว่าการเดนิ ทางไปราชการใน ครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของข้าพเจ้าโดยตรงและจะรายงานการปฏิบัติราชการให้ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นทราบเม่อื กลับจากราชการ บดั น้ี การดำเนนิ การจดั กิจกรรมได้เสรจ็ สน้ิ เป็นทเ่ี รียบรอ้ ยแลว้ จงึ ขอรายงานการดำเนนิ การ ดังรายละเอียดแนบท้าย จงึ เรียนมาเพ่อื ทราบ ขอแสดงความนบั ถอื (นายดลภมู ิ สรุ ยิ ันต์) ครผู ู้ช่วย
รายงานผลการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดิษฐ์ชดุ การทดลองวิทยาศาสตร์อยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนกุ วทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม อาคาร 11 ช้ัน 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร ๑. โครงการ ชือ่ โครงการ (ภาษาไทย) การประดิษฐช์ ดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ย่างง่าย ชอื่ หลกั สตู ร (ภาษาอังกฤษ) Teaching Science Through Hands-on Experiment วนั ทีจ่ ดั อบรม วันพธุ - พฤหัสบดีท่ี ๑๔ - ๑๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ รปู แบบการอบรม/จำนวนชวั่ โมงอบรม อบรมเชิงปฏบิ ตั ิ 1๖ ชว่ั โมง สถานท่ีจัดอบรม ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ชั้น 9 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร ๒. ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรืออื่นๆ ทไ่ี ดร้ ับในการอบรมนำมาเพ่อื พฒั นางานของ หนว่ ยงาน ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ตลอดจนฝึกทักษะการปฏิบัติ ในหลักสูตรพัฒนาครูในด้านการใช้และการผลิตสือ่ การสอนวิทยาศาสตร์อย่างง่าย ในรูปของอุปกรณ์การทดลอง และการสาธิต แบบจำลอง และส่ือ ภาพเคลอ่ื นไหวตา่ งๆ ท่ใี ช้ในการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์สิ่งสำคัญท่ีเปน็ ตัวขับเคลื่อนคุณภาพในการ เรียนการสอน ในขั้นต้นการสรา้ งความเข้าใจเก่ียวกับธรรมชาติของการเรยี นวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ การได้ค้นพบ ส่ิงใหม่ (Discovery based Learning) การสร้างความเข้าใจผ่านแบบจำลอง (Model Based Learning) และ การเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการเชิงประจกั ษ์ (Evidence Based Learning) จนสามารถแนวคดิ วทิ ยาศาสตร์นั้นมา อธบิ ายหรอื ประยกุ ต์ใช้ โดยส่ือการสอนวทิ ยาศาสตร์ทีด่ ีจงึ มหี นา้ ทเ่ี ปน็ สะพานเชอ่ื มระหวา่ งความเป็นนามธรรม ไปสู่รูปธรรม การใช้แบบจำลองต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดและหลักการทางวิทยาศาสตร์ ความสัมพันธ์ ความเกย่ี วเนอื่ งของปัจจัยต่างๆ ไดอ้ ย่างชดั เจนมากข้นึ ในลักษณะของชดุ ทดลองอย่างงา่ ย เพ่ือให้นักเรียนได้ เป็นผู้ลงมือปฏิบัติการทดลอง เพื่อให้นักเรียนได้สังเกตและเรียนรู้ที่จะลงข้อสรุปด้วยตนเอง สื่อการสอน วทิ ยาศาสตรท์ ี่สอดคล้องกับธรรมชาติของการเรียนวิทยาศาสตร์ ย่อมทำใหก้ ารเรยี นวทิ ยาศาสตร์ นา่ สนใจ ทำ ใหน้ ักเรียนสนใจใฝ่รู้มากยงิ่ ขน้ึ ไม่ใชเ่ ชอื่ จากการบอกของครูหรอื จากตัวหนงั สือเพียงอย่างเดยี ว จึงเป็นการฝึก ให้นักเรียนเป็นคนเชื่อในหลักฐาน เป็นคนมีเหตุผล และเข้าใจว่า ความรู้ ทฤษฏีวิทยาศาสตร์ สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามหลักฐานที่เพิ่มขึน้ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรยี นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง วิธีใช้อุปกรณ์การซ่อมแซมสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง เช่น การใช้เครื่องยิงกาวร้อน การใช้บัดกรี การเคลือบ
พลาสติก ทักษะช่างพื้นฐาน และทักษะการประดิษฐ์ที่จำเป็นต่อการผลิตสื่อด้วยตนเอง รวมถึงการสะท้อน แนวคิดการใชส้ อ่ื และผลิตสือ่ ท่ีเปน็ ท้งั กิจกรรมการเรียนร้แู ละแนวทางการใช้สอ่ื เพ่ือการวัดประเมินความเข้าใจ ของนกั เรียน การเตรียมตวั ของขา้ พเจ้า ข้าพเจา้ จำเป็นต้องเตรียมการในด้านต่างๆ กอ่ นทจ่ี ะนำสอ่ื การสอนไป ใช้ ไดแ้ ก่ ๑. การศึกษาเน้ือหาในสอื่ การสอนท่ีได้จะใช้ เพอ่ื ตรวจสอบดูวา่ จุดเดน่ และจุดออ่ นของส่อื การสอนกับ เน้อื หาท่ีจะสอนเพื่อปรับกจิ กรรมการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับส่ือที่จะใช้ตอ่ ไป ๒. การตรวจสอบความสมบูรณ์ของสอื่ การสอน และลำดบั การใชง้ านสื่อการสอน และพร้อมใชง้ าน รวมถึงการกำหนดหรอื ออกแบบใบงานหรือใบกิจกรรมร่วมกับสอื่ นั้น ๓. การเตรยี มพร้อมของนกั เรยี น ในสว่ นของความรพู้ นื้ ฐานกอ่ นการใชส้ อื่ การสอนนน้ั ๆ รวมถงึ การชีแ้ จง การใชส้ ือ่ การสอนนน้ั ใหช้ ัดเจนในกรณที จี่ ำเปน็ เพ่อื ใหเ้ กิดการใช้สอื่ ทบ่ี รรลุตามคาดหวัง ๔. การใชส้ ่อื การสอน ครูผู้สอนควรเตรยี มคำถามก่อน ระหวา่ ง และหลงั การใช้สือ่ เพื่อให้เกดิ การเรียนรู้ จากการท่ผี ู้เรียนมปี ฏสิ มั พนั ธ์กับสอ่ื การสอน ๕. การใช้แนวทางการประเมินเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรโู้ ดยใช้สือ่ การสอน เปน็ การนำขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการใช้ ส่อื มาวิเคราะหเ์ พ่ือให้ข้อมลู ปอ้ นกลับแก่นกั เรยี น เพอ่ื พัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง ดังน้ันในฐานะผ้รู ับผดิ ชอบสอนในเนอ้ื หาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำเปน็ อย่างยง่ิ ท่ีข้าพเจา้ จะตอ้ ง มีความรเู้ กย่ี วกบั การใชส้ ื่อและการผลิตสอ่ื ในรูปแบบต่างๆ ท่ีสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาวทิ ยาศาสตรท์ ่ีมคี วามจำเพาะ และมีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้โู ดยไมม่ ีข้อจำกัดเรอ่ื งส่อื การสอน จะตอ้ งสามารถเลือก หรอื ประยุกต์ใชส้ ่ือการสอน เพอื่ เรา้ ความสนใจในการเรียนเนือ้ หาท่ียากต่อความเข้าใจ เติมเต็มแนวคิดที่เป็น นามธรรมด้วยสื่อการสอนที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้ สามารถช่วยให้ผู้เรยี นสามารถบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ตามท่ีข้าพเจ้าตัง้ เป้าหมายไว้ ซ่งึ จะช่วยลดปญั หาการตวิ ข้อสอบล่วงหน้าทั้งระดับชาติและระดับ นานาชาติทเ่ี นน้ การท่องจำมากกวา่ กระบวนการเรยี นรู้อย่างแท้จริง การใชแ้ ละเลอื กใช้สือ่ การสอนตา่ งๆ ทมี่ อี ยู่ ในปัจจุบัน และทดลองผลิตสื่อการสอนด้วยตนเองที่ใช้เวลาและต้นทุนในการผลิตต่ำ และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงวิธีใช้อุปกรณ์การซ่อมแซมสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง และ ทักษะการประดษิ ฐท์ ี่จำเปน็ ต่อการผลิตสื่อดว้ ยตนเอง รวมถงึ การสะทอ้ นแนวคดิ การใช้ส่ือและผลติ สอ่ื ท่ีเป็นท้ัง กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละแนวทางการใช้สอ่ื เพอ่ื การวัดประเมินความเข้าใจของนักเรียน อันเป็นหัวใจสำคัญของ การบูรณาการศาสตร์การสอนกับเนื้อหาวิทยาศาสตร์ (PCK in Science) ที่เชื่อว่า สื่อการสอนแม้มีคุณภาพ ราคาแพงเพยี งใดก็ตาม หากปราศจากแนวทางการให้งานท่ีเหมาะสมกบั นักเรยี นและเน้อื หาทจี่ ะเรยี น ก็ไม่อาจ ทำใหส้ ่อื การสอนนน้ั เกดิ การใช้งานอย่างมีคณุ ค่าข้ึนมาได้ ๓. การเผยแพร่ความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ และอ่ืนๆ แก่ผทู้ ่ีเก่ยี วข้อง ข้าพเจ้าได้มีการวางแผนการดำเนินงานในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ พนื้ ฐาน (ว2๓101) ในระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ โดยใช้การจัดการเรยี นรู้แบบ 7C และเทคนคิ Group of four ในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รู้บทบาทของตนในระหว่างการจัดกิจกรรม โดยเป็นไปตามขั้นตอนของ กระบวน PDCA ดังนี้ PLAN 1. วางแผนการจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน (ว2๓101) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ เพื่อให้สอดคล้องกบั ทกั ษะแห่งอนาคตใหม่ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 เหมาะสมกับ
ผเู้ รียนยุคไทยแลนด์ 4.0 บรู ณาการสะเต็มศึกษา โดยการจัดการเรยี นรู้เรอื่ ง การแพรข่ องสาร โดยใชส้ อ่ื ท่ี ผลติ ข้ึนอยา่ งงา่ ย DO 2. จดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน (ว2๓101) ออกแบบการเรียนโดยใช้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 7C เรื่องรถไฟเหาะตีลังกา ซึ่งเป็นกจิ กรรมสะเตม็ ศึกษา (STEM education) ที่มี การสอดแทรกความรู้เรื่องพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ โดยประยุกต์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (QSCCS) ได้แก่ นำความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การจัดการศึกษา ปฏบิ ัตกิ ารสร้างเดก็ พนั ธใ์ุ หม่ ศตวรรษท่ี 21 (สำหรับครู พอ่ แม่ ผูป้ กครอง) สู่ชมุ ชนการเรียนรู้ทางอาชีพ มีการวางแผนการวัดและประเมนิ ผู้เรียน ตามสภาพจรงิ สู่องคค์ วามรู้ทย่ี ่งั ยืน 3. นำแผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน (ว2๓10๑) ไปใชก้ บั นักเรยี นระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 256๒ CHECK 4. ทดสอบความรหู้ ลงั การใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ 5. เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนและหลังการจดั การเรียนรู้ ACTION ผลการพฒั นา 6. นกั เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี น 7. นำแผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ีใช้แลว้ มาปรับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรยี นตอ่ ไป ผลจากการอบรมคร้งั นี้ ทำใหข้ ้าพเจา้ เกดิ แรงบันดาลใจในการพัฒนาทกั ษะ ความรู้ ความสามารถเพื่อ ต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา ทักษะด้านการสร้างสรรค์ นวัตกรรม ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ รวมถงึ ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สารสารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ เป็นการสร้างความเข็มแข็งเชิงวิชาการในหลากหลายมิตอิ ีกดว้ ย สามารถทำให้ครูได้รว่ ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณท์ ตี่ นเองไดร้ ับ อีกทั้งสรา้ งความสนุกสนานเพลดิ เพลิน ความตื่นเตน้ และ ความประทับใจแก่ขา้ พเจ้าเปน็ อย่างมาก ลงชื่อ.................................................ผรู้ ายงาน (นายดลภมู ิ สุรยิ ันต์) ครู ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ............................................................... (นางฐติ ิมา แตงทอง) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวัดยกกระบตั ร(ชบุ ราษฎร์นุสรณ)์ วนั ท่ี ____/________/____
ภาพการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดษิ ฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ช้นั 9 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
ภาพการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดษิ ฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ช้นั 9 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
ภาพการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดษิ ฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ช้นั 9 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
ภาพการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดษิ ฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ช้นั 9 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
ภาพการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดษิ ฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ช้นั 9 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
ภาพการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดษิ ฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ช้นั 9 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
ภาพการอบรมข้าราชการครูโครงการการประดษิ ฐ์ชดุ การทดลองวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย (Teaching Science Through Hands-on Experiment) ภายใต้โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพ่อื อนาคต” ระหว่างวันที่ 14 – 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชมุ อาคาร 11 ช้นั 9 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานคร
รายงานผลการเป็นวิทยากรและรับโลห่ ์รางวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนกุ วทิ ย์ พลงั คิด เพอื่ อนาคต) กิจกรรมการประดษิ ฐช์ ุดทดลองการสอนวทิ ยาศาสตร์อย่างง่าย ประสบการณต์ รงจากครูผเู้ ช่ียวชาญไปสูน่ กั ศึกษาครูมอื ใหม่ วันที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ.256๒ ณ หอ้ งประชุม คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา จงั หวัดกรุงเทพมหานครฯ โดย นายดลภมู ิ สรุ ยิ ันต์ ครู คศ.1 โรงเรียนวดั ยกกระบัตร (ชบุ ราษฎรน์ ุสรณ)์ สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสาคร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ กลุ่มงานวชิ าการโรงเรยี นวดั ยกกระบตั ร(ชบุ ราษฎร์นุสรณ)์ ท่ี พเิ ศษ / 25๖๒ วนั ท่ี ๓ ธนั วาคม พ.ศ. 25๖๒ เรือ่ ง รายงานผลการเป็นวิทยากรและรับโล่หร์ างวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวิทย์ พลัง คิด เพ่อื อนาคต) กจิ กรรมการประดิษฐช์ ุดทดลองการสอนวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งง่าย ประสบการณต์ รง จากครผู ูเ้ ช่ียวชาญไปสู่นกั ศึกษาครมู ือใหม่ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนวดั ยกกระบัตร(ชบุ ราษฎรน์ สุ รณ์) ข้าพเจ้า นายดลภูมิ สุริยันต์ ตำแหน่ง ครูคศ.๑ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรและรับโล่รางวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนกุ วทิ ย์ พลงั คดิ เพ่ืออนาคต) กจิ กรรมการประดษิ ฐช์ ุดทดลองการสอน วทิ ยาศาสตร์อย่างงา่ ย ประสบการณต์ รงจากครูผู้เชี่ยวชาญไปสนู่ ักศกึ ษาครมู ือใหม่ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จังหวดั กรุงเทพมหานครฯ โดยใช้พาหนะเป็นรถยนต์ส่วนบุคคล ขา้ พเจา้ ขอรบั รองวา่ การเดินทางไปราชการในครง้ั น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบัติหนา้ ที่ ของขา้ พเจา้ โดยตรงและจะรายงานการปฏิบัติราชการให้ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนทราบเม่ือกลับ จากราชการ บัดนี้ การดำเนินการจัดกจิ กรรมไดเ้ สร็จสนิ้ เป็นที่เรียบร้อยแลว้ จงึ ขอรายงานการดำเนนิ การ ดังรายละเอยี ดแนบท้าย จงึ เรยี นมาเพื่อทราบ ขอแสดงความนบั ถือ (นายดลภมู ิ สรุ ยิ นั ต์) ครูคศ.๑
รายงานผลการเปน็ วิทยากรและรบั โล่หร์ างวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวิทย์ พลงั คิด เพื่ออนาคต) กิจกรรมการประดิษฐ์ชดุ ทดลองการสอนวิทยาศาสตร์อย่างงา่ ย ประสบการณ์ตรง จากครูผเู้ ช่ียวชาญไปสนู่ ักศึกษาครูมือใหม่ วันที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชุม คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจา้ พระยา จงั หวัดกรงุ เทพมหานครฯ ๑. โครงการ ชอ่ื โครงการ กจิ กรรมการประดิษฐ์ชุดทดลองการสอนวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งง่าย ประสบการณต์ รงจากครผู ู้เชี่ยวชาญ ไปสูน่ ักศึกษาครมู อื ใหม่ วันทจ่ี ดั อบรม วันจนั ทร์ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ รูปแบบการจดั กจิ กรรม/จำนวนชั่วโมงกิจกรรม อบรมเชิงปฏบิ ตั ิ ๘ ช่ัวโมง สถานทจ่ี ัดอบรม ณหอ้ งประชุมคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยาจังหวัดกรงุ เทพมหานครฯ ๒. ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรืออ่นื ๆ ท่ีไดร้ ับในการอบรมนำมาเพอ่ื พัฒนางานของ หนว่ ยงาน ขา้ พเจา้ ได้เรียนรู้ตลอดจนฝกึ ทักษะการปฏิบตั ิ ในหลักสตู รพัฒนาครูในด้านการใช้และการผลิตสื่อ การสอนวิทยาศาสตร์อย่างง่าย ในรูปของอุปกรณ์การทดลอง และการสาธิต แบบจำลอง และส่ือ ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ทใ่ี ช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ส่ิงสำคัญที่เป็นตัวขับเคลอื่ นคุณภาพในการ เรียนการสอน ในขั้นต้นการสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการเรียนวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การได้ค้นพบ สิ่งใหม่ (Discovery based Learning) การสรา้ งความเข้าใจผา่ นแบบจำลอง (Model Based Learning) และ การเรียนรู้ผ่านกระบวนการเชงิ ประจักษ์ (Evidence Based Learning) จนสามารถแนวคดิ วิทยาศาสตร์น้ันมา อธิบายหรอื ประยกุ ตใ์ ช้ โดยสื่อการสอนวิทยาศาสตรท์ ด่ี จี ึงมีหน้าท่ีเป็นสะพานเชอื่ มระหว่างความเปน็ นามธรรม ไปสู่รูปธรรม การใช้แบบจำลองต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดและหลักการทางวิทยาศาสตร์ ความสัมพันธ์ ความเกยี่ วเนื่องของปจั จัยต่างๆ ไดอ้ ย่างชดั เจนมากขึ้น ในลักษณะของชดุ ทดลองอย่างงา่ ย เพ่ือให้นักเรียนได้ เป็นผู้ลงมือปฏิบัติการทดลอง เพื่อให้นักเรียนได้สังเกตและเรียนรู้ที่จะลงข้อสรุปด้วยตนเอง สื่อการสอน วิทยาศาสตร์ทีส่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของการเรียนวิทยาศาสตร์ ยอ่ มทำให้การเรียนวทิ ยาศาสตร์ น่าสนใจ ทำ ให้นักเรียนสนใจใฝ่รูม้ ากยิ่งขน้ึ ไมใ่ ชเ่ ชื่อจากการบอกของครูหรอื จากตวั หนังสือเพียงอย่างเดียว จึงเป็นการฝึก ให้นักเรียนเป็นคนเชื่อในหลักฐาน เป็นคนมีเหตุผล และเข้าใจว่า ความรู้ ทฤษฏีวิทยาศาสตร์ สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามหลักฐานที่เพิ่มขึ้น สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง วิธีใช้อุปกรณ์การซ่อมแซมสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง เช่น การใช้เครื่องยิงกาวร้อน การใช้บัดกรี การเคลือบ
พลาสติก ทักษะช่างพื้นฐาน และทักษะการประดิษฐ์ที่จำเป็นต่อการผลิตสื่อด้วยตนเอง รวมถึงการสะท้อน แนวคิดการใช้สือ่ และผลิตสอ่ื ที่เป็นท้ังกิจกรรมการเรยี นร้แู ละแนวทางการใช้ส่ือเพื่อการวัดประเมินความเข้าใจ ของนกั เรียน การเตรยี มตัวของข้าพเจา้ ข้าพเจ้าจำเปน็ ตอ้ งเตรียมการในด้านต่างๆ กอ่ นที่จะนำส่อื การสอนไป ใช้ ไดแ้ ก่ ๑. การศกึ ษาเน้ือหาในส่อื การสอนที่ได้จะใช้ เพอ่ื ตรวจสอบดวู ่าจุดเด่นและจุดอ่อนของส่ือการสอนกบั เน้อื หาท่ีจะสอนเพ่อื ปรบั กิจกรรมการสอนให้สอดคลอ้ งกบั ส่อื ที่จะใชต้ อ่ ไป ๒. การตรวจสอบความสมบรู ณ์ของส่ือการสอน และลำดบั การใชง้ านสอื่ การสอน และพรอ้ มใชง้ าน รวมถึงการกำหนดหรือออกแบบใบงานหรือใบกิจกรรมร่วมกับส่อื นนั้ ๓. การเตรยี มพร้อมของนกั เรยี น ในสว่ นของความรูพ้ นื้ ฐานกอ่ นการใชส้ ่ือการสอนนั้นๆ รวมถึงการช้แี จง การใช้สื่อการสอนนั้นให้ชดั เจนในกรณีทีจ่ ำเป็น เพื่อให้เกิดการใช้สื่อท่ีบรรลุตามคาดหวัง ๔. การใชส้ ือ่ การสอน ครผู ู้สอนควรเตรียมคำถามก่อน ระหวา่ ง และหลังการใชส้ ื่อ เพ่อื ให้เกิดการเรยี นรู้ จากการท่ผี ู้เรยี นมีปฏสิ มั พนั ธ์กบั สอื่ การสอน ๕. การใช้แนวทางการประเมนิ เพ่อื พฒั นาการเรียนรู้โดยใช้ส่อื การสอน เปน็ การนำข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการใช้ สื่อมาวิเคราะห์เพอ่ื ให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลับแกน่ กั เรยี น เพอื่ พัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดงั นั้นในฐานะผ้รู ับผดิ ชอบสอนในเน้ือหาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำเป็นอยา่ งยิ่งที่ข้าพเจ้าจะต้อง มคี วามร้เู กย่ี วกับการใช้สอ่ื และการผลติ ส่ือในรปู แบบต่างๆ ทสี่ อดคล้องกับเนื้อหาวทิ ยาศาสตร์ทมี่ คี วามจำเพาะ และมคี วามสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนร้โู ดยไม่มีข้อจำกัดเร่อื งสื่อการสอน จะตอ้ งสามารถเลือก หรือประยุกตใ์ ช้ส่อื การสอน เพ่อื เรา้ ความสนใจในการเรียนเน้อื หาที่ยากต่อความเข้าใจ เตมิ เต็มแนวคิดที่เป็น นามธรรมด้วยสื่อการสอนที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้ สามารถช่วยให้ผู้เรยี นสามารถบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ตามท่ีข้าพเจ้าตั้งเป้าหมายไว้ ซึ่งจะชว่ ยลดปญั หาการติวขอ้ สอบล่วงหน้าท้ังระดับชาติและระดับ นานาชาติท่เี นน้ การทอ่ งจำมากกวา่ กระบวนการเรียนร้อู ยา่ งแท้จริง การใช้และเลอื กใชส้ ื่อการสอนต่างๆ ที่มีอยู่ ในปัจจุบัน และทดลองผลิตสื่อการสอนด้วยตนเองที่ใช้เวลาและต้นทุนในการผลิตต่ำ และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงวิธีใช้อุปกรณ์การซ่อมแซมสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง และ ทกั ษะการประดิษฐ์ทจี่ ำเป็นต่อการผลติ ส่ือดว้ ยตนเอง รวมถงึ การสะท้อนแนวคดิ การใช้สือ่ และผลิตสือ่ ที่เป็นท้ัง กจิ กรรมการเรียนร้แู ละแนวทางการใช้สื่อเพ่ือการวัดประเมนิ ความเข้าใจของนักเรียน อันเป็นหัวใจสำคัญของ การบูรณาการศาสตร์การสอนกับเนื้อหาวิทยาศาสตร์ (PCK in Science) ที่เชื่อว่า สื่อการสอนแม้มีคุณภาพ ราคาแพงเพยี งใดก็ตาม หากปราศจากแนวทางการใหง้ านทเี่ หมาะสมกบั นักเรียนและเนอื้ หาท่จี ะเรียน ก็ไม่อาจ ทำใหส้ ่อื การสอนนน้ั เกิดการใช้งานอยา่ งมคี ณุ ค่าขน้ึ มาได้ ๓. การเผยแพร่ความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ และอน่ื ๆ แกผ่ ูท้ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง ข้าพเจ้าได้มีการวางแผนการดำเนินงานในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ พืน้ ฐาน (ว2๓101) ในระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบ 7C และเทคนคิ Group of four ในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รู้บทบาทของตนในระหว่างการจัดกิจกรรม โดยเป็นไปตามขั้นตอนของ กระบวน PDCA ดังนี้ PLAN 1. วางแผนการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน (ว2๓101) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เพื่อให้สอดคล้องกับทกั ษะแห่งอนาคตใหม่ การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 เหมาะสมกบั
ผู้เรยี นยคุ ไทยแลนด์ 4.0 บรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษา โดยการจัดการเรียนรเู้ ร่ือง การแพรข่ องสาร โดยใชส้ ่อื ท่ี ผลิตขนึ้ อยา่ งง่าย DO 2. จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน (ว2๓101) ออกแบบการเรียนโดยใช้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 7C เรื่องรถไฟเหาะตีลังกา ซึ่งเป็นกจิ กรรมสะเตม็ ศึกษา (STEM education) ที่มี การสอดแทรกความรู้เรื่องพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ โดยประยุกต์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (QSCCS) ไดแ้ ก่ นำความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการศึกษา ปฏบิ ัติการสร้างเดก็ พนั ธ์ุใหม่ ศตวรรษที่ 21 (สำหรับครู พ่อ แม่ ผปู้ กครอง) สู่ชุมชนการเรยี นรทู้ างอาชพี มกี ารวางแผนการวดั และประเมนิ ผเู้ รียน ตามสภาพจริงส่อู งค์ความรู้ทีย่ ง่ั ยนื 3. นำแผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน (ว2๓10๑) ไปใชก้ บั นักเรียนระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 256๒ CHECK 4. ทดสอบความรหู้ ลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 5. เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกอ่ นและหลงั การจัดการเรยี นรู้ ACTION ผลการพฒั นา 6. นักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลังเรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียน 7. นำแผนการจดั การเรียนรูท้ ใี่ ช้แลว้ มาปรับกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพ่อื ใหเ้ หมาะสมกับผู้เรียนต่อไป ผลจากการอบรมคร้งั นี้ ทำใหข้ ้าพเจ้าเกิดแรงบนั ดาลใจในการพฒั นาทกั ษะ ความรู้ ความสามารถเพื่อ ต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา ทักษะด้านการสร้างสรรค์ นวัตกรรม ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ รวมถงึ ทักษะด้านการส่ือสารสารสนเทศ และการรู้เทา่ ทันส่ือ เป็นการสร้างความเข็มแขง็ เชิงวิชาการในหลากหลายมิติอีกด้วย สามารถทำให้ครูไดร้ ว่ ม แลกเปลีย่ นเรียนรจู้ ากประสบการณ์ที่ตนเองได้รับ อีกทง้ั สร้างความสนกุ สนานเพลิดเพลิน ความตนื่ เต้น และ ความประทับใจแกข่ ้าพเจา้ เปน็ อยา่ งมาก ลงช่อื .................................................ผู้รายงาน (นายดลภูมิ สรุ ยิ นั ต์) ครูคศ.๑ ๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ............................................................... (นางสมถวิล ศิลปคนธรรพ์) ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวดั ยกกระบตั ร(ชบุ ราษฎร์นุสรณ์) วันท่ี ____/________/____
ภาพประกอบการรายงานผลการเป็นวิทยากรและรับโลห่ ร์ างวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวิทย์ พลังคดิ เพอ่ื อนาคต) กจิ กรรมการประดษิ ฐ์ชดุ ทดลองการสอนวิทยาศาสตรอ์ ย่างงา่ ย ประสบการณ์ตรง จากครูผูเ้ ชี่ยวชาญไปสนู่ กั ศกึ ษาครูมือใหม่ วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา จังหวดั กรงุ เทพมหานครฯ
ภาพประกอบการรายงานผลการเป็นวิทยากรและรับโลห่ ร์ างวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพอ่ื อนาคต) กจิ กรรมการประดษิ ฐ์ชดุ ทดลองการสอนวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย ประสบการณ์ตรง จากครูผูเ้ ชี่ยวชาญไปสนู่ ักศกึ ษาครูมือใหม่ วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานครฯ
ภาพประกอบการรายงานผลการเป็นวิทยากรและรับโลห่ ร์ างวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพอ่ื อนาคต) กจิ กรรมการประดษิ ฐ์ชดุ ทดลองการสอนวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย ประสบการณ์ตรง จากครูผูเ้ ชี่ยวชาญไปสนู่ ักศกึ ษาครูมือใหม่ วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานครฯ
ภาพประกอบการรายงานผลการเป็นวิทยากรและรับโลห่ ร์ างวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพอ่ื อนาคต) กจิ กรรมการประดษิ ฐ์ชดุ ทดลองการสอนวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย ประสบการณ์ตรง จากครูผูเ้ ชี่ยวชาญไปสนู่ ักศกึ ษาครูมือใหม่ วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานครฯ
ภาพประกอบการรายงานผลการเป็นวิทยากรและรับโลห่ ร์ างวัล โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวทิ ย์ พลังคดิ เพอ่ื อนาคต) กจิ กรรมการประดษิ ฐ์ชดุ ทดลองการสอนวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย ประสบการณ์ตรง จากครูผูเ้ ชี่ยวชาญไปสนู่ ักศกึ ษาครูมือใหม่ วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา จังหวัดกรงุ เทพมหานครฯ
โลห่ ร์ างวลั ทไ่ี ด้รับ โครงการ Chevron Enjoy Science (สนุกวิทย์ พลงั คดิ เพื่ออนาคต) กิจกรรมการประดิษฐ์ชดุ ทดลองการสอนวทิ ยาศาสตร์อยา่ งง่าย วันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา จงั หวดั กรุงเทพมหานครฯ
รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร โครงการ Chevron enjoy science สนกุ วิทย์ พลงั คิด เพือ่ อนาคต เร่อื ง การจดั การเรียนรวู้ ิชาวทิ ยาการคำนวณและโค้ดดงิ้ วนั ท่ี ๑๔-๑๕ ธนั วาคม พ.ศ.256๒ ณ ห้องประชุม อาคาร ๒๔ ชัน้ ๗ มหาวิทยาลัยราชภฎั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดย นายดลภูมิ สุรยิ ันต์ ครู คศ.1 โรงเรียนวัดยกกระบตั ร (ชุบราษฎรน์ สุ รณ)์ สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมทุ รสาคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ กลมุ่ งานวิชาการโรงเรยี นวัดยกกระบัตร(ชบุ ราษฎร์นุสรณ)์ ท่ี พเิ ศษ / 25๖๒ วนั ท่ี ๓ ธันวาคม พ.ศ. 25๖๒ เรื่อง รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารโครงการChevronenjoyscienceสนกุ วทิ ย์ พลงั คิดเพื่ออนาคตเร่อื งการจัดการ เรียนรวู้ ิชาวิทยาการคำนวณและโค้ดด้งิ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั ยกกระบัตร(ชุบราษฎร์นสุ รณ์) ข้าพเจา้ นายดลภูมิ สรุ ิยันต์ ตำแหนง่ ครูคศ.๑ ได้เขา้ รบั การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารโครงการChevronenjoy scienceสนกุ วทิ ย์ พลงั คดิ เพื่ออนาคตเรือ่ งการจัดการเรียนรวู้ ิชาวทิ ยาการคำนวณและโค้ดดงิ้ ระหวา่ งวนั ท่ี วันที่ ๑๔-๑๕ ธนั วาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม อาคาร ๒๔ ชั้น ๗ มหาวิทยาลยั ราชภัฎบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จงั หวดั กรงุ เทพมหานครฯ โดยใช้พาหนะเป็นรถยนตส์ ว่ นบุคคล ขา้ พเจ้าขอรบั รองว่าการเดินทางไปราชการในครัง้ น้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหนา้ ที่ ของขา้ พเจา้ โดยตรงและจะรายงานการปฏบิ ตั ิราชการใหผ้ ู้อำนวยการ โรงเรียนทราบเม่อื กลบั จากราชการ บดั น้ี การดำเนนิ การจดั กจิ กรรมไดเ้ สรจ็ สน้ิ เป็นท่เี รียบรอ้ ยแล้ว จงึ ขอรายงานการดำเนินการ ดงั รายละเอียดแนบทา้ ย จึงเรียนมาเพอ่ื ทราบ ขอแสดงความนับถอื (นายดลภูมิ สรุ ิยนั ต์) ครูคศ.๑
รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ โครงการ Chevron enjoy science สนุกวิทย์ พลังคดิ เพอ่ื อนาคต เรอื่ ง การจดั การเรียนรวู้ ชิ าวทิ ยาการคำนวณและโค้ดด้ิง ระหวา่ งวันท่ี วันท่ี ๑๔-๑๕ ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชุม อาคาร ๒๔ ชั้น ๗ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จงั หวัดกรงุ เทพมหานครฯ ๑. โครงการ ชอ่ื โครงการ การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการโครงการChevronenjoyscienceสนุกวทิ ย์ พลงั คิดเพ่ืออนาคตเรอื่ งการจัดการเรียนรู้วชิ า วทิ ยาการคำนวณและโคด้ ด้ิง วนั ทอ่ี บรม ระหวา่ งวนั ที่ ๑๔ - ๑๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ รปู แบบการจดั กิจกรรม/จำนวนชั่วโมงกจิ กรรม อบรมเชงิ ปฏิบตั ิ ๑๖ ช่วั โมง สถานท่ีจดั อบรม ณ ห้องประชุม อาคาร ๒๔ ช้นั ๗ คณะมนษุ ยศ์ าสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎบ้าน สมเด็จเจา้ พระยา จงั หวัดกรงุ เทพมหานครฯ ๒. ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรอื อนื่ ๆ ท่ไี ดร้ บั ในการอบรมนำมาเพอ่ื พัฒนางานของ หน่วยงาน ขา้ พเจา้ ไดร้ ับความร้แู ละทกั ษะเกี่ยวกบั การจัดการเรียนรู้วิชาวทิ ยาการคำนวณและโค้ดด้งิ ในเร่อื งเกีย่ วกบั แนวคดิ และเป้าหมายของวิชาวทิ ยาการคำนวณ โค้ดดง้ิ (Coding) เปน็ Broader term สว่ น คอมพวิ เตอร์ โคด้ ดิง้ (Computer coding) หรอื โปรแกรมมิ่ง (Programming) เป็น Narrow term คอื มคี วามหมายทแี่ คบ กวา่ หรือเปน็ Subset โค้ด คอื รหัส หรอื การทำสัญลักษณ์ การโค้ดดง้ิ คอื การเขียนสัญลกั ษณ์ เพื่อการบอก ลำดับข้นั ตอน ลำดับความคิด เพือ่ สื่อสารให้เข้าใจกนั การแตง่ เพลง วางลำดบั ตวั โน๊ตดนตรี จงึ เปน็ การโค้ดดง้ิ การออกแบบทา่ เตน้ ลำดับท่าเต้น ทา่ รำ ก็เป็นการวางโคด้ การเขียนแผนธรุ กิจ ลำดบั การวางแผน การเขยี น ลำดบั ความคิด เชน่ Mind map ก็เป็นการโค้ดดิ้ง เดก็ ๆ จะเขียนบอกเพอื่ น ถงึ ขนั้ ตอนการทอดไขเ่ จียว กใ็ ช้ หลกั การโค้ดดง้ิ หรอื แม้แตก่ ารเขียนสื่อสารลำดับขั้นตอนการทำงานใดๆ เช่น การทำโครงงาน กเ็ ป็นการเขยี น เป็นผังงานหรอื โคด้ ได้ โค้ดดงิ้ จงึ เกยี่ วพันกับชวี ติ การวางแผน การคดิ และการแก้ปญั หา คอมพิวเตอร์โค้ดดิ้ง หรือ การเขียนโปรแกรม หมายถึงการเขียนลำดับขั้นตอน การวางคำสั่ง การ สั่งงานให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน ซงึ่ มี ขอ้ ตกลง รหสั หรอื ภาษาสั่งการที่สร้างข้นึ มาเฉพาะ มีกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ Syntax ที่กำหนดความหมาย (Semantic) ที่แน่นอน ไม่ให้กำกวมคอมพิวเตอร์โค้ดดิ้ง จึงเป็นคำที่มี ความหมายท่แี คบกว่า เพราะเน้นเฉพาะใชก้ บั คอมพิวเตอร์ หลักสตู รใหม่ 2560 ไดเ้ ปลยี่ นวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จากหมวดการงาน มาเป็นวทิ ยาการคำนวณ ในหมวดวิทยาศาสตร์ ท่ปี ระกอบไปดว้ ย วิทยาการคำนวณ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และ การอ่านออกเขียนไดท้ างสือ และสารสนเทศ โคด้ ด้งิ เป็นเพียงสว่ นหน่ึงของวิชาวิทยาการคำนวณ การเรยี นโค้ดด้งิ ในวิชาวิทยาการคำนวณ
เน้นที่จะพัฒนาความคิดที่เป็นระบบ การแก้ปัญหา การใช้เหตุผล หลักการวางลำดับขั้นตอนการคิด กระบวนการ เพื่อบูรณาการกับชีวิต และศาสตร์อื่นๆ โดยต้องการให้นักเรียน คิดแบบเป็นระบบ รู้ลำดับ ขั้นตอน (อัลกอริทึม) การวางทางเลือก การทำงานที่เป็นกระบวนการ มีเหตุผล รู้แนวทางการแกป้ ัญหา เข้า ใจความซับซ้อนของปัญหา การเรียนการสอนโค้ดดิ้ง จึงทำได้หลากหลาย ที่ให้นักเรียน คิด ใช้ได้ทั้ง วิธีที่ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ Plugged และ Unplugged ได้ให้ตัวอย่างการคิดแก้ปัญหา ทั่วโลกมีการพัฒนา เคร่อื งมือช่วยในเรอ่ื งการเรียนรู้ หลักการโค้ดดง้ิ แน่นอนว่า การใชค้ อมพวิ เตอร์ ทำได้ง่าย และสนุก ตรงใจเด็ก และได้ผลดียงิ่ ท่ีเหน็ การเรียนโค้ดดง้ิ กนั ทัว่ โลกจึงนยิ มใช้เครอื่ งมอื ช่วยการเรียนรู้หลกั การ โดยใช้คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือ เพราะถูกใจ เพื่อให้เด็กสนุก โดยให้เห็นเป็นของเล่น รูปธรรม เช่น ไมโครบิต KidBright นอกจากนี้ มีการพฒั นาเครอื่ งมือการเขียนโค้ดแบบงา่ ยๆสำหรบั เดก็ เช่น Logo, Scratch, การเขยี นเป็นบลอ็ ก และยังมกี ารสรา้ งแพลตฟอร์มการเรยี นรบู้ นเว็บอีกมากมาย เช่น code.org, Khan academy เป็นต้น การโค้ดดิ้งในวชิ าวทิ ยาการคำนวณ จึงไม่ใช่การท่จี ะสรา้ งนักเรียนไปเปน็ โปรแกรมเมอรท์ กุ คน แตก่ าร โคด้ ดิง้ คอื การเตรยี มนกั เรยี น เพอ่ื การใช้ชวี ิตในอนาคต ไมว่ า่ เขาจะประกอบอาชีพใด ๓. การเผยแพรค่ วามรู้ ประสบการณ์ ทักษะ และอื่นๆ แก่ผูท้ เ่ี ก่ียวข้อง เปา้ หมายของหลกั สตู รในรายวิชาวิทยาการคำนวณน้ันมุ่งพฒั นาผูเ้ รยี นให้สามารถแก้ปัญหา โดยผ่าน การคดิ วเิ คราะห์การใชเห้ ตุผลและการคิดอยา่ งสร้างสรรค์จนสามารถพฒั นาเป็นนวัตกรรมไดใ้ นทส่ี ดุ โดยทำ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณนน้ั ต้องพัฒนาทกั ษะการคดิ แก้ปัญหา โดยยงั ไม่ต้องคำนงึ ถงึ การ เขียนโปรแกรมหรอื Coding หรอื ที่เรยี กว่า Unplugged ซึ่งเปน็ การใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) ในการพัฒนาทกั ษะ การใชเ้ หตุผล การวิเคราะห์ การออกแบบ และการแกป้ ญั หา กอ่ นท่จี ะพัฒนา มาสกู่ ารเขยี นโปรแกรม หรือ การ Coding โดยการจัดการเรียนการสอนจาก Unplug สกู่ าร Coding โดยการ ใช้ กระบวนการเรียนร้กู ารคิดเชิงคำนวณ กระบวนการเรียนรู้การคดิ เชิงคำนวณ 4 ข้ัน ได้แก่ 1. ใชค้ ำถามเพ่อื พฒั นาการคิด เปน็ คำถามสำคัญ ให้พจิ ารณาปัญหาโดยการแยกย่อยปญั หา และหา รปู แบบและพจิ ารณาหา Concept ตามรูปแบบ 2. การออกแบบและเรียงลำดับการแกป้ ัญหา 3. การเขยี นโปรแกรม/Coding 4. การตรวจสอบเพื่อการปรับปรงุ แก้ไขหากต้องแก้ไข ใหก้ ลับไปทีข่ ้อ 2 เพือ่ ดูลำดับขนั้ ตอนอกี ครงั้ ผลจากการอบรมครง้ั นี้ ทำให้ข้าพเจา้ เกดิ แรงบนั ดาลใจในการพฒั นาทักษะ ความรู้ ความสามารถเพ่ือ ต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา ทักษะด้านการสร้างสรรค์ นวัตกรรม ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ รวมถงึ ทกั ษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และการรู้เท่าทันส่ือ เป็นการสร้างความเข็มแข็งเชิงวิชาการในหลากหลายมิติอีกด้วย สามารถทำให้ครูได้รว่ ม แลกเปล่ียนเรยี นรู้จากประสบการณ์ทตี่ นเองได้รบั อีกทง้ั สรา้ งความสนุกสนานเพลิดเพลนิ ความต่นื เต้น และ ความประทบั ใจแก่ขา้ พเจ้าเป็นอยา่ งมาก ลงชื่อ.................................................ผ้รู ายงาน (นายดลภมู ิ สรุ ิยนั ต)์ ครคู ศ.๑ ๑๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื ............................................................... (นางสมถวิล ศิลปคนธรรพ์) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวัดยกกระบัตร(ชุบราษฎรน์ ุสรณ)์ วนั ที่ ____/________/____
ภาพประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ โครงการ Chevron enjoy science สนกุ วิทย์ พลงั คิด เพื่ออนาคต เรอ่ื ง การจดั การเรียนรูว้ ิชาวทิ ยาการคำนวณและโค้ดด้ิง ระหวา่ งวันที่ วนั ท่ี ๑๔-๑๕ ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ มหาวิทยาลัยราชภัฎบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จงั หวดั กรงุ เทพมหานครฯ
ภาพประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ โครงการ Chevron enjoy science สนกุ วิทย์ พลงั คิด เพื่ออนาคต เรอ่ื ง การจดั การเรียนรูว้ ิชาวทิ ยาการคำนวณและโค้ดด้ิง ระหวา่ งวันที่ วนั ท่ี ๑๔-๑๕ ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ มหาวิทยาลัยราชภัฎบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จงั หวดั กรงุ เทพมหานครฯ
ภาพประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ โครงการ Chevron enjoy science สนกุ วิทย์ พลงั คิด เพื่ออนาคต เรอ่ื ง การจดั การเรียนรูว้ ิชาวทิ ยาการคำนวณและโค้ดด้ิง ระหวา่ งวันที่ วนั ท่ี ๑๔-๑๕ ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ มหาวิทยาลัยราชภัฎบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จงั หวดั กรงุ เทพมหานครฯ
ภาพประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ โครงการ Chevron enjoy science สนกุ วิทย์ พลงั คิด เพื่ออนาคต เรอ่ื ง การจดั การเรียนรูว้ ิชาวทิ ยาการคำนวณและโค้ดด้ิง ระหวา่ งวันที่ วนั ท่ี ๑๔-๑๕ ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ หอ้ งประชมุ มหาวิทยาลัยราชภัฎบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา จงั หวดั กรงุ เทพมหานครฯ
รายงานผลการเปน็ วทิ ยากรโครงการพฒั นามาตรฐาน การเรียนการสอนและการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง : การพฒั นาทักษะการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยระบบ Coaching and Mentoring และ Professional Learning Community วันที่ ๑๔ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.256๓ ณ หอ้ งเรยี นอาคาร ๓๐ สาขาวิทยาศาสตร์ทว่ั ไป คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา จังหวดั กรุงเทพมหานครฯ โดย นายดลภมู ิ สรุ ิยันต์ ครู คศ.1 โรงเรียนวัดยกกระบตั ร (ชบุ ราษฎรน์ ุสรณ์) สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสมทุ รสาคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ กล่มุ งานวชิ าการโรงเรียนวัดยกกระบัตร(ชบุ ราษฎร์นุสรณ)์ ท่ี พิเศษ / 25๖๓ วันที่ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 25๖๓ เรอ่ื ง รายงานผลการเปน็ วิทยากรโครงการพฒั นามาตรฐานการเรียนการสอนและการเรยี นรู้ด้วยตนเอง : การพฒั นาทกั ษะการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยระบบ Coaching and Mentoring และ Professional Learning Community เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั ยกกระบัตร(ชบุ ราษฎร์นสุ รณ)์ ด้วยขา้ พเจ้านายดลภูมิ สรุ ยิ นั ต์ ครู คศ.๑ โรงเรยี นวัดยกกระบตั ร (ชบุ ราษฎร์นสุ รณ)์ ได้รบั มอบหมายให้เข้าร่วมและเป็นวิทยากร โครงการพัฒนามาตรฐานการเรยี นการสอนและการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง : การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบ Coaching and Mentoring และ Professional Learning Community ในวันศุกร์ที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25๖๓ ณ ห้องเรียนอาคาร ๓๐ สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา จงั หวดั กรุงเทพมหานครฯ โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่ือ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น ทั้งนีเ้ ปน็ การบูรณาการการเรยี นรู้และเปน็ การส่งเสรมิ ให้นักศกึ ษาครู สาขาวิทยาศาสตรท์ ัว่ ไปได้รับ ความรูแ้ ละประสบการณ์ในครั้งนี้ ขา้ พเจ้า นายดลภูมิ สรุ ยิ ันต์ ตำแหน่ง ครู คศ.๑ ขออนุญาตไปราชการเพื่อ เข้ารับการอบรม/ประชุมสัมมนา ตามโครงการดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25๖๓ ถึงวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25๖๓ เป็นเวลา ๑ วัน ณ ห้องเรียนอาคาร ๓๐ สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ โดยจะเดินทางด้วยรถยนต์ ส่วนตวั บัดน้ี การดำเนินการจดั กิจกรรมได้เสร็จสิ้นเป็นทเี่ รยี บร้อยแลว้ จงึ ขอรายงานการดำเนินการ ดงั รายละเอียดแนบท้าย จึงเรียนมาเพ่ือทราบ ขอแสดงความนบั ถอื (นายดลภมู ิ สรุ ิยันต์) ครูคศ.๑
รายงานผลการเป็นวิทยากร โครงการพัฒนามาตรฐานการเรยี นการสอนและการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง : การพัฒนาทกั ษะการ จดั การเรียนรู้ด้วยระบบ Coaching and Mentoring และ Professional Learning Community วนั ศุกร์ท่ี ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25๖๓ ณ หอ้ งเรียนอาคาร ๓๐ สาขาวิทยาศาสตรท์ ั่วไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจา้ พระยา จังหวดั กรงุ เทพมหานครฯ ๑. โครงการ ชื่อโครงการ โครงการพัฒนามาตรฐานการเรียนการสอนและการเรียนรูด้ ้วยตนเอง : การพัฒนาทกั ษะการจดั การ เรียนรู้ด้วยระบบ CoachingandMentoringและProfessionalLearningCommunity วนั ทจ่ี ดั อบรม วนั ศุกร์ที่ ๑๔ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ รปู แบบการจดั กจิ กรรม/จำนวนชัว่ โมงกจิ กรรม การเปน็ วทิ ยากร ๖ ช่ัวโมง สถานทจ่ี ดั อบรม ณ หอ้ งเรียนอาคาร ๓๐ สาขาวิทยาศาสตรท์ ัว่ ไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บ้านสมเด็จ เจ้าพระยา จงั หวดั กรุงเทพมหานครฯ ๒. ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรอื อืน่ ๆ ที่ได้รับในการอบรมนำมาเพอื่ พฒั นางานของ หนว่ ยงาน ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ตลอดจนฝกึ ทักษะการปฏิบัติ ในหลกั สตู รพฒั นาครูในด้านการใช้และการผลิตสื่อ การสอนวิทยาศาสตร์อย่างง่าย ในรูปของอุปกรณ์การทดลอง และการสาธิต แบบจำลอง และสื่อ ภาพเคลอื่ นไหวตา่ งๆ ท่ีใช้ในการจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สง่ิ สำคญั ที่เป็นตวั ขับเคล่ือนคุณภาพในการ เรยี นการสอน ในข้ันต้นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการเรยี นวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ การได้ค้นพบ สง่ิ ใหม่ (Discovery based Learning) การสรา้ งความเข้าใจผา่ นแบบจำลอง (Model Based Learning) และ การเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการเชิงประจกั ษ์ (Evidence Based Learning) จนสามารถแนวคดิ วิทยาศาสตร์นั้นมา อธบิ ายหรือประยุกต์ใช้ โดยส่อื การสอนวทิ ยาศาสตร์ทด่ี จี งึ มีหน้าทเ่ี ป็นสะพานเชื่อมระหวา่ งความเปน็ นามธรรม ไปสู่รูปธรรม การใช้แบบจำลองต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดและหลักการทางวิทยาศาสตร์ ความสัมพันธ์ ความเกี่ยวเนอ่ื งของปจั จัยต่างๆ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนมากข้นึ ในลักษณะของชุดทดลองอย่างง่าย เพ่ือให้นักเรียนได้ เป็นผู้ลงมือปฏิบัติการทดลอง เพื่อให้นักเรียนได้สังเกตและเรียนรู้ที่จะลงข้อสรุปด้วยตนเอง สื่อการสอน วทิ ยาศาสตร์ที่สอดคล้องกบั ธรรมชาติของการเรยี นวิทยาศาสตร์ ย่อมทำให้การเรยี นวิทยาศาสตร์ นา่ สนใจ ทำ ให้นักเรียนสนใจใฝ่รมู้ ากย่งิ ขนึ้ ไม่ใช่เชอ่ื จากการบอกของครูหรือจากตัวหนงั สือเพียงอย่างเดียว จึงเป็นการฝึก ให้นักเรียนเป็นคนเชื่อในหลักฐาน เป็นคนมีเหตุผล และเข้าใจว่า ความรู้ ทฤษฏีวิทยาศาสตร์ สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามหลักฐานที่เพิ่มขึ้น สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง
วิธีใช้อุปกรณ์การซ่อมแซมสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง เช่น การใช้เครื่องยิงกาวร้อน การใช้บัดกรี การเคลือบ พลาสติก ทักษะช่างพื้นฐาน และทักษะการประดิษฐ์ที่จำเป็นต่อการผลิตสื่อด้วยตนเอง รวมถึงการสะท้อน แนวคิดการใช้สื่อและผลิตสื่อที่เปน็ ท้งั กิจกรรมการเรียนรแู้ ละแนวทางการใช้ส่อื เพอื่ การวัดประเมินความเข้าใจ ของนกั เรียน การเตรียมตวั ของขา้ พเจ้า ขา้ พเจา้ จำเปน็ ตอ้ งเตรียมการในด้านต่างๆ กอ่ นทีจ่ ะนำส่ือการสอนไป ใช้ ไดแ้ ก่ ๑. การศึกษาเนอื้ หาในส่อื การสอนท่ไี ด้จะใช้ เพือ่ ตรวจสอบดูว่าจดุ เดน่ และจดุ ออ่ นของส่อื การสอนกบั เนื้อหาท่ีจะสอนเพื่อปรับกิจกรรมการสอนให้สอดคล้องกับส่อื ท่ีจะใชต้ อ่ ไป ๒. การตรวจสอบความสมบูรณ์ของสื่อการสอน และลำดบั การใช้งานส่ือการสอน และพร้อมใช้งาน รวมถงึ การกำหนดหรอื ออกแบบใบงานหรือใบกจิ กรรมรว่ มกบั สื่อน้นั ๓. การเตรยี มพรอ้ มของนกั เรยี น ในส่วนของความร้พู นื้ ฐานก่อนการใช้สือ่ การสอนนั้นๆ รวมถึงการชีแ้ จง การใชส้ ่ือการสอนน้นั ให้ชดั เจนในกรณีที่จำเป็น เพื่อใหเ้ กดิ การใช้สอื่ ท่ีบรรลุตามคาดหวัง ๔. การใช้ส่อื การสอน ครผู ู้สอนควรเตรยี มคำถามก่อน ระหว่าง และหลังการใชส้ ่ือ เพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ จากการท่ีผู้เรียนมปี ฏิสมั พนั ธก์ ับสอ่ื การสอน ๕. การใชแ้ นวทางการประเมนิ เพื่อพัฒนาการเรียนรโู้ ดยใช้ส่อื การสอน เปน็ การนำข้อมลู ท่ีได้จากการใช้ ส่ือมาวิเคราะหเ์ พอ่ื ให้ข้อมลู ป้อนกลับแกน่ กั เรียน เพอ่ื พัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง ดังน้ันในฐานะผูร้ บั ผิดชอบสอนในเน้อื หาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำเปน็ อยา่ งยิง่ ท่ีข้าพเจ้าจะต้อง มีความรู้เกย่ี วกบั การใชส้ ื่อและการผลิตสื่อในรปู แบบต่างๆ ท่สี อดคลอ้ งกับเน้อื หาวิทยาศาสตรท์ ี่มคี วามจำเพาะ และมีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยไม่มีข้อจำกัดเรอ่ื งส่อื การสอน จะต้องสามารถเลือก หรอื ประยกุ ต์ใช้สอ่ื การสอน เพอ่ื เร้าความสนใจในการเรียนเน้ือหาท่ียากต่อความเข้าใจ เตมิ เต็มแนวคิดท่ีเป็น นามธรรมด้วยสื่อการสอนที่เปน็ รูปธรรมจับต้องได้ สามารถช่วยให้ผู้เรยี นสามารถบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ตามท่ีข้าพเจ้าตง้ั เป้าหมายไว้ ซ่ึงจะช่วยลดปัญหาการติวข้อสอบล่วงหนา้ ทั้งระดับชาติและระดับ นานาชาตทิ ่เี นน้ การทอ่ งจำมากกวา่ กระบวนการเรียนรู้อยา่ งแทจ้ รงิ การใชแ้ ละเลอื กใชส้ ่ือการสอนต่างๆ ทีม่ ีอยู่ ในปัจจุบัน และทดลองผลิตสื่อการสอนด้วยตนเองที่ใช้เวลาและต้นทุนในการผลิตต่ำ และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงวิธีใช้อุปกรณ์การซ่อมแซมสื่อต่างๆ ด้วยตนเอง และ ทกั ษะการประดิษฐท์ จ่ี ำเปน็ ต่อการผลติ ส่ือดว้ ยตนเอง รวมถึงการสะท้อนแนวคดิ การใช้สอื่ และผลิตสอื่ ที่เป็นท้ัง กจิ กรรมการเรยี นรู้และแนวทางการใช้สอ่ื เพอ่ื การวัดประเมินความเข้าใจของนักเรียน อนั เป็นหัวใจสำคัญของ การบูรณาการศาสตร์การสอนกับเน้ือหาวิทยาศาสตร์ (PCK in Science) ที่เชื่อว่า สื่อการสอนแม้มีคุณภาพ ราคาแพงเพยี งใดก็ตาม หากปราศจากแนวทางการใหง้ านทเ่ี หมาะสมกับนกั เรยี นและเนื้อหาท่จี ะเรยี น กไ็ ม่อาจ ทำใหส้ ่อื การสอนนั้นเกดิ การใช้งานอย่างมคี ณุ ค่าขึน้ มาได้ ๓. การเผยแพรค่ วามรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ และอน่ื ๆ แก่ผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง ข้าพเจ้าได้มีการวางแผนการดำเนินงานในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ พน้ื ฐาน (ว2๓10๒) ในระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ โดยใช้การจดั การเรียนร้แู บบ 7C และเทคนิค Group of four ในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รู้บทบาทของตนในระหว่างการจัดกิจกรรม โดยเป็นไปตามขั้นตอนของ กระบวน PDCA ดงั นี้
PLAN 1. วางแผนการจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน (ว2๓10๒) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เหมาะสมกับ ผู้เรียนยุคไทยแลนด์ 4.0 บรู ณาการสะเต็มศึกษา โดยการจดั การเรียนรูเ้ รือ่ ง การแพรข่ องสาร โดยใชส้ อื่ ท่ี ผลิตขึน้ อยา่ งงา่ ย DO 2. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน (ว2๓10๒) ออกแบบการเรียนโดยใช้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 7C เรื่องรถไฟเหาะตีลังกา ซึ่งเป็นกิจกรรมสะเตม็ ศึกษา (STEM education) ที่มี การสอดแทรกความรู้เรื่องพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ โดยประยุกต์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (QSCCS) ได้แก่ นำความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การจัดการศึกษา ปฏิบตั ิการสรา้ งเด็กพนั ธใุ์ หม่ ศตวรรษที่ 21 (สำหรบั ครู พ่อ แม่ ผปู้ กครอง) สชู่ มุ ชนการเรียนรู้ทางอาชีพ มกี ารวางแผนการวัดและประเมินผเู้ รยี น ตามสภาพจรงิ สูอ่ งค์ความรทู้ ีย่ งั่ ยืน 3. นำแผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน (ว2๓10๑) ไปใชก้ บั นักเรยี นระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา 256๒ CHECK 4. ทดสอบความรหู้ ลังการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ 5. เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนและหลงั การจดั การเรยี นรู้ ACTION ผลการพัฒนา 6. นักเรยี นมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน 7. นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้แลว้ มาปรับกิจกรรมการเรยี นรู้ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียนต่อไป ผลจากการเป็นวิทยากรครั้งนี้ ทำให้ข้าพเจ้าเกิดแรงบันดาลใจในการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถเพอ่ื ต้องการใหผ้ ู้เรียนมที กั ษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการแก้ปัญหา ทักษะดา้ นการ สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ รวมถงึ ทักษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและการร้เู ทา่ ทนั สื่อ เปน็ การสร้างความเขม็ แขง็ เชงิ วชิ าการในหลากหลายมิติอีกด้วย สามารถทำให้ ครูได้ร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ตนเองได้รับ อีกทั้งสร้างความสนุกสนานเพลิดเพลิน ความ ตืน่ เตน้ และความประทบั ใจแกข่ ้าพเจา้ เป็นอยา่ งมาก ลงชอื่ .................................................ผู้รายงาน ลงชือ่ ................................................. (นายดลภมู ิ สรุ ิยันต)์ ครูคศ.๑ (นางสมถวิล ศิลปคนธรรพ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดยกกระบัตร(ชุบราษฎร์นสุ รณ์) ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435