Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Published by dutchaneesaeoaw, 2021-09-25 13:35:24

Description: ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดกิจกรรม

Search

Read the Text Version

ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 2 ผู้จัดทา นางสาวประกายฟ้า บุญหลาย รหัส 62003161002 นางสาวสุภาวี อสุ าหะ รหัส 62003161009 นางสาวรัตติญา มาลาอี รหัส 62003161013 นายทวิ ากร เย็นสบาย รหัส 62003161021 นายดนุสรณ์ วรี ะพศิ าลกลุ รหัส 62003161030 นางสาวพรสุภา เอกฉัตร รหัส 62003161033

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รสำห รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ระดบั ช้ันม สาระ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด ที่ (ระบุเลขข้อของตวั 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร 1,2 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกบั โครงสร้างและแรงยึด เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิรยิ าเคมี

หรบั การจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ เอกสารหมายเลข 1 มัธยมศึกษาปที ่ี 2 เวลา 25 ชวั่ โมง ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) สาระการเรียนร้แู กนกลาง วช้ีวัด) สารละลายและสารผสม 25 • การแยกสารผสมให้เปน็ สารบรสิ ทุ ธ์ทิ ำไดห้ ลาย วิธี ข้นึ อยู่กับสมบัตขิ องสารนน้ั ๆ การระเหยแห้ง ใชแ้ ยกสารละลายซงึ่ ประกอบดว้ ยตวั ละลายทเี่ ปน็ ของแข็งในตวั ทำละลายทีเ่ ป็นของเหลว โดยใช้ ความร้อนระเหยตัวทำละลายออก ไปจนหมด เหลือแต่ตวั ละลายการตกผลกึ ใช้แยก สารละลายที่ประกอบดว้ ยตวั ละลายทีเ่ ปน็ ของแข็งในตัวทำละลายทเ่ี ป็นของเหลวโดยทำให้ สารละลายอิม่ ตวั แลว้ ปลอ่ ยใหต้ วั ทำละลาย ระเหยออกไปบางสว่ น ตวั ละลายจะตกผลึกแยก ออกมา การกลัน่ อย่างง่ายใช้แยกสารละลายท่ี ประกอบดว้ ยตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้ แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 46 ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางตวั ละลายและตวั ทำละลายที่เปน็ ของเหลวทมี่ ี จุด เดอื ดตา่ งกันมาก วธิ นี จ้ี ะแยกของเหลวบรสิ ทุ ธิ์ ออกจากสารละลายโดยใหค้ วามรอ้ นกับ สารละลาย ของเหลวจะเดอื ดและกลายเปน็ ไอ

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รสำห รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ระดบั ช้ันม สาระ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด ที่ (ระบุเลขข้อของตวั 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร 1,2 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกบั โครงสร้างและแรงยึด เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิรยิ าเคมี

หรบั การจดั ทำหน่วยการเรียนรู้ เอกสารหมายเลข 1 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา 25 ช่ัวโมง ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ เวลา (ชัว่ โมง) สาระการเรียนรแู้ กนกลาง วชีว้ ดั ) สารละลายและสารผสม 25 แยกจาก สารละลายแล้วควบแนน่ กลบั เป็น ของเหลว อีกครั้ง ขณะท่ีของเหลวเดอื ด อุณหภมู ิ ของไอจะ คงท่ี โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็น วธิ ีการแยก สารผสมที่มีปริมาณนอ้ ยโดยใช้แยก สารทีม่ สี มบัติ การละลายในตวั ทำละลายและการ ถกู ดูดซับด้วย ตวั ดูดซบั แตกต่างกัน ทำใหส้ ารแต่ ละชนดิ เคลอื่ นทไ่ี ปบนตัวดดู ซบั ไดต้ า่ งกนั สารจึง แยก ออกจากกนั ได้อตั ราสว่ นระหวา่ งระยะทางที่ สาร องค์ประกอบแต่ละชนดิ เคลื่อนที่ไดบ้ นตวั ดดู ซบั กบั ระยะทางท่ีตัวทำละลายเคลอื่ นทไี่ ดเ้ ปน็ คา่ เฉพาะตวั ของสารแต่ละชนดิ ในตัวทำละลาย และตวั ดูดซบั หน่งึ ๆ การสกัดดว้ ยตัวทำละลาย เปน็ วิธกี ารแยกสารผสมท่มี สี มบตั ิการละลายใน ตวั ทำละลายท่ีตา่ งกนั โดยชนิดของตัวทำละลาย มีผลต่อชนดิ และปริมาณของสารที่สกดั ได้ การ สกัดโดยการกลั่นด้วยไอนำ้ ใชแ้ ยกสาร ท่รี ะเหย ง่าย ไมล่ ะลายนำ้ และไมท่ ำปฏกิ ิรยิ า กบั นำ้ ออก จากสารท่รี ะเหยยาก โดยใช้ไอนำ้ เป็นตัวพา

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รสำห รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ระดบั ช้ันม สาระ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด ที่ (ระบุเลขข้อของตวั 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร 3,4 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกบั โครงสร้างและแรงยึด เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิรยิ าเคมี

หรบั การจัดทำหนว่ ยการเรยี นรู้ เอกสารหมายเลข 1 มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เวลา 25 ชว่ั โมง ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ เวลา (ชัว่ โมง) สาระการเรียนรู้แกนกลาง วช้วี ดั ) สารละลายและสารผสม 25 ความร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตรเ์ กีย่ วกบั การแยกสาร บูรณาการกบั คณิตศาสตร์เทคโนโลยโี ดยใช้ กระบวนการทางวศิ วกรรม สามารถนำไปใช้ แก้ปัญหาในชวี ิตประจำวันหรอื ปญั หาทพี่ บใน ชมุ ชนหรอื สร้างนวตั กรรม โดยมีข้ันตอน ดงั น้ี - ระบปุ ัญหาในชีวติ ประจำวันทีเ่ กยี่ วกับการ แยก สารโดยใชส้ มบัตทิ างกายภาพ หรอื นวตั กรรม ท่ี ตอ้ งการพัฒนา โดยใชห้ ลกั การดงั กลา่ ว - รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดเกยี่ วกับการแยกสาร โดยใช้สมบตั ิทางกายภาพที่สอดคลอ้ งกับปัญหา ท่ี ระบุ หรือนำไปสกู่ ารพฒั นานวัตกรรมนัน้ - ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา หรอื พฒั นานวัตกรรม ทีเ่ กยี่ วกับการแยกสารในสารผสม โดยใชส้ มบัติ ทางกายภาพ โดยเชื่อมโยงความร้ดู ้าน วทิ ยาศาสตร์คณติ ศาสตร์เทคโนโลยแี ละ กระบวนการทางวิศวกรรม รวมทงั้ กำหนดและ ควบคมุ ตวั แปรอยา่ งเหมาะสม ครอบคลุม - วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หา หรอื พัฒนา นวตั กรรม รวบรวมขอ้ มูล จัดกระทำข้อมลู และ

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รสำห รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ระดบั ช้ันม สาระ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด ที่ (ระบุเลขข้อของตวั 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร 3,4 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกบั โครงสร้างและแรงยึด เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิรยิ าเคมี

หรบั การจัดทำหนว่ ยการเรียนรู้ เอกสารหมายเลข 1 มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 25 ชั่วโมง ช่อื หน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชว่ั โมง) สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วช้วี ดั ) สารละลายและสารผสม 25 เลอื กวิธกี ารส่อื ความหมายทเ่ี หมาะสม ในการ นำเสนอผล - ทดสอบ ประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ วิธีการแกป้ ัญหา หรอื นวัตกรรมทพี่ ฒั นาขนึ้ โดย ใช้หลักฐาน เชิงประจักษท์ ีร่ วบรวมได้ - นำเสนอ วธิ ีการแก้ปญั หา หรอื ผลของนวตั กรรม ที่ พฒั นาข้ึน และผลทไี่ ด้โดยใช้วิธกี ารส่ือสาร ที่ เหมาะสมและน่าสนใจ • สารละลายอาจมีสถานะเปน็ ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ สารละลายประกอบดว้ ยตวั ทำละลาย และตัวละลาย กรณีสารละลายเกิดจากสารที่มี สถานะเดยี วกนั สารทีม่ ปี ริมาณมากทส่ี ดุ จดั เปน็ ตวั ทำละลาย กรณีสารละลายเกิดจากสารทมี่ ี สถานะต่างกนั สารทมี่ สี ถานะเดยี วกันกับ สารละลายจดั เปน็ ตัวทำละลาย • สารละลายท่ตี ัวละลายไมส่ ามารถละลายในตวั ทำละลายไดอ้ กี ทอี่ ณุ หภูมิหน่ึง ๆ เรยี กวา่ สารละลายอมิ่ ตวั • สภาพละลายไดข้ องสารในตวั ทำละลาย เป็น ค่าที่ บอกปริมาณของสารท่ลี ะลายไดใ้ นตัวทำ

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รสำห รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ระดบั ช้ันม สาระ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด ที่ (ระบุเลขข้อของตวั 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร 3,4 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกบั โครงสร้างและแรงยึด เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิรยิ าเคมี

หรับการจดั ทำหน่วยการเรียนรู้ เอกสารหมายเลข 1 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา 25 ชั่วโมง ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ เวลา (ชัว่ โมง) สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วชวี้ ดั ) สารละลายและสารผสม 25 ละลาย ๑๐๐ กรัม จนไดส้ ารละลายอมิ่ ตวั ณ อณุ หภมู ิ และความดนั หน่ึง ๆ สภาพละลายได้ ของสาร บง่ บอกความสามารถในการละลายได้ ของตัวละลาย ในตัวทำละลาย ซง่ึ ความสามารถ ในการละลาย ของสารข้ึนอยกู่ ับชนิดของตวั ทำ ละลายและ ตวั ละลาย อณุ หภมู แิ ละความดนั • สารชนดิ หนึ่งๆ มสี ภาพละลายไดแ้ ตกต่างกนั ใน ตวั ทำละลายที่แตกต่างกนั และสารตา่ งชนดิ กัน มี สภาพละลายไดใ้ นตวั ทำละลายหนง่ึ ๆไมเ่ ทา่ กนั • เมอ่ื อุณหภมู สิ งู ขน้ึ สารสว่ นมาก สภาพละลาย ได้ ของสารจะเพิ่มข้ึน ยกเวน้ แกส๊ เมือ่ อณุ หภูมิ สูงขึน้ สภาพการละลายได้จะลดลง สว่ นความดนั มีผล ตอ่ แกส๊ โดยเมอ่ื ความดันเพมิ่ ขึ้น สภาพ ละลายได้ จะสงู ขนึ้ • ความร้เู กย่ี วกับสภาพละลายไดข้ องสาร เม่อื เปล่ียนแปลงชนิดตัวละลาย ตวั ทำละลาย และ อณุ หภูมสิ ามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ น ชีวิตประจำวนั เช่น การทำนำ้ เชอ่ื มเขม้ ข้น การ สกัดสารออกจาก สมุนไพรใหไ้ ด้ปรมิ าณมากทส่ี ุด

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รสำห รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ระดบั ช้ันม สาระ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด ที่ (ระบุเลขข้อของตวั 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร 5,6 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกบั โครงสร้างและแรงยึด เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิรยิ าเคมี

หรบั การจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ เอกสารหมายเลข 1 มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 25 ชว่ั โมง ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ช่ัวโมง) สาระการเรียนรแู้ กนกลาง วช้วี ดั ) สารละลายและสารผสม 25 • ความเขม้ ข้นของสารละลาย เป็นการระบุ ปรมิ าณตวั ละลายในสารละลาย หนว่ ยความ เขม้ ขน้ มหี ลายหน่วย ทนี่ ิยมระบเุ ป็นหนว่ ยเปน็ ร้อยละปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตร มวลต่อมวล และมวล ต่อปรมิ าตร • ร้อยละโดยปรมิ าตรต่อปรมิ าตร เปน็ การระบุ ปริมาตรตัวละลายในสารละลาย ๑๐๐ หน่วย ปริมาตรเดยี วกัน นิยมใชก้ ับสารละลายทเ่ี ปน็ ของเหลวหรือแกส๊ • ร้อยละโดยมวลตอ่ มวล เป็น การระบุมวล ตวั ละลายในสารละลาย ๑๐๐ หนว่ ยมวลเดียวกนั นิยมใช้กบั สารละลายท่มี ี สถานะเป็นของแขง็ • ร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตร เปน็ การระบุมวล ตวั ละลายในสารละลาย ๑๐๐ หนว่ ยปริมาตร นยิ มใชก้ บั สารละลายทมี่ ีตวั ละลายเป็นของแข็ง ในตัวทำละลายที่เปน็ ของเหลว • การใช้สารละลาย ในชีวิตประจำวนั ควรพจิ ารณา จากความเขม้ ข้นของสารละลาย ขนึ้ อยู่กบั จุดประสงคข์ องการใช้งาน และ ผลกระทบต่อ สงิ่ ชีวติ และสงิ่ แวดลอ้ ม





ตารางการออกแบ รายวิชา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสว หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง สารละล ตวั ชวี้ ดั ตัวแปรที่ 1 ตวั แปรทีศ่ ึกษา ความร้เู รือ่ งการแยกสาร ตัวแปรที่ 2 1. อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหย ผสมโดยการระเหยแห้ง แห้ง การตกผลกึ การกลนั่ อย่างง่าย การตกผลึก การกลนั่ ทักษะกระบวนการท โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดดว้ ย อยา่ งงา่ ย วทิ ยาศาสตร์ ตวั ทําละลาย โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ โครมาโทกราฟีแบบ -ทกั ษะการสงั เกต กระดาษ การสกัดดว้ ย -ทักษะการลงความเ ตัวทําละลาย จากขอ้ มลู -ทกั ษะการตีความหม ข้อมลู และลงข้อสรุป ทักษะในศตวรรษที่ -ด้านการสอ่ื สารสาร และการรเู้ ท่าทันสื่อ ทกั ษะการสรา้ งขอ้ โต 2. แยกสารโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก ความรู้เรอ่ื งการแยกสาร ทักษะกระบวนการท วิทยาศาสตร์ การกล่นั อยา่ งงา่ ย โครมาโทกราฟีแบบ ผสมโดยการระเหยแห้ง -ทักษะการสังเกต -ทักษะการทดลอง กระดาษ การสกัดดว้ ยตวั ทำละลาย การตกผลกึ การกลนั่ -ทกั ษะการตคี วามหม ขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ อย่างงา่ ย -ทักษะการตงั้ สมมตฐิ ทักษะแห่งศตวรรษท โครมาโทกราฟแี บบ -การคดิ อยา่ งมีวิจารณ และการแกป้ ญั หา กระดาษ การสกัดดว้ ย ตัวทาํ ละลาย

บบหนว่ ยการเรยี นรู้ เอกสารหมายเลข 2 วิชา.................... ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ฐานคิดการจดั การเรียนรู้ รูปแบบการเรียนการสอนสรา้ ง ลายและสารผสม มาตรฐาน ว 2.1 ขอ้ โต้แยง้ ในกระบวนการสบื า ช้นิ งาน/ภาระงาน เสาะหาความรู้ ตัวแปรท่ี 3 -สรปุ ผลการทดลอง ทาง -ความอยากรู้อยากเห็น โดยผ่านสือ่ เทคโนโลยี -ความละเอยี ดรอบคอบ ( ตัวชวี้ ดั ท่ี 1,2) -ความเชอื่ มน่ั ตอ่ เหน็ หลักฐาน -การใช้วิจารณญาณ มาย ยอมรับความเหน็ ตา่ ง ป 21 รสนเทศ ตแ้ ยง้ ทาง -ความละเอยี ดรอบคอบ -นำเสนอการแยกสาร -ความเชือ่ ม่ันต่อ ผสมโดยการสกดั ด้วย หลักฐาน ตวั ทำละลายโดย โปรแกรม มาย Powerpoint ป (ตวั ช้วี ดั ท่ี 2 ) ฐาน ที่ 21 ณญาณ

-ด้านความร่วมมอื กา ทำงานเปน็ ทมี และภ ผนู้ ำ ทักษะการสร้างขอ้ โต 3. นาํ วธิ กี ารแยกสารไปใชแ้ กป้ ญั หาใน ความรดู้ า้ นการแยกสาร ทกั ษะกระบวนการท ชีวติ ประจาํ วนั โดยบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ ไปใช้แกป้ ญั หาใน วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ ชีวิตประจาํ วนั โดยบรู ณา -ทักษะการวดั วิศวกรรมศาสตร์ การวิทยาศาสตร์ -ทกั ษะการตง้ั สมมตฐิ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี -ทักษะการกำหนดแ และวิศวกรรมศาสตร์ ควบคมุ ตวั แปร -ทักษะการทดลอง -ทักษะการตีความหม ข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท -การคดิ อย่างมีวจิ ารณ และการแก้ปญั หา -ด้านความรว่ มมือกา ทำงานเปน็ ทีมและภ ผ้นู ำ -ด้านการสรา้ งสรรค์แ นวัตกรรม ทกั ษะการสรา้ งขอ้ โต

าร ภาวะ ตแ้ ยง้ ทาง -มงุ่ มานะอดทน -ความละเอียดรอบคอบ ฐาน และ มาย ป ท่ี 21 ณญาณ าร ภาวะ และ ตแ้ ย้ง

ตารางการออกแบบ รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสว หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง สารละล ตัวชี้วัด ตวั แปรที่ 1 ตัวแปรที่ศึกษา ตวั แปรที่ 2 4.ออกแบบการทดลองและทดลองในการ ความรูเ้ รือ่ งผลของชนิดตวั ทกั ษะกระบวนการท อธบิ ายผลของชนดิ ตวั ละลาย ชนิดตัวทำ ละลาย ชนิดตวั ทำละลาย วทิ ยาศาสตร์ ละลาย อณุ หภมู ทิ ี่มตี ่อสภาพละลายไดข้ อง อณุ หภูมทิ มี่ ีตอ่ สภาพ -ทักษะการสังเกต สาร รวมทัง้ อธบิ ายผลของความดันท่ีมีตอ่ ละลายได้ของสาร รวมทัง้ -ทกั ษะการต้ังสมมตฐิ สภาพละลายได้ของสาร โดยใชส้ ารสนเทศ อธบิ ายผลของความดันที่ -ทกั ษะการทดลอง มตี อ่ สภาพละลายได้ของ -ทักษะการลงความเ สาร จากข้อมูล -ทกั ษะการตคี วามหม ข้อมูลและลงขอ้ สรปุ -ทักษะการจัดกระทำ ส่ือความหมาย ทกั ษะแห่งศตวรรษท -การคดิ อย่างมวี ิจารณ และการแกป้ ญั หา -ดา้ นความร่วมมือกา ทำงานเปน็ ทีมและภ ผ้นู ำ ทักษะการสรา้ งข้อโต

บหน่วยการเรียนรู้ เอกสารหมายเลข 2 วชิ า.................... ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ฐานคิดการจดั การเรียนรู้ รปู แบบการเรยี นการสอนสรา้ ง ลายและสารผสม มาตรฐาน ว 2.1 ขอ้ โตแ้ ย้งในกระบวนการสืบ า ชิ้นงาน/ภาระงาน เสาะหาความรู้ ตัวแปรท่ี 3 ทาง -ความอยากรูอ้ ยากเหน็ -ออกแบบการทดลอง -ความละเอยี ดรอบคอบ (ตวั ช้วี ัดที่ 4,5 และ 6) -ความใจกวา้ ง ฐาน -ยอมรับความเหน็ ต่าง เหน็ มาย ป ำและ ท่ี 21 ณญาณ าร ภาวะ ตแ้ ยง้

ตารางการออกแบบ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสว หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรื่อง สารละล ตวั ช้วี ดั ตวั แปรท่ี 1 ตัวแปรทศี่ ึกษา ตวั แปรที่ 2 5.ระบปุ รมิ าณตัวละลายในสารละลาย ใน ความรเู้ รอื่ งปรมิ าณตวั ทกั ษะกระบวนการท หนว่ ยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อ ละลายในสารละลาย ใน วทิ ยาศาสตร์ -ทกั ษะการสงั เกต ปริมาตร มวลตอ่ มวล และมวลตอ่ ปรมิ าตร หน่วยความเขม้ ข้นเปน็ -ทักษะการทดลอง -ทักษะการลงความเห ร้อยละ ปรมิ าตรต่อ จากขอ้ มลู -ทกั ษะการตคี วามหม ปริมาตร มวลตอ่ มวล ข้อมูลและลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษท และมวลต่อปรมิ าตร -การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณ และการแก้ปัญหา -ดา้ นความร่วมมอื กา ทำงานเปน็ ทมี และภา ผนู้ ำ ทักษะการสรา้ งขอ้ โต 6.ตระหนักถงึ ความสําคญั ของการนาํ ความรูเ้ รอื่ งการการ ความรูเ้ ร่ือง ความเข้มข้นของสารไปใชโ้ ดย ตระหนักถึงความสำคัญใน ยกตัวอยา่ งการใช้ สารละลายใน การนำความเข้มข้นของ ชีวิตประจาํ วนั อยา่ งถูกต้อง และปลอดภยั สารไปใช้ประโยชนใ์ น ชวี ติ ประจำวนั

บหนว่ ยการเรียนรู้ เอกสารหมายเลข 2 วชิ า.................... ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ลายและสารผสม มาตรฐาน ว 2.1 า ช้นิ งาน/ภาระงาน ฐานคิดการจดั การเรยี นรู้ ตวั แปรที่ 3 ทาง -ความอยากรอู้ ยากเห็น รปู แบบการเรยี นการสอนสร้าง -ความละเอียดรอบคอบ ข้อโต้แย้งในกระบวนการสบื -ยอมรบั ความเหน็ ต่าง เสาะหาความรู้ ห็น มาย ท่ี 21 ณญาณ าร าวะ ตแ้ ย้ง -ความใจกวา้ ง





กรอบแนวคิดการออกแบ หน่วยการเ เรือ่ ง สารละลาย จำนวน 25 หน่วยย่อยท่ี 1 หน่วยยอ่ ยที่ 2 เรอ่ื ง การแยกสารผสมโดยการระเหย เร่ือง การแยกสารผสมโดยการตกผลึก แหง้ จำนวน 3 ช่วั โมง จำนวน 3 ชว่ั โมง สาระสำคญั สาระสำคัญ การตกผลึกเป็นการแยกสารละลายท่ี การระเหยแห้งเปน็ การแยกสารละลาย ประกอบดว้ ยตัวละลายทเ่ี ปน็ ของแข็ง ซงึ่ ประกอบด้วยตวั ละลายที่เปน็ ของแขง็ ใน ตวั ทำละลายทเ่ี ปน็ ของเหลวโดยทำ ในตวั ทำละลายท่เี ปน็ ของเหลว โดยใช้ ใหส้ ารละลายอิ่มตัว แลว้ ปลอ่ ยให้ตัวทำ ความรอ้ นระเหยตัวทำละลายออกไป ละลายระเหยออกไปบางสว่ น จนหมด เหลอื แต่ตวั ละลาย ตัวละลายจะตกผลกึ แยกออกมา ตัวชีว้ ัดท่ี 1,2 ตวั ชี้วัดท่ี 1,2

บบหน่วยการเรยี นรู้ย่อย เอกสารหมายเลข 3 เรยี นรู้ท่ี 1 ยและสารผสม 5 ชั่วโมง หนว่ ยยอ่ ยที่ 3 หนว่ ยย่อยท่ี 4 เร่อื ง การแยกสารผสมโดยการกล่นั อย่าง เร่ือง การเเยกสารผสมโดยการใช้ ง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ จำนวน 3 ชวั่ โมง จำนวน 3 ช่วั โมง สาระสำคญั การกลั่นอยา่ งงา่ ยเปน็ การแยก สาระสำคัญ สารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายและ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเปน็ วิธีการ ตวั ทำละลายที่เปน็ ของเหลวที่มจี ุดเดอื ด แยกสารผสมท่มี ปี รมิ าณนอ้ ยโดยใชแ้ ยก ตา่ งกันมาก วธิ ีนจ้ี ะแยกของเหลวบรสิ ุทธ์ิ สารทีม่ ีสมบัติการละลายในตัวทำละลาย ออกจากสารละลายโดยใหค้ วามร้อนกบั และการถกู ดูดซบั ดว้ ยตวั ดูดซับแตกตา่ ง สารละลาย ของเหลวจะเดือดและ กัน ทำให้สารแต่ละชนิดเคล่อื นท่ีไปบน กลายเป็นไอแยกจากสารละลายแล้ว ตัวดดู ซบั ได้ตา่ งกนั สารจึงแยกออกจาก ควบแน่นกลบั เปน็ ของเหลวอกี คร้งั กันได้ ขณะทขี่ องเหลวเดอื ดอณุ หภมู ิของไอ จะคงที่ ตวั ช้วี ัดที่ 1,2 ตวั ช้ีวัดที่ 1,2

กรอบแนวคดิ การออกแบ หนว่ ยการเ เรื่อง สารละลาย จำนวน 25 หน่วยย่อยท่ี 5 หนว่ ยย่อยที่ 6 เรื่อง การแยกสารผสมโดยการสกัดด้วย เร่อื ง การประยกุ ตใ์ ชว้ ิธกี ารแยกสาร ตวั ทำละลาย ในชวี ติ ประจำวนั จำนวน 3 ชั่วโมง จำนวน 3 ช่วั โมง สาระสำคญั สาระสำคญั การสกดั ด้วยตวั ทาํ ละลายเปน็ วธิ กี ารแยก นำความร้เู ร่ืองการแยกสาร สารผสมท่ีเปน็ ของเหลวหรือของแขง็ ปน โดยบูรณาการเขา้ กับคณติ ศาสตร์ อย่กู ับของแขง็ โดยอาศยั สมบตั ขิ องการ เทคโนโลยี โดยกระบวนการทาง ละลายของสาร โดยชนดิ ของตัวทํา วิศวกรรมเพ่อื แก้ปญั หาในชวี ิต ละลายมผี ลตอ่ ชนดิ และปริมาณของสาร ประจำวนั หรือปัญหาทพี่ บในชุมชน ที่สกัดได้ ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 ตวั ช้วี ัดท่ี 1,2

บบหน่วยการเรียนรู้ย่อย เอกสารหมายเลข 3 เรยี นรทู้ ี่ 1 ยและสารผสม 5 ชั่วโมง หนว่ ยยอ่ ยท่ี 7 หนว่ ยย่อยที่ 8 เรื่อง สารละลาย เรือ่ ง ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ สภาพ จำนวน 2 ช่วั โมง สาระสำคญั การละลายไดข้ องสาร สารละลายอาจมสี ถานะเปน็ ของแข็ง จำนวน 2 ชวั่ โมง ของเหลวและแก๊ส สารละลาย ประกอบดว้ ยตวั ทาํ ละลายและตวั สาระสำคญั ละลาย กรณีสารละลายเกดิ จากสารทีม่ ี สภาพละลายไดข้ องสารในตวั ทาํ ละลาย สถานะเดยี วกนั สารทมี่ ปี รมิ าณมาก เป็นคา่ ท่ีบอกปรมิ าณของสารทล่ี ะลาย ทสี่ ุดจดั เปน็ ตวั ทาํ ละลาย กรณี ได้ในตัวทาํ ละลาย 100 กรมั จนได้ สารละลายเกดิ จากสารท่มี สี ถานะ สารละลายอม่ิ ตัว ณ อุณหภูมแิ ละความ ตา่ งกนั สารทม่ี สี ถานะเดยี วกนั กบั ดนั หนงึ่ ๆ สภาพละลายได้ของสาร สารละลายจดั เปน็ ตวั ทําละลาย บ่งบอกความสามารถในการละลายได้ สารละลายทต่ี ัวละลายไม่สามารถ ของตัวละลายในตัวทาํ ละลาย ซ่ึง ละลายในตวั ทำละลายได้อีกท่ีอณุ หภูมิ ความสามารถในการละลายของสาร หนง่ึ ๆ เรยี กวา่ สารละลายอิ่มตัว ขึ้นอยกู่ บั ชนดิ ของตัวทําละลายและ ตวั ช้ีวดั ที่ 4 ตัวละลาย อุณหภมู แิ ละความดัน ตัวชี้วัด 4

กรอบแนวคดิ การออกแบ หน่วยการเ เร่อื ง สารละลาย จำนวน 25 หนว่ ยย เรือ่ ง ความเข้มขน้ จำนวน 3 สคลาะวราละมาสยเขำใ้มนคขัญสน้ ารขคลอวะงาลสมาาจเยรขำลม้ นหะขวนล้นนว่ าขยย2 หน่วย ท่นี ยิ มระบเุ ป็นหน่วย ปริมาตร มวลต่อมวล และม โดยปรมิ าตรต่อปรมิ าตร เป ละลายในสารละลาย ๑๐๐ นิยมใชก้ ับสารละลายทีเ่ ป็น โดยมวลตอ่ ปรมิ าตร เป็นกา สารละลาย ๑๐๐ หนว่ ยปร สารละลายที่มตี วั ละลายเปน็ ทีเ่ ป็นของเหลว ตวั ชวี้ ดั ท่ี 5,6

บบหนว่ ยการเรยี นรู้ยอ่ ย เอกสารหมายเลข 3 เรียนรู้ที่ 1 ยและสารผสม 5 ช่ัวโมง ย่อยที่ 9 นของสารละลาย 3 ชั่วโมง ขยย2อคงเชวปสว่ัาน็ามโรมกเลขงาะร้มลรขะา้นยบมปุ หี รลิมาายณตัว ยเปน็ รอ้ ยละปรมิ าตรตอ่ มวลตอ่ ปรมิ าตร ร้อยละ ป็นการระบุปรมิ าตรตัว หนว่ ยปริมาตรเดยี วกนั นของเหลวหรือแก๊ส รอ้ ยละ ารระบุมวล ตวั ละลายใน รมิ าตรนิยมใช้กบั นของแขง็ ในตัวทำละลาย

เอกสารหมายเลข 4 แบบบนั ทกึ หน่วยการเรียนรู้ยอ่ ย (แผนการจัดการเรียนรู้) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง สารละลายและสารผสม หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อยที่ 1 เรอ่ื ง การแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ รหัสวชิ า/ชื่อวิชา วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 เวลา 3 ช่ัวโมง ผสู้ อน นายทิวากร เย็นสบาย โรงเรียน เทศบาล 1 (วัดแจง้ ) มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการ เกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ตวั ชีว้ ัด 1. อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกล่ันอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ 2. แยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลกึ การกลน่ั อย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดด้วย ตวั ทาละลาย จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ 2. แยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ สาระสาคัญ การระเหยแห้งเป็น การแยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทาละลายท่ีเป็น ของเหลว โดยใช้ ความรอ้ นระเหยตัวทาละลายออกไปจนหมด เหลอื แต่ตัวละลาย สาระการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ - การระเหยแห้ง เปน็ การแยกสารละลายที่ประกอบด้วยตวั ถกู ละลายท่เี ปน็ ของแขง็ ในตวั ทาละลายท่ีเป็น ของเหลวโดยใช้ความร้อน ซ่งึ ตัวทาละลายจะระเหยกลายเปน็ ไอจนหมด จึงเหลือเฉพาะตัวถูกละลายท่เี ป็นของแข็ง 2. ดา้ นทกั ษะสาคัญในการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 2.1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.1.1 ทักษะการสงั เกต 2.1.2 ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล 2.1.3 ทักษะการตง้ั สมมติฐาน 2.1.4 ทักษะการทดลอง 2.1.5 ทกั ษะการตีความหมาย ข้อมลู และลงข้อสรุป 2.1.6 ทกั ษะการจดั กระทาและสอื่ ความหมายขอ้ มูล 2.2 ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 2.2.1 ทกั ษะด้านการสอ่ื สารสารสนเทศและการรู้เทา่ ทนั สือ่ 2.2.2 ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะการแกป้ ัญหา 2.2.3 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผู้นา 2.3 ทักษะการสรา้ งขอ้ โตแ้ ย้ง

3. ดา้ นเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 3.1 ความอยากรู้อยากเห็น 3.2 การยอมรบั ความเหน็ ต่าง 3.3 ความละเอยี ดรอบคอบ 3.4 ความเช่อื ม่นั ต่อหลกั ฐาน ชน้ิ งาน/ภาระงาน - ช้ินงานอธบิ ายการระเหยแห้งโดยผ่านสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ กิจกรรมการเรยี นรู้ รูปแบบการเรยี นการสอนสรา้ งข้อโตแ้ ย้งในกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ข้ันที่ 1 สร้างความสนใจและมอบหมายงาน 1.1 ใช้คาถามกระตุ้นความสนใจนักเรยี น - นักเรียนทราบหรอื ไมว่ า่ เกลือทอี่ ยูใ่ นนาเกลือเกดิ ขึ้นได้อย่างไร - นักเรยี นคิดวา่ การทาให้น้าเกลอื กลายเป็นผงเกลือทาไดห้ รือไม่ - หากตอ้ งการน้าตาลมะพร้าวจะตอ้ งทาอย่างไร 1.2 ครแู บ่งกลุม่ ใหน้ กั เรยี น กล่มุ ละ 5 คน จากน้ันเปิดคลิปวิดีโอเกย่ี วกับการระเหยแห้งให้นักเรยี นได้ เรยี นรู้ และมอบใบความรู้ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุม่ 1.3 เมือ่ นกั เรียนดคู ลิปวดิ โี อเสร็จส้นิ จึงมอบหมายงานใหน้ ักเรยี นทาการทดลองแยกสารโดยวธิ ีการ ระเหยแหง้ และออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ข้นั ที่ 2 สร้างข้อโตแย้งจากการสารวจและค้นหา 2.1 ใหน้ ักเรยี นภายในกลุ่มช่วยกันคิดวา่ สารละลายใดทีจ่ ะสามารถแยกออกจากการไดโ้ ดยวิธีการระเหย แหง้ เพอ่ื มาทาการทดลอง 2.2 ครูให้ตวั แทนนกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ออกมารับอปุ กรณ์การทดลองเพ่ือนาไปทาการทดลอง 2.3 ครูชแี้ จงวิธีการใช้อุปกรณ์และข้อควรระวัง 2.4 นกั เรยี นทาการทดลองและบันทึกผลการทดลองลงในตารางบันทกึ ผล 2.5 จากน้นั นกั เรียนทาการสรา้ งข้อโตแ้ ย้ง โดยมอี งค์ประกอบดงั น้ี 1) ขอ้ กล่าวอา้ ง (Claim) เปน็ การนา เสนอผลทีไ่ ด้จากการศึกษา คน้ ควา้ ทดลองหรือ เปน็ การนา เสนอ ความคดิ เหน็ ของตนเองตอ่ ประเดน็ ซึ่งกาลังเปน็ ทพ่ี จิ ารณา 2) เหตุผลสนับสนนุ ข้อกล่าวอา้ ง (Warrant) เปน็ การใช้เหตุผลในการแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างขอ้ มูลทไ่ี ด้ จากการศึกษาค้นคว้าทดลองกับข้อกล่าวอา้ ง เพ่ือสนบั สนุนให้ขอ้ กล่าวอ้างท่นี าเสนอมีความน่าเชื่อถือ ซ่ึงเหตผุ ล สนบั สนนุ ข้อกล่าวอา้ งน้ีอาจไดร้ บั การโตแ้ ยง้ หรือคัดค้านจากผ้อู น่ื กไ็ ด้ 3) หลกั ฐานสนบั สนุนเหตผุ ล (Evidence) เปน็ การนา เสนอขอ้ เทจ็ จริงหรอื ข้อมลู เพ่อื ประกอบการอธบิ าย เหตผุ ลท่ีใช้สนับสนุนขอ้ กล่าวอา้ ง เพ่ือทา ให้ข้อกล่าวอา้ งนนั้ เป็นท่ียอมรับ โดยหลกั ฐานน้นั อาจไดม้ าจากการสังเกต ปรากฏการณต์ า่ งๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซง่ึ ข้อท่ีได้จากการศึกษางานวจิ ยั หรอื การทดลองอน่ื ท่มี ีผูเ้ ก็บรวบรวมไว้ แล้ว ทงั้ นหี้ ลักฐานสนับสนุน เหตุผลจะตอ้ งมาจากแหล่งขอ้ มูลทีม่ ีความน่าเชอ่ื ถือ หรือสามารถทาการทดลองซ้าแลว้ ให้ผล เชน่ เดยี วกบั ผลท่นี า เสนอได้ 4) ขอ้ กล่าวอ้างที่ต่างออกไป (Counter claim) เป็นขอ้ โตแ้ ยง้ ที่เกิดขึน้ จากการให้เหตุผล ต่อข้อกล่าวอ้างที่ มผี ้นู า เสนอไว้ในตอนแรกซ่งึ แตกตา่ งไปจากเดมิ กลา่ วคอื เปน็ การให้เหตุผล ต่อข้อกล่าวอา้ งจากมมุ มองใหม่ๆ ที่ผนู้ า เสนอขอ้ กล่าวอ้างไม่ได้กล่าวถงึ หรือไมไ่ ดน้ า มาพิจารณา ไวใ้ นการนา เสนอขอ้ กล่าวอา้ งในตอนแรก ทา ให้ขอ้ กล่าว

อ้างเดมิ มคี วามน่าเชื่อถอื นอ้ ยลง เปน็ กระบวนการทนี่ า มาใช้เพ่ือหาทางขจดั ข้อผดิ พลาดของขอ้ กลา่ วอ้างที่ได้สรา้ งข้นึ ไว้ในตอนแรก 5) การโตแ้ ยง้ กลบั (Rebuttal) เปน็ การโตแ้ ย้งเพอ่ื ทาใหข้ อ้ กลา่ วอ้างทต่ี ่างออกไปจาก ข้อกล่าวอ้างเดมิ มี ความนา่ เชือ่ ถือลดลงและตกไปในทส่ี ุด โดยการหาพยานหลักฐานและการให้ เหตุผลที่มีความน่าเชื่อถอื มากกว่ามา สนบั สนนุ เทจ็ จริงหรือข้อมลู ทเ่ี ป็นไปได้ เช่น สี กล่ิน รปู รา่ ง สถานะ เป็นต้น รวมถงึ ข้อเท็จจริงหรอื ข้อมลู 2.5 ใหน้ กั เรยี นทาการทดลองและบนั ทึกผลการทดลองลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง ขั้นที่ 3 นาเสนอและรับฟังการประเมนิ แบบกลุ่ม 3.1 นักเรียนนาขอ้ มูลมาอธิบายทลี ะกลุ่มโดยผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ 3.2 เมอื่ อธบิ ายเสร็จสน้ิ ให้แต่ละกลุ่มปรึกษากนั และส่งตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอความเหน็ ตา่ ง วนให้ครบทุกกลุ่ม 3.3. นักเรียนรว่ มกนั สรปุ ประเดน็ ความเห็นทเี่ หมือนและแตกต่างกัน โดยครเู ปน็ ผู้ช้ีแนะไปในทางที่ ถูกตอ้ ง ขั้นท่ี 4 ทาความเข้าใจภายในกลมุ่ และสรุปข้อโตแยง้ รายบุคคล 4.1 เมื่อนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ประเด็นความเห็นท่ีเหมือนและแตกต่างกนั 4.2 ให้นกั เรยี นสรปุ เปน็ องคค์ วามรขู้ องตวั เองลงในสมดุ ในรูปแบบบรรยายหรือผงั ความคดิ (Mind map) ขั้นท่ี 5 ขยายความรูส้ ู่เร่อื งใหม่ 5.1 ครเู ปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซักถามข้อสงสัยท่ีอยากรเู้ พ่ิมเตมิ เพ่ือขยายความรู้ไปสู่แนวคดิ ใหม่ 5.2 ครตู งั้ คาถามจากชิ้นงานของนกั เรยี นเพ่อื ตอ่ ยอดความรู้ของนักเรียน คาถาม : นกั เรยี นคดิ วา่ การระเหยแห้งมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไรบ้าง คาถาม : นักเรียนจะนาเรือ่ งการระเหยแหง้ ไปตอ่ ยอดไดท้ าอะไรได้บา้ ง 5.3 ครตู ง้ั คาถามให้นกั เรียนเกิดขอ้ สงสยั ในเร่ืองต่อไป (ไมต่ อ้ งการคาตอบ) - หากตอ้ งการทาใหส้ ารละลายกลายเปน็ ผลึกหรือเกล็ดจะทาได้หรือไม่ ขั้นที่ 6 การประเมนิ ผล 6.1 ประเมินดา้ นความรู้ - ประเมินการใชส้ ื่อเทคโนโลยีในการอธิบายการการตกผลกึ ใช้เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubric Score - ประเมินการทาแบบทดสอบหลงั เรียน 6.2 ประเมนิ ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะทางศตวรรษที่ 21 และ - ประเมนิ โดยการสังเกตพฤติกรรมทน่ี ักเรียนแสดงออกมาระหวา่ งกาลังทากจิ กรรม โดยใช้แบบสังเกต พฤตกิ รรม ใชเ้ กณฑ์การประเมนิ แบบ Rubric Score 6.3 ประเมนิ ดา้ นเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ - ประเมนิ โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมท่ีนักเรียนแสดงออกมาระหวา่ งกาลงั ทากจิ กรรม โดยใช้แบบสังเกต พฤติกรรม ใชเ้ กณฑ์การประเมินแบบ Rubric Score สอ่ื /นวัตกรรม และแหลง่ เรยี นรู้ - สอื่ การเรียนรู้ (วิดีโอ) เรอื่ งการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ - ชดุ กิจกรรม การแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้

การวัดและประเมินผล ประเดน็ การประเมิน วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมอื เกณฑ์ - รอ้ ยละ 70 ด้านความรู้ ผ่านเกณฑ์ 1.1 การแยกสารผสมโดยการ 1.ประเมินจากชิ้นงาน 1. เกณฑ์การประเมนิ Rubrics - ระดับเกณฑ์ ดีขน้ึ ไป ระเหยแห้ง 2.อธบิ ายการแยกสารผสมโดย 2. เกณฑ์การประเมนิ โดย การระเหยแห้ง ประเมนิ จาก อธบิ ายเนือ้ หาได้ ครบถ้วน ถูกต้อง มีหลกั ฐาน อ้างอิง ด้านทักษะ / กระบวนการ 2.1 ทักษะกระบวนการทาง - สังเกตพฤตกิ รรมขณะที่นักเรียน - แบบสังเกตพฤติกรรม วิทยาศาสตร์ ทากิจกรรม 2.1.1 ทักษะการสงั เกต 2.1.2 ทักษะการลงความเห็น จากขอ้ มูล 2.1.3 ทักษะการตงั้ สมมตฐิ าน 2.1.4 ทักษะการทดลอง 2.1.5 ทักษะการตคี วามหมาย ข้อมูลและลงข้อสรปุ 2.1.6 ทักษะการจดั กระทา และส่ือความหมายขอ้ มูล 2.2 ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 - ระดบั เกณฑ์ ดีข้ึนไป - ระดบั เกณฑ์ ดีข้ึนไป 2.2.1 ทักษะด้านการสอ่ื สาร - สังเกตพฤติกรรมขณะท่นี ักเรยี น - แบบสังเกตพฤติกรรม สารสนเทศและการรู้เท่าทัน ทากิจกรรม สื่อ 2.2.2 ทักษะด้านการคดิ อยา่ ง มวี ิจารณญาณและทกั ษะการ แกป้ ญั หา 2.2.3 ทกั ษะดา้ นความร่วมมอื การทางานเปน็ ทีมและภาวะ ผนู้ า ดา้ นคุณลักษณะ / เจตคติ 3.1 ความอยากร้อู ยากเห็น - สงั เกตพฤติกรรมขณะทน่ี ักเรียน - แบบสังเกตพฤติกรรม 3.2 การยอมรับความเหน็ ตา่ ง ทากจิ กรรม 3.3 ความละเอียดรอบคอบ 3.4 ความเชอื่ มัน่ ต่อหลกั ฐาน

แบบบนั ทึกหลังการสอน พฤติกรรมท่ีพบ แนวทางแกไ้ ข ประเดน็ ปัญหาทพ่ี บ 1. ด้านพฤตกิ รรมผู้เรียน 2. ดา้ นการเรียนการสอน

แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ลำดับ ทกั ษะกระบวนกำรทำง รวมคะแนน คำ่ เฉล่ยี ระดับ ที่ ช่อื -นำมสกุล วทิ ยำศำสตร์ (30) (5) 1 2 123456 3 4 1 ทกั ษะกำรสงั เกต 5 2 ทกั ษะกำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล 6 3 ทักษะกำรตั้งสมมติฐำน 7 4 ทักษะกำรทดลอง 8 5 ทักษะกำรตคี วำมหมำยข้อมลู และลงข้อสรุป 9 6 ทักษะกำรจดั กระทำและส่อื ควำมหมำยขอ้ มูล 10 11 ลงชือ่ ...........................................................ผูป้ ระเมนิ 12 13 (..................................................................................) 14 15 16 17 18 19 20 * หมำยถึง

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกณฑ์การให้คะแนน 1. ทักษะกำรสังเกต ปฏิบัตคิ รบ 5 ขอ้ : 5 คะแนน พฤติกรรมตำมลำดบั ขนั้ ปฏิบตั ิ 4 ขอ้ : 4 คะแนน 1. ใชป้ ระสำทสมั ผสั อย่ำงใดอยำ่ งหนึ่งหรือ ปฏิบตั ิ 3 ข้อ : 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิ 2 ข้อ : 2 คะแนน หลำยอยำ่ งรวมกันเพอ่ื สัมผสั โดยตรงกับวัตถุ ปฏิบัติ 1 ข้อ : 1 คะแนน ประสบกำรณ์ หรือสถำนกำรณ์ 2. บนั ทึกกำรสังเกตในเชิงคุณภำพ 3. บนั ทกึ กำรสงั เกตในเชงิ ปรมิ ำณ 4. ไมใ่ ส่ควำมคิดเหน็ สว่ นตัวของผ้สู งั เกตลงไป ในสิง่ ทสี่ งั เกต 2. ทักษะกำรลงควำมเหน็ จำกข้อมลู พฤตกิ รรมตำมลำดับขั้น 1. รวบรวมควำมรทู้ ไี่ ดจ้ ำกกำรสงั เกตอย่ำงเป็น ระบบ 2. สำมำรถอธิบำยเกยี่ วกบั ขอ้ มูลท่รี วบรวมมำ ได้ 3. สำมำรถอธิบำยผลจำกกำรวิเครำะหข์ อ้ มลู ได้ 4. สร้ำงโมเดลควำมคดิ หรอื สูตรจำกข้อมลู ท่ี สงั เกตได้ 5. ยอมรับกำรเปลี่ยนแปลงกำรลงควำม คิดเห็นเมอ่ื มขี อ้ มลู เพิ่มเติม 6. ยอมรับกำรเปล่ียนแปลงกำรลงควำม คดิ เห็นเมอื มขี ้อมูลเพิม่ เติมอยำ่ งเพียงพอ 3. ทกั ษะกำรตงั้ สมมติฐำน พฤตกิ รรมตำมลำดบั ขน้ั 1. สมมตขิ อ้ ควำมข้ึนก่อนมกี ำรทดลองจริง อ้ำงอิงควำมจรงิ 2. ขอ้ ควำมบอกถึงขอ้ มูลท่ีต้องกำรรวบรวม 3. ข้อควำมบอกควำมสมั พันธ์ระหว่ำงตัวแปร ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 1 คู่ 4. ขอ้ ควำมบอกควำมสัมพันธ์ระหวำ่ งตวั แปรทเ่ี กีย่ วขอ้ งมำกกว่ำ 1 คู่ 5. ตัวแปรกำหนดจำกปญั หำและผลต่อตวั แปร ตำม 1 ตัว 6. ตัวแปรกำหนดจำกปัญหำและผลตอ่ ตัวแปร ตำมมำกกวำ 1 ตัว

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 4. ทักษะกำรทดลอง ปฏบิ ตั คิ รบ 5 ข้อ : 5 คะแนน พฤตกิ รรมตำมลำดบั ข้นั ปฏบิ ตั ิ 4 ขอ้ : 4 คะแนน 1. กำหนดวิธีกำรทดลองได้ถูกต้องเหมำะสม ปฏบิ ตั ิ 3 ขอ้ : 3 คะแนน ปฏิบตั ิ 2 ขอ้ : 2 คะแนน โดยคำนึงถงึ ตัวแปรตน้ ตวั แปรตำมและตัวแปรท่ีต้อง ปฏิบัติ 1 ขอ้ : 1 คะแนน ควบคมุ 2. ระบอุ ุปกรณห์ รือสำรเคมที ี่จะตอ้ งใช้ในกำร ทดลองถูกต้องและเหมำะสม 3. ปฏิบัติกำรทดลองได้ 4. ใชอ้ ุปกรณห์ รอื สำรเคมีไดถ้ กู ตอ้ งเหมำะสม 5. บันทกึ ผลกำรทดลองได้คลอ่ งแคลว่ และ เหมำะสม 5. ทักษะกำรตคี วำมหมำยขอ้ มูลและลงข้อสรุป 1. ตีควำมหมำยของขอ้ มูลท่มี ีอยู่อยำ่ ง ตรงไปตรงมำ 2. ตีควำมหมำยของขอ้ มลู ท่มี อี ยู่อย่ำง คลอ่ งแคล่ว 3. บรรยำยลกั ษณะของข้อมูลทมี่ อี ยไู่ ด้ 4. บรรยำยสมบตั ขิ องข้อมลู ท่มี ีอย่ไู ด้ 6. ทักษะกำรจดั กระทำและสือ่ ควำมหมำยขอ้ มูล พฤติกรรมตำมลำดบั ขั้น 1. เลอื กรปู แบบทีจ่ ะใชใ้ นกำรเสนอขอ้ มูลได้ เหมำะสม 2. บอกเหตุผลในกำรเลือกรูปแบบท่ีจะใช้ใน กำรเสนอข้อมลู ได้ 3. ออกแบบกำรเสนอข้อมูลใหอ้ ยู่ในรูปใหม่ที่ เข้ำใจดีข้ึนได้ 4. เปล่ียนแปลงข้อมลู ใหอ้ ยู่ในรปู ใหม่ทเี่ ข้ำใจดี ขึ้นได้ 5. บรรยำยลักษณะของสงิ่ ใดส่ิงหนึ่งด้วย ขอ้ ควำมทเี่ หมำะสม กะทัดรดั จนส่อื ควำมหมำยให้ผอู้ ื่น เข้ำใจได้ 6. บรรยำยหรือวำดแผนผังแสดงตำแหน่งของ ภำพจนส่ือควำมหมำยให้ผอู้ ื่นเขำ้ ใจได้

แบบประเมินทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 และทักษะการสร้างขอ้ โตแ้ ย้ง ลำดับ ช่ือ-นำมสกลุ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ รวมคะแนน ค่ำเฉล่ยี ระดบั ท่ี 21และทกั ษะกำรสรำ้ งข้อ ( 20 ) (5) โตแ้ ย้ง 1234 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 * หมำยถึง 1. ทกั ษะด้ำนกำรสอ่ื สำรสำรสนเทศและกำรรเู้ ท่ำทนั ส่ือ 2. ทักษะดำ้ นกำรคดิ อยำ่ งมีวจิ ำรณญำณและทักษะกำรแกป้ ญั หำ 3. ทกั ษะดำ้ นควำมร่วมมือ กำรทำงำนเปน็ ทีมและภำวะผู้นำ 4. ทกั ษะกำรสร้ำงขอ้ โตแ้ ย้ง ลงชอ่ื ...........................................................ผปู้ ระเมนิ (..................................................................................)

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เกณฑ์การให้คะแนน 1. ดำ้ นกำรสื่อสำรสำรสนเทศและกำรรเู้ ท่ำทนั ส่อื ปฏบิ ัตคิ รบ 5 ขอ้ : 5 คะแนน พฤติกรรมทีพ่ งึ มี ปฏิบัติ 4 ข้อ : 4 คะแนน 1. สำมำรถเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมือทีถ่ ูกต้อง ปฏบิ ตั ิ 3 ขอ้ : 3 คะแนน ปฏบิ ัติ 2 ข้อ : 2 คะแนน เหมำะสมเพ่อื สรำ้ งส่ือ ปฏบิ ัติ 1 ข้อ : 1 คะแนน 2. เข้ำใจวตั ถปุ ระสงค์ของกำรสรำ้ งสอื่ 3. เขำ้ ใจกฎหมำยในกำรใชส้ ่อื ของผู้อ่ืนหรอื แหลง่ ข้อมูลอันมลี ขิ สทิ ธิ์ 2. ด้ำนกำรคิดอย่ำงมวี จิ ำรณญำณและกำรแก้ปัญหำ พฤติกรรมท่พี งึ มี 1. เขำ้ ใจบรบิ ทและขอบเขตของปญั หำที่เกิดข้นึ 2. รวบรวมข้อมลู จำกขอ้ มูลเดมิ ทีม่ ีอย่แู ละ ขอ้ มูลท่ีศึกษำเพิ่มเติม 3. หำวธิ แี ก้ปญั หำโดยใช้ขอ้ มลู จำกกำร วิเครำะห์ 4. ไมย่ ดึ ควำมคิดเห็นของตนเองเปน็ หลัก 5. ใชเ้ หตใุ ช้ผลพจิ ำรณำ โดยอำศัยกำรศกึ ษำ ขอ้ มลู แยกแยะข้อมลู 3. ดำ้ นควำมร่วมมือ กำรทำงำนเป็นทีมและภำวะผนู้ ำ พฤตกิ รรมที่พงึ มี 1. รับฟงั ควำมคดิ เหน็ ผอู้ ่ืน 2. เคำรพซง่ึ กนั และกนั 3. ทำงำนร่วมกนั อย่ำงมีเหตผุ ล ทักษะกำรโต้แย้ง พฤตกิ รรมตำมลำดับขั้น 1. ข้อกล่ำวอำ้ ง 2. เหตผุ ลสนับสนนุ ขอ้ กล่ำวอำ้ ง 3. หลกั ฐำนสนับสนนุ เหตุผล 4. ขอ้ กลำ่ วอำ้ งที่ต่ำงออกไป 5. กำรโตแ้ ยง้ กลบั

แบบประเมนิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ ลำดบั ท่ี ชอื่ -นำมสกุล เจตคติทำง รวมคะแนน(25) คำ่ เฉลี่ย ระดบั วทิ ยำศำสตร์ (5) 12345 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 * หมำยถึง 1. ควำมอยำกรู้อยำกเห็น 2. กำรยอมรับควำมเห็นตำ่ ง 3. ควำมละเอยี ดรอบคอบ 4. ควำมเช่ือมน่ั ต่อหลักฐำน ลงช่ือ...........................................................ผู้ประเมิน (..................................................................................)

เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1. ควำมอยำกรู้อยำกเห็น ปฏิบตั คิ รบ 5 ขอ้ : 5 คะแนน พฤติกรรมตำมลำดับข้นั ปฏิบตั ิ 4 ข้อ : 4 คะแนน 1. มีควำมสนใจในเร่อื งทเ่ี รยี น ปฏบิ ัติ 3 ขอ้ : 3 คะแนน 2. กระตือรอื ร้นต่อกจิ กรรมทปี่ ฏิบัติ ปฏบิ ัติ 2 ข้อ : 2 คะแนน 3. ชอบสนทนำซกั ถำม ปฏบิ ัติ 1 ขอ้ : 1 คะแนน 2. กำรยอมรบั ควำมเห็นต่ำง พฤติกรรมตำมลำดับขั้น 1. รับฟังผู้อื่นถงึ แม้จะเปน็ ผลที่แตกตำ่ ง 2. เห็นคุณคำ่ ของกำรเสนอข้อมูลตำมควำม เป็นจริง 3. กำรแสดงออกถึงกำรยอมรบั ท้งั ควำมคิด และพฤตกิ รรม 3. ควำมละเอียดรอบคอบ พฤติกรรมตำมลำดับขนั้ 1. มีกำรวำงแผนกำรทำงำนและจัดระบบกำร ทำงำน 2. ทำงำนอย่ำงมีระเบียบและเรยี บรอ้ ย 3. นำวธิ กี ำรหลำยๆวิธีมำตรวจสอบผล, นำ วธิ ีกำรหลำยๆวิธีมำใช้ 4. มีควำมละเอียดถี่ถ้วนในกำรทำงำน 5. ตรวจสอบควำมเรยี บรอ้ ยของงำน 4. ควำมเช่ือม่นั ตอ่ หลกั ฐำน พฤติกรรมตำมลำดบั ข้ัน 1. ใช้หลกั ฐำนเชิงประจักษ์ทไ่ี ด้จำกกำรสงั เกต กำรทดลองหรอื กำรสร้ำงแบบ จำลอง เพื่อใช้สนบั สนุน กำรอธบิ ำยทำง วิทยำศำสตร์ 2. ใช้หลักฐำนเชิงประจกั ษ์ทไ่ี ดจ้ ำกกำรสงั เกต กำรทดลองหรือกำรสรำ้ งแบบ จำลอง เพือ่ ใช้โต้แย้ง กบั คำอธิบำยท่ีแตกตำ่ งหรือไมส่ อดคลอ้ ง กับคำอธบิ ำย ของตนเอง แสวงหำสำเหตขุ องเหตกุ ำรณ์ต่ำงๆ และหำ ควำมสัมพันธข์ องสำเหตนุ ัน้ กับผลที่เกดิ ข้นึ ได้

เกณฑ์ประเมนิ แบบทดสอบ รำยกำรประเมนิ เกณฑ์พจิ ำรณำคณุ ภำพ คะแนนทีไ่ ด้ ดมี ำก ดี พอใช้ ปรับปรงุ 9-10 คะแนน ตำ่ กว่ำ 5 คะแนน 7-8 คะแนน 5-6 คะแนน เกณฑก์ ำรประเมนิ ช้นิ งำน รำยงำนกำร คำอธิบำยระดบั คณุ ภำพ ประเมิน 4 (ด)ี 3 (ปำนกลำง) 2 (พอใช้) มี 4 ข้อ มี 3 ข้อ มี 2 ขอ้ 5 (ดีมำก) 1(ปรบั ปรุง) มี 1 ขอ้ 1. เนอ้ื หำ มีครบท้ัง 5 ขอ้ ครบถ้วน 2. เนอ้ื หำถูกต้อง 3.อธบิ ำยเน้อื หำ ได้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. พดู ไมต่ ดิ ขดั 5. ชนิ้ งำนมีควำม สวยงำม ระดับคณุ ภำพ คะแนนเฉล่ีย ระดับ 4.51 – 5.00 ดีเย่ยี ม 3.51 – 4.50 ดมี ำก 2.51 – 3.50 1.51 – 2.50 ดี 1.00 – 1.50 พอใช้ ปรบั ปรงุ



ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง การแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง ชื่อ..................................นามสกุล................................. เลขที่......................ชั้น........................ โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง นายทิวากร เย็นสบาย

คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ย่อยที่ 1 เรื่องการแยก สารผสมโดยการระเหยแห้ง โดยจัด กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางการ ปฏิรูปการเรียนรู้ คือเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่หลากหลาย ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ตามศักยภาพและความ สามารถของผู้เรียนอย่างเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ความ สามารถทางวิทยาศาสตร์ เข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อีกทั้ง พัฒนาผู้เรียนให้มี ทักษะในการแสวงหาความรู้และดำรงชีวิตในโลกการ เปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทันเมื่อผู้เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ แล้วผู้เรียนจะมี ความรู้ความเข้าใจ เพราะได้เรียนรู้เป็นระบบเป็นขั้นตอน สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถได้เต็มศักยภาพ และสามารถสร้างองค์ความ รู้ได้ด้วยตนเอง ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้จะเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียนครูผู้สอนและผู้ที่สนใจนำไปใช้ในการพัฒนาเยาวชน ไทย ให้เป็นบุคคลแห่งการ เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ได้อย่างดี ผู้จัดทำ นายทิวากร เย็นสบาย

สารบัญ หน้ า เรื่ อง ก ข คำนำ ค สารบัญ 1 คำชี้แจง 6 กิจกรรมการเรียนรู้ 7 คำถามท้ายกิจกรรม 9 ใบความรู้ แบบทดสอบ

คำชี้แจง 1. นักเรียนอ่านคำชี้แจงกิจกรรมการเรียนรู้ 2. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน 3. ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมทุกขั้นตอน 4. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมครบแล้ว ให้นักเรียนบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล 5. ให้นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม 6. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบ 7. หากมีข้อสงสัยในการปฏิบัติกิจกรรมให้ปรึกษาครูผู้สอนทันที

1 กิจกรรมการเรียนรู้ ก า ร แ ย ก ส า ร ผ ส ม โ ด ย ก า ร ร ะ เ ห ย แ ห้ง กิจกรรมที่ 1 นักเรียนออกแบบการทดลอง ชื่อการทดลอง ................................................................................................. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1................................................................................................ 2............................................................................................... 3............................................................................................... วัสดุ/อุปกรณ์ 1................................................6.............................................. 2...............................................7.............................................. 3...............................................8............................................... 4...............................................9.............................................. 5...............................................10............................................. วิธีการดำเนินกิจกรรม .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. ..................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook