Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องดีๆที่บ้านเรา

เรื่องดีๆที่บ้านเรา

Published by Thalanglibrary, 2020-11-09 04:09:25

Description: สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ได้ริเริ่มดำเนินโครงการประกวดเรียงความ หัวข้อ “เรื่องดีๆ ที่บ้านเรา” ในปี ๒๕๕๕ นี้ เป็นปีแรก โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ได้มีโอกาสถ่ายทอดเรื่องราวดีๆ ในรูปแบบวรรณกรรม นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับการถ่ายทอด เล่าเรื่องราวจากผู้อาวุโสของครอบครัวหรือของหมู่บ้าน เล่าขานถึงตำนานหรือวิถีชีวิต ที่มีความสุขให้เด็กและเยาวชนเกิดความประทับใจและภาคภูมิใจในเรื่องราวที่ผ่านมา เป็นการสร้างแรงบันดาลใจที่จะเชื่อมโยงอดีตสู ่ปัจจุบัน และร่วมกันหาแนวทางที่จะสร้างสรรค์สังคมให้สงบสุข และส่งต่อความดีเพื่อส่วนรวม ตลอดจนเป็นการสนับสนุนการสร้างสรรค์ผลงานด้านวรรณศิลป์แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ทั้งนี้ มีผู้ส่งผลงานเข้าประกวดรวม ๑,๐๔๓ ผลงาน แบ่งเป็นระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๓๗ ผลงาน ระดับมัธยมศึกษา จำนวน ๗๗๘ ผลงาน ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป จำนวน ๑๒๘ ผลงาน โดยคณะกรรมการได้พิจารณาคัดเลือกผลงานที่มีคุณค่า ทั้งในด้านเนื้อหา การใช้ภาษา และความคิดสร้างสรรค์ จนได้ผู ้ที่มีผลงานโดดเด่นเพื่อรับรางวัลป

Search

Read the Text Version

250 เร่อื งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา ปี พ.ศ.๒๔๘๔ เมื่อควนั แหง่ สงครามโลกครั้งท่ี ๒ เร่มิ คกุ ร่นุ ขึน้ นน้ั พอ่ รับราชการเป็นข้าราชการต�ำรวจช้ันผู้น้อย ท�ำหน้าที่ประดุจเฟืองจักรช้ินเล็กๆ ซง่ึ อาจไมส่ ลกั สำ� คญั เทา่ ใดนกั แตห่ ลายๆ ฟนั เฟอื งนแ่ี หละทท่ี ำ� หนา้ ทขี่ บั เคลอื่ น กลไกจักรใหญใ่ ห้ทำ� งาน ก่อนหน้าน้ันรัฐบาลไทยรู้ดีว่า ควันไฟแห่งสงครามจะต้องรุกคืบมาสู่ ประเทศไทยอย่างหลกี เลยี่ งไม่ได้ “แมห้ วงั ต้งั สงบ จงเตรยี มรบให้พร้อมสรรพฯลฯ” ทหาร ต�ำรวจ ข้าราชการพลเรือนทุกหมู่เหล่า รวมท้ังยุวชนทหาร และราษฎรต่างรู้ดี โดยเฉพาะเป้าหมายพ้ืนที่ชายฝั่งทะเลไทยอันเป็นเขต อ่อนไหว ถกู สั่งใหจ้ ับตาเฝา้ ระวงั อยา่ งใกลช้ ดิ คนื นัน้ แรม ๕ ค่ำ� เดือนธนั วาคม ช่วงปลายมรสมุ ชาวประมงพืน้ บา้ น ต�ำบลรูสะมิแลกลุ่มหน่ึงออกไปลอยเรือตกปลาอยู่ในทะเลหลวง ผู้คนเหล่าน้ี ไดแ้ ก่ ยนู ,ุ มดู อ,ยะโกะและมะมงิ ไดก้ ลายมาเปน็ บคุ คลส�ำคญั โดยไมท่ นั รเู้ นอ้ื รตู้ วั นั่นเพราะพวกเขาเป็นผู้เผชญิ เหตุ การยกพลขึ้นบกของกองทัพลกู พระอาทติ ย์ ภาพเรือรบข้าศึกจ�ำนวนมหาศาลในรัตติกาลกลางทะเลอ่าวไทย ท�ำให้ต่างรดู้ ีว่า สงครามได้เปิดฉากแรกขน้ึ แล้ว เรือหาปลารีบกลับล�ำสู่แผน่ ดิน ต่างรีบกระจายข่าวให้ผู้คนในหมู่บ้านได้รู้กันทั่ว น่ันเป็นเพราะฟันเฟืองเล็กๆ ของผคู้ น จึงเป็นผลใหท้ างการไทยสามารถมเี วลาเตรยี มตัว ตงั้ รับข้าศึกศัตรูได้ ทนั ท่วงที โดยไม่มีเวลาหยุดพักเหนื่อย มูดอรีบนำ� รถจักรยานออกจากบ้าน โดยมยี นู เุ กาะตดิ ทา้ ย ปน่ั สดุ แรงนอ่ ง ตรงไปยงั บา้ นปลดั ละมนุ ทเี่ ขารจู้ กั แลว้ จงึ นำ� ความไปบอกต่อกับนายอ�ำเภอ สำ� ราญ พจนสุภาณ ท่บี ้านพกั จากนนั้ ทกุ คน ม่งุ ตรงไปรายงานเร่อื งราวต่อ หลวงสุนาวนิ วิวฒั น์ ร.น.ข้าหลวงประจำ� จงั หวัด ทา่ นขา้ หลวงเมอื่ รบั รรู้ ายละเอยี ดแลว้ รบี ขบั รถประจ�ำตำ� แหนง่ ตรงไป ยัง สภ.อ.เมืองปตั ตานี เพือ่ เรยี กระดมพลทนั ที

เร่อื งดๆี ท่บี ้านเรา 251 “ปร๊ดี ๆ ปร๊ดี ๆ ปรี๊ดๆ”เสยี งนกหวีดดังข้นึ ในยามดกึ ปลกุ ใหช้ าวบา้ น ชาวเมืองต่ืนขึ้นจากหลับ และเม่ือรู้ว่าต้องเผชิญกับสิ่งใด อารมณ์ของผู้คน กฮ็ กึ เหมิ และพรอ้ มส้กู บั ผู้บกุ รกุ ดนิ แดน อาวุธปืนและเคร่ืองกระสุนถูกแจกออกไปพร้อมก�ำลังพล ราษฎร ยุวชนและอาสาสมัครกระจายตัวออกไปตั้งรับตามแผนเผชิญเหตุที่เคยซักซ้อม กันไว้ โทรศพั ทถ์ กู ตอ่ สายถงึ กองพนั ท่ี ๔๒ คา่ ยองิ คยทุ ธบรหิ าร ต�ำบลบอ่ ทอง อำ� เภอหนองจิก ใหส้ ง่ ก�ำลงั มาสมทบโดยรบี ด่วน ทัพญี่ปนุ่ เร่ิมขน้ึ บกทฝ่ี งั่ บางตาวา อำ� เภอหนองจกิ เพอื่ หวังตัดเสน้ ทาง เดนิ ทัพมาช่วยของกองพันท่ี ๔๒ กองกำ� ลงั หน่ึงยกพลขนึ้ ที่ ต�ำบลบานา อ�ำเภอ เมืองปัตตานี เพื่อเคล่ือนทัพสู่ตัวตลาด อีกชุดหนึ่งขึ้นท่ี ต�ำบลรูสะมิแล และตำ� บลสะบารัง หวงั โอบทพั เป็นปีกกาล้อมเมืองปัตตานี ในที่สุดการปะทะก็เกิดข้ึน จนถึงขั้นตะลุมบอนกันด้วยดาบปลายปืน และมดี สน้ั แบบใครดใี ครอยู่ ขา้ ศกึ และฝา่ ยเราตา่ งลม้ ตายไปตามกนั เลอื ดสแี ดง ฉานหลั่งนองไปท่ัวทุกหนแห่ง ไม่ต่างกับการสาดนำ้� เข้าหากัน ย่อมเปียกปอน กนั ไปทงั้ สองฝา่ ย ทแี่ นๆ่ ฝา่ ยขา้ ศกึ สญู เสยี ก�ำลงั พลไปมากกวา่ ฝา่ ยเราหลายเทา่ นกั แต่ยังไมม่ ฝี ่ายใดเพลี่ยงพล�้ำ จวบจนเชา้ ของวันใหม่ ขณะเวลาลว่ งมาถึง ๑๐.๐๐ น. จึงมคี ำ� สง่ั แจง้ มาว่า “รัฐบาลไทยโดยฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้เจรจากับกองทัพญ่ีปุ่นแล้ว ขอให้หยุดยงิ ” เม่อื มกี ารสำ� รวจ ปรากฏวา่ เราสูญเสยี ยุวชนทหารไป ๕ นาย ต�ำรวจ ๕ นาย ขา้ ราชการพลเรอื น ๙ นาย และยงั มรี าษฎรอีกหลายชวี ติ ที่สญู เสยี ก�ำลัง พลไปมากท่ีสุดได้แก่ทหารจากค่าย ร.พัน ๔ มีจ�ำนวนถึง ๒๔ ชีวิต จากการ ถูกซุ่มโจมตีแบบไม่รู้ตัวขณะส่งก�ำลังมาช่วยในตัวเมือง บุคคลส�ำคัญผู้จากไป ที่ควรยกย่องคอื พ.อ.ขนุ องิ คยทุ ธบรหิ าร ซ่งึ เป็น ผบ.กองพนั ทหารราบที่ ๔๒

252 เรอื่ งดีๆ ที่บา้ นเรา การต่อสู้คร้ังน้ัน พ่อไม่ได้รับบาดเจ็บจากการปะทะ แต่สูญเสีย เพ่ือนสนิทอันเป็นท่ีรักไปโดยไม่มีวันหวนคืนกลับ แน่นอนว่าเขาเหล่านั้นคือ วีรบุรุษผู้ปกป้องผืนแผ่นดินไทย ซ่ึงยังอยู่ในความทรงจ�ำของพ่อและผู้คน ตลอดไป ๓. แผ่นดนิ แหง่ โอกาส ท้องทะเลอันอุดม โชคดีที่ผู้เขียนเกิดและเติบโตมาในแผ่นดินแห่งโอกาสและทรัพยากร อันอุดม วัยเด็กท่ีโลดแล่นไปโดยไม่วิตกทุกข์ร้อน ในทุ่งนาป่าเขาล�ำเนาไพร ลว้ นรม่ รน่ื อดุ มไปดว้ ยขา้ วกลา้ นาไรไ่ มผ้ ล ทรพั ยากรมากมี ระบบนเิ วศชวี มณฑล ยงั สมดลุ ทอ้ งทะเลเวง้ิ อา่ วปตั ตานี มากมายดว้ ยฝงู ปลานานาชนดิ เมอื งนจี้ งึ เปน็ ทัง้ อขู่ า้ วและอูน่ ำ้� อันบรบิ รู ณ์ ยามน�ำ้ ลด ผเู้ ขียนเคยตกตะลงึ กบั ฝูงปลากระบอกวัยออ่ น จ�ำนวนนบั พนั นบั หมนื่ ตวั ตดิ คา้ งแอง่ เลนและทอ้ งรอ่ งละลานสดุ สายตา เหน็ เกลด็ สเี งนิ ตอ้ ง แสงอาทิตย์วับวาว ด้วยฝูงปลามัวหลงระเริงเล่นนำ้� จนกลับคืนท้องทะเลไม่ทัน ปรากฏการณน์ ้ีเป็นสง่ิ ปกตเิ จนตาผคู้ นเสมอมา ปลาดกุ ทะเลมใี นอา่ วและทกุ ทะเลโคลนชายขอบ ตวั อวบอว้ น และแทบ ไม่มีผู้คนใส่ใจจับมาท�ำเป็นอาหาร เว้นแต่ผู้คนต่างพื้นที่ จ�ำได้ว่าทุกคราวท่ีเรา จ้วงสวงิ ลงไปในท้องน�้ำ ไมม่ ีครั้งใดทไ่ี มไ่ ด้ตัวปลา หอยแครงที่นี่ตัวโตส่งไปขายแทบทุกทิศ แต่คนปัตตานีกลับไม่ชายตา มอง มีหอยอีกชนดิ หนึ่งท่รี ูปลกั ษณ์คล้ายหอยแครง เรียกวา่ หอยคราง นา่ จะมี อยู่แหล่งเดียวท่ีอ่าวปัตตานีแห่งน้ีเท่านั้น มีขนาดใหญ่กว่าหอยแครงที่ว่าใหญ่ แล้วเป็นไหนๆ หอยฝาเดยี วและหอยสองฝายงั มจี �ำนวนอกี มากมาย จนไมอ่ าจคาดเดา เชน่ หอยลาย หอยขาว หรอื ที่เรยี กวา่ หอยตลบั ลาย แคง่ มกันเล่นๆ ในทุกพื้นท่ี

เรอ่ื งดๆี ทบี่ ้านเรา 253 ชายน�้ำ ก็ได้เป็นปี๊บ ส่วนตัวผู้เขียนเองชอบหอยเชลล์ย่างไฟ เพราะเพียงเก็บ จากชายน�้ำ โยนร่อนเข้ากองไฟ ไม่ต้องอาศัยเครื่องปรุงรสใดๆ แค่น้ีอร่อย สดุ จะพรรณนาแลว้ ปดู ำ� ปมู า้ กห็ าไดง้ า่ ยไดม้ าตวั สองตวั กเ็ กนิ กนิ และคงไมต่ อ้ ง ถามหากันถึงปูแสม ที่ผู้คนชอบนำ� มาท�ำปูเค็ม มันมีกล่นเกลื่อนเป็นล้านๆ ตัว ดาษด่นื อยู่ตามผวิ พ้นื ทัว่ ไป ปชู นิดนีม้ กั อาศัยอย่ตู ามปา่ รมิ นำ้� ช่วงน้ำ� หลากมัน มมี ากถงึ ขนาดเกาะกงิ่ ไมห้ อ้ ยกระจกุ ตวั เปน็ พวงๆ เรยี่ นำ�้ ไรค้ นสนใจ แตป่ จั จบุ นั ปูชนิดน้ีกลับลดจ�ำนวนลงไป และกลายมาเป็นอาหารยอดนิยมคู่กับ สม้ ตำ� ไทย-ลาว ย้อนกลับไปถึงเร่ืองราวในประวัติศาสตร์ ก่อนหน้านี้นักเดินทางจาก ทุกมุมโลกเคยบันทึกไว้ คราวมาเยือนแดนดินถ่ินปัตตานี ว่าเป็นอู่วัฒนธรรม เทียบได้กับระเบยี งแห่งมักกะฮ์ มี “อลู ามะ”ปราชญ์ เลือ่ งชื่อลือนาม ราวพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ - ๒๓ เมืองปัตตานีเจริญรุ่งเรืองสูงสุด กลายมาเปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ ขายระดบั ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ปตั ตานี มรี าชาปกครองต่อเนื่องกวา่ ๓ ศตวรรษ ในตัวเมืองมพี ลเมอื งหลากหลาย มที ง้ั ชาวจนี สยาม มลายู รวมทัง้ ชาวต่างประเทศอ่นื เชน่ ญีป่ นุ่ โปรตเุ กส ฮอลันดา และองั กฤษ สว่ นชาวอาหรบั และเปอรเ์ ซยี ซง่ึ เขา้ มากอ่ นหนา้ เปน็ เวลานาน บาง คนไดก้ ลายมาเป็นพลเมอื งของปตั ตานใี นทสี่ ุด สินค้าท่ีส�ำคัญ ได้แก่ เครื่องเทศ ไม้หอม จ�ำพวกกฤษณา การบูร และผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ จากป่า มีเหมืองทองค�ำขนาดใหญ่ บริเวณภูเขาต้นน้�ำ จนไดช้ อื่ วา่ แผ่นดนิ ทอง (land of gold) ตามคำ� บอกเลา่ ของคนรนุ่ กอ่ นทม่ี ี บนั ทกึ ไว้ (curtius,Strabo,pomponius,mela ฯลฯ) ก่อนมาเป็นรฐั ปัตตานี ท่นี ี่คอื อาณาจักรลังกาสุกะ ชอ่ื เสยี งนั้นขจรไกล เมอื งโกตามหลฆิ ัย(ปัจจบุ ันเป็นเมอื งโบราณ ตง้ั อยู่ที่ อ.ยะรงั ) ยังเป็นทป่ี ระจกั ษ์ ปนื ใหญ่ ศรปี ตั ตานี ศรีนครี และมหาลลี า คืออาวุธอนั เกรียงไกร

254 เรอื่ งดีๆ ท่ีบ้านเรา แม้ปัจจุบันยงั ระบอื ไกลด้วยบารมีเกยี รติคณุ หลวงพอ่ ทวด (วัดช้างให้) มีสุสานเจ้าแม่ลิ้มกอเหน่ียว ศูนย์รวมศรัทธา อีกท้ังมัสยิด (โบราณ) กรือเซะ เปน็ ปูชนยี สถานอนั ควรบูชา ห้วงเวลาแห่งความอุดมสมบูรณ์นั้นย้อนยุคไปไกล นำ� พาผู้คนมาจาก ทุกสารทิศ ความอุดมนั้นถึงข้ันมีค�ำเปรียบเปรยว่า “ท่ีเมืองปัตตานีน้ี แม้แต่ เป็ด,ไก่ ยังไข่ถึงวันละสองหน” ปัตตานียังมีแหล่งเกลือทะเลชั้นดี มีความเค็ม เหมาะสม จงึ เป็นสนิ ค้าสง่ ออกไปขายทง้ั เมืองมลายูและต่างประเทศ เปน็ เกลอื ทะเลทส่ี รา้ งความโอชะใหแ้ ก่น้�ำปรุงรส (บดู ู) เปน็ สินคา้ มีชื่อทแี่ พรห่ ลายไปทั่ว ทกุ แหง่ หน พืน้ ดนิ อุดม ขา้ วกล้านาไร่สมบรู ณ์ ธรรมชาติเกอ้ื กลู ไปทกุ ถิ่นสถาน ---- และเหมือนดงั หนงั เปลย่ี นม้วนขนึ้ เรื่องใหม่ ผา่ นเวลา ผ่านวนั ทีบ่ ริบท ของผู้คนเปล่ียน ไม่เพียงทรัพยากรสัตว์น้�ำท่ีร่อยหรอ แม้ระบบนิเวศก็ขาด ความสมดุล นั่นเพราะผคู้ นทำ� ลายห่วงโซ่อาหาร แหล่งอนบุ าล แหลง่ ปากท้อง ของตัวเอง ไม่ค�ำนึงถึงสง่ิ ใดควรเก็บ ควรฟน้ื ฟู และควรอนรุ ักษ์ หลากหลายเรอื่ งราวทโี่ หมกระหนำ�่ ทอ้ งทะเลปตั ตานี คลา้ ยเหลอื เพยี ง ลมหายใจทรี่ วยริน ๔. กลุ่มคนและสิง่ ดๆี ยงั มอี ยู่ ตรงขา้ มทะเลเทือกเขาสันกาลาคีรียงั ทอดตัวตระหง่าน เปน็ “ปราการ แผน่ ดิน” ปอ้ งภยั แก่ผูค้ นมาหลายศตวรรษ ในปากอา่ วปตั ตานี มแี หลมตาชี (ชาวพนื้ เมอื งเรยี กแหลมบดู ี หรอื โพธ)ิ คงทำ� หน้าท่เี ป็น “ครรโภทร” อขู่ า้ วอนู่ ำ�้ มฝี ูงสัตวน์ ้�ำปูปลาให้ผคู้ นพ้นื ถิน่ ขณะ ที่ชาวประมงพื้นบ้านน�ำเรือกอและออกทะเล แต่บรรดาพ่อค้านายทุนมีท้ังเรือ ใหญ่ อปุ กรณ์เทคโนโลยี ระบบโซนา,ซาวนเ์ ดอร์ และหรอื จพี ีเอส รวมถงึ พวก

เรอื่ งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา 255 อวนรนุ อวนลากท่ีรุกคราดทอ้ งน�ำ้ ไปทวั่ และเพียงรคู้ ูต่ ่อกร ไม่ตอ้ งบอกก็ร้แู ล้ว วา่ ผูใ้ ดจะกำ� ชัย ใครคอื ผทู้ จ่ี ะถูกต้อนเขา้ ตาจน เวลานเ้ี สน้ ทางของผคู้ นชายขอบ ถกู เบยี ดถกู กระชบั พน้ื ทเี่ หลอื นอ้ ยลง ทุกขณะ หลายคนคิดตรงกันและเร่ิมไม่แน่ใจแล้วว่า ทรัพยากรของพวกเขา จะมีโอกาสหลงเหลือรอดไปถึงรุ่นลูกรุ่นหลานได้หรือไม่ ดังน้ันด้วยส�ำนึกรักษ์ บ้านเกิด หวงแหนทรัพยากร จึงเริ่มก่อตัวจากปัจเจกชนชาวประมงพ้ืนบ้าน ผ้ซู ่ึงไมจ่ ำ� นนต่อชะตากรรม เรมิ่ จากผู้คนเพยี งหนึง่ เพม่ิ ข้นึ เปน็ สอง เปน็ สามสี่ หา้ ท่ตี กผลกึ ความคดิ และเกิดเบ่งบานงอกงามขน้ึ ในจิตใจผู้คน คล้ายดอกเหด็ ยามถงึ เวลาเบง่ บาน จากน้นั จงึ ขยับขยาย มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้ จากกลมุ่ คน พฒั นาเปน็ ชมรม และสุดทา้ ยเชอื่ มโยงกับกลุม่ อนื่ เปน็ พนั ธมติ ร เปน็ เครือขา่ ย กระจายไปทุกหย่อมยา่ นทั่วท้งั จงั หวดั เพ่ือความมั่นคงย่ังยืน การหาแนวร่วมเครือข่ายให้สังคมยอมรับ ได้พัฒนาออกไปสู่การปลูกป่าชายเลน เพราะต่างรู้ดีว่าป่าชายเลนคือโรงงาน ผลติ ออกซิเจนให้แกผ่ ู้คน ป่าชายเลนเปน็ ตัวสร้างแผน่ ดนิ ปา่ ชายเลนเปน็ แหล่ง อนุบาลและพักพิงของส่ิงมีชีวิตสัตว์น้�ำวัยอ่อน ป่าชายเลนยังเป็นปราการ ด่านแรกทป่ี ้องกันพบิ ัติภัยไวก้ อ่ นถึงผูค้ น กจิ กรรมอนื่ ทข่ี บั เคลอื่ นตามมา ไดแ้ ก่ การกอ่ ตง้ั เขตอนรุ กั ษพ์ นั ธสุ์ ตั วน์ ำ�้ การท�ำซง้ั ตามแบบภมู ิปญั ญาชาวบ้าน รวมทัง้ ปะการังเทียม เครอื ขา่ ยและแนวรว่ มของผคู้ นตวั เลก็ ๆ เปน็ สำ� นกึ พลเมอื งทเี่ รมิ่ ถกั ทอ สายใยเชื่อมโยงไปไม่ขาดสาย เร่ิมต้นขนึ้ แลว้ เรอื่ งราวของการปกปอ้ งหวงแหนทรพั ยากรของผคู้ นประมงพน้ื บา้ นเรม่ิ เปน็ ทใี่ สใ่ จมองจากภาครฐั แตก่ ย็ งั ชา้ ไปกวา่ สายพระเนตรอนั ยาวไกลของสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ทท่ี รงมพี ระราชเสาวนยี ์ให้หนว่ ยงานภาครฐั ผเู้ กยี่ วขอ้ งเขา้ ไปจดั หาสนบั สนนุ การท�ำปะการงั เทยี มดว้ ยวสั ดเุ หลอื ทงิ้ อนั ไดแ้ ก่

256 เรอ่ื งดีๆ ทีบ่ า้ นเรา ยุทโธปกรณ์ทางทหาร ตคู้ อนเทนเนอร์ ตูข้ บวนรถไฟ รถบรรทุก และเรอื เกา่ รวมทั้งท่อปูนซิเมนต์ ฯลฯ เพ่ิมเติมตลอดชายฝั่งตั้งแต่จังหวัดสงขลา ปัตตานี ไปสุดท่นี ราธิวาส เวลานก้ี ลา้ พนั ธอุ์ นรุ กั ษก์ ำ� ลงั เบง่ บานความอดุ มของทรพั ยากรสตั วเ์ รม่ิ ฟื้นคืน เร่ิมเห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์รวมท้ังใบหน้าอันเปื้อนย้ิมของผู้คน กลา้ พันธ์อุ นุรักษ์กำ� ลังเบ่งบาน สบื ทอดไปยงั ผคู้ นรุ่นหลงั เพราะความเช่ือท่ีว่า คนเป็นองค์รวมของทุกสรรพสิ่ง เม่ือคนดี ส่ิงแวดล้อมท้ังเศรษฐกิจย่อมดีตาม สังคมไม่มีปัญหา เมื่อนั้นสันติสุขก็จะกลับ คืนมา กว่าสิบปีแห่งการต่อสู้ดิ้นรนของประมงพื้นบ้านเร่ิมมีความหวัง อา่ วปตั ตานเี วลานม้ี ฝี งู โลมาหวนคนื กลบั มาเรงิ เลน่ น้�ำสอดสา่ ยงมหาปลาหนา้ ดนิ ใหเ้ หน็ ในอา่ วมหี อยแมลงภหู่ นาตามาทดแทนหอยแครงทเ่ี คยครอบครองทะเล โคลนมาก่อน หอยกะพงยังหลงเหลืออีกมากมาย ยังมีท้ังสาหร่ายผมนาง อันอุดม มปี ลาเกา๋ ปลากะพง ทงั้ หอยเป๋าฮื้อ,หอยหวานท่ีผูค้ นเพาะเลี้ยง ฝูงปลาบิลิ(ปลาชิ้งชั้ง)ยังมีสืบทอดเผ่าพันธุ์ให้จับมาท�ำเป็นน�้ำบูดูและ ตากแห้งออกจ�ำหนา่ ย แมฝ้ งู กงุ้ เคยกก็ ลับคืนมาใหมใ่ หผ้ ู้คนมีไว้ท�ำกะปนิ ำ้� ปลา ผู้เขียนไม่อาจละเลยเอ่ยนามบุคคลจริงและนามสมมติ ท่ีเป็นต้นแบบ เปน็ แรงบนั ดาลใจให้ผู้คนอกี หลายถน่ิ ที่หยดั ยืนขน้ึ สู้ เขาเหลา่ นน้ั ไดแ้ ก่ เปาะซแู อ,มหู ามะสกุ รี จากบา้ นตนั หยงเปาว,์ ดาโอะ แหง่ บา้ นสายหมอ อ�ำเภอหนองจิก ดอเลาะ แห่งบ้านตันหยงลูโละ อ.เมืองปัตตานี สะแปอิง แหง่ บา้ นบูดี อ.ยะหริง่ สาและแห่งบา้ นแฆแฆ อ.ปะนาเระ, มดู อ แห่งบา้ นบาง เกา่ เปา๊ ะจิเดร,์ อบั ดุลเล๊าะ แห่งบ้านปะเสยะวอ ,สาและแห่งบา้ นล่มุ อ.สายบุรี และสุดท้าย กาเดร์แห่งบ้านไม้แก่น อ.ไม้แก่น และรวมถึงบุคคลนิรนามอีก นานับ ท่ีไม่เปิดเผยตัวตน สัดส่วนของผู้คนเหล่านี้ดูไปไม่ต่างไปจากยอด

เรือ่ งดๆี ทีบ่ า้ นเรา 257 ภเู ขานำ�้ แขง็ ทผ่ี งาดอยเู่ หนอื ผนื นำ้� ใหม้ องเหน็ แคน่ อ้ ยนดิ ขณะทฐ่ี านพลงั สำ� คญั ผลักดันอยู่ภายใตท้ อ้ งทะเลชีวิต หยัดยืนสู้ โดยไม่เผยตวั ตน ย้อนไปในอดีตเราเคยมีวีรชนท่ีเคยปกป้องมาตุภูมิมาแล้ว การต่อสู้ ของวรี ชนรนุ่ ใหมใ่ นครง้ั นี้ คอื การตอ่ สคู้ รง้ั สดุ ทา้ ย ทแ่ี พไ้ มไ่ ด้ การตอ่ สดู้ นิ้ รนของ พวกเขาคือการปรบั ตัว คอื การเรยี นรู้ คือการปฏบิ ัตจิ รงิ ไมเ่ คยหวังผลให้มผี ูค้ น มายกย่อง ไม่หวังได้รับโล่รางวัลเพื่อความเด่นดัง แต่เพื่อปากท้องของผู้คน ทง้ั มวล นนั่ เพราะเขาสำ� นกึ ว่าทะเลมีชวี ิตมลี มหายใจได้ ต้องเป็นไปอยา่ งยง่ั ยืน ร่วมกันทง้ั ผคู้ น พชื พันธ์ุ ส�่ำสัตวแ์ ละสายน�้ำ ๕. บทอำ� ลา ใกล้ค�่ำ สายลมตะวันออกพัดกลิ่นอายทะเลมาสัมผัส อาทิตย์ดวงโต กำ� ลงั ลบั ไปจากฟากฟา้ เงาของหมสู่ นรมิ หาดแหลมตาชที อดยาวออกไปทกุ ขณะ แสงอาทติ ยอ์ าบประกายฉาบทบั เหนือท้องนำ�้ อนั อดุ ม สะท้อนท้องนำ�้ เป็นสเี งนิ ระยิบ เรือกอและหลายลำ� ยงั ทระนงโตค้ ล่นื อยู่รมิ หาด สะแปอิงหลับตาลง บันทึกความงามของภูมิทัศน์โดยรอบไว้ใน ความทรงจำ� เมฆหมอกรา้ ยกำ� ลงั จางลง หนทางกา้ วพน้ ทกุ ขส์ สู่ นั ตสิ ขุ ยงั มคี วาม หวัง เม่อื ทะเลมีลมหายใจ ชีวติ ของกลุม่ คนพวกเขาต้องมีอยู่ หอมกลน่ิ ดอกคนทเี ขมา อนั งอกงามขน้ึ อยรู่ มิ นำ�้ ไมด้ อกนชี้ าวพน้ื เมอื ง เรียกอีกช่ือหนง่ึ วา่ “กโู นกามอ”มีนัยถึงเสนห่ ์อนั ดงึ ดดู ใจผเี สอื้ มาดอมดม แท้จริงความงามของแดนดินถ่ินนี้ คงไม่ต่างไปจากเสน่ห์ของบุหงา ปัตตานี ท่มี มี นตข์ ลังดงึ ดดู โนม้ น�ำผ้คู นเช่นกนั ขณะสองชายหญิงเดินเก่ียวก้อยกลับไปยังทับกระท่อม แสงสุดท้าย ของมาตาฮารี ดวงตาแหง่ วันก�ำลงั รอนแสงใกล้ลาลับ ดวงบุหลันกำ� ลังไตฟ่ า้ มา

258 เรอ่ื งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา ท�าหน้าท่ียามราตรีแทน ส�าเนียงเพลงมะอีนังลามาบทหนึ่งล่องลอยฝากกับ สายลมคา�่ มาจากท่ีใดทีห่ นง่ึ สะแปอิงจ�าได้ดีว่าเพลงน้ีเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า “กืมบังจีนา” หมายถึง ดอกพดุ ทกี่ า� ลงั บานแยม้ ยง่ิ สอดรบั กบั เรอื่ งราวความหวงั ความสนั ตสิ ขุ ของผคู้ น ชาวปัตตานีใกลเ้ ป็นจริง... “ตือนัง..ตอื นงั ...ยาแลฆี ลาโอะ ขา� ปนั ละห์ กอและ มดู ิก กือตนั ญง* ฮาตี เตอร์กือนงั มูโละละห์ เตอรซ์ อื โบะ บูดีละห์ บาเอะ ราชา เนาะ ญณุ ญง” “แสนเพลนิ ใจ แลน่ เรอื ไปในทะเล กอและเหเรไ่ ปสู่ปลายแหลม บูดี(โพธิ)ตาชี ตน้ สนแซม ยามรอนแรม ราษฎร์ราชา ผาสกุ ใจ” เนือ้ ความทีเ่ รียบเรยี งมาทง้ั หมดน้ี เปน็ เพียงเรื่องราวดๆี บางส่วนของ ปัตตานี ท่ีเคยมีและด�ารงอยู่ เป็นบางส่วนเส้ียวมรดกแห่งผู้คน วัฒนธรรม “เร่อื งดๆี ท่บี า้ นเรา”และนคี่ ือ“อดีต ประเพณี วถิ ชี น และกลุ่มคนรกั ษ์สายน�า้ ” ท่ีนา� มาเขยี นไว้. * ถอดความใหม่โดยผ้เู ขยี น

เรื่องดๆี ที่บา้ นเรา 259 ความสขุ นายวหิ าร ขวญั ดี ผู้เขียนเกิดและเติบโตท่ีต�ำบลหน้าถ�้ำ เป็นคนท่ีน่ีโดยก�ำเนิด จนวันน้ี อายลุ ่วง ๕๐ ปแี ล้ว ความผกู พนั กบั ถนิ่ ฐานบ้านเกิด ยากทีจ่ ะเปลย่ี นใจให้โยก ยา้ ยครอบครวั ไปอย่ทู ่ีอ่นื ยงั คงมี “ความสุข” กบั สง่ิ ดี ๆ ทผ่ี า่ นเขา้ มาในชีวิต ในทุกชว่ งวัย ชวี ิตในวยั เด็กท่ผี า่ นมาเนน่ิ นานแลว้ แต่กล่ินอายความสขุ สนกุ ยงั คงคุกรุ่น เหมือนเพิ่งเกิดมาเม่ือไม่นานน่ีเอง หวนนึกถึงทีไรอดปล้ืมใจและ แอบอมยิ้มอยู่คนเดียวไม่ได้ ความสุขยังเต็มเปี่ยมล้นในหัวใจเสมอ... ความสุข จากการใช้ชีวิต...ปัญหาและอุปสรรคที่ผ่านพบ กลับเป็นแรงบันดาลและ ความประทับใจ ถงึ แมจ้ ะเปน็ เพยี งความสุขในอดีต แตใ่ นอนาคตกเ็ ชื่อวา่ ยังคง มคี วามสุขต่อไป ชีวิตความเป็นอยู่ในชนบท มีความเรียบง่าย ไม่เร่งรีบ ไม่เร่งร้อน สภาพแวดลอ้ มมองไปทางไหน พบเจอสง่ิ สวยงามระรื่นหสู บายตา เสยี งนกร้อง ในยามฟ้าสาง ดังแข่งกันหลายส�ำเนียงจนน่าร�ำคาญ แต่ก็อดดีใจกับธรรมชาติ ผืนป่ารอบๆ บา้ นไมไ่ ด้ ท่มี อบให้แทนเสียงนาฬิกาปลุก ในขณะทีท่ ้องฟา้ เหนอื ทิวเขาผืนป่าทิศตะวันออก ส่องแสงสีเหลืองระเร่ือ ค่อยๆ เปล่งแสงชัดขึ้นๆ ลมเย็นจากป่ารอบๆ บ้านพัดโชยกระทบผิวกายพลอยท�ำให้กายต่ืนภวังค์จาก การหลับใหลมาทั้งคืน...อากาศยามเช้าช่างแสนสดชื่นเสียจริงๆ...จิตใจวา่ งพอ ทีจ่ ะล�ำดบั นึกถงึ ความสขุ เม่ือคร้งั วนั วาน...

260 เรอื่ งดีๆ ทบ่ี ้านเรา ครอบครัวผู้เขียน พ่อแม่มีอาชีพท�ำนา มาตั้งแต่วัยหนุ่มสาว พ่อแม่มี ความขยนั และอดออม ซ่งึ ลกู ๆ ซึมซบั สงิ่ เหล่านี้ได้เปน็ อย่างดี ถึงแมพ้ อ่ จากลกู ไปแล้วเป็น ๘ ปี แต่จิตวิญญาณของพ่อยังหย่ังรากลึกอยู่ในใจลูกๆ เสมอ... พ่อมีความขยัน ความอดทนเป็นเลิศ พ่อไม่อายเมื่อเที่ยวเดินห้ิวผักไปขาย ตามหมูบ่ ้าน พ่อไม่ละอายท่จี ะทำ� ความดี ความเปน็ นกั ศลิ ปะ พ่อมกั ดัดแปลง ส่ิงของเครื่องใช้ท่ีเสียและเส่ือมกลับมาใช้งานได้ใหม่ วันนี้แม่อายุ ๙๓ ปีแล้ว อยกู่ บั ลกู ๆ โดยผลดั เปลย่ี นหมนุ เวยี น มาอยดู่ แู ลแมค่ นละหนง่ึ วนั ลกู ชายผเู้ ขยี น จัดตารางเวรให้คุณลุงคณุ ปา้ มาอยูก่ บั ยา่ โดยเรยี งจากลูกคนโต ดังนี้ วนั จันทร์ ป้าลออ มณีนิยม วันอังคารลุงพิบูลย์ ขวัญดี วันพุธป้าประจักษ์ ทองอ่อน วันพฤหัสบดีป้าประภา เพ็ชรรัตน์ วันศุกร์ลุงศิริ ขวัญดี ส่วนลุงกิตติ ขวัญดี อาชพี รบั ราชการและอยตู่ วั คนเดยี วใหม้ าอยดู่ แู ลยา่ เฉพาะวนั เสารก์ บั วนั อาทติ ย์ ส่วนพ่อ (ผู้เขียน) รับราชการและอยู่กับย่าทุกวันเป็นปกติอยู่แล้ว... ส่วนแม่ นสิ ยั ตา่ งจากพอ่ มาก แมเ่ ปน็ คนรกั ศกั ดศิ์ รไี มใ่ ครจ่ ะยอมใครงา่ ยๆ ถา้ ไมม่ เี หตผุ ล ประเภทถึงลูกถึงคน ถึงท่านท้ังสองจะมีความเห็นไม่ตรงกันบ้าง แต่ครองรัก ครองเรือนเล้ียงลูกด้วยความรักมาตลอด มาวันนี้วันที่คุณแม่ความจ�ำเร่ิมจะ ไม่สู้ดีนัก จ�ำถูก จ�ำผิด บ้างบางครั้ง พูดถึงเร่ืองราวของพ่อทีไร แม่จะยิ้ม ดว้ ยความสุข แตม่ บี างคร้ัง เหมอื นกันเมอื่ ลกู ๆ พดู ถึงพอ่ แม่เผลอนงั่ เหม่อลอย หงอยเหงา คงใจหายบ้างเป็นธรรมดา...แต่ได้ลูกหลานมาคอยปลอบใจ ลูกๆ หลานๆ แวะเวยี นมาเย่ยี มถามข่าวคราว ซอ้ื ขนมเล็กๆ นอ้ ยๆ ตดิ มอื มา ฝากแม่ย้ิมอย่างดใี จ แต่ถา้ ลกู หลานห่างหายไปนานๆ แมม่ ักน่ังคอยเหลือบมอง ไปทางถนนหน้าบ้านเป็นประจ�ำด้วยสายตาที่รอคอย...ผู้สูงอายุยังคงต้องการ การดแู ลเอาใจใส่จากลกู ๆ หลานๆ เสมอ...อย่าลืมหันกลับไปมองและปรนนิบัติ ท่านบ้าง รีบปรนนิบัติรับใช้ท่านตอนที่ท่านยังมีลมหายใจอยู่ ดีกว่าท่ีจะยก ถาดอาหารไปวางไว้หน้ารูปถ่ายของท่านนะครับ...ผู้เขียนเชื่อว่าบุญบารมี

เร่ืองดีๆ ทบี่ า้ นเรา 261 จากการเล้ียงดูปรนนิบัติพ่อแม่น้ันย่ิงใหญ่นัก...สมัยก่อนชีวิตความเป็นอยู่ ไม่สะดวกสบายเหมอื นปัจจุบนั ข้าวปลาอาหารล้วนไดม้ าจากธรรมชาติ ผืนปา่ และท้องทุ่ง เป็นส่วนใหญ่ เส้ือผ้าพอมีพอใช้สวมใส่ปกคลุมร่างกายกันหนาว ไมป่ ระเจิดประเจอ้ เพียงพอแล้ว ไมร่ จู้ ะเอาเงินทไ่ี หนมาซ้อื เส้อื ผา้ สวยๆ สวมใส่ เพราะมรี าคาแพง และไมร่ ้จู ะใส่ไปอวดกันทำ� ไม ไรส้ าระ สภาพบา้ นเรือนทรง โบราณยกพื้นสูง หลังคามุงจาก พ้ืนฟากไม้ไผ่ ฝาบ้านใช้ไม้ไผ่สานกับไม้ ไมก้ ระดานทพี่ อ่ ตดั และเลอ่ื ยเองสะสมไว้ หรอื ถ้าไมไ่ หวจรงิ ๆ กจ็ ้างคนแถวบา้ น มาตดั เลื่อยไมเ้ กบ็ ไว้ พอ่ สรา้ งบา้ นจากการขอแรงญาตพิ ี่นอ้ งเพอ่ื นฝงู มาช่วยกนั และจัดหาอาหารการกนิ ใหต้ อบแทน ผลดั เปล่ยี นเวยี นกัน ชว่ ยเหลือกันอย่างน้ี เป็นสังคมช่วยเหลือเก้ือกูล พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน... ส่วนไฟฟ้าส่องสว่าง ไม่มใี ห้ใช้ มีเพยี งตะเกียงทีน่ �ำขวดไม่ใชง้ านมาใสไ่ ส้ “ผ้าควนั่ ” (ฉีกเศษผา้ กวา้ ง ประมาณ ๑ เซนตเิ มตร พบั เปน็ สองเสน้ ใหค้ วามยาวเทา่ กนั นำ� มามว้ นบนหนา้ ขา ใหส้ องเสน้ พันเป็นเกลียวเชอื ก ต้องใหพ้ อดกี บั “พวยตะเกยี ง”) เตมิ ดว้ ยน�้ำมนั ก๊าด ซ่ึงผู้เขียนยังได้ใช้ประโยชน์กับมันสมัยเรียนช้ันประถมศึกษาอยู่บ่อยๆ เหมือนกัน แต่จะมีน้�ำมันโซลา่ (ดีเซลล์) มาให้ใช้ มีราคาท่ีถูกกว่าแต่กลิ่นควัน เหมน็ ดำ� ป๋ี ใหแ้ สงสวา่ งดกี บั การใชง้ านทวั่ ๆไป ถา้ เดก็ ๆ เผลอไปจบั เลน่ โดนเขมา่ ตะเกยี งขวดเข้า รบั รองถกู จบั แกผ้ ้าอาบนำ้� กนั ยกใหญ่ เข้าทำ� นอง “ตะเกยี งควนั ดำ� ทำ� เหต”ุ พอ่ แม่เลยี้ งลูกถงึ ๗ คน ตอ้ งต่อสู้ดิน้ รนกบั ความยากล�ำบาก เลีย้ งลกู ส่งเสียให้ได้เรียนตามก�ำลัง ลูกชายให้เดินตามรอยองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ปัจจุบันลูกชายทั้งสามบวชเรียน รับราชการและมีครอบครัวกันหมดแล้ว อาชีพรบั ราชการไมร่ ่ำ� รวย แตม่ ั่นคง พอมีพอใช้ พอกนิ พอเกบ็ ถ้ารูจ้ กั ดำ� เนิน ชีวติ “แบบพอเพียง” แมบ่ อกว่าสมัยก่อนครอบครัวคอ่ นข้างลำ� บาก ตอ้ งชว่ ย กันท�ำงานกันทุกคน เงินทองที่น�ำมาใช้จ่ายในครอบครัวมาจาก...การขายผัก

262 เร่ืองดๆี ท่ีบ้านเรา ขายปลา ขายผลไม้ พส่ี าวชว่ ยกนั ทำ� ขนมขายกนั ตามหมบู่ า้ น บรกิ ารถงึ หวั บนั ได บ้านกันเลยทีเดียว พ่ีสาว “ประจักษ์ ทองอ่อน” ต้องช่วยแม่น�ำของไปขาย ที่โรงเรียน ขณะเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดหน้าถ�้ำ ราวปี พ.ศ.๒๔๙๙ (ท่ตี ง้ั โรงเรียนในปจั จบุ ัน เปน็ ทีต่ ้ังของโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ ต�ำบลหน้าถ้�ำ) สินค้าท่ีน�ำไปขายมีถั่วลิสงต้ม (ห่อละ ๕๐ สตางค์) กล้วยต้ม ขนมแห้ง อะไรพอจะขายได้ก็ขายทุกวัน มีรายได้จากการขายขนม วนั ละ ๕ - ๖ บาท ขา้ วสารทเ่ี หลือกินเหลอื เก็บ แม่กแ็ บ่งไปขายบา้ ง แตข่ า้ วสาร ต้องน�ำไปขายที่ “ตลาดนัดสามแยกบ้านเนียง” ซึ่งเป็นตลาดนัดวันอาทิตย์ ต้ังอยู่ต�ำบลเปาะเส้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา ห่างจากต�ำบลหน้าถ�้ำไปทาง อำ� เภอยะหาประมาณ ๒ กโิ ลเมตร การไปขายของทต่ี ลาดนดั สามแยกบา้ นเนยี ง ต้องนัดหมายรวมกันไปหลายๆ คน การเดินด้วยเท้าแม่บอกจะได้ประหยัด ค่ารถ ถึงมีรถสัญจรไปกลับท่าแพท่าสาป - บ้านเนียง ผ่านหน้าถ�้ำมีถึง ๒ - ๓ คัน แตก่ ว่ารถโดยสาร (ยี่ห้อโตโยเป็ด) จะมาแตล่ ะเทย่ี วรอกนั จนเบ่อื สู้เดินกันไปเองดีกว่า เดนิ คยุ กนั ไปสกั ประเดยี๋ วกถ็ ึง ของท่ีนำ� ไปขายใส่ถงุ ผ้าได้ กใ็ ส่ไป หรอื ไมก่ ็ใสต่ ะกร้า ส่วนข้าวสารใสก่ ระสอบแลว้ เทินไวบ้ นศีรษะ (เทินคอื การเอาของวางไวบ้ นศรี ษะ ใชผ้ ้าขาวมา้ มว้ นใหก้ ลมแลว้ วางใตก้ ระสอบ เพอื่ กนั กระสอบสมั ผสั ศรี ษะโดยตรง ลดความเจ็บปวด) เส้นทางไปสามแยกบา้ นเนยี ง (ถนนสาย๔๐๙ ในปจั จบุ นั ) เปน็ ถนนดนิ แดงยงั ไมไ่ ดล้ าดยาง วนั ไหนฝนตกหนกั ถนนแฉะไปดว้ ยนำ้� ตอ้ งยำ่� เดนิ ไปบนโคลน รองเทา้ ทสี่ วมใสต่ อ้ งหว้ิ ถอื ไปแทน... พี่กิตติพี่ชายบอกว่า “คร้ังสมัยไปเรียนหนังสือช้ันประถมศึกษาตอนปลาย ที่โรงเรียนสามแยกบ้านเนียง (โรงเรียนวัดหน้าถ้�ำเปิดสอนแค่ชั้นประถมศึกษา ปที ่ี ๔) ตลอดเสน้ ทางไปโรงเรยี นสามแยกบา้ นเนียง มสี ะพานข้ามคลองค่นั อยู่ สองสะพาน ชาวบ้านแถบนัน้ เรียกว่า “สะพานตาอิน”กบั “สะพานสามพ่ีน้อง” สะพานไม่สะดวกปลอดภยั เหมือนปัจจบุ นั เพียงแตใ่ ชไ้ มซ้ งุ วางพาดจากฝงั่ หนงึ่ ไปยังอีกฝั่งหนึ่ง จ�ำนวน ๖ ต้น โดยให้พอดีกับล้อรถขา้ งละ ๓ ต้น แต่ละต้น

เร่อื งดีๆ ที่บา้ นเรา 263 จะใช้เหล็กที่ชาวบ้านเรียกว่า “เหล็กปลิง” (คงจับยึดเกาะแน่นเหมือนปลิงดูด เลือด) ตอกยึดแต่ละต้นไม่ให้ขยับเขยื้อนเคล่ือนท่ีไปไหน ท้ังรถท้ังคนใช้ถนน ตอ้ งเดนิ ผา่ นไปบนสะพานนเี้ หมือนกนั ตลอดเสน้ ทางพวกเรามกั เดนิ เล่นกนั ไป เรื่อยเปื่อย เพราะบางช่วงถนน ยังมีร่มเงาจากต้นไม้ท่ีขึ้นริมถนนสองข้าง บางวันเดินเล่นกนั เพลิน จนเกือบลืมเวลาเขา้ แถวหนา้ เสาธง หลงั จากเลกิ เรียน มอี กี หนงึ่ กจิ กรรมทพ่ี วกเราโปรดปรานเปน็ ชวี ติ จติ ใจ นนั่ คอื กจิ กรรมแขง่ กระโดด น้ำ� ลงคลองท่ี “สะพานตาอนิ ” กับ “สะพานสามพน่ี อ้ ง” พ่ีชายบอก “อารมณ์ ความมันอยู่ที่ช่วงถีบสปริงตัวลอยกลางอากาศ แล้วลงมากระแทกผิวน�้ำ” บางจังหวะลงผิดคิวเอาหน้าท้องกระแทกผิวน้�ำเสียงดัง “เพี้ยะ” เล่นเอาปวด แสบแน่นจุกไปเลยทีเดยี ว แต่ลูกผู้ชาย “เจบ็ แล้วไม่จ�ำ” ยังคงวิ่งแข่งแซงหนา้ กันกระโจนลงน�้ำ ไม่มีใครยอมใคร กว่าจะกลับถึงบ้านเกือบเย็นย�่ำค่�ำก็เคยมี” วนั ไหนเปน็ วนั เสารอ์ าทติ ยพ์ ชี่ ายกม็ กั ตามพอ่ ไปไถนา ซงึ่ แปลงนาอยไู่ มไ่ กลจาก บ้านสักเทา่ ไหร่นกั ได้ชว่ ยถือหอบหิ้วสัมภาระบางอยา่ งให้พ่อ...ส่วนแมน่ ั้นต้อง ตนื่ นอนกอ่ นสวา่ ง ตี ๔ ตี ๕ เพ่ือเตรียมหงุ หาอาหารไปใหพ้ ่อในแปลงนายาม สาย ๆ ของวัน พช่ี ายกับพ่อจงู ววั แบกไถออกกนั ไปต้งั แต่พอเห็นทางเดนิ พ่ีชาย ไปช่วยพ่อดึงวัวสวมแอกวางไถ พ่อจะได้ไถนาเร็วข้ึนเพราะถ้าช้าจะไม่ทันเวลา พระอาทิตย์ขึ้นตรงหัว จ�ำเป็นต้องหยุดพักกลางวัน กลัวว่าท้ังวัวท้ังคนเป็นลม ลม้ ลงไปดน้ิ เสยี กอ่ น การไถนายงิ่ เวลาเชา้ ยงิ่ ดจี ะไดพ้ นื้ ทเ่ี ยอะ ทง้ั ววั ทง้ั คนไมร่ อ้ น และไม่เหนื่อยง่าย ชาวนาจึงมักไถนากันในช่วงครึ่งวันเช้าเสียเป็นส่วนใหญ่ ไม่นิยมไถนาในช่วงครึ่งวันเย็น เสน่ห์อีกอย่างหน่ึงท่ีลูกๆ ชอบตามพ่อไปที่ แปลงนา เพราะเวลาพ่อคราดนา เตรียมดินก่อนปักด�ำกล้า นาแปลงไหนมีน้�ำ เวลาเดินตามหลังพ่อคราดนา ได้จับปลาท่ีติดมากับเศษดินเศษหญ้ากันสนุก บางคร้ังได้มากพอที่จะน�ำไปปรุงเป็นอาหารในมื้อถัดไป ท�ำให้นึกถึงเพลงเก่า ในอดีตท่ีมเี นอ้ื ร้องวา่ “เมืองไทยเรานี้ แสนดีหนักหนา ในน้ำ� มีปลา ในนามขี า้ ว ท�ำมาหากนิ แผ่นดินของเรา ปลกู เรอื นสร้างเหย้า อยรู่ ่วมกันไป เราอยู่เป็นสุข

264 เรื่องดีๆ ทีบ่ ้านเรา สนุกสนาน เราตั้งถ่ินฐาน ไปจนยิ่งใหญ่ เมืองไทยเรานี้ แสนดีกระไร เรารัก เมืองไทย ย่ิงชพี เราเอย” จรงิ อย่างเนอื้ เพลงว่า ในนำ�้ มปี ลา ในนามขี า้ ว เมอื่ กอ่ นข้าวปลาหางา่ ย มาก คืนไหนฝนตก พอน�้ำตดิ แปลงนา พช่ี ายทัง้ สามจะชวนกนั ออกไปหาปลา “น้�ำมาปลาขึ้น” ออกไปในแปลงนา ไมน่ านสกั พักใหญ่ๆ กก็ ลบั มาพร้อมเสยี ง คุยโขมงโฉงเฉง กับปลาท่ีอัดแน่นอยู่ในข้องใบโต เปิดดูข้องทีไรเห็น ปลาดุก ปลาชอ่ น ปลาหมอ นอนสะบดั หางสะบัดหวั ตวั เข่อื งๆ ...พรงุ่ นี้จะไดก้ นิ ปลาดุก คลุกขม้ินทอดอีกแล้ว...เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. ผู้เขียนกับแม่น�ำข้าว พร้อมกับข้าว ใส่หม้อเคลือบหูหิ้วไปให้ท่ีแปลงนา กับข้าวง่ายๆ แกงส้ม ปลา ช่อนคลุกขมน้ิ ทอดกรอบ ยอดจิก ยอดมะกอก ยอดมะมว่ งหมิ พานต์ รมิ รัว้ เปน็ ผักจ้ิมน้�ำพริกช้ันดี ในระหว่างพ่อกับพี่ชายก�ำลังกินข้าวกันอย่างเอร็ดอร่อย แมไ่ ม่ยอมเสยี เวลา รบี จ�้ำอ้าว ลงแปลงนาปกั ดำ� ตน้ กล้าที่พอ่ และพีช่ ายแบกมา แช่น�้ำไว้ต้ังแต่เม่ือวาน พ่อกินข้าวเสร็จแล้วรีบลงไปไถนาต่อ...ภาพพ่อไถนาใน แปลงนา ในขณะท่ีแม่ก้มหน้าก้มตาปักด�ำต้นกล้าอย่างขะมักเขม้น เป็นภาพ ที่ผู้เขียนเห็นจนชินตา...จนเวลาเกือบเท่ียงพ่อหยุดไถนา และน�ำวัวออกจาก แปลงนา ไปหลบแดดใตร้ ่มเงาไมท้ มี่ ีหญา้ ออ่ นๆ พอได้และเลม็ สว่ นอปุ กรณใ์ น การไถนา พอ่ กบั พชี่ ายชว่ ยกนั ยกหามไปเกบ็ ใตร้ ม่ เงาไม้ พอ่ ไมย่ อมใหแ้ ชน่ ำ้� หรอื วางทิ้งไว้กลางแดด กลัวจะเสียหาย ไม่อยากเสียเวลาท�ำมันขึ้นมาใหม่ (คันไถ คราดและอุปกรณ์ในการท�ำนา พ่อเป็นคนท�ำเอง) การไถนากับวัวควายนิยม เฉพาะไมเ่ กนิ ครง่ึ วนั เช้า สว่ นในตอนเยน็ จะปลอ่ ยใหว้ วั ไดพ้ กั กล้ามเนอ้ื กนิ หญ้า ตามสบาย เพราะพรงุ่ นเี้ ชา้ ตอ้ งออกไปทำ� หนา้ ที่ “ไถนา” กนั แต่เช้ามืด...พ่อแม่ ใช้เวลาหยดุ พกั กลางวนั ภาษาชาวบา้ นมกั เรียกวา่ “ขึน้ เที่ยง” (ถึงเวลาเท่ยี งขึ้น จากแปลงนา พักกนิ ข้าวเท่ยี งทบ่ี า้ นหรอื ทน่ี า) เวลาประมาณบ่ายโมง พ่อกบั แม่ กลับลงแปลงนาปกั ด�ำกล้าอกี รอบ ถ้าพสี่ าวว่างจากงานบา้ นก็ลงไปชว่ ยอีกแรง แปลงนาไมใ่ หญ่มากนกั ใชเ้ วลาปักดำ� ๒ - ๓ วันจึงแลว้ เสร็จ

เร่ืองดีๆ ทบี่ า้ นเรา 265 พี่ประจักษ์ ทองอ่อน พี่สาวเล่าให้ฟังว่า ปี พ.ศ.๒๕๐๑ การจะได้ ดู”หนัง” (หนงั คอื ภาพยนตรท์ ่ีฉายในโรงภาพยนตร์) สกั ครั้งต้องเดินทางไปดทู ่ี ต�ำบลท่าสาป เพราะที่ต�ำบลหน้าถ�้ำไม่มีโรงหนัง (โรงภาพยนตร์) โดยเดินทาง เข้าเมืองยะลา มาตามเส้นทางหน้าถ้�ำ-ท่าแพท่าสาป เป็นระยะทางประมาณ ๓ กโิ ลเมตร โรงหนังเปน็ ของเฒ่าแก่ ในพ้ืนทีช่ ือ่ โรงหนงั “เลง่ ซา่ น” โรงหนงั บาง ที่ชาวบ้านเรียก “วิกหนงั ” ราคาคา่ ตว๋ั แต่ละรอบแตล่ ะเร่อื ง ๓ บาท (เงนิ ทพี่ า ไปกินข้าวที่โรงเรียนวันละ ๓ บาท) การไปดูหนังไปกันหลายๆ คน ซ้อนท้าย จักรยานกันไป ขากลับคืนไหนโชคไม่ดีฝนเทลงมาน้�ำนองถนน ต้องเดินจูง จักรยานกันเป็นแถว กว่าจะถึงบ้านใช้เวลาไปนานเหมือนกัน ระยะทาง ๒ - ๓ กิโลเมตร ถือเป็นเรื่องจ๊ิบๆ ในสมัยนั้น ถนนหนทางยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ไฟส่องสวา่ งนำ� ทางพากันไปเอง ถ้าคนื ไหนพระจนั ทรเ์ ต็มดวง พอมองเหน็ อะไร ชัดเจนขน้ึ มาหน่อย โตขนึ้ มาราวอายุ ๑๕ - ๑๖ ปี เรมิ่ มภี าพยนตรก์ ลางแปลง มาฉายให้ดูในหมู่บ้าน ภาพยนตร์กลางแปลงชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า “หนงั ขายยา” (คดิ วา่ ภาพยนตรก์ ลางแปลงทเ่ี รมิ่ เขา้ มาฉายในหมบู่ า้ นครงั้ แรกๆ มาพรอ้ มกบั การขายยา) แทจ้ รงิ แลว้ ภาพยนตรก์ ลางแปลง ทเี่ ขา้ มาฉายไมไ่ ดข้ าย ยาเพียงอย่างเดียว แต่มีสินค้าอ่ืนเข้ามาขายด้วย ยาที่น�ำมาขายมียาแก้ปวด ลดไข้ ท่รี จู้ กั กันดีเชน่ ยาแกป้ วดลดไข้ทันใจ (ตอนหลังเปล่ียนเปน็ ทมั ใจ) ยาแก้ ปวดลดไข้ประสระนอแรด (ตอนหลงั เปล่ียนเปน็ ประสระบอแรด) ยาบ�ำรุงเลอื ด ตราหัวสิงห์ ยาอมโบตัน มีเน้ือเพลงมาให้ด้วยครับ เป็นอะไรท่ีคลาสสิกมาก (ต้องฟังเพลงจะรู้ว่าคลาสสิกจริงๆ)...ยามคุณจะไปครั้งใด คุณจงอมโบตัน อีตอนกระจู๋กระจ๋ีกัน คุณจงอมโบตัน โบตัน...โบตัน ก�ำจัดกล่ินเหม็นฟัน และปากหอมทกุ ทวิ า โบตนั ...โบตนั จะทำ� ใหร้ กั นนั่ มนั่ เกาะกนั ไมม่ เี บอ่ื นอกจาก จะอมใหป้ ากหอมชื่นใจ โบตนั ยงั แกไ้ อ แก้เมารถและเมาเรือ จะไปไหนเอาติด ไปทุกเม่ือ มีคุณอันเหลือเฟือเช่ือแต่อมโบตัน (โฆษกพูด) ดูกรมานพหนุ่ม

266 เรื่องดีๆ ทบี่ ้านเรา ทั้งหลาย สูเจ้าอย่าส�ำคัญผิดคิดว่า ที่แม่นางมาเกิดอาการเหนียมอายเมื่อยาม สูเจ้าเข้าไปสาธยายบทรักนั้น แท้ที่จริงแม่นางเบือนหน้าหนี เพราะว่าทนดม คารมรกั ท่มี กี ลนิ่ อนั พลิ ึกกึกกอื จากสเู จา้ มไิ ด้ ถ้าหากสเู จา้ ใช้โบตันสิ ฮะ่ ฮา่ ฮา่ โลกทัง้ โลกจะเป็นของสูเจา้ แต่ผเู้ ดียว... ยาสตรีเพ็ญภาคตราพญานาค รวมท้ังเคร่ืองส�ำอาง เคร่ืองด่ืมเพ่ือ สขุ ภาพ (โอวลั ตนิ , ไมโล) นมขน้ หวาน (นมขน้ หวานตราเดก็ อนามยั ) ถา่ ยไฟฉาย ตรา ๕ แพะ ถา่ ยไฟฉายตรากบ มเี พลงโฆษณาถ่านไฟฉายตรากบ มาใหด้ ังมาก ครบั เพลงนี.้ .. (เพลง) ตน้ ตระกลู ผมแตป่ างบรรพ์ หลงั ยำ่� สายณั หด์ วงตะวนั เลยี่ งหลบ จะเดนิ ทางเยือ้ งยา่ งไปไหนจ�ำเป็นต้องใช้จดุ ไตจ้ ดุ คบ ปจั จุบันเห็นจะไม่ดี ขนื จุด ไตซ้ ีถ้ามใี ครพบ อาจจะอายขายหนา้ อักโขเขาตอ้ งฮาต้องโหว่ า่ ผมโงบ่ ัดซบ ยุคน้ี มันต้องทันสมัย เพ่ือนผมทั่วไปใช้ถ่านตรากบ ทั้งวิทยุและกระบอกไฟฉาย คุณภาพมากมายสะดวกสบายครนั ครบ ถา่ นเขามหี ลายอยา่ งวางกอง เขากลับ รบั รองตอ้ งแพต้ รากบ เหตแุ ละผลเขานา่ ฟงั ครบั ขอใหล้ องสดบั นะทา่ นทเี่ คารพ... (พดู ) คอื เขาบอกวา่ ถา่ นไฟฉายตรากบ ไม่ใช่ของนอกสง่ มาขยอกเงินไทย และ ไมใ่ ชข่ องทำ� ภายในทโ่ี กยกำ� ไรสง่ ออกนอก ถา่ นไฟฉายตรากบทำ� ในเมอื งไทย โดย ให้เงินก�ำไรหมุนเวียนอยู่ในเมืองไทย ท�ำให้ดุลการค้าของไทยดีขึ้น ฉะนั้น นอกจากผมจะเคยชอบตกี บ ชอบกนิ กบ ชอบเพลงพมา่ แทงกบ และชอบเลน่ ไพ่กบแล้ว เดยี๋ วน้ผี มยังชอบถา่ นไฟฉายตรากบอีกดว้ ย อบ๊ อบ๊ ... “หนงั ขายยา” จะใชร้ ถยนตเ์ ปน็ พาหนะในการเดนิ ทาง เอาความบนั เทงิ มาให้ชาวบา้ นได้ดูกนั รถทน่ี �ำมาฉายให้ดสู ่วนมากจะเปน็ รถตู้ รอบๆ ข้างรถท้งั สองดา้ นจะมขี อ้ ความ และภาพทเี่ ปน็ สนิ คา้ ทน่ี ำ� มาขายในคนื นนั้ ดา้ นบนหลงั คา รถจะติดล�ำโพงฮอร์นไว้ ๒ ตัว (ด้านหน้า ด้านหลัง บางคันติด ๔ ตัวก็มี) ส่วนเคร่ืองขยายเสยี ง เครอื่ งป่ันไฟ หมอ้ แปลงไฟ เคร่อื งฉาย (๑๖ มิลลิเมตร) ม้วนหนัง จอหนัง สินค้า จะจัดวางพร้อมสรรพตามความเหมาะสมไว้ในรถ

เรื่องดีๆ ท่ีบา้ นเรา 267 ในตอนกลางวนั มปี ระกาศโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ ใหช้ าวบา้ นไดร้ บั รวู้ า่ หนงั ทม่ี า ฉายเร่ืองอะไรบ้าง ที่ขาดเสียไมไ่ ด้ คือดารานำ� ชายหญงิ พ่สี าวบอกวา่ ดาราทจ่ี �ำ ได้มีดาราคู่ขวัญ สมควร กระจ่างศาสตร์ รัตนาพร อินทรก�ำแหง สมพงษ์ พงษม์ ติ ร -ปรยี า รงุ่ เรอื ง,เสนห่ ์ โกมารชนุ – ปรยี า รงุ่ เรอื ง ดาราตลกมี ลอ้ ตอ๊ ก... รถหนงั จะวนเวียนส่งเสียง ผา่ นลำ� โพงฮอรน์ ไปรอบๆ หม่บู ้านว่าคืนนจี้ ะมีหนัง มาฉายให้ดู ในระหว่างนั้นก็จะโปรยแผ่นปลิวใบเล็กๆ รายละเอียดของหนัง เร่อื งทฉ่ี าย บอกชือ่ เรอื่ ง และดาราทร่ี ว่ มแสดง... เด็กๆ ตื่นเตน้ ดีใจกนั ยกใหญ่ ถอื วา่ เปน็ ความบนั เทงิ ทที่ กุ คนอยากดู ในสมยั นน้ั โทรทศั นไ์ มม่ ใี หด้ ู ไดเ้ หน็ เพยี ง แตผ่ ใู้ หญเ่ ขาฟงั ละครจากวทิ ยทุ รานซสิ เตอรเ์ ครอื่ งเลก็ ๆ เท่านน้ั แตห่ นงั ขายยา มที ั้งภาพทั้งเสยี ง นา่ ตน่ื เตน้ ขนาดไหน... คิดดกู แ็ ล้วกนั สว่ นผู้ใหญห่ น่มุ ๆ สาวๆ ต่ืนเต้นเช่นกัน เพราะมีโอกาสได้พบเจอพูดคุย บอกความในใจกัน เป็น “บรรยากาศรัก” หนุ่มสาวบา้ นท่งุ สมยั กอ่ น มหี ลายคเู่ หมอื นกนั ทีต่ กลงปลงใจ รว่ มหอลงโรงกันเพราะ “หนังขายยาหารกั ” แตม่ หี ลายคู่เช่นกนั ไดเ้ พียงแต่พา แห้วกลับบ้านเพราะ “หนังขายยาพาแห้ว” หรือไม่อย่างนั้นก็เป็นงานบุญงาน วดั ท่ีมโี อกาสไดเ้ ช่ือมความสัมพนั ธก์ นั ไม่มกี ารพบเจอกันวนั น้ี พร่งุ นีจ้ งู มอื กัน ไปเท่ียวเหมือนปัจจุบัน คนสมัยก่อนให้ความส�ำคัญกับจารีตประเพณีอันดีงาม ถือเป็นเกียรตศิ กั ด์ศิ รขี องวงศ์ตระกลู ... พสี่ าวเองกเ็ ตรยี มตัวทำ� “ขนมถาด” (ขนมไทยใส่ถาดตัดขายเป็นชน้ิ ๆ ละ ๑ บาท) ขนมที่ขายประจำ� มี ขนมช้ัน ขนมหม้อแกง ขนมเปียกปูน ขนมเม็ด ขนนุ ขนมกรวย ขนมถว่ั แปบ พส่ี าวสองสามคนรวมทง้ั แมก่ ลุ กี จุ อชว่ ยกนั ทำ� ขนม เพ่ือให้ทันได้ขายหน้าโรงหนังในค�่ำคืนนี้ ช่วงหลังๆ ที่ผู้เขียนพอจ�ำความได้ มสี ว่ นชว่ ยงานบา้ นพๆี่ เหมอื นกนั ชว่ ยตกั นำ้� ใสโ่ อง่ ตำ� หยวกกลว้ ยใหอ้ าหารหมู ล้างจาน ให้อาหารไก่ ต้ังแต่ยังไม่มืดค่�ำ ส่วนกิจวัตร ส่วนตัวจัดการเองหมด ไมต่ ้องรอ “ค�ำสงั่ ” จากแมห่ รือพส่ี าวเพราะต่นื เต้นดใี จ ท่จี ะไดไ้ ปดหู นังขายยา คืนน้ี ตกเยน็ พี่สาวเรมิ่ เตรยี มของทีน่ ำ� ไปขายจดั ใสร่ ถเข็น ผเู้ ขยี นช่วยจับหยบิ

268 เรอ่ื งดๆี ท่บี ้านเรา อกี แรง แลว้ จงึ ชว่ ยกนั เขน็ ไปยงั หน้าโรงหนงั บรเิ วณทมี่ ลี านกวา้ งหรอื ทโ่ี ลง่ เตยี น มกั จะถูกเลอื กปักเสาขึงจอผา้ สขี าวขนาด ๔ – ๕ เมตร โดยมเี สาเหลก็ สองต้น ซ้ายขวา ใช้เชือกผูกมัดให้ตึงท้ังสองเสา พร้อมกันน้ันจะใช้เชือกดึงที่ปลายเสา เหล็กข้างละสองเส้น ยึดปักลงดินเพ่ือความม่ันคงอีกชั้นหน่ึง...เม่ือรถเข็นขนม พี่สาวมาถึงบริเวณรถหนังขายยา จึงรีบจัดแจงเลือกหาท�ำเลเหมาะๆ เพ่ือวาง โต๊ะเกา้ อี้ วางถาดขนม ขณะท่เี ดก็ ๆ พากนั วง่ิ เลน่ ป้วนเป้ยี นวนเวยี นใกล้ๆ กบั รถหนังขายยา ย่ิงเวลา“คนฉายหนัง”ดูความเรียบร้อยของฟิล์มหนังท่ีจะฉาย ในคืนน้ี คนฉายหนังตอ่ ม้วนหนงั ต่อกลับหัวเรียกเสียงเฮจากคนดเู ลยทเี ดียว... ส่วนเดก็ ๆ สายตาคอยชะเงอ้ แหงนคอดฟู ลิ ม์ หนังทมี่ ีภาพเลก็ ๆ เรียงต่อกนั เป็น แถวท�ำให้อยากเห็นภาพเหล่าน้ันมาโลดแล่นบนจอใจแทบจะขาด...ถ้าเวลายัง ไมม่ ดื คำ่� เดก็ ๆ มกั วงิ่ เลน่ อยใู่ กลร้ ถฉายหนงั นน้ั แหละไมไ่ ปไหนไกล ในใจยงั คอย ภาวนาให้พระอาทิตย์ตกจมหายไปทางหลังเขาทางทิศตะวันตกเร็วๆ เม่ือดวง อาทิตย์ลับเหลย่ี มเขาไป พร้อมๆ กบั เสยี งเครื่องปั่นไฟกด็ งั ข้ึน ไฟฟา้ ส่องสวา่ ง จากรถหนังขายยา สาดส่องไปทั่วบริเวณ แข่งกับแสงตะเกียงดวงเล็กดวงน้อย ของแมค่ า้ แมข่ าย การฉายหนงั จะฉายออกทางหนา้ ตา่ งรถ หรอื ไมก่ เ็ ปดิ ไฟสวา่ ง พกั ขายยา (สินค้า) ช่วงนี้โฆษกจะพดู บอกสรรพคณุ สนิ คา้ ของตน โฆษกยนื พดู ใกล้ ๆ กบั รถซงึ่ มกี ารจดั โตะ๊ วางสนิ คา้ ทนี่ ำ� มาขาย โฆษกมาพดู โนม้ นา้ วใหค้ นมา ซอ้ื สนิ คา้ ในขณะทมี่ อื หนงึ่ จบั ไมโครโฟน อกี มอื ถอื สนิ ค้าชขู นึ้ ปากกพ็ รำ�่ บรรยาย สรรพคุณความดีของสินคา้ ระหว่างน้ีเด็กๆ แย่งกันมายืนชะเง้ออยู่รอบๆ โต๊ะขายสินค้า สายตา คอยจับจ้องอยู่ที่ปากของโฆษก ว่าจะพูดอะไรต่อไป ในขณะท่ีลูกค้าหนุ่มน้อย หนมุ่ ใหญข่ องแมค่ า้ ขนมถาด วนเวยี นซอื้ ขนมกนิ กนั อยา่ งสขุ สำ� ราญ เมอ่ื ซอ้ื ขนม ถาดแล้วกข็ าย “ขนมจบี ” ของตนกลบั คนื ไปใหแ้ ม่ค้า ด้วยบรรยากาศชน่ื มน่ื ไป ตามประสา...การขายสินคา้ ของโฆษก จะไม่กำ� หนดเวลาแนน่ อน เมอื่ คดิ วา่ พอ

เรือ่ งดีๆ ทบ่ี ้านเรา 269 สมควรก็จะฉายหนังม้วนต่อไป...ประโยคหน่ึงท่ีโฆษกมักพูดเสมอว่า “หมดยา ๕ ชุดสุดท้ายน้ีแล้ว จะได้ชมภาพยนตร์กันต่อ...ยกมือฉายไฟเลยครับ เรามี พนักงานบริการถึงที่ (เส่ือ)” มีเร่ืองสนุกๆอยู่เหมือนกัน กับค�ำพูดของโฆษก ที่มกั จะพดู วา่ “เอ้า!พนกั งานของเราไปสง่ หน่อยครบั ข้างหนา้ ๕ ชุด ดา้ นหลัง อีก ๒ ชดุ ดา้ นซา้ ยอกี ๓ ชดุ และด้านขวาอีก ๒ ชุด ตรงหนา้ โตะ๊ อกี ๕ ชดุ พนกั งานบรกิ ารพอ่ แมพ่ น่ี อ้ งหนอ่ ยครบั ...ขอบคณุ ครบั ”...แทจ้ รงิ แลว้ ไมม่ คี นซอื้ สักชุดเดียว น่าข�ำเป็นท่ีสุด (เป็นจิตวิทยาในการขาย) การฉายหนังก็สลับสับ เปล่ียนกับการขายสินค้าไปอย่างนี้จนจบเร่ือง ก็ราวๆ เท่ียงคืนหรือดึกกว่าน้ัน ขน้ึ อยกู่ บั ความยาวของหนงั หนงั ไทยสมยั กอ่ นผชู้ มทราบไดท้ นั ที วา่ หนงั ใกลจ้ บ เรอ่ื ง กร็ าว ๆ เทยี่ งคนื หรอื ดกึ กว่านนั้ ขน้ึ อยกู่ บั ความยาวของหนงั หนงั ไทยสมยั ก่อนผู้ชมทราบได้ทันทวี ่าหนังใกลจ้ บเรอื่ ง เมือ่ ได้เสยี งหวอรถต�ำรวจดังพรอ้ มๆ กับเสียงปรบมือจากนอกจอก็ดังข้ึน ถือเป็นเอกลักษณ์อย่างหน่ึงของหนังไทย ในยุคสมัยน้ันเลยทีเดียว...ทุกคนเตรียมม้วนเส่ือกลับบ้าน ส่วนตัวผู้เขียน แม่เลา่ ว่า ขากลับหนังเลิกมีเพื่อนพ่ีชายท่ีไปมาหาสู่กันเป็นประจ�ำที่บา้ น ชื่อพี่ สนิท สุขาเขิน (ปัจจุบันครอบครัวย้ายไปท�ำสวนที่ต�ำบลล�ำพะยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา) เป็นคนที่มีหน้าที่ “อุ้มขึ้นบ่าพากลับบ้าน” ไม่อุ้มได้อย่างไรละ ในเมอ่ื ผเู้ ขยี นนอนหลบั ตง้ั แตห่ นงั ฉายยงั ไมถ่ งึ ครงึ่ เรอ่ื ง (โฆษกมวั แตพ่ ดู ขายสนิ คา้ อยนู่ น่ั แหละไมย่ อมฉายหนงั สักท)ี สมั ผัสแรกกับการไดช้ มภาพยนตร์จอเล็ก สมัยเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปี ท่ี ๖ (พ.ศ.๒๕๑๗) ตื่นเต้นระคนปนความอยากรู้อยากเห็น ความแปลกใหม่ ส�ำหรับเด็กบ้านนอกอย่างพวกเรา ( ผู้เขียนและเพ่ือนร่วมห้องเรียน) จอหนัง อะไรไมร่ ู้ เลก็ นดิ เดยี วอยใู่ นตไู้ มม้ ี ๔ ขา ตง้ั ใหจ้ อสงู ขนึ้ เวลาฉายไมม่ สี สี นั สวยงาม เหน็ สขี าวกบั ดำ� เทา่ นนั้ ตลกเชน่ เดมิ กว่าจะรจู้ กั โทรทศั น์ เลน่ เอาเฉม่ิ ไปหลายวนั เหมอื นกนั โทรทัศนข์ าวดำ� เครอ่ื งแรกท่เี ข้ามาในตำ� บลหน้าถ�ำ้ ณ บ้านเลขที่ ๑

270 เรอื่ งดๆี ทีบ่ า้ นเรา “ลกู ต้อง” นายนิยม คหู ามขุ ก�ำนันตำ� บลหน้าถ้ำ� ในสมัยน้ัน ทางอำ� เภอตอ้ งการ ให้ประชาชนได้รับทราบข่าวสารของบ้านเมือง จึงได้มอบโทรทัศน์ขาวด�ำให้ ต�ำบลละ ๑ เคร่ือง ตลอดทั้งวัน มีลูกบ้านวนเวียนผลัดเปล่ียนกันไปช่ืนชม “ความมหัศจรรย์” ของโทรทัศน์กันไม่ว่างเว้น ผู้เขียนและผองเพื่อนมีโอกาส ชน่ื ชมความบนั เทงิ รปู แบบใหมใ่ นชว่ งเวลาหลงั เลกิ เรยี นและชว่ งหวั คำ่� หลงั เลกิ เรยี นถงึ บ้านจดั การภาระหนา้ ทจี่ นแลว้ เสรจ็ ขออนญุ าตแมไ่ ปดโู ทรทศั นบ์ ้านลงุ ก�ำนัน เดนิ ทางจากบา้ นพร้อมกับเพือ่ นๆ มาตามถนนลูกรังในหมูบ่ ้านมาถึงครึ่ง ทาง ต้องเดินลัดเลาะข้ามทุ่งนาไปขึ้นถนนใหญ่ (เพชรเกษม) แล้วเดินต่ออีก ๑๐๐ เมตร เวลา ๖ โมงคร่ึง บา้ นลงุ ก�ำนนั คลาคล่ำ� ไปด้วยผ้คู นมากหน้าหลาย ตา เด็กเล็กเด็กอ่อนๆ พ่อแม่ก็กระเตงผลัดกันอุ้ม ใครมาหลังอยู่ไกลหน่อย ต้องคอยเขย่งส้นเท้าให้ความสูงเพ่ิมขึ้น แต่ยืนดูได้ไม่นานหรอกก็มัน “เมื่อย” ตอนนี้ตัวใครตัวมัน ถ้ามองไม่เห็นก็ต้องมุดแงะแกะดันกันเอาเอง ภาพยนตร์ ญ่ีปุ่นที่สู้พยายามเดินทาง เสียเวลามาเฝ้าดูคือเรื่อง “กาโม่” กาโม่เป็นฮีโร่ ฝา่ ยธรรมะของเดก็ ๆ ทกุ คน กาโมจ่ ะทำ� ลายลา้ งความชวั่ รา้ ย จนยอ่ ยยบั ราบคาบ ทุกคร้ัง หนังฉายจบวันละ ๑ ตอนมีให้ชมเฉพาะวันไหน ผู้เขียนพยายามนึก อยู่หลายเท่ียวแต่นึกไม่ออกสักที ใช้เวลาแต่ละตอนประมาณครึ่งชั่วโมง หลังจากน้ันเป็นรายการข่าว ๑ ทมุ่ การเสนอขา่ วของโทรทศั น์สมัยนัน้ มเี ฉพาะ ผู้ประกาศข่าวอย่างเดียว ไม่มีภาพประกอบการเสนอข่าวปัจจุบัน พวกเราดู เฉพาะหนังไม่ได้ดูข่าว เพราะจะมืดค�่ำดึกดื่นเกินไป พ่อกับแม่เป็นห่วงมาก ท่านกำ� ชับว่าดหู นงั จบให้รบี กลบั บ้านทนั ที อยา่ เถลไถลไปไหนอกี ถา้ ไม่เชื่อฟัง คราวหลังจะไม่ให้ไปดูโทรทัศน์อีก ขากลับพวกเรามาตามเส้นทางเดิม ผู้เขียน พอจำ� ไดว้ า่ มไี ฟฟา้ สอ่ งสวา่ งบนถนนแลว้ แตเ่ ปน็ บางชว่ งถนน กอ่ นถงึ บา้ นผเู้ ขยี น อีก ๓๐๐ เมตรเส้นทางยังมืดอยู่ (นายพิศาล คูหามุข รุ่นพี่ผู้เขียนบอกว่า ไฟเขา้ หมบู่ า้ นตอ่ มาจากวดั หนา้ ถำ้� ) พวกเราแยกยา้ ยกนั บรเิ วณสามแยก ตรงเสา

เรอ่ื งดๆี ที่บา้ นเรา 271 ไฟฟา้ ตน้ สุดท้าย ค่อยๆ แยกย้ายทีละคนสองคน ผ้เู ขยี นรวบรวมทั้งความกล้า และกำ� ลงั สูดลมหายใจเข้าปอดอย่างรุนแรง... วิง่ ครับ วิ่งๆๆๆๆๆ ถึงบา้ นหอบ แฮก่ ๆ เสอื้ คอกลมเปยี กชมุ่ ไปด้วยเหง่อื ทั้งตัว ไม่ให้วง่ิ อยา่ งไรเพราะเสน้ ทางมืด เหลอื เกนิ ถงึ จะเปน็ ถนนกเ็ ถอะ สองข้างทางจำ� ไดแ้ มน่ ว่าไมไ่ ดโ้ ลง่ เตยี น แตก่ ลบั รกครึ้มไปด้วยต้นไม้นานาพันธุ์ กอต้นหลาวชะโอนสูงชะลูดที่ยืนตระหงา่ นอยู่ ในความมดื ตรงสามแยก และต้องผา่ นสระน้�ำขนาดใหญท่ ่ีขนานไปกบั ถนนยาว ๒๐๐ เมตร ซ่ึงรกครึ้มแน่นหนาไปด้วยต้นสาคูใหญ่ท่ียืนต้นชูใบตัดกับท้องฟ้า สวา่ งในยามค่ำ� คนื ใบโอนเอนไปตามแรงลมทพ่ี ดั มาเอือ่ ยๆ เรื่อยๆ เหมอื นกับ ใครคอยยนื โบกมอื ทกั ทายอยตู่ รงหนา้ ...บรอ๋ื ...แหนหนา้ มองทไ่ี รทำ� เอา “ใจหววิ ๆ ” ผ่านป่าสาคูมาคร่ึงทาง ถึงจุดไคลแม็กซ์ของเส้นทางเสียที “ต้นมะม่วงใหญ่” จดุ ทถ่ี กู ใครหลายคนเลา่ ขานถงึ สารพดั เรอื่ งราวแปลกเรน้ ลบั มหศั จรรยเ์ หลอื เชอ่ื ซ่ึงพิสูจน์ไม่ได้ ภาพต่างๆ ผุดวาบขึ้นในสมอง ความรู้สึกเย็นวูบชา ผสานกับ จังหวะเต้นถี่ของหัวใจ... อะไรจะขนาดน้ัน รวมแล้วเรียกว่า “กลัว” ครับ... บางค�่ำคืนมีความรู้สึกเหมือนได้ยินฝีเท้าใครไม่รู้ขยับตามหลังผู้เขียนมา ทีละก้าวๆ ผู้เขียนไม่กล้าเหลียวหลังกลับไปมอง แต่กลับรีบเร่งสับฝีเท้าเร็วข้ึน สุดชีวิต... เส้นทางน้ีผู้เขียนยังคงใช้สัญจรอยู่เป็นประจ�ำจนอายุประมาณ ๑๔ – ๑๕ ปี ภาพจากเรอ่ื งเลา่ ขานต่างๆ คอ่ ยๆ เลอื นรางจากหายไปเหลือเพยี ง ภาพแหง่ ความจรงิ ทช่ี ดั เจนขน้ึ แทจ้ รงิ แลว้ เปน็ “จนิ ตนาการ” กบั เรอ่ื งเลา่ จดจำ� ครุ่นคิด เรื่อยเปื่อยจนเกิดเป็น “มโนภาพ” ข้ึนในสมอง สั่งใจให้คิดอย่างน้ัน เหมอื นกบั เปน็ เรอื่ งจรงิ ผสมผสานกบั บรรยากาศ ความเงยี บ ความมดื และการ เคล่ือนไหว...ประสาทตาเห็นภาพอย่างที่สมองส่ัง...เป็นธรรมดาของ ประสบการณ์และอายุท่ีเพ่ิมขึ้น ท�ำให้เรามีสมาธิ มีจิตเข้มแข็งขึ้น และมีเหตุ มีผลเพิ่มมากข้ึนเป็นเงาตามตัว ผู้เขียนมีความเช่ืออยู่อย่างหนึ่งว่า คนเราถ้า ด�ำเนินชีวิตบนพ้ืนฐานของความถูกต้อง มีเหตุมีผล เข้าใจธรรมชาติของชีวิต

272 เรอ่ื งดๆี ท่ีบา้ นเรา ต้องรู้จักใช้ใจ “แก้ปัญหา” ไม่ใช่ “หนีปัญหา” ดั่งค�ำพระมหาสมปอง ตาลปุตโต ท่านพูดไว้ว่า “ปัญหามีไว้แก้ไม่ใช่มีไว้กลุ้ม” ชีวิตก็นา่ จะด�ำเนินไป อยา่ งมคี วามสงบสขุ ได้ในระดบั หนง่ึ นอกจากความสุขสนุกสนานจากการได้ดูโทรทัศน์ที่บ้านลุงก�ำนัน “ต้อง” แล้ว ทางบ้านฝง่ั ตรงกนั ข้ามกบั บา้ นลุงก�ำนัน เป็นบา้ นของลงุ ประดษิ ฐ์ เฉยี งตะวนั ทำ� ไมตอ้ งเปน็ บ้านลงุ ประดษิ ฐล์ ะ่ บ้านอน่ื ไดไ้ หม ตอบอย่างมน่ั ใจว่า ไม่ได้ เพราะบ้านอ่ืนไม่มี “ตู้เพลง” เป็นตู้เพลงเคร่ืองแรกในต�ำบลหน้าถ้�ำ อีกแล้ว) น่าจะประมาณช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๕ (๒๕๑๕-๒๕๑๖) นายพัฒนา เฉียงตะวนั ลูกชายของลุงประดิษฐ์ เฉียงตะวนั เล่าให้ฟังถึงต้เู พลง ที่ร้านในอดตี ดว้ ยสีหน้าระลกึ ถึงความหลังอย่างตั้งใจ “เป็นตเู้ พลงจากรา้ นโก้ พงษใ์ นเมอื งยะลา เอามาฝากตง้ั ไวโ้ ดยใหเ้ ปอรเ์ ซน็ ตร์ อ้ ยละ ๒๐ แกเ่ จ้าของรา้ น” (บ้านขายขนมและน�้ำ) ตู้เพลงมีรูปร่างรูปทรงสี่เหลี่ยมหนักแน่น ภายในน่าจะ บรรจุเครื่องจักรกลไกในการหยิบยกสอดใส่แผ่นเสียงเพลงต่างๆ ท่ีคนหยอด เหรยี ญหนง่ึ บาทเขา้ ไป หยอดเหรยี ญแลว้ ตอ้ งกดรหสั หนา้ เพลงทเ่ี ลอื กซง่ึ ตอ้ งใช้ เวลารอสักคร่จู ะมเี สยี งดัง “ฟดี ๆ ฟาดๆ” คงเป็นกลไกของระบบทำ� งานภายใน พรอ้ มๆ กบั เสยี งจากลำ� โพงทตี่ ดิ ตง้ั อยภู่ ายในกด็ งั ขนึ้ ตอนนคี้ นหยอดเหรยี ญยม้ิ กร่ิมได้เลย “เพลงนี้เสร็จเรา” ใครกล้าพอท่ีจะขยับแข้ง ขยับขา ส่ายสะเอว สะบดั หัว ไปด้วยก็ว่ากนั ไป “มนั ส์เขาละ” สว่ นผเู้ ขียน “ใจไมถ่ ึง” ไดแ้ ต่ยืนมอง อยู่ห่างๆด้วยสายตาละห้อย ใจหน่ึงก็อยากจะร่วมมันส์กับเขาด้วย แต่ก้าวขา ไม่ออก “ชีพจรยังไม่ลงเท้า” ได้แต่เพียงรอจังหวะตู้ว่าง ก็พอได้หยอด เหรียญบ้าง วันละเพลงสองเพลงเพราะไม่ค่อยจะทันขาโจ๋เจ้าประจ�ำที่ไม่ค่อย แบ่งคิว ให้คนอื่นเลย เพลงมีให้เลือกนา่ จะเกินร้อยเพลง รายชื่อเพลงทั้งไทย ลูกทุ่ง ไทยสากล และสากล เรียงเป็นแถวเป็นตับ เต็มแผงหนา้ ตู้ซ่ึงถ้ายังนึก ไม่ออก ให้นึกถึงภาพของตู้ไอศกรีมส่วนที่เป็นแผงฝาปิดตู้น่ันแหละ และริม ขอบบนด้านหน้าของตู้เน้ือท่ีกว้าง ๕ - ๖ นิ้ว จะมีปุ่มการปรับเสียงเรียงกัน

เรอ่ื งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา 273 เปน็ แถว แตช่ อ่ งหยอดเหรยี ญ ผเู้ ขยี นนกึ ไมเ่ หน็ ภาพวา่ อยตู่ รงสว่ นไหนของเครอ่ื ง เหมอื นกนั เพลงทเ่ี ปน็ ยอดฮติ ใน พ.ศ. นน้ั ผเู้ ขยี นฟงั ทกุ วนั จนจำ� เนอื้ รอ้ งไดด้ จี น มาถึงปัจจุบัน คือเพลง “สั่งนาง” ของนักร้องลูกทุ่ง สัญญา พรนารายณ์ (คนเดยี วกบั สญั ญา สายณั ห์ ไมใ่ ชส่ ายณั ห์ สญั ญานะครบั ชอื่ สองคนนสี้ บั สนกนั ชว่ งหนงึ่ ) เนอ้ื เพลง.... “จำ� ใจลานำ�้ ตารนิ ลาแลว้ ลาถน่ิ ทเี่ กดิ กาย ทนแหนงหนา่ ย หนักหนา พี่คนจนจึงต้องจร ลาแล้วลาก่อนไม่กลับมา จากด้วยน้�ำตาลาไกล คงมีวันเราร�่ำรวยโชคหนนุ บุญชว่ ยให้สขุ ใจ รวยเมอื่ ไหร่จะมา เสียดายนงคราญ บ้านเรา คนรักคนเก่าอยู่บ้านนา หากเหมือนสัญญาจงอยู่รอ เตือนแก้วตา อย่าเปล่ยี นใจ ถ้าแมน้ มใี ครมาสูข่ อ จรงิ แลว้ กจ็ งคอย เสยี งเพลงบรรเลงแว่วมา ฝากสายลมพาล่องลอย บอกน้องจงคอยอยู่บ้านนา และมีอีกหลายเพลงดัง ของนักร้องคนนี้เช่น เพลงฟ้าหม่นพ่ีหมอง สัญญาเม่ือสายัณห์ รักแรกพบ ทหารบกพ่ายรัก รักถูกสไตรค์ ฯลฯ ความประทับใจในครั้งแรก จึงท�ำให้ เพลงลกู ทงุ่ เขา้ ไปอยูใ่ นใจผเู้ ขยี น ตั้งแตบ่ ดั นน้ั จนถึงทกุ วนั น้ี มิเส่ือมคลาย “ทกุ คนกลวั ความตายและไมอ่ ยากตาย แตท่ กุ คนกต็ อ้ งตาย เมอ่ื ทกุ คน สุขสบาย ไมค่ อ่ ยไดน้ กึ ถงึ ความตายกันสกั เท่าไหร”่ ตอนหน่งึ ท่ีพระทา่ นเทศนา ให้ญาติโยมท่ีมาร่วมงานฌาปนกิจศพของพอ่ ผเู้ ขียน ในวนั ท่ี ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๗...ผู้เขยี นคดิ ว่า ท่านกพ็ ดู ถกู ต้อง ไมม่ ใี ครคดิ ถึงเรอ่ื งตายกนั หรอก... ทุกคนมงุ่ คิดถึงแต่ลาภยศ ทรพั ย์ กนั มากเกนิ ไป จนบางครัง้ อาจจะลืมความสุข ทีแ่ ทจ้ รงิ ของชวี ติ ไป ความสขุ อยทู่ ี่ไหน...ความสขุ อยู่ทใี่ จ ใจที่น่ิงสงบ...สงบดว้ ย ธรรมะที่สามารถ ลด ละ เลิก...รัก โลภ โกรธ หลงได้...แต่ชาวบ้านหน้าถ�้ำ (ประชากรหมู่ที่ ๑) หลายคนร่วมกันคิดวา่ ตายแล้วไม่อยากให้คนอยู่ขา้ งหลัง ล�ำบากกายและเป็นทุกข์ใจ ตายแล้วหมดทุกข์สุขใจท้ังคนตายและญาติพ่ีน้อง จงึ ไดเ้ กดิ “สมาชกิ สงเคราะหศ์ พบา้ นหนา้ ถำ้� ” ขน้ึ มา นางศรสี มหมาย ทองออ่ น หรอื “ปา้ อ๊ีด” ของเดก็ ๆ บอกว่า “มคี วามสุขทไ่ี ดต้ ายทีห่ นา้ ถำ�้ ” ปา้ อี๊ดยงั บอก ต่ออกี วา่ ไมม่ ีความสขุ อยา่ งไร เพราะพ้นื ฐานการด�ำรงชวี ิตของชาวบา้ นหน้าถ�ำ้

274 เรอ่ื งดๆี ทบี่ ้านเรา ในสมยั กอ่ น พอมพี อกนิ ไมร่ ำ่� รวยอะไรมากมาย เมอ่ื ญาตพิ น่ี อ้ งเสยี ชวี ติ ลงกต็ อ้ ง “จ�ำน�ำนาข้าวท่ีท�ำกิน” จึงจะมีเงินมาด�ำเนินการเรื่องศพคนตาย มีบางคน เหมือนกนั ที่ล�ำบากยากจนเอานาไปจ�ำนำ� ไม่มีใครรบั จำ� น�ำ เพราะกลวั ว่าไมม่ ี เงินมาไถ่ถอนนาคืน จึงจ�ำต้องจัดการเร่ืองศพไปตามยถากรรม จากปัญหา อุปสรรคดังกล่าว จึงเกิดมีกลุ่มคนท่ีเห็นความจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการช่วยเหลือ โดยเรง่ ด่วนจึงเกิด “คณะกรรมการสมาชิกสงเคราะห์ศพบ้านหนา้ ถำ้� ” ชุดแรก จงึ ประกอบดว้ ย นายคดิ เพชรกลา้ นายเลอื่ น ขวญั มงคล นายเลี่ยม คหู ามขุ (ก�ำนันในยุคน้ัน) นายประดิษฐ์ เฉียงตะวัน โดยมี นายชม สุวรรณโพธ์ิ (เปน็ เหรญั ญกิ และรา่ งระเบยี บขอ้ ตกลง) ขอ้ ตกลงของสมาชกิ สงเคราะหศ์ พบา้ น หนา้ ถ�ำ้ เมอ่ื มสี มาชกิ เสียชีวติ ลงจะตอ้ งปฏบิ ัติดงั น้ี ๑. มอบข้าวสาร ๓ ลิตรกับเงิน ๕ บาท ให้กับสมาชิกท่ีเสียชีวิตลง (ถ้าไม่มีขา้ วสารต้องจ่ายเปน็ เงนิ ๒๐ บาท) ๒. เป็นคนที่มีภูมิล�ำเนาอยู่ในต�ำบลหน้าถ�้ำ ถ้าเป็นคนนอกพ้ืนท่ี ตอ้ งเข้ามาอาศัยอย่างน้อย ๓ ปี ๓. การสมัครเป็นสมาชิกสงเคราะห์ศพบ้านหน้าถ้�ำ ให้เก็บเป็นคู่ แตง่ งาน จะจดทะเบยี นสมรสหรือไม่จดทะเบียนสมรสกไ็ ด้ เขา้ เป็นสมาชกิ ใหม่ เมอ่ื มกี ารตายเกดิ ขน้ึ เทา่ นนั้ และตอ้ งจา่ ยไปตามเงอ่ื นไข จะไมม่ กี ารสมคั รสมาชกิ ในเวลาอ่นื ๆ ๔. ถ้าคู่แต่งงานขาดการจ่ายตามเง่ือนไข ๑ ศพ จะถือว่าขาดจาก สมาชิกสงเคราะห์ศพบ้านหนา้ ถ้�ำทนั ที ๕. จา่ ยเงินตอบแทนเหรญั ญกิ ศพละ ๒๐๐ บาท มกี ารใชก้ ตกิ านมี้ าระยะหนง่ึ ตอ่ มาไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงกตกิ าขอ้ ตกลง บางอย่าง เพื่อให้เกิดความเหมาะสมตามข้อที่ ๑. ต้องมอบข้าวสาร ๓ ลิตร

เร่ืองดีๆ ท่ีบ้านเรา 275 กบั เงนิ ๕ บาท ใหก้ บั สมาชกิ ท่ีเสยี ชีวติ ลง (ถา้ ไม่มีข้าวสารต้องจา่ ยเปน็ เงิน ๒๐ บาท) ปรบั แกเ้ ป็น ถา้ จ่ายเปน็ เงนิ ๒๐ บาท ต้องเพ่มิ มะพร้าวแกง ๒ ลูก ใชม้ า อกี สกั ระยะเจอปัญหาใหม่ อยทู่ ีว่ ่าข้าวสารท่สี มาชกิ ต่างคนตา่ งนำ� มาใหส้ มาชกิ ที่เสียชีวิตน้ัน เป็นข้าวสารคนละชนิด เมื่อน�ำมาหุงรวมกัน เวลารับประทาน รสชาติไม่ถูกปาก รับประทานกันไม่ค่อยได้ เปียกบ้างหรือแข็งจนฝืดคอ จึง ปรับเปล่ียนกตกิ าในขอ้ ท่ี ๑. เป็นจา่ ยเงนิ เพยี งอยา่ งเดยี วคูล่ ะ ๓๐ บาท แล้วไป ยืดหยุ่นกติกาในข้อ ๔. ถา้ คู่แต่งงานขาดการจ่ายตามเงื่อนไขเพียง ๑ ศพ จะ ถอื วา่ ขาดจากสมาชิกสงเคราะหศ์ พบ้านหนา้ ถ้�ำทนั ที ให้ปรับเปลย่ี นกติกาดังน้ี ข้อ ๔. ถา้ คู่แต่งงานขาดการจ่ายตามเง่ือนไข ๓ ศพ จะถือวา่ ขาดจากสมาชิก สงเคราะห์ศพบ้านหน้าถ้�ำทันที โดยเพ่ิมเติมต่อท้ายว่า ถ้ามีความต้องการ ขอสมัครเข้าเป็นสมาชิกสงเคราะห์ศพบ้านหน้าถ�้ำครั้งใหม่ จะต้องจ่ายเงิน เปน็ คา่ ปรบั ๓๐๐ บาท และกตกิ าขอ้ ตกลง ปรบั เปลย่ี นครง้ั ลา่ สดุ ทใ่ี ชใ้ นปจั จบุ นั จ่ายเงนิ คู่ละ ๕๐ บาท ไม่มกี ารปรบั ๓๐๐ บาท... การสมัครเป็นสมาชิกสงเคราะห์ศพบ้านหน้าถ้�ำ ก่อให้เกิดกิจกรรม ร่วมคิด ร่วมท�ำ และรับผลประโยชน์ร่วมกัน (เม่ือสมาชิกเสียชีวิต) ก่อให้เกิด ความสามัคคีในหมู่คณะ มีมิตรไมตรีที่ดีต่อกัน เพราะเมื่อสมาชิกเสียชีวิตลง ทกุ คนจะตอ้ งไปร่วมงาน พดู ตดิ ในภาษาชาวบา้ นวา่ “ไปเสยี สมาชิก” (คือจา่ ย เงิน ๕๐ บาท) ไปจา่ ยท่วี ดั หรอื ทบ่ี า้ น เปน็ การตดั สนิ ใจของเจ้าภาพจดั งานศพ ว่าจะต้ังศพบ�ำเพ็ญกุศลท่ีไหน ถ้าเลือกต้ังศพบ�ำเพ็ญกุศลท่ีบ้าน ส่วนใหญ่เป็น บา้ นผตู้ ายหรอื เลอื กตง้ั ศพบำ� เพญ็ กศุ ลทวี่ ดั หนา้ ถำ้� (วดั คหู าภมิ ขุ ) กอ่ นทสี่ มาชกิ ไปจ่ายเงนิ จ�ำเป็นตอ้ งทราบก่อนวา่ ตงั้ ศพบ�ำเพ็ญกุศลกว่ี ัน จะมกี ารฌาปนกจิ ศพวันไหน สมาชิกจะได้บริหารเวลาได้ถูกต้อง จะได้ไม่ตกหล่นขาดจาก ความเปน็ สมาชกิ สงเคราะหศ์ พบา้ นหนา้ ถำ้� การตงั้ ศพบำ� เพญ็ กศุ ลเจา้ ภาพมกี าร เลีย้ งอาหาร ทงั้ กลางวันและกลางคนื มที ้งั อาหารคาวหวาน เร่ืองอาหารการกนิ

276 เร่ืองดีๆ ทบ่ี ้านเรา ต้งั แต่ซ้ืออาหารสด การปรงุ การบรกิ ารถงึ โตะ๊ ลว้ นเป็นการชว่ ยเหลอื ออกแรง ออกความคิดของสมาชิกกันเอง แต่สมาชิกส่วนใหญ่จะไปร่วมงานในเวลาเย็น เลยไปจนมืดค�่ำ สมาชิกเลือกรับประทานอาหารก่อน แล้วจ่ายเงินทีหลัง หรอื จา่ ยเงนิ กอ่ น แลว้ รบั ประทานอาหารทหี ลงั อยทู่ คี่ วามสะดวก ในบรเิ วณงาน เลี้ยงอาหารสมาชิก มีการจัดโต๊ะ และคนรับเงินบริการสมาชิกตลอดเวลา (คนรับเงินเป็นคนของเจ้าภาพ พร้อมรับเงิน ๒๐๐ บาท จากเจ้าภาพด้วย) รายชื่อสมาชกิ แยกจ่ายเป็นกลุ่มบ้าน (ประชากรหมู่ท่ี ๑ และหม่ทู ี่ ๔) มบี า้ น มะพร้าว บ้านมว่ งคู้ บ้านหว่างเขา บ้านหนา้ ถ�ำ้ (บรเิ วณหนา้ วดั ) และบา้ นมะหะ (ผเู้ ขยี นอยู่กล่มุ น้)ี ป้าอ๊ีดบอกว่า...สมัยนายชม สุวรรณโพธิ์เป็นเหรัญญิกอยู่น้ัน ในวัน ฌาปนกิจศพเมื่อท�ำพิธีทางพระเสร็จสมบูรณ์ก่อนน�ำศพข้ึนเชิงตะกอน นายชม สวุ รรณโพธจิ์ ะประกาศรายชอ่ื ใหส้ มาชกิ สงเคราะหศ์ พบา้ นหนา้ ถำ�้ ทราบ ว่าใครจา่ ย ใครคา้ งชำ� ระเงนิ ค่าสมาชิกบ้าง บางครัง้ ญาตทิ ม่ี าร่วมงานชว่ ยจ่าย ทดแทนให้ ทำ� ใหส้ มาชกิ คอ่ นขา้ งจา่ ยครบทกุ คู่ แตใ่ นปจั จบุ นั ปา้ อดี๊ เพยี งโทรศพั ท์ ไปแจ้งผู้ท่ีค้างช�ำระเงินค่าสมาชิกเป็นการส่วนตัวเท่านั้น เม่ือสมาชิกรับทราบ ก็น�ำเงินมาจ่ายท่ีบ้านป้าอ๊ีด เงินท่ีได้รับมาภายหลังป้าอ๊ีดจะน�ำไปมอบให้กับ เจ้าภาพจัดงานศพอีกที ป้าอ๊ีดมารับช่วงสานต่อจากนายชม สุวรรณโพธิ์ เปน็ ศพลำ� ดบั ท่ี ๓๐๒ ของนางอมั พร เพชรกลา้ นบั จำ� นวนสมาชกิ สงเคราะหศ์ พ บ้านหน้าถ�้ำที่เสียชีวิตจากอดีต (ร่วม๔๐ปี) ถึงปัจจุบันมีจ�ำนวน ๔๐๐ ราย และสมาชิกสงเคราะห์ศพบ้านหน้าถ้�ำ ในปัจจุบันมีท้ังหมด ๖๒๐ คู่ (ข้อมูล ๑๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕) ป้าอ๊ีดยังบอกต่ออีก “งานที่ท�ำต้องเสียสละเวลา อย่างน้อยถือว่า ไดช้ ว่ ยเหลอื คนในหมบู่ ้าน เผอื่ เราจะไดอ้ านสิ งสผ์ ลบญุ อนั นบี้ า้ ง การไดช้ ว่ ยเหลอื เพื่อนมนุษย์ ถือเป็นการสร้างบุญกุศลอันยิ่งใหญ่” ผู้เขียนเห็นตรงกับป้าอี๊ด เพราะผู้เขียนได้รับทราบเร่ืองสมาชิกสงเคราะห์ศพบ้านหน้าถ�้ำมาตลอด

เร่ืองดๆี ทบ่ี า้ นเรา 277 งานที่ต้องท�ำมีรายละเอียดหลายอย่าง ชื่อข้อมูลของสมาชิก สมาชิกมีเข้าบ้าง ออกบา้ ง เมอ่ื โทรไปบอกเจา้ ตวั กลบั หาวา่ ปา้ อดี๊ โทรไปทวงถาม อกี อยา่ งตอ้ งนำ� เงินท่ีสมาชิกจ่ายภายหลัง ไปให้เจา้ ภาพศพทีละคนสองคน โดยข่ีมอเตอร์ไซค์ วนเวียน มากมายหลายเร่ือง และรายละเอียดเร่ืองอ่ืนอีกจิปาถะ จึงนับได้ว่า ป้าอี๊ดเปน็ บคุ คลตัวอย่างท่เี สียสละความสุขเพื่อส่วนรวมจรงิ ๆ... ผู้เขียนโชคดีที่เกิดมาในครอบครัวที่มีความรักความอบอุ่น ถึงแม้ ฐานะเศรษฐกิจทางบ้านไม่ค่อยราบรื่นนักแต่ทุกคนมีพลังกายและพลังใจให้ ซึ่งกันและกัน “พลังรัก” ที่ท�ำให้คนในครอบครัวอยู่ได้อย่างมีความสุข ความสุขในครอบครัวเป็นพื้นฐานของชีวิตท่ีดี ความรักความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ของตนเอง ผู้ใหญ่ในครอบครัวจึงควร “ท�ำตัวอยา่ งท่ีดีให้ลูกเห็น ดีกวา่ เปน็ ไดแ้ ตพ่ ดู ” เหมือนใครหลายคน... ความสขุ ในวยั เดก็ เปน็ เวลาแหง่ ความสุข สนุกสนานท่ีสุดของชีวิต ความอยากรู้อยากเห็นย่อมท�ำให้เกิดการแสวงหา ดิ้นรนคน้ หา วันๆ เที่ยวๆ เลน่ ๆ เป็นประจำ� กับเพ่อื น มอี ะไรใหม่แลกเปลย่ี นกนั เม่ือโตเป็นผู้ใหญ่จึงเข้าใจได้ดีว่า นั่นคือ “การเรียนรู้” ท่ีมีความสุข... ความสุขในชุมชน สังคมท่ีอยู่อาศัยของผู้เขียนเต็มไปด้วย “วิถีแห่งธรรม” พอเรมิ่ จำ� ความได้ มโี อกาสไดร้ ว่ มกจิ กรรมทตี่ อ้ งรว่ มกนั ทำ� กบั คนหมมู่ ากหลายๆ คนในหมู่บ้าน กิจกรรมของหมู่บ้านท่ีเช่ือมโยงน�ำเข้าไปสู่ศาสนา ท�ำให้ใกล้ชิด หลักค�ำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่ีมีหลักค�ำสอนให้ทุกคนเป็นคนดี คนดีย่อมได้รับผลตอบแทนคือ “ความสุข” ความสุขเป็นผลกรรมของคนที่ ทำ� ความดีเทา่ น้ัน

278 เรื่องดีๆ ท่บี ้านเรา

เร่ืองดีๆ ทีบ่ ้านเรา 279

280 เร่อื งดีๆ ทีบ่ ้านเรา คิดถงึ คณุ ตา นายฉตั รปกรณ์ กำ� เหนิดผล เสียงดนตรีพื้นบ้านที่ประสานด้วยดนตรีสากล ได้สร้างความบันเทิง เรงิ ใจให้แกบ่ รรดาพี่นอ้ งชาวปักษ์ใต้อยหู่ ลายสมัย หลงั ดวงอาทิตย์อสั ดงเคร่อื ง ดนตรเี กา่ ใหมถ่ กู จดั วางอยา่ งเปน็ ระเบยี บ เพอื่ ทำ� หนา้ ทม่ี อบความบนั เทงิ ในยาม ราตรี จอผ้าขาวถูกขงึ ดว้ ยหนวดพราหมณ์จนตงึ ราวกับเพดานผ้า ไฟสสี ม้ เปล่ง รศั มีไลค่ วามมืดเทา่ ท่พี อจะท�ำได้ แผงไมไ้ ผส่ านเก่าๆ รูปสเ่ี หลยี่ มผืนผ้าทีห่ นีบ ด้วยไม้แข็งจากภูมิปัญญาถูกเปิดออก ชายวัยชราประนมมือข้ึนทูนหัวอย่าง ศรัทธา แล้วเอ้ือมมือด้วยอาการส�ำรวมหยิบรูปฤาษีหัวค่�ำไปปักท่ีหยวกกล้วย หลังจอผ้าขาว จากนั้นรูปหนังหลายๆตัว ถูกวางเรียงอย่างเป็นระเบียบไล่ไป ตั้งแต่รูปเจ้าเมือง รูปนางเมือง รูปกุหมาน(กุมาร) รูปนาง และปิดท้ายด้วย รปู กาก ตานุ้ย ตาเท่ง และสหายอีกหลายๆ รูป เตรียมตัวที่จะมอบความสุข ความบันเทิงให้กับผู้ชมหน้าโรง ด้วยการยืนรออยู่หลังจอผ้าขาวอย่างม่ันใจ ขนั หมากเบกิ โรงทำ� หนา้ ทเี่ ปดิ การแสดงไดถ้ กู ตอ้ งตามคำ� สอนของครสู มยั โบราณ เมื่อเครื่องดนตรีประโคมขึ้นพร้อมกันเป็นเพลงไทยเดิมส่งสัญญาณว่าหนัง ลงโรงแล้ว พ่อเฒ่าจูงหลานชายหญิงน�ำสาดมาปูหน้าโรงเพ่ือรอชมการแสดง อย่างต่นื เต้น ท้งั ท่ไี ม่ใชก่ ารแสดงท่แี ปลกใหมเ่ ลย หลงั จากท่ฤี าษีหัวค่�ำท่องโรง ไปมา แล้วมาวุ่นอยู่กับการขุดหัวมัน จากน้ันมาท่องมนต์อย่างเข้มขลัง แล้วพระยาโคตัวใหญ่ก็วิ่งเต้นอย่างที่ไม่กลัวว่าพระอิศวรเจ้าจะตกลงมาจากลัง

เร่อื งดีๆ ท่ีบา้ นเรา 281 ของมัน หลานบา่ วของพอ่ เฒ่าก็ลุกขนึ้ เต้นหน้าโรงตามจังหวะเพลงโค ท�ำใหน้ ้า หลวงทน่ี ั่งอยขู่ ้างหลังอดอมยมิ้ ไม่ได้ รูปโคเต้นได้อย่เู พลงหนึ่ง กเ็ ปน็ หนา้ ทีข่ อง ปรายหนา้ บททอี่ อกมาทำ� หนา้ ทแ่ี ทนตวั นายหนงั บชู าครบู าอาจารย์ และขอบคณุ เจา้ ภาพ จากนน้ั ตาขวญั เมอื งกม็ าเลา่ เรอื่ งการแสดงของคนื นี้ หลานบา่ วพอ่ เฒา่ หลับไม่ทันรู้ตัวแต่ใบหน้าก็ยังแฝงด้วยรอยย้ิม พ่อเฒ่าลูบผมหลานบ่าวเบาๆ คลอไปตามจงั หวะดนตรที ี่ประโคมดงั อยา่ งต่อเนือ่ ง พรอ้ มกบั กระซบิ ขา้ งหูวา่ “ตานยุ้ ตาเท่งไมท่ นั ออกที หลับเสยี แล้วไอ้ลกู หมา” เพลงค�ำวอนก่อนลาบรรเลงขึ้นเป็นสัญญาการส้ินสุดการแสดง บรรดาแฟนพนั ธแุ์ ทท้ น่ี ง่ั ชมการแสดงตง้ั แตห่ วั คำ่� ลกุ ขน้ึ จากสาดทช่ี มุ่ ดว้ ยนำ้� คา้ ง ยอดหญา้ แยกยา้ ยกนั กลบั บา้ น รปู หนงั ทกุ รปู ถกู นำ� กลบั มานอนเรยี งในแผงไมไ้ ผ่ ภายใต้การควบคุมของฤาษีหัวค�่ำท่ีถูกจัดวางไว้บนสุด จอผ้าขาวถูกปลดจาก สม่ี มุ โรง เครอ่ื งดนตรถี กู เกบ็ เขา้ ลงั เหลก็ เกา่ ๆ รถกระบะคนั ผไุ ดบ้ รรทกุ สมั ภาระ ทงั้ หมดอยา่ งมน่ั คงนำ� ทกุ สงิ่ จากไปทงิ้ ไวแ้ ตเ่ พยี งความทรงจำ� และความภาคภมู ใิ จ ในการแสดงพ้ืนบา้ นทีเ่ รียกวา่ “หนงั ตะลุง” กระผมเกดิ ในทา่ มกลางความสบั สนของตวั เองวา่ จะเดนิ ไปตามกระแส สังคม หรือจะย้อนทวนไปอยู่กับอดีต หรือจะด�ำรงตัวอย่างไรดี เพราะเป็น ความหวังของครอบครัวในฐานะท่ีเป็นลูกชายคนโต เป็นปกติของพ่อแม่ท่ีหวัง ใหล้ กู เปน็ คนเกง่ คนดที ที่ นั ยคุ ทนั สมยั แตท่ ว่าคณุ ตา (นอ้ งของป)ู่ อยากใหเ้ รยี น รวู้ ิชาการแสดงหนังตะลุงเพ่อื สืบทอดเจตนารมณ์ของบรรพชน ทำ� ให้เกิดความ ขัดแย้งอยู่ภายในใจของเด็กชายช้ัน ป.๒ แต่อย่างไรก็ตามกระผมก็ได้ท�ำตาม ค�ำสั่งสอนของท้ังพ่อแม่ท่ีให้ต้ังใจเรียนเพ่ือเป็นคนยุคใหม่ท่ีมีความรู้และตั้งใจ ฝกึ ฝนวชิ าหนงั ตะลุงท่ีสืบทอดกนั มานบั รอ้ ยปี เล่ากันว่าแม่ของกระผมเจ็บท้องจวนจะคลอดในพิธีพระราชทาน เพลงิ ศพหนงั กนั้ ทองหลอ่ ซงึ่ เปน็ ความบงั เอญิ ทเ่ี ปน็ แรงบนั ดาลใจใหก้ ระผมนนั้

282 เรอ่ื งดีๆ ที่บา้ นเรา ตั้งใจฝึกฝนวิชาหนังตะลุง เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของบรรพบุรุษ ในฐานะท่ี หนังกัน้ ทองหลอ่ (ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดงหนังตะลุง) เปน็ ญาติ ห่างๆ ของครอบครัวฝ่ายคุณพ่อ ท่ีเป็นชาวบ้านพ้ืนเพในหมู่บ้านน�้ำกระจาย อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวดั สงขลา กระผมเรม่ิ ฝกึ หดั การแสดงหนงั ตะลงุ จากคณุ ตา (นายถวลิ กำ� เหนดิ ผล ครูภมู ิปัญญาไทย ร่นุ ที่ ๕ ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ) ซง่ึ เป็นน้องของคุณปู่ ตัง้ แต่เรยี นช้ันป. ๒ โดยมลี กู พลี่ กู นอ้ งอกี ๒ คน ร่วมฝึกดว้ ย เรม่ิ จากการเชดิ รูป พระฤาษี พระอศิ วร และปรายหนา้ บทในเวลาตอนเยน็ หลงั เลกิ เรยี นทกุ วนั เปน็ เวลาเกอื บ ๓ เดอื น จากนน้ั เหลอื แคเ่ พยี งกระผมคนเดยี วเพราะคนอนื่ ๆ เขาเบอ่ื และไม่สนใจในการแสดงแขนงน้ี จากนั้นคุณตาได้ไปติดต่อโรงเรียนบ้านน�้ำ กระจาย ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นทผี่ มเรยี นอยเู่ พอ่ื ขอเขา้ ไปสอนวชิ าหนงั ตะลงุ ในโรงเรยี น โดยโรงเรียนอนญุ าตใหต้ าไปสอนวิชาหนังตะลุงโดยไมม่ ีค่าตอบแทนให้ คุณตา กย็ นิ ดที จ่ี ะสอนแมห้ ลายครงั้ ตอ้ งใชจ้ ่ายเงนิ สว่ นตวั เพอื่ จดั หาอปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ ต่างๆ โดยเปิดสอนเป็นกจิ กรรมชุมนมุ สอนเฉพาะนกั เรยี นทีส่ นใจ ซง่ึ สอนการ เชิดหนงั การแกะสลกั ตัวหนงั และการเขียนกลอน ซึง่ มนี ักเรียนบางสว่ นสนใจ มาเรยี นรู้จนสามารถสร้างผลงานให้แกโ่ รงเรยี นได้ระยะหน่ึง โครงการสอนหนงั ตะลุงในโรงเรียนได้ด�ำเนินการอยู่หลายปีก็ปิดตัวลงหลังจากเปล่ียนแปลง คณะผบู้ รหิ ารโรงเรยี น แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม คณุ ตากไ็ ดเ้ ปดิ สอนวชิ าหนงั ตะลงุ ทบี่ า้ น อยู่ตลอดเวลา มเี ดก็ ๆ ในละแวกหมู่บา้ นไปเรียนร้อู ยเู่ ปน็ ระยะ และยงั มผี ้สู นใจ จากภายนอกไปขอขอ้ มลู ตา่ งๆ มากมาย ทงั้ นกั เรียน นกั ศึกษา ที่น�ำขอ้ มลู ไปท�ำ รายงาน แม้แต่วิจัยระดับปรญิ ญาโท ครง้ั หนงึ่ สมาพนั ธห์ นงั ตะลงุ จงั หวดั สงขลาไดจ้ ดั ประชมุ บรรดานายหนงั ณ วัดน้�ำกระจาย คุณตาเม่ือเห็นว่ากระผมพอที่จะเชิดรูปหนังได้แล้ว ก็ได้สั่ง รูปพระฤาษีหวั ค่ำ� ใหก้ ับกระผมเพ่ือทจ่ี ะได้มีรูปหนงั เป็นของตัวเอง คุณตาบอก ว่าให้ไปบอกคุณแม่ว่าให้น�ำเงิน ๓๐๐ บาทเพื่อจ่ายให้แก่นายช่างตัดรูปหนัง

เรอ่ื งดๆี ท่บี า้ นเรา 283 เมื่อวันประชุมมาถึง คุณแม่ก็เป็นทุกข์ใจมากเพราะไม่มีเงินมาจ่ายค่ารูปหนัง ราคา ๓๐๐ บาท หลงั จากเลิกงานทีโ่ รงงานปลากระป๋องใกล้บา้ นคุณแมก่ ็เดนิ ร�ำพึงร�ำพันกับตัวเองว่าไม่รู้จะไปหยิบยืมเงินใครที่ไหนมาได้บ้างเพื่อเป็นค่ารูป หนังให้กับกระผม คุณแม่เดินจนใกล้จะถึงวัดน้�ำกระจายแล้วก็ยังนึกไม่ออกว่า จะเอาเงินมาจากไหน เหมือนฟ้าเมตตาเกิดปาฏิหาริย์ขึ้นเมื่อมีธนบัตรใบละ ๑๐๐ บาท ๓ ใบวางอยู่ตรงหน้า ท�ำให้คุณแม่ดีใจมากและรีบเดินเข้าวัดน�้ำ กระจายเพอื่ น�ำเงินมาใหก้ ระผมเพ่ือจา่ ยเปน็ ค่ารปู หนงั ทำ� ให้ผมรู้สกึ ประทับใจ มากทอี่ ยา่ งน้อยๆ ฟา้ กย็ ังเมตตาเด็กจนๆ อย่างกระผมท่ีตงั้ ใจจะท�ำดี เวลาผา่ นไปหลายปี คณุ ตาบอกวา่ ถงึ เวลาแลว้ ทลี่ กู จะตอ้ งทำ� พธิ ขี นึ้ โรง เพื่อแสดงความเป็นนายหนังให้เป็นที่ประจักษ์แก่ญาติพี่น้อง วันนั้นเป็นวันท่ี กระผมจ�ำได้ดีเพราะเป็นวันส�ำคัญมาก เป็นวันแรกท่ีจะต้องแสดงหนังตะลุง อยา่ งเตม็ รปู แบบ เพราะตอ้ งใชอ้ ปุ กรณท์ กุ อยา่ งทเ่ี ปน็ ของจรงิ ทงั้ หมด จากหนา้ จอหนังท่ีเปลี่ยนจากฝาประตูบ้านเป็นจอผ้าขาวของจริง จากรูปหนังตัวเล็กๆ ขาดๆ เป็นรูปหนังตวั โตสวยงาม จากกระปอ๋ งนมลกู ผกุ ลายเปน็ กลองชุดเคร่อื ง ใหญ่ ผมยังจดจำ� วนั น้ันไม่เคยเลือน หลงั จากพระสวดใหพ้ ร ท่านผู้อำ� นวยการ โรงเรยี นบา้ นนำ้� กระจายไดเ้ มตตาจงู กระผมขน้ึ โรงหนงั นบั เปน็ ความประทบั ใจ ทยี่ งั อยใู่ นดวงใจเสมอ หลงั จากนนั้ ญาตพิ นี่ อ้ งและผคู้ นละแวกบา้ นกเ็ รยี กผมวา่ “นายหนัง” แม้ว่าบางครั้งค�ำๆนี้จะเป็นค�ำล้อเลียนก็ตาม แต่กระผมก็ยินดี ที่จะน้อมรบั และรูส้ ึกภมู ิใจทกุ ครัง้ ในความเปน็ นายหนงั ของตัวกระผม เปน็ ภาพทีค่ นุ้ ตาของคนในละแวกหมบู่ ้านและคนในกลมุ่ นายหนัง ทีม่ ี คนแก่คนหน่ึงจูงเด็กๆ หญิงชายสามส่ีคนที่ไม่ใช่สายเลือดของตัวเอง คุณตา มกั พากระผมและรนุ่ นอ้ งทฝี่ กึ หดั หนงั ไปชมการแสดงหนงั ตะลงุ ของบรรดาลงุ ๆ นายหนังท่ีมาแสดงในท่ีต่างๆ บางครั้งคุณตาก็มีงานแสดงหนังตะลุงแก้บน โดยการเปิดเทปการแสดงของหนังกั้น ทองหล่อ คุณตาก็จะห้ิวพวกเราไปด้วย

284 เร่ืองดๆี ท่บี ้านเรา หลายครงั้ ท่ีจะต้องไปแสดงสองสามคืนติดกัน กระผมจำ� ได้วา่ พวกเราสนุกมาก ไดไ้ ปวง่ิ เลน่ ในวดั ไกลบา้ น และไดน้ อนหลบั บนโรงหนงั ตะลงุ ผคู้ นมกั มามงุ ดเู วลา พวกเราเชดิ รปู หนงั โดยกระผมเชดิ รปู พระฤาษหี วั คำ�่ และนอ้ งๆ กเ็ ชดิ รปู โคและ รปู ปรายหนา้ บท จากนน้ั กเ็ ปน็ หนา้ ทข่ี องคณุ ตาทจี่ ะแสดงเรอ่ื งตามเทปและทำ� พิธีแก้สินบนตามพิธีกรรม ในช่วงค่�ำๆ พวกเราก็จะวุ่นอยู่กับการจัดรูปหนังใน แต่ละฉากให้คุณตา หลังจากนั้นก็มานั่งดูคุณตาแสดงอยู่ข้างหลัง และทุกคน กจ็ ะหลบั ไปโดยไมร่ ตู้ วั คณุ ตากจ็ ะมาปลกุ ในตอนรงุ่ เชา้ พาพวกเราไปกนิ ขา้ วตม้ และน�้ำชาตอนเชา้ ทัง้ ๆ ท่คี ณุ ตายงั ไมไ่ ดน้ อนเลย นบั เป็นชว่ งเวลาหน่ึงของชวี ิต ทก่ี ระผมไดส้ มั ผัส ซงึ่ เปน็ ชว่ งเวลาทีด่ ีท่สี ุด เมอ่ื ทกุ คนตอ้ งแยกยา้ ยไปศกึ ษาเลา่ เรยี นตามวถิ ขี องตวั เอง ความผกู พนั ก็เลือนไปตามกาลเวลาแต่กระผมก็ไม่เคยลืมคุณตาและวิชาหนังตะลุง ยังแวะ ไปเยย่ี มทา่ นอยเู่ นอื งๆ ขณะนน้ั ผมเรยี นอยชู่ นั้ ม.๓ คณุ ตากม็ าบอกวา่ มงี านแสดง หนังตะลงุ ท่ีกรุงเทพฯ กระผมดีใจมาก คณุ ตาไดพ้ ากระผมไปกรงุ เทพฯโดยข้นึ รถทัวร์ท่ีสถานีขนส่งหาดใหญ่ท้ังที่คุณตาท้ังชีวิตก็ไม่เคยไปกรุงเทพฯ แต่ด้วย ความตง้ั ใจทอี่ ยากใหก้ ระผมไดแ้ สดงหนงั ตะลงุ จงึ ไดต้ ดั สนิ ใจไปทง้ั ทไ่ี มร่ จู้ กั ทตี่ งั้ ของโรงแรมท่ีแสดงเลย หลังจากแสดงก็ได้รับความสนใจจากส่ือต่างๆ กระผม ดใี จมากทมี่ คี นสนใจการแสดงหนงั ตะลงุ ศลิ ปะการแสดงของชาวปกั ษใ์ ตแ้ ตด่ ใี จ มากกว่าทค่ี ณุ ตารกั และเมตตากระผม ขา่ วรา้ ยไดท้ ำ� ร้ายหวั ใจดวงนอ้ ยของกระผมเมอื่ ลกู ของคณุ ตาโทรศพั ท์ มาบอกว่า คุณตาไม่สบายนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลสงขลา เมื่อทราบข่าว กระผมได้ไปเยี่ยมอาการคุณตาก็มีอาการดีขึ้นและได้กลับมานอนพักรักษาตัว ทบ่ี ้าน กระผมจ�ำไดว้ า่ วนั นั้นมีงานแสดงหนงั ตะลงุ ของกระผม จึงไดถ้ ามคณุ ตา ว่าคุณตาจะไปด้วยกันไหม คุณตาตอบว่าค่อยไปงานหลังดีกว่าแต่ตาได้เขียน กลอนบทหนึ่งให้ผมไปประกอบการแสดงในวันนั้นด้วย เมื่อแสดงเสร็จกระผม ก็กลับบ้านและฟ้าได้ผ่ากลางหัวใจผมอีกคร้ังเม่ือทราบข่าวคุณตาไม่สบายหนัก

เร่ืองดๆี ทบ่ี า้ นเรา 285 เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลอีกคร้ัง เมื่อกระผมไปเย่ียมแทบจะล้มท้ังยืนเมื่อ ภาพคณุ ตาทน่ี อนอยบู่ นเตยี งคนไข้ ทกุ สว่ นของร่างกายพนั ธนาการดว้ ยอปุ กรณ์ การรักษาผู้ป่วย กระผมไม่สามารถทนดูคุณตาในสภาพน้ันได้จึงรีบกลับบ้าน ไม่นานคุณตาก็เสียชีวิต นับว่าเป็นการสูญเสียคร้ังยิ่งใหญ่ที่สุดของกระผม เปรียบไปผมกค็ ล้ายลกู กำ� พรา้ ไมม่ ีใครคอยชว่ ยเหลอื เกือ้ หนนุ ในด้านหนงั ตะลุง แตก่ ระผมก็ต้งั ใจแสดงหนังตะลงุ ต่อไปเพ่ือสบื สานเจตนารมณข์ องคุณตา จากนน้ั กระผมกอ็ ยใู่ นวงการหนงั ตะลงุ แตเ่ พยี งลำ� พงั ไมม่ ใี ครคอยชแ้ี นะ แนวทางต่างๆ เหมือนอย่างเก่า โลกใบน้ีดูเศร้าเหลือเกิน ลูกนกยามไร้แม่ ป้อนอาหารไม่นานคงส้ินชีพ แต่กระผมยังได้รับการช่วยเหลือจากนายหนัง ท่านต่างๆ โดยเฉพาะอาจารย์นครินทร์ ชาทอง ผู้ใหญ่ใจดีที่คอยเป็นก�ำลังใจ ให้กระผมเสมอ ถึงอย่างไรก็ตามกระผมก็ยังคิดถึงวันเก่าๆ ที่มีคุณตาคอย เคยี งข้าง เสยี งโนราโรงครดู งั กอ้ งตงั้ แตค่ ำ่� วนั พธุ บรรดาญาตพิ นี่ อ้ งนง่ั ยนื เตม็ หนา้ โรงโนราเพ่ือที่จะได้ขอศีลขอพรจากครูหมอโนราและคุณทวดที่ได้จากพวกเรา เมื่อหลายปีก่อน ทุกคนต้ังตารอที่จะได้ชมบารมีคุณทวดที่จะได้สัมผัสกับท่าน อีกคร้ัง แต่ในคร้ังนี้คุณทวดของเราจะสถิตอยู่ในร่างของหลานสาวท่าน เมื่อ คณุ ทวดประทบั รา่ งแลว้ บรรดาลงุ ๆ ปา้ ๆ กไ็ ดเ้ ขา้ ไปกราบและสอบถามสารทกุ ข์ สุขดิบของคณุ ทวดราวกับทา่ นยังอยูใ่ นภพภมู ขิ องเราเชน่ แตก่ อ่ น หลายคนกถ็ ึง กับน้�ำตาร่วงเมื่อได้สัมผัสและรู้ว่าเป็นคุณทวดของเราจริงๆ จากน้ันไม่นาน คณุ ทา่ นในรา่ งของนา้ สาวกไ็ ดเ้ รยี กกระผมเขา้ ไปหาในโรงโนรา กระผมตกใจมาก เพราะกระผมกบั นา้ สาวทเี่ ปน็ รา่ งทรงกไ็ มไ่ ดส้ นทิ สนมกนั มาก เมอื่ กราบลงทต่ี กั คณุ ทวดแลว้ คำ� แรกทค่ี ณุ ทวดกลา่ วคอื “ตาหมงึ ขอ้ งใจหมงึ แหละโลก วชิ าทห่ี มนั ให้หมึงน้ัน อย่าทุ่มของหมันน่ะโลก ตาหมึงหมันข้องใจหนักแหละกับหมึง” เมื่อสิ้นเสียงของคุณทวด กระผมกราบลงที่ตักอีกครั้งแล้วว่ิงออกจากโรงโนรา ทันที ต้ังแตว่ ันทีค่ ุณตาเสยี ชวี ติ กระผมไม่เคยรอ้ งไห้ดว้ ยความอาลยั หาทา่ นเลย

286 เร่อื งดีๆ ท่ีบา้ นเรา แตค่ รัง้ นี้กระผมไมส่ ามารถกลน้ั น้�ำตาเอาไวไ้ ด้ กระผมสะอกึ สะอื้นราวกบั เด็กท่ี โดนแม่ท้ิง น่ังร้องไห้โดยไม่สนใจใครและไม่อายที่จะหลั่งน้�ำตาออกมา เพราะ กระผมซ้ึงใจกับความรักความเมตาที่คุณตาได้มอบให้กับกระผม แม้ว่าวันนั้น คุณตาจะไม่มีร่างกายให้กระผมได้สัมผัสแล้ว แต่ดวงจิตท่ีเปี่ยมไปด้วยความ เมตาของคุณตายังห่วงหากระผมอยู่เสมอ แม้ว่าจะคนละภพภูมิกัน แต่ทว่า ความห่วงใยของคุณตาไม่เคยหายไปจากมโนสำ� นกึ ของคณุ ตาเลย รอ้ ยกรองทปี่ ระพนั ธข์ น้ึ จากความผกู พนั และความรกั ในคณุ ตา บรรดา นายหนังรุ่นน้องๆบรรจงประดิษฐ์ประดอยถ้อยค�ำเพ่ือแสดงจิตคารวะในงาน ฌาปนกจิ ศพคุณตา ซึง่ มีหลายบทหลายตอนด้วยกัน แต่ทวา่ ร้อยกรองบทหนึง่ มไิ ดเ้ พยี งแตอ่ ยใู่ นหนงั สอื ทร่ี ะลกึ เท่านน้ั เพราะไดบ้ นั ทกึ ลงในใจกระผมในยาม ทถี่ วลิ ถงึ คณุ ตาถวลิ คราใด กระผมกจ็ ะนกึ ถงึ บทรอ้ ยกรองนน้ั ทกุ ครงั้ ซง่ึ ประพนั ธ์ โดย ประเสริฐ รักษ์วงศ์ เลขาสมาพันธ์หนังตะลุงจังหวัดสงขลา โดยถ้อยค�ำ ท่ีร้อยเรียงกันอย่างไพเราะ สละสลวย และมีความหมายที่สื่อให้หวนระลึก คุณตาน้ัน มีความวา่ “ถวิลลบั ลาโลกโศกถวลิ สิน้ เสยี งพณิ มนตก์ ลอนอกั ษรศรี ถวลิ เอยเคยกล่อมโลกยามราตร ี มาบัดนเ้ี หลือผลงานดา้ นบทกลอน ถวลิ หาอาลัยใจถวิล ศลิ ปินไดค้ รูเป็นผสู้ อน ถวิลครดู ุจเทพประทานพร ร่ายเพลงกลอนกลอ่ มโลกสนิ้ โศกลง ถวิลวอนกลอนหนงั สัง่ วงศา ใหค้ ุณค่าคารมศลิ ป์อันสูงส่ง ถวิลหวงั เมอื่ ชีพลบั หลับตาลง ถวลิ คงสสู่ ถานพมิ านแมน” ส่ิงท่ีกระผมจะท�ำเพ่ือทดแทนพระคุณของคุณตาได้คือ ต้ังใจท่ีจะ สืบทอดและสืบสานศิลปะการแสดงหนังตะลุงเอาไว้ให้เคียงคู่บ้านน�้ำกระจาย และเคยี งคปู่ กั ษใ์ ตส้ บื ไป แมว้ ่ากระผมจะแสดงหนงั ตะลงุ ไดไ้ มด่ ที ส่ี ดุ แตก่ ระผม ก็ตั้งใจแสดงหนังตะลุงอย่างท่ีสุด อย่างไรก็ตาม หนังตะลุงก็ได้ลดบทบาทลง

เรอ่ื งดีๆ ที่บา้ นเรา 287 ตำมกำลเวลำและกระแสแห่งสังคมปัจจุบันที่มีพัฒนำกำรอย่ำงไม่เคยหยุดน่ิง หนงั ตะลงุ ทเี่ คยเปน็ ชวี ติ จติ ใจของชำวปกั ษใ์ ตก้ ลำยเปน็ เพยี งกำรแสดงทล่ี ำ้ สมยั ชนิดหน่ึง จงึ เปน็ หน้ำที่ของทุกคนท่คี วรใส่ใจกบั มรดกทำงวัฒนธรรมชนิดนเ้ี พ่ือ ไม่ให้เลือนหำยไปตำมกำลเวลำ เม่ือนำยหนังไม่ได้มีบทบำทในสังคมดังอดีต กระผมจึงหำวิถีแห่ง กำรสืบสำนกำรแสดงชนิดน้ีให้คงอยู่สืบไป คือได้เลือกเรียนคณะศึกษำศำสตร์ เพอื่ จะเปน็ ครเู พรำะมคี วำมเชอ่ื วำ่ วชิ ำชพี ครจู ะสำมำรถสอดแทรกวชิ ำหนงั ตะลงุ ให้กับนักเรียนและเยำวชนซึ่งเป็นลุกหลำนชำวปักษ์ใต้ ให้ได้มีควำมภำคภูมิใจ ในมรดกทำงวฒั นธรรมของบรรพบรุ ุษทไ่ี ม่ได้นอ้ ยหนำ้ ไปกว่ำภูมิภำคอนื่ ๆ เลย เมอื่ เสยี งดนตรพี น้ื บำ้ นทป่ี ระสำนดว้ ยดนตรสี ำกลไดส้ รำ้ งควำมบนั เทงิ เริงใจให้แก่บรรดำพ่ีน้องชำวปักษ์ใต้ท่ำมกลำงเสียงเพลงร้องท�ำนองเกำหลี ในยำมท่ีดวงอำทิตย์อัสดง เคร่ืองดนตรีเก่ำใหม่ถูกจัดวำงอย่ำงเป็นระเบียบอีก ครงั้ เพอ่ื ทำ� หนำ้ ทมี่ อบควำมบนั เทงิ ในยำมโลกเตม็ ไปดว้ ยควำมบนั เทงิ หลำกรปู แบบ จอผ้ำขำวผืนใหม่ถูกขึงด้วยหนวดพรำหมณ์จนตึงอีกวำระหนึ่ง ไฟสีส้ม เปล่งรัศมีไล่ควำมมืดบนจอผ้ำขำวแข่งกับดวงไฟหลำกสีหลำยขนำดท่ีแข่งกัน เปลง่ แสงในยำมคำ�่ คืน แผงไม้ไผส่ ำนเกำ่ ๆ รูปส่เี หลี่ยมผืนผำ้ ทห่ี นบี ดว้ ยไมแ้ ข็ง จำกภมู ิปญั ญำถกู เปดิ ออกหลังจำกทีถ่ กู ปิดตำยอยู่หลำยรำตรี เด็กหนุ่มประนม มือข้ึนทนู หัวอยำ่ งศรัทธำ แลว้ เออื้ มมอื ด้วยอำกำรส�ำรวม หยบิ รปู ฤำษหี วั ค่ำ� ไป ปกั ทห่ี ยวกกล้วยหลงั จอผำ้ ขำว จำกน้ันรูปหนงั หลำยๆ ตวั ถูกวำงเรยี งอย่ำงเปน็ ระเบียบ ไล่ไปต้ังแต่รูปเจ้ำเมือง รูปนำงเมือง รูปกุหมำน (กุมำร) รูปนำง และปิดท้ำยด้วยรูปกำกท่ีแกะสลักเป็นรูปมอเตอร์ไซค์ รูปโทรทัศน์ และรูป โทรศัพท์มือถือ

288 เร่อื งดๆี ทีบ่ ้านเรา เรื่องดๆี ทีบ่ ้านเรา นายสะอดู ี ดือเร๊ะ เสียงลมพัดพล้วิ ๆ บวกกบั เสยี งนกรอ้ งแจ้วจ้าวบนตน้ ไม้ มองออกไป ข้างหนา้ ไม่ไกลนกั เหน็ แม่นำ้� ใสๆ ซ่งึ เป็นจุดม่งุ หมายทีเ่ ราจะเดินทางในวันน้ี… วนั นก้ี เ็ หมอื นกบั ทกุ ๆ วนั ในชว่ งปดิ เทอมทผ่ี มกบั เพอื่ นๆ รว่ มกนั สมทบ เงินคนละสิบบาทเพ่ือท่ีจะน�ำมาซื้อไข่ไก่กับปลากระป๋องมาปรุงเป็นอาหาร ในมอ้ื เทยี่ ง สว่ นขา้ วสารเราจะนำ� มาจากบา้ นคนละหนง่ึ กำ� มอื แลว้ มารวมกนั เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั จากนนั้ กจ็ ะแยกกนั ไปสำ� รวจพนื้ ทหี่ าทำ� เลดๆี รมิ แมน่ ำ�้ สาย นเี้ พอ่ื จะเป็นแหล่งพกั ผ่อนและหงุ หาอาหารในมือ้ เทยี่ งทีจ่ ะถงึ นี้ ผมและเพ่ือนใช้เวลาเดินทางออกจากบ้านเพื่อจะมาเท่ียวที่แม่น�้ำ สายบรุ แี หง่ นป้ี ระมาณครงึ่ ชวั่ โมง โดยแตล่ ะคนกจ็ ะแบกสมั ภาระตามทไ่ี ดต้ กลง กันไว้เมื่อตอนออกจากบ้าน ส่วนการเดินทางก็จะใช้การเดินเท้าซึ่งมีระยะทาง ประมาณส่ีกิโลเมตร แต่ก็ต้องมีผู้ใหญ่ร่วมเดินทางไปกับเราด้วย เพราะถ้าไม่ อยา่ งนนั้ กจ็ ะทำ� ใหเ้ ราหลงทางได้ ประกอบกบั ระหวา่ งทางมสี ตั วด์ รุ า้ ยอยา่ งควาย ป่าเต็มไปหมด นอกจากควายป่าแล้วท่ีอันตรายที่สุดก็จะเป็นงูตัวใหญ่ๆที่ซ่อน อยใู่ นซอกไมร้ มิ ทางเดนิ หากไมม่ ผี ใู้ หญค่ อยดแู ลและรว่ มเดนิ ทางไปดว้ ยกค็ งจะ ไปไม่ถึงทห่ี มาย เมด็ ทรายขาวๆ มองดแู ลว้ สะอาดตา เงยหนา้ มองดขู า้ งบนเหน็ แสงจาก พระอาทติ ยร์ ะยบิ ระยบั เลก็ นอ้ ยสอ่ งลงมาผา่ นชอ่ งรขู องใบไมท้ กี่ ำ� ลงั แกวง่ ไปมา

เรื่องดีๆ ท่บี ้านเรา 289 ตามทางลมท่ีพัดพาไป แต่มองดูภาพรวมแล้ว ที่ๆ เรายืนอยู่สามารถให้ร่มเงา และสัมผัสสายลมเย็นๆ ได้เป็นอย่างดี เราจึงตัดสินใจเลือกใต้ต้นไม้ต้นนี้ เป็นทีพ่ กั พิงหงุ หาอาหาร จากนนั้ แต่ละคนกจ็ ะทำ� หน้าทใี่ นด้านท่ีตวั เองถนดั ผมเริ่มเดินออกไปหาไม้ฟืนแห้งๆ เพื่อจะน�ำมาก่อไฟหุงหาอาหาร ในขณะท่ีเพื่อนบางคนได้ถอดเสื้อ ว่ิงตรงไปด้านหน้าแล้วกระโดดลงแม่น�้ำ เพอ่ื จะจบั ปลานำ� มายา่ งสมทบกบั ไขไ่ กแ่ ละปลากระปอ๋ งทเี่ ราเตรยี มมาจากบา้ น สว่ นเพอ่ื นอกี คนกไ็ ปเกบ็ ผกั กดู สเี ขยี วออ่ นๆ มาลา้ งนำ้� เพอื่ จะนำ� มาจม้ิ กบั นำ�้ บดู ู แลว้ กนิ กบั ขา้ วสวยรอ้ นๆ ท่ีผมกำ� ลังหงุ อยู่ สักพัก พอทุกอย่างเรียบร้อย พวกเราส่ีห้าคนก็มาน่ังล้อมวงกินข้าว ในแบบฉบบั บา้ นๆทา่ มกลางบรรยากาศทแี่ วดลอ้ มไปดว้ ยตน้ ไมต้ น้ นอ้ ยตน้ ใหญ่ และภาพทวิ ทัศนอ์ ันสวยงามทส่ี ุด ณ จดุ ๆ หนง่ึ ในหมู่บ้านทเ่ี ราอาศยั อยู่ พวกเราโชคดีมากท่ีได้เกิดมาอยู่ในหมู่บ้านแห่งนี้ บ้าน...ที่แวดล้อม ไปด้วยสวนยางพารา บ้าน...ที่แวดล้อมไปด้วยแม่น�้ำ ต้นไม้ และภูเขา บ้าน... ที่แวดล้อมไปด้วยวัฒนธรรมที่หลากหลาย บ้าน...ท่ีแวดล้อมไปด้วยรอยยิ้ม ของผู้คนหลากหลายเชือ้ ชาติ ศาสนา มาอยู่ร่วมกันอย่างมคี วามสขุ เพราะบา้ น หลังนตี้ ้งั อยใู่ นจังหวดั ชายแดนภาคใต้... หากจะยอ้ นเวลานกึ ถงึ หมบู่ า้ นของเราในสมยั หา้ สบิ กวา่ ปกี อ่ น เทา่ ทไ่ี ด้ ผมได้คุยกบั ผ้เู ฒา่ ผแู้ กใ่ นหมบู่ า้ นมาหลายตอ่ หลายคนแลว้ ผมแทบมคี วามร้สู ึก ว่า ถา้ เลอื กเกิดได้ ผมเลือกทจี่ ะเกิดในช่วงเวลาน้นั ทุกคร้ังทไี่ ดฟ้ งั พวกทา่ นเลา่ เร่ืองราวในอดีต ผมมักจะจินตนาการว่าตัวเองได้เข้าไปอยู่ในส่วนหนึ่งของ เหตกุ ารณใ์ นวนั นน้ั จนลมื ไปเลยวา่ จรงิ ๆแลว้ ตวั เองไดอ้ ยทู่ า่ มกลางสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นในปจั จุบัน “หมบู่ า้ นของเราอยหู่ า่ งจากตวั อำ� เภอประมาณยส่ี บิ กโิ ลเมตร ลอ้ มรอบ ด้วยผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งพักพิงของสัตว์ป่านานาชนิด ไม่ว่าจะเป็น

290 เร่อื งดีๆ ท่ีบ้านเรา ไก่ป่า เก้ง กวาง ชา้ ง และเสือ เป็นต้น ชาวบ้านสรา้ งบ้านพักอาศัยแบบง่ายๆ ดว้ ยไมไ้ ผ่ มงุ หลงั คาใบจาก ตงั้ อยกู่ ระจดั กระจายตามสวนไรข่ องตวั เอง การเดนิ ทางใชก้ ารเดนิ เทา้ เปน็ หลกั เพราะสมยั นนั้ ถนนและไฟฟ้ายงั เขา้ มาไมถ่ งึ ถา้ หาก เป็นการเดินทางไกลหรือออกไปในตัวอ�ำเภอก็จะใช้เรือ ผ่านแม่น�้ำสายบุรีที่อยู่ หลงั หมู่บา้ น หรอื ไมก่ ็จะข่ีหลังชา้ ง แตส่ ว่ นใหญแ่ ลว้ พวกเขากไ็ ม่คอ่ ยท่ีจะออก เดนิ ทางไกลนกั เพราะในหมบู่ า้ นมที รพั ยากรธรรมชาตทิ ส่ี มบรู ณ์ อาหารการกนิ ก็ไม่ต้องเสียเงินสักบาท ชาวบ้านจะปลูกข้าว ปลูกผักด้วยตัวเอง ส่วนกับขา้ ว ก็จะล่าสัตว์ป่าและหาปลาในแม่น้�ำสายบุรี บ้านไหนขาดอะไรก็จะใช้วิธีแลก เปล่ียนกัน ใครจบั ปลาได้เยอะก็จะแลกกบั ผัก ใครมีข้าวสารก็จะแลกกบั น้�ำบดู ู ชาวบ้านจงึ รจู้ ักกบั ค�ำว่า ให้ โดยอตั โนมตั ิ ถงึ แมว้ า่ ในหมบู่ า้ นจะมที ง้ั คนทน่ี บั ถอื ศาสนาอสิ ลามและนบั ถอื ศาสนา พทุ ธอยดู่ ้วยกนั แตน่ น่ั กไ็ ม่ใช่ปัญหาในเร่อื งการด�ำเนนิ ชวี ิต เพราะไทยพทุ ธที่นี่ เขาไม่กินหมูและไม่ด่ืมเหล้ากันในหมู่บ้าน วันไหนถ้ามีการจัดงานก็จะมีคน อสิ ลามเขา้ มารว่ มดว้ ย หรอื ถ้าวนั ไหน คนอสิ ลามจะจดั งานกจ็ ะเชญิ ไทยพทุ ธมา ร่วมงานและมาช่วยงานด้วยทุกคร้ัง ส่วนทางด้านการส่ือสารก็ไม่เป็นอุปสรรค เพราะคนพทุ ธทน่ี จี่ ะพดู ภาษามลายไู ดช้ ดั ถอ้ ยชดั คำ� พวกเราสามารถทจ่ี ะอยรู่ ว่ ม กนั แบบถ้อยทถี ้อยอาศยั ซึ่งกนั และกันไดอ้ ยา่ งลงตัว...” หลังจากท่ีพวกเราได้กินข้าวและลงเล่นน้�ำในแม่น�้ำเสร็จก็เตรียมเดิน เทา้ กลบั บา้ น แตร่ ะหวา่ งทางทกุ คนตา่ งพากนั เกบ็ ผกั กดู และพรกิ ขหี้ นทู อ่ี ยขู่ า้ งๆ ทาง น�ำมาห่อกับใบตองที่เตรียมไว้คนละหนึ่งห่อเพื่อจะเป็นของฝากให้กับพ่อ แม่ เพือ่ นบางคนทพี่ กหนงั สตก๊ิ อยทู่ ่มี อื ระหวา่ งทางก็จะยงิ นกกลบั ไปใหแ้ มท่ �ำ เมนู นกทอดขม้ิน เป็นกบั ขา้ วมอ้ื เย็นในวันนต้ี ่อไป... “การใชช้ วี ติ อยา่ งงา่ ยๆ ในหมบู่ า้ นทผี่ มอาศยั อยวู่ นั แลว้ วนั เล่า แลว้ พบ อยู่กับกิจวัตรประจ�ำวันที่ไม่เคยซ�้ำซาก จ�ำเจ จนบางครั้ง ผมกลับรู้สึกว่า

เร่ืองดีๆ ทบ่ี ้านเรา 291 สนุกกับการอยู่ท่ีนี่ รู้สึกดีท่ีมีธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ ไม่อยากให้วันเวลา ผ่านพ้นไปอย่างรวดเร็วเพราะกลัวหมู่บ้านจะเปล่ียนแปลง กลัวความเจริญ จะนำ� หนา้ การพัฒนา” หมู่บ้านเราไม่มีโรงภาพยนตร์ แต่ค�่ำคืนนี้จะมีหนังตะลุงมาแสดง ในหมบู่ า้ น ผมและเพอ่ื นๆต่างพากนั ดใี จรบี อาบนำ้� แตง่ ตวั เพอ่ื ทจี่ ะออกไปรอกนั ที่สนามโรงเรียน ถึงแม้ว่าการแสดงหนังตะลุงมักจะเร่ิมท�ำการแสดงตอนสี่ทุ่ม ก็ตาม แต่ด้วยความท่ีดีใจพวกผมมกั จะออกไปรอต้ังแตห่ วั ค�่ำ เพราะทกุ ครง้ั ทม่ี ี การแสดงหนังตะลุง คืนน้ันก็จะมีแม่ค้ามาขายขนมเยอะแยะไปหมด อีกอย่าง ทกุ คนชอบดหู นงั ตะลงุ เพราะในหนงั ตะลงุ จะมตี วั ตลกหลายตวั ทที่ ำ� มาจากหนงั วัวตากแห้ง แล้วแกะสลักเป็นหุ่นคนและส่ิงของตา่ งๆ แล้วจะมีคนท่ีท�ำหนา้ ที่ พากยเ์ พยี งคนเดยี ว แตจ่ ะใชน้ ำ้� เสยี งแตกต่างตามบทบาทของตวั ละครแตล่ ะตวั ซ่ึงไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ผู้หญิงหรือผู้ชายก็สามารถดูได้กันทุกคน หนงั ตะลงุ จะสอดขอ้ คดิ ดๆี ในชวี ติ ประจำ� วนั และจะแทรกคำ� พดู ตลกๆ ทที่ กุ คน ก็อดท่ีจะหัวเราะไม่ได้ ส่วนใหญ่ก็จะมาแสดงนานๆ คร้ังในช่วงที่มีการจัดงาน มาแกปูโละในหมู่บ้าน เช่น งานเข้าสุนัต หรืองานแต่งงานของคนในหมู่บ้าน เหมอื นอย่างวนั น้ี นึกถึงงานมาแกปูโละในหมู่บ้านผมและเด็กคนอื่นๆ จะดีใจเป็นพิเศษ เพราะในวนั นนั้ จะมกี ารแสดงทนี่ า่ ตน่ื เตน้ ทงั้ ในชว่ งตอนกลางวนั และตอนกลาง คืน อยา่ งเช่นวันน้ี มีงานมาแกปูโละทบ่ี ้านหลงั หนง่ึ ข้างๆ โรงเรยี น ในช่วงบา่ ย ทผี่ า่ นมาเราไดไ้ ปดกู ารแสดงสลี ะ ซงึ่ เปน็ ศลิ ปะการปอ้ งกนั ตวั โดยใชร้ า่ งกายเปน็ อาวุธ บรรเลงด้วยเสียงป่แี ละกลองเป็นหลัก การต่อสจู้ ะมเี อกลกั ษณท์ ี่โดดเดน่ ในตวั ตามจงั หวะดนตรี มองดเู ผนิ ๆ กค็ ลา้ ยกบั การเตน้ รำ� แตก่ ส็ รา้ งความตนื่ เตน้ และเรา้ ใจใหพ้ วกเราเป็นอย่างมาก

292 เรือ่ งดีๆ ท่ีบ้านเรา ส่วนการแสดงในภาคกลางคืน นอกจากจะมีหนังตะลุงให้ชมแล้ว บางคนก็จะน�ำการแสดงอีกชุดหน่ึงท่ีได้รับความนิยมไม่แพ้กัน น่ันก็คือ “ดิเกร์ฮูลู” จุดเด่นของดิเกร์ฮูลูก็คล้ายๆ กับการร้องเพลงคู่โต้ตอบกันไปมา ส่วนใหญ่ก็จะน�ำเรอื่ งราวในชีวติ ประจำ� วนั มาเปน็ เนือ้ รอ้ ง บ้างกจ็ ะแทรกข้อคดิ ดๆี บา้ งก็จะแทรกมขุ ตลกๆ เข้าไปในเนือ้ รอ้ ง จากน้นั กจ็ ะตอ่ ดว้ ยการรอ้ งเพลง เดยี่ ว สว่ นเครอ่ื งดนตรกี จ็ ะใชช้ นดิ เดยี วกนั กบั หนงั ตะลงุ แตจ่ ะเพม่ิ เสยี งปรบมอื ของลกู ทมี ตามจงั หวะ พร้อมๆ กับการเคลือ่ นไหวในลกั ษณะต่างๆ โดยพร้อม เพรยี งกัน การแสดงดิเกร์ฮูลูส่วนใหญ่จะหาชมได้ง่าย เพราะเกือบทุกหมู่บ้าน ก็จะมคี ณะเป็นของตวั เอง บางคณะมีไว้เพอื่ ไปแสดงในงานต่างๆ บางคณะมีไว้ เพ่ือประกวดแข่งขัน แต่คณะของหมู่บ้านเรา ส่วนใหญ่จะเล่นเพ่ือความ สนกุ สนานเท่านัน้ ทกุ ๆ คนื พอไดเ้ วลาอันเหมาะสม ทกุ คนกจ็ ะรวมตัวกันมา เล่น ใครถนัดเคร่ืองดนตรีชนิดไหนก็จะหยิบมาเล่น ใครชอบร้องเพลงก็จะท�ำ หน้าท่ีเป็นนักร้องสลับกันไป ส่วนที่เหลือก็จะเป็นลูกทีมท�ำหนา้ ที่คอยปรบมือ ประกอบตามเสียงกลองท่ีบรรเลงไปพร้อมๆกัน... เสียงกลองดงั กึกกอ้ งมาจากไกล เร่ิมจากดังไปหาเบา สลับกบั เสียงไก่ ขนั เปน็ ระยะๆ ทอ้ งฟา้ อนั มดื สนทิ ดวงดาวฉายแสงระยบิ ระยบั เรม่ิ จางหายไปที ละดวงๆ บ่งบอกว่า ชว่ งเวลาทีใ่ กลส้ ว่างกำ� ลังจะมาถงึ เสยี งกลองทผี่ มไดย้ นิ มาไมใ่ ชเ่ สยี งทมี่ าจากการแสดงดเิ กรฮ์ ลู ู ไมใ่ ชเ่ สยี ง ทม่ี าจากงานมาแกปโู ละ แตเ่ ปน็ เสยี งทสี่ ามารถดงั ขน้ึ ในทกุ ๆ วนั วนั ละหา้ เวลา แมจ้ ะไมใ่ ชง่ านมาแกปโู ละกต็ าม เพราะเสยี งๆ นดี้ งั ออกมาจากบาลาเซาะหห์ รอื สุเหร่า เป็นเสียงท่ีโตะอีหม่ามตีข้ึนมาเพ่ือที่จะเรียกปลุกทุกคนให้ออกมา ละหมาดพรอ้ มกนั ท่ีสุเหรา่ สว่ นใครที่ไม่สามารถออกไปสุเหร่าได้ก็จะต่นื ขน้ึ มา ทำ� การละหมาดทบ่ี า้ น จากนนั้ ทกุ คนกจ็ ะออกจากบา้ นเพอื่ เรม่ิ ทำ� งานเหมอื นดง่ั

เร่อื งดๆี ทีบ่ า้ นเรา 293 ตอนเชา้ ของทกุ ๆ วนั ยกเวน้ วนั ไหน ถา้ หากวา่ ฝนตก วนั นนั้ ไมต่ อ้ งออกไปทำ� งาน หลัก แต่จะออกไปท�ำงานเสริมท่ีมิได้มุ่งรายได้ตามท้องไร่ท้องนาของตัวเอง ดง่ั ทเี่ คยท�ำมาอยู่ทุกวัน สวนยางคืออาชีพหลักของคนท่ีนี่ ทุกคนจะเริ่มออกไปกรีดยางตั้งแต่ เชา้ มดื สว่ นใหญก่ จ็ ะใชเ้ วลาไมเ่ กนิ ตอนเทย่ี งของวนั นน้ั ภารกจิ กจ็ ะเสรจ็ สมบรู ณ์ ใครท่ีขยันก็จะเก็บน�้ำยางท�ำเป็นยางแผ่น ใครที่ข้ีเกียจก็จะกรีดยางอย่างเดียว แล้วจะปล่อยท้ิงไว้เพื่อให้น�้ำยางแข็งจนกลายเป็นขี้ยางและจะเก็บข้ียางในวัน ตอ่ ๆ ไป เพอื่ นำ� ไปขายหรอื ไปแลกกับสิ่งของตา่ งๆ ทีเ่ คยปฏบิ ัติกนั อยู่ ผมตน่ื แตเ่ ชา้ เพอ่ื จะรบี ออกไปชว่ ยพอ่ แมเ่ กบ็ นำ�้ ยางเพราะวนั นเี้ ปน็ ชว่ ง ปิดเทอม เพ่ือนคนอ่นื ๆ กต็ ้องออกไปชว่ ยครอบครวั เกบ็ ยางเพอ่ื จะน�ำไปขายท่ี ตลาด เพราะอีกไม่ก่ีวันข้างหน้าก็จะถึงวันฮารีรายอ หรือวันเฉลิมฉลองอิลดิล ฟติ รี ซงึ่ ในวนั นน้ั ทกุ คนจะตอ้ งสวมใสเ่ สอื้ ผา้ ใหมๆ่ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ เสอ้ื ผา้ ทต่ี อ้ ง ซอื้ มาใสใ่ นวนั นน้ั โดยเฉพาะเทา่ นนั้ ใครทมี่ ฐี านะกต็ อ้ งบรจิ าคเงนิ หรอื สงิ่ ของให้ กับคนท่ีมีน้อยกวา่ ในวันฮารีรายอจะเป็นวันที่พวกเราสนุกสนานที่สุดเพราะมี แต่ได้ ได้กินตูปะ ได้กินไอศกรีม ได้กินขนมตา่ งๆท่ีมีเฉพาะในวันรายอเท่านั้น นอกจากจะได้กินฟรีแล้วยังจะได้เงินจากผู้ใหญ่ในหมู่บ้านท่ีเตรียมมอบให้กับ เดก็ ๆ ซง่ึ ในปหี น่งึ ๆ ก็จะมแี ค่สองครั้งเท่าน้นั คือ รายอปอซอ กบั รายอฮจั ยี หากจะพดู ถึงวันฮารรี ายอ เด็กๆ อยา่ งพวกเราจะชอบวนั รายอปอซอ มากกว่าเพราะก่อนจะถึงวันฮารรี ายอ พวกเราจะต้องอดอาหารในชว่ งกลางวนั เป็นเวลาหน่ึงเดือน คือจะกินอะไรไม่ได้แม้แต่น้�ำหยดเดียวก็ไม่เว้น นอกจาก น้�ำลายของตัวเอง แต่มีข้อแม้ว่าจะต้องแปรงฟันให้สะอาดก่อนจึงจะกลืนได้ เดือนน้ันเขาจึงเรียกว่า เดือนปอซอ เดือนท่ีทุกคนท่ีมีร่างกายแข็งแรงต้องถือ ศลี อดด้วยการอดอาหารในชว่ งเชา้ ตรู่จนถึงพระอาทิตย์ตกดิน...

294 เรอ่ื งดๆี ทีบ่ า้ นเรา ตลอดสามสิบวันในเดือนรอมฎอนหรือว่าเดือนปอซอนั้น ในช่วงที่ พระอาทิตย์ตกตอนเย็น พวกเราจะได้กินขนมหวานท่ีหลากหลายและดูแปลก ตาท่ีได้มาจากบ้านข้างๆ บ้านไหนท่ีท�ำสาคูก็จะแบ่งให้กับบ้านข้างๆ แล้วบ้าน ขา้ งๆ กจ็ ะตอบแทนดว้ ยขนมลอดชอ่ ง บา้ นไหนมปี ลายา่ งกจ็ ะแบง่ ปนั ใหก้ บั บา้ น ข้างๆ เราก็จะได้ต้มย�ำไก่เพ่ือเป็นการตอบกลับเรื่องน�้ำใจ ถา้ เราแบ่งปันให้กับ เพ่ือนหา้ คน เรากจ็ ะได้กนิ กบั ข้าวหกอย่างในเวลาเดียวกนั ... ในช่วงค่�ำคืนของเดือนปอซอเป็นช่วงเวลาท่ีผู้ใหญ่รอคอย เพราะเป็น เวลาที่พวกเขาจะได้ละศีลอดและเดินทางไปยังมัสยิดเพ่ือจะมาละหมาดตารอ แวะหซ์ งึ่ เปน็ การละหมาดทน่ี อกเหนอื ไปจากการละหมาดทว่ั ๆ ไป การละหมาด ตารอแวะหจ์ ะมเี ฉพาะเดอื นนเี้ ท่านนั้ สว่ นเดก็ ๆ ก็จะออกไปซอื้ ขนมหวานมา กนิ หรอื ไมก่ จ็ ดั กลมุ่ นงั่ กนิ ทรี่ ้าน เพราะในเดอื นนี้ เขาจะขายเฉพาะชว่ งกลางคนื เทา่ นน้ั สว่ นกลางวนั กจ็ ะปดิ รา้ นเนอ่ื งจากเหนด็ เหนอื่ ยทตี่ อ้ งอดอาหาร ประกอบ กบั ช่วงกลางวนั เขาห้ามกิน ทุกคนจงึ ถอื โอกาสสำ� หรบั การนอนเปน็ สว่ นใหญ่... ผมเงยหน้ามองดูนาฬิกา ไม่ใช่เพราะว่าเตรียมตัวที่จะไปละศีลอด แตเ่ พราะรสู้ กึ วา่ ตวั เองเรม่ิ ตาลาย คงจะไดเ้ วลานอนพกั ผอ่ น เลยตดั สนิ ใจเอามอื ไปจบั เมาส์เลื่อนไปมาพร้อมๆ กบั อา่ นทบทวนทลี ะหนา้ ๆ เพื่อจะดวู า่ “เร่อื งดๆี ท่ีบ้านเรา” ผมเขียนไปถึงไหนแล้ว สุดท้ายจึงตัดสินใจบอกเหตุผลของการส่ง ประกวดเรียงความครั้งน้ีว่าไม่ได้หวังรางวัลท่ีหนึ่ง เพราะไม่ได้เป็นนักเขียน เพียงแตจ่ ะมาบอกสน้ั ๆว่า “ จากวันนั้นมาถึงวันนี้ทุกอย่างได้เร่ิมเปลยี่ นแปลงไป ขนมตูปะท่ีเรา เคยกินกลับถูกแทนท่ีด้วยเคเอฟซี หนังตะลุงที่เราเคยดูกลับถูกแทนที่ด้วย คอมพิวเตอร์ เสียงกลองจากดเิ กร์ฮูลูทเ่ี ราเคยได้ยนิ กลับถูกแทนทีด่ ว้ ยเสียงปนื ไทยพุทธที่เคยอยู่ร่วมกันกลับถูกแทนที่ด้วยความหวาดระแวง คนในหมู่บ้าน

เรื่องดๆี ท่ีบ้านเรา 295 ต่ำงคนต่ำงอยู่ ควำมเห็นแก่ตัวเริ่มเห็นได้ชัด ควำมเหลื่อมล้�ำเร่ิมแทรกเข้ำมำ เรอ่ื งรำวทเ่ี รำไดเ้ ขยี นจงึ กลำยเปน็ แคค่ วำมรสู้ กึ ดๆี ทยี่ งั หลงเหลอื อยู่ จะใหก้ ลบั มำเป็นเหมอื นเดิมกค็ งจะเป็นได้แค่ควำมฝนั และถึงแม้ว่ำควำมฝันของเรำยำกที่จะเกิดข้ึน และคงเป็นไปไม่ได้ เพรำะมนั ใหญ่ เรำฝนั อยำกใหท้ นี่ ก่ี ลบั มำมรี อยยม้ิ เรำฝนั อยำกใหช้ มุ ชนกลบั มำ มีควำมสุข เรำฝันอยำกให้หมู่บ้ำนปลอดยำเสพติด เรำฝันอยำกให้ที่น่ีสงบ... แตเ่ รำกแ็ อบรสู้ กึ ภมู ใิ จในตวั เองวำ่ ควำมรสู้ กึ ดๆี เหลำ่ นเ้ี กดิ ขนึ้ จรงิ ในจติ ใตส้ ำ� นกึ ของเรำ...”

296 เรือ่ งดีๆ ทบ่ี า้ นเรา เร่ืองดีๆ ที่บ้านเรา นายอาดีลัน สมาแอ ดนิ แดน ๕ จงั หวดั ชายแดนภาคใตค้ งจะไมม่ ใี ครปฏเิ สธวา่ มหี ลากหลาย วฒั นธรรม คนทนี่ จ่ี ะยดึ ตดิ กบั เรอ่ื งศาสนาเปน็ สำ� คญั ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งวฒั นธรรม และวิถีในการด�ำเนินชีวิต วัฒนธรรมมุสลิมเป็นวัฒนธรรมท่ีอยู่คู่กับคนท่ีน่ี เป็นเร่ืองดีๆ ท่ีรัฐจะต้องเข้าใจและสนับสนุน ซ่ึงในแต่ละเร่ืองก็จะเช่ือมโยงกับ พฤติกรรมศาสนาอย่างเลี่ยงไม่ได้ ซ่ึงถ้าจะเขียนถึงนั้นมีมากมายหลายเร่ือง เปน็ วธิ ีในการดำ� เนนิ ชีวติ ท่มี มี าตั้งแตอ่ ดตี ตั้งแตเ่ กดิ จนตาย ปฏบิ ัตสิ ืบตอ่ กนั มา จนปจั จุบนั และสูอ่ นาคต ผมเปน็ หนุม่ ใต้โดยกำ� เนดิ พ�ำนักทบ่ี ้านเลขท่ี ๒๐-๒ ม.๑ ซอยละหาร ตำ� บลแวง้ อำ� เภอแวง้ จงั หวดั นราธวิ าส ซง่ึ เปน็ ดนิ แดนทเ่ี รยี กวา่ ปลายดา้ มขวาน ของประเทศ บา้ นแวง้ แหง่ น้ถี ้าจะเล่าถึงความหลังมีท่ีมา คอื ชาวปตั ตานีทา่ น หนึ่งหนีกองทัพไทย เมื่อ ๒๐๐ ปีมาแล้ว ต้ังรกรากเป็นคนแรกช่ือว่า โต๊ะเวง แว้ง มาจากค�ำว่า เวง ปัจจบุ นั เปน็ กโู บร์ หรือสุสานโต๊ะเวง ปรากฏอยบู่ ริเวณ รั้วด้านหลังสถานีต�ำรวจภูธรแว้ง ปัจจุบันแว้งเป็นศูนย์กลางของอ�ำเภอแว้ง จงั หวัดนราธิวาส ผมได้ทราบเร่ืองราววิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่นี่ จากการ เลา่ ของคณุ พอ่ คณุ แมค่ ณุ ยา่ ซง่ึ คณุ แมบ่ อกวา่ บางเรอ่ื งกไ็ ดร้ บั การถา่ ยทอดจาก คุณปูต่ อนท่ที ่านยังมชี ีวติ อยู่ คณุ ป่เู ปน็ คนชอบเล่าเรอ่ื ง แม้กระท่งั ชวี ิตท่านก็ยงั มาจากตา่ งถนิ่ (มาเลย)์ ด้ันดน้ หนที หารญป่ี ุ่นตอนสงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ ตอนน้ัน

เร่ืองดีๆ ทบี่ า้ นเรา 297 ท่านต้องพรากจากพ่อ แม่ ถูกทหารญี่ปุ่นจับตัว ต้องเป็นทาสทหารญี่ปุ่น ชว่ งสงครามลำ� บากลำ� บน ถูกทรมานดว้ ยการถูกทุบตบี า้ ง ให้กนิ อาหารบูดบา้ ง ได้โอกาสหนีข้ามแดน มาพบคุณย่าท่ีเป็นหม้ายลูกสามที่แว้ง ตกลงปลงใจ แตง่ งานมลี กู หนงึ่ คน กค็ อื คณุ พอ่ ของผมในปจั จบุ นั แมบ่ อกวา่ ปเู่ ปน็ คนใจดมี าก เล้ียงลูกเลี้ยงเสมือนลูกตนเองทุกคน ตอนท่ีพบกับคุณย่าลูก ๆ ยังเล็กมาก ไดค้ ณุ ปดู่ แู ลทำ� ใหช้ วี ติ ครอบครวั มคี วามสขุ คณุ ปจู่ ากไปตงั้ แตผ่ มยงั เลก็ มาก ผม จำ� ไมไ่ ดเ้ พยี งแตด่ รู ปู และไดร้ ับรูเ้ รอื่ งราวจากย่า พ่อ แม่ ลุง ปา้ พี่สาวเล่าให้ฟงั ผมได้รู้ว่าเมื่อก่อน ชีวิตของคนท่ีนี่จะผูกพันกับธรรมชาติและสิ่ง แวดลอ้ มทีเ่ รียบง่าย เครง่ ครดั ในเร่อื งศาสนา โดยเฉพาะชาวไทยมุสลิม ถึงเวลา ปฏิบัติศาสนกิจประจ�ำวัน หยุดภารกิจต่างๆ เพ่ือละหมาด ต้องท�ำให้ครบท้ัง ๕ เวลา พอถงึ วนั ศุกรจ์ ะละหมาดรว่ มกนั ท่ีมัสยิด เพอ่ื แสดงพลังสามคั คี ชีวติ จึง อยู่อย่างสงบสุข ร่มเย็น คนไทยพุทธ ไทยมุสลิม ไทยจีน อยู่ด้วยกันด้วย ความรัก ความสามัคคี เอื้ออาทรต่อกัน คนไทยพุทธ ไทยจีน ยังพูดภาษา ทอ้ งถนิ่ (มลาย)ู ไมผ่ ิดเพ้ียนเลย ผู้ใหญ่เล่าว่าสมัยโบราณ บริเวณที่ตั้งของแว้งเป็นท่ีราบในอุ้งภูเขาสูง เพราะมเี ทอื กเขาใหญก่ นั้ เขตแดนระหวา่ งประเทศไทยกบั มาเลเซยี คอื ทวิ เขาสนั กาลาครี ี พน้ื ราบทเ่ี ปน็ อำ� เภอแวง้ อดุ มดว้ ยพชื พนั ธน์ุ านาชนดิ มลี ะหาน มบี งึ คอื แหลง่ นำ�้ ทเ่ี หมาะกบั การเกษตร ทส่ี ำ� คญั คอื กลางอำ� เภอแวง้ มลี ำ� คลองทไี่ หลมา จากภเู ขาสงู เรียกวา่ คลองแวง้ มันไหลไปลงสแู่ มน่ ำ้� สุไหโก-ลก ซึ่งก้นั เขตแดน อีกด้านหน่ึงแล้วไปออกที่ตากใบ กล่าวถึงคลองแว้ง ชาวบ้านจะเรียกว่า ซูงาแว้ง เม่ืออดีตน้ัน ย่าเคย เล่าว่าเป็นเส้นทางการเดินเรือไปยังสุไหงโก-ลก และยังมีพ่อค้าแม่ค้ามาจาก ตากใบ จากสไุ หงโก-ลก ล่องเรือมาขายสินคา้ ใหแ้ กช่ าวแว้งด้วย สนิ คา้ ท่ีนำ� มา ขายส่วนใหญ่จะเป็นอาหาร ของจ�ำเป็นในครัว เช่น น้�ำบูดูจากตากใบ เกลือ นำ�้ ตาล หอม กระเทยี ม ชาวบา้ นทอ่ี ยรู่ มิ คลองกอ็ อกมาซอื้ กนั บรรยากาศคกึ คกั

298 เร่อื งดีๆ ที่บา้ นเรา มาก ปลาทตู ม้ แหง้ จะขายดมี าก เปน็ กบั ขา้ วทล่ี อื ชอื่ ในสมยั นน้ั ปจั จบุ นั นี้ คณุ ยา่ ยงั ตม้ ใหผ้ มกนิ บอ่ ยๆ วธิ กี ารทำ� ปลาตม้ แหง้ กไ็ มย่ าก เพยี งแตเ่ ตรยี มนำ� ปลาทมู า เอาไส้ออก ล้างให้สะอาด ใส่ในหม้อ ใส่เกลือ ส้มแขก ตามด้วยน้�ำตาลแว่น ใส่น�้ำนิดหน่อย แล้วน�ำไปต้ังบนเตา ปล่อยให้น�้ำเดือดจนแห้ง (อย่าให้ไหม้) เปน็ อาหารทม่ี รี สชาติ ๓ รส คือ เคม็ หวาน เปรย้ี ว กนิ กับขา้ วรอ้ นๆ อร่อยนัก ฤดูฝนน้ำ� หลากเมื่อไหร่ คนทม่ี ีบา้ นอย่รู มิ คลองต้องยกของหนนี �้ำทุกที บ้านเดิมที่คุณย่าอาศัยคือบ้านคุณทวดเดิม อยู่ใกล้ๆ กับคลอง ก็โดนน้�ำท่วม ทุกปี มอี ยคู่ ร้ังหน่ึงน้ำ� ทว่ มหนกั มาก ย่าตอ้ งหอบลูกจงู หลานเลก็ ๆ ฝ่าสายน้�ำมา พกั บ้านญาติทอ่ี ยู่ทีส่ ูง หมู่บา้ นละหารในปจั จุบัน ปลอ่ ยให้ผูช้ ายหนุม่ ๆ อยู่เฝ้า บา้ น เฝ้าหวั มนั เทศ มนั ส�ำปะหลัง มนั ข้ีหนู มนั หัวแรด (ฮบู บี าเดาะ) ไว้ต้มกิน ยามหนา้ ฝน พูดเรือ่ งหัวมนั คอื ชาวบ้านทีน่ ี่จะปลกู มันหลายชนิดเพื่อเก็บไว้กนิ ในยามหนา้ ฝน รบั ประทานแทนขา้ ว เปน็ การประหยดั เปน็ อาหารทม่ี ปี ระโยชน์ มาก มพี ลังงานสงู ช่วยท�ำให้ร่างกายอบอุ่น มีรสชาติอรอ่ ย หลายๆ คนจะชอบ กินมากหรือบางคร้ังแขกไปใครมา นอกจากจะยกเชี่ยนหมากพลูให้เค้ียวเล่น ไมม่ สี ง่ิ ใดจะใหก้ ใ็ ห้ “มนั ” ทม่ี ใี นครวั เรอื นนนั่ แหละกลบั ไปตดิ ไมต้ ดิ มอื ไปตม้ กนิ ที่บา้ นเป็นสนิ น้ำ� ใจทช่ี าวบา้ นท่นี ี่มีอยู่อย่างเหลือเฟือ พอน้�ำลด คุณย่าพาลูกหลานกลับบ้าน ช่วยกันท�ำความสะอาดบ้าน จะเปน็ เชน่ นเ้ี กอื บทกุ ปี ซง่ึ ตอนหลงั คณุ ปคู่ ดิ จะย้ายทอ่ี ยู่ สงสารลกู ๆ จงึ ซอื้ ทดี่ นิ แปลงหน่ึง ราคา ๑,๐๐๐ บาทในสมัยน้ัน อยู่สุดซอย สร้างบ้านพออยู่ได้ ตอนหลงั ไดข้ ยับขยายต่อเติม ผมจ�ำไดว้ ่าอยบู่ า้ นนตี้ ้งั แต่เกดิ แล้ว ในระยะหลงั ๆ นี้บ้านน้ีก็โดนน้�ำท่วมอีกเช่นกัน คุณย่าก็สร้างบ้านใหม่อีก เพราะลูกๆ ก็โต มีครอบครัวแล้ว จึงขยับขยายครอบครัว โดยบ้านหลังท่ีปู่สร้างให้ก็ยังอยู่ ผมก็ไปๆ มาๆ ทุกวันอยู่ทั้งสองบ้าน เพราะย่ายังอยู่ท่ีนี่ต้องช่วยกันดูแล บา้ นใหมไ่ มโ่ ดนนำ�้ ทว่ ม อยใู่ นแวง้ เหมอื นเดมิ หลงั บ้านมตี น้ ไมม้ ากมาย เปน็ สวน ของชาวบ้านท่ีติดกนั จากเดมิ เปน็ ท่ีนา ถดั ไปมปี ่าสาคูเปน็ ทวิ แถว ดูแล้วนึกถงึ

เรอ่ื งดีๆ ที่บา้ นเรา 299 บรรยากาศเก่าๆ ท่ีย่าเคยเล่าให้ผมฟัง เม่ือก่อนปู่น�ำใบสาคูท�ำจากเป็น หลงั คาบ้าน บา้ นที่มงุ ด้วยจากจะไม่ร้อน อยู่สบาย ริมฝ่ังคลองแว้ง เมอ่ื กอ่ นจะมบี ้านเรอื น ๒ ฟากฝง่ั มีต้นผลไม้ ทัง้ ต้น ทเุ รียน มังคุด ลางสาด เงาะ กระท้อน เปน็ ต้น ยามหน้ารอ้ น น้�ำจะต้ืน บ้านใคร ท่ีอยู่ท่ีริมคลอง สบายท่ีสุด ทั้งเด็กทั้งผู้ใหญ่ได้เล่นน�้ำคลอง เป็นครึ่งๆ วัน วา่ ยน้ำ� กนั ไปมา กระโดดนำ�้ กนั สนกุ นำ�้ ใสสะอาด หาดทรายกม็ ี สว่ นท่ลี กึ หนอ่ ย มดี นิ เหนยี วสนี ำ�้ เงนิ มนั เงา ตอนพอ่ เดก็ ๆ พอ่ และเพอื่ นๆ เอาดนิ เหนยี วทค่ี ลอง น่แี หละนำ� ไปโรงเรียน เวลาครูจะสอนป้ันรปู ดนิ น�ำ้ มัน แต่ก็มเี ดก็ ๆ บางส่วนหา กุ้งหาปลาตามประสา ย่างกินท่ีริมคลองน้ัน บางคนหามุมเงียบๆ น่ังใต้ต้นไม้ ตกปลาอยา่ งสบายอารมณ์ บางทก่ี ม็ สี ะพานขา้ มไปมาระหวา่ งสองฟาก ชาวบา้ น เขาใช้ต้นมะพร้าวสองต้น เอาหวายเหนียวขนาดใหญ่หลายๆ เส้นมัดกัน แล้วพาดข้ามคลองที่ตล่ิงสูงข้ึน เขาท�ำราวไว้ให้คนท่ีกลัวตกคลองจับไต่ไปด้วย ชาวบ้านและเด็กๆ ท่ีนี่ไม่กลัวตกคลองอยู่แล้ว ต่อให้ว่ิงข้ามคลองก็ยังท�ำได้ บรรยากาศริมฝั่งคลองแต่ก่อนน่าอยู่มาก สมัยผมยังเล็กก็เคยแอบไปเล่นน้�ำ ถึงตอนน้บี รรยากาศเชน่ น้ีก็ยังคงอยู่ ที่ทา้ ยบา้ นถดั ไปจากปา่ สาคู แตก่ อ่ นน้ันจะเปน็ ท่นี า ชาวบา้ นในแวง้ มี อาชีพท�ำนา ท�ำสวนยาง แตส่ วนยางจะอย่นู อกเขตหมูบ่ า้ นแว้ง แต่อย่ใู นอำ� เภอ แว้งเหมือนกัน ในหมู่บ้านแว้งเดิมนั้นจะมีท่ีนา ปู่ย่าก็มีอาชีพท�ำนาเช่นกัน คนั ไถของปกู่ ย็ งั มอี ยเู่ กบ็ ไวใ้ ตถ้ นุ บา้ น ขา้ วไมต่ อ้ งซอื้ แมม่ าอยทู่ แี่ วง้ ใหมๆ่ ยงั ตาม ปู่ย่าไปเกี่ยวข้าวที่นา หลังจากเสร็จเก็บเก่ียวข้าว ก็มีการท�ำบุญกินข้าวใหม่ เชิญชาวบ้านใกล้เคียงมาท�ำแกงปลาที่หามาได้ในนาในคลอง และหุงข้าวใหม่ ทต่ี ำ� ดว้ ยมอื มาเลยี้ งกนิ ผมไดแ้ ตเ่ สยี ดายไมท่ นั ไดเ้ หน็ ควายไถนา ชาวนาตำ� ขา้ ว เมอ่ื กอ่ น หลังจากหมดฤดูทำ� นาแลว้ มีเวลาไปกรดี ยาง สวนยางจะอยไู่ กลจาก หมู่บ้านหลายกิโลเมตร เวลาตี ๑ ตี ๒ เดินเท้าไปเพื่อกรีดยางของเถ้าแก่ บางคนกก็ รดี ยางของตนเอง ในการเดนิ ทาง ทกุ คนตอ้ งมตี ะเกยี งสำ� หรบั สอ่ งทาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook