Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องดีๆที่บ้านเรา

เรื่องดีๆที่บ้านเรา

Published by Thalanglibrary, 2020-11-09 04:09:25

Description: สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ได้ริเริ่มดำเนินโครงการประกวดเรียงความ หัวข้อ “เรื่องดีๆ ที่บ้านเรา” ในปี ๒๕๕๕ นี้ เป็นปีแรก โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ได้มีโอกาสถ่ายทอดเรื่องราวดีๆ ในรูปแบบวรรณกรรม นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับการถ่ายทอด เล่าเรื่องราวจากผู้อาวุโสของครอบครัวหรือของหมู่บ้าน เล่าขานถึงตำนานหรือวิถีชีวิต ที่มีความสุขให้เด็กและเยาวชนเกิดความประทับใจและภาคภูมิใจในเรื่องราวที่ผ่านมา เป็นการสร้างแรงบันดาลใจที่จะเชื่อมโยงอดีตสู ่ปัจจุบัน และร่วมกันหาแนวทางที่จะสร้างสรรค์สังคมให้สงบสุข และส่งต่อความดีเพื่อส่วนรวม ตลอดจนเป็นการสนับสนุนการสร้างสรรค์ผลงานด้านวรรณศิลป์แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ทั้งนี้ มีผู้ส่งผลงานเข้าประกวดรวม ๑,๐๔๓ ผลงาน แบ่งเป็นระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๓๗ ผลงาน ระดับมัธยมศึกษา จำนวน ๗๗๘ ผลงาน ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป จำนวน ๑๒๘ ผลงาน โดยคณะกรรมการได้พิจารณาคัดเลือกผลงานที่มีคุณค่า ทั้งในด้านเนื้อหา การใช้ภาษา และความคิดสร้างสรรค์ จนได้ผู ้ที่มีผลงานโดดเด่นเพื่อรับรางวัลป

Search

Read the Text Version

200 เรือ่ งดีๆ ที่บ้านเรา เวลาน้ีหอมมากแค่ไหน ลองหลับตาแล้วฟังเสียงของต้นข้าวท่ีถูกลมพัด เสียดสีกัน ถึงจะไม่ได้เพราะเหมือนเสียงดนตรีแต่เป็นเสียงท่ีฟังแล้วผ่อนคลาย ท่สี ุด ชาวนาในสมัยน้ัน ก่อนที่จะเก็บเกี่ยวข้าวในนาน้ันจะต้องมีการ “แรกข้าว” กอ่ น การแรกขา้ ว คือ การเชิญขวัญขา้ วกลับบ้านนนั่ เอง โดยการ สวดมนต์ แล้วเก็บข้าวในนาจ�ำนวนหนึ่ง หลังจากนั้นก็จะนับจ�ำนวนต้นข้าว และรวงขา้ ว ถา้ ไดร้ วงข้าวนอ้ ยกวา่ ตน้ ขา้ วทเ่ี กบ็ ก็จะตอ้ งเกบ็ ใหม่ แต่ถา้ ได้รวง ข้าวเท่ากับต้นข้าวหรือมากกว่าต้นข้าวก็แสดงว่าใช้ได้ ฉันยังสงสัยว่าจะเป็นไป ได้อย่างไรท่ีรวงข้าวจะมากกว่าต้นข้าวที่ตัดมา แต่ฉันหมดข้อโต้แย้งใดๆ เมอ่ื ครงั้ แรกทฉ่ี นั ตามไปดู ยา่ แรกขา้ วดว้ ย ยา่ นบั รวงขา้ วไดม้ ากกวา่ ตน้ ขา้ วจรงิ ๆ ซึ่งฉันก็แอบนับตามย่าด้วย ท่ีจริงมันอาจเป็นเพราะความบังเอิญท่ีต้นข้าวอาจ จะล้มไป หรืออาจเป็นเพราะความเชื่อและแรงศรัทธาก็ได้ แต่จะมีประโยชน์ อะไรทเี่ ราจะหาเหตผุ ลหรอื หลกั ฐานมาโตแ้ ยง้ เพอื่ ท�ำลายความเชอื่ ความศรทั ธา ของผอู้ นื่ เมอื่ ความเชอื่ นน้ั ท�ำใหเ้ ขาตง้ั อยใู่ นศลี ธรรมและจารตี ประเพณอี นั ดงี าม ของสังคมนั้นๆ เมื่อยา่ ไดข้ วัญขา้ วที่ต้องการแลว้ กจ็ ะมดั เปน็ ก�ำ แลว้ น�ำมาใส่ “แคละ” คอื น�ำผา้ มาผกู เฉยี งบา่ แลว้ น�ำขา้ วมาใสไ่ วด้ า้ นหนา้ เหมอื นกบั ก�ำลงั อมุ้ เดก็ ออ่ น กลับบ้าน ระหว่างทางย่าจะไม่พูดกับใครเลย และผู้คนที่ผ่านไปมาก็จะทราบ โดยปริยายว่าถ้าเห็นคนแคละข้าวกลับบ้านแบบน้ี แสดงว่าเขาก�ำลังเชิญขวัญ ขา้ วกลบั บา้ น หา้ มทกั เดด็ ขาด เมอ่ื ถงึ บา้ น ยา่ จะนำ� ขวญั ขา้ วไปเกบ็ ใน “เรนิ ขา้ ว” หรอื ยงุ้ ขา้ ว ชาวนราธิวาสจะเรยี กยุ้งข้าววา่ เรนิ ข้าว เป็นบ้านท่สี รา้ งไว้สำ� หรบั เก็บข้าวนั้นเอง บางบ้านสร้างเรินข้าวติดกับตัวบ้าน บางบ้านก็สร้างแยกออก จากตวั บา้ น

เร่ืองดๆี ทบี่ า้ นเรา 201 การเก็บข้าวของชาวนราธิวาสนั้น มีการลงแขกเก็บข้าวเหมือนกับ ที่อ่ืนๆ แต่อุปกรณ์ที่ใช้เก็บต่างจากท่ีอื่นเท่านั้นเอง คือเราจะใช้แกะเก็บข้าว โดยเก็บเฉพาะรวงข้าวมัดเป็นก�ำๆ การเก็บข้าวแบบนี้เป็นเร่ืองท่ีท้าทายความ สามารถของเดก็ ๆ มาก เมอ่ื เหน็ ผ้ใู หญ่ทำ� ก็อยากทำ� บา้ ง แต่เมือ่ ได้ลองท�ำดูแล้ว รไู้ ดเ้ ลยวา่ ไมส่ นกุ เลย ท้ังเหน่อื ย ทั้งรอ้ น แล้วบางทียังโดนแกะบาดมืออกี ดว้ ย การเก็บรักษาข้าวของเราก็ต่างจากที่อื่นเช่นกัน ฉันเคยดูโทรทัศน์ เห็นเขาเอาข้าวมาฟัดกับพื้นแล้วได้ข้าวเปลือกเอาไปเก็บในยุ้งข้าว แต่เราเก็บ ขา้ วทเ่ี กบ็ มาเปน็ กำ� โดยการนำ� มาเรยี งเปน็ กองเปน็ ชน้ั ๆ ยา่ จะมมี นตป์ ดิ กองขา้ ว ทุกชั้น และถ้าจะน�ำข้าวออกไปก็จะต้องมีมนต์เปิดกองด้วย การกองข้าวน้ัน นอกจากจะปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ ตั วม์ ากนิ ขา้ วไดง้ า่ ยๆ แลว้ ยงั ท�ำใหส้ ามารถเกบ็ รกั ษา ข้าวได้นานด้วย เมือ่ จะน�ำข้าวไปสีกจ็ ะเปิดกองขา้ วทลี ะชั้นนำ� มานวด โดยการ ใช้เท้านวด แลว้ ใช้กระดงฟัดเอาขา้ วลบี และเศษฟางข้าวออก ถา้ เป็นสมยั ก่อน กจ็ ะตอ้ งใชค้ รกและสากตำ� ขา้ วมาตำ� ขา้ วเปลอื ก และฝดั อกี ครง้ั เพอ่ื ใหไ้ ดข้ า้ วสาร แต่พอมีโรงสี ก็น�ำไปสีท่ีโรงสีได้เลย ที่บ้านของฉันมีอุปกรณ์ต่างๆ เกือบครบ ขาดกแ็ ตค่ รกสขี า้ วเทา่ นน้ั ฉนั เคยถามยา่ วา่ ทำ� ไมตอ้ งเอากระดง้ สากตำ� ขา้ ว และ ครกตำ� ขา้ วไวใ้ ตถ้ นุ บา้ นดว้ ย ท�ำไมไมเ่ อาไปไวใ้ นเรนิ ขา้ ว ยา่ บอกวา่ กลวั ขวญั ขา้ ว ตกใจ เพราะสมัยที่แม่โพสพมาเกิดเป็นข้าวใหม่ๆ ข้าวจะมาอยู่ในยุ้งนั้นเอง แค่สร้างยุ้งเอาไว้ก็พอ แต่ข้าวจะไปในตอนกลางคืนเท่านั้น และมีตากับยายคู่ หนึง่ สร้างยุง้ ข้าวเอาไวเ้ หมือนบ้านอ่นื ๆ ตอนกลางคืนขา้ วก็เขา้ มาอยู่ในย้งุ เอง เม่อื เปน็ แบบน้ที ุกคืนตากับยายรูส้ กึ ร�ำคาญเพราะนอนไม่ได้ คนื หนง่ึ ตากับยาย ทนไม่ไหวเอาสากกบั กระด้งมาไล่ตขี า้ ว ท�ำใหข้ ้าวตกใจหนไี ป และไม่กลา้ เข้าไป ในยุ้งเองอีก ดังน้ันเมื่อถึงฤดูเก่ียวข้าว ชาวนาก็ต้องไปเก่ียวข้าวเอง และต้อง เชิญขวัญข้าวมาเอง ดังน้ันชาวนาจะไม่นำ� กระด้งกับสากไปใกล้บริเวณเรินข้าว เดด็ ขาด

202 เร่อื งดๆี ที่บา้ นเรา หลังฤดเู กบ็ เกีย่ วในเดือน ๖ ชาวนาจะรวมตัวกันทำ� พิธีลาซัง จะท�ำแต่ จะเป็นวันใดแล้วแต่ชาวบ้านจะตกลงกัน การท�ำพิธีจะเร่ิมด้วยการให้หมอ ไสยศาสตร์ เอาซังข้าวที่ชาวบ้านตัดหรือถอนมาจากนาท่ีเก็บเกี่ยวเป็นแปลง สุดท้ายบ้านละ ๒-๓ ซัง มารวมกัน ท�ำเป็นหุ่นผู้ชายและหุ่นผู้หญิง ให้มีหัว คอ ล�ำตัว แขน ขา ท�ำเป็นช่องกลวงตรงส่วนคอไว้ใส่อาหาร เรียกหุ่นนี้ว่า “ชมุ พกุ ” หนุ่ ผชู้ ายจะแตง่ ตวั หรอื ไมก่ ไ็ ด้ สว่ นหนุ่ ผหู้ ญงิ ตอ้ งแตง่ กาย โดยนงุ่ ผา้ ถงุ และสวมเสอ้ื ทำ� ผมเกล้ามวย ทดั ดอกไมใ้ นส่วนทสี่ มมตุ วิ ่าเป็นหู เม่อื ทำ� “ชมุ พกุ ” เสร็จเรยี บรอ้ ยผ้รู ่วมพธิ ีจะชว่ ยกนั จดั ตงั้ ศาลเพียงตา ขึ้น พร้อมตั้งเครื่องเซ่นที่เตรียมมาที่ศาลเพียงตา โดยวางดอกมะพร้าว และมะพรา้ วออ่ น ๑ ผล น้�ำ และภาชนะทจ่ี ะใสส่ ง่ิ ของอน่ื ทใ่ี ชเ้ ซน่ สรวงเจา้ ทนี่ า และแม่โพสพ ประกอบดว้ ย ข้าวเจ้า ข้าวเหนยี ว แกงเป็ดแกงไก่ ปลามหี วั มหี าง อยา่ งละพอประมาณ จดั ตง้ั ศาลเพยี งตาเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ปเู สอ่ื จดั เชย่ี นหมาก หมอนส�ำหรับหนุน ธูปเทียนและส�ำรับกับข้าว ต้ังบนเส่ือ จากน้ันน�ำชุมพุก จัดท่านั่งคู่กันบนเส่ือ หุ่นผู้หญิงน่ังด้านซ้าย หุ่นผู้ชายน่ังด้านขวา เมื่อท�ำพิธี แตง่ งานใหช้ ุมพุกแล้ว ผู้ร่วมพิธีจะช่วยกนั อาบน�ำ้ ทาแปง้ ประพรมน้ำ� หอมอบ รำ�่ ใหช้ มุ พกุ จากนนั้ ชว่ ยกนั หามชมุ พกุ ไปรมิ ปา่ ใกลๆ้ ทอ้ งนาทท่ี ำ� พธิ ี (มกั อยใู่ กล้ วัด) ช่วยกนั ตัดเชือกท่มี ดั ตวั ชมุ พุกใหข้ าดเพ่ือทำ� ลายชุมพุก แลว้ โยนซังจากตัว ชุมพุกขึ้นสู้ท้องฟ้าเป็นอันเสร็จพิธี พิธีลาซังนี้ถือเป็นสัญญาณว่าฤดูการท�ำนา ในปนี ไี้ ดส้ น้ิ สดุ ลงแลว้ ชาวนาและผนื นาไดพ้ กั ผอ่ นเพอื่ รอฤดฝู นรอบใหมท่ กี่ ำ� ลงั จะมาถึงในอกี ไมก่ ี่เดอื นข้างหน้า ยา่ และชาวนาคนอน่ื ๆ มีชวี ติ ผกู พันอยกู่ ับขา้ ว ปีแล้วปีเล่าที่ผืนนาไม่เคยขาดข้าว ทุกคนต่างสอนให้ลูกหลานรักและบูชาข้าว บางครอบครวั เรยี กขา้ ววา่ “แมท่ นู หวั ” บางครอบครวั เรยี กวา่ “แมเ่ จา้ ประคณุ ” หรอื ช่ืออืน่ ๆ ตามความศรทั ธา ถ้ามใี ครมาเรยี กเราอยา่ งอ่นื นี้ก็เขา้ ใจไดท้ ันทวี ่า ผู้เรียกคงกำ� ลังประชดประชันเราอยู่ แต่การเรียกแม่โพสพอย่างน้ีกลับเป็นการ

เรื่องดๆี ทบ่ี ้านเรา 203 เรยี กดว้ ยความเคารพบูชาสูงสดุ ยา่ สอนฉนั ว่าขา้ ว ๑ เมลด็ กม็ คี ่า เวลาตกั ต้อง ระวงั ไมใ่ หห้ ก และตอ้ งทานให้หมดไม่ใหเ้ หลือแม้แตค่ ร่ึงเมลด็ ถา้ ทำ� ขา้ วหกบน พื้นก็ห้ามเหยยี บ ต้องเก็บไปท้งิ เป็นทานให้สัตว์กิน หา้ มใชไ้ มก้ วาดข้าวโดยเด็ด ขาด ตอ้ งเกบ็ กบั มอื เทา่ นน้ั และทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื หา้ มเทขา้ วทง้ิ ตามพนื้ ดนิ เดด็ ขาด ยา่ มกั จะยกตวั อยา่ งครอบครวั ขา้ งๆ บา้ นของเราใหฟ้ งั อยเู่ สมอวา่ เขาไมใ่ ชช่ าวนา ไมร่ จู้ กั บญุ คณุ ของแมเ่ จา้ ประคณุ ชอบเทขา้ วทงิ้ ตามพน้ื ดนิ ท�ำใหซ้ อื้ ขา้ วสารกนิ เทา่ ไหร่ก็ไมพ่ อ บางครง้ั กไ็ ม่มีเงนิ ซ้ือขา้ วกนิ ตอ้ งอดข้าวอยูบ่ อ่ ยๆ ตอนเดก็ ฉัน ท�ำตามค�ำสอนย่าเพราะกลัวว่าจะไม่มีข้าวกิน แต่พอโตขึ้นฉันไม่ได้ท�ำตาม ค�ำสอนย่าเพราะกลัวไม่มีข้าวกินเท่าน้ัน แต่เพราะฉันรู้ว่ากว่าจะมาเป็นข้าว ให้ฉันกินย่าต้องเหน่ือยแค่ไหน ไม่ว่าต�ำนานเรื่องพระแม่โพสพเป็นเร่ืองจริง หรือไม่ แต่ข้าวท่ีเรากินอยู่นั้นมีบุญคุณต่อเรามาก ทำ� ให้เราเติบโตมาได้จนถึง ทุกวนั น้ี เวลาหมุนผ่านไปเพียงไม่กี่ปีเท่านั้น แต่วิถีชีวิตของชาวนราธิวาส กลบั เปลย่ี นไปรวดเรว็ กวา่ เวลาทห่ี มนุ ไปเสยี อกี ไมต่ อ้ งมองอนื่ ไกล แมแ้ ตต่ วั ฉนั ก็เปลี่ยนวิถีชีวิตของตัวเองจากครอบครัวชาวนามาเป็นข้าราชการรับเงินเดือน จากหลวง มชี ีวิตแข่งกับโลกทหี่ มุนเรว็ ข้นึ ทุกวัน ฉันนน้ั เลิกเดนิ ตามย่าไปนามา เกือบ ๒๐ ปแี ลว้ เพราะตอ้ งมาวงิ่ ตามความเจริญทางวัตถุแทน ย่าเลกิ ทำ� นามา เกือบ ๑๕ ปี เน่ืองจากสุขภาพไม่อ�ำนวยให้ท�ำอีกต่อไป เหมือนกับหลายๆ ครอบครวั ทเี่ ลกิ ทำ� นาขา้ ว แลว้ ถมดนิ ขดุ ดนิ เพอื่ ปลกู พชื เศรษฐกจิ อนื่ ทใ่ี หผ้ ลผลติ และผลก�ำไรมากกวา่ ขา้ ว วนั นเี้ มอื่ นงั่ รถผา่ นสองขา้ งทางทเี่ คยเปน็ ทงุ่ นา แทนท่ี จะเห็นท้องนาสีทองเปน็ แนวยาวสดุ ลกู หลู ูกตาเหมอื นเมอื่ ไมก่ ่ปี ที ี่แลว้ กลบั เห็น แต่ทนี่ าวา่ งเปล่าหรอื ไม่กเ็ ปลย่ี นเป็นสวนปาล์ม สวนยางพาราแทน แต่อย่างไรก็ตาม แม้วิถีชีวิตของชาวนราจะเปล่ียนไปอย่างไร แต่ มิตรภาพระหว่างคนในชุมชนก็ยังเหมือนเดิม วันนี้ฉันไม่ได้เดินเอาผักของย่า

204 เรื่องดๆี ทบ่ี ้านเรา ไปขายในหมบู่ า้ นเหมอื นตอนเดก็ ๆ แตฉ่ นั กลบั ตอ้ งขบั รถจกั รยานยนตไ์ ปซอื้ ของ ในหมบู่ า้ นแทน แตเ่ มาะเพอ่ื นของยา่ กย็ งั หยบิ ยนื่ ขนมทเ่ี มาะขายใหฉ้ นั กนิ เหมอื น ตอนฉันยังเด็ก เพื่อนๆ ทไี่ ปเล่นในทงุ่ นาดว้ ยกัน ตา่ งแยกยา้ ยไปท�างานท่ตี ่างๆ แต่เม่ือเจอกันเราก็ยังทักทายกันเหมือนกับตอนเด็กๆ ฉันเชื่ออย่างหน่ึงว่า กาลเวลาอาจจะสามารถเปล่ียนโลกและวิถีชีวิตของคนได้ แต่ไม่อาจเปลี่ยน มติ รภาพท่กี ่อเกดิ ขนึ้ มาจากความจรงิ ใจที่มตี อ่ กันไปได้ เวลาอาจหมุนผ่านไปเร็วมากเพียง ๒๐ ปี ฉันเติบโตและมีชีวิตอยู่ใน สังคมสมัยใหม่ท่ีต้องมีการแก่งแย่งแข่งขันและน�าพาความชรามาสู่ย่าของฉัน วันน้ีย่าไม่ได้มานั่งบอกเล่าเรื่องราวมากมายท่ีฉันอยากรู้หรือหลงลืมไปแล้ว เหมอื นเมอ่ื กอ่ น เครอ่ื งพนั ธนาการทเี่ ทคโนโลยสี มยั ใหมผ่ ลติ ขนึ้ มากา� ลงั ชว่ ยชวี ติ ทา่ นอยู่ ฉันท�าอะไรไม่ได้เลยนอกจากนั่งมองบุคคลท่ีเปรียบเสมือนสารานุกรม ประจา� ตัวของฉนั นอนหายใจนิง่ ๆ อยูบ่ นเตียง ฉนั ไม่รูว้ า่ สารานุกรมเล่มนีจ้ ะต่ืน ข้ึนมาเพือ่ บอกเล่าเร่ืองราวต่างๆ ให้ฉันฟงั ได้อีกหรอื ไม่ หรอื จะตอ้ งปิดลงอย่าง ถาวร แตฉ่ นั ตอ้ งขอบคณุ ยา่ ทเี่ ลย้ี งฉนั มาตามแบบวถิ ชี วี ติ ของชาวนาทขี่ ยนั อดทน และไมฟ่ งุ้ เฟอ้ ทา� ใหฉ้ นั สามารถดา� เนนิ ชวี ติ ในแบบคนเมอื งทม่ี คี วามสขุ ตามฐานะ ของตนเองได้ สง่ิ ทด่ี ที สี่ ดุ สา� หรบั ฉนั ไมใ่ ชท่ รพั ยส์ นิ เงนิ ทองทห่ี าทไี่ หนกไ็ ด้ แตเ่ ปน็ ความทรงจา� และค�าสอนดีๆ ของย่า ทีท่ า� ให้ฉันมชี วี ติ ท่ดี ีในวนั น้ี

เรอ่ื งดๆี ทบี่ ้านเรา 205 ความสุขท่ามกลาง การผสมผสานวัฒนธรรม นางทิพยวรรณ นิลทยา บทน�ำ วฒั นธรรมผสมผสานทล่ี งตวั ของหมบู่ า้ นในจงั หวดั นราธวิ าสถกู บรรยาย ผ่านมุมมองความสุข สนุกสนานของเด็กหญิงผู้หนึ่งกับเพื่อน แม้มีความ แตกตา่ งทางศาสนา กบั เรือ่ งเลา่ ความทรงจำ� ทีป่ ระทับใจเร่ืองราวดๆี ในอดีตสี่ สบิ ปที ผี่ า่ นมา รอ้ ยเรยี งถา่ ยทอดผา่ นตวั อกั ษรใหอ้ นชุ นรนุ่ หลงั ไดซ้ าบซงึ้ กบั ความ งดงามของความเปน็ อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ และพอเพยี งของชาวไทยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ บ้านบรู ณาการ หมู่บา้ นทุ่งคา ตำ� บลละหาร อ�ำเภอย่งี อ จังหวดั นราธวิ าส มีต�ำนานเลา่ สืบต่อกันมาว่า บรรพบุรุษเป็นเจ้าเมืองอยุธยา บ้างก็ว่าเป็นคนสุพรรณบุรี บ้างกว็ า่ เปน็ คนพมา่ อพยพมาต้ังแต่สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาแตก ครงั้ ท่สี อง แลว้ ย้าย ถ่ินลงมาทางใต้บริเวณแหลมทอง จากล�ำดับการอพยพดังกล่าวจึงมีชื่อเรียก หมบู่ า้ นของกลมุ่ อพยพวา่ หมบู่ า้ นทงุ่ คา ปรากฏในหลายจงั หวดั นบั ตง้ั แตจ่ งั หวดั ชุมพร ภเู กต็ ปตั ตานี และนราธวิ าส สำ� หรับหมู่บา้ นทุง่ คา จงั หวดั นราธวิ าส มี หลักฐานช้ินส�ำคัญท่ียังหลงเหลือปรากฏอยู่ในปัจจุบันคือ เจดีย์โบราณรูปทรง พม่าในบรเิ วณวัดทุ่งคา นอกจากนีแ้ ล้ว มตี ระกลู สองตระกูลคาดว่าปรากฏตาม ที่มาจากต�ำนาน คือ สุขสุพันธ์ (ท่านผู้เฒ่าเคยเล่าให้ฟังว่าแรกเริ่มเขียนเป็น

206 เรื่องดีๆ ท่ีบา้ นเรา สขุ สพุ รรณ คอื ทวดสขุ มาจากสพุ รรณบรุ ี ) ซง่ึ เปน็ ตน้ ตระกลู ของเรอ่ื งเลา่ ในครงั้ น้ี สำ� หรบั อกี ตระกลู หนงึ่ คอื ยา่ งกงุ้ คาดวา่ มบี รรพบรุ ษุ มาจากพมา่ จากต�ำนาน ข้างต้นท�ำให้เป็นท่ีมาของภาษาพูดประจ�ำถิ่นท่ีบางครั้งฟังเหมือนภาษาใต้ บางครงั้ ฟงั เหมอื นภาษาอสี าน และมกี ารผสมผสานกบั ภาษายาว(ี มลายทู อ้ งถนิ่ ) จากภาพอดีตดังกล่าวย่อมแสดงให้เห็นว่า เม่ือมีภัยสงครามเกิดขึ้น บา้ นเมอื งระสำ�่ ระสาย ผคู้ นตา่ งเอาตวั รอดหนคี วามตาย แมว้ า่ จะมคี วามขดั แยง้ กันระหว่างเมือง(ไทยกับพม่า) แต่ประชาชนที่อพยพมาสามารถตั้งถิ่นฐาน และอย่รู ว่ มกันได้ ปี พ.ศ.๒๕๑๔ หมบู่ า้ นทงุ่ คาแหง่ นมี้ ที งั้ ชาวไทยพทุ ธ ไทยมสุ ลมิ ทม่ี กี าร ไปมาหาสู่ มีความเป็นญาติ เน่ืองจากมีการแต่งงานกัน จึงมีวัฒนธรรมกินกื้อ เหนยี ว(ขนมงานแตง่ งาน)และมาแกปโู ล๊ะ(ขนมงานแตง่ งาน)ท่ีคล้ายคลึงกัน คือ มขี า้ วเหนยี วสขี าวหนา้ มะพรา้ วกวนเหมอื นกนั ในขณะทเ่ี ทศกาลตา่ งๆทเ่ี ปน็ การ ท�ำบุญหรือฉลอง ชาวบ้านจะมีการท�ำก่ือต้ม (ข้าวต้มสามเหล่ียม) และตูปะ (ขนมงานแต่งงาน) มาแจกกัน ส�ำหรับวัฒนธรรมการแต่งกายนั้นจะมีความ เหมือนกนั คอื สวมเส้ือผ้าลกู ไม้ น่งุ โสร่งปาเตะ๊ เม่ือออกจากบ้านจะมีผ้าคลุม ศีรษะบางๆ สีเดียวกับเส้ือผ้า ไว้ส�ำหรับกันแดดกันลม บางครั้งไว้ส�ำหรับรอง ศีรษะท่ีทูน(เทิน)ของเหนือศีรษะ หรือไทยพุทธใช้ผ้านี้ในการเป็นสไบส�ำหรับ กราบพระ ภาษาทใี่ ชเ้ ปน็ ภาษาใตเ้ จะ๊ เห และภาษามลายทู อ้ งถนิ่ ทผี่ สมผสานกนั วัยเด็กเป็นวัยท่ีซึมซับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตท้องถิ่นเข้าอยู่ภายในโดย ไม่รู้ตัว ความแตกตา่ งทางศาสนาไมเ่ คยมอี ย่ใู นความคดิ เพราะเพื่อนบา้ นท่อี ยู่ รั้วตดิ กัน คอื บ้านเปาะนิ เปน็ ครสู อนศาสนาอสิ ลาม มีลกู ศษิ ย์ลกู หามารำ�่ เรยี น ทุกวนั เสาร์ อาทิตย์ ร้านของช�ำท่เี ป็นศนู ยร์ วมของสนิ คา้ ของแม่แก่ (ย่า) ทำ� ให้ ได้พบปะกับบคุ คลต่างๆทม่ี าซื้อหาสนิ คา้ ทีจ่ ำ� เปน็ ตลอดจนสถานผดุงครรภท์ ี่มี แมเ่ ปน็ ขา้ ราชการเพยี งคนเดยี วใชเ้ นอ้ื ทบี่ า้ นหอ้ งแถวทเี่ ปน็ ของแมแ่ กต่ ดิ กบั รา้ น

เร่อื งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา 207 ของชำ� เปน็ สำ� นกั งานผดงุ ครรภ์ ใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ตลอดยส่ี บิ สชี่ วั่ โมงไมเ่ วน้ แมเ้ วลา ดกึ ดนื่ เทยี่ งคนื ถดั จากนน้ั เปน็ คนจนี อกี ครอบครวั หนงึ่ ทม่ี อี าชพี รบั ซอ้ื ขยี้ าง หอ้ ง แถวหลังสุดท้ายคอื พี่ชายของย่า ท่เี ดก็ หญิงเรียกวา่ “พอ่ เจะ๊ ” หรืออดีตกำ� นัน ชมุ นามสกุล สขุ สุพันธ์ ทม่ี ผี ู้คนเคารพนบั ถอื ท้งั พุทธและมุสลิม นอกจากเป็น กำ� นันแล้วยังเปน็ หมอบ้านท�ำพิธปี ดั เป่าพิษงู ซึ่งสมยั ก่อนมีงูชุกชมุ ชาวบ้านมัก ถกู งกู ดั โดยเฉพาะงเู หา่ และงกู ะปะ มผี ปู้ ว่ ยมารบั การรกั ษาอยทู่ บ่ี า้ นไมเ่ วน้ แตล่ ะ วัน ล้วนเปน็ วิถชี วี ิตทเ่ี ดก็ หญิงต้องพบเจอ จึงท�ำให้ชีวิตในวยั เยาว์ของเด็กหญงิ ชนบทชายแดนไทย-มาเลเซยี ไดเ้ รียนรู้อย่างมากมาย เสียงลูกค้าไทยพุทธ มุสลิมเข้าร้านขายของช�ำ เป็นส่ิงที่พบเห็นอยู่ ทุกเมื่อเช่ือวัน ด้วยเป็นร้านของแม่แก่มีส่ิงต่างๆครบวงจร ส�ำหรับในสมัย เม่อื ๔๐ ปีลว่ งมาแล้ว นบั ตัง้ แต่ข้าวสาร นำ้� ตาล เกลอื ฯลฯ อยใู่ นกระสอบปา่ น หลายครั้งเด็กหญิงเล็กๆ ผอมสูง ผมเปียยาว จะช่วยที่ร้านตวงส่ิงต่างๆ เช่น ขา้ วสาร น�้ำตาลเพ่ือแบง่ ขายเป็นกิโล เสยี งแมแ่ กส่ ั่งการมาเป็นระยะ เด็กหญิง เดินไปหยบิ ของตามทีแ่ ม่แกบ่ อก “โล๋กหยิบนำ�้ ผึ้งทรายฮ้ายกี้โลน๊ึง (ลูกหยิบนำ้� ตาลทรายให้หน่ึงกิโล)” แมแ่ กล่ ะจากการชงั่ ยางแผน่ หนั มาบอกเดก็ หญงิ เดก็ หญงิ วง่ิ ไปหยบิ นำ้� ตาลทราย เท้าก็พลนั เหยยี บแผละเข้ากับส่ิงหนึ่ง น้ำ� ตาลทรายหล่นโผละลงพน้ื ทง้ั ถุง “แมแ่ ก.่ ...เหยยี บขแี้ มว” แมแ่ กเ่ ดนิ มาหา กม้ ลงดถู งุ นำ้� ตาลทรายทแ่ี ตก กระจายอยใู่ นพน้ื พรอ้ มกบั หยบิ ถงุ นำ้� ตาลทรายใหมใ่ หก้ บั ลกู คา้ ชาวมสุ ลมิ ซงึ่ มา พร้อมกับบุตรสาวตาโต จมูกโด่งเป็นสัน เด็กหญิงย้ิมให้เพ่ือนต่างศาสนาซึ่งได้ รับการย้ิมตอบเป็นมิตรภาพครั้งแรกท่ีเจอกัน ทั้งที่เท้าของเด็กหญิงยังเปื้อน สงิ่ สกปรก แมแ่ กบ่ อกใหเ้ ดก็ หญงิ ไปลา้ งเทา้ เดก็ หญงิ เดนิ เขา้ บา้ นตรงไปยงั บอ่ น�้ำ อยู่ตรงกลางบ้าน ตักน้�ำจากบ่อโดยใช้ ตือหมา(ถังตักน้�ำท่ีท�ำจากกาบหมาก) ขนึ้ มาล้างเท้าตนเอง

208 เรอื่ งดีๆ ท่บี ้านเรา ทุกวันเพื่อนใหม่จะมาหาและเล่นกับเด็กหญิง ขณะท่ีแม่ก�ำลังตรวจ ครรภ์ให้กบั ผ้มู ารับบริการซึ่งเป็นชาวมุสลิม เดก็ หญิงและเพื่อนใหม่จงึ ต้องเดิน ผ่านเข้าบ้านทางด้านร้านขายของช�ำ เสียงลูกสาวของผู้มารับบริการร้อง กระจองอแงเปน็ เดก็ วยั ประมาณ ๒ ขวบ เมอ่ื แมต่ อ้ งขน้ึ เตยี งตรวจ เดก็ หญงิ และ เพื่อนจึงพยายามชวนนอ้ งตวั เล็กออกมาเล่นหนา้ บ้าน สิ่งทป่ี รากฏอยขู่ ้างบา้ น คอื เสยี งรอ้ งครวญครางของผมู้ าปดั เปา่ พษิ งบู า้ นพอ่ เจะ๊ ทท่ี กุ ขท์ รมานดว้ ยความ เจ็บปวด ขณะน้ันพ่อเจ๊ะก�ำลังเค้ียวข้าวสารพ่นใส่ขาบริเวณท่ีบวมเป็นระยะๆ และใชใ้ บหมากผปู้ ดั เปา่ ใหก้ บั ผปู้ ว่ ย เดก็ หญงิ ทงั้ สามหยดุ ยนื มองดว้ ยความสนใจ เวลาผ่านไปหญิงตั้งครรภ์ออกมา แม่ตรวจครรภ์เสร็จแล้ว ทำ� ให้เด็กหญิงได้ โอกาสท่จี ะแสดงความเป็นลกู สาวผดุงครรภ์ใหเ้ พ่ือนเหน็ จงึ ชวนเพื่อนไปคว้าหู ฟังของแม่ เลียนแบบการตรวจครรภข์ องแม่เพ่ืออธบิ ายเพ่อื นใหม่ แต่แมม่ าพบ เขา้ บอกใหเ้ ดก็ หญงิ วางหฟู งั ลง โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ สกปรก เปน็ ของใชก้ บั คนไขแ้ ลว้ กลวั ลูกๆ จะตดิ เชื้อโรค นอกจากน้ีเด็กหญิงและเพ่ือนใหม่จึงได้เรียนรู้ซ่ึงกันและกันผ่านการ ละเลน่ โดยเฉพาะการเลน่ ขายของสว่ นใหญจ่ ะเปน็ การเดด็ ใบไมข้ า้ งบา้ นมาหนั่ เป็นผักข้าวย�ำ และขย�ำดอกเฟื่องฟ้าเพ่ือท�ำเป็นน�้ำหวาน ภาษาถ่ินท้ังสองถูก ถ่ายทอดท้งั ภาษาเจะ๊ เห และภาษามลายทู อ้ งถิน่ เด็กหญิงไดเ้ รยี นร้ภู าษามลายู ท้องถิ่น โดยการซมึ ซับแบบไมร่ ู้ตัว และได้น�ำไปใชใ้ นชีวติ ประจำ� วนั โดยทกุ วัน เดก็ หญิงจะพบสภาพท่คี นในหม่บู ้านมาหาแม่ ท้ังในเวลาราชการและนอกเวลา ราชการและแม่ก็ให้บริการทั้งการตรวจร่างกาย การตรวจครรภ์ การจ่ายยา การฉีดยาท้ังท่ีสถานผดุงครรภ์(บ้าน) และออกไปช่วยเหลือชาวบ้านถึงบ้าน ทผี่ ปู้ ว่ ยไมส่ ามารถลกุ มายงั สถานผดงุ ครรภไ์ ด้ โดยมพี อ่ พนกั งานอนามยั จงั หวดั เป็นผู้ปั่นจักรยานไปส่งแม่รักษาตามสถานท่ีต่างๆท้ังในต�ำบลที่รับผิดชอบ

เรอื่ งดๆี ที่บา้ นเรา 209 และต่างต�ำบลด้วยความเช่ือมั่นของประชาชนท่ีมีต่อ “บอมอ” (คำ� เรียกของ ชาวมุสลิมท่ีนับถือผู้มีความรู้เร่ืองการรักษาพยาบาล น่าจะมาจากค�ำว่าหมอ) สมยั นน้ั เดก็ ไทยพทุ ธเกอื บทงั้ หมบู่ า้ นจงึ เปน็ ฝมี อื ท�ำคลอดของแม่ ในขณะทไี่ ทย มสุ ลมิ เปน็ ฝมี อื ของโตะ๊ บแี ต (หมอต�ำแย) หากมปี ญั หาจากโตบ๊ แี ด จงึ มาตามแม่ ไปชว่ ย ซงึ่ คร้ังน้ีแม่ออกไปรักษานอกบา้ นกับพ่อเป็นปกติ เดก็ หญงิ นั่งรอเวลา ทพ่ี อ่ และแมจ่ ะกลบั มา “บอมอ บอมอ” เด็กหญงิ ต่นื จากภวงั ค์ เปดิ ประตอู อกไปดู “หมอไม่อย”ู่ เด็กหญงิ ตอบเปน็ ภาษาไทยกลาง “บอมอ ฆีมานอ (หมอไปไหน) ” เปาะจิ (ลุง) ผมู้ าหาพดู ภาษามลายู ท้องถิ่น “ไปฉีดยาท่ีฆาเด็ง”เดก็ หญิงตอบเป็นภาษาไทยกลาง “อลั เลาะห์ เมยี มนั จะออกเด็กแลว้ นิ” (โอว อัลเลาะห์ ท�ำไงดภี รรยา ทอ้ งแก่ก�ำลังจะคลอดบุตร) สำ� เนยี งสอ่ ภาษาทสี่ อื่ ถงึ กนั น้ี แมว้ า่ ตา่ งฝา่ ยไมส่ ามารถสอ่ื สารดว้ ยภาษา ของอกี ฝา่ ยหนง่ึ ได้ แต่ใช่ว่าจะขาดความเข้าใจเสียเลยทีเดียว แม้เด็กน้อยจะพูดจา ภาษาไทยกลาง แต่ก็สามารถเข้าใจภาษาที่สื่อสารถึงกันได้ ในขณะเดียวกัน เปาะจิเองก็รับรู้และเข้าใจภาษาท่ีเด็กหญิงพูด แม้ว่าจะอยู่ในภาวะวิกฤติ ต้องตามผดุงครรภ์ไปท�ำคลอดภรรยา ซ่ึงก�ำลังเจ็บท้องคลอดก็ยังมีความ เข้าใจกัน เหตุการณ์ในวันนั้น เปาะจิได้ออกตามหาบอมอ (แม่ของเด็กหญิง) ที่บ้านของผู้ป่วยคนหน่ึง วันน้ันบอมอได้ออกไปท�ำคลอดร่วมกับโต๊ะบีแด ตามหลักการทางศาสนาอสิ ลาม

210 เร่อื งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา ตกเย็นเด็กหญิงนั่งรอพ่อกับแม่ที่กลับมาจากท�ำคลอดภรรยาของ เปาะจิ เมื่อเห็นรถจักรยานปั่น เข้ามาใกล้ เด็กหญิงวิ่งถลาออกไปบอกแม่ว่ามี แขกมาหา แม่ซักถามอยู่สักครู่จึงทราบว่าเป็นคนเดียวกับท่ีไปท�ำคลอดมา จึงบอกเด็กหญงิ วา่ ไปมาแล้ว “อยา่ เรยี กเปาะจิว่าแขกนะลกู เดย๋ี วเขาจะโกรธ ใหเ้ รียกว่าไทยมสุ ลมิ ” แม่สอน “ค่ะ เด็กผหู้ ญงิ หรอื ผชู้ ายละแม”่ เดก็ หญงิ ถาม “ผ้หู ญงิ ช่วงนีเ้ ด็กท่ีคลอดมกั เป็นเด็กหญิง” แม่ตอบ “ไชโย” เด็กหญิงดีใจในใจคิดว่าดีแล้วท่ีมีเพศหญิงเกิดเพ่ิมข้ึนอีกหน่ึง คนในโลกน้ีเทา่ กบั เธอมีเพ่ือนเพม่ิ อกี หน่งึ คนท่เี ป็นเพศเดยี วกนั สิ่งทไ่ี ด้รบั วันนี้ คือค�ำเรียกท่ีถูกต้องใช้เรียกชาวไทยมุสลิม แล้ววิ่งออกไปบอกน้องชายที่กำ� ลัง เล่นซุกซนอยู่ ความสงสยั พิธกี รรมทางศาสนา ทกุ วนั แมแ่ กจ่ ะใหเ้ ดก็ หญงิ ไดใ้ สบ่ าตรพระทอ่ี อกมาบณิ ฑบาต เดก็ หญงิ จำ� ได้ว่า มีคร้ังหนึง่ หยบิ ไข่ตม้ ผิด โดยหยิบไข่ดิบใสบ่ าตร พอ่ ตอ้ งป่ันจักรยานไป วัดเพ่ือขอโทษพระซ่ึงก�ำลังจะฉันพอดี ท�ำให้เป็นท่ีขบขันกันในบรรดาญาติๆ ช่วงกลางวันกิจวัตรของเด็กหญิงและเพ่ือนๆ จะซุกซนโดยเฉพาะช่วงปิดเทอม วันน้ันเพื่อนใหม่ไม่ได้มาเล่นด้วยกัน บอกเด็กหญิงว่าจะไปเรียนศาสนาท่ีบ้าน เปาะนิ สมัยก่อนไม่มีอาหารว่างขบเค้ียวมากนัก เด็กๆต้องอาศัยผลไม้ท่ีมีอยู่ รอบบ้าน ทุกคนปีนข้นึ ไปเกบ็ ลกู กอื มู (ฝร่ัง) ใกล้ๆกบั บา้ นเปาะนิท่เี ปน็ โต๊ะครู เหมอื นทุกวนั ท่ีผา่ นมา เปน็ ฝรงั่ ขน้ี ก ผลเล็กๆเมล็ดจะมสี ีแดง ฝรั่งพนั ธน์ุ ้จี ะอยู่ ตอนปลายๆ ก่ิง นอกจากรับประทานข้าวจากที่บ้านแล้วก็ได้ผลไม้สดจาก

เรอื่ งดๆี ท่บี า้ นเรา 211 ต้นฝรัง่ ขนี้ กมารับประทานกนั การปีนป่ายเปน็ ไปอย่างชำ� นาญอย่างช�ำนาญจงึ จะได้รับประทานผลสุก ขณะท่ีก�ำลังปีนสู่ยอดต้นฝรั่งท่ีสูงน้ัน เพื่อนไทยพุทธ ตกใจแลว้ รอ้ งวา่ “ผ”ี เดก็ หญงิ กบั เพอื่ นๆตกใจหนั ไปดตู ามทเี่ พอ่ื นชี้ เหน็ ลกั ษณะ คลา้ ยคนคลุมผา้ ขาวก�ำลงั กม้ ๆเงยๆ เดก็ ๆต่างคนตา่ งตกใจไมค่ ิดว่าจะเห็นส่ิงที่ ไมค่ าดฝนั ตอนกลางวนั รบี กระโดดลงจากตน้ ไม้ บางคนขาเพลง บางคนมอี าการ จุกแน่นหนา้ อกเน่ืองจากตกตน้ ไม้ ทกุ คนว่ิงหนกี ระหดื กระหอบเข้าบ้านตนเอง “แลน่ แอไหรม๋ าโลก๋ (หนีอะไรมาลูก)” แมถ่ าม “ผคี ะ่ แม”่ เด็กหญิงตอบ “แหล่วพอบคื่อไหน (แล้วเจอทไ่ี หน)” แมถ่ าม “เท่บานเปาะนิ แม่ (ที่บ้านของเปาะนิ แม่)” เดก็ หญิงตอบ “เป๋นพนั ไหน๋ (ลักษณะอยา่ งไร) ” แมถ่ าม “ส่ายผ้าคลมุ สีขาว(สวมผ้าคลุมสขี าว)” เด็กหญิงตอบ “ทา่ พนั นัน่ โล๋กม่ายตอ้ งกลัว๋ เค๊าละหมาด ส๊วดมนอดิ ซาลามยา (เชน่ นนั้ ลกู ไม่ตอ้ งกลัว เขาทำ� ละหมาดเป็นการสวดมนต์ของอิสลาม) ” แม่ตอบ พร้อมอธิบายต่อว่า “โล๋กหญาป๋ายรบก๋วนเค๊า ลองป๋ายถามโล๋กๆ เปาะนิแลเหรอว่าถามเพ้ือนก้าด้าย (ลูกอย่าไปรบกวนเขา ลองสอบถามราย ละเอยี ดจากลูกของเปาะนิดหู รือถามเพ่ือนก็ได)้ ” เด็กหญิงรับค�ำเม่ือเจอเพื่อนใหม่จึงสอบถามได้ความรู้มากมาย ในพิธีกรรมทางศาสนาท่ีเพื่อนต้องปฏิบัติทุกวัน จึงน�ำไปเล่าให้เพ่ือนๆ ฟัง เพ่ือนๆหายกลัวและหายสงสัยในกิจกรรมทางศาสนาที่มีความแตกต่างกัน ทุกคนยังคงข้ึนตน้ ฝร่ังเหมอื นเดมิ คราวนช้ี วนเพอ่ื นใหมแ่ ละลกู ๆของเปาะนมิ า ด้วยหลังจากเรียนรู้ว่าเวลาใดควรจะปีนต้นไม้ที่จะไม่รบกวนการสวดมนต์ ตามศาสนาอสิ ลาม

212 เรอ่ื งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา พนกั งานสำ� นกั งานผดุงครรภ์ทีไ่ ม่มคี า่ จา้ ง เมอื่ แมใ่ ชบ้ า้ นหอ้ งแถวหอ้ งหนงึ่ เปน็ ส�ำนกั งานผดงุ ครรภ์ โดยไมม่ คี า่ เชา่ ด้านหน้าของห้องแถว ส่วนน้ีได้จัดเป็นสำ� นักงานท่ีมีโต๊ะซักประวัติ ตู้เย็นแก๊ส สำ� หรบั แชว่ คั ซนี ชนดิ ตา่ งๆทไ่ี ดร้ บั มาจากสถานอี นามยั อ�ำเภอ เตยี งตรวจผปู้ ว่ ย ทพ่ี อ่ แก่ (ตา) เปน็ ผลู้ งมอื ท�ำใหล้ กู สาวไวต้ รวจทอ้ งคนไข้ ตยู้ าซง่ึ ภายในประกอบ ดว้ ยยาสามญั ประจ�ำบ้าน จริงๆ แล้วแม่ แม้จะเป็นเด็กชนบทที่เกิดในหมู่บ้านแห่งน้ี เมื่อจบ การศึกษามัธยมสามจากโรงเรียนสตรีประจ�ำจังหวัดแล้ว แม่ก็เข้าเรียนต่อ ผดุงครรภ์ที่ต้องไปเรียนถึงกรุงเทพฯ แม่เล่าว่าคนในหมู่บ้านสมัยน้ันไม่นิยม ส่งลูกหลานเรียนไกลๆ เพราะเกรงว่าลูกสาวท่ีออกไปอยู่ไกลๆ จะอุ้มท้อง ไม่มีพ่อกลับมาเป็นที่อับอายขายหน้าชาวบ้าน เม่ือแม่ต้องเดินทางไปเรียน ผดุงครรภ์ ถึงวชริ ะพยาบาล กรงุ เทพฯ หลายๆคนเฝา้ รอความสำ� เร็จโดยเฉพาะ พ่อแก่ (ตา) กบั แม่แก่ (ยาย) และญาตๆิ ขณะเดยี วกันบางคนก็ยงั มีความคิดใน แง่ลบดังกล่าวอยู่ เมื่อแม่จบมาและได้ทำ� งานด้านสาธารณสุขเป็นคนแรกของ หมบู่ า้ น นบั เปน็ จดุ ตงั้ ตน้ ของคนในหมบู่ า้ นของเราทห่ี นั มาใหค้ วามสนใจในการ เรยี นทางดา้ นสาธารณสขุ พยาบาลกนั มากขน้ึ จนแทบกลา่ วไดว้ า่ ลกู หลานเกอื บ ทุกบา้ นในขณะนี้เรยี นดา้ นสาธารณสขุ เชน่ ผดงุ ครรภ์ พยาบาล เจ้าพนกั งาน สาธารณสขุ รวมทัง้ แพทย์ ไมเ่ ว้นแม้กระท่งั ลูกสาวของแม่เอง ปดิ เทอมใหญ่ เดก็ หญงิ ตวั นอ้ ยงว่ นอยกู่ บั การเรยี งยาทบ่ี รรจขุ วดใหเ้ ปน็ ระเบยี บในตยู้ า ทเี่ พอื่ นหลายๆคนรสู้ กึ รงั เกยี จกลนิ่ ของยาทต่ี ลบอบอวลภายใน บ้าน ในขณะท่ีแมก่ ำ� ลงั เตรยี มการเพ่ือฉีดวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคระบาด ซง่ึ เดก็ หญงิ ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้จดชื่อผู้มารับบริการ ลงในสมุดเพ่ือให้บริการกับผู้มา รับบริการในสมัยนั้นซ่ึงไม่สามารถเขียนชื่อตนเองได้ และเน่ืองจากสถาน

เรอ่ื งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา 213 ผดุงครรภ์แห่งน้ีมีแม่ท่ีเป็นท้ังหัวหน้าและทุกหน้าที่เบ็ดเสร็จ ดังนั้นทุกคน ในครอบครัวจึงเป็นเจา้ หน้าท่ีประจำ� สถานผดุงครรภ์โดยไมร่ ู้ตวั “นามอ อาปอ” เด็กหญิงถามช่ือของผู้มารับบริการท่ีเป็นไทยมุสลิม โดยมีเพอ่ื นใหมค่ อยบอกเร่ืองภาษายาวี อยู่ใกล้ๆ “ดอเลาะ” เสยี งตอบจากผู้รบั บรกิ าร ด้วยความคุ้นเคยช่ือเพ่ือนๆท่ีอยู่ในช้ันเรียนเด็กหญิงจึงบันทึกอย่าง ถูกตอ้ งลงในสมุดว่า นายดอเลาะห์ “นามอ อาปอ” เสียงเล็กๆแจ๋วๆของเดก็ หญิงยังดงั เปน็ ระยะๆ กิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจากแม่ เป็นกิจกรรมท่ีเด็กหญิงรู้สึก ภาคภูมิใจ รายชื่อของผู้มารับวัคซีนในวันนั้นจึงเป็นลายมือของเด็กหญิง เกือบทั้งหมดโดยการช่วยเหลือของเพ่ือนใหม่ งานท่ีได้รับมอบหมายจึงลุล่วง ตามที่หัวหน้าส�ำนักงานผดุงครรภ์ต้องการ สร้างความภาคภูมิใจในการมีส่วน ร่วมให้กับเด็กหญิงย่ิงนัก แต่ย่ิงกว่านั้นคือสิ่งที่ผู้เป็นแม่ได้สร้างกับเด็กตัวน้อย ในการสร้างความคุ้นเคยกับผู้รับบริการโดยไม่มีแบ่งชนช้ัน หรือความแตกต่าง ทางการนับถือศาสนาท่ีหล่อหลอมอยู่ในจิตใจบนพ้ืนฐานความเข้าใจใน ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลโดยปราศจากทฤษฎีรองรับ ตะเกียงรวมใจ ก่อนปี ๒๕๑๗ บ้านทุ่งคายังใช้ตะเกียงน้�ำมันก๊าดตะเกียงมีขนาด เท่ากระป๋องนมขน้ หวาน ทำ� ดว้ ยอลมู ิเนียมเคลือบสมี ี ๒ สีคอื สีเขียวกบั สีแดง ไฟของตะเกียงชนิดนี้เกิดจากน้�ำมันที่หล่อเลี้ยงไส้ตะเกียง ชาวบ้านจึงต้องซื้อ น้�ำมันก๊าดมาส�ำรองไว้ใส่ตะเกียง เมื่อไส้ตะเกียงซึ่งเป็นเกลียวเชือกใกล้หมด ต้องหาซื้อมาเปล่ียน แสงไฟจากตะเกียงท่ีสว่างไม่มาก ท�ำให้เด็กหญิงต้องท�ำ

214 เร่อื งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา การบ้านต้ังแต่กลับจากโรงเรียน แต่บางครั้งแม่และพ่อต้องไปเยี่ยมติดตาม การเจ็บป่วยของผู้ป่วยที่บ้าน จึงต้องท�ำการบ้านในเวลากลางคืน แสงจาก ตะเกียงสีเขียวสว่างพอควร ทุกคนในบ้านรวมกันอยู่ใกล้ๆตะเกียงเพ่ืออาศัย แสงสว่างในยามค�่ำคืน กลิ่นน�้ำมันก๊าดลอยมาแตะจมูก ผู้ใหญ่ต่างรวมกันฟัง รายการวิทยจุ ากวิทยทุ รานซสิ เตอรท์ ีใ่ สถ่ ่านไฟฉายตราแมวลอดหว่ ง ในขณะที่ เดก็ หญงิ กำ� ลงั นอนควำ�่ ทำ� การบา้ นใกลต้ ะเกยี ง หเู งย่ี ฟงั เสยี งละครคณะเกศทพิ ย์ จากวทิ ยุ บางครงั้ เผลอก้มหรือโงกหลับ จะไดย้ ินเสียงชวิ ชวิ พร้อมกับกลนิ่ ไหม้ ของเสน้ ผมทห่ี งกิ งอจากการถกู ไฟเผา เสยี งหวั เราะจากผใู้ หญก่ ด็ งั มาพรอ้ มเตอื น ด้วยความหว่ งใย “หญาเอาหว๊ั ไปแคต่ อื๋ เกยี๋ งโลก๋ มนั จหี๊ มา่ ยผมหมอ๋ ดนา่ น (อยา่ เอาศรี ษะ ไปใกล้ตะเกียง จะไหม้ผมหมด)” เสียงแม่แก่แวว่ มา “ค่ะ แม่แก่ ท�ำแอ๋หร่ายน่าน (ค่ะ ย่าท�ำอะไรคะ)”เด็กหญิงถาม เมื่อเหลือบตาไปเหน็ ผูเ้ ปน็ ยา่ กำ� ลังรดู ใบไม้บางอย่าง “ท�ำสาดเอ๊าวา๋ ยชา่ ย (สานเสื่อเอาไว้ใช้)”แมแ่ กต่ อบ “ทำ� ก๋บั แอ๋ไหร๋ (ทำ� จากวัสดใุ ด)” เดก็ หญิงถามตอ่ “ใบ๋เตย๋ (ใบเตย)”แมแ่ ก่ตอบ เดก็ หญงิ เรม่ิ เปลยี่ นความสนใจมาทยี่ า่ ซงึ่ ใชผ้ า้ พนั มอื ทง้ั สองขา้ งใชเ้ ชอื ก เส้นเล็กๆลากผ่านใบเตยหนามที่มีหนามแหลมบริเวณกลางใบออกทีละใบ ย่าเล่าว่าใบเตยชนิดน้ีข้ึนอยู่ตามพรุ ต้องเดินเข้าไปตัดทีละใบ ท่ีต้องระวังคือ หนามแหลมคมของใบเตยทเ่ี มือ่ โดนแลว้ เจ็บมาก เมอ่ื เอาหนามแหลมออกหมด แล้วย่าจะน�ำไปตากแดดเพ่ือให้ใบน่ิม จากนั้นก็จะเริ่มสานเส่ือ ขนาดเล็กใหญ่ ข้นึ อยู่กับความต้องการเส่ือนไ้ี รส้ ารพิษเพราะไม่มีการย้อมสี เม่ือเสร็จแลว้ จะมี สเี หลอื งออ่ นพรอ้ มกบั กลน่ิ หอมออ่ นๆของใบเตย ใบเตยทเ่ี หลอื จากการสานเสอื่

เรื่องดๆี ทีบ่ า้ นเรา 215 ย่าจะน�ำใบใช้สานเป็นตะกร้าเล็กๆ ใส่ของหลากหลายขนาด เด็กหญิงเองใช้ เสอ่ื ชนิดนใ้ี นการนอนเกลอื กกล้ิงทำ� การบ้านอย่นู ่นั เอง เก็บข้าว นวดข้าว ตากขา้ ว ทม่ิ ข้าว วนั หนงึ่ แมแ่ กส่ ง่ั ไกบ่ า้ นทชี่ าวบา้ นเลยี้ งในหมบู่ า้ นมาถงึ ๒ ตวั ซงึ่ นานๆ ครั้งที่มีเทศกาลเราจึงจะได้รับประทานไก่กัน พ่อเป็นผู้ลงมือชำ� แหละไก่ด้วย ตนเอง สมยั กอ่ นหากไมฆ่ า่ เองจะไมม่ ไี กข่ ายตามทอ้ งตลาด เดก็ หญงิ ถกู หา้ มมอง เมอ่ื พอ่ ชำ� แหละไก่ มาทราบภายหลงั วา่ ผใู้ หญไ่ มอ่ ยากใหเ้ ดก็ ๆเปน็ คนทโี่ หดเหยี้ ม จงึ ไมใ่ หด้ ู ซงึ่ เมอ่ื ชำ� แหละเสรจ็ พอ่ จะนำ� ไกไ่ ปจมุ่ ในนำ้� รอ้ นทแี่ มต่ ม้ ดว้ ยเตาไมฟ้ นื เตรียมไว้ในโคม(กาละมัง)เรียบร้อยแล้ว หลังจากนั้นพ่อจะลองถอนขนไก่ดูว่า สามารถถอนออกจากตัวไก่ไดห้ รอื ยงั เด็กหญงิ ทช่ี ่างสงสัยเข้าไปดูใกลๆ้ เมอ่ื พ่อ ถอนไปซักพกั หนง่ึ กะว่าความร้อนลดลงจึงเรียกเด็กหญงิ มาชว่ ย เด็กหญงิ รสู้ กึ สนกุ มาก เสยี งพ่อบอกให้คอ่ ยๆถอนเดีย๋ วหนงั ไกห่ ลุดตามมอื จากนั้นพ่อผ่าเอา เครอ่ื งในไกอ่ อกมา คราวนเ้ี ดก็ หญงิ ยง่ิ อยากรมู้ ากกวา่ เดมิ ไดศ้ กึ ษาตบั ไต ไสพ้ งุ จากเครอื่ งในไกไ่ ปดว้ ย ทนี่ า่ ตน่ื เตน้ คอื เครอื่ งในไกท่ ม่ี ไี ขฟ่ องเลก็ ๆ อยใู่ นทอ้ งไก่ ตวั เมยี จากนน้ั แมแ่ กก่ บั แมเ่ อาไกท่ พ่ี อ่ หกั บรเิ วณเทา้ ทงั้ สองขา้ งเขา้ ไปขา้ งในตวั บริเวณก้น เพ่ือน�ำไปต้มต่อไป แม่บอกเด็กหญิงว่าเดี๋ยวจะน�ำไก่ที่ต้มมาฉีก เพอื่ ท�ำขา้ วต้มไกเ่ ลย้ี งคนทมี่ าชว่ ยเกบ็ ขา้ ว(เก่ยี วข้าว) อาหารคาวคอื ขา้ วตม้ ไก่ อาหารหวานทแี่ มแ่ กเ่ ตรยี มคอื ขา้ วเปยี ก (ขนม ปลากริม) เด็กหญิงเห็นแม่แก่กับแม่ก�ำลังหมุนอะไรบางอย่างจึงเข้าไปถาม แม่แก่เล่าว่าก�ำลังบดข้าวจ้าวเพื่อท�ำแป้งขนม ซึ่งเคร่ืองบดน้ันเป็นหินเรียกว่า ครกบด มหี ลมุ ส�ำหรบั ใสข่ า้ วทจี่ ะบดขนาดเลก็ เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางขนาดประมาณ หนึ่งน้ิวคร่ึง จะต้องใส่ข้าวพร้อมน�้ำลงไปทีละช้อนในช่องแล้วอีกคนจะหมุน

216 เรือ่ งดๆี ทบี่ า้ นเรา เคร่ืองบดไปในทิศทางเดียวกัน บดไปเรื่อยๆจนกว่าข้าวจะหมดหลุม จึง หยอดใหม่ แป้งผสมน�้ำจะตกลงไปในถุงผ้าด้ายดิบท่ีน�ำมาผูกไว้ เด็กหญิงนั่งดู ซักพัก แม่จึงสอนให้ลองตักข้าวผสมน้�ำ บางครั้งหยอดไม่ตรงหลุมก็จะมีเสียง หัวเราะตามมา หลังจากบดแป้งเสร็จมัดปากถุงผ้าก็น�ำครกบดยกข้ึนทับแป้งที่ บดท้ังถุงเพื่อไล่น�้ำ จากน้ันแม่แก่จึงนวดและผสมแป้ง ขณะน้ันแม่น�ำมะพร้าว จากสวนมาปอกแล้วขูดด้วยเหล็กขูด(กระต่ายขูดมะพร้าว)เพื่อค้ันเอาน�้ำกะทิ ขนมชนิดน้จี ะกดขนมผ่านกะลามะพรา้ วทเี่ จาะรลู งในนำ้� กะททิ ี่ก�ำลังเดือด ฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าวเป็นช่วงที่เด็กหญิงปิดเทอมใหญ่เป็นช่วงฤดูร้อน แม้อากาศภายนอกจะรอ้ นมาก แต่น้ำ� ใจของคนท่ีมารวมกันในทงุ่ นาของแมแ่ ก่ ทำ� ใหท้ กุ คนลมื ความรอ้ นของอากาศไปได้ คนทกุ วยั ชายหญงิ ไมม่ แี ยกไทยพทุ ธ มุสลิมร่วม “ปะก๊ะกั๋นแก๊บข้าว”(ลงแขกเกี่ยวข้าว)โดยใช้แกะ ในวันน้ันทุกคน สวมเคร่ืองแต่งกายท่ีเหมือนกัน คือ หมวกปีกกว้าง เส้ือแขนยาว มีผ้าคลุม ศรี ษะกนั ความร้อน และสวมผ้าถงุ ปาเตะ๊ กนั เดก็ หญงิ เข้าใจแล้วว่าท�ำไมท่นี ใ่ี ช้ ค�ำว่าเก็บข้าวแทนค�ำว่าเกี่ยวข้าวของภาคกลาง เพราะแกะสามารถเก็บข้าว ได้ทลี ะรวงอยา่ งประณีต แมแ่ ก่ไดส้ อนใหเ้ ด็กหญิงและเพื่อนใหม่ไดท้ ดลองเกบ็ ข้าว คราวนี้เด็กหญิงได้ความรู้สึกว่ากว่าจะได้ข้าวสักรวงดูช่างยากเย็นแถมยัง ต้องระวังน้ิวกลางที่อาจถูกแกะท่ีคมบาด ช่วงเที่ยงข้าวทั้งท้องทุ่งท่ีเหลืองไสว ไดถ้ กู มดั เปน็ ก�ำบรรจใุ นกอื้ สอบฆนุ ี(กระสอบป่าน)และกือ้ สอบกอื้ จู๊ด (กระสอบ กระจดู )ท�ำลำ� เลยี งโดยชายหนมุ่ เพอ่ื เกบ็ ไวใ้ นเรนิ ขา้ ว (ยงุ้ ขา้ ว) แมแ่ กไ่ ดเ้ ชญิ ชวน ทุกคนให้รับประทานอาหารคาวหวานท่ีได้เตรียมมา การลงแขกจึงไม่มีค่าจ้าง วานแต่มีน้�ำใจเป็นอาหารรับประทานจากเจ้าของข้าวตอบแทนนำ้� ใจท่ีทุกคน ชว่ ยกัน “ดอ่ื กนั๋ มากนิ๋ ขา้ วตม้ เสยี กอ๋ น หญาพงึ่ หลบนน่ั (เชญิ ทกุ คนรบั ประทาน ข้าวต้มก่อน อย่าเพ่ิงกลับบ้าน) มาแกนาซิอาย(เชิญรับประทานข้าวต้ม)” เสยี งแม่แก่ตะโกนเชือ้ เชิญ

เรอื่ งดีๆ ท่บี า้ นเรา 217 “อ๊ิ ดา้ ยแหละ จไ้ี ป๋แลงัวเหลย (ไม่เป็นไร จะตอ้ งไปดวู ัวอีก)”ชาวบา้ น คนหน่งึ บอก “ท่าพันน่ันกาเอ๋าส่ายถุงหลบป๋ายก๋ินเรินก่าด้าย (เช่นน้ันเอาข้าวต้ม ใส่ถงุ กลบั ไปกนิ ทบ่ี า้ น)” แม่แก่ตอบ หลังจากนั้นข้าวจากเรินข้าวจะถูกน�ำมานวด เด็กหญิงเห็นแม่น�ำเส่ือ ใบเตยมาปูที่พื้นแล้วน�ำข้าวเป็นก�ำท่ีเก็บไว้มาวาง จากนั้นข้ึนไปใช้เท้าเหยียบ นวดให้เมล็ดข้าวหลุดออกจากรวง แล้วน�ำใส่กระด้งฝัดเพ่ือให้เหลือเฉพาะ เมล็ดข้าว จากนั้นต้องน�ำเมล็ดข้าวที่ได้ไปตากแดดในเสื่อกระจูดที่เตรียมไว้ กลางลานบ้าน เกล่ียเมล็ดข้าวเปลือกให้ท่ัวเสื่อ คราวนี้เป็นหน้าท่ีโดยตรงของ เดก็ หญิงทจ่ี ะตอ้ งเฝา้ ข้าวเปลอื กไมใ่ ห้เปด็ ไก่ หรือนกมากินขา้ วเปลอื กท่ีตากไว้ เวลาผา่ นไปแม่ก็จะออกไปคนขา้ วให้ได้รบั ความร้อนถ้วนทัว่ ก่อนนำ� ไปทมิ่ (ต�ำ) โดยใช้ครกตำ� ข้าว ข้าวสารหลังตำ� ต้องน�ำมาเลือกกรวด ทราย เปลือกออกอีก คร้ังหนึ่ง แล้วแม่จะฝัด เอาฝุ่นจากข้าวเปลือกออกอีกครั้งหนึ่งจึงเก็บไว้ใน ถังขา้ วเพือ่ น�ำไปหงุ ต่อไป หลงั ฤดเู กบ็ เกย่ี วของหมบู่ า้ นแหง่ นจี้ ะมกี ารนำ� ขา้ วใหมไ่ ปรวมกนั ทำ� บญุ เพอ่ื ถวายพระสงฆแ์ ละอทุ ศิ สว่ นบญุ ไปใหญ้ าตทิ ไี่ ดล้ ว่ งลบั ไปแลว้ เรยี กพธิ กี รรม นวี้ ่าตักบาตรหน้าบา้ น ซง่ึ กค็ อื หนา้ วัดทุง่ คา บริเวณศาลาทรงปน้ั หยา ชาวบา้ น ทุกคนจะแต่งกายด้วยเส้ือผ้าท่ีสวยงามสะอาดตา น�ำข้าวใหม่ที่หุงไว้ไปใส่ บาตรพระจะเจริญพระพุทธมนต์เพ่ือเป็นสิริมงคล ในขณะที่เด็กๆ มีโอกาส พบเจอกันทงั้ เพอ่ื นทัง้ ญาติ ว่ิงเลน่ กนั ฝ่นุ ตลบในลานวดั น่นั เอง รับเสด็จ รบั เสด็จๆ เด็กหญิงทอ่ งอยูใ่ นใจ ดงั นัน้ หลังกลบั จากโรงเรยี น เดก็ หญงิ รบี อาบนำ้� ทำ� การบา้ นอยา่ งเรง่ ดว่ น เพอ่ื จะไดอ้ อกไปบรเิ วณสนามหญา้ ใกล้ถนนสายเอเชยี ทางเขา้ หมู่บา้ น ซง่ึ ท่ีนัน่ จะมีท้งั เด็กและผ้ใู หญ่ทุกเพศวยั ท้งั

218 เร่อื งดๆี ทบี่ ้านเรา ไทยพุทธ ไทยมุสลิมไปรวมกัน ทุกคนจะรอคอยรถขบวนเสด็จผ่าน พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับ แรมท่ีพระต�ำหนักทักษิณราชนิเวศน์เพ่ือปฏิบัติพระราชกรณียกิจในจังหวัด ชายแดนใต้ หมู่บ้านแห่งนี้จะเป็นหนึ่งในหลายหมู่บ้านท่ีโชคดี เน่ืองจากไม่ว่า พระองค์ท่านจะเสดจ็ พระราชด�ำเนินจงั หวดั ปัตตานี ยะลา หรอื ในนราธวิ าสจะ ต้องเสดจ็ ผ่านเสน้ ทางสายเอเชยี นี้ เมื่อไดย้ นิ เสยี งไซเรนของรถฉลามบก ทุกคน จะออกไปยืนเป็นแถวหน้ากระดานเพื่อรับเสด็จรวมทั้งเด็กหญิงและเพื่อนใหม่ เด็กหญิงได้รับค�ำบอกจากผู้ใหญ่ว่าให้สังเกตรถท่ีมีธงเพราะท่านคือพระเจ้า แผ่นดินและพระราชินี แผ่นดินที่เราอยู่น้ีเป็นของท่าน ขอให้เราถอนสายบัว เพื่อถวายความเคารพเมื่อขบวนรถพระท่ีน่ังเสด็จผ่าน เด็กหญิงจึงได้โอกาสใน การสอนเพื่อนใหม่ถอนสายบัว เมื่อขบวนเสด็จมาถึงเด็กหญิงและเพ่ือนใหม่ จะเห็นพระองค์ท่านทรงโบกพระหัตถ์ให้กับประชาชนของพระองค์ทุกครั้ง ทั้ง เดก็ หญิงและเพื่อนใหม่จงึ ถวายความเคารพด้วยการถอนสายบัว ในขณะที่เดก็ ชายท่ียืนอยู่ข้างๆก็ทำ� ตาม ผู้ใหญ่จึงบอกเด็กชายผู้นั้นให้โค้งคำ� นับ หากไม่ดึก นักเด็กหญิงและเพ่ือนใหม่จะรอจนกว่าขบวนเสด็จกลับ ภาพเช่นน้ีจะเกิดเป็น ประจำ� ทกุ วนั ในหมบู่ า้ นแหง่ น้ี ยกเวน้ บางวนั ทเ่ี สดจ็ ไกลๆ ผใู้ หญจ่ ะใหเ้ ดก็ ๆกลบั เข้าบ้านก่อนเพราะยุงชุม บางคืนเด็กหญิงจะได้ยินเสียงรถขบวนเสด็จกลับ ดึกมาก วันหนึ่งก�ำนันซ่ึงเป็นลุงเขยแจ้งให้ลูกบ้านทราบว่า ในหลวงจะเสด็จ ที่วัดบ้านเรา ชาวบ้านทุกคนตื่นเต้นมาก เด็กหญิงก็ดีใจไปกับเขาด้วยเพราะ จะไดช้ มพระบารมใี กลๆ้ ชาวบา้ นทงั้ ไทยพทุ ธ ไทยมสุ ลมิ มกี ารเตรยี มตวั พฒั นา หมบู่ ้านกนั ใหญ่ ชว่ ยกันคนละไมค้ นละมือ ทั้งถากหญา้ ข้างถนนซงึ่ สมยั นน้ั เปน็ ถนนดนิ แดงหน้ารอ้ นฝนุ่ ตลบ หน้าฝนถนนเป็นโคลนตม ถางป่าข้างทาง ท�ำรั้ว บ้านด้วยไม้ไผ่ไขว้ดูสวยงาม เม่ือถึงวันท่ีท่านเสด็จทุกคนต่างมารอรับเสด็จ เด็กหญิงพับเพียบน่ังอยู่กับแม่แก่ บริเวณหน้าโบสถ์ในขณะที่เพ่ือนใหม่นั่งกับ

เร่อื งดีๆ ที่บ้านเรา 219 โตะ๊ (ยาย)ของเขาเชน่ กนั ท้งั คูด่ ไู ม่ซุกซนไดแ้ ตส่ ง่ รอยยม้ิ ให้กัน เมอื่ เห็นพระองค์ ท่านไกลๆ เด็กหญิงรู้สึกขนลุกซู่อย่างบอกไม่ถูก ภาพลุงเขยที่กล่าวรายงาน ปา้ ทีถ่ วายมาลยั ขอ้ พระกรยังตรึงในใจ คดิ วา่ ทา� อยา่ งไรจะได้มีโอกาสเขา้ ไปใกล้ ท่านบ้าง และเมื่อพระราชินีและพระราชธิดาองค์เล็กเสด็จพระราชด�าเนินมา ใกล้ จนกระท่ังถึงตรงที่เด็กหญิงน่ังอยู่ เด็กหญิงใจเต้นระทึก เมื่อพระราชินี ทรงตรัสกับแม่แก่พระสุรเสียงท่านไพเราะกังวานท่านตรัสว่า สบายดีไหมจ๊ะ ตอนนี้อายเุ ท่าไรแลว้ จะ๊ มารอนานหรือยังจ๊ะ เด็กหญงิ มัวแต่ตื่นเตน้ จนไม่ได้ยนิ ว่าแม่แกต่ อบวา่ อยา่ งไร บทสรุป ใชเ่ น่ินนานเกนิ กว่านา่ หวนั่ ไหว ส่ีสิบปลี ว่ งมาเวลาผา่ น พทุ ธมุสลมิ คอื ไทยเราด้วยกนั เป็นคณุ คา่ ควรสอนวอนลูกหลาน ความเป็นอยรู่ ว่ มกันประทบั ใจ ไมม่ ีวนั ทีใ่ ครมาบน่ั ทอน ความงดงามทางด้านภาษา เป็นด่ังครชู วี ติ คิดส่งั สอน กอ่ เกิดความเขา้ ใจกันและกนั รจู้ กั ผอ่ นความหนกั และความเบา ทเี่ ลศิ ล�้าท่ีฉลาดขาดความเขลา ความงดงามทางดา้ นความเปน็ อยู่ ใหเ้ ขา้ ใจทมี่ าและบทเรียน รแู้ นวทางด�าเนินเหินมาจร ท่ยี ิ่งใหญ่ควรบันทึกไว้อา่ นเขียน ตามรอยพระบาทเพยี รพยายาม ความงดงามทางด้านวฒั นธรรม วฒั นธรรมบนั ดาล ใชข่ วากหนาม บรรพชนสรา้ งไว้ให้พวกเรา ความงดงามทร่ี อวนั หวนกลับคนื ความงดงามทางด้านศูนยร์ วมใจ เป็นแสงสวา่ งท่ัวไทยดจุ แสงเทยี น ความสุขทา่ มกลางผสมผสาน การอยู่รว่ มสันตสิ ุขทกุ โมงยาม

220 เรอ่ื งดีๆ ท่ีบา้ นเรา เรอื่ งดีๆ ท่บี ้านเรา นายยะยา โละ๊ นิโย คิดถึง...รองเงง็ (หล้อแหงง็ ) บูลนั จือระฮ์ ชาฮายา ปูเตะฮ์ ออรงั เบอรฆ์ าลา มึนญาเดาะ ตือบิง บกู นั มเู ดาะฮ์ เบอรจ์ อื รัย กาเซะฮ์ ซอื เปอรตี ดาระฮ์ มือนิงฆัล ดาฆงิ ดวงจนั ทร์เพญ็ เด่นพราว สกาวแสง คนั ไถแรง แทงพล้ำ� ถล�ำดนิ ใหต้ ดั รกั หกั ใจ อาลัยสิ้น สดุ ถวลิ ด่ังเลือดเนอ้ื จะตัดไย ราวกบั แวว่ ยนิ เสยี งแหบแหง้ หากยงั คงทอดไปดว้ ยอารมณข์ องบทเพลง “ปูโจ๊ะปีซัง” บทเพลงพื้นบ้านแห่งท้องถิ่นภาษามลายู ซ่ึงหากว่าเพียงแค่อ่าน แม้ท่วงท�ำนองร้อยแก้ว คนเฒ่าคนแก่ในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ อาจยังคงปรากฏรอยย้ิมด้วยความสุขสดชื่นไปพร้อมรอยร�ำลึกแห่งกาลเวลา... เสมอื นคณุ ยายของข้าพเจ้า เมาะบูงอ

เรือ่ งดๆี ท่ีบา้ นเรา 221 ตั้งแต่ข้าพเจ้าจ�ำความได้และอยู่ในวัยที่สามารถเรียนรู้ภาษาพูดได้แล้วน้ัน ข้าพเจ้าเคยนึกขันช่ือของคุณยายอยู่หลายครั้งหลายครา อีกทั้งให้นึกสงสัยอยู่ ครามครันว่า คนอ่ืนๆได้เห็นว่าช่ือของคุณยายนั้นฟังไพเราะไปได้อย่างไร เนอื่ งจากในสมัยปจั จุบันนจี้ ะหาใครสักคนทมี่ ชี อื่ วา่ “บงู อ” ก็ยากหา แม้วา่ ค�ำ นจี้ ะหมายความถงึ “ดอกไม”้ กต็ ามที จนเมอื่ ทา่ นไดเ้ ลา่ สกู่ นั ฟงั ใหล้ กู หลานดว้ ย ภาษามลายู ทีใ่ หฟ้ งั อย่างไร ก็ยงั เหลอื เคา้ ส�ำเนียงไทยใต้อยนู่ ่ันเองวา่ “ฉันชอื่ บหุ งา เปน็ คนสงขลา พอมาอยนู่ ราฯ ใครๆก็เรยี ก บงู อ!” และเมอ่ื คุณยายเรม่ิ ต้นเท้าความประวัตขิ องตนเองตรงน้ี ความทรงจำ� ในคืนวันเก่าก่อนก็จะถูกพัดพาราวกับลมตะเภาในฤดูเก่ียวข้าวยามโพล้เพล้ ของวัน ท่ีถึงแม้จะอ่อนแสงร�ำไร หากก�ำลังลมยังคงพัดเสมอต้นเสมอปลาย จนใหร้ สู้ กึ ไดถ้ งึ ความออ่ นโยน “วันนั้นท่ีจังหวัดนราธิวาสท้องฟ้าแจ่มใส ในหลวงท่านเสด็จมา พระราชทานรางวลั ๑...” ขา้ พเจ้ายังจำ� ไดว้ ่า พอเลา่ มาถึงตอนน้ีคุณยายบงู อก็ ประนมมอื ก่อนทที่ า่ นจะพดู ต่อด้วยนำ้� เสียงแจม่ ใสแมแ้ หบแห้ง แววตาฝา้ ฟาง ในกรอบตาเห่ยี วยน่ ยังสะท้อนถึงความอิ่มเอมเปน็ ประกาย “ยายร�ำรองแง็ง...” รองแงง็ หรอื รองเงง็ (ภาษาไทยถนิ่ ใตเ้ รยี ก หลอ้ แหงง็ ) ทค่ี ณุ ยายรำ� ลกึ ถึงน้ัน เป็นศิลปะการร่ายรำ� ในแบบพื้นเมืองของชาวไทยมุสลิมในพื้นท่ีจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ทส่ี บื ทอดมายาวนานตงั้ แตค่ รง้ั อดตี จนถงึ ปจั จบุ นั แมว้ า่ ปจั จบุ นั นจี้ ะไมค่ อ่ ยไดเ้ หน็ ศลิ ปะการแสดงรปู แบบนบี้ อ่ ยนกั แตข่ า้ พเจา้ กเ็ ชอ่ื มนั่ วา่ คนใน พื้นที่นคี้ งไมม่ ีใครปฏเิ สธวา่ ไมร่ ู้จัก และคงไมม่ ใี ครปฏเิ สธถงึ ความมีอยูข่ องสง่ิ ที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้เสด็จพระราชทานโล่เกียรติคุณและเงินรางวัล แก่โต๊ะอิหม่ามผู้ปฏิบัติงานดีเด่น ประจ�ำปี ๒๕๒๗ ณ อาคารมสั ยิดกลาง จงั หวดั นราธวิ าส (ขอ้ มลู จากภาพข่าวทกั ษณิ ปที ี่ ๒๕ ฉบบั ท่ี ๑ ประจ�ำเดือน ตุลาคม ๒๕๒๗)

222 เรอื่ งดีๆ ท่บี ้านเรา สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงศิลปวฒั นธรรมอนั สูงคา่ ของ รองแง็ง... “การร�ำรองเง็ง มีจังหวะการเคลื่อนย้ายแบบลีลาศอยู่หลายจังหวะ เช่นจงั หวะทูเสต็ป(Two step) จงั หวะบีกนิ (Beguine) ซึ่งดฉิ ันจะใหน้ ักเรียน เข้าใจจังหวะรูปแบบนี้ก่อนเป็นล�ำดับแรก เพราะรองเง็งจะใช้การสลับเท้าเป็น ส�ำคัญ เมือ่ เทา้ มชี วี ติ มอื ไมก้ ็จะพลอยมีชวี ติ ไปด้วย ยกตัวอยา่ งดนตรีจังหวะบี กนิ จะเป็นแบบ ๔/๔ คือ มี ๔ จงั หวะใน ๑ ห้องเพลง โดยที่สามจงั หวะแรกจะ เป็นเสยี งหนกั และจังหวะท่สี ี่จะเปน็ เสียงเบา และทกุ ๆ จังหวะจะมคี วามเรว็ ชา้ เทา่ กนั หมด การนบั จงั หวะจะนบั ๑,๒,๓, พกั , ๑,๒,๓,พกั ตอ่ เนอ่ื งกนั ไป การ ก้าวเท้าทุกๆ ก้าวไม่ว่าจะเป็นการเดินไปข้างหน้าหรือถอยหลังก็ตามต้องให้ ฝา่ เทา้ ถงึ พน้ื กอ่ นเสมอ แลว้ จงึ ราบลงเตม็ เทา้ ในขณะทเี่ ดนิ นน้ั เขา่ จะงอเลก็ นอ้ ย และตึงเข่าเมื่อวางเท้าถึงพื้นเพื่อรับนำ�้ หนักตัว หลักการก้าวเท้า คือ เข่าจะงอ ข้างหน่ึง และต้ังข้างหนึ่งสลับกันไปมา ซ่ึงจะท�ำให้สะโพกบิดไปมาอย่างเป็น ธรรมชาติและสวยงาม” นนั่ คอื การใหค้ ำ� อธบิ ายในแบบบรู ณาการ ของนางวรนาถ มาหะมะ ครู คศ.๒ โรงเรียนบ้านรือเปาะ อ�ำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ที่มักจะฝึกสอน รองเงง็ ใหแ้ กน่ กั เรยี นในชวั่ โมงวชิ าศลิ ปะและดนตรี ทนี่ อกจากจะเปน็ การฝกึ ให้ นกั เรยี นไดเ้ รยี นรจู้ งั หวะของดนตรแี ละการเคลอื่ นไหวอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ลว้ หาก พิจารณาให้ลกึ ซึ้ง ยังเปน็ การสืบทอดคา่ นิยมในวัฒนธรรมประเพณที ีด่ ีงามของ ท้องถน่ิ ไว้ใหเ้ ยาวชนรนุ่ ใหมไ่ ดเ้ รยี นรูแ้ ละเขา้ ใจอกี ด้วย ซง่ึ การรา่ ยรำ� รองเง็งนั้น จะมีความสวยงามพร้อมเพรียง ก็ดว้ ยการเคลื่อนไหวของเทา้ มือ ลำ� ตวั ตลอด จนการแต่งกายของคู่ชายหญิงในแบบพ้ืนเมืองสีสันสดใส ซึ่งเมื่อประสานด้วย บทเพลงและดนตรีท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะแล้วก็ท�ำให้สามารถตราตรึงผู้ชมให้ สะกดแต่ท่วงท่าร่ายร�ำไม่วางตา ท�ำให้รองแง็งของโรงเรียนบ้านรือเปาะเป็นท่ี รู้จักของประชาชนในอ�ำเภอจะแนะและบ่อยคร้ังที่รองเง็งของท่ีน่ีได้รับการ

เร่ืองดๆี ที่บ้านเรา 223 เชอื้ เชญิ ใหแ้ สดงเพอ่ื เปดิ งานเปน็ ปฐมพธิ ใี นรปู แบบศลิ ปวฒั นธรรมหรอื มหกรรม วชิ าการระดับจงั หวดั อยูเ่ สมอ ศลิ ปะการร�ำรองเงง็ นน้ั เปน็ ทร่ี จู้ กั อยา่ งกวา้ งขวางในประเทศมาเลเซยี อินโดนีเซีย บรูไนและหลายประเทศในแถบน้ีรวมท้ังตอนใต้ของประเทศไทย โดยได้มีผู้สันนิษฐานกันว่า การร�ำรองเง็งน่าจะมาจากวัฒนธรรมตะวันตกซ่ึง เมื่อพิจารณาจากลักษณะจังหวะการเต้น โดยว่ากันว่า ชาวโปรตุเกสหรือ ฮอลันดาในอดีตได้น�ำมาเผยแพร่ในประเทศชวา มลายู โดยเฉพาะเม่ือถึงวัน ร่ืนเริงหรือวันขึ้นปีใหม่โดยจะมีการผสมผสานให้เข้ากับบทเพลงพ้ืนเมืองและมี การเปล่ียนท่วงท่าให้ง่ายข้ึน ท�ำให้ชาวพื้นเมืองเกิดความสนใจและได้ท�ำการ ฝึกซ้อมกันมาจนกระท่ังเกิดเป็นศิลปะการร่ายร�ำประเภทน้ีข้ึน ส�ำหรับใน ประเทศไทยน้ัน ด้วยความใกล้ชิดและสัมพันธ์กันของลักษณะภูมิศาสตร์ และวัฒนธรรมประเพณี ท�ำให้จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทยสามารถรับ เอาวฒั นธรรมรปู แบบนีเ้ ขา้ มาอยา่ งงา่ ยดาย คณุ ยายบงู อ เลา่ ว่า ในอดตี นั้น รองเงง็ นยิ มแสดงกนั ในบา้ นเจ้าเมือง หรือขุนนางมุสลมิ โดยอาศยั การคัน่ จังหวะระหว่างการแสดง มะโย่ง๒ ซงึ่ ในการ ร่ายร�ำจะไม่มีการถูกเนื้อต้องตัวกันระหว่างคู่ชายหญิงเพราะจะดูไม่เหมาะสม (ซึ่งข้าพเจ้าสันนิษฐานว่า น่าจะเป็นเพราะอิทธิพลของบทบัญญัติทางศาสนา อสิ ลาม) คณุ ยายเลา่ ตอ่ วา่ ผแู้ สดงรองเงง็ จะแตง่ ตวั อยา่ งสวยงาม พรง้ิ เพรา โดย ฝ่ายชายจะสวมชุดแขนยาวติดกระดุมถึงคอ กางเกงขายาวหลวมโพรกคล้าย กางเกงจนี สสี นั สดใส ซงึ่ คณุ ยายสำ� ทบั วา่ การแตง่ ตวั ของนกั แสดงนี้ สามารถบง่ ถึง “ฐานะ” ทางสงั คมไดอ้ ีกทางหนงึ่ โดยผแู้ สดงชายทีเ่ ปน็ ผู้ดมี ีเงิน จะคาดทบั กางเกงด้วยผ้าไหมปักดิ้นยาวประมาณศอก สีทองบ้างสีเงินบ้างเป็นลายกนก ๒ มะโยง่ คอื การแสดงรปู แบบหนงึ่ ในทอ้ งถนิ่ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยมรี ปู แบบการแสดงเปน็ ละครร�ำคลา้ ยการแสดง โนราห์ เชน่ เดียวกับการแสดงดเิ กรฮ์ ลู ู ทมี่ สี ่วนคลา้ ยลิเก/ลำ� ตดั

224 เรือ่ งดีๆ ทบ่ี ้านเรา มกี รชิ ในฝกั สวยเหนบ็ เขา้ ทส่ี ะเอว หากฐานะรองลงมากใ็ ชผ้ า้ ฝา้ ยธรรมดา ถกั ตา โตๆ สว่ นผหู้ ญงิ ทมี่ ฐี านะกย็ ง่ิ วบั วาวยงิ่ กวา่ ชายโดยใชผ้ า้ ไหมเชน่ เดยี วกนั แตก่ าร ตกแต่งจะย่ิงเพ่ิมความละเอียดลออ ซึ่งลักษณะชุดเป็นแบบเข้ารูปปิดสะโพก ผา่ อกตลอด ตดิ กระดมุ ทองเป็นระยะ ผ้านุ่งจะยาวกรอมเท้า และยงั มีผ้าคลมุ ไหลบ่ างๆ ปกั ลวดลายดอกไมส้ ีออ่ นบาง “วันนั้นเขาก่อปะร�ำข้ึนท่ีริมหาดนราทัศน์ ตลอดถนนมีเพิงการแสดง มากมายท้ังมะโย่ง ดเิ กรฮ์ ูลู ตกกลางคืนมีหนังตะลุง...ยายยังเห็นคุณตาของหลานอยู่ไกลๆรวมอยู่ กับคนอ่ืนๆดูมีเกียรติ และเต็มไปด้วยยศศักดิ์...บูลัน จือระฮ์ ชาฮายา ปเู ตะฮ์... ออรงั เบอร์ฆาลา มนึ ญาเดาะ ตือบิง” ข้าพเจ้าแอบย้ิมอย่างขวยเขิน เม่ือคุณยายเล่ามาถึงตรงน้ี เพราะถ้า หากว่าเป็นภาพยนตร์รักหรือในบทประพันธ์ประเภทนวนิยายรักขนาดยาวๆ กค็ งจะเปน็ บทเขา้ พระเขา้ นางอย่างแนแ่ ท้ ในเร่ืองน้ีข้าพเจ้าย่อมรู้อยู่แก่ใจดีว่า ครอบครัวของคุณตาน้ันเป็น ครอบครัวใหญ่ท่ีมีฐานะและเกียรติศักด์ิมั่นคง ด้วยผู้น�ำครอบครัวได้สืบทอด ต�ำแหน่งผู้น�ำศาสนาหรือ “โต๊ะอิหม่าม๓ ” มาหลายช่ัวอายุคน ซ่ึงอาจเป็น ธรรมเนยี มทถ่ี อื ปฏบิ ตั ไิ ดว้ า่ การรกั ษาตำ� แหนง่ ทส่ี งู คา่ นน้ั ควรสงวนไวใ้ นตระกลู ทเี่ คยดำ� รงตำ� แหนง่ นเ้ี ทา่ นนั้ จนกระทงั่ มาถงึ คราวคณุ ตาของขา้ พเจา้ ดว้ ยคณุ วฒุ ิ ด้านวิชาการศาสนา ด้วยวัยวุฒิท่ีเพียบพร้อม คงไม่มีใครปฏิเสธได้ถึงความ เหมาะสมในตำ� แหนง่ ผนู้ ำ� ศาสนาของหมบู่ า้ น เพยี งสงิ่ เดยี วทอี่ าจถกู สงั คมกระซบิ กระซาบและนินทาค่อนข้างหนักหนาสาหัสทีเดียวน่ันคือ การรับเอาหญิงสาว นางรำ� รองเง็งมาเปน็ ศรีภรรยา ๓ โตะ๊ อหิ มา่ ม เปน็ ตำ� แหนง่ ผนู้ ำ� ทางศาสนาอสิ ลาม ในการเปน็ ผนู้ ำ� /ผแู้ ทน ปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ หรอื พธิ กี รรมอน่ื ทางศาสนา โดยอาศัยหลกั ปฏิบัติหรือบทบัญญัติทางศาสนา

เร่ืองดีๆ ทีบ่ า้ นเรา 225 แต่สัจธรรมอย่างหนึ่งท่ีมุสลิมทุกคนต่างต้องส�ำนึกคือ ชะตาชีวิตท้ัง หลายนี้ ไมว่ า่ จะดหี รอื ร้าย ย่อมล้วนมาจากการลิขิตชะตาของอัลลอฮ์! กอ็ ยา่ ง ท่ีคุณยายเปรยต่อมาในท่อนท้ายของบทเพลงวา่ ... บูกนั มูเดาะฮ์ เบอรจ์ ือรัย กาเซะฮ.์ .. ซอื เปอรตี ดาระฮ์ มอื นิงฆัล ดาฆงิ ” ส�ำหรบั ขา้ พเจ้าน้ัน เมื่อไดฟ้ งั ทว่ งท�ำนองถ้อยค�ำในบทเพลง กท็ ำ� ใหอ้ ด นกึ ถงึ ความคลอ้ งจองของบทเพลงในแตล่ ะวรรคเสยี มไิ ด้ จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสนใจ และใครอ่ ยากจะเรยี นรบู้ ทเพลงทอ้ งถน่ิ ภาษามลายทู ใ่ี ชป้ ระกอบการรา่ ยร�ำรอง แงง็ เพม่ิ ข้นึ ในสมยั ทค่ี ณุ ตายงั มชี วี ติ อยู่ ขา้ พเจา้ เคยมโี อกาสไตถ่ ามทา่ น ในฐานะที่ ท่านมีความช�ำนาญด้านภาษาและวรรณกรรมภาษามลายู ท่านได้อธิบาย แก่ข้าพเจ้าว่า ภาษามลายูถิ่นท่ีเราใช้ส่งภาษากันนั้น ก็มีโครงสร้างเหมือน อย่างภาษาอื่น ไม่ว่าจะเขียนหรือพูดในรูปแบบร้อยแก้ว หรือส่งทำ� นองกัน ในรปู แบบรอ้ ยกรองกต็ ามที ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ทำ� นองเพลงพนื้ บา้ นทใี่ ชข้ บั รอ้ งกนั ทั่วไปท้ังในการแสดงมะโย่ง ดิเกร์ฮูลู หรือแม้กระทั่งรองเง็ง ซ่ึงมักมีรูปแบบ ฉันทลักษณ์ อันเป็นกฏตายตัวอยู่เพียงสองถึงสามรูปแบบเท่าน้ัน ยกตัวอย่าง รปู แบบหน่งึ เป็นดงั นี้ วรรคท่ี ๑..................... เสยี งคำ� ทา้ ยของวรรคท่ี ๑ วรรคที่ ๒..................... สมั ผัสหรือคล้องจองกับเสียง วรรคที่ ๓..................... คำ� ท้ายของวรรคที่ ๓ วรรคที่ ๔..................... และเสียงคำ� ท้ายของวรรคท่ี ๒ สมั ผสั หรือคล้องจองกบั เสยี งค�ำ ท้ายของวรรคที่ ๔

226 เรือ่ งดีๆ ที่บ้านเรา จากรปู แบบในฉนั ทลกั ษณ์ สามารถอธบิ ายไดว้ า่ กลอนภาษามลายหู รอื ท่ีเรียกว่า “ชาอิร๔ ” นั้น หนึ่งบทประกอบด้วยสี่วรรค ในแต่ละวรรคจะมีคำ� อยู่กคี่ �ำก็ได้เพยี งแตอ่ าจไมย่ าวจนเกนิ ไปนัก โดยรูปแบบการสมั ผัสนอกจะเนน้ ทีค่ �ำหรือพยางค์ท้ายวรรค ซึง่ เสยี งค�ำท้ายของวรรคที่ ๑ สมั ผสั หรือคล้องจอง กับเสียงค�ำท้ายของวรรคที่ ๓ และเสียงค�ำท้ายของวรรคท่ี ๒ สัมผัสหรือ คล้องจองกับเสียงค�ำทา้ ยของวรรคที่ ๔ ดงั เชน่ ตวั อยา่ ง บทเพลงปโู จ๊ะปซี ัง บูลัน จือระฮ์ ชาฮายา ปเู ตะฮ์ ออรงั เบอรฆ์ าลา มนึ ญาเดาะ ตอื บงิ บูกันมเู ดาะฮ์ เบอรจ์ ือรยั กาเซะฮ์ ซอื เปอรตี ดาระฮ์ มือนงิ ฆัล ดาฆิง ดวงจันทรเ์ พ็ญเด่นพราวสกาวแสง คันไถแรงแทงพลำ�้ ถลำ� ดนิ ให้ตดั รักหักใจอาลัยสิ้น สุดถวลิ ด่ังเลือดเนอ้ื จะตัดไย แต่คุณยายบูงอนั้น ท่านมักจะมีเน้ือเพลงเป็นของตนเองเสมอ ซ่ึง ขา้ พเจา้ เคยไดย้ นิ อยบู่ อ่ ยๆยามเมอ่ื ทา่ นไกวเปลขน้ึ ลง รบั กบั ทว่ งทำ� นองทขี่ นึ้ ตน้ สุขซึง้ ระคนเคลา้ เศรา้ ว่า “บุหงาตันหยง... หยงไหรละนอ้ ง หยงดอกขี้เตรย คิดแลว้ สงสารตวั เราเอย ข้ีเตรยเล้ือยลามมา ตามติด ลกู เขาเมียเขามาผกู รักกบั เราไมใ่ คร่คิด ขี้เตรยเลื้อยลามมาตามตดิ ยังไมห่ นิดนอ้ งหนอ...เหมอื นเมียเอง” ๔ ชาอริ (syair) หรอื ออกเสยี งเป็นภาษามลายถู ิน่ ว่า แสะแอ หมายถึงกวีนพิ นธป์ ระเภทรอ้ ยกรองในภาษามลายู (ขอ้ มลู จากสารวัฒนธรรม ฉบบั ที่ ๒ ของศูนยว์ ัฒนธรรมชายแดนภาคใต)้

เรอ่ื งดีๆ ทบ่ี ้านเรา 227 ภายหลงั จากทค่ี ณุ ตาไดพ้ บกบั คณุ ยายในงานฉลองรน่ื เรงิ วนั นนั้ ในเดอื น ตุลาคม พุทธศกั ราช ๒๕๒๗ น่าแปลกท่ีราวเพียงสามเดือนให้หลัง คุณตาก็ได้รับการเชื้อเชิญให้ไป สอนหนังสือวิชาศาสนาที่โรงเรียนปอเนาะในจังหวัดสงขลา ข้าพเจ้าได้แต่ สันนิษฐานอย่างทีเล่นทีจริง...หากแม้นว่า คุณยายบูงอ ในสมัยน้ันเกิดเป็น นางสาวบหุ งาในสมยั นคี้ งอาจเรยี กไดว้ า่ เปน็ สาว “เปรย้ี ว” พอดู เพราะแทท้ จี่ รงิ แลว้ นางสาวบหุ งาเปน็ บตุ รขี องผนู้ �ำศาสนาหรอื “โตะ๊ อหิ มา่ ม” ทม่ี ชี อื่ เสยี งทา่ น หน่ึงในจังหวัดสงขลา และได้แอบสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการร่ายร�ำของชมรม แห่งหน่ึงอย่างลับๆมิให้ผู้เป็นบิดาล่วงรู้เพราะเกรงจะถูกดุด่า หรือร้ายไปอีก ก็อาจถูกลงโทษ (เพราะหญิงสาวมุสลิมที่ดีไม่พึงเปิดเผยหน้าตาหรือจริตกริยา ตอ่ หนา้ สาธารณชนโดยไมจ่ �ำเปน็ ) และสบื เนื่องจากทางชมรมแหง่ นน้ั ได้รับการ เชื้อเชิญให้น�ำการแสดงรองแง็งเพื่อน�ำไปแสดงในงานกาชาดและงานรื่นเริง ของจังหวัดนราธวิ าสในปนี ั้น นางสาวบุหงาจึงได้มีโอกาสแต่งองค์ทรงเคร่ืองอย่างสวยสดงดงาม ตอนเปดิ โรงรองเงง็ ...และยามเครอ่ื งดนตรบี รรเลงขบั ขาน นางสาวบหุ งาในแถว ตอนหน้าของนักร่ายร�ำสตรีก็เย้ืองย้ายออกมา ความสวยงามและความน่าดู ของบรรดานางรำ� รองเง็งนั่นคือ การร่ายรำ� อย่างเข้าจังหวะจะโคนรับกับดนตรี บรรเลง อันประกอบด้วยเครอื่ งดนตรีนอ้ ยช้ินแต่หากยามใดท่ีโหมโรงกันเขา้ ก็ดู เหมือนเสียงบรรเลงจะมีอ�ำนาจดลจิตดลใจให้ตราตรึงหลงใหลอยู่มิรู้วาย ทง้ั รำ� มะนา (ภาษาพนื้ เมอื งเรยี กวา่ บานอ) ฆอ้ ง ไวโอลนิ แทมโบลนิ และปจั จบุ นั ยังมีเสียงของกีตาร์ ไว้เพ่ิมความนุ่มนวลขึ้นอีก ซึ่งเพลงจังหวะรองเง็งมีผู้รู้จัก และนิยมท�ำการรา่ ยร�ำ ส่วนใหญม่ อี ยู่ ๗ เพลง คอื ๑. เพลงลาฆูดวู อ (หมายถงึ บทเพลงทส่ี อง) ๒. เพลงลานงั หรือเลนงั เลนัง (หมายถึง นำ้� ใสสะอาดทีไ่ หลหยด) ๓. เพลงปูโจ๊ะปซี งั (หมายถึง ยอดใบตองออ่ น)

228 เรอ่ื งดๆี ทบี่ า้ นเรา ๔. เพลงจนิ ตาซายัง (หมายถึง ดว้ ยรกั และคดิ ถงึ ) ๕. เพลงอาเนาะดีด๊ี (หมายถงึ ลูกสดุ ท่รี ัก) ๖. เพลงมะอนิ งั ชวา (หมายถึง แม่นมหรือพเี่ ลย้ี งชาวชวา) ๗. เพลงมะอินงั ลามา (หมายถงึ แมน่ มหรือพ่ีเลีย้ งเก่าแก่) เพลงทย่ี นื โรงและมกั เปน็ ทร่ี จู้ กั ของคนเฒา่ คนแก่ มี ๒ บทเพลงคอื ลาฆู ดูวอ และเพลงมะอินังลามา ซ่งึ เปน็ บทเพลงที่ใชป้ ระกอบการร่ายรำ� รองเงง็ กัน มาแตโ่ บราณ นอกเหนอื จากนกี้ เ็ ปน็ บทเพลงทเี่ หมาะแกก่ ารรา่ ยรำ� เปน็ หมคู่ ณะ เช่น เพลงปโู จ๊ะปีซงั เปน็ ต้น ข้าพเจ้าใคร่ขอให้ตัวอย่างจังหวะการร่ายร�ำรองเง็งในบางเพลง ซึ่ง ข้าพเจ้าได้คัดข้อมูลบางส่วนในสารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ โดยเสนอในรูป แบบตารางดงั นี้

เรอ่ื งดๆี ที่บ้านเรา 229 บทเพลงประกอบ ท่วงท่าการร่ายร�ำ ตัวอยา่ งภาพประกอบ เพลงลาฆูดูวอ ฮาตู ชัยตนั มกู อปริ ู เมื่อดนตรีบรรเลงฝ่ายชายจะโค้งให้ ตรู นกือตาเนาะห์ ซกู อมอื งารู ฝ่ายหญิง สองฝา่ ยเดินเข้าหากนั กลาง ซายะปากยั จือปากอบีรู วง เริ่มด้วยการเล่นเท้ากบั ที่ ฝา่ ยชาย ซตู งิ ดีซานอ ซินงิ บรือบาฮู ตามฝา่ ยหญงิ รกุ ชดิ ๆ ฝา่ ยหญงิ จะถอย ภูตพรายหนา้ ตาฉาบสขี าบขน้ และหมุนเมื่อจบเพลงและเพลงจะ สดู นิ ดลหวงั หมายท�ำลายสิน้ เปลีย่ นเป็นจังหวะเรว็ ทกุ คเู่ ปลี่ยนทา่ ดอกจำ� ปาสนี ้�ำเงนิ เปน็ ปีกบนิ เต้นใหเ้ รว็ ตาม อย่ถู ิน่ นน้ั หอมกลน่ิ มาถ่นิ นี้ เพลงลานงั ลานัง ซปี ากู ลานัง จังหวะการเต้นมีท้ังช้าและเร็ว โดย ลานงั มารี เบอรร์ ามัย-รามยั จงั หวะชา้ ทงั้ หญงิ ชายเขา้ หากนั และนง่ั บกู ันซายอ ซีมาโบะปีนงั ลง สว่ นจงั หวะเรว็ ใหส้ ลบั กนั ฝา่ ยชาย ซายอมาโบะ กืออาเดะ น่ังตบมือหญิงนาดแขนแล้วหมุนกลับ ซาออรงั ให้ทันในจังหวะเรว็ จบจังหวะเรว็ แล้ว กระโดดเชอื กเรงิ เลน่ เตน้ กระโดด เตน้ จงั หวะชา้ สวนกนั ไปมานงั่ สลบั กนั มาเล่นโลดกระโดดกันขยันเต้น จนจบเพลง ฉนั วงิ เวยี นใชก่ นิ หมากเมายากเยน็ ทเ่ี มาเป็นเมากมลน้องคนเดยี ว เพลงปโู จ๊ะปีซงั บูลันจอื ระฮ์ ชาฮายา ปูเตะฮ์ เม่ือดนตรีบรรเลงฝ่ายชายจะโค้งฝ่าย ออรังเบอรฆ์ าลามนึ ญาเดาะ หญิงและเท้ากับที่ จากน้ันฝ่ายชาย ตือบงิ บกู นั มูเดาะฮ์ หมุนตัวหันหลังไปคนละฟากจนถึง เบอร์จอื รัย กาเซะฮ์ ซือเปอรตี จงั หวะเลน่ เทา้ กบั ท่ี ทงั้ สองฝา่ ยจะเลน่ ดาระฮ์ มอื นงิ ฆัล ดาฆิง เท้าพร้อมกัน ใกล้จบเพลงจะหมุนตัว ดวงจนั ทรเ์ พญ็ เดน่ พราวสกาวแสง เตน้ สวนกนั ไปมา และเลน่ เทา้ ในระยะ คนั ไถแรงแทงพล�้ำถลำ� ดิน ชดิ กนั สลับกนั จนจบเพลง ให้ตดั รักหกั ใจอาลยั สนิ้ สดุ ถวลิ ดั่งเลอื ดเนือ้ จะตัดไย

230 เรือ่ งดๆี ที่บ้านเรา จากขอ้ มูลในตวั อยา่ งตารางเปรยี บเทยี บลกั ษณะการร่ายรำ� ของแต่ละ บทเพลงจะพบว่า มีท้ังลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นบทเพลง จงั หวะช้าหรอื เร็ว ในสว่ นทแี่ ตกต่างกันนนั้ จะปรากฏในตอนเริม่ ตน้ และจงั หวะ ที่เป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะของแต่ละบทเพลงเท่านนั้ เช่น การหมนุ ตวั การปรบมือ การนาดแขนฯลฯ หากในสว่ นทเี่ หมอื นกนั คอื จงั หวะการเลน่ เทา้ นน่ั เอง จงึ อาจ เปน็ การตง้ั ขอ้ สงั เกตไดท้ เี ดยี วว่า ในการร่ายรำ� รองเง็งนั้น การฝกึ จังหวะเทา้ ให้ พร้อมเพรียงอย่างเข้าจังหวะจะโคนน้ันเป็นส่ิงที่ส�ำคัญเป็นอันดับแรก เพราะ ถ้าไล่จงั หวะเทา้ ได้แมน่ ย�ำ จากนัน้ ไมว่ ่าจะเดนิ วน เดนิ ไล่ ฉวัดเฉวียน ก็ทำ� ได้ อยา่ งเป็นธรรมชาติ ถ้าหากถามว่าข้าพเจ้าน้ันช่ืนชอบบทเพลงไหนมากที่สุดของเพลง ประกอบการรา่ ยรำ� รองเงง็ กอ็ าจตอบยากอยเู่ อาการ แตบ่ ทเพลงทถี่ กู ใจขา้ พเจา้ ด้วยเน้ือหา ลักษณะการเปรียบเปรยในเชิงอุปมาอุปมัย คงจะต้องยกให้ เพลง ปโู จะ๊ ปซี งั หรอื แปลเปน็ ภาษาไทยไดว้ า่ “ยอดใบตองออ่ น” ซงึ่ ในวฒั นธรรม ทางภาษาจะถูกเปรียบเทียบว่าด้วยความรักของหนุ่มสาวเสมือนยอดตองอ่อน ท่ีก�ำลังจะโผล่ปล้องล�ำต้น สวยงาม อ่อนใส บริสุทธ์ิ...ก็คงเหมือนด่ังความรัก ระหว่างคุณยายบูงอกับคุณตาโต๊ะอิหม่ามชาริฟนั่นเอง ซ่ึงนอกจากจะอุปมา ดง่ั บทเพลงเสมอื นดงั ทเ่ี ปน็ บทเพลงแหง่ ชวี ติ กระนน้ั แลว้ ยงั ประกอบดว้ ยความ อดทน อดกล้ัน และกล้าหาญ...ทุกครั้งที่ข้าพเจ้าร�ำลึกถึงคุณตาและคุณยาย กพ็ ลนั ใหน้ กึ ถงึ ถอ้ ยคำ� สำ� นวนหนงึ่ ในภาษาองั กฤษทว่ี า่ Chance begets love… โชคชะตาน�ำมาซึ่งความรัก แรงบันดาลใจท้ังหมดทั้งมวลที่ข้าพเจ้าร�ำลึกถึงคุณยายบูงอ ก็เมื่อ ข้าพเจ้าได้มีโอกาสข้ึนบนเรือนปั้นหยาหลังน้อยที่ท้ายสวนของคุณยายเม่ือวัน หนึ่ง เรือนหลังเก่าที่ข้าพเจ้าเคยเห็นว่าน่าจะเป็นสมบัติโบราณเก่าแก่ที่ยัง เหลอื อยู่ท่ถี กู ทิ้งใหร้ กร้างตงั้ แตค่ รง้ั ท่ีคุณยายจากไปอยา่ งไมม่ วี นั กลับ

เรือ่ งดๆี ท่บี ้านเรา 231 ขา้ พเจา้ นง่ั ดรู ปู คณุ ยายในสมยั ทย่ี งั เปน็ นางสาวบหุ งาคนงามดว้ ยความ ระลกึ ถงึ เพราะอยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ ขา้ พเจา้ กเ็ คยเปน็ เดก็ นอ้ ยคนหนงึ่ ทท่ี า่ นเคยไกว เปล...รูปขาวดำ� ซดี เซียว เหลืองคร�่ำคร่าน้นั บางจดุ บนรูปลอกทกี่ รอบด้านลา่ ง ของรูปสลกั ตัวอกั ษรนนู เป็นลายไทยเลก็ ๆ...วรนิ ทรโ์ ฟโต้ นราธิวาส เมื่อย้อนไปในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ คร้ังท่ีคุณตาไปสอนหนังสือที่โรงเรียน ปอเนาะแห่งหน่ึงที่จังหวัดสงขลาโดยมีโต๊ะอิหม่ามเจ้าของปอเนาะเป็นผู้ เชอื้ เชญิ ... เมอ่ื คณุ ตากา้ วขน้ึ บนเรอื นทา่ นโตะ๊ อหิ มา่ ม เครอ่ื งเชย่ี นหมากพลทู อง เหลืองวาววับก็ถูกย่ืนให้ท่านเป็นการรับรองในฐานะอาคันตุกะที่มีเกียรติ... นั่นคือสิ่งท่ีสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมโบราณอันสูงค่าของชาวไทยมุสลิม ในจงั หวัดภาคใต้ ทอี่ ุปมาด่ังเครื่องเช่ียนหมากนนั้ กำ� ลังเอ้อื นเอย่ วาจาว่า “ข้าแต่ทา่ น! ด้วยความจรงิ ใจ ดว้ ยความถ่อมตน ขา้ น้หี วังเป็นอย่างยง่ิ ว่า ทา่ นจะไดน้ ำ� ความดงี ามมาสูเ่ รา แต่ท่านอย่าไดด้ ูหม่ินตัวขา้ จากการกระท�ำ ของข้า ด้วยเหตุนี้หากข้าจ�ำเป็น ข้าย่อมมีสิทธ์ิท่ีจะปกป้องเกียรติแห่งข้า จึงแลว้ แตท่ า่ นเถดิ เอย๋ วา่ จะเลือกส่งิ ใด ระหวา่ งสง่ิ ดหี รอื ส่งิ เลว” คณุ ตาไมเ่ อย่ อะไรทงั้ สน้ิ เพราะเมอ่ื ทา่ นเลอื กทจ่ี ะหยบิ ใบพลแู ลว้ ลงมอื ปา้ ยปนู ลงบนใบพลนู นั้ กอ่ นจะมว้ นสง่ ใสป่ ากเปน็ คำ� แรก...ใบพลกู ด็ งั่ จะบอกวา่ “ฉนั เปน็ เพยี งไมเ้ ถา ตอ้ งหมายปองสง่ิ อนื่ แตฉ่ นั กไ็ มเ่ คยท�ำใหส้ ง่ิ ทฉ่ี นั หมายปอง นั้นเสียหาย เสื่อมเกียรติ ฉันพร้อมท่ีจะให้เกียรติ ถ่อมตน รู้คุณและกล้าหาญ ชาญชยั ” หลงั จากนนั้ อกี เพยี งปเี ดยี ว คณุ ตากเ็ ขา้ พธิ นี กิ ะห์ (พธิ แี ตง่ งานตามหลกั ศาสนาอิสลาม) กับคุณยาย...นางสาวบุหงา บุตรีโต๊ะอิหม่ามเจ้าของโรงเรียน ปอเนาะแหง่ น้นั ข้าพเจ้าเคยได้ยินคนในครอบครัวพูดกันว่า คุณตาชอบล้อคุณยาย จนคุณยายหัวเราะจนน�้ำหมากหกว่า “ผู้หญิงอะไร...ขอผู้ชายแต่งงาน!”

232 เร่ืองดๆี ท่ีบา้ นเรา ขา้ พเจา้ เองกอ็ ดทจ่ี ะขำ� เสยี ไมไ่ ด้ เพราะความจรงิ กค็ งไมผ่ ดิ ไปจากคำ� พดู ลอ้ เลน่ ของคุณตาเท่าไหร่นัก ด้วยหลังจากที่นางสาวบุหงาประสบพบกับโต๊ะอิหม่าม หนุ่มน้อยที่ช่ือ ชาริฟ ในงานรื่นเริงของจังหวัดนราธิวาสในปีน้ัน จะด้วยแรง โหมโรงของบทเพลงปโู จะ๊ ปซี งั ทก่ี ระทบจติ ใจอนั ออ่ นไหวของทงั้ คู่ หรอื ชะตาดล บนั ดาลกส็ ดุ รู้ นางสาวบหุ งาเดนิ ทางกลบั บา้ นหลงั จากวนั นนั้ กร็ อ้ งหม่ รอ้ งไหก้ บั ผู้เปน็ บิดา ไม่ยอมแตะน้�ำแตะขา้ ว (คุณยายคงจะกลบเกล่ือนทต่ี ัวเองหนเี ที่ยว ดว้ ยเสยี กไ็ มร่ )ู้ หลงั จากนนั้ ไมน่ าน ผเู้ ปน็ บดิ ากเ็ ขยี นจดหมายถงึ โตะ๊ อหิ มา่ มหนมุ่ ชารฟิ ให้ชว่ ยมาอนเุ คราะห์สอนหนังสือที่โรงเรียนปอเนาะของตน ผเู้ ป็นบดิ านนั้ มิได้หวังสิง่ ใดมากไปกว่าตอ้ งการฝากฝงั ลกู สาวแสนซน คนหนงึ่ ใหห้ นมุ่ นอ้ ยและครอบครวั ของเขาเปน็ ผดู้ แู ละชว่ ยวา่ กลา่ วตกั เตอื นดว้ ย ความรกั ความเอน็ ดู หากสง่ิ ทพี่ อ่ หนมุ่ คนนนั้ ไดพ้ สิ จู นใ์ หบ้ ดิ าฝา่ ยหญงิ ไดป้ ระจกั ษ์ คือ ความดี ความเป็นคนอ่อนน้อม กตัญญู และกลา้ หาญสมชาย ทเ่ี ขาแสดงให้ เหน็ อยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย ทำ� ใหผ้ เู้ ปน็ พอ่ คนคนหนงึ่ ยอ่ มรสู้ กึ ยนิ ดปี ลาบปลม้ื และโลง่ ใจ...นับจากนั้นมา คุณยายไม่เคยร้องเพลงรองเง็งอกี เลย คงมีบ้างยาม ที่ทา่ นว่างจากงานบา้ นงานเรอื น เช่นยามทีท่ า่ นไกวเปลใหล้ กู หลาน ยามนั้นคน ท่ีเดินผ่านไปมาบริเวณใต้ถุนเรือนปั้นหยาและเผลอได้ยินเข้าก็อดท่ีจะแสดง ความเห็นเสยี ไม่ได้ว่า “ยายบูงอแกนางรำ� รองแงง็ เก่า...” ขา้ พเจา้ พลกิ ดดู า้ นหลงั รปู ถา่ ยใบเกา่ ของคณุ ยายกอ่ นจะวางกลบั เขา้ ที่ เดมิ ก็อดย้ิมอยา่ งเสียไมไ่ ด้ เมื่อปรากฏลายมอื หยักๆภาษามลายู ทตี่ ัวอักษรนั้น ตวัดและสะบดั ปลาย ซง่ึ ขา้ พเจ้าจ�ำไดว้ ่าเป็นลายมอื ของคณุ ตา ท่านไดเ้ ขยี นลง ไปว่า

เรอ่ื งดๆี ท่บี า้ นเรา 233 บูลนั จอื ระฮ์ ชาฮายา ปูเตะฮ์ ออรัง เบอร์ฆาลา มึนญาเดาะ ตือบงิ บูกนั มูเดาะฮ์ เบอรจ์ อื รยั กาเซะฮ์ ซือเปอรตี ดาระฮ์ มอื นิงฆัล ดาฆงิ แหลง่ /ขอ้ มลู อ้างองิ ---คา� สัมภาษณ์ ของนางวรนาถ มาหะมะ ตา� แหน่งครู คศ. ๒ โรงเรียน บ้านรือเปาะ สงั กดั สา� นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต ๓ ---บนั ทกึ ความทรงจ�าของนายอับดลุ รอนิง โละ๊ นิโย อดตี โตะ๊ อิหม่าม บ้านมะนงั ปันยัง หมู่ ๒ ต.สามัคคี อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส (ถึงแก่กรรมเม่อื วันท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๑) ---นติ ยสารภาพขา่ วทักษณิ -รายเดือน ประจ�าเดอื นตลุ าคม ๒๕๒๗ ปี ท่ี ๒๕ ฉบับท่ี ๑ ---ศูนย์วัฒนธรรมชายแดนภาคใต้,สารวัฒนธรรม(suara budaya) สืบสานวฒั นธรรมชายแดนภาคใต้ ฉบับที่ ๒ ---สถาบันทักษิณคดีศึกษา,สารานุกรมวฒั นธรรมภาคใต้ เลม่ ๘ หน้า ๓๐๐๔-๓๐๑๓

234 เรอื่ งดๆี ทบี่ ้านเรา เร่อื งดีๆ ท่ีบา้ นเรา นายรุสตานมยั ดิน สา เวลาที่รถไฟออกจากชานชาลามันจะมีเสียงหวูดยาวๆ อยู่เสียงหน่ึง ไดย้ นิ แลว้ รสู้ กึ เหมอื นโดนมดี กรดี หวั ใจ ดง่ั ใจจะขาด ปานกบั ไปแลว้ จะไมไ่ ดก้ ลบั มาอีก หลายคนอาจจะเคยมีความทรงจ�ำในอดีตฝังใจเกิดข้ึนท่ีสถานีรถไฟ เพราะมันเป็นท่ีพบท่ีจากของใครหลายๆ คน เสียงหวูดรถไฟปลุกให้ผมต่ืนขึ้นมาในตู้โบก้ีชั้นสามท่ีสถานีรถไฟ หาดใหญ่ด้วยอาการงัวเงีย บานหน้าต่างท่ีเปิดโล่งเอาไว้ เป็นช่องทางให้ลมตี เข้ามาโดนใบหน้าจนรู้สึกชา พอออกจากสถานีรถไฟหาดใหญ่ รถไฟก็มุ่งหน้าลงใต้ต่อไป เร่ิมเข้าสู่ เขตจังหวัดปัตตานี ลมพัดเอากลิ่นไอธรรมชาติจากผืนป่าฮาลาบาลาล่องลอย เขา้ มาทางหนา้ ต่าง ท�ำให้รู้สกึ สดช่นื พทิ ักษ์ เพือ่ นของผม ต่ืนขนึ้ มาสดู อากาศ หายใจบริสุทธิ์ในยามเช้า หลังจากหลับใหลไปนานบนรถไฟขบวนน้ีมาตั้งแต่ เมอื่ คนื รถไฟขบวนนเ้ี ปน็ รถเรว็ ขบวนที่ ๑๖๙ ออกจากตน้ ทางทสี่ ถานกี รงุ เทพฯ จะไปสน้ิ สดุ ปลายทางที่สถานียะลา หา้ ปมี าแลว้ ทผ่ี มกา้ วเทา้ ออกจากบา้ นไปเรยี นหนงั สอื และทำ� งานอยใู่ น กรุงเทพฯ มันเหมือนก้าวข้ามจากโลกหน่ึงไปสู่อีกโลกหน่ึง ผมได้เรียนรู้อะไร มากขึ้น ผมเห็นโลกในมุมมองท่ีกว้างขึ้น ความคิดความอ่านของผมเปิดกว้าง ทัศนคติของผมเปล่ียนไป มุมมองใหม่ๆ ที่เข้ามาในชีวิตนั้นส่วนหน่ึงมาจาก ‘พิทักษ์’ เพ่อื นสนิทของผมสมัยเรยี นมหาวทิ ยาลยั

เร่อื งดีๆ ที่บา้ นเรา 235 พิทักษ์เป็นคนพุทธท่ีผมไว้ใจมากที่สุด เพราะตอนเรียนเราเรียนวิศวะ เรามกั จะโดนรบั นอ้ งดว้ ยวธิ โี หดๆ บางครง้ั ถกู รนุ่ พบ่ี งั คบั ใหด้ มื่ เหลา้ พทิ กั ษก์ จ็ ะ ดื่มแทนผม พิทักษ์มักจะเป็นคนที่คอยปกป้องผมเสมอ พิทักษ์เป็นนักเดินทาง ที่พเนจรไปท่ัว เพื่อนของเขามีหลายเชื้อชาติศาสนา เขามักจะเดินทางไปยัง จังหวัดต่างๆ ที่เขามีเพ่ือนอยู่ เขาเป็นคนท่ีเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์และให้ ความสำ� คัญกับคนทุกศาสนาเท่าเทียมกนั สมัยก่อนผมไม่เข้าใจว่าท�ำไมชาวพุทธถึงดื่มสุรา ท้ังๆ ท่ีรู้ว่าผิดหลัก ของศาสนา พิทักษ์อธิบายให้ผมเข้าใจง่ายๆ ว่าศาสนาอิสลามเปรียบเสมือน กฎระเบยี บอนั เครง่ ครดั ทผ่ี นู้ บั ถอื จะตอ้ งใหค้ วามเคารพยำ� เกรง แตศ่ าสนาพทุ ธ เปรยี บเสมอื นขอ้ แนะนำ� ขอ้ เสนอแนะ ผทู้ นี่ บั ถอื จะปฏบิ ตั ติ ามหรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ าม ก็ได้ ส่วนตัวพิทักษ์เองนั้นเขาเป็นคนไม่ชอบด่ืมเหล้า แต่เขาบอกว่าเขาจำ� เป็น ต้องดม่ื เปน็ บางคร้ังเพื่อเข้าสงั คม นอกจากพิทักษ์จะเปน็ นักเดินทางแล้วเขายงั เปน็ นักอนรุ กั ษ์ เขามคี วาม สนใจอยากจะมาศกึ ษาชีวิตนกเงือก โดยเฉพาะนกเงอื กทีเ่ ทือกเขาบโู ด จังหวดั นราธิวาส พิทักษ์จงึ ขอตดิ ตามมาดว้ ยตอนผมกลบั บา้ น เราจึงวางแผนกันว่าจะ มาแวะพกั บ้านผมท่จี งั หวดั ยะลากอ่ น แลว้ คอ่ ยไปจังหวัดนราธิวาส บา้ นเกดิ ของผมอยูท่ ห่ี มู่บ้านปะแต อำ� เภอยะหา จงั หวัดยะลา สมยั ก่อน นับตั้งแต่จ�ำความได้ เส้นทางเข้าออกหมู่บ้านยังเป็นดินลูกรัง ผ่านป่ารกร้าง และห่างไกลจากตัวเมือง คนในหมู่บ้านสมัยก่อนยังใช้ชีวิตอยู่กันแบบปกติสุข แมจ้ ะมกี ลมุ่ กอ่ ความไมส่ งบเกดิ ขน้ึ ในพนื้ ทช่ี ายแดนใตม้ าตง้ั แตไ่ หนแตไ่ รมาแลว้ แต่เร่ืองมันก็ไม่ได้รุนแรงเหมือนอย่างสมัยนี้ เม่ือก่อนจะออกจากบ้านไปทำ� มา หากินทีไ่ หนก็สบายใจ แต่เดี๋ยวนี้ตอ้ งระวังซา้ ยระวงั ขวา ระมดั ระวงั ตัวจนแทบ ไม่เป็นอันท�ำมาหากิน ชาวบ้านก็หวาดกลัว เจ้าหน้าที่ก็หวั่นเกรง เกิดความ หวาดระแวง ไม่ไว้ใจซงึ่ กนั และกัน

236 เรอื่ งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา ขบวนการแบ่งแยกดินแดนสมัยก่อนยังเป็นเพียงแค่กลุ่มเล็กๆ มีการ รวมตัวกนั ฝึกอาวุธอย่ใู นป่าในเขา นานๆ ทจี ะออกมาปะทะกับเจ้าหน้าทท่ี หาร ต�ำรวจ นับวัน ย่ิงปะทะก็ย่ิงลุกลามหนักขึ้นเร่ือยๆ ย่ิงทวีความรุนแรงมากขึ้น เรื่อยๆ จากขบวนการกลุ่มเล็กๆ เพิ่มจ�ำนวนข้ึนอย่างรวดเร็วเหมือนดอกเห็ด น่ีคือสาเหตุที่พ่อไม่อยากให้ผมกลับมาอยู่บ้าน เพราะกลัวจะถูกดึงเข้าไปร่วม พวั พนั ผมไม่อยากเรียกคนเหล่าน้ันว่า “โจรใต้” เพราะพวกน้ันไม่ใช่โจร เขาไม่ได้ปล้นเพ่ือเอาเงินทองของชาวบ้าน ถึงเวลาแล้วท่ีสังคมควรจะยอมรับ ความจริงว่าการกระท�ำของขบวนการแบ่งแยกดินแดนนั้นคืออุดมการณ์ เพยี งแตอ่ ดุ มการณน์ น้ั เปน็ อดุ มการณข์ องคนทห่ี ลงผดิ ผมเชอื่ วา่ เปน็ อดุ มการณ์ ที่ไม่ถูกต้องอย่างแน่นอน เพราะศาสนาไม่เคยสอนให้เราฆ่าคน แม้แนวคิดจะ แตกต่างกันอย่างไรก็ตาม แต่เราก็ไม่มีสิทธ์ิตัดสินชีวิตผู้อ่ืน พระอัลเลาะห์ท่าน ประสงค์ให้คนในสังคมโลกอยู่กันอย่างสงบสุข ท่านไม่ประสงค์ให้คนในสังคม ต้องเปน็ ทกุ ข์อยา่ งแนน่ อน ผมเรียนศาสนามาต้ังแต่ยังเป็นเด็ก จึงไม่แปลกท่ีผมจะผูกพันกับ เรื่องศาสนามากเป็นพิเศษ ครอบครัวของผมและคนในหมู่บ้านของผมทุกครัว เรอื นเปน็ มสุ ลมิ คนแถวบ้านผมทุกคนจะพูดภาษายาวีเปน็ หลัก เดก็ ๆ แถวบ้าน เวลาเป็นหนุ่มเป็นสาว จะเข้าไปเรียนต่อในกรุงเทพฯ มักจะประสบปัญหา เร่ืองการสื่อสารเพราะพดู ภาษากลางไมค่ อ่ ยชดั ตอนเขา้ กรุงเทพฯ ใหมๆ่ ผมเองก็สือ่ สารกบั เพ่ือนในห้องเรยี นไมค่ ่อย รเู้ รอื่ ง บางคำ� ทเี่ ราพดู ออกไปแลว้ ออกเสยี งไมค่ อ่ ยถกู อาจจะฟงั ดตู ลก กจ็ ะโดน ล้อกลับมา แต่ก็ไม่เคยคิดน้อยใจ กลับรู้สึกสนุกสนานที่มีเพ่ือนคุยด้วยเยอะ เพราะเขาเห็นว่าเราแปลกไปจากเขา ไม่เหมือนเขา ก็เลยมีคนอยากฟังอยากคุย

เรอื่ งดีๆ ทบ่ี ้านเรา 237 กบั เราเยอะ สงิ่ ทที่ กุ คนจะถามถงึ คอื เรอ่ื งราวความเปน็ อยขู่ องคนทส่ี ามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ซึ่งผมได้เล่าไปแล้วมากมายหลายรอบให้หลายคนท่ีอยากรู้ อยากเหน็ แต่ไม่มโี อกาสไดม้ าสมั ผัส ช่างน่าเสียดายที่เขาไม่มีโอกาสได้มารับรู้เรื่องราวอีกด้านหน่ึงซึ่งเป็น เรื่องราวดีๆ ของท้องถ่ินเรา ส่ิงท่ีขวางกั้นอยู่มันคือความไม่เชื่อใจ ความไม่ ปลอดภยั ความไมไ่ ว้ใจ ความกลวั ในจติ ใจ คนท่จี ะมาท่ีน่ไี ดต้ ้องกลา้ พอที่จะพงั ทลายส่ิงท่ีขวางก้ันอยู่ในจิตใจ น่ันคือ ต้องเป็นคนใจกล้า ไม่กลัวตาย เหมือน อยา่ งพิทกั ษ์เท่านน้ั ถึงจะมาทีน่ ไ่ี ด้ ในเม่ือเขาให้ความไว้วางใจพวกเรา เขาก็จะได้รับสิ่งที่ดีที่สุดจาก พวกเรา ผมจะพยายามไม่ท�ำให้เขาผิดหวัง ผมจะต้องท�ำให้เพ่ือนของผมคนนี้ ได้รบั ความประทบั ใจกลับไปใหไ้ ด้ ทันทที มี่ าถงึ สถานรี ถไฟยะลา อาบีดนี กเ็ อารถมอเตอร์ไซคม์ ารอรับเรา สองคน ผมแนะนำ� ใหพ้ ทิ กั ษร์ จู้ กั กบั อาบดี นี เพอื่ นสมยั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ รถมอเตอร์ไซค์ของดนี เป็นรถคันเก่าแตเ่ ครื่องอย่างแรง เสยี อยอู่ ยา่ งเดยี วตรงท่ี ยางเก่าไปหน่อย ยังไม่ทันจะถึงบ้านก็ยางร่ัวเสียก่อน ก็เลยต้องเข็นเข้าร้าน ปะยาง กว่าจะกลบั ถึงบ้านก็ตกเย็นพอดี นานแล้วท่ีผมไม่ได้กล่ินน้�ำบูดู วันแรกท่ีมาถึงบ้าน ผมกับพิทักษ์ถูก ต้อนรับด้วยวงอาหารม้ือใหญ่ มีท้ังแกงส้มปลาทู ส้มต�ำมะก๊ะ และหอยจ๊อ สว่ นของหวานมซี าลาเปากับอนิ ทผาลัม ท้ังพ่อ แม่ พ่ี นอ้ ง ลุง ปา้ นา้ อา นงั่ ล้อมวงกัน ๑๑ คน เป็นการต้อนรับการกลับสู่บ้านเกิดท่ีอบอุ่นท่ีสุดในชีวิต ของผม พทิ กั ษเ์ ปน็ แขกคนสำ� คญั ทสี่ ดุ เทา่ ทบี่ า้ นเราเคยมมี า เพราะเขาเปน็ เพอ่ื น ตา่ งศาสนาคนแรกท่ีมาบา้ นเรา ในวงอาหารมีค�ำถามเกิดขึ้นมากมายจากญาติพ่ีน้องของผมท่ีรุมถาม พิทกั ษ์ เหมือนแบบเดียวกนั กับท่ผี มถูกรุมถามตอนทอ่ี ยู่กรุงเทพฯ

238 เรือ่ งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา หลงั จากจบการเสวนารอบสำ� รับกับข้าวมื้อเย็นวนั น้ี ทุกคนก็แยกย้าย กันไปอาบน�ำ้ อาบท่า พวกเราจัดหอ้ งว่างใหพ้ ทิ ักษห์ อ้ งหนงึ่ เพราะคดิ ว่าเขาอาจ จะต้องการเวลาเป็นสว่ นตัวบา้ ง ผมบอกให้พิทักษ์จัดเตรียมส่ิงของสัมภาระให้พร้อม เพราะพรุ่งนี้เช้า เราจะเดินทางไกลกันอีกครั้ง ผมรู้ว่าเขามีความกังวลใจอยู่บ้างเพราะผมได้ยิน เสียงสวดมนตข์ องเขาแว่วมาตอนท่ีผมกำ� ลังละหมาด ปกติพิทักษ์จะไม่ค่อยสวดมนต์ก่อนนอนเหมือนชาวพุทธคนอ่ืนๆ แต่เขาจะสวดมนต์เฉพาะเม่ือตอนที่ต้องการความม่ันใจ ต้องการที่พึ่งทางใจ ต้องการที่จะขอพรให้ตนเองแคลว้ คลาดปลอดภัย การมาอยูท่ น่ี ี่อาจไมใ่ ชป่ ญั หาสำ� หรบั เขา แตป่ ญั หาคือการท่ีเขาจะต้อง เดนิ ทางออกจากชายคาบา้ นหลงั นี้ออกไป ไมว่ ่าจะเป็นใครกต็ อ้ งกลวั กนั ท้ังน้ัน แม้แต่ผม ยังไม่ทันที่พระอาทิตย์จะโผล่พ้นขอบฟ้า ฟาติมะฮ์ก็ออกไปกรีดยาง แต่เช้าตรู่ การท�ำสวนยางพาราน้ันจะต้องออกไปกรีดยางตื่นตั้งแต่ตีสี่ตีห้า เพ่ือให้ได้คุณภาพของน�้ำยางท่ีดี พูดถึงเร่ืองยางพาราแล้วยังงงกับชีวิตตัวเอง ไมห่ าย เพราะเพง่ิ รเู้ มอ่ื ไมน่ านมานว้ี า่ ประเทศไทยสง่ ออกยางดบิ เปน็ อนั ดบั หนง่ึ ของโลก สมัยก่อนน้ันยางพาราจะปลูกได้ดีเฉพาะพ้ืนท่ีภาคใต้ของประเทศ แตต่ อนนภี้ มู อิ ากาศมนั เปลย่ี นไป ภาคเหนอื กบั ภาคใตภ้ มู อิ ากาศตา่ งกนั นอ้ ยลง มันคงเป็นข้อดีเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับข้อเสียท่ีว่าโลกเราทุกวันนี้มันร้อนข้ึน มาก “จะไม่ใหร้ อ้ นไดอ้ ยา่ งไร ในเมอ่ื ป่าไม้ถูกทำ� ลายจนเกอื บหมดสน้ิ ” บางคนอาจจะแปลกใจวา่ ผมกลายเปน็ พวกหวั อนรุ กั ษไ์ ปตงั้ แตเ่ มอ่ื ไหร่ บางทีผมอาจจะอยูก่ ับพิทกั ษม์ ากเกินไป จนกลายเป็นนักอนุรักษไ์ ปโดยไมร่ ตู้ ัว

เรอื่ งดีๆ ท่บี า้ นเรา 239 หลังจากทานมื้อเช้าเสร็จเรียบร้อย เราทั้งสองก็ควบมอเตอร์ไซค์คู่ใจ ออกจากบ้านโดยมีเป้สะพายหลัง มันอาจจะไม่ไกลมากนักเม่ือเทียบกับระยะ ทางที่รถไฟวิ่งลงมาจากกรุงเทพฯ แต่มันก็ไกลพอส�ำหรับเครื่องยนต์สองล้อ เพราะมันเป็นการเดินทางข้ามจังหวัด ม้าเหล็กของผมก็พาเราสวมวิญญาณ นักเดนิ ทาง ณ แผน่ ดนิ ทองทางตอนใตข้ องประเทศไทย สองนกั เดนิ ทางควบทะยาน ม้าเหล็กไปตามเส้นทางที่เขาคุ้นเคย ถนนสีขาวลาดยางตัดผ่านผืนป่าเขตร้อน ดวงตะวนั สอ่ งแสงแผดกลา้ เผาผลาญใหไ้ อนำ้� ระเหยขนึ้ จากดนิ มาปรากฏใหเ้ หน็ ในระยะไกล ถา้ รถมนั พูดไดม้ ันคงจะบอกวา่ “หยุดพกั กันก่อนเถอะ” เราพารถเข้าไปหลบแดดในร้านน�้ำชา เสียงผู้คนพูดคุยกันถึงเรื่อง เหตกุ ารณร์ ะเบดิ ทเ่ี คยเปน็ ขา่ วลงหนงั สอื พมิ พห์ นา้ หนงึ่ เสยี งคยุ โวนนั้ ดงั เขา้ มา ถงึ ในรา้ น จนเจา้ ของรา้ นตอ้ งออกไปแจมกบั เขาอกี คน พอมเี วลาไดน้ ง่ั จบิ น�้ำชา ให้คอชุ่มมาบ้างก็เลยถือโอกาสอัพเดทข่าวสาร ติดตามเหตุบ้านการเมือง ในหนังสือพิมพ์รายวัน วันนี้ไม่มีข่าวอะไรดังไปกว่าการเมือง ข่าวเหตุการณ์ ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใต้กลายเป็นเร่ืองเคยชินส�ำหรับคนไทย ไปแลว้ นอกซะจากวา่ จะเป็นเหตใุ หญจ่ รงิ ๆ พักนานเกินไปไม่ได้ต้องรีบออกเดินทางต่อ เพราะเส้นทางยังอีก ยาวไกล ยังไม่ทันที่ผมจะลุกข้ึนยืน พิทักษ์ก็ควักเงินออกจากกระเป๋าสตางค์ วางลงบนโต๊ะแล้วพดู ว่า “วนั นีเ้ ราเล้ยี งนายเอง” และแล้วเราทั้งสองก็ออกเดินทางรอนแรมไปจนถึงทางเข้านำ้� ตกปาโจ และรับประทานข้าวหมกไก่เป็นมื้อเท่ียง น�้ำตกปาโจในสมัยก่อนนั้นไม่ใช่ สถานทที่ อ่ งเท่ยี ว แถวน้ีเป็นทางววั ผา่ น ไมเ่ จริญและอันตรายมาก ในอดีตท่ีน่ี เปน็ สถานที่สรู้ บกันระหว่างขบวนการแบง่ แยกดินแดนกบั ทหาร ต�ำรวจ บนเขา แห่งนี้เคยเป็นทีต่ งั้ ฐานกำ� ลงั ของทง้ั สองฝา่ ย

240 เรอื่ งดีๆ ทีบ่ ้านเรา กลา่ วกนั วา่ สมยั ก่อน เวลาทหาร ตำ� รวจ จับตายคนร้ายได้ก็จะตดั หัว หิ้วลงมาจากบนเขา เอามาประจานกลางตลาดเพ่ือระบายความแค้นท่ีสูญเสีย พรรคพวกไปเยอะจากการถูกลอบยงิ สมยั นี้ การรบตามแบบมนั จบไปนานแลว้ ฐานทพั ของฝา่ ยแบง่ แยกดนิ แดนถูกตีแตก พวกท่ีรอดเหลืออยู่ก็แยกย้ายกระจายกันไป บางคนก็ทยอย มอบตัว บางคนก็หันมาประกอบอาชีพสุจริต บางคนก็กลายเป็นอาสาสมัคร ปอ้ งกนั หมบู่ า้ น แตก่ ย็ งั มอี กี หลายคนทย่ี งั ไมย่ อมยตุ ิ เกดิ เปน็ ขบวนการตา่ งๆ ขนึ้ มามากมายทั้งพูโล บีอารเ์ อ็น อาร์เคเค กลายเป็นสงครามนอกแบบไม่รู้จักจบ จกั ส้นิ หรอื เรียกอกี อย่างว่าสงครามกองโจร หลายปีต่อมา คณะนักวิจัยนกเงือกค้นพบว่าเขาบูโดเป็นท่ีอยู่อาศัย สำ� คญั ของนกเงอื กหายากหลายชนดิ อาทิ นกเงอื กหวั แรด นกเงอื กหวั หงอก นก เงือกชนหนิ จึงเกิดเป็นโครงการศกึ ษานิเวศวิทยาของนกเงอื กข้ึนมา เสยี งระเบดิ ในส่ีจงั หวัดชายแดนภาคใตย้ ังไม่จบสนิ้ ขณะที่การอนรุ ักษ์ นกเงือกบนเทือกเขาบูโด ยังคงด�ำเนินต่อไป โดยเฉพาะความพยายามให้ ชาวบ้านท่ีเคยขโมยลูกนกเงือกไปขายมาร่วมกันเป็นผู้ดูแลนกเงือก และก่อตั้ง หมู่บ้านนกเงือกข้นึ ในเวลาต่อมา ผมไม่ใช่ผู้เช่ียวชาญเรื่องนกเงือก แต่ผมรู้เร่ืองของนกเงือกมากมาย จากพิทักษ์ ชายผู้ไม่เคยเห็นนกเงือกในธรรมชาติจริงๆ กับตาตัวเองด้วยซ้�ำ เพียงแต่เขาศึกษาหาข้อมูลมาก่อน ผู้ท่ีจะให้ข้อมูลเฉพาะพ้ืนที่ได้ มากข้ึน นอกจากฮาเร็ม ชายสติไม่สมประกอบท่ีอยู่ท่ีน่ีมานานแล้ว ยังมีลุงหนอบ ชาวนครศรีธรรมราชที่มาขายของอยู่ ส�ำเนียงแกจะฟังยากเพราะเป็นภาษา ปักษ์ใต้ คนมุสลิมอย่างผมถึงจะอยู่ใต้ก็ฟังไม่ออก เวลาพิทักษ์คุยกับแกพิทักษ์ ก็มักจะเผลอท�ำเสยี งแหลงใตต้ ามไปดว้ ย ลุงหนอบไม่เพยี งแตช่ ีท้ างสว่างใหเ้ รา

เรอ่ื งดๆี ท่ีบ้านเรา 241 เดินทางข้ึนไปส�ำรวจ แต่เขายังใจดีให้สะตอมาฝักหน่ึงเดินไปแกะกินไป ระหว่างทาง ผมเดินน�ำในฐานะเจ้าบ้านถึงแม้จะไม่ใช่คนนราธิวาสแต่อย่างน้อยผม กเ็ ปน็ เดก็ ใต้ แตใ่ นใจนนั้ รดู้ วี า่ ไมอ่ าจเทยี บความชำ� นาญในการเดนิ ปา่ กบั พราน เกา่ อย่างพิทกั ษ์ได้ อาบดี ีนถอื เต็นทห์ ลังเดยี วเดินตามหลงั มาในขณะทผ่ี มสอง คนแบกเปใ้ บใหญ่อันหนักอึง้ บางครง้ั เวลาเราหยดุ พกั นานมากกว่าท่ีอาบดี นี จะตามหลงั โผล่มาใหเ้ ห็น เพราะเขาเดนิ ช้าเอามากๆ พอเดินเข้ามาใกล้พวกเรา เขาก็น่ังทรุดเข่าลง เพราะเดินต่อไปไม่ไหว พทิ ักษก์ วาดสายตามองดรู อบๆ แล้วน่งั ยองๆ ย่อตวั ลง ในใจเขาคงคดิ วา่ บรเิ วณ น้ีมันดูเงียบสงบและมีท่ีก�ำบังปลอดภัยดีจึงบอกให้เราน่ังพักกันตรงนี้ ผมกับ พิทักษ์เอากระเป๋าเป้หนุนหลังแล้วเอนกายลงนอน แหงนหน้าขึ้นมองท้องฟ้า มองทะลผุ ่านใบไมข้ น้ึ ไป เห็นเมฆเป็นรว้ิ บางๆ เคลือ่ นตวั ไปชา้ ๆ วันนี้คงไมม่ ฝี น ตกแนน่ อน เมื่อรู้สึกว่าหายเหน่ือยจึงดีดตัวขึ้นมาน่ังเก็บของใส่กระเป๋าเตรียมเดิน กันต่อ จังหวะนั้นมีเหยี่ยวรุ้งขนาดใหญ่บินข้ามหัวเราไปโดยที่ไม่มีใครทันที่จะ ยกกล้องขน้ึ มาถา่ ยรูป พทิ ักษบ์ น่ พมึ พำ� ดว้ ยความเสียดายท่ีไมไ่ ด้ถ่ายรปู เหยยี่ ว ตวั น้ัน จดุ ประสงค์ของการมาคร้งั นี้ คือ การมาถ่ายรูปนกเงอื ก พทิ กั ษ์เปน็ คน ชอบท่ีจะเก็บบันทึกภาพและข้อมูลสัตว์น�ำไปประกอบบทความเผยแพร่ทาง อนิ เตอร์เนต็ มันเปน็ สงิ่ หนง่ึ ทเี่ ขาท�ำแล้วมคี วามสขุ เราสามคนเดนิ แถวเรยี งหนงึ่ ตามกนั ไปบนเสน้ ทางอนั สงู ชนั เสยี งน้�ำตก ลงมากระทบหินน้ันได้ยินดังข้ึนเรื่อยๆ เป็นก�ำลังใจว่าจะได้หยุดพักท่ีแหล่งน�้ำ

242 เรอื่ งดีๆ ท่บี ้านเรา เยน็ ๆ พอขนึ้ มาถงึ ชนั้ บนพวกเรากเ็ ดนิ ผา่ นตน้ ดาหลา ตรงไปทลี่ ำ� ธารเพอ่ื ลา้ งมอื ล้างไม้ ลา้ งหนา้ ล้างตา ผ่อนคลายความร้อน น�ำ้ ใสไหลเยน็ ในลำ� ธารนี้จะไหลไป จนหล่นจากหน้าผา กลายเปน็ น�ำ้ ตกปาโจที่สวยงาม ขณะที่เราหันหน้าเข้าหาลำ� ธาร ด้านหลังเรามีตะขบป่าผลไม้รสหวาน สีแดงก�ำลังสุกได้ที่พอดี อาบีดีนสังเกตเห็นก่อนใครเพ่ือนจึงเดินตรงเข้าไปเก็บ มากนิ เลน่ ไมไ่ กลจากตรงนมี้ ตี น้ ไทร บรเิ วณใตต้ น้ มลี กู ไทรสกุ หลน่ เรยี่ ราดเกลอ่ื น กลาดตามพน้ื ดนิ เหน็ แลว้ ไมแ่ ปลกใจเลยวา่ ทำ� ไมทน่ี จี่ งึ มนี กเงอื กอาศยั อยเู่ ยอะ เพราะป่าน้ีมีแหล่งอาหารอุดมสมบูรณ์เหมาะส�ำหรับเป็นสวรรค์ของนกป่า นานาชนดิ คนทมี่ คี วามชำ� นาญปา่ อยา่ งพทิ กั ษอ์ าจจะแยกเสยี งออกวา่ เสยี งทไ่ี ดย้ นิ เปน็ เสียงของนกชนดิ ไหน ในเสยี งหลายเสยี งท่ีเราได้ยิน พิทกั ษพ์ าเราตามเสียง หนง่ึ ไปชา้ ๆ เรามาถงึ ตน้ ไมใ้ หญต่ น้ หนงึ่ กอ่ นทเ่ี สยี งนนั้ จะเงยี บหายไป ตน้ ไมต้ น้ นข้ี นาดใหญแ่ ละเปน็ ตน้ ทแี่ กม่ าก บนตน้ เหมอื นมโี พรงใหญๆ่ เหมาะสำ� หรบั เปน็ รงั ฟักไข่ส�ำหรับนกเงอื ก นกเงือกเป็นนกท่ีรักเดียวใจเดียว ในชีวิตของมันจะมีการเลือกคู่แค่ ครง้ั เดยี วเทา่ นนั้ ในชวี ติ โดยจะอยกู่ นั แบบคผู่ วั ตวั เดยี วไมม่ กี ารเปลยี่ นคโู่ ดยเดด็ ขาด ถึงแม้ตัวใดตัวหน่ึงจะตายจากกันไปแล้วก็ตาม ในการฟักไข่ นกตัวเมีย จะขังตัวเองอยู่ในรัง นกตัวผู้จะออกไปหาอาหารเอามาให้แม่นกป้อนให้ ลูกนกกิน สาเหตุที่นกเงือกสูญพันธ์ุง่ายเพราะด้วยความท่ีมันเป็นสัตว์รักเดียว ใจเดียว เม่ือนกเงือกตัวผู้ถูกล่าตัดเอาหัวไปขาย นกเงือกตัวเมียและลูกน้อย ก็จะรอคอยอย่ทู ี่รงั รอจนอดอาหารตาย พทิ กั ษบ์ อกวา่ เราไมค่ วรทจี่ ะปนี ขน้ึ ไปดู เพราะหากเกดิ บนนนั้ มนี กเงอื ก จรงิ ๆ ขน้ึ มา นกอาจจะตกใจ ทง้ิ รงั หนี เราจงึ สงั เกตดบู รเิ วณโดยรอบเพอื่ หารอ่ ง

เรอื่ งดีๆ ท่ีบา้ นเรา 243 รอยต่างๆ เช่น ขนนก แตก่ ไ็ ม่พบ จงึ ออกเดนิ ทางตอ่ เดนิ ทางลดั เลาะขน้ึ เขาลง ห้วยพอสมควร ออกจากป่าดบิ กเ็ ขา้ สู่พนื้ ที่สวนยางพาราของชาวบ้าน แล้วยงั มี สวนทุเรยี นกับสวนลองกองด้วย “อัสลาโมไลกุม” ผมกล่าวทักทายผู้เฒ่าที่นุ่งโสร่งวัยประมาณหกสิบ แกมองดูเราด้วยความสงสัย คงจะเป็นชาวบ้านผู้เป็นเจ้าของสวนแถวน้ี ผมจึงพาพิทักษ์กับอาบีดีนเข้าไปในหมู่บ้านเพ่ือไปหาท่ีพัก เผ่ือคืนนี้อาจจะ ไม่ตอ้ งนอนคา้ งอ้างแรมในป่า พอมีโอกาสได้เข้ามาถึงหมู่บ้านก็ได้ทักทายท�ำความรู้จักกับชาวบ้าน พทิ กั ษ์ถือโอกาสสมั ภาษณเ์ กบ็ ขอ้ มลู จากชาวบา้ น โดยมผี มเป็นลา่ มแปลให้ จากการสอบถามจึงพบว่าสมัยก่อนชาวบ้านท่ีน่ีจับลูกนกขาย ลูกนก กกขายได้ตัวละ ๕๐๐ บาท ลูกนกเงือกหัวแรดขายได้ตัวละ ๑,๕๐๐ บาท ย่งิ ถา้ เป็นนกเงือกหวั หงอกกบั นกชนหนิ ขายไดต้ ัวละเป็นหมื่น แต่สมยั นช้ี าว บ้านเลกิ จับนกไปขายแลว้ ต้ังแต่ทางการมนี โยบายใหอ้ นรุ ักษน์ กเงือก ปจั จบุ นั ชาวบ้านเป็นผู้มีส่วนร่วมในโครงการอนุรักษ์นกเงือก โดยช่วยในเรื่องของการ เกบ็ ข้อมลู พทิ กั ษบ์ อกวา่ นกเงอื กเปน็ ตวั บง่ ชค้ี วามอดุ มสมบรู ณข์ องปา่ ทไี่ หนมนี ก เงือกอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ แสดงว่าที่นั่นมีความอุดมสมบูรณ์ นอกจากน้ีนก เงอื กยงั มบี ทบาทสำ� คญั ในเรอ่ื งการขยายพนั ธพุ์ ชื เพราะอาหารหลกั ของนกชนดิ นีค้ อื ลกู ไทร ลูกหว้า และผลไม้ขนาดเล็กตา่ งๆ เม่อื นกเงอื กกนิ เข้าไปเมลด็ พชื เหลา่ นน้ั จะถกู ขบั ถา่ ยออกมากบั มลู นก ทำ� ใหพ้ นั ธไุ์ มน้ น้ั ไดก้ ระจายออกไปเจรญิ เติบโตในท่หี ่างไกล ได้คุยกับคนในหมู่บ้านพอหอมปากหอมคอ จึงออกมาจากหมู่บ้านมา โดยเราจะไปกางเตน็ ทน์ อนกนั ตามไหล่เขา ก่อนจะจากไปเราก็ยืนบนเนนิ เตย้ี ๆ ที่ชาวบ้านบอกว่ามันจะมีเพิงพักไวส้ �ำหรบั ดูนกเงอื ก

244 เร่อื งดๆี ที่บ้านเรา ภาพเบื้องหน้าท่ีเราเห็นมีต้นกาลอสูงใหญ่อยู่ต้นหนึ่งคาดว่าน่าจะเป็น รังของนกเงือก ถัดจากต้นกาลอ มีต้นมะไฟและมีนกเงือกเกาะอยู่บนนั้น พวกเราเฝา้ มองดดู ว้ ยความตน่ื เตน้ แลว้ เจา้ นกเงอื กกก็ ระพอื ปกี ผบั ๆ บนิ จากตน้ มะไฟไปยังต้นกาลอ ช่วยเพิ่มความต่ืนเต้นและความประทับใจให้ผู้เฝ้ารอเป็น อย่างยิ่ง นับว่าการเดินทางมาของพวกเราในคร้ังน้ีไม่สูญเปล่าแล้วที่ได้เห็น นกเงอื กเป็นบญุ ตาสักครง้ั ในชีวิต หลังจากรอพิทักษ์ถ่ายภาพและเก็บบันทึกข้อมูลจนเสร็จ เราจึงออก เดินทางกันต่อ เพ่ือสร้างท่ีพักแรม เตรียมฉลองรอบกองไฟให้กับความส�ำเร็จ ในครงั้ น้ี เป็นคร้ังแรกที่ผมเดินทางเข้าป่ากับเพ่ือน ก่อนหน้าน้ี เวลามีเร่ือง ไมส่ บายใจ ผมจะชอบเดนิ ทางเขา้ มาในปา่ คนเดยี ว ยง่ิ เขา้ มาลกึ มากเทา่ ไหรค่ วาม หลากหลายของสรรพส�ำเนียงก็ยิ่งหลากหลายขึ้น ผมได้ยินเสียงนกกะปูดร้อง หวูดๆ เสียงนกกระรางร้องหรา่ งๆ เสยี งจักจัน่ เรไรกรดี ปกี ดงั ซด๊ี ... แทรกเขา้ มา ในหวั ลอยมาไกลๆ คอื เสยี งลิง ค่าง บ่าง ชะนกี รู่ ้องหาคโู่ หยหวน เยือกเยน็ แล้ว ความเหงาก็ซึมเข้าถึงผิวหนังช้ันใน ความไม่เข้าใจอะไรบางอย่างผุดข้ึนมาใน สมองว่าทำ� ไมเราจงึ รู้สกึ เหงาท้ังๆ ที่อยทู่ ่ามกลางสรรพชวี ิตมากมาย ผมคน้ พบ ค�ำตอบจากการเดินทางมาคร้ังนี้ ซึ่งมันต่างจากทุกคร้ังคือผมมีเพ่ือนมาด้วย ผมไม่ได้มาคนเดียว ค�ำตอบของตัวเองดังขึ้นในหัวใจว่า “เพราะเราคือมนุษย์ ทต่ี ้องการเพอื่ น ตอ้ งการการยอมรับ ตอ้ งการความเห็นใจ และต้องการท่ีจะอยู่ รว่ มกบั ผูอ้ ่ืน” แมเ้ ราจะมแี นวคดิ ทห่ี นกั แนน่ ของเรา แตถ่ งึ อยา่ งไรเรากไ็ มส่ ามารถหนี พ้นอทิ ธิพลจากสง่ิ แวดล้อมรอบตวั เรา เราไมส่ ามารถทจ่ี ะปิดตายสงั คมของคน กลมุ่ เรา หมู่บา้ นเรา เมืองเรา เพราะโลกน้ไี ม่ได้มีแตเ่ รา แต่ละระบบนิเวศ แต่ละ ระบบสังคม ยอ่ มมีการแลกเปล่ยี น ถา่ ยทอด เชื่อมโยงกับระบบอนื่ ๆ ในสังคม

เร่อื งดๆี ที่บา้ นเรา 245 มนุษย์ไม่ว่าจะนับถือส่ิงใดเป็นที่ยึดเหนี่ยวสูงสุดในชีวิต ยังไงเราก็ต้องเปิดใจ ยอมรับทีจ่ ะอย่รู ่วมกบั ผอู้ ื่น แมว้ า่ จะต่างชาติพนั ธ์ุ ต่างความเช่ือ ตา่ งศาสนา ก็ ต้องยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกบั คนท่ีไมไ่ ด้นบั ถอื เหมอื นเรา หรือไม่ได้เชือ่ เหมอื นเรา ในสงั คมใหญท่ ปี่ ระกอบไปดว้ ยสงั คมยอ่ ย สงั คมยอ่ ยทมี่ จี �ำนวนคนนอ้ ย กว่าต้องเปิดใจยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกับสังคมย่อยที่มีจ�ำนวนคนมากกว่า สงั คมย่อยท่มี จี �ำนวนคนมากทส่ี ุด หรอื ทเี่ รียกว่าเสียงส่วนใหญใ่ นสงั คม ก็ตอ้ ง ไม่ฉวยโอกาส ไมย่ ึดเอาอำ� นาจประกาศตัวเองเป็นเจ้าของประเทศ หรือน�ำเอา เอกลักษณ์เฉพาะกลุ่มมาเป็นตัวแทนของทั้งประเทศ หากจะใช้คำ� ว่าเสรีภาพ ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกัน เราควรให้ความส�ำคัญกับทุกเชื้อชาติ ศาสนาเท่าเทียมกัน เพื่อให้ทุกคนที่อยู่ในประเทศนั้นมีความรู้สึกว่าเขาก็เป็น เจา้ ของประเทศนเี้ หมอื นกนั มสี ทิ ธิ มเี สรภี าพ มคี วามส�ำคญั เทา่ กบั คนกลมุ่ ใหญ่ ในประเทศ ประเทศไทยไม่ได้เป็นประเทศไทยมาตั้งแต่ก�ำเนิดโลก ทุกประเทศ เกดิ จากการรวมตวั กันของอาณาจกั รน้อยใหญ่ หลากหลาย รวมเข้าด้วยกนั หากมีระบบการปกครองที่ดี มีความเป็นธรรม ทำ� ให้คนในประเทศ ไม่ว่าจะมาจากกลุ่มชาติพันธ์ุไหนๆ เกิดความรู้สึกว่าพวกเขาท่ีแตกต่างกัน สามารถอยู่รวมกันได้ในประเทศที่มีความเสมอภาค เขาก็จะเกิดความรักและ หวงแหนตอ่ แผน่ ดนิ ทเี่ ขาอยู่ แตห่ ากมรี ะบบการปกครองทไี่ มด่ ี ท�ำใหเ้ ขามองวา่ เขาถูกกดข่ี ไม่ได้รับสิทธิ ความเสมอภาค ความเท่าเทียมกับคนส่วนใหญ่ ในประเทศ หรือรู้สึกว่าเขาอาศัยอยู่ประเทศนี้ในฐานะพลเมืองช้ันสอง ความน้อยเนอ้ื ตำ่� ใจ ความไมภ่ าคภมู ิใจ ก็จะเกิดขึน้ แล้วความรสู้ กึ ที่วา่ อยากจะ แยกตัวออกไป กลับไปสู่ความเป็นชาติพันธ์ุเดิมก็จะตามมา พอเกิดข้ึนมาแล้ว มันก็ยากที่จะเกิดการให้ความร่วมมือ และความเต็มใจในการให้ความร่วมมือ ในการแกไ้ ขปญั หา หรอื พฒั นาสิ่งตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางทีด่ ขี ้นึ

246 เรือ่ งดีๆ ท่ีบา้ นเรา “เพราะว่าโลกเราน้ี มีเสน้ แบ่ง แบง่ แยกเขา แยกเรา หากเอาสิ่งเหล่า น้ี โยนทง้ิ ไป โลกก็สดใสสวยงาม” เสียงเพลงท่พี ทิ ักษ์รอ้ ง เรียกลมเย็นให้โชย มาเบาๆ เสียงก่ิงไม้และใบไม้กระทบกันดังเสาะแสะ ต้นไม้ไหวเอนไปตามลม ซ้าย – ขวา ราวกับโยกตวั ไปตามจังหวะเพลง พรงุ่ นเี้ ชา้ เราจะออกจากปา่ แหง่ น้ี เดนิ ทางไปจนสดุ เขตแดนประเทศไทย ผมจะพาพทิ กั ษไ์ ปเทย่ี วเบตง คนื นยี้ าวนานกวา่ จะถงึ เชา้ เหมอื นเราจะนอนเรว็ กนั เกนิ ไป ผมลกุ ข้นึ มานงั่ ข้างๆ กองไฟทีก่ ำ� ลงั จะมอดดบั เพอ่ื เข่ียขเ้ี ถา้ แล้วเป่า ใหเ้ ปลวไฟลกุ โชนขน้ึ มาอกี ครง้ั แตก่ อ่ นทเี่ ปลวไฟจะลกุ พรบึ ควนั ขโมงกพ็ วยพงุ่ ออกไปก่อนแล้ว ท�ำให้สหายของผมทั้งสองไอเพราะส�ำลักควัน พิทักษ์หยิบ กระตกิ นำ�้ ขน้ึ มาดมื่ แลว้ ลกุ เดนิ มานงั่ รอบกองไฟ แลว้ อาบดี นี กล็ กุ ขนึ้ มานงั่ ตาม อีกคน คืนนค้ี งจะนอนไม่หลับถ้าไม่ได้คยุ กัน พิทักษ์เป็นคนเรมิ่ กอ่ น โดยเลา่ เรื่องประสบการณ์ของเขาท่ีเคยเดินทางไปท่องเที่ยว ไปออกค่ายต่างๆ นานา มาจนเกอื บทว่ั ประเทศ ท�ำใหเ้ ขามเี พ่อื นทัง้ เหนือ กลาง ใต้ อีสาน ตะวนั ออก ตะวนั ตก มที ้งั มง้ เย้า กระเหรย่ี ง มเู ซอ อาข่า คะฉ่ิน ฯลฯ มีท้งั ไทย จีน เขมร ลาว มีทง้ั พทุ ธ คริสต์ อสิ ลาม ฯลฯ เขาน�ำเอากจิ กรรมตา่ งๆ ทีเ่ คยท�ำตอนไป คา่ ยมาใชก้ บั พวกเราในคนื น้ี มีเรื่องเล่าเกิดข้ึนมากมายรอบกองไฟ ผมเล่าถึงเร่ืองประวัติศาสตร์ ความเปน็ มาของรฐั ปตั ตานี โดยมพี ทิ กั ษเ์ ลา่ เรอ่ื งของอาณาจกั รศรวี ชิ ยั สอดคลอ้ ง กนั ไป อาบีดีนน่งั กระพรบิ ตาฟังด้วยความตน่ื เตน้ พทิ กั ษถ์ อื กง่ิ ไมอ้ ยใู่ นมอื ทำ� ทา่ ทางเหมอื นครนุ่ คดิ อะไรบางอยา่ ง เขากำ� กง่ิ ไม้ในมือไว้แนน่ กอ่ นทจี่ ะตดั สนิ ใจลากเส้นลงบนพ้ืนดิน แสงสวา่ งจากกองไฟ ชว่ ยให้เรามองเห็นกระดานพ้ืนดินทพี่ ิทกั ษก์ �ำลงั จะบรรยายใหฟ้ งั แจ่มชัดขน้ึ “ย้อนไปสมัยก่อน ไม่มีประเทศไทย” พิทักษ์เริ่มพูดประโยคแรกหลัง จากเงียบไปนาน

เร่ืองดๆี ทบ่ี ้านเรา 247 “เมอ่ื ย้อนไปอีกกไ็ ม่มีรฐั ปัตตานี และไมม่ ีศรีวิชยั ” ผมกบั อาบีดีนตั้งใจ ฟังสิ่งทเ่ี ขาจะพดู ต่อ “กอ่ นทมี่ นษุ ยจ์ ะเรมิ่ รวมกลมุ่ เปน็ เผา่ พนั ธ์ุ สรา้ งบา้ นเมอื งขนึ้ มา มนษุ ย์ กไ็ ดก้ ระจดั กระจายอยทู่ ว่ั โลก หาของปา่ ลา่ สตั วอ์ ยตู่ ามธรรมชาตเิ ฉกเชน่ สตั วป์ า่ แตถ่ า้ ยอ้ นไปอกี ไปจนถงึ ยคุ ดกึ ดา� บรรพ์ กย็ งั ไมม่ มี นษุ ย์ แลว้ ใครละ่ เปน็ เจา้ ของ แผ่นดนิ ทแ่ี ท้จรงิ ” พิทักษ์ขอให้พวกเรานั่งล้อมกันเป็นวง จับมือกันแล้วหลับตา ตั้งจิต ภาวนาอธษิ ฐาน พร้อมกบั นกึ ตามในสิ่งทเ่ี ขาพดู “มนษุ ยเ์ กดิ มาจากธรรมชาติ มนษุ ยร์ วมกลมุ่ กนั ประกาศความเปน็ เผา่ พนั ธ์ุ ประกาศความเปน็ เมอื ง ประกาศอาณาเขต ประกาศตวั เปน็ เจา้ ของแผน่ ดนิ ความจริงแล้ว ไม่มีใครเป็นเจ้าของแผ่นดินใดโดยแท้จริง มนุษย์เป็นส่วนหนึ่ง ของธรรมชาติ ท้ังมนุษย์และส่ิงมีชีวิตท้ังมวลมีสิทธ์ิท่ีจะอยู่ในทุกผืนแผ่นดิน บนโลก มนษุ ยร์ กุ ราน รบราฆา่ ฟนั กบั เผา่ พนั ธม์ุ นษุ ยด์ ว้ ยกนั เอง โดยลมื นกึ ไปวา่ ทกุ เผา่ พนั ธม์ุ นษุ ยไ์ ดร้ กุ รานเผา่ พนั ธอุ์ น่ื ๆ ทไ่ี มใ่ ชม่ นษุ ย์ มนษุ ยท์ า� ลายปา่ ทา� ลาย สัตว์ ท�าลายธรรมชาติ ท�าลายโลก ท�าลายแม้กระทั่งพวกเดียวกันเอง ขอให้ พวกเราต้ังจิตอธิษฐาน ระลึกถึงสิ่งท่ีตนเองนับถือ ขอพรให้มนุษย์หยุดท�าลาย ธรรมชาติ หยุดท�าลายโลก หยุดท�าลายเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอง ขอให้พรุ่งน้ี และวนั ต่อๆ ไป มคี นขอในสง่ิ ทีเ่ ราขอเพ่มิ มากข้นึ ”

248 เรื่องดๆี ท่บี า้ นเรา อดตี ประเพณี วถิ ีชน และกลุ่มคนรักษ์สายน้�ำ นายวนิ ัย เพชรอไุ ร ๑. บทเกร่นิ น�ำ ยามเชา้ แสงอาทติ ย์ใหไ้ ออนุ่ สะแปอิง ยนื อยคู่ กู่ บั ภรรยา ทอดสายตา มองดูแผงตากปลา รอเวลา ไอแดดอบแห้งอย่างมีความหวัง แผงนั้นเรียงราย มากมายตลอดชายฝั่งแหลมตาชี อันเกดิ จากสัมมาชีพของผู้คนพื้นถิน่ ทวิ มะพร้าวยืนต้นวางระยะ ถูกสายลมพดั ใบพลิว้ ถดั ไปท่ีปลายแหลม สนทะเลจบั จองเขตแดนดรู ม่ รนื่ แวว่ เสยี งใบสนเสยี ดสลี มคราง แขง่ กบั คลนื่ ยาม รัญจวนฝงั่ ดงั ระรีร้ ะรกิ หมเู่ มฆขาวลอยฟ่องบางเบาขนานกบั ท้องน�้ำไปบรรจบ กนั ทป่ี ลายฟ้า พาให้ใจคนท้ังคูส่ ุขใจ ภวังค์แห่งความคิดของสะแปอิง คล้ายย้อนเวลากลับไปดูหนังเงียบ ประดังมาท้ังสุขทุกข์ หลายช่วงเวลาผคู้ น --- --- สายลมแห่งการเปลี่ยนแปลงและกาลเวลา ได้พัดพาเสียงเพลง พื้นบ้าน, เพลงกล่อมเด็กเก่าก่อนของเมืองปัตตานี อีกทั้งเพลงมะอีนังลามา หรอื มะอีนงั ชวา ไปจากความทรงจ�ำของผ้คู นในภูมิภาคแห่งน้ี แมแ้ ต่การแสดง “มะโยง่ ”ซงึ่ กลายมาเปน็ การละเลน่ ตอ้ งหา้ มของวถิ อี สิ ลามในปจั จบุ นั บทเพลง

เรื่องดีๆ ทบ่ี า้ นเรา 249 รองเง็งลาฆูดูวอดั้งเดิม ลานัง, ปูโจ๊ะปีซัง, จินดาซายัง ฯลฯ เน้ือเพลงและ ท่วงท�ำนองเหล่าน้ัน น้อยคนท่ียังจดจ�ำ มีแต่ค่อยๆ ลดความส�ำคัญลงไป ตามยคุ สมยั จนคนรุ่นใหมไ่ ม่ร้จู กั รากเหงา้ ชมุ ชน สรรพส�ำเนียงฆ้อง ไวโอลิน กีตาร์ และปี่กลองร�ำมะนา แผ่วเบา ตามสงั คมยคุ โลกาภวิ ตั น์ มีดนตรีตะวันตกมาแทนท่ี เวลานล้ี มหายใจของสลี ะ,มะโยง่ ,ดเิ กรฮ์ ลู ,ู มโนหร์ า,รองเงง็ กำ� ลงั รวยรนิ แม้การแต่งกายชุดพ้ืนเมืองของชายในชุดรองเง็ง อันมีหมวกแขกสีด�ำ สวมเสอ้ื แขนยาวคอกลมผา่ ครงึ่ อก กางเกงขายาวคลา้ ยกางเกงจนี สเี ดยี วกบั เสอื้ มีโสรง่ สวมเหนือเขา่ ทับกางเกงทีเ่ รียกวา่ “ซอแกะ๊ ” หรือการแต่งกายของหญิงสาวที่เคยสวมเสื้อบันดงแขนกระบอก ลกั ษณะเส้อื แบบเข้ารูป คลุมสะโพก ผ่าอกยาวตลอด ติดกระดมุ ทองเปน็ ระยะ สสี วยสดเชน่ เดยี วกบั ผา้ นงุ่ ซงึ่ กรอมเทา้ มผี า้ บางๆ สสี วยงามคลมุ ไหลห่ รอื ศรี ษะ ...นนั่ ก็เป็นอกี ภาพท่ีปรากฏในความทรงจำ� เวลานช้ี ดุ แตง่ กายอนั ทรงคณุ คา่ ของหญงิ สาวทย่ี งั พอเหน็ อยดู่ จู ะเหลอื เพียงชุดกุรงและชุดบานง ซ่ึงผู้คนส่วนหนึ่งนิยมสวมใส่แค่ในเทศกาลส�ำคัญ แม้ชายเองก็เปลี่ยนจากการนุ่งโสร่งตามปกติไปเป็นชุดสามัญเช่นผู้คนทั่วไปใน ภูมิภาค จนในวถิ ีประจ�ำวัน เราอาจแยกไม่ออกวา่ หญิงชายใดเคยเป็นเจา้ ของ วัฒนธรรมเก่ากอ่ น ๒. อดตี ทพี่ อ่ เล่า ผู้เขียนเองก็เป็นคนปัตตานีโดยกำ� เนิด เช่นเดียวกับสะแปอิง และอีก หลากหลายผู้คนซึ่งเลือกเดินบนเส้นทางและวิถีชีวิตต่างกันไปตามความชอบ มาตภุ มู นิ ค้ี อื แหลง่ ทำ� กนิ มเี บอ้ื งหลงั การตอ่ สขู้ องผคู้ นรว่ มกนั มา ลองตดิ ตามมา สิครบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook