300 เรอ่ื งดๆี ทีบ่ ้านเรา และส่องร่องต้นยาง ตะเกียงนี้ติดท่ีหน้าผาก ย่าบอกว่าสะดวกดี เพราะ ไมต่ ้องถอื สามารถใช้มือทั้งสองจบั มดี ตดั ยางได้รวดเร็วขึ้น การตัดยางนั้น ย่าเล่าว่าต้องใช้มีดท่ีคม ตัดยางเซาะเน้ือไม้และแตะ น�้ำนมยางท่ีแห้งติดในร่องออกก่อน น�้ำนมยางจากร่องแผลที่ตัดหรือกรีดใหม่ ไหลมาบรรจบกนั ตรงกลางเป็นรูปเหมือนลูกศร ตรงนนั้ เขาจะเอาซดู ู หรือชอ้ น ยางท่ีท�ำด้วยสังกะสีเสียบไว้กับล�ำต้น ให้น�้ำยางไหลลงสู่กะลาหรือชามยางที่ วางไว้หรือจะเอากะลา หรือชามยาง (พรกหรือมาโกะ) วางบนงา่ มที่ยันล�ำต้น นำ้� ยางจะไหลดี ถ้าเรากรดี ในเวลากลางวนั ความร้อนของดวงอาทิตยท์ ำ� ใหน้ �้ำ ยางแห้งไป ดังนัน้ การกรีดยางตอ้ งทำ� ในเวลากลางคนื ตอนเช้า นำ�้ ยางจะไหล ไมม่ ากแลว้ พอกรดี ยางหมดทงั้ สวนแลว้ กเ็ กอื บรงุ่ เชา้ หลงั จากนนั้ กจ็ ะนงั่ พกั รบั ประทานอาหารที่เตรียมไว้จากบ้าน มีข้าวกับปลาเค็ม พอประทังความหิว ถึงเวลาเก็บน้�ำยางแล้วก็ต้องตามเก็บทุกต้นจนกว่าจะหมด ใส่ลงไปในถัง บางตน้ กต็ อ้ งลอกเอาเศษยางทแี่ ห้งค้างอย่ใู นกะลาออกมาใส่ถงั จนหมดทกุ ต้น แลว้ ต้งั หนา้ ต้งั ตาหาบไปรวมกนั ในถัง ท่เี พิงพกั เพอื่ ทำ� ยางแผน่ ต่อไป วิธีท�ำยางแผน่ นัน้ ก็ตอ้ งใสใ่ จเป็นพิเศษ ย่าบอกว่า เริ่มแรกต้องจัดการ กรองนำ้� ยางผา่ นกระชอนทที่ ำ� ดว้ ยไมไ้ ผส่ านหรอื ใชต้ ะแกรงถที่ ส่ี ดุ หรอื อาจจะใช้ ฟางรองกน้ ถงั ทร่ี ว่ั นำ้� ยางทกี่ รองจะใสสะอาดเหมอื นนำ้� นม เรยี กวา่ ซซู กู อื เตา๊ ะ ในภาษาไทย เรยี กวา่ นำ�้ นมนาง ทนี ถ้ี งึ เวลาใสต่ ากง (ตากงทวี่ า่ ทำ� ดว้ ยปบ๊ี นำ�้ มนั กา๊ ด ป๊บี ๑ ใบผา่ ตามยาวให้เทา่ ๆ กัน จะได้ตากง ๒ ใบ) หรือกระบะทีว่ างเรยี ง ไวเ้ ปน็ แถวใหเ้ ทา่ กนั ทกุ ตากง ตวงนำ�้ นมยางใสล่ งไปตวงนำ�้ สะอาดผสมลงไปดว้ ย พอประมาณ ทง้ั สองอย่างรวมกันให้ได้เกอื บเตม็ ตากง หลังจากนัน้ ก็ตวงนำ้� ส้มยาง (น้ำ� กรดทีผ่ สมนำ้� หลายๆ เท่า) ผสมลงไป ในนำ้� ยางแลว้ คนใหเ้ ขา้ กนั การผสมนำ้� กรดตอ้ งระมดั ระวงั เพราะอาจจะโดนมอื เป็นแผลเหวอะหวะได้ ยา่ บอกว่าแต่ก่อนน้นั จะใชน้ ้ำ� ส้มธรรมชาตดิ ว้ ยการดอง เปลือกผลไม้หรือผลไม้ต่างๆ แต่ตอนหลังมีน้�ำกรดขายก็ใช้น้�ำกรด เพ่ือความ
เรือ่ งดีๆ ท่บี ้านเรา 301 สะดวกและไม่เสยี เวลา หลงั จากนั้นไมน่ าน น�้ำยางก็จะจบั ตัวเปน็ รูปสีเ่ หล่ยี มสี ขาวนมุ่ นมิ่ ถึงเวลาท่ีจะไดเ้ อาออกจากตากง รีดใหแ้ บนดว้ ยมอื กอ่ นท่จี ะรีดด้วย จกั รรีดยาง เสรจ็ แล้วไปตากไวใ้ หแ้ ห้งบนราวไม้ไผท่ ี่เตรยี มไว้ พอแหง้ ดแี ล้วก็นำ� ไปเก็บ อาจจะเก็บท่ใี ตถ้ นุ บ้านทีท่ �ำราวดว้ ยไม้เตรียมแล้ว รวบรวมหลายๆ วัน จนกวา่ ตอ้ งการทจี่ ะขาย เพอ่ื เอาเงนิ มาเลย้ี งชพี เลยี้ งครอบครวั ของแตล่ ะคน เงนิ ท่ไี ดก้ ม็ าแบ่ง ๒ สว่ น เจา้ ของ ๑ สว่ น ลกู จา้ ง ๑ ส่วน สำ� หรับปแู่ ละย่าบอกวา่ การกรีดยางในแต่ละคร้ังน้ัน เถ้าแก่ให้เงินเพ่ิมเป็นพิเศษเสมอ เพราะเขาเห็น ความซ่ือสัตย์ความประณีตเรียบร้อยในการกรีดยาง หน้าต้นยางไม่เสีย ตัดไดเ้ ปน็ เวลานาน แม่ของผม ชว่ งทม่ี าอยูแ่ ว้งใหม่ๆ กก็ รีดยางไมเ่ ปน็ จงึ ไปช่วยยา่ เก็บน�้ำ ยาง ตอนหลัง เริ่มฝึกกรีดยาง แรกๆ ก็กรีดจนถึงแก่นของไม้ยาง ตอนหลัง ยา่ สอนวธิ กี รดี ทถ่ี กู ตอ้ งกก็ รดี ได้ แมเ่ ล่าอกี วา่ ปขู่ ายยางแลว้ ใหเ้ งนิ เขา ๔๐๐ บาท เปน็ ครัง้ แรก แม่ดใี จมากได้ซื้อขนมใหล้ กู ตอนหลงั แมไ่ ด้เรียนตอ่ จนจบปริญญา ตรีพร้อมๆ กับเลี้ยงลูก ท�ำงานอาชีพครูจนถึงปัจจุบัน แต่คุณแม่ก็ไม่ลืมอาชีพ ชาวสวน วันหยุดเสาร์ อาทิตย์ มกั จะชวนผมเข้าสวนเพอ่ื ดตู ้นยางทกี่ �ำลังเจริญ เตบิ โตและฝากความหวงั ไวว้ า่ ตอ่ ไปลกู หลานไมม่ งี านอยา่ งอนื่ ทำ� กย็ งั มสี วนยาง ถึงแม้จะไม่มากแต่ก็สามารถเล้ียงชีวิตได้ ดูตัวอย่างปู่ย่า ไม่มีสวนยางเป็น ของตัวเองเลย กรีดยางของคนอน่ื ยงั สามารถเลี้ยงลกู หลานหลายคนได้ ผมได้ฟังย่าเล่าแล้วรู้สึกภูมิใจและช่ืนชมในความอดทนท่ีอดหลับอด นอนเดนิ ทางไกลกวา่ จะถงึ ทท่ี ำ� งานขยนั หมน่ั เพยี ร และมคี วามซอ่ื สตั ยต์ อ่ อาชพี ตนจนเถ้าแก่ไว้วางใจ สามารถเล้ียงครอบครัวใหญ่ได้ พ่อได้เรียนหนังสือ จนมีอาชีพรับราชการ จากที่ตอนแรกท่ีไม่ค่อยเข้าใจว่า ท�ำไมคนสมัยก่อน จะปล่อยให้ลูกๆ ช่วยตัวเองต้ังแต่เล็กๆ ปล่อยให้ลูกอยู่บ้าน พอตื่นเช้าข้ึนมา ก็ตอ้ งจัดการตัวเองอาบน้ำ� แต่งตวั เพ่อื ไปโรงเรยี น โดยไมม่ ีใครดแู ลเป็นพเิ ศษ
302 เร่ืองดีๆ ทบี่ า้ นเรา ถึงตอนน้ีเข้าใจแล้วว่าความรับผิดชอบต่อครอบครัวท่ีจะให้สมาชิก ในครอบครัวมีกินมีใช้ ได้เรียนหนังสือ ต้องอาบเหง่ือต่างน้�ำ กว่าจะได้เงินมา ผมรสู้ กึ ได้ว่าความเหน่ือยยากนนั้ แท้จรงิ ท่านมคี วามสขุ ผมต้งั ใจวา่ สกั วนั หน่ึง ผมจะต้องหาโอกาสท�ำอาชีพชาวสวนยางบ้าง ต้นยางที่พ่อปลูกไว้ ไม่นานเกิน รอ สามารถใหน้ ้�ำยางได้ ตอนอายุ ๗ ปี กก็ รีดได้ ผมจะคอยถึงวันนน้ั หลังจาก ผมเรียนจบ ช่วงปิดภาคเรียนน้ีก็ช่วยถางหญ้าใส่ปุ๋ยก่อน ต้นยางจะได้โตไวๆ พอเหน็ ช่องทางประกอบอาชีพในอนาคตแล้ว ย่าเล่าว่า สมัยท่ีปู่ยังมีชีวิตอยู่ที่บ้านเมนั้นเป็นท่ีฝึกซ้อมศิลปะ ป้องกันตัว เช่น ซีละ (ปันจักสีลัต) มวยไทยสมัยพ่อยังเด็ก เคยฝึกมวยไทย และซีละร่วมกับชาวบ้านที่สนใจและคอยชกมวยไทยบนเวทีใหญ่มาแล้ว สว่ นการละเลน่ ตา่ งๆ เชน่ ซลี ะ ตบี านอ กรอื โตะ๊ หลงั ละมาด กม็ ชี าวบา้ นในแวง้ ท่ีสนใจมาร่วมกันท�ำเครื่องตีหรืออุปกรณ์บานอ กรือโตะ จนดึกด่ืน ซ้อมตีกัน เสยี งกระหมึ่ พอมงี านแสดงทท่ี างอำ� เภอจดั จะแสดงพลงั เสยี งโชวใ์ หแ้ ขกเหรอื่ ดู ดเิ กร์ฮลู ูกม็ ี ปัจจบุ นั ไดม้ ีวทิ ยากรในหมูบ่ ้านที่เก่งดา้ นนี้ฝึกซ้อมนักเรียนประถม ศึกษาในเรื่องการแสดงดิเกร์ฮูลู จนสามารถออกแสดงบนเวที ได้รับรางวัลใน ระดบั ภาคใต้ แมผ่ มภมู ใิ จหนกั หนาทลี่ กู ศษิ ยข์ องเขามสี ว่ นในการเชดิ ชวู ฒั นธรรม ซึ่งเป็นมรดกตกทอดล�้ำค่า สวยงามแบบหนึ่งที่คนรุ่นหลังควรจะอนุรักษ์ไว้ ตลอดไป วิถีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ในปัจจุบันไม่เปล่ียนแปลงสักเท่าใดนัก สถานที่ต่างๆ ก็มีมานานแล้ว ในแว้งมีสนามกีฬาต้ังอยู่ที่ว่าการอ�ำเภอ เป็นสนามใหญ่ ใช้เป็นที่จัดงานส�ำคัญๆ ถ้าไม่มีงานพวกหนุ่มๆ และเยาวชน ในอ�ำเภอแว้งมาซ้อมฟุตบอลทนี่ ่ีและเปน็ ทแ่ี ข่งขันกีฬาประเภทตา่ งๆ ทุกปีจะมี การแข่งขันกีฬา อบต. กฬี านักเรยี น และขา้ งสนามฟุตบอลกฬี า มีสนามเทนนสิ สนามเดก็ เลน่ และยังมีสถานตี �ำรวจภธู ร ท่ีวา่ การอ�ำเภอแว้ง โรงเรียนบ้านแว้ง ซงึ่ เมอื่ กอ่ นเรยี กวา่ โรงเรยี นประชาบาล ปจั จบุ นั เปน็ โรงเรยี นขนาดใหญ่ มวี ดั เขา
เรอื่ งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา 303 เขม็ ทองเปน็ ศนู ยร์ วมใจของคนไทยพทุ ธ มมี สั ยดิ ตามรามเปน็ ศนู ยก์ ลางพธิ กี รรม ทางศาสนาอิสลาม ตลาดนดั เทศบาลแวง้ ที่ทำ� การเทศบาลแวง้ ปจั จบุ ันกม็ อี ยู่ ในทเี่ ดิม แตม่ กี ารพัฒนา ทาสี ปรบั ปรงุ ให้มันดีขึ้นเทา่ น้ัน อาหารการกนิ ไปทแ่ี ว้งไมม่ คี �ำว่า อด ที่น่ี ตอนเชา้ ต่ืนมาจะกินอาหาร อะไรก็มีให้ซื้อหา นาซิดาแฆ นาซิลือเมาะ ปูโละกายอ ข้าวย�ำ ย�ำผักกูด แกงข้ีเหล็ก ยิ่งในช่วงการถือศีลอด จะมีบริการขายอาหารมากเป็นพิเศษ ขา้ วยำ� บก (นาซริ าบดู าระ) สว่ นผสมคล้ายขา้ วยำ� แตจ่ ะมสี ว่ นผสมของสมนุ ไพร หลายๆ อย่าง เป็นอาหารท่ีย่าชอบ เป็นอาหารโบราณ ในเดือนถือศีลอด ย่าจะละศีลอดดว้ ยการกินข้าวยำ� บกเสมอ เพราะจะรูส้ กึ อ่ิม ไมแ่ นน่ ทอ้ ง จะได้ ไปละหมาดตะราแวะห์ท่มี ัสยดิ อยา่ งสบายใจ เมอ่ื กอ่ นในแวง้ จะมีร้านค้า รา้ นอาหารขายน�้ำชากาแฟ ไม่ก่ีร้าน แตท่ ่ี ขึ้นช่อื มีอยู่ ๒ รา้ นคอื รา้ นโกฟกุ เปน็ คนเชอื้ สายจีน กับรา้ นอาลี (กลิงค์) แขกด�ำ รปู รา่ งเล็กแกร็นผวิ ดำ� เขาอพยพมาอย่างไรไม่ทราบได้ แต่ท้ังสองรา้ นนจ้ี ะขาย นำ�้ ชากาแฟ อรอ่ ยมาก รา้ นอาลจี ะมชี าวบา้ นมาอดุ หนนุ กนั แนน่ ขนดั โดยเฉพาะ รา้ นอาลี จะมโี รตีจานาขาย ถา้ โรตจี านาไมใ่ ส่ไข่ ราคาถกู มาก ถา้ ใสไ่ ข่กจ็ ะแพง หน่อย แต่คนก็ซ้ือกินจนท�ำแทบไม่ทัน นอกจากนั้นท่ีร้านอาลีก็ยังมีข้าวย�ำ ข้าวเหนยี วหวาน นาซดิ าแฆ แกงไก่ แกงปลา ส่วนร้านโกฟุก จะมขี า้ ราชการไป กนิ เสียสว่ นมาก ชาวบา้ นไม่คอ่ ยมี นอกจากนแ้ี ล้วการเรข่ ายอาหาร โดยเฉพาะ ไก่กอและ ของเมาะซง ของโตะ๊ ยีแต อร่อยมาก ข้าวตม้ มดั ขนมสอดไส้ ขา้ วเมา่ ของโต๊ะเมาะเย๊าะ ตอนน้ันซ้ือ ๑ สลึง ๕๐ สตางค์ ก็อิ่มแล้ว ย่าบอกว่าพ่อ ตอนเล็กๆ ร้องเรียกแตจ่ ะกินขนมเหล่านน้ั ปัจจุบันน้ีร้านอาลี กับร้านโกฟุกได้ปิดตัวลงเพราะได้เสียชีวิตไปนาน แล้ว แต่ก็ยังมีร้านอื่นท่ีผุดข้ึนมาสืบทอดเป็นร้านน�้ำชากาแฟ ขายโรตีจานา ขายข้าวแกง ข้าวย�ำ นาซิดาแฆ ปูโละกายอ สารพัด อาหารมีให้ชิมลิ้มรส ในยามเช้า หลายร้าน ลว้ นแต่มีชื่อเสยี งเพราะขายมานาน แสดงถงึ ความอรอ่ ย
304 เร่ืองดีๆ ทบี่ ้านเรา ของรสชาติที่ยังขายได้ตลอดเวลาผู้คนอุดหนุนกันเนืองแน่นเป็นความชินตา ท่ีเห็นกันทุกวันในยามเช้าและยามเย็น เพียงแต่ราคาจะแพงขึ้นตามภาวะ เศรษฐกิจ แต่บางครอบครัวจะท�ำกินเอง เพราะสมาชิกในครอบครัวหลายคน เป็นการประหยัดรายจ่าย ช่วงนี้การประหยัดด้วยการหัดท�ำอาหารกินเอง ปลูกผัก เลี้ยงเป็ด เล้ียงไก่ เล้ียงปลา ตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว เป็นการดี ไมม่ ีวันอบั จนและปลอดภัย ผมยังคดิ เลยวา่ ขา้ งๆ บ้านมีทวี่ า่ ง จะตอ้ งปลกู ผักเพม่ิ อีก จากที่ปลูกอย่แู ลว้ หลายชนดิ พอ่ แม่ ยา่ คงดใี จและภาคภมู ใิ จในตัวผม แว้งจากเดิมเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ขยับขยายได้ช่ือว่าเป็นเทศบาล อ�ำเภอ แต่เต็มไปด้วยผู้คนหลายเผ่าพันธุ์อยู่รวมกันอย่างสงบสุข แบ่งกันด้วย ภาษาเปน็ สำ� คัญ ตามดว้ ยศาสนาทีน่ บั ถอื การแตง่ กาย แลว้ ก็อาชพี ขา้ ราชการ พ่อค้า เกษตรกร ขายของในตลาด หลากหลายวัฒนธรรมจริงๆ สมัยก่อน เด็กๆ ทีน่ ่ีจะมองความแตกตา่ งๆ ทางเชื้อสาย ภาษาพดู เดก็ มุสลิมจะพูดภาษา ถนิ่ (มลายู) แต่เด็กไทยพูดภาษาปกั ษใ์ ต้ ปจั จุบนั น้ีท้ังเด็กไทยพุทธ ไทยมสุ ลิม ถ้าพบหน้ากันก็จะกล่าวทักทายกัน เป็นภาษาไทยกลางหรือภาษามลายูถิ่น หน้าตาคนไทยมสุ ลิมก็จะหน้าตาคมเขม้ กว่าคนไทยพุทธ การแต่งกายถ้าสมัยก่อนการแต่งกายจะต่างกันมา มุสลิมจะแต่งผ้า ปาเต๊ะ ยาวกรอมเทา้ ผา้ ปาเตะ๊ เปน็ ผา้ ซิ่นพมิ พล์ ายดอกไม้ ใบไม้ ด้วยวิธยี ้อม ข้ีผง้ึ (ปาเต๊ะลเี ล็ง) ถา้ จะเปน็ อยา่ งดี ตอ้ งปาเต๊ะยาวอ สวมเสอื้ แขนยาว ผา่ อก แบบเดยี วกันหมดแต่ต่างสีกนั ติดเข็มกลัด แทนกระดมุ เปน็ รปู ต่างๆ ทงั้ รูปเงนิ รปู เหรียญ ผีเสือ้ นก มสี ร้อยร้อยตดิ กนั เป็นแถวจากบนลงลา่ ง (ของย่ากย็ ังมีอยู่ เปน็ รูปเงิน) สว่ นเดก็ ไทยนน้ั แตง่ แบบใดก็ได้ ทรงผม เดก็ ไทยมุสลิมจะไวผ้ มยาว ถา้ ปลอ่ ยกส็ ลวยด�ำสนิท ชโลมดว้ ย น้ำ� มันมะพร้าว เกลา้ เปน็ มวยต�่ำไว้ทท่ี า้ ยทอย ส่วนเด็กหญิงไทยจะตดั ผมสน้ั ไว้ ผมหน้าม้า ย่าบอกว่าเด็กๆ ในหมู่บ้าน สมัยก่อนส่วนมากจะมีเหากันมาก
เรอ่ื งดๆี ท่ีบ้านเรา 305 เวลาจะกำ� จัดเหา ก็จะใชม้ อื แหวกผมหาเหาใหก้ ัน พอแหวกผม พบตวั เหาหรือ รดู ไขเ่ หาได้ ก็จะเอามันออกมาวางบนเล็บหัวแมม่ อื ขา้ งหน่ึงใชเ้ ลบ็ หัวแม่มอื อกี ข้างเด็ด จะเพลิดเพลนิ มาก ทง้ั ผหู้ าเหาและผู้ที่โดนจับเหา สงสัยจะหลับคามอื พอถึงวัยแก่ๆ มีหงอกก็มักจะให้ลูกหลานถอนหงอก การถอนหงอก ย่าบอกวา่ จะใช้ปูนกินหมากของทวด ในเต้าปนู แตะเข้าท่นี ้วิ ชี้ และน้วิ หวั แมม่ อื พอปูนหมาด น้ิวก็จะสาก จับเส้นหงอกได้แน่นและดึงออกมาได้ง่าย หรือบาง ครง้ั จะใชเ้ มลด็ ขา้ วเปลอื กถอนหงอกไดส้ ะดวกเหมอื นกนั ปจั จบุ นั มใิ ชป่ ญั หาแลว้ ยากำ� จดั เหา ใบนอ้ ยหนา่ กใ็ ชไ้ ด้ รกั ษาความสะอาด สระผมดว้ ยแชมพู เหากไ็ มม่ ี ตอนนผี้ มหงอกก็ยอ้ มผม จะยอ้ มเปน็ สีนำ�้ ตาล สีขาวเทไ่ ปอีกแบบ พดู ถงึ การสระผมของคนสมยั ก่อน ย่าเล่าวา่ เขาจะขูดมะพรา้ วมาคนั้ เปน็ กะทิ ใส่ในภาชนะเปน็ กะลามะพร้าว ทิง้ ค้างคนื ไว้ก่อน พอถงึ รุง่ เชา้ กะทจิ ะ ข้นและมกี ลิน่ เหม็น เปรยี้ ว เขาจะเอากะทขิ ้นเหมน็ น้ี นวดผมให้ทว่ั ทงิ้ ไวห้ ลาย ชัว่ โมงก่อนถึงจะสระออก ผมสงสยั จึงถามวา่ ท�ำไมตอ้ งกะทคิ า้ งคืนมาหมกั ผม ย่าอธิบายว่า การค้างคืนนั้นจะดีกว่าไม่ค้างคืน ถึงแม้จะเหม็นเปรี้ยวก็ตาม จะท�ำให้ผมดำ� สนิท ไม่หงอกเร็ว น่ีคอื เคล็ดท่ไี มล่ บั ของคนโบราณ ถ้ามาสมัยนี้ จะใช้แชมพู สะดวกสบาย กล่ินก็ไม่เหม็น นอกจากนี้แล้ว ยังมี กูเร็ง (สะบา้ ) จะใช้เปลือกหรือรากของต้นสะบ้า ชาวบ้านจะน�ำเปลือกและรากสะบ้าไปตาก แดดจนแห้งสนทิ เก็บไวใ้ ช้ไดน้ าน เวลาทจ่ี ะใช้กจ็ ะเอามาทุบให้แตกยุ่ย เป็นเสน้ เลก็ ๆ แชน่ ้ำ� เข้ามนั จะเปน็ ฟอง เหมอื นสบู่ ใชส้ ระผมไดท้ นั ที นอกจากเอากะทิ คา้ งคนื เปลอื กและรากสะบา้ นำ้� ซาวขา้ ว มะกรดู มะนาว กใ็ ชไ้ ด้ นอกจากใชก้ ะทิ ในการหมักผมแล้วยังใช้น�้ำมันมะพร้าวไว้ใช้รับประทานในครัวเรือน และทาผมดว้ ย ย่าบอกว่า สมัยก่อนชาวแว้งทุกครัวเรือนจะปลูกต้นมะพร้าวและน�ำ มะพรา้ วทไี่ ด้ทำ� สารพดั ประโยชน์มาขดู ดว้ ยเหลก็ ขดู แล้ว จะค้ันกะทิ ใส่กระทะ ต้งั ไฟ เคี่ยวเปน็ น�ำ้ มนั ในการคัน้ กะทนิ นั้ จะตอ้ งนวดมะพร้าวท่ีขูดแล้วดว้ ยน้�ำ
306 เรือ่ งดีๆ ทีบ่ ้านเรา อุ่นทีละน้อยในอ่างดินเสียก่อน เพื่อให้น�้ำมันมะพร้าวออกมาเป็นกะทิให้หมด เหลือกากไว้ให้เปด็ กินผสมกบั สาคู กวา่ จะไดล้ กู มะพรา้ วใหพ้ วกเราไดก้ นิ กม็ หี ลายวธิ ี อาจจะขน้ึ ไปเกบ็ เอง สอย หรือคอยให้มันหล่น หรือ ถ้ามีมากจะให้ลิงข้ึน หรือจ้างคนไต่ไปเก็บ ลิงถูกฝึกให้ดูว่า ลกู ไหนสุกจนหา้ ว ลูกไหนยังอ่อนอยู่ แตบ่ างทเี จา้ ของกม็ สี ว่ น ช่วยเลือกดว้ ย พอเห็นลกู มะพร้าวทต่ี อ้ งการเขาจะร้องฮอๆ เป็นการบอกลิงให้ ปลดิ ออกจากเครอื ได้ ส่วนการเก็บด้วยคนน้นั พ่อบอกวา่ ในแว้ง คนทีม่ อี าชพี เก็บมะพร้าวหลายคน แต่ท่ีเห็นข้ึนเก็บมะพร้าวที่บ่อยท่ีสุดชื่อว่าเปาะเป็ง ผมกย็ งั ทันไดเ้ ห็นเขาไตต่ น้ มะพรา้ ว ตอนนไ้ี ด้เสยี ชวี ิตมาหลายปีแล้ว ถา้ ตน้ มะพร้าวไมส่ ูง ก็จะใชไ้ ม้ไผส่ อย ลงุ ของผมจะถนัดวิธนี ี้ แตถ่ ้าสูง จะไตเ่ ท่าน้ัน เขาจะป้นั เตย่ี วดว้ ยผ้าท่ีนงุ่ อยู่น้นั แลว้ กไ็ ตข่ น้ึ ไปอยา่ งรวดเรว็ โดย การโก่งตัวยึดแขนขาออกไปจนสุด แล้วกระโดดกระด๊ึบๆ ข้ืนไปอย่างรวดเร็ว เหลอื เชอื่ ดเู หมือนเขาไต่ไปง่ายดาย ราวกบั เดนิ อยบู่ นลำ� ตน้ ของตน้ มะพร้าวท่ี สงู ลวิ่ อยา่ งนนั้ เวลาขนึ้ ตน้ หมากเขากท็ ำ� เชน่ นเี้ หมอื นกนั แมบ่ อกว่าตน้ มะพรา้ ว บางต้นมีการบากใหเ้ ป็นรอยอย่างตน้ื ๆ เหมอื นข้นั บันได สำ� หรับใหค้ นไต่ข้นึ ไป ใช้เท้าเกาะไปได้เร็ว ไม่ลื่น และใช้ห่วงหวายก็จะยิงเร็วขึ้น เป็นความสามารถ พิเศษส�ำหรับเขาโดยเฉพาะท่ีท�ำได้ ส่วนผมนั้นไม่เคยปีนต้นมะพรา้ วส�ำเร็จเลย คร้ังหนึ่งตอนเด็กๆ ปีนต้นหมากเต้ียๆ หลังบ้านเพื่อดูรังนก ปรากฏว่าลงมา ไม่ได้ หวาดเสียว เดือดร้อนถึงพ่อต้องช่วยให้ลงมา แต่ต้นเงาะต้นมังคุดปีนได้ เพราะมีก่งิ มงี า่ มเยอะ นง่ั บนก่งิ บนงา่ ม รอ้ งเพลง สบายอารมณ์ เทศกาลวนั รายออดิ ลิ ฟติ รแี ละรายออดิ ลิ อดั ฮา กอ่ นทจ่ี ะถงึ เทศกาลวนั รายออิดิลฟิตรีและอิดิลอัดฮา ทุกคนจะต่ืนเต้นกันมาก โดยเฉพาะเด็กๆ ถ้าวันนั้นมาถึง จะเป็นวันท่ีพวกเขามีความสุขที่สุด ได้กินขนมอร่อยได้เงินท่ี ผู้ใหญ่หยิบย่ืนให้ ทุกคนตั้งหนา้ ต้ังตาท่ีจะให้ถึงวันนี้ ผู้ใหญ่ก็เช่นกัน จะได้ท�ำ ของกนิ อรอ่ ยๆ แจกกนั ทกุ บา้ น ทกุ บา้ นจะไดข้ นมทตี่ า่ งคนกต็ า่ งใหแ้ กก่ นั ตมุ ปตั
เร่อื งดีๆ ที่บ้านเรา 307 (ขา้ วตม้ มดั ทหี่ อ่ หมุ้ ดว้ ยใบพอ้ ) นนั้ จะทำ� กนั ทกุ บ้านอยแู่ ลว้ แบง่ ปนั กนั ใครทยี่ งั ไมม่ ีเสื้อผา้ ใหมๆ่ ก็จดั การตดั เยบ็ ซอ้ื หามาเปน็ การใหญู่ ถา้ ไมม่ กี ็เลอื กเอาท่คี ิด ว่าสะอาดและดูดีที่สุด ยิ่งตอนไปท่ีมัสยิดหรีอสุเหร่า ทุกคนดูสะอาดเอ่ียม พร้อมท้ังบ้านเรือนก็ต้องสะอาด เพราะฉะนั้นบ้านใครที่ยังไม่สะอาดไม่เป็น ระเบียบก็จะถูกจัดใหม่อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ปัจจุบันนี้ก็ยังคงปฏิบัติ เหมอื นเดมิ ทกุ ประการ สมัยก่อนย่าเล่าว่า เส้ือผ้าไม่ค่อยมีใช้ หลังสงครามโลกจะขัดสนมาก ได้แค่ผ้าโสร่งเก่าๆ ก็พอแล้ว เส้ือสวมบ้างไม่สวมบ้าง ผ้าขาวม้า ท่ีใช้สารพัด ประโยชน์ แต่อย่างเดียวที่ขาดไม่ได้คือกริช ผู้ชายจะมีกริช หรือไม่ก็ขวาน จะเหนบ็ ที่เอวไวเ้ สมอ สว่ นผ้หู ญิงจะดหี น่อย ถงึ ไม่หรูหรา ก็มดิ ชดิ ครบถ้วนท้งั ผ้านุ่ง เส้ือแขนยาว และผ้าคลุมศีรษะ ต่อมาบ้านเมืองสงบเศรษฐกิจดีขึ้น เส้ือผ้าก็มีขาย ผู้ชายจะสวมกางเกงขายาวสวมเส้ือแขนยาวสีอ่อนคอปิด แถมยังนุ่งผ้าทับนอกกางเกงและเส้ืออีกชั้นหน่ึง สวมหมวกบนศีรษะ ถ้าหาก ประกอบพธิ ฮี จั ญแ์ ลว้ จะสวมหมวกกลมสขี าว หมวกหนบี สดี ำ� สนี ำ�้ ตาล สำ� หรบั บคุ คลทัว่ ไป ถ้าบุคคลใดไม่มแี ล้วแต่ความสะดวกจะโพกศีรษะกไ็ ด้ สว่ นผู้หญงิ จะยิ่งสวยเป็นพิเศษ รูปร่างหน้าตาสวยไม่สวยไม่ส�ำคัญ แต่วันนี้ดูสวยทุกคน เพราะเสือ้ ผ้าใหม่เอี่ยมสะอาดสะอา้ นจริงๆ หลงั จากได้ แต่งตัวสวยๆ ด้วยชุดหลากหลายสีลว้ นสวยงามแล้ว ใครที่ มที องก็จะเอาออกมาใช้ สวมใส่ทัง้ สร้อยคอ สร้อยข้อมือ ตุ้มหู ก�ำไล แหวนรวม ท้งั เขม็ กลดั สวยอรา่ มทงั้ ตัว ชว่ งนี้ ร้านค้าในตลาดจะคึกคักดว้ ยผคู้ นทอี่ อกมา หาซื้อของเพ่ือเฉลิมฉลองในวันฮารีรายอ พร้อมที่จะต้อนรับญาติมิตรสหาย ท่ีจะมาเยือน หลังจากทุกคนไปละหมาดอิดิลฟิตรีร่วมกันท่ีมัสยิดเสร็จแล้ว ก็ทักทายขออภัยซึ่งกันและกัน ถ้าท่ีผ่านมามีเร่ืองท่ีรู้สึกขุ่นเคีอง ในวันน้ึ ความรู้สึกไม่ดีต่อกันก็จะลบเลือนหายไปในท้องฟ้ายามเย็นเป็นช่วงเวลาท่ี สมาชิกในครอบครัวอยู่กันพร้อมหน้า พ่อเคยเล่าให้ผมฟังว่า ปู่ชวนพ่อและ
308 เร่อื งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา เพ่ือนๆ ซ่ึงอยู่ในวัยเดียวกันกับพ่อไปเล่นวา่ วในทุ่งนา พอเล่าว่า ที่สนามหน้า อำ� เภอ มกี ารประกวดแขง่ ว่าว(ชกั ว่าว) เกอื บทกุ ปี คนในหมบู่ ้านแวง้ จากถน่ิ อนื่ เข้าร่วมแข่งขันกันมาก ปู่ของผมเก่งมาก สามารถประดิษฐ์ว่าวเป็นรูปต่างๆ ว่าวจุฬา ว่าวดวงเดือน ตอนผมยังเด็กเคยเห็นว่าวของปู่แขวนไว้ที่ผนังบ้าน ปัจจุบันไม่มีแล้วหลังจากท่ีร้ือบ้านไป ตอนน้ันผมสนใจการประดิษฐ์ว่าวมาก ให้พ่อช่วยสอนวิธีการท�ำ แต่พ่อไม่เก่งเหมือนปู่ ผลออกมาไม่ค่อยสวยและ ชักไม่ขึ้น ต่อมา พยายามแก้ไข สุดท้ายส�ำเร็จน�ำว่าวไปเล่นกับเพื่อนๆ สนุกสนานมาก ปัจจุบันการเล่นว่าวก็ยังมีให้เห็น หลานเล็กๆ ของผมดูว่าวที่ลอยอยู่ บนฟา้ จะตนื่ เตน้ มาก อยากไปดใู กลๆ้ ยอมรบั วา่ วา่ วเปน็ แรงบนั ดาลใจใหผ้ มคดิ ประดิษฐ์จรวดน้�ำ และเครื่องบินบังคับ และเรือยนต์เล็กๆ ในเวลาต่อมา สมยั ผมเรยี นประถมและมธั ยมตน้ เคยสง่ เขา้ ประกวดระดบั เขตไดร้ างวลั ซง่ึ เปน็ ความรสู้ กึ ทผี่ มภาคภมู ใิ จสามารถประดษิ ฐข์ องเลน่ ชนิ้ ใหมท่ ม่ี วี ่าวเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ชาวแว้งส่วนใหญ่ชอบการเล่นกีฬา ฟุตบอลเป็นกีฬายอดนิยมของคน ท่ีนี่ ปู่เคยเลา่ ให้แม่ผมฟังวา่ เมื่อก่อนฟุตบอลแว้งจะมีชื่อเสียงมาก จะแข่งขัน ตลอดและชนะทกุ คร้งั ระยะหลัง พอ่ ก็เป็นนกั ฟตุ บอลทม่ี ฝี ีเทา้ ดคี นหนึง่ ซ่ึงต่อ มาได้รับเชิญไปแข่งระดับจังหวัด ระดับเขตหลายครั้ง มีการแข่งฟุตบอลเม่ือไร ชาวบ้านออกมาดูฟุตบอลเต็มขอบสนามทุกที มาถึงรุ่นผม ผมเล่นในต�ำแหน่ง ผู้รกั ษาประตู ปจั จบุ ันกีฬาฟตุ บอลกย็ งั เปน็ ชีวติ จิตใจของคนทน่ี ่ีเหมอื นเดมิ นอกจากวิถีชีวิตที่เรียบง่ายท่ีเห็นจนชินตาแล้ว ยังมีเรื่องแปลกๆ หมอวิเศษรักษาก้างปลาติดคอได้ สมัยนี้ใครจะเช่ือไม่เช่ืออย่างไรก็สุดแล้วแต่ สมัยก่อน เมาะซูอยู่ฝั่งฟากคลอง ถ้าจะไปหาท่าน ต้องผ่านบ้ิงนาสองสามบ้ิง ก็จะถึงบา้ นเมาะซู ใครติดกา้ งปลา ถ้าพยายามเอาออกด้วยตัวเองไม่ไดต้ อ้ งพา ไปหาเขา เพยี งท�ำไอตาวา (น�ำ้ มนต์) โดยเมาะซหู ยบิ ฝาหมอ้ ทองเหลืองออกมา ตักน�้ำในโอ่ง เทลงไปสักคร่ึงแก้ว แล้วอ่านคาถาสักครู่หนึ่ง แล้วยื่นให้ด่ืม
เร่ืองดีๆ ที่บ้านเรา 309 เพียงอึดใจก้างที่ติดคอก็จะหลุดไป ย่าบอกว่าเป็นเช่นนั้นจริงๆ ท่านก็ท�ำได้ ผมก็ถามพ่อว่าจริงหรือไม่ พ่อบอกว่าย่าก็เป็นหมอรักษาก้างปลาติดคอ เหมือนกนั วัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่ดีๆ ท่ีผมได้เขียนตามค�ำบอกเล่าของผู้ใหญ่ ทผ่ี มจดจำ� ดงั กลา่ วแลว้ ยงั มวี ฒั นธรรมประเพณที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ศาสนา สมยั กอ่ น นั้นคุณยายผมบอกว่าพิธีรีตองมากมายเกี่ยวกับเด็กเกิดใหม่ การโกนผม ทารกน้ัน มักนิยมให้ผู้อาวุโสในหมู่บา้ นหรือโต๊ะบีแด หรือผู้ท่ีท�ำคลอดมาขลิบ ผมให้ หลังจากน้ันก็จะมีการเปิดปากเด็กทารก แล้วจะป้อนน�้ำตาลทราย ก้อนเล็กๆ น�้ำซัมซัมและใส่อุปกรณ์ต่างๆ ตามความเหมาะสม องุ่นแห้งของ ทงั้ หมดนไ้ี ดม้ าจากมกั กะฮ์ โดยเฉพาะนำ้� ซมั ซมั ซง่ึ เปน็ นำ้� ทไ่ี ดจ้ ากบอ่ นำ�้ ซมั ซมั ที่ มกั กะฮ์ นอกจากน้ีมเี กลอื มะนาว ผทู้ ำ� พิธีจะหยิบของเปรย้ี ว เคม็ หวานแตะท่ี ริมฝีปากเด็กด้วยต่อจากนั้นน�ำเด็กใส่ในกระด้งและใส่อุปกรณ์ต่างๆตามความ เหมาะสม การท�ำเช่นนี้เป็นการคาดหวังว่าเม่ือเติบโตขึ้นจะเป็นคนที่พูดเก่ง เป็นท่ีเช่ือถือของคนอื่นหรือการยกเด็กให้เป็นลูกคนอื่น บางทีเม่ือลูกมีอาการ เจ็บป่วย เลี้ยงยากก็จะเปลี่ยนชื่อโดยคิดว่าตัวอักษร หรือสระที่สะกดเป็น อปั มงคล การปฏบิ ัตติ ามรปู แบบทเ่ี ขยี นมานี้ ปจั จุบันกย็ ังมบี า้ ง แตร่ ายละเอียด ข้ันตอนไม่มากเหมือนสมัยก่อนแล้วแต่ยังด�ำรงอยู่ในวิถีแบบมุสลิมจริงๆ คือ มกี ารอากเี กาะฮ์ โกนผม และตัง้ ชอ่ื นนั่ กค็ อื เม่อื มที ารกเกดิ มาพ่อแม่ท่มี ฐี านะ พอจะปฏิบัติได้จะท�ำอากีเกาะฮ์ให้แก่ลูกในวันที่ ๗ โดยการเชือดสัตว์เป็นพลี ซ่งึ ถา้ เป็นลูกชายก็จะเชือดแพะหรอื แกะ ๒ ตัว ถ้าเปน็ เดก็ หญงิ ๑ ตวั ส่วนเน้อื ของสัตวท์ ีเ่ ชอื ดแล้วควรแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คอื ครอบครัว ไวร้ บั ประทานเอง ๑ สว่ น แจกญาติพ่ีนอ้ ง ๑ ส่วน และน�ำไปบรจิ าคใหค้ นยาก คนจนอกี ๑ ส่วน การโกนผมก็ควรท�ำในวันที่ ๗ เช่นกันพร้อมกันกับการตั้งชื่อท่ีเป็น
310 เรอ่ื งดีๆ ที่บา้ นเรา สิริมงคล ไม่เรียกชื่อที่ไม่เป็นมงคล โดยทั่วไปมุสลิมมักนิยมน�ำช่ือท่าน ศาสดาตา่ งๆ มาตง้ั ชอ่ื ลกู ชาย เชน่ อาดมั มฮู มั หมดั อดิ รสี อซี า ซาการยี า เปน็ ตน้ สว่ นลูกหญิง เชน่ คอดียะฮฺ อาอีซะอฺ ฟาตีมะฮฺ นสั รีน ตัสนมี ในอิสลามนั้น ลูกเป็นเสมือนเคร่ืองทดสอบความรับผิดชอบเป็น จรยิ ธรรมอนั สงู สง่ ประการหนง่ึ ของมนษุ ยใ์ นสภาพของความเปน็ พอ่ แม่ และเดก็ ที่เกิดมาจากพ่อแม่ท่ีมีความศรัทธาจะวิงวอนขอจากพระเจ้าเพื่อให้ได้มาซ่ึงลูก ท่ีดี เพื่อเป็นการขอบคุณต่อพระผู้เป็นเจ้าที่ประทานทารกน้ีมาและขอให้ พระองค์ทรงคุ้มครองรกั ษาทารกนสี้ บื ต่อไป การอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน กิจกรรมน้ีผมรู้สึกทึ่งมากในความพยายาม ของมสุ ลมิ ทกุ คน เรมิ่ จากเดก็ เลก็ จนโตเปน็ ผใู้ หญ่ คนแก่ ตอ้ งอ่านอลั กรุ อานออก และอา่ นให้ได้ อย่างน้อยทส่ี ดุ กเ็ พอื่ ใชใ้ นการละหมาด ผมจ�ำได้ว่าต้ังแต่ผมอายุ ๔ ปี ผมถูกพ่อแม่ปู่ย่าตายายเคี่ยวเข็ญ สอนพยัญชนะอัลกุรอานแล้วก็ต้องอ่านให้ได้ ในเวลาค�่ำคืนหลังจากการ ละหมาดมัฆรบิ (ละหมาดเวลาคำ่� ) ยกเว้นคนื วันศุกร์ ซง่ึ หยดุ ได้ ๑ วันในรอบ สปั ดาห์ ซง่ึ ตอนหลงั ผมจงึ ไดร้ วู้ ่าทำ� ไมตอ้ งอา่ นและบงั คบั กนั อยา่ งนี้ กเ็ ปน็ เพราะ ว่าการสอนอ่านอัลกุรอานน้ันเป็นหน้าท่ีของพ่อแม่หรือผู้ปกครองจะต้องให้ ความรแู้ กบ่ ตุ รหลานหรอื ถา้ สอนไมไ่ ดก้ ต็ อ้ งใหค้ รมู าสอนหรอื จะสง่ ไปยงั สถาบนั การศกึ ษาหรอื ทีใ่ ดก็ได้ท่มี ีสอน ถา้ พาบุตรไปเรยี นทบ่ี ้านโต๊ะครูหรือสถาบนั อ่ืน จะมีการนำ� ขา้ วเหนยี ว ไก่ยา่ ง หรอื กลว้ ยสกุ ไปด้วย ผมฝกึ อ่านอลั กุรอานต้ังแต่ เล็กเหมือนกับเด็กท่ัวไปในหมู่บ้าน แต่ผมเรียนที่บ้านพร้อมกับพ่ีสาวสองคน แม่ผมเป็นคนสอนเอง ผมเรียนอัลกุรอานเล่มเล็กก่อน พอจบเล่มเล็กก็ต่อเล่ม ใหญ่ ผมอายสุ บิ ปี ผมเรยี นจบเลม่ ใหญ่ คดิ ถงึ บรรยากาศการเรยี นอลั กรุ อานแลว้ พลางก็คิดถึงเรื่องราวท่ีคุณย่าคุณยาย กระท่ังคุณพ่อคุณแม่ได้เล่าเรื่องเม่ือ สมัยก่อน สนุกดี บรรยากาศแบบน้นั คงจะแตกตา่ งกับสมัยน้ีมาก
เรอื่ งดีๆ ทบี่ า้ นเรา 311 ย่าบอกว่าสมัยก่อนไม่มีไฟฟ้าใช้อย่างปัจจุบัน ส่ิงท่ีเป็นเครื่องมือให้ ความรอ้ นหรอื ใหค้ วามสวา่ ง ในหมบู่ า้ นนม้ี หี ลายอยา่ ง ยา่ เลา่ วา่ ผชู้ ายไทยมสุ ลมิ ที่แว้งแทบทุกคนจะพกพาบาตูอาปีหรือท่ีเรียกว่า หินเหล็กไฟ ติดตัวไว้ ในกระเปา๋ เสอ้ื หรอื ไมก่ ท็ ่ีชายพก เปน็ หนิ จริงๆมีลกั ษณะคอ่ นข้างแบนสเี ทาอม นำ�้ ตาล เนื้อละเอยี ดดูโปร่งใส วิธีการใช้คือตอ้ งเอาหนิ ตแี ฉลบกัน เหมอื นเราใช้ ไม้ขีดในปัจจุบัน เม่ือหินเสียดสีกันอย่างรวดเร็วก็จะเกิดประกายไฟขึ้น พอประกายไฟนนั้ ไปตดิ อย่างรวดเรว็ กจ็ ะเกดิ ประกายไฟขน้ึ พอประกายไฟนน้ั ไปตดิ ทเ่ี ชอื้ กเ็ ปน็ อนั ใชไ้ ด้ อกี อยา่ งหนงึ่ คอื ฆอแบะอะปหี รอื ตะบนั ไฟ ทำ� ดว้ ยเขา สัตว์ รปู ร่างเหมือนตะบันหมากของยา่ แตเ่ ลก็ กวา่ พกพาสะดวก เวลาต้องการ ตะบนั เพื่อเอาไฟมาใช้ เขาจะใชน้ นุ่ แห้ง ๆ ใส่เขา้ ไปในรกู ระบอกตะบนั จากนั้น กต็ บขา้ งบนอย่างแรง ตบป๊บุ รบี ดึงออกมาป๊ับ ไฟก็จะติดออกมากับนนุ่ ยา่ เลา่ อกี วา่ สมยั โบราณการทำ� ไฟและรกั ษาไฟยากมาก บรรพบรุ ษุ ของเราจะเกบ็ ขชี้ า้ ง กอ้ นโต ๆ เอามาตากแดด แตไ่ ม่ต้องให้แห้งสนทิ นกั จุดไฟไว้ใหค้ ุอย่ตู ลอดเวลา เพ่ือเตรียมพรอ้ มท่ีจะใช้ตอนไหนก็ได้ ในเวลาต่อมาจะใช้ตะเกียงกระป๋องหรือขวดใส่น้�ำมันก๊าด แล้วท�ำไส้ ด้วยเชือกป่าน โดยพันเป็นเกลียวกลมยาว ๆ หยอดลงในน�้ำมันกา๊ ด ตั้งเรียงราย ไว้ข้างหน้าใช้ส่องเม่ือจะอ่านอัลกุรอาน กล่าวถึงส่ิงที่ให้ความร้อนหรือให้ ความสว่าง ย่าเลา่ ว่า หมู่บ้านหน่ึงจะมที ีเ่ รียนหลายแหง่ ก็คอื ท่บี าลาเซาะ หรือ มัดราซะห์ หรือที่บา้ นโต๊ะกูรู (ครู) เด็กมักจะไปเรียนกันพร้อมกับดวงตะเกียง ระยบิ ระยบั ในเวลาหลงั ละหมาดมฆั รบิ หลงั จากนน้ั ถงึ เวลากลบั บา้ น เวลาเดอื น มืดก็มักจะใชก้ าเฆาะ แต่แม่ผมบอกว่า ยาม๊อง ทบ่ี ้านแมผ่ มทีก่ าลูปัง อ.รามนั จ.ยะลา เรยี กยามอ๊ งแมบ่ อกว่า เขาก็ยงั เกิดทัน บ้านชนบท บ้านเรือนมไี มก่ ีห่ ลัง ปลูกห่างๆ สมัยก่อนต้นไม้เยอะ ทางก็แคบๆ ริมทางมีป่าสาคู (ยามองหรือ กาเราะทวี่ า่ นน้ั ) ยา่ ผมบอกวา่ จะใชใ้ บมะพร้าวแลว้ มารวบมดั จะไดอ้ นั ยาว แลว้
312 เร่อื งดีๆ ที่บา้ นเรา จดุ ไฟ สอ่ งทางสวา่ งไสวทนั ถงึ บา้ น เดก็ บางคนชอบแกลง้ ทำ� เสยี งแปลกๆ พดู ว่า ผีหลอกบ้าง ผีดุบ้าง ก็ว่ิงหนีกันจ้าละหวั่นเดือดร้อนถึงผู้ใหญ่ วันถัดไปแม่ผม บอกวา่ คณุ ตาตอ้ งไปนง่ั เฝ้าและคอยรบั กลบั บ้าน และยง่ิ ไปกว่านน้ั ขหี่ ลงั คณุ ตา อีกต่างหาก แม่ผมเล่าสนุกดี ชีวิตในอดีต แต่มาในสมัยผมก็เรียนอัลกุรอาน ท่ีเรยี นกบั คณุ แม่ แม่ผมสอนเก่ง พ่อกส็ อนได้ ทุกคนในบา้ นอา่ นอลั กุรอานกนั เป็นทุกคน แต่ความหมายต้องอ่านฉบับแปลเป็นภาษาไทยและภาษามลายูถึง จะทราบ เพราะผมไม่ได้เรียนภาษาอาหรับโดยตรง แต่ก็พยายามท่ีจะศึกษา เพื่อความเข้าใจให้ลึกซง้ึ และมีเหตุผล การเรยี นอลั กุรอานน้นั เร่ิมต้นจากการอ่านให้ผเู้ รยี นได้รู้จกั พยัญชนะ สระ การประสมค�ำเชน่ เดียวกับการเรียนภาษาไทย ดว้ ยเหตนุ ้ีจึงมีการรวบรวม พยัญชนะ สระ วิธีประสมค�ำ และโครงสร้างจากอัลกุรอานบทท้ายๆซึ่งมัก เป็นบทสั้นๆ รวมพิมพ์เป็นเล่มต่างหาก เรียกกันไปท่ัวไปว่าเล่มหัวเล็ก ส่วนฉบับสมบูรณเ์ รยี กกนั ว่าหวั ใหญ่ สมัยก่อนเม่อื เรียนหัวเล็กจบจะขนึ้ หวั ใหญ่ มักจะนำ� ข้าวเหนยี วเหลือง หน้าไก่ ไกย่ า่ ง ไปให้ครผู ู้สอนเหมือนกับเริม่ ตน้ ฝกึ อา่ นเช่นกัน แตก่ ็มีพิเศษกว่า ที่มีเส้ือผ้า ชุดละหมาด เสื่อ หมอน ที่ซ้ือใหม่ๆไปให้ด้วย ฉะน้ันจึงเป็นเพียง ประเพณที บี่ รรพบรุ ษุ ทำ� ขน้ึ ไมไ่ ดเ้ กย่ี วกบั ศาสนาโดยตรง เปน็ สนิ นำ�้ ใจทล่ี กู ศษิ ย์ มอบให้แก่ครูที่ปฏิบัติให้ข้ึนมาเพื่อขอบคุณครูท่ีสอนให้โดยไม่คิดเงิน เมื่อเรียน อัลกุอานจบหรือจบหัวใหญ่ ก็จะมีพิธีการคอตัมอัลกุรอานมีการเลี้ยงอาหาร เชิญแขกเหร่ือมาร่วมรับประทานอาหาร แสดงถึงความส�ำเร็จในการ อ่านอลั กุรอาน ปจั จบุ นั การเรยี นอลั กรุ อานเปน็ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ จะเหน็ ไดใ้ นทกุ ท่ี ไมใ่ ช่ เฉพาะที่หมู่บ้านแว้ง ทุกที่ที่มีมุสลิม เพราะอัลกุรอานเป็นธรรมนูญแห่งชีวิต เปน็ คำ� พดู ของพระเจา้ ทบ่ี รรจคุ ำ� สงั่ สอนทกุ ๆอยา่ งในนน้ั ทงั้ นใ้ี นคมั ภรี อ์ ลั กรุ อาน
เร่ืองดๆี ท่ีบา้ นเรา 313 ประกอบด้วยสำระของวิทยำกำรแขนงต่ำงๆเป็นจ�ำนวนมำกและมุสลิมจะต้อง ยึดถือปฏิบัติ ถึงแม้ปัจจุบันน้ีจะมีเหตุกำรณ์เลวร้ำยท่ีเกิดขึ้นในดินแดนแห่งนี้ แต่ก็ ยังมีเร่ืองดี ๆ อีกมำกมำยที่สะท้อนควำมรู้สึกภำพแห่งอดีตที่มีควำมสงบสุข ร่มเย็น เร่ืองเหล่ำน้ีสมควรเป็นอย่ำงย่ิงท่ีภำครัฐและทุกฝ่ำยจะต้องเข้ำใจและ ยอมรับในควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นไปตำมวิถีกำร ด�ำเนนิ ชวี ิตแบบมสุ ลิม เป็นเรือ่ งละเอียดอ่อนมำก ถำ้ ไม่ศกึ ษำให้เขำ้ ใจ จะไมม่ ี ทำงรู้ว่ำเพรำะเหตุใดเขำปฏิบัตเิ ช่นนนั้ แตก่ ็ไม่ใชเ่ รอ่ื งยำกที่จะปรบั ควำมเขำ้ ใจ เพยี งแคเ่ ข้ำใจ ยอมรบั ในควำมเปน็ อยู่ และไมก่ ำ้ วกำ่ ยในสิทธิและเสรภี ำพที่เขำ พึงมี ปัญหำต่ำงๆ กค็ งจะคล่คี ลำยลงไดใ้ นทส่ี ดุ เพรำะนคี่ ือวฒั นธรรมประเพณี และวถิ ีชีวติ ของคนที่นอ่ี ยำ่ งแทจ้ รงิ ทุกวันน้ีผมดีใจและภูมิใจที่เกิดมำเป็นคนไทย แม้ผมจะนับถือศำสนำ อิสลำม แตก่ ำรทีผ่ มยนื หยดั อยบู่ นผืนแผน่ ดนิ ไทย ผมก็เป็นคนไทยคนหน่งึ ที่มี สิทธิรักและหวงแหนแผ่นดินน้ี เรื่องรำวอดีตเป็นสิ่งสะท้อนถึงปัจจุบันว่ำ วัฒนธรรมประเพณีที่มีมำยำวนำนน้ัน ต้องผ่ำนบรรพบุรุษของเรำคนไทยกี่รุ่น ก่ีสมัย ถ้ำชีวิตน้ีเรำสำมำรถย้อนเวลำหำอดีตได้ ทุกคนก็คงจะท�ำเช่นนั้น เพรำะอดีตท�ำให้ชีวิตน้ีปลอดภัยกว่ำปัจจุบันมำกนัก อยำกให้คนไทยในวันนี้ สำ� นึกบุญคุณแหง่ ควำมเปน็ อดีต วัฒนธรรม วิถีกำรด�ำเนนิ ชีวติ ของคนรนุ่ ก่อน ทเ่ี ป็นเสมอื นครทู ี่สอ่ งนำ� ทำงให้คนรุ่นหลังได้รูจ้ ักวฒั นธรรมอนั สวยงำม วิถีชวี ิต ท่ีเรียบง่ำยและรู้สึกซำบซึ้งในภูมิปัญญำของบรรพบุรุษที่ส่ังสมมำนับร้อยปี ทำ� ใหช้ นรนุ่ หลงั หวงแหนแดนดนิ บำ้ นเกดิ มกี ำรอนรุ กั ษแ์ ละรจู้ กั พฒั นำประโยชน์ ให้แก่ภูมิล�ำเนำตนเอง สังคม ประเทศชำติ โดยไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่ำย มีควำม สมคั รสมำนสำมคั คกี นั เพอ่ื ใหว้ นั นแี้ ละวนั หนำ้ คนไทยทกุ คนอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยำ่ ง มีควำมสขุ
314 เรอื่ งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา เกดบั ็กกชราะยอออามรขาฟองตั โต๊ะ นางสาวอ�ำภา ดอ่ ละ๊ นำ� เร่อื งดีเรื่องเก่ามาเลา่ ขาน แมม้ ใิ ชต่ ำ� นานในหนังสอื หรอื เป็นเสยี งกล่าวอ้างตา่ งเล่าลอื แตเ่ พราะคือเร่อื งจรงิ ทุกสง่ิ ไป เรอ่ื งดีดมี มี าแตช่ ้านาน มหี มบู่ า้ นเลก็ เล็กในปา่ ใหญ่ ประชากรอยู่กันอย่างสขุ ใจ ตา่ งพงึ่ พาอาศัยสามัคคี คอื หมู่บา้ นย่านซื่อชือ่ ไพเราะ คนพดู เพราะย้มิ แย้มกันสขุ ี ใครไดผ้ า่ นมาพบคนบ้านน้ี ต่างยินดปี รีดาได้มาเยือน มีเครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาอนั ขึน้ ช่อื งานฝมี ือหลายรุ่นหลากความเหมอื น เปน็ เรือ่ งราวดีดเี กอื บลืมเลือน แม้ก่ีเดอื นก่ปี ยี ังจดจ�ำ จะมาย้อนวันวานที่เลือนหาย ให้หวั ใจแหง้ เห่ียวได้ช่มุ ฉ�่ำ บา้ นหลังนี้มเี ร่อื งราวน่าจดจ�ำ มาช่วยย�ำ้ ลูกหลานให้ไดฟ้ ัง ลอ้ มวงกนั เขา้ มาอย่ารรี อ เพราะนบั ต่อจากน้อี าจหมดหวงั หากเราร่วมรวมใจรวมพลัง คงจะยงั มเี รื่องดีใหช้ ื่นชม อากาศยามบา่ ยวนั หนง่ึ ชว่ งเดอื นเมษายนชา่ งรอ้ นอบอา้ วเหลอื เกนิ จน บอกไมถ่ กู ขา้ พเจา้ ออกมานง่ั เลน่ บนแครไ่ มไ้ ผห่ นา้ บา้ นเพอ่ื ใหค้ วามรอ้ นไดผ้ อ่ น บรรเทาลงบ้าง ชว่ งสองสามปีทผ่ี ่านมานี้ขา้ พเจา้ สังเกตไดถ้ ึงความเปลยี่ นแปลง ของสภาพภมู อิ ากาศทห่ี นกั ขนึ้ ทกุ ปี แมช้ ว่ งหนา้ รอ้ นอากาศยงั แปรปรวนไดโ้ ดย
เรอื่ งดๆี ท่ีบ้านเรา 315 ไม่สนใจสัตว์โลกว่าจะมีการเตรียมพร้อมรับมือกับสิ่งท่ีเกิดขึ้นได้มากน้อย เพียงใด ข้าพเจ้ามองย้อนกลับไปว่าน่ีคงจะเป็นผลกระทบท่ีเกิดมาจากการ กระท�ำของมนุษย์เราแท้ๆ ไม่ใช่จากใครอื่น มนุษย์ได้ท�ำลายธรรมชาติเหล่านี้ มากมายคณานับเพ่ือความก้าวล�้ำในยุคเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ามาแทนท่ี อย่างรวดเร็ว ชีวิตความเรียบง่ายแบบพอเพียงในยุคก่อนสามสิบปีที่ผ่านมานี้ แทบจะหายไปจากสังคมชนบทบ้านเราจนหมดสิ้น ข้าพเจ้ายังแอบนึกเสียดาย สงิ่ ดี ๆหลายอยา่ งอยลู่ กึ ๆ กอ่ นหนา้ ทว่ี ฒั นธรรมใหมๆ่ จะเขา้ มาแทนท่ี ขา้ พเจา้ เคยได้ใช้ชีวิตท�ำสวน ท�ำนา (เก่ียวข้าว ต�ำข้าว นวดข้าว ฝัดข้าว ตากข้าว) ได้เลน่ ว่าวกนั สนกุ สนานทง้ั หม่บู ้านเมอ่ื ชว่ งหลังเก็บเกยี่ วข้าวเสรจ็ สิน้ ไดล้ งเลน่ น�้ำคลอง หากุ้ง หาหอย หาปลามาท�ำกับข้าวแล้วล้อมวงกินกันท่ีหาดทราย ในคลองสายเล็กๆน้ีกันอย่างมีความสุขเกือบจะทุกวันหยุด วิถีชีวิตหลายอย่าง ท�ำให้ข้าพเจ้าแอบย้ิมในใจเมื่อได้นึกถึง แต่บางอย่างกลับท�ำให้ข้าพเจ้ากลับยิ่ง เศรา้ มากขึ้นพอนกึ ไปว่าจะไมม่ โี อกาสเหน็ ภาพดีๆ เหลา่ นน้ั ในความเปน็ จริงอีก แล้ว ข้าพเจ้าใฝ่ฝันเหลือเกินให้ได้มีการเผยแพร่สิ่งดีๆเหล่าน้ีจากคนรุ่น “โต๊ะแนแนะ”(รุ่นทวดๆ) ท่ียังมีชีวิตอยู่มาบอกกล่าวเรื่องราวให้แก่ลูกหลาน ในหมู่บ้านได้รับรู้ถึงความเป็นอยู่อันดีงามที่ท�ำให้ชุมชนในบ้านของเราอยู่กัน อย่างเป็นสขุ ตลอดมา ข้าพเจ้าต้องต่ืนจากภวังค์เม่ือมือเล็กๆ ของใครคนหนึ่งมาสะกิดเข้าท่ี แขนข้าพเจา้ เบาๆ “เหมอ่ ลอยแบบนี้ กำ� ลงั นกึ ถงึ ใครอยเู่ หรอฉ”ู อาราฟตั หลาน ชายวัยสิบขวบของขา้ พเจ้านั่นเองที่มานั่งอยู่ขา้ งๆ ขา้ พเจ้าต้ังแต่เม่ือไหร่ไม่ทัน สงั เกต (ฉหู รอื จู หรอื เรยี กอกี อยา่ งวา่ สู หมายถงึ นอ้ งคนสดุ ทอ้ งของพอ่ หรอื แม)่ “อาการแบบนผี้ มไมช่ อบเลยเพราะเหน็ โตะ๊ ทบี่ า้ นผมกเ็ ปน็ บอ่ ยเหมอื น กัน” (ค�ำว่า “โตะ๊ ”ในท่นี ีเ้ ป็นค�ำนามที่ใช้เรยี กแทนยา่ หรือยาย) ข้าพเจา้ เรม่ิ หนั มาให้ความสนใจประโยคสุดท้ายท่ีหลานพูดมาอย่างต้ังใจ “มีเรื่องอะไรเก่ียว กบั โต๊ะเหรอ เลา่ ใหฉ้ ูฟงั ไดไ้ หม”
316 เรื่องดีๆ ทีบ่ า้ นเรา อาราฟัตเริ่มระบายความอัดอั้นใจให้ข้าพเจ้าฟังด้วยสีหน้าจริงจัง ไม่แพก้ นั “นานหลายปมี าแลว้ ท่ผี มเหน็ โตะ๊ เอาแตน่ ง่ั เหมอ่ ลอย ดูเหมือนก�ำลงั เศรา้ เรอ่ื งอะไรสกั อย่าง ผมรสู้ กึ ไมม่ คี วามสขุ เลยทใ่ี นแววตาของโตะ๊ เวลามองผม เหมอื นกำ� ลังปกปิดอะไรอยู่ ผมไดแ้ ตเ่ กบ็ ความสงสัยน้ีไว้มานานแลว้ ฉูพอจะมี หนทางที่จะท�ำให้ผมรูไ้ ด้ไหมครับวา่ เกิดอะไรขึน้ กบั โต๊ะของผม” ได้ฟังเช่นน้ันแล้วผู้เป็นน้าอย่างข้าพเจ้าก็ยากเหลือเกินท่ีจะไปตอบ คำ� ถามอนั ลกึ ซงึ้ ขอ้ นไ้ี ดโ้ ดยไมร่ ขู้ อ้ มลู อะไรลว่ งหนา้ มาเลยสกั อยา่ ง และเนอื่ งจาก “โต๊ะ”ที่หลานชายก�ำลังร�ำพันถึงอยู่นั้นหมายถึงย่าของเขา ซ่ึงถ้าเป็นยายแล้ว ขา้ พเจา้ คงจะหาคำ� ตอบนไ้ี ดไ้ มย่ าก เพราะยายของอาราฟตั กค็ อื แมข่ องขา้ พเจา้ เอง แตเ่ มอ่ื เป็นความทกุ ขข์ องหลานทีม่ ีความไว้วางใจมาปรกึ ษาข้าพเจ้า มหี รอื ทข่ี า้ พเจา้ จะนงิ่ นอนใจ อยเู่ ฉย ทำ� เปน็ ไมส่ นใจเดก็ นอ้ ยผไู้ รเ้ ดยี งสาคนหนงึ่ ทเี่ ปน็ หลานแทๆ้ และดว้ ยความทีข่ า้ พเจา้ เองมอี าชพี เป็นครทู ำ� ใหห้ ลานเลือกที่จะมา ขอความช่วยเหลืออยู่เสมอ ถ้าเขาเป็นอะไรก็จะบอกครูเป็นคนแรกเพราะเชื่อ มั่นวา่ ครจู ะชว่ ยเหลอื เขาได้เสมอท้งั ท่โี รงเรียนและท่บี ้าน โดยผทู้ ่ีไดช้ ือ่ ว่าเปน็ ครูเองก็มักจะมีความมุ่งมั่นอยู่คล้ายๆกันเกือบจะทุกคนคือ ต้องหาหนทางท่ีดี ท่ีสุดให้กับลูกศิษย์ให้จงได้เช่นกัน ดังนั้นข้าพเจ้าจึงไม่รอช้าท่ีจะซักถามต่อ ถึงท่ีมาทไี่ ป “เปน็ ระยะเวลานานเทา่ ไหรแ่ ลว้ ทโ่ี ตะ๊ เปน็ แบบน้ี และหลานเคยสงั เกต เหน็ อาการอ่นื ๆ ของโต๊ะอกี หรือเปล่า?” เด็กชายท�ำท่าใช้ความคิดเพียงไม่นานก็ได้มีการวิเคราะห์เหตุการณ์ เปน็ ลำ� ดับ “จะบอกว่าเศร้าเรื่องท่ีโต๊ะชายเสียก็คงจะไม่ใช่เพราะตอนที่โต๊ะชาย เสยี นนั้ ผมยังไม่เกดิ ดว้ ยซำ�้ และผมกไ็ ดเ้ ห็นรอยยมิ้ ของโตะ๊ มาตลอดระยะเวลา
เรื่องดๆี ที่บา้ นเรา 317 ตั้งแต่ที่ผมจำ� ความได้ ตอนที่ผมยงั ไม่เขา้ เรยี น โตะ๊ ก็เป็นคนเลี้ยงผม เพราะป๊ะ กบั มะตอ้ งไปทำ� งานตงั้ แตเ่ ชา้ มดื กวา่ จะกลบั มาบางทผี มกน็ อนหลบั ไปพรอ้ มกบั โต๊ะเสยี แลว้ โต๊ะไม่เคยเป็นแบบนม้ี าก่อนเลย” (ปะ๊ กับมะหมายถึงพ่อกับแม)่ ได้ฟังหลานพูดมาอย่างน้ีแล้ว ข้าพเจ้ายิ่งสงสารหลานเข้าไปอีก และ แอบชน่ื ชมอยลู่ กึ ๆ วา่ หลานชา่ งเปน็ คนสงั เกตดเี สยี จรงิ ทง้ั ทอ่ี ายยุ งั นอ้ ยกย็ งั รจู้ กั ทจ่ี ะคดิ เรอ่ื งแบบนไ้ี ด้ แลว้ ตวั ข้าพเจา้ เองจะไปหาคำ� ตอบจากไหนทจี่ ะไมร่ สู้ กึ ว่า เข้าไปก้าวก่ายเรื่องส่วนตัวในครอบครัวของหลาน แต่เมื่อคิดดูดีๆ แล้ว เรื่องในครอบครัวของหลานก็เป็นเร่ืองในครอบครัวข้าพเจ้าเช่นเดียวกัน จงึ ไมแ่ ปลกอะไรทข่ี า้ พเจา้ จะหาคำ� ตอบใหก้ บั หลานชาย แมม้ นั อาจจะดยู ากเยน็ แสนเขญ็ ก็ตาม เมอื่ นกึ ถึงโตะ๊ ของอาราฟตั แลว้ ภาพหญงิ วยั สงู อายุคนหน่งึ ผดุ ขึ้นมา ในหัวสมองของข้าพเจ้า โต๊ะสีม๊ะเป็นคนเก่าคนแก่ของหมู่บ้านย่านซื่อท่ีใครๆ ตา่ งกใ็ หค้ วามนบั ถอื ดว้ ยอปุ นสิ ยั ทเ่ี ปน็ มติ รและความขยนั ขนั แขง็ มมุ านะ ทำ� ให้ เป็นที่รักใคร่ของผู้พบเห็น ย่ิงถ้ามีงานท่ีไหนก็จะช่วยเหลือทุกงานไม่เคยรู้จัก เหน็ดเหนื่อย และส่ิงท่ีท�ำให้โต๊ะสีม๊ะเป็นท่ีรู้จักของคนตา่ งหมู่บา้ น ต่างอ�ำเภอ นนั่ กค็ อื การผลติ ภาชนะดนิ เผาทท่ี ำ� ใหจ้ งั หวดั สตลู มสี นิ คา้ สง่ ออกไปขายยงั ตา่ ง จังหวัดและประเทศใกล้เคียง แต่ก่อนข้าพเจ้ายังได้มีโอกาสแวะเวียนไปหา พูดคุยทักทายถามสารทุกข์สุขดิบอยู่บ้าง ยังแอบชื่นชมโต๊ะสีม๊ะมาตลอดและ เคยยึดถือเป็นแบบอย่างในหลายๆ เร่ือง แต่ตอนน้ีข้าพเจ้ามัวแต่ยุ่งวุ่นวายกับ งานจนไม่ค่อยมีเวลาหรือโอกาสไปเย่ียมเยียนท่านดังเช่นที่ผ่านมา และเท่าที่ จำ� ได้ กเ็ ปน็ เรอื่ งจรงิ อยา่ งทห่ี ลานบอกวา่ หลานอยกู่ บั โตะ๊ มาตง้ั แตย่ งั เลก็ จงึ ทำ� ให้ ชวี ติ สว่ นใหญข่ องหลานเตบิ โตมากบั กจิ วตั รประจำ� วนั ของโตะ๊ เกอื บทกุ วนั ตง้ั แต่ ไก่ขันยันไกห่ ลบั คงไม่แปลกเลยท่หี ลานจะร้สู กึ ผูกพนั และจดจำ� ส่ิงดๆี ของโตะ๊
318 เรือ่ งดๆี ทบ่ี า้ นเรา ได้อย่างแม่นย�ำ อะไรกันหนอที่ท�ำให้หญิงแกร่งคนน้ีเป็นกังวลจนท�ำให้เกิด ความเปลี่ยนแปลงบางอย่างที่ผู้เป็นหลานต้องเอามาไขปัญหากันอยู่ในตอนนี้ ข้าพเจ้าลองตั้งสมมตฐิ านและคาดการณ์ล่วงหนา้ ไว้อยา่ งคร่าวๆ สำ� หรบั การหา คำ� ตอบใหก้ บั หลานชายวา่ คงจะเปน็ เรอ่ื งสว่ นตวั ลกึ ๆ ทอ่ี ยภู่ ายในใจแตค่ งไมอ่ าจ จะบอกใหใ้ ครฟงั ไดแ้ มแ้ ต่ลูกหลานของตัวเองเป็นแน่ เมฆหนาคร้ึมปกคลุมทว่ั ทั้งฟา้ ภายในเวลาไมน่ านน้ี ข้าพเจา้ คิดวา่ ฝน คงจะเทกระหน่�ำลงมาอย่างหนักแน่นอน เพราะความร้อนท่ีอบอ้าวเหลือเกิน เมอ่ื ไมก่ ช่ี วั่ โมงทผ่ี า่ นมาทำ� ใหว้ เิ คราะหไ์ ดไ้ มย่ ากเลยกบั ความแปรปรวนทมี่ นั ซำ�้ ๆ จำ� เจ อันจะมีแตเ่ พม่ิ ความรนุ แรงเป็นทวีคณู ฤดรู อ้ น ฤดูฝน และฤดูหนาวรวม เขา้ ดว้ ยกนั แทบจะแยกไมอ่ อกวา่ ชว่ งนเ้ี ปน็ ฤดไู หนกนั แน่ ขา้ พเจา้ ไมร่ อชา้ จงึ รบี ชวนหลานชายเข้าไปในบา้ นกอ่ นทีเ่ ราสองคนน้าหลานจะเปียกปอนกันท้ังคู่ “เด๋ียวก่อนสิ ฉูต้องสัญญากับผมก่อนนะ ว่าจะท�ำให้โต๊ะของผม กลบั มายม้ิ ไดเ้ หมอื นเดมิ ” แววตาอ้อนวอนเชิงขอร้องท�ำให้ข้าพเจ้ารวบรัดเวลาด้วยการจบบท สนทนาไวแ้ ค่ประโยคสน้ั ๆ ท่ีไมต่ ้องคดิ อะไรใหย้ งุ่ ยากมากมาย “ฉูสัญญา” สายฝนทเ่ี ทกระหนำ�่ ลงมาอยา่ งไมข่ าดสาย แมจ้ ะทำ� ใหอ้ ณุ หภมู ภิ ายใน รา่ งกายเยน็ ชมุ่ ฉำ�่ ขนึ้ มาบา้ ง แตก่ ลบั ทำ� ใหข้ า้ พเจา้ รบั รไู้ ดถ้ งึ ความรอ้ นรมุ่ ในหวั ใจ ของเด็กชายคนหนึ่งท่ีมองไปนอกหน้าต่างอย่างจดจ่อ ค�ำสัญญาที่ผู้เป็นน้าได้ ใหไ้ วเ้ มือ่ ไมก่ ีน่ าทที ่ผี า่ นมานี้ คงจะไมใ่ ชส่ ัญญาเพยี งลมปากท่ใี ห้ไวผ้ า่ นๆ กบั เขา อย่างแนน่ อน ขา้ พเจา้ แอบยม้ิ ดใี จเลก็ นอ้ ยเมื่อหลานชายหันมาสบตา ข้าพเจ้า ตอ้ งการเห็นแววตาแห่งความมงุ่ มั่นจากลกู ๆ หลานๆ ในหมบู่ ้านของเราแบบน้ี อย่างน้อยความหวังในการสานต่อเรื่องราวดีๆ ในวันวานคงไม่ต้องเร่ิมจากคน
เร่ืองดีๆ ที่บา้ นเรา 319 อืน่ ไกล แตเ่ ริ่มต้นท่คี รอบครัวเล็กๆ ของขา้ พเจา้ เองนแี่ หล่ะ คงจะพอมีหนทาง เปน็ ไปได้อยูบ่ า้ งไม่มากกน็ อ้ ย หลงั จากนอนเลน่ กันนานร่วมสองชั่วโมงเพอื่ รอให้ฝนหยดุ ตก เมอ่ื ฟ้า หลงั ฝนเร่ิมสดใสข้ึน เดก็ ชายอาราฟตั ผู้เป็นหลานไดจ้ ูงจกั รยานคันเลก็ เดนิ ออก ไปบนถนนหน้าบา้ น “รอฉูด้วยฉูจะไปบ้านหลานอยู่พอดี” ข้าพเจ้ารีบเดินไปหยิบขนม “รงั ต่อ” ทีแ่ ม่ท�ำใส่ไว้ในถงุ เรียบรอ้ ยเตรยี มส�ำหรับเปน็ ของฝากและพรอ้ มทาน ได้ตลอดเวลา (ขนมรังต่อ หรือเรียกอีกอย่างว่า ขนมดอกจอก ท�ำจากแป้ง ขา้ วจ้าว ไข่และน้�ำตาล เปน็ ขนมที่นยิ มท�ำกนิ กันในครวั เรือนหรือช่วงวนั สำ� คญั ) แล้วจักรยานคันที่สองก็ถูกข้าพเจ้าจูงออกมาจากโรงเก็บรถเดินมา สมทบกับหลานชายอย่างไม่รอช้า การเดินทางออกไปสู่โลกภายนอกบ้างคง จะทำ� ใหข้ า้ พเจา้ ไดเ้ รยี นรสู้ งิ่ ใหมๆ่ หรอื อาจจะไขปญั หาอนั มดื แปดดา้ นทม่ี อี ยไู่ ด้ ในสกั วนั หน่ึง จักรยานสองคันข่ีผ่านสวนยางพาราท่ีเขียวขจี แลดูชุ่มฉ�่ำจากเม็ดฝน ท่ีตกลงมาเมื่อไม่นานมานี้เพ่ือให้ต้นไม้ใบหญา้ ตามธรรมชาติได้เติบโตกันต่อไป รถราบนถนนสายในหมู่บ้านเช่นเวลาน้ีน้อยคนนักที่จะออกมาขับรถเล่นกินลม ชมววิ จงึ นา่ เสยี ดายทหี่ ลายคนเลอื กทจ่ี ะนอนอยทู่ บ่ี ้านของตนเองมากกวา่ ออก มาย�่ำความช้ืนแฉะของท้องถนนให้ได้ความสกปรกกลับบ้านไป ทั้งท่ียังมีส่ิง สวยงามตามธรรมชาติรอให้เราได้ช่ืนชมอยู่มากมาย ความงามของธรรมชาติ เหลา่ นย้ี งั พอมเี หลอื อยใู่ นหมบู่ า้ นของเรา เมอื่ ขา้ พเจา้ ไดข้ จ่ี กั รยานมาถงึ สามแยก ก็ได้เห็นป้ายบอกเส้นทางการไปยังสถานที่ท่องเที่ยวในหมู่บ้าน ท้ังถ�้ำน�้ำผุด และเขาพญาบงั สา มปี ้ายช้ไี ปทางทศิ ตะวนั ตก เมื่อขบั รถผา่ นสะพานข้ามคลอง ไปกจ็ ะไดพ้ บกบั ความสวยงามของหนิ งอกหนิ ยอ้ ยแหง่ ภเู ขาพญาบงั สา และการ
320 เรอื่ งดๆี ท่บี ้านเรา คน้ พบถ�้ำท่ีมีน�ำ้ ผุดข้นึ มาจากหินเรยี กวา่ ถ�้ำน้�ำผุด นอกจากน้ี ยงั มเี ส้นทางให้ได้ ปีนเขาข้ึนไปชมความงามของหมู่บ้านย่านซื่อและหมู่บ้านใกล้เคียงได้อีกด้วย ขา้ พเจา้ หยดุ มองป้ายบอกทางสกั ครู่ จึงได้เหน็ อีกหน่ึงปา้ ยแสดงลกู ศรชีไ้ ปทาง ทิศตะออกมีข้อความเขยี นไว้ว่า “ศนู ย์ผลติ เคร่ืองปัน้ ดินเผา อกี สองรอ้ ยเมตร” หมู่บ้านเล็กๆ ของเราน้ีเป็นหมู่บ้านที่เคยข้ึนชื่อของจังหวัดสตูลในเรื่องของ เคร่ืองปั้นดินเผาแบบโบราณ ท�ำให้ข้าพเจ้าได้นึกไปถึง ผู้ที่ได้สืบทอดงาน เคร่ืองปั้นดินเผาดังกล่าว ซ่ึงเป็นบุคคลท่ีข้าพเจ้าก�ำลังเดินทางไปหา นั่นคือ “โต๊ะของหลานชายอาราฟตั ”น่ันเอง ขา้ พเจ้าแอบยิม้ ในใจเมอื่ วนั น้ีจะได้มเี ร่ือง ราวให้พูดคุยซักถามถึงความเป็นมาของงานหัตถกรรมช้ินนี้ในหมู่บ้านของเรา อกี ทงั้ อาจจะยงั ไดข้ อ้ มลู ดๆี จากการพดู คยุ ใหไ้ ดร้ กู้ นั ถงึ บางเรอื่ งราวทยี่ งั ค้างคา อย่ใู นใจของหลานชายข้าพเจา้ ไดบ้ า้ งไมม่ ากกน็ ้อย ใช้เวลาเพียงไม่นาน ข้าพเจ้าก็ได้มาถึงบ้านอันเป็นจุดหมายปลายทาง ส�ำคัญในการเดินทางคร้ังนี้ “โต๊ะสีม๊ะ”เดินออกมาต้อนรับด้วยใบหน้าย้ิมแย้ม แจ่มใส ข้าพเจ้าลองมองหาแววตาอันเป็นกังวลท่ีหลานชายบอกมา ก็ยังไม่ สามารถเห็นได้ชัดเจนส�ำหรับแขกท่ีมาเยือนไม่บ่อยครั้งนักอย่างตัวข้าพเจ้า แต่ส�ำหรับหลานชายแล้ว ข้าพเจ้าเช่ือแน่ว่าต้องสังเกตอยู่เป็นประจ�ำถึงการ เปล่ียนแปลงในจิตใจ ซึ่งข้าพเจ้าเองก็ยินดีเป็นอย่างยิ่งท่ีจะช่วยเหลือหรือ แบ่งเบาความทุกข์ในใจของโต๊ะสีม๊ะให้คลายลงได้บ้างหากมันเป็นจริงอย่างท่ี หลานชายบอกมา “ขนมรังต่อ”ถูกจัดใส่จานอย่างเรียบร้อย เม่ือเราต่างพากันมานั่งที่ ระเบียงเล็ก ๆ หนา้ บา้ น เส่ือจาก “ตน้ คล้า”ท่โี ตะ๊ สมี ะ๊ เปน็ คนท�ำเองกับมือถกู น�ำมาปูใหแ้ ขกอยา่ งข้าพเจา้ ได้น่ังอยา่ งเปน็ กนั เอง และแลว้ บทสนทนาก็เรม่ิ ขนึ้ “มกี ารทำ� ปา้ ยแสดงเสน้ ทางไปยงั สถานทท่ี อ่ งเทย่ี วในหมบู่ า้ น และศนู ย์ เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาตง้ั แตเ่ มอ่ื ไหรเ่ หรอคะ หนไู มเ่ คยสงั เกตเหน็ เลย เพราะสว่ นใหญ่
เร่ืองดีๆ ท่บี ้านเรา 321 ไม่ค่อยใชเ้ ส้นทางน”้ี ข้าพเจา้ เริ่มต้นคำ� ถาม “ท�ำมานานแล้ว แต่พอถึงเวลาจริงๆ ก็ยังไม่มีการเปิดใช้อย่างเป็น ทางการสักที ไม่รู้ท�ำไม และตอนนี้หญ้าก็ขึ้นรกหมดแล้วด้วย น่าเสียดาย” โตะ๊ สมี ะ๊ เล่าพลางเค้ยี วหมากไปดว้ ย “แลว้ ศนู ยเ์ ครอ่ื งปน้ั ดนิ เผานม่ี นั อยทู่ ไี่ หนเหรอคะ ทางทห่ี นขู ร่ี ถผา่ นมา ไมเ่ หน็ มเี ลยคะ่ ” “ตงั้ อยู่ในทุง่ นานัน่ แหละ ลองหนั ไปดูสิ อยา่ ให้เลา่ เลย มนั คับแค้นใจ จนพูดไม่ออก ถา้ จะใหพ้ ูดถงึ ” โต๊ะสมี ะ๊ พดู พลางชีม้ อื ไปยังอาคารเลก็ ๆ ท่สี ร้าง อยู่ริมทุง่ นา “เล่าให้หนูฟังก็ได้น่ีคะ เผื่อความอัดอั้นใจจะได้บรรเทาลงบ้าง” ข้าพเจา้ พยายามต่อรอง “จะเรม่ิ เลา่ จากตรงไหนก่อนดีล่ะ เรอื่ งมันสลบั ซับซ้อน อยา่ พูดถึงมนั เลยนะ” ว่าแล้วโต๊ะสมี ะ๊ ก็ถอนหายใจเฮอื กใหญ่ “เอาแบบนดี้ ีกว่าค่ะ ถ้ายังไมอ่ ยากเลา่ ตอนน้ี หนูอยากรเู้ ร่ืองเกี่ยวกบั การท�ำภาชนะเคร่ืองปั้นดินเผาที่เป็นเรื่องขึ้นชื่อของจังหวัดสตูลเราแต่ก่อนมา จดุ เรมิ่ ตน้ มมี าตง้ั แต่เมอ่ื ไหร่ ชว่ ยเล่าให้ฟงั หน่อยได้ไหมคะ” “มีนอ้ ยคนนกั ที่จะให้ความส�ำคญั กบั เร่อื งน้ี ในเมอ่ื หนูสนใจก็เปน็ เรื่อง ท่ีดีนะเพราะหาคนที่จะมาฟังเร่ืองแบบน้ียากเหลือเกิน แต่ละคนเฝ้าแต่จะฟัง ข่าวสารและดูแต่ละครในทีวีกันทั้งนั้น ตัวโต๊ะเองก็เคยมีความหวังในการจะ ถา่ ยทอดความรนู้ ใี้ หแ้ กล่ กู ๆ หลานๆ แตไ่ มม่ ใี ครหนั หนา้ มาฟงั เลยสกั คน พดู แลว้ น�้ำตาจะไหล แตก่ เ็ ปน็ ความรนู้ ะ โต๊ะจะเลา่ ให้ฟังเทา่ ท่ีพอจะเลา่ ได้แลว้ กนั ” แล้วโต๊ะสีม๊ะก็ได้เล่าถึงความเป็นมาต้ังแต่แรกเริ่มท่ีมีการคิดค้นท�ำ เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาขน้ึ มาในหมบู่ า้ นย่านซอื่ แหง่ นี้ อนั เน่ืองมาจากชวี ิตความเปน็
322 เร่อื งดๆี ทบี่ ้านเรา อยู่ในแต่ละวันของคนในชุมชนผูกพันอยู่กับแม่น้�ำล�ำคลองสายหลักท่ีไหลผ่าน ตลอดกลางหมบู่ า้ น มคี วามรม่ รน่ื ของปา่ ไมแ้ ละภเู ขาพญาบงั สาทท่ี อดขนานยาว ต้ังแต่ทิศเหนือจรดไปทางทิศใต้ของหมู่บ้าน ท�ำให้อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชผัก ผลไม้นานาชนิด แม่น้�ำล�ำคลองสายน้ีเปรียบเสมือนหัวใจที่ท�ำให้ความเป็นอยู่ ของในชุมชนอยู่ได้อย่างมีความสุข ล�ำคลองสายนี้ นอกจากเราจะใช้มัน ในการเกษตรเป็นหลักแล้ว แหล่งน้�ำแห่งนี้ยังอุดมไปด้วยกุ้ง หอย ปู ปลา ให้ชาวบ้านได้อยู่กินกันไม่เคยอดเลยสักมื้อ กลับมาเข้าเร่ืองเครื่องปั้นดินเผา กันต่อดีกว่า ความเกี่ยวโยงกันของแม่น้�ำสายนี้กับอาชีพหัตถกรรมท�ำภาชนะ ดินเผาได้เร่ิมข้ึนจากการที่ในล�ำคลองอันใสสะอาดนี้มีดินเหนียวอยู่มากมาย ต่อมามี “โต๊ะแนแนะ”คนหนึ่ง(รุ่นทวดๆ) ไปนั่งซักผ้า อาบน้�ำอยู่ในคลอง ก็ได้พบแหล่งดินเหนียวท่ีขาวสะอาดจึงได้เก็บตัวอย่างกลับมาตากไว้ท่ีบ้าน หลงั จากนนั้ เมอื่ เหน็ วา่ ดนิ เหนยี วทม่ี อี ยใู่ นคลองแหง่ นเ้ี ปน็ ดนิ เหนยี วเนอื้ ดจี งึ ได้ คิดท่ีจะน�ำมาทดลองปั้นท�ำเป็นภาชนะดินเผา จึงไปชักชวนโต๊ะแนแนะ หลายคนในหมู่บ้านให้มาช่วยกัน น�ำดินเหนียวท่ีตากไว้ มาทุบด้วยไม้ให้ดิน เหนียวแตก หลังจากนั้นก็พรมน้�ำให้เปียกชุ่มอีกทีแล้วนวดดินโดยวิธีการใช้มือ บ้างใช้เท้าเหยียบบ้าง จนเน้ือดินเป็นก้อนเดียว หลังจากน้ันก็ตั้งค้างคืนไว้ พอรงุ่ เชา้ มาจงึ ไดช้ ว่ ยกนั ปน้ั ภาชนะชนิ้ แรกทช่ี อื่ วา่ “กระออม” ซงึ่ เปน็ โอง่ ใสน่ ำ�้ ใบเล็กมีลักษณะคล้ายลูกฟักทองขนาดใหญ่ เม่ือปั้น “กระออม”ได้ชุดแรก ประมาณส่ีห้าใบ แลว้ จึงน�ำไปตากแดดให้แหง้ ความรสู้ กึ ของ “โต๊ะแนแนะ” ในตอนน้ันต่ืนเต้นกันมากหลังจากท่ีได้ทดลองฝึกฝีมือในการปั้นภาชนะแล้ว และพอจะมีความรู้อยู่บ้างในเรื่องการเผาภาชนะเคร่ืองปั้น จึงมีการเตรียมฟืน กองใหญ่ท่ีเพียงพอส�ำหรับระยะเวลาสองคืนในการเผาภาชนะท่ีตากแห้งดีแล้ว การเฝ้ารอคอยอย่างใจจดใจจ่อกับการได้เห็นผลิตภัณฑ์สีส้มสวยงามดังภาพท่ี คดิ ไว้ของ “โตะ๊ แนแนะ” ผูม้ ีความมุ่งม่ัน
เรือ่ งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา 323 แตแ่ ลว้ กเ็ กดิ เหตกุ ารณไ์ มค่ าดฝนั ขนึ้ เมอื่ “กระออม”ท่ี “โตะ๊ แนแนะ” ตา่ งชว่ ยกนั ปน้ั มาดว้ ยความตง้ั ใจกลบั แตกดงั “โพละ๊ ”ลงในเวลาเพยี ง ไมก่ ชี่ วั่ โมง เสียงทีด่ งั มาจากเตาเผาเหมือนเสียงหัวใจทแี่ ตกสลายของ “โต๊ะแนแนะ” ทเ่ี ฝ้า พยายามมาหลายวัน เม่ือมีการน่ังพิจารณาดูถึงความล้มเหลวในครั้งนั้นกลับพบว่า มีทราย เม็ดเล็กเม็ดน้อยแอบซ่อนอยู่ในดินเหนียวมากมาย ท้ังท่ีก่อนหน้านี้ “โต๊ะแน แนะ”ยังบอกว่าเป็นดินเหนียวเน้ือขาวเนียน ไม่มีเศษทรายปะปนอยู่เลย ที่แท้แล้วเป็นทรายท่ีเรามองไม่ค่อยจะเห็นเพราะขนาดของมันเล็กมาก ดังน้ัน ความคิดในการท�ำเครอื่ งป้นั ดินเผาจึงได้ชะงักไปด้วยเหตุนี้ ผู้เล่าถึงเรื่องราวดังกล่าวก็หยุดชะงักไปด้วยเช่นกันเม่ือถึงตอนส�ำคัญ ขา้ พเจา้ สงั เกตเหน็ ไดว้ า่ การพดู ดว้ ยประโยคทย่ี าวๆ ของผสู้ งู อายกุ ค็ งตอ้ งเหนอ่ื ย กันบ้างเป็นธรรมดา จึงได้ย่ืนน�้ำให้ดื่มเพื่อเป็นการบอกให้หยุดพักเหนื่อยก่อน โต๊ะสีม๊ะรับแก้วน�้ำมาดื่มเพียงนิดเดียว แล้วจึงหันไปพูดกับหลานชายที่น่ังฟัง อย่างใจจดใจจอ่ อกี คนไมน่ อ้ ยไปกว่าน้าของเขาเลย “จะไปเล่นกับเพื่อนก็ไปเถอะอาราฟัต” หลานชายกลับนั่งนิ่งไม่มี การโต้ตอบใดๆทัง้ ส้ิน “ให้หลานนั่งฟังด้วยก็ได้เพราะอย่างน้อยต่อไปในอนาคต หลาน อาจจะไดน้ กึ ถงึ คำ� บอกเล่าดีๆ เหล่านีจ้ ะได้น�ำความร้ไู ปสานตอ่ กอ็ าจเป็นได้” ข้าพเจ้าแอบเห็นสีหน้าของโต๊ะท่ีมองหลานแล้วก็ส่ายหน้าไปมา เหมอื นก�ำลงั จะบอกว่า “เป็นไปไม่ได้อย่างแน่นอน” ขา้ พเจ้าเองก็ไมไ่ ดพ้ ดู ต่อความยาวสาวความยืดให้มากมาย เนื่องจาก ตอนนอ้ี ยากจะฟงั เรอ่ื งเลา่ ของเครอื่ งปน้ั ดนิ เผาในหมบู่ า้ นของเรากนั ตอ่ จนใจจะ ขาดอยแู่ ลว้ ซงึ่ โตะ๊ สมี ะ๊ เองกไ็ มไ่ ดเ้ วน้ ระยะการเลา่ นานเกนิ ไปเนอ่ื งจาก คงจะ พอสังเกตเห็นอาการ “อยากร”ู้ ของขา้ พเจ้าเพม่ิ ข้นึ มาในแววตาดวงน้ี สำ� หรบั
324 เรอื่ งดๆี ทีบ่ า้ นเรา คำ� พดู ของคนทม่ี อี ายมุ ากกวา่ ทว่ี า่ “อาบนำ�้ รอ้ นมากอ่ น”คงจะจรงิ ซะแลว้ กระมงั เร่ืองเล่าเครื่องปั้นดินเผายังไม่จบแค่น้ัน เม่ือวันหน่ึง “โต๊ะแนแนะ” คนเดมิ ได้น�ำวัวไปล่ามที่ในทงุ่ นา เกิดรู้สกึ เวยี นหวั ขนึ้ มาเลยไปน่งั พกั ที่ใต้รม่ ไม้ ขา้ งจอมปลวก เมอ่ื เอามอื ไปจบั จอมปลวกกลบั เหน็ ดนิ ทเี่ นยี นละเอยี ด ใจกย็ อ้ น กลบั ไปนกึ ถงึ เมอ่ื ครง้ั ทเี่ คยทำ� เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาแลว้ ไมป่ ระสบความสำ� เรจ็ มาแลว้ ครง้ั หนงึ่ และดนิ จอมปลวกนก้ี อ็ าจจะพอมคี ณุ สมบตั ใิ นการทำ� เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา ไดเ้ ชน่ กนั คดิ ไดด้ งั นนั้ แลว้ “โตะ๊ แนแนะ”กไ็ ดเ้ รยี กสมาชกิ กลมุ่ เดมิ มานงั่ ลอ้ มวง กันอกี หน คราวนกี้ ็ยังมีความหวังวา่ จะได้ “กระออม”เหมอื นเชน่ ทีเ่ คยคิดไว้ ดินจอมปลวกหรือที่เรยี กสนั้ ๆ ว่า “ดินปลวก” ถกู นำ� มาทุบ และตำ� ให้แตก เห็นเนอื้ ดนิ ทีล่ ะเอยี ดแล้วย่ิงเพิ่มความดีใจใหก้ ับ “โตะแนแนะ” ยิ่งนกั ข้ันตอนการท�ำยังเหมือนเดิม และแล้วคร้ังน้ีความฝันก็กลายเป็นจริงจนได้ เม่ือเสร็จส้ินจากการเผาในเตาเผาอยู่นานร่วมสองคืน ก็ได้“กระออม”สีเหลือง อมสม้ ซง่ึ เปน็ สที เ่ี กดิ จากการนำ� ดนิ เหนยี วมาเผาไฟดมู สี สี นั สวยงามและแขง็ แรง แต่เพื่อความแน่ใจว่า “กระออม”ท่ีได้ พร้อมจะน�ำไปใช้งานได้จริงแล้วน้ัน ต้องเอากระออมมาลองใส่น�้ำแล้วแช่ทิ้งไว้สักหน่ึงถึงสองคืนว่าน�้ำจะไม่ซึม ออกมา อีกทัง้ ยังเป็นการลบล้างกล่ินดนิ เหนยี ว กลิ่นจากการเผาไหม้ให้หมดไป ต้องใส่น้�ำขังเอาไว้ในกระออมต่ออีกสักสามถึงห้าวันจนแน่ใจว่าไม่มีกล่ินแล้ว ก็เทน�้ำออก แค่น้ีก็จะได้กระออมท่ีพร้อมจะใส่น�้ำเพ่ือน�ำไปดื่มได้แล้ว น้�ำที่ใส่ เก็บไว้ในกระออมก็เย็นชื่นใจ ถ้าดื่มดับกระหายรสชาติก็ไม่แพ้น้�ำท่ีแช่ในตู้เย็น เป็นแน่ แถมไม่เย็นจัด ไม่มีโทษเหมือนน�้ำแช่เย็นแบบสมัยใหม่นี้อย่างแน่นอน คนสมัยก่อนมกั จะน�ำกระออมมาตั้งไว้ในครัวเพื่อใส่น้ำ� ไวด้ ื่มกนิ ไว้คอยตอ้ นรับ แขกผมู้ าเยือน หรอื บางบา้ นจะน�ำกระออมใสน่ �้ำมาวางไวห้ น้าบา้ น เพือ่ บรกิ าร ใหก้ บั ผคู้ นทเ่ี ดนิ ผ่านไปมา เกดิ อาการหวิ นำ้� กส็ ามารถตกั ดมื่ ไดเ้ ลย เพราะถอื วา่ เป็นท่รี ู้กันถงึ ความมีนำ้� ใจของคนบา้ นเราทมี่ มี านานแลว้ สมัยนีแ้ ทบหาความมี
เรื่องดๆี ท่บี า้ นเรา 325 น้�ำใจแบบนั้นได้ยากเหลือเกิน ใครหิวน้�ำก็แวะหาซ้ือตามร้านสะดวกซ้ือกันเอง จนท�ำให้เด็กสมัยใหม่น้ีไม่รู้จักว่ากระออมคืออะไร ท�ำจากอะไร ท�ำแบบไหน ท�ำเพื่ออะไร ซึ่งเป็นเร่ืองน่าเศร้าที่ไม่มีใครสนใจจะเรียนรู้ท่ีจะใช้ภูมิปัญญา ทอ้ งถ่นิ ของเราใหเ้ กดิ ประโยชนข์ นึ้ มาอีกครงั้ ขา้ พเจา้ ตง้ั ใจฟงั ดว้ ยความดใี จเปน็ อยา่ งยงิ่ ทไ่ี ดม้ คี วามรเู้ รอื่ งดๆี แบบน้ี แมจ้ ะเป็นเร่อื งราวที่กำ� ลงั จะถกู ลืมหายไปกับกาลเวลากต็ าม แต่อย่างน้อยกไ็ ด้ รู้อีกว่าเร่ืองดีๆ ที่มีอยู่ที่บ้านเรานี้เป็นเรื่องดีที่ข้าพเจ้าต้องน�ำไปเผยแพร่ ให้ลูกหลานของหมู่บ้านเราไดร้ บั รูต้ อ่ ไปอยา่ งแนน่ อน “หลงั จากนน้ั กม็ กี ารทำ� เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผากนั หลายครวั เรอื น มกี ารคดิ คน้ รูปแบบและเพ่ิมลวดลายให้ดูสวยงามตามความชอบ จึงได้กลายเป็นสินค้า คณุ ภาพดที นี่ ำ� ไปจำ� หนา่ ยทง้ั ในและตา่ งจงั หวดั ทกุ บา้ นจะตอ้ งมกี ระออมเกบ็ ไว้ ใช้งานตั้งแต่สองใบข้ึนไป การผลิตเคร่ืองปั้นดินเผามีสืบเนื่องกันมาหลายรุ่น จนถึงตอนนี้ก็ยังมีคนในหมู่บ้านเราเพียงไม่กี่คนที่ยังพอมีความรู้ในเรื่องน้ี อยบู่ ้าง” “แล้วศูนยผ์ ลติ เครอื่ งปั้นดินเผาที่มีอยู่ในหมู่บา้ นของเราละ่ ไดใ้ ชง้ าน กันอยู่หรือเปลา่ คะ” ขา้ พเจา้ วกกลับมาถามเร่อื งเดิมอีกครัง้ “ความจริงแล้วส่ิงท่ีก�ำลังจะเลือนหายไปนี้ ได้มีกลุ่มคนบางส่วนท่ียัง เห็นความส�ำคัญอยู่บ้าง จึงร่วมมือกันจัดตั้งศูนย์ผลิตเคร่ืองปั้นดินเผาขึ้นมา มีการจัดซื้อเคร่ืองจักรส�ำหรับไว้ผลิตและต้องการเปิดให้ผู้ที่สนใจได้มาศึกษา หาความรู้จากภมู ปิ ญั หาท้องถ่ินในชุมชนของเราน้ี โตะ๊ เองก็ถกู ทาบทามให้เป็น ผูใ้ หค้ วามรู้และผคู้ อยสอนอาชพี ใหแ้ กล่ ูกหลานของเรา แต่ด้วยความผิดพลาด ประการใดไมอ่ าจรไู้ ด้ ศนู ยผ์ ลติ เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาเกดิ การชะงกั ไมม่ กี ารเปดิ อยา่ ง เปน็ ทางการ จากวันนัน้ เลยมาจนถึงวันนี้ โตะ๊ จงึ ไดแ้ ต่นกึ เสยี ดายและรสู้ ึกหดหู่ อยู่ในใจมาตลอด เพราะมนั เปน็ ส่งิ ท่อี ยกู่ ับโต๊ะมานานแลว้ โต๊ะจึงรักงานน้ีมาก
326 เรอ่ื งดีๆ ทบี่ ้านเรา และไมอ่ ยากใหม้ นั เปน็ เรอื่ งทถี่ กู ลมื ไปอยา่ งงา่ ยดายเชน่ นี้ ความยากลำ� บากของ โตะ๊ แนแนะ เม่ือครง้ั ท่ยี ังไม่รจู้ ักผลิตเครอ่ื งปั้นดินเผา แตก่ ย็ งั พยายามค้นหาวิธี และสบื สานตอ่ มาถึงรุน่ โตะ๊ ไดน้ ้ันเป็นเร่อื งทดี่ ีแคไ่ หน สุดทา้ ยโต๊ะกจ็ ะทง้ิ สงิ่ ดีๆ เหล่าน้ไี ว้ให้อยู่แค่รนุ่ โตะ๊ จริง ๆ อยา่ งนั้นเหรอ” ข้าพเจ้าได้ยินน�้ำเสียงท่ีโต๊ะสีม๊ะพูดแล้วพาให้นึกถึงค�ำพูดที่หลานชาย ไดไ้ ปปรกึ ษาหารอื เมอื่ ชว่ งบา่ ยทผี่ า่ นมา หรอื จะเปน็ สาเหตนุ ที้ ท่ี ำ� ใหผ้ หู้ ญงิ แกรง่ คนหน่ึงตอ้ งเศรา้ ใจ ดเู หมอ่ ลอย ไม่มคี วามสุข เพราะการหายไปของสิ่งของอัน เปน็ ทร่ี กั มากอยา่ งนนั้ หรอื ขา้ พเจา้ คดิ ในใจแลว้ หนั ไปมองหน้าหลานชายทตี่ อน นก้ี �ำลงั ใช้ความคิดอะไรสกั อย่าง แต่แล้วจู่ ๆ ก็เดนิ ออกไปจากวงสนทนาโดย ไม่บอกกล่าวอะไรเลย เรื่องราวดๆี เหลา่ นจี้ ะทำ� อย่างไรให้มันคงอยูก่ บั เราต่อไป ข้าพเจ้าก็ได้ แต่หวังว่าวันหนึ่งความหวังของโต๊ะสีม๊ะคงจะกลับมาสู่หมู่บ้านของเรา อย่างแนน่ อน อยา่ งน้อยขา้ พเจ้ากเ็ ปน็ คนหนง่ึ ที่ได้รบั รูเ้ รือ่ งราวดๆี เหลา่ นแ้ี ลว้ หากมีโอกาส ข้าพเจ้าจะขอเป็นส่วนหน่ึงที่จะท�ำให้ความหวังอันริบหรี่น้อยนิด กลับมาสว่างไสวได้อีกครั้งหน่ึง ความหวังของข้าพเจ้าคงจะยังไม่สายเกินไป ถา้ จะท�ำให้มนั เปน็ จริงข้ึนมา โตะ๊ สมี ะ๊ เดนิ นำ� หนา้ พาขา้ พเจา้ เดนิ ออกไปจากตวั บา้ นทางทศิ ตะวนั ตก เพ่ือมุ่งหน้าไปสู่ศูนย์ผลิตเครื่องปั้นดินเผาท่ีตั้งอยู่บริเวณทุ่งนาห่างจากตัวบ้าน ไปประมาณห้าสิบเมตร ทางเดินมีหญ้าข้ึนรกเต็มไปหมดแม้กระท่ังตัวอาคาร หลงั เลก็ ซง่ึ เปน็ ทต่ี ง้ั ของศนู ยผ์ ลติ เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผากด็ รู กรา้ งวงั เวงยงิ่ นกั โตะ๊ สมี ะ๊ เดนิ ไปรอบๆ พลางเอามอื ไปดงึ เถาวลั ยท์ เี่ ลอ้ื ยขน้ึ ไปยงั หลงั คาออก ขา้ พเจา้ เดนิ เข้าไปด้านใน ไมม่ ีเครือ่ งจกั รใดใหเ้ ห็น นอกจากเศษไม้ผุพงั ท่ีนำ� มาต้งั กองรวม ไวอ้ ยา่ งไมเ่ ปน็ ระเบยี บนกั ขา้ พเจา้ เองยงั นกึ เสยี ดายอยไู่ มน่ อ้ ย แตค่ วามเสยี ดาย
เรอ่ื งดีๆ ท่บี ้านเรา 327 คงไมม่ ากมายเทา่ กบั คนทอี่ ยตู่ รงหน้าขา้ พเจา้ ทอ่ี ยกู่ บั สง่ิ นม้ี านานจนรสู้ กึ ผกู พนั เข้าไปแลว้ เตม็ หวั ใจ เสียงคนเดินอยา่ งช้าๆ ดังเขา้ มาในความเงยี บ ขา้ พเจ้ารบี หนั ไปมองดู ถงึ ทีม่ าของเสียงนัน้ ทันที พอดีกับท่ีโต๊ะสีมะ๊ ก็หนั ไปอยา่ งรวดเรว็ และแล้วภาพ ทเ่ี ราเหน็ คอื เดก็ ชายวยั สบิ ขวบทค่ี นุ้ หนา้ กนั เปน็ อยา่ งดเี ดนิ มาพรอ้ มกบั กระออม ใบหนงึ่ ทมี่ องดกู ร็ ทู้ นั ทวี า่ ผา่ นการแตกมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ หา้ ชนิ้ แตถ่ กู สกอ็ ตเทป ท้ังสใี ส สขี าว สแี ดง น�ำมาแปะไว้รอบๆ เพื่อให้คงรปู เดิมไว้ให้มากท่สี ดุ ทงั้ โตะ๊ สมี ะ๊ และข้าพเจ้าพดู ออกมาแทบจะพรอ้ มกัน “อาราฟัตไปเอากระออมมาจากไหน” แทนค�ำตอบอาราฟัตยื่นกระออมในมือให้โต๊ะสีม๊ะด้วยความทุลักทุเล กลวั วา่ ชิ้นส่วนจะหลดุ ออกจากกัน หลงั จากทพี่ ยายามถือมาดว้ ยความลำ� บาก โตะ๊ สมี ะ๊ รบั มาดว้ ยใบหนา้ ทย่ี มิ้ แยม้ แมใ้ นดวงตาจะมนี ำ�้ ใสๆ ปรม่ิ พรอ้ ม จะเออ่ ล้นได้ทุกเม่อื “ผมเห็นมันอยู่ในยุ้งข้าวมานานแล้ว มันบาดเจ็บ ผมจึงช่วยรักษา ใหม้ นั หายเจบ็ ” ข้าพเจ้าฟังแล้วพาลท�ำให้น้�ำตาไหล หลานชายช่วยรักษากระออม ที่บาดเจ็บเท่ากับได้รักษาแผลในหัวใจท่ีหดหู่มาโดยตลอดของโต๊ะท่ีเขารัก กระออมของโต๊ะที่โต๊ะรักกลับมาแล้ว แม้มันจะไม่สามารถท�ำงานให้กับโต๊ะ ไดเ้ หมอื นเดมิ กต็ าม แตอ่ ยา่ งนอ้ ยสง่ิ ทท่ี ำ� ใหโ้ ตะ๊ สมี ะ๊ กลบั มามรี อยยม้ิ อยา่ งเปน็ สขุ ไดอ้ กี คร้ัง ในวนั นีก้ ็คอื กระออมของโตะ๊ ใบน้นี ีเ่ อง “ขอบคุณฉูมากเลยนะครับ ท่ีฉูท�ำตามค�ำสัญญาท่ีให้ไว้กับผมในวันนี้ ผมดใี จมากทส่ี ดุ เลยทวี่ นั นผี้ มไดเ้ หน็ รอยยมิ้ ของโตะ๊ เหมอื นทผ่ี มเคยเหน็ รอยยม้ิ ท่ีมคี วามสุขคร้ังนีผ้ มจะไมม่ ีวันลืมได้เลย”
328 เรอ่ื งดๆี ท่บี า้ นเรา ขา้ พเจา้ ยมิ้ ใหแ้ ทนคำ� ตอบ และดว้ ยความปลาบปลม้ื ใจจงึ ไดแ้ ตโ่ บกมอื ให้หลานชายในขณะที่มืออีกข้างหน่งึ ของข้าพเจ้าพยายามบงั คบั หวั รถจกั รยาน ให้ตรง แมจ้ ะมีอกี หลายคำ� พูดที่อยากจะเอ่ยออกมา แต่มนั พดู ไมอ่ อกจรงิ ๆ กระออมออมรอยยม้ิ ทลี่ น้ ปร่มิ พรอ้ มแจกจา่ ย ความสุขของผ้ใู ห ้ คือการได้นึกถึงกนั ได้คดิ ถึงบางสง่ิ ท่ีถกู ทง้ิ ไปพรอ้ มฝนั มคี นร่วมแบ่งปัน ถา่ ยทอดวันอนั สวยงาม กระออมใบแลว้ เลา่ ทใ่ี ครเขาต่างลมื ถาม ได้เห็นเป็นแค่นาม ที่บอกความให้ไดย้ นิ กระออมของบ้านเรา ชว่ ยบอกเล่าชว่ ยตดั สนิ จะใหค้ �ำวา่ ดนิ มีค่าตอ่ หรือพอที ขา้ พเจา้ เองเปน็ เพยี งผหู้ ญงิ ตวั เลก็ ๆ คนหนง่ึ ทไี่ มส่ ามารถแกป้ ญั หาอนั หนักอึ้งได้หมดทุกเร่ือง แต่ขา้ พเจ้ามีความเชื่ออย่างหน่ึงว่า ปัญหาทุกอย่างมี หนทางแก้ไขได้เสมอขึ้นอยู่กับก�ำลังใจท่ีเข้มแข็งและความอดทนของผู้ท่ีพบกับ ปญั หา ขา้ พเจ้าได้เหน็ แลว้ ว่าสิง่ ดี ๆมีอยทู่ กุ ท่แี ละทุกกา้ วที่เราเดิน ข้นึ อยู่กับ ว่าวันนี้เราเดินไปทางไหนและได้เจอกับอะไรบ้าง ก็จงเก็บเก่ียวสิ่งดี ๆ ในเส้น ทางท่ีเราเดินไปให้ได้มากที่สุด อย่างเช่นในวันนี้ ข้าพเจ้าได้กลายเป็นฮีโร่ใน ความคดิ ของหลานชาย โดยทจ่ี รงิ ๆแลว้ ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดล้ งมอื ทำ� อะไรเลยสกั อยา่ ง แตเ่ รื่องดๆี ก็เกดิ ข้นึ มาจากความรักของหลานทม่ี ตี ่อผู้เป็นย่า และความผกู พนั ของผู้เป็นย่าที่มีให้กับงานท่ีตนเองรัก ท�ำให้ข้าพเจ้าได้เห็นภาพแห่งความ ประทับใจที่มีอยู่ภายในบ้านของเรานี้เอง และยังได้ความรู้มากมาย เพียงแค่ ตัดสินใจก้าวเดินออกมาจากบ้านเพียงแค่ไม่กี่ชั่วโมงเทา่ น้ันเอง ออกมาเพื่อให้
เรือ่ งดๆี ที่บ้านเรา 329 ได้มีเรื่องรำวดี ๆ กลับไปฝำกคนในบ้ำนให้ได้เล่ำสู่กันฟังเพ่ือช่วยย�้ำเตือน เรื่องดๆี ในวนั วำนด้วยกนั วนั นคี้ งเปน็ อกี หนง่ึ วนั ทข่ี ำ้ พเจำ้ มคี วำมสขุ ทส่ี ดุ เมอื่ เทยี บกบั หลำยๆ วนั ทผ่ี ำ่ นมำ อำกำศจะรอ้ นอบอำ้ วหรอื หนำวจบั ใจ กม็ ไิ ดท้ ำ� ใหข้ ำ้ พเจำ้ หวน่ั ไหวอกี ต่อไปแลว้ ขอเพียงมีจิตใจทีม่ ่นั คงในกำรกระท�ำสิ่งดีๆ ให้กับโลกใบนขี้ องเรำได้ ก็นำ่ จะเพียงพอแลว้ มีหลำยสิง่ หลำยอย่ำงเปน็ เร่อื งดๆี ที่เกิดขนึ้ ท่ีบำ้ นของเรำ บ้ำนหลังเล็กๆ ที่รวมกันอยู่ด้วยควำมสงบร่มเย็นเรื่อยมำ แม้จะมีบำงอย่ำง เปลีย่ นแปลงไปบ้ำงตำมกำลเวลำ แตส่ ิ่งทย่ี ึดเหนย่ี วจติ ใจของทุกคนในหม่บู ้ำน ไวใ้ หม้ คี วำมรัก สำมคั คี นั่นก็คือ ชำติ ศำสนำ และพระมหำกษัตรยิ ์ บ้ำนทกุ หลงั ลว้ นมคี วำมรัก บ้ำนทกุ หลังลว้ นมปี ัญหำ และคงไม่มีใครหลกี หนกี ฎเกณฑ์ ธรรมชำตนิ ไี้ ปได้ กำรเกดิ แก่ เจบ็ ตำย ย่อมเป็นสจั ธรรม ส่ิงท่พี อจะทำ� ได้ในวัน นคี้ อื เกบ็ เรอื่ งรำวดๆี เอำไวบ้ อกตอ่ ใหค้ นรนุ่ หลงั ไดร้ ถู้ งึ เรอื่ งดงี ำม กำรถอื ปฏบิ ตั ิ ทท่ี �ำใหส้ ังคมมคี วำมสขุ ขนบธรรมเนียม ประเพณีดีๆ ทสี่ ืบทอดต่อกนั มำ อยำ่ ใหไ้ ดห้ ำยไปพรอ้ มกบั กำลเวลำ คงไมย่ ำกเกนิ ไปสำ� หรบั กำรชว่ ยแบง่ ปนั เรอื่ งรำว ดี ๆท่ีมีอยู่ และร่วมเป็นส่วนหน่ึงในกำรรักษำไว้ซ่ึงส่ิงดีงำมให้คงอยู่คู่กับสังคม ในบำ้ นอันอบอุ่นของเรำนไ้ี ปอกี นำนแสนนำน
330 เรื่องดีๆ ทบ่ี า้ นเรา รายชอื่ คณะกรรมการโครงการประกวดเรยี งความ “คดิ ถึงเรอื่ งดี ๆ ท่ีนา่ จดจำ� ” คณะกรรมการคัดสรรผลงานเรียงความ ๑. นายชาย นครชัย ทีป่ รึกษา ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักงานศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมยั ๒. นายจรญู หยทู อง ประธานกรรมการ รองผูอ้ ำ� นวยการสถาบันทักษิณคดีศึกษา ๓. นางสาวนาถนศิ า สุขจิตต์ รองประธานกรรมการ ผอู้ �ำนวยการศนู ย์เครือข่ายสัมพันธ์และแหล่งทุน ส�ำนักงานศิลปวฒั นธรรมร่วมสมัย ๔. นายนิพล รัตนพนั ธ์ กรรมการ นกั เขยี น นามปากกา “สายธารสโิ ป” และครูต้นแบบ จังหวดั นราธิวาส ๕. นายมานพ แก้วสนทิ กรรมการ นักเขยี นวรรณกรรมเยาวชน ๖. ดร.มาโนช ดนิ ลานสกลู กรรมการ อาจารยป์ ระจ�ำสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ๗. ดร.วิมลมาศ ปฤชากลุ กรรมการ หวั หน้าภาควชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี ๘. นายชมุ ศกั ด์ิ นรารตั น์วงศ์ กรรมการ นกั เขียนสารคดี
เรอื่ งดีๆ ทบี่ า้ นเรา 331 ๙. นายอภชิ าติ จนั ทร์แดง กรรมการ นกั เขยี น และอาจารย์ประจำ� สถาบันสนั ติศกึ ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ๑๐. นายอบั ดุลสโุ ก ดนิ อะ กรรมการ ผชู้ ่วยผู้จดั การโรงเรียนจรยิ ธรรมศกึ ษามลู นิธิ จังหวัดสงขลา ๑๑. นางสาววนดิ า เต๊ะหลง กรรมการ อาจารย์ประจ�ำคณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ๑๒. นางสุจิตรา พรี ะพงศ์ กรรมการและ นกั วชิ าการวฒั นธรรมช�ำนาญการ เลขานุการ ส�ำนักงานวฒั นธรรมจังหวัดสงขลา ๑๓. นางสาวแสงทิวา นราพชิ ญ์ กรรมการและ นกั วชิ าการวฒั นธรรมชำ� นาญการ ผูช้ ่วยเลขานุการ สำ� นักงานศิลปวัฒนธรรมรว่ มสมัย คณะกรรมการตัดสินผลงานเรยี งความ ๑. นายชาย นครชยั ที่ปรึกษา ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ๒. นายสถาพร ศรีสัจจงั ประธานกรรมการ ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาวรรณศลิ ป์ ๓. นางสาววมิ ลลกั ษณ์ ชชู าติ รองประธานกรรมการ ผ้เู ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นสง่ เสรมิ งานวิจติ รศลิ ป์ (ทัศนศลิ ป)์ ๔. รศ.ดร.ดวงมน จิตรจ์ ำ� นงค์ กรรมการ อาจารย์ประจำ� ภาควชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี
332 เร่ืองดีๆ ท่ีบ้านเรา ๕. นายประภัสสร เสวกิ ุล กรรมการ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาวรรณศิลป์ และอดตี นายกสมาคมนักเขยี นแหง่ ประเทศไทย ๖. นายเจน สงสมพนั ธ ์ุ กรรมการ นายกสมาคมนกั เขียนแห่งประเทศไทย ๗. นายวศิ ษิ ฏ์ ศาสนเทย่ี ง กรรมการ ผกู้ �ำกับภาพยนตรแ์ ละนักเขยี นบทภาพยนตร์ ๘. นายวฒุ ิชาติ ชุม่ สนิท กรรมการ นักเขยี น และบรรณาธิการนติ ยสารไรเตอร์ ๙. นางสาวนาถนศิ า สุขจติ ต์ กรรมการและ ผู้อำ� นวยการศนู ย์เครอื ข่ายสัมพนั ธ์และแหลง่ ทุน เลขานุการ ส�ำนักงานศลิ ปวฒั นธรรมรว่ มสมัย ๑๐. นางสาวแสงทิวา นราพชิ ญ์ กรรมการและ นกั วชิ าการวัฒนธรรมชำ� นาญการ ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร ส�ำนักงานศลิ ปวัฒนธรรมร่วมสมัย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334