Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องดีๆที่บ้านเรา

เรื่องดีๆที่บ้านเรา

Published by Thalanglibrary, 2020-11-09 04:09:25

Description: สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ได้ริเริ่มดำเนินโครงการประกวดเรียงความ หัวข้อ “เรื่องดีๆ ที่บ้านเรา” ในปี ๒๕๕๕ นี้ เป็นปีแรก โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ได้มีโอกาสถ่ายทอดเรื่องราวดีๆ ในรูปแบบวรรณกรรม นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับการถ่ายทอด เล่าเรื่องราวจากผู้อาวุโสของครอบครัวหรือของหมู่บ้าน เล่าขานถึงตำนานหรือวิถีชีวิต ที่มีความสุขให้เด็กและเยาวชนเกิดความประทับใจและภาคภูมิใจในเรื่องราวที่ผ่านมา เป็นการสร้างแรงบันดาลใจที่จะเชื่อมโยงอดีตสู ่ปัจจุบัน และร่วมกันหาแนวทางที่จะสร้างสรรค์สังคมให้สงบสุข และส่งต่อความดีเพื่อส่วนรวม ตลอดจนเป็นการสนับสนุนการสร้างสรรค์ผลงานด้านวรรณศิลป์แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ทั้งนี้ มีผู้ส่งผลงานเข้าประกวดรวม ๑,๐๔๓ ผลงาน แบ่งเป็นระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๓๗ ผลงาน ระดับมัธยมศึกษา จำนวน ๗๗๘ ผลงาน ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป จำนวน ๑๒๘ ผลงาน โดยคณะกรรมการได้พิจารณาคัดเลือกผลงานที่มีคุณค่า ทั้งในด้านเนื้อหา การใช้ภาษา และความคิดสร้างสรรค์ จนได้ผู ้ที่มีผลงานโดดเด่นเพื่อรับรางวัลป

Search

Read the Text Version

50 เรอ่ื งดๆี ท่บี า้ นเรา เร่ืองดๆี ท่บี า้ นเรา เด็กหญิงเฟาซียะห์ ยตี าเห ใต้สุดสยามเมอื งงามชายแดน เปน็ คำ� ขวัญของจงั หวัดยะลา จังหวดั ที่ มีผังเมืองที่สวยงาม บ้านเมืองสะอาดน่าอยู่เป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมท่ี หลากหลาย เดิมชาวยะลาเช่ือว่าแผ่นดินนี้คือเมืองลังกาสุกะของประเทศ มาเลเซีย จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของจังหวัดยะลา ปรากฏประเพณี วฒั นธรรมและวถิ ชี วี ติ ทช่ี าวไทยมสุ ลมิ จงั หวดั ยะลายดึ ถอื เปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ปัจจุบันความเจริญได้กลืนวิถีและวัฒนธรรมท่ีดีงาม ให้เลือนหายไปแต่ยังมีให้เราได้เรียนรู้และสืบทอดส่ิงดีงามโดยสถาบันการ พลศึกษา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา ได้เปิดสอนศิลปะการต่อสู้ไทยมุสลิม แบบโบราณ และยงั มชี มรมปนั จักสลี ัตแหง่ ประเทศไทยท่ชี ่วยเราอนรุ ักษ์ และ สืบทอดไมใ่ หป้ ันจกั สีลัตถกู กลืนหายไปกบั ความเจรญิ รุ่งเรืองทางด้านวตั ถุ ครง้ั หนง่ึ หนเู คยดโู ชวป์ นั จกั สลี ตั ทส่ี ถาบนั การพลศกึ ษา ซง่ึ เปน็ การตอ่ สู้ และร่ายร�ำด้วยท่าทางที่สวยงามเลยมีความสนใจในเรื่องน้ี จึงกลับไปถามแม่ แม่ก็เล่าให้ฟังว่า สิละ นับแต่สมัยอดีตเป็นทั้งศิลปะที่ใช้ในการต่อสู้จวบจน กระท่ังมีวิวัฒนาการมีการปรับเปลี่ยนใช้เป็นการร่ายร�ำต่อสู้อวดลีลาท่าทาง กระบวนการตอ่ สอู้ ยา่ งสวยงามสมจรงิ สลิ ะนเ้ี ปน็ ศลิ ปะการตอ่ สทู้ คี่ ลา้ ยกบั มวย จนี หรอื กงั ฟู ทำ� ใหช้ วนนกึ ไปถงึ การสบื เนอ่ื งมาจากพอ่ คา้ ชาวจนี ทเี่ ขา้ มาทำ� การ คา้ ขายในเมอื งปตั ตานี ดงั ในต�ำนานเมอื งปตั ตานี หลายต�ำนานทมี่ ชี าวจนี เขา้ มา

เร่อื งดีๆ ทบี่ า้ นเรา 51 เกี่ยวข้อง ซ่ึงเมื่อเข้ามาท�ำการค้าขายก็อาจได้เอาศิลปะการต่อสู้ของตนเอง เข้ามาผสมผสานเข้ากับการต่อสู้แบบพ้ืนเมือง อย่างไรก็ตามยังมีที่มา ของสลิ ะหลายสำ� นวนทีย่ งั หาข้อสรปุ ทแี่ นน่ อนไม่ได้ สลิ ะ ปจั จบุ ันอนั เปน็ ศิลปะ การต่อสู้ของชาวไทยมุสลิมถ่ินมลายูในภาคใต้ของประเทศไทยที่ควรค่าแก่ การอนุรักษ์และช่ืนชมซึ่งนับว่าเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ ของท้องถิ่นและของชาติก�ำลังจะคืบคลาน ถูกกลืนและเลือนหายไปจาก สงั คมไทยมสุ ลิมภาคใตข้ องไทย ทั้งน้ีเนอ่ื งจากสภาวการณท์ างสงั คม การเอาใจ ใสช่ ว่ ยเหลอื จากสงั คมหลกั และการขาดการเขา้ ใจ เขา้ ถงึ วฒั นธรรมของทอ้ งถนิ่ อันเป็นรากเหง้าที่เป็นต้นแบบน�ำไปสู่ศิลปะการแสดงต่างๆ นานาของสังคม ประเทศชาติอันเป็นสง่ิ ทบี่ ่งบอกถึงเอกลกั ษณข์ องชาติ ค�ำว่า สลิ ะ บางคร้งั เขยี นหรอื พูดเปน็ ซลี ะ หรือซลิ ะ เข้าใจว่ารากศพั ท์ มาจาก ศลิ ะ ภาษาบาลี สันสกฤตเพราะดินแดนชาวมลายูในอดีตเป็นดินแดน ของอาณาจักรศรีวิชัยซ่ึงมีวัฒนธรรมอินเดียเป็นแม่บทส�ำคัญ ดังปรากฏ ค�ำสันกฤตซึ่งสิละนั้นหมายถึง การต่อสู้ด้วยน้�ำใจนักกีฬา ผู้เรียนวิชานี้ต้องมี ศิลปะมวี นิ ัยทีจ่ ะนำ� กลยทุ ธไ์ ปใชป้ อ้ งกนั ตัว สลิ ะเปน็ การตอ่ สู้ทกุ แขนงโดยใชอ้ วยั วะทกุ ส่วนร่วมด้วย การใชศ้ ีรษะ คาง เพ่ือชน กระแทก โขก ยี ใช้ท่อนแขนฝ่ามือ และกำ� ปั้น จับล็อก บล็อก บัง เหว่ยี ง ฟัด ฟาด ปดิ ปดั ป้อง ผลกั ยัน ทบุ ชก ไลแ่ ขน ศอก เฉอื น ถอง กระทุ้ง พุ่ง เสย งัด ท้ังทำ� ลายจังหวะเม่ือเสียเปรียบและหาโอกาสเข้ากระทำ� เมื่อได้เปรียบ ส่วนขา แข้ง เข่า ฝ่าเท้า ส้นเท้า ปลายเท้า ใช้ในการบัง ถีบ เตะ แตะ เก่ียว ตวัด ฉัด ช้อน ปัด กวาด กระแทก ทำ� ให้บอบช�้ำและ เสยี หลกั และใชล้ ำ� ตวั ในการทุ่ม ทบั จบั หกั กอ่ นการฝกึ สลิ ะ ผเู้ รยี นจะตอ้ งเตรยี มขา้ วของเพอื่ ไหวค้ รกู อ่ น ประกอบ ด้วย ผา้ ขาว ข้าวสมางัด ด้ายขาว และแหวน ๑ วง มามอบให้กบั ครฝู กึ ผูเ้ ปน็ ศิษย์ใหม่จะต้องมอี ายไุ มน่ อ้ ยกว่า ๑๕ ปี ระยะเวลาทีเ่ รียน ๓ เดือน ๑๐ วัน

52 เรอ่ื งดีๆ ท่บี า้ นเรา จึงจะจบหลกั สตู ร การสอนนน้ั จะมีครสู ิละคนหนึ่งตอ่ ศิษย์ ๑๔ คน ในรุน่ หน่งึ ๆ ผู้ท่ีเก่งท่ีสุดจะได้รับแหวนจากครู และได้เกียรติเป็นหัวหน้าทีมและสอนแทน ครูได้ การแต่งกายของนักสิละมุ่งท่ีความสวยงามเป็นประการสำ� คัญ เช่นมีผ้า โพกศรี ษะ สวมเสือ้ คอกลมหรอื คอต้ัง น่งุ กางเกงขายาว และมผี ้าโสรง่ เรยี กผ้า ซอเกตลาย สวมทับพรอ้ มกับมีผา้ ลือปกั คาดสะเอว หรือคาดเขม็ ขัดทบั โสรง่ ให้ กระชับ นอกจากน้ันเหน็บกริชตามฉบับนักสู้ไทยมุสลิม เคร่ืองดนตรีสิละ ประกอบดว้ ยกลองยาว ๑ ใบ กลองเล็ก ๑ ใบ ฆ้อง ๑ คู่ และปยี่ าว ๑ เลา เมื่อ นักสิละข้ึนบนสังเวียนแล้ว ดนตรีจะประโคมเรียกความสนใจคนดู การไหว้ครู แบบสลิ ะนนั้ เขา้ ไหวท้ ลี ะคน วธิ กี ารไหวค้ รแู ตล่ ะส�ำนกั แตกตา่ งกนั ไป สงั เกต ว่าขณะร�ำไหว้ครูนั้น นักสิละจะท�ำปากขมุบขมิบว่าคาถาเป็นภาษาอาหรับ และทส่ี ำ� คญั คอื ขอพรสปี่ ระการสรปุ เปน็ ภาษาไทยดงั น้ี ขออโหสกิ รรมแกค่ ชู่ งิ ชยั ขอให้ปลอดภัยจากปรปักษ์ ขอให้เป็นที่รักแก่เพ่ือนบ้าน ขอให้ท่านผู้ชมนิยม ศรทั ธา กอ่ นท่ีนักสลิ ะจะลงมือต่อสู้ ทงั้ ค่จู ะทำ� ความเคารพกันและกัน เรียกวา่ สาลามัต คอื ตา่ งสมั ผัสมือแลว้ แตะที่หน้าผาก หลังจากน้ันจงึ เร่มิ วาดลวดลาย ร่ายรำ� ตามศิลปะสิละ บางครัง้ นักต่อสตู้ ่างกระทืบเทา้ ใหเ้ กดิ เสยี ง หรือมฉิ ะนัน้ เอาฝ่ามือตีที่ต้นขาของตนเอง เพื่อให้เกิดเสียงข่มขวัญปรปักษ์ เมื่อร�ำไปร�ำมา หรอื กา้ วไปถอยมาประหนึ่งวา่ เป็นการประลองเชิงพอสมควรแล้วหาทางพชิ ติ คู่ ต่อสู้ คือหาจังหวะให้มือฟาดหรือใช้เท้าดันร่างกายตรงกันข้าม จังหวะการ ประชิดตัวนั้นดูเหมือนว่าจะห�้ำหั่นกันช่ัวฟ้าแลบ ขณะน้ันดนตรีก็โหมจังหวะ กระชนั้ พลอยใหค้ นดรู ะทกึ ใจ ฝา่ ยใดท�ำใหค้ ตู่ อ่ สลู้ ม้ ลงหรอื อาศยั การตดั สนิ จาก ผู้ดูรอบสนามว่าเป็นเสียงปรบมือให้ฝ่ายใดดัง ฝ่ายนั้นเป็นฝ่ายชนะ กติกา ข้อห้ามทน่ี ักสิละต้องเวน้ ไดแ้ ก่ ห้ามเอาน้ิวแทงตาคตู่ อ่ สูเ้ พราะต่างไมส่ วมนวม และไมก่ �ำมอื แนน่ อยา่ งชกมวย ถดั มาคอื หา้ มบบี คอ หา้ มตอ่ ยแบบมวยไทย เชน่ ใชศ้ อกและเขา่ กระบวนชั้นเชิงสิละ ตามท่เี ขียนไวใ้ นหนังสอื มีมากมายหลาย ท่าเชน่ ซงั คะ ต้งั ทา่ ป้องกัน ลังคะดาน ทา่ ยนื ตรงพร้อมสู้ ลงั ฆะฑีฆา ท่ายกมอื

เรอื่ งดๆี ทีบ่ า้ นเรา 53 ปอ้ งกนั คือมอื ขวาปดิ ทอ้ งนอ้ ย แขนซา้ ยยกเสมอบา่ ลงั คะเลมิ ปดั ทา่ กา้ วไปตั้ง หลกั เบ้อื งหน้าปรปักษ์ โดยก้าวเท้าทงั้ สองอยา่ งรวดเรว็ สลิ ะของมุสลิมภาคใต้ แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ สลิ ะยาโตะ๊ คอื สลิ ะอาศยั ศลิ ปะการต่อสู้ เมื่อฝ่ายหนง่ึ รุกอกี ฝา่ ยหนง่ึ ต้องรับ ถ้าหากว่ารับไม่ได้ก็จะตกไปเลย เรียกว่าสิละยะโต๊ะ (ตก) ส่วนมาก จะใชใ้ นการแข่งขนั ประชนั ฝีมือ สิละตารี (ร�ำ) คือ สิละท่ีต่อกรด้วยความช�ำนาญในจังหวะลีลาการ รา่ ยร�ำ ส่วนมากจำ� แสดงเฉพาะหน้าเจา้ เมอื งหรือเจ้านายชั้นสงู สลิ ะกายอ (กรชิ ) คอื สลิ ะใชก้ รชิ ประกอบการรา่ ยรำ� ไมใ่ ชก้ ารตอ่ สจู้ รงิ ๆ แต่อวดลีลากระบวนท่าทางต่อสู้ ส่วนมากจะแสดงในเวลากลางคืน ถ้ารวม ความแลว้ จดุ ประสงค์สว่ นใหญข่ องสลิ ะมุง่ ศลิ ปะการร่ายร�ำมากกวา่ ศลิ ปะการ ต่อสู้แบบสมจริง ท่าทางยกไม้ยกมือมีส่วนคล้ายคลึงกับมวยจีนหรือกังฟู ชวนให้คิดไปว่าต้นก�ำเนินสิละนั้นอาจมิใช่อย่างท่ีเขียนไว้ในหนังสือว่ามี หลายท่า ท่ีเสนอไวข้ า้ งต้น แต่คงสบื เนื่องมาจากพ่อค้าชาวจีนนำ� ศิลปะของตน มาเผยแพร่ ณ เมอื งปตั ตานีคร้ังโบราณ ต�ำนานปัตตานมี ักปรากฏชาวจีนเข้ามา เกยี่ วขอ้ งเสมอ ไมว่ า่ เปน็ ต�ำนานของลมิ่ โตะ๊ เคยี่ มนายชา่ งปนื ใหญ่ นางพญาตานี และตำ� นานลมิ่ กอเหนยี่ วผเู้ ปน็ นอ้ ง เมอ่ื ชาวจนี เขา้ มาคา้ ขายทเี่ มอื งปตั ตานแี ลว้ ก็นำ� ศิลปะการต่อสู้ของตนมาเผยแพร่ ผสมผสานกับมวยพืน้ เมือง จงึ เป็นศิลปะ การต่อสูแ้ บบใหม่เรียกว่า สิละ อย่างไรก็ตามยังมที ีม่ าของสลิ ะอีกหลายสำ� นวน ทยี่ งั สรุปแนน่ อนมิได้ ปันจักสีลัตเป็นศิลปะการต่อสู้ของชาวไทยมุสลิมที่สืบทอดวัฒนธรรม ที่ดีงาม เราในฐานะเยาวชนรุ่นหลังจึงควรรักษาสิ่งดีงามนี้ไว้ไม่ให้เลือนหายไป ชาวยะลาเราโชคดที ส่ี ถาบนั การพลศกึ ษาเปดิ โอกาสใหเ้ ราไดเ้ รยี นรแู้ ละสบื ทอด ศิลปะปันจักสีลตั ใหค้ งอยู่ หากเพอื่ นๆ หรือผู้ใดสนใจที่จะเรียนรู้สามารถหาได้ จากสถาบนั การพลศกึ ษา เหมือนที่หนูได้เคยไปดู

54 เร่ืองดๆี ที่บ้านเรา เรือ่ งดๆี ทบ่ี า้ นเรา เดก็ หญิงมณู ีเราะห์ ดีสะเอะ บ้านเป็นสถานที่อยู่อาศัย จะเป็นบ้านท่ีดีได้ต้องมีองค์ประกอบ หลายๆ อย่าง บ้านเป็นท่ีให้ความอบอุ่น ให้ความปลอดภัย ให้ความรัก ใหค้ วามสะดวกสบายและอกี หลายๆ อยา่ ง เฉกเชน่ หมบู่ า้ นของหนเู ปน็ หมบู่ า้ น ที่มีความสามัคคีให้ความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน เป็นชุมชนท่ีเข้มแข็ง โดยหมู่บ้านของหนูมีทหารมาอาศัยอยู่ท่ีโรงเรียนคอยท�ำหน้าที่ดูแลให้ ความสะดวก ดแู ลความปลอดภยั และรว่ มมอื กบั เยาวชนชมุ ชนในการจดั การทำ� โครงการตา่ งๆ ที่เกีย่ วกับหมู่บ้านให้มีการพัฒนาข้นึ หนูดใี จทม่ี พี ที่ หารมาอาศัยอยู่ในหมู่บา้ นของหนู หนเู ห็นเดก็ ๆ ชอบท่ี จะเล่นหยอกล้อกับพี่ทหาร วันสำ� คัญต่างๆ เช่น วันพ่อ วันแม่ หรือวันสำ� คัญ ทางศาสนา เชน่ วันรายอ พีๆ่ ทหารจะมาแจกขนมและแจกไอศกรมี ให้พวกหนู ได้ทาน เด็กๆชอบให้พี่ทหารเป่าลูกโป่งโดยดัดให้เป็นรูปต่างๆ เป็นท่ีถูกอก ถูกใจเด็ก บางครั้งพี่ทหารก็ต้องเหนื่อยเป็นพิเศษเม่ือเกิดเหตุการณ์ท่ีไม่ดี เช่น เหตุการณ์ความไม่สงบในพน้ื ที่อน่ื ทีใ่ กลๆ้ กับหมบู่ ้านหนู เพราะหมบู่ ้านหนคู อื หมู่บ้านสะเอะใน อ.กรงปนิ งั จ.ยะลา ซึง่ มักจะเกดิ เหตกุ ารณ์ความไม่สงบบ่อย คร้งั แตพ่ ี่ๆ ทหารกไ็ มย่ ่อท้อ ยงั คงทำ� หน้าทที่ ตี่ นรับผดิ ชอบตอ่ ไป พ่ีทหารยอม เสยี สละเวลาและชวี ติ เพอื่ ใหป้ ระชาชนอยอู่ ยา่ งมคี วามสขุ หนดู ใี จทหี่ มบู่ า้ นของ หนูมีความรัก ความสามัคคีต่อกัน เยาวชนก็ให้ความสำ� คัญกับโครงการต่างๆ ที่คณะกรรมการหมู่บ้านหรือทางรัฐจัดข้ึนเช่น โครงการต้านยาเสพติด

เรือ่ งดๆี ทบี่ า้ นเรา 55 โครงการกีฬาสัมพันธ์ โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม เป็นต้น หมู่บ้าน ของหนูมีประชากรไม่มาก แต่ทุกคนก็มีอาชีพมีงานท�ำเกือบทุกคนอาชีพหลัก ของหมู่บ้านหนูคือ การท�ำสวนยาง เยาวชนจะได้นับการศึกษาอย่างเต็มท่ี ส่วนเยาวชนท่ีไม่ได้ศึกษาต่อก็จะช่วยพ่อแม่ตัดยางหรือไม่บางส่วนก็จะไป ท�ำงานในเมืองคือในตัวจังหวัดยะลา จะค้าขายบ้าง เป็นลูกค้าบ้าง หรือออก ไปไกล คอื ไปเปน็ ลกู จา้ งทป่ี ระเทศมาเลเซยี ใกลๆ้ ชายแดนเบตงไปเปน็ คนเสริ ฟ์ น้�ำชา หรืออาจไปเป็นลูกจ้างขายอาหาร ปรุงอาหารก็มี พอเก็บหอมรอมริบ ได้เงิน ก็จะน�ำเงินกลับมาให้พ่อแม่ของเขาโดยท่ีหนูทราบได้ก็เพราะพ่อกับแม่ ของหนมู กั พดู ใหฟ้ งั วา่ “เดก็ คนนนั้ เกง่ นะเกบ็ เงนิ มาใหพ้ อ่ แมไ่ ดส้ รา้ งบา้ น” หรอื “เด็กคนนั้นเป็นเด็กดีน�ำเงินมาให้พ่อแม่ได้ซ้ือสวนยาง เก็บเงินเก่งมากเลย” เปน็ ต้น หนจู ึงอยากเก็บเงนิ ได้เยอะๆ เหมือนที่พ่อกับแมไ่ ด้พูดให้หนูฟังแต่หนู อยากเรียนให้สงู ๆ กอ่ นจะได้มีงานทำ� เก็บเงินให้พอ่ กับแมไ่ ด้ พอ่ กบั แม่ของหนู จะได้อยู่อยา่ งสบาย เพราะตอนนแี้ มต่ ้องออกจากท่ที �ำอยู่ เพราะแมม่ ีโรคทเ่ี ป็น อุปสรรคในการท�ำงาน แต่ครอบครัวหนูก็ไม่ล�ำบากถึงข้ันไม่มีจะกินเพราะ บ้านของหนูมีพ้ืนท่ีรอบๆ บริเวณบ้านพอท่ีจะปลูกพืชผักให้ได้เก็บกิน ช่วยประหยัดในการใช้จ่าย ไม่ต้องไปซ้ือผักซ้ือพริกมาจากที่อ่ืน และยังปลอด สารพิษอีกด้วย หนูสนุกกับการท่ีได้เก็บผักเก็บพริก ถึงแม้จะมีไม่มากถึงขั้น สามารถน�ำไปขายได้เงินแต่หนูก็ดีใจ และพอใจที่ครอบครัวหนูน�ำแนว พระราชด�ำริขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้นั่นคือ พออยู่ พอกิน พอใช้ซึง่ ไมเ่ พียงแตท่ บี่ ้านหนูหลังเดียว ครอบครัวอืน่ ๆ หรือชมุ ชนท่หี นอู ยู่ส่วน มากกจ็ ะปลกู ผกั เลย้ี งปลา เลย้ี งไกเ่ ปน็ สวนมาก เพราะทกุ คนเลง็ เหน็ วา่ ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงสามารถท�ำให้ชุมชนมีรายได้ดีขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่ายและ ปลอดภัยในการบริโภค หมบู่ า้ นของหนยู งั เปน็ หมบู่ า้ นทอ่ี นรุ กั ษว์ ฒั นธรรมพน้ื บา้ นและประเพณี ศาสนาทสี่ ืบทอดกนั มาด้วย นัน่ คือ การละเลน่ ดเิ กรฮ์ ลู ู ซงึ่ เมื่อจะมีการฉลอง

56 เรอื่ งดีๆ ทบ่ี ้านเรา งานแต่งงาน บางบ้านที่มีฐานะก็จะเชิญคณะดิเกร์ฮูลูมาเล่นให้ชาวบ้านได้ดู ส่วนประเพณีทางศาสนาคือการกวนอาซูรอ (เป็นการกวนของพืชผักต่าง รวมกันโดยการน�ำกล้วย ฟกั ทอง เมล็ดถ่ัวแดง หัวมนั เผอื ก ตะไคร้ กะทแิ ละ ข้าวสารโดยให้มีรสชาติหวานน�ำ ซึ่งเป็นการท�ำอาหารหวานมาต้ังแต่สมัย ท่าน นบี มฮู ัมหมัด (ซ.ล.) จนถงึ ปัจจบุ ันน้)ี การท�ำกิจกรรมกวนอาซูรอในแต่ละปีชาวบ้านจะน�ำพืชผักต่างๆ ทตี่ นมคี นละนดิ คนละอยา่ งมารวมกนั และชว่ ยกนั กวนโดยจดั ทบี่ า้ นใดบา้ นหนง่ึ หรือสถานที่ใดสถานทห่ี นง่ึ และเมื่อสกุ ก็จะน�ำมาแจกจ่ายใหไ้ ดก้ ินถ้วนหนา้ กจิ กรรมกวนอาซรู อถอื วา่ เปน็ กจิ กรรมทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความสามคั คแี ละการ เกอื้ กลู กนั ในปนี หี้ มบู่ า้ นของหนไู ดจ้ ดั ประเพณกี วนอาซรู อขน้ึ ทอ่ี งคก์ ารบรหิ าร ส่วนต�ำบล (อบต.) โดยอ�ำเภอกรงปินังได้จัดการประกวดแข่งขันการกวน อาซรู อขนึ้ โดยใหม้ กี ารแขง่ ขนั ความสวยงามและความอรอ่ ยของขนมอาซรู อดว้ ย ในปีน้ีมีหมู่บ้านหลายหมู่บ้านที่เข้าแข่งขันในปีนี้ หมู่บ้านของหนูเป็นหมู่บ้านที่ ชนะการประกวดได้รับโล่เกียรติยศด้วย เป็นท่ีภาคภูมิใจของชุมชนหนู ที่ร่วมมือร่วมใจไปลงแข่งขันและท�ำอย่างสุดฝีมือ จนท�ำให้มีวันนี้ได้แต่ถึงแม้ จะไม่ชนะ หนูก็ไม่เสียใจเพราะหนูเห็นแต่ละคนที่ไปในงานวันนั้นทุกคนดูมี ความสขุ และสนุกกบั งานทีท่ าง อบต. ไดจ้ ัดขน้ึ แทบทุกคน หมบู่ า้ นของหนถู งึ แมจ้ ะเปน็ หมบู่ า้ นเลก็ ๆ แตส่ ายสมั พนั ธท์ มี่ ตี อ่ หมบู่ า้ น อ่ืนในตัวอ�ำเภอกรงปินังน้ันกว้างไกลนัก ชุมชนในพ้ืนที่อื่นก็จะให้ความร่วมมือ และรว่ มใจ เมอื่ หมบู่ า้ นของหนจู ดั งานใดงานหนง่ึ ขนึ้ มาในชมุ ชน เชน่ งาน Open House ท่ีทางโรงเรียนบ้านสะเอะในจัดข้ึน ก็จะมีเพื่อนบ้านชุมชนอื่นร่วมงาน ด้วย ซึ่งถือว่าชุมชนของหนูมีความรัก ความสามัคคี ไม่เพียงแต่คนในชุมชน เท่านน้ั ในชมุ ชนอื่นยงั รวมไปถงึ ชมุ ชนใกล้เคยี งดว้ ย ทุกคนทกุ หน่วยงานจะให้ ความร่วมมือ โดยเฉพาะหน่วยงานจากพี่ๆ ทหารจะมีส่วนเข้ามาช่วยงานแบ่ง เบางานไดม้ าก จะคอยดแู ลความปลอดภยั มกี ิจกรรมทแี่ ปลกๆ หลากหลายให้

เร่อื งดๆี ท่บี า้ นเรา 57 ชาวบ้านและเด็กๆ ได้สนุกซึ่งหน่วยงานทหารไม่ใช่จะมีเฉพาะท่ีหมู่บ้านหนู เทา่ นนั้ แตจ่ ะมอี ยเู่ กอื บทกุ หมบู่ า้ นในจงั หวดั ชายแดนใตเ้ พราะเปน็ ทๆี่ มกั จะเกดิ เหตุการณค์ วามไม่สงบบ่อยครงั้ ใน ๕ จงั หวัดชายแดนใต้ อนั ได้แก่ยะลา สงขลา นราธวิ าส ปตั ตานี และสตลู พที่ หารไมใ่ ชแ่ คใ่ หค้ วามสขุ ความปลอดภยั แกช่ มุ ชน ตา่ งๆ เหลา่ นน้ั เทา่ นน้ั แตย่ งั ใหค้ วามรู้ ใหก้ ารพฒั นาเกดิ ขนึ้ ในสถานทๆ่ี พที่ หาร เหล่าน้ันไปอยู่อาศัยด้วยและพ่ีทหารยังปรับตัวเข้ากับชุมชนนั้นได้ดีไม่ว่า มนษุ ยสมั พนั ธ์ การกนิ อยู่ หรอื แมแ้ ตเ่ ขา้ ใจถงึ วฒั นธรรมและประเพณขี องแตล่ ะ พื้นท่ีนั้นด้วย หนูภูมิใจที่ได้เกิดเป็นคนไทย อยู่บนพื้นแผ่นดินไทยที่มี พระเจา้ อยู่หัวทรงเปน็ ประมขุ หว่ งใยประชาราษฎร์ ดูแลทกุ ขส์ ขุ ของประชาชน อย่างท่ัวถงึ โดยไมค่ า� นงึ ถึงชนชาตแิ ละศาสนา จะอยู่ในสถานะใด ต�าแหนง่ การ งานใด พระองค์มีแต่ให้กับให้ โดยไม่หวังผลตอบแทน เพียงพระองค์ ต้องการให้ปวงชนชาวไทยมีสุขภาพดีมีความสุข มีความเจริญและมีการ พฒั นาขนึ้ ในทกุ ๆ ดา้ น หนดู ใี จและภมู ใิ จจงึ ขออวยชยั ใหพ้ ระองคท์ รงพระเจรญิ ยง่ิ ยนื นาน

58 เรอ่ื งดๆี ทบ่ี ้านเรา เร่ืองดๆี ที่บ้านเรา เดก็ หญงิ สุทธดิ า ศริ วิ ฒั น์ จงั หวัดชายแดนใต้มี ๕ จงั หวัด คอื ยะลา ปตั ตานี นราธิวาส สงขลา และสตูล ๕ จังหวดั นอี้ ย่ใู กลๆ้ กนั อยู่ติดทางภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย ท้งั ๕ จงั หวดั ชายแดนใต้นี้ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา แตกต่างกัน มีทง้ั ศาสนาพุทธ มุสลมิ จนี ทงั้ ๓ ศาสนานที้ พี่ วกเราอยรู่ ว่ มกนั ไดม้ กี ารชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ถงึ แมว้ า่ บางครง้ั เราจะทะเลาะกนั ไปบ้าง แตเ่ ราก็อภัยใหก้ ัน เมอ่ื ไม่นานมานี้ วันท่ี ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้เกิดเหตกุ ารณ์ไมค่ าดฝนั ข้ึน ท่จี งั หวัดสงขลาและยะลา โดยได้มีคนลอบวางระเบิดที่โรงแรมลีการ์เด็น อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นตัวเมืองหาดใหญ่และในตัวเมืองยะลา ท้ังสองเหตุการณ์น้ีท�ำให้ชาว หาดใหญ่และชาวยะลาตื่นตระหนกตกใจ รวมท้ังคนท่ัวประเทศไทยก็เป็นห่วง ตระหนกตกใจไม่แพ้กนั ถึงแม้วา่ จะเกดิ เหตกุ ารณเ์ ชน่ นี้ แตก่ ย็ งั มนี ักทอ่ งเทยี่ ว ไปเที่ยวท่ี ๒ จังหวัดนี้ไปเป็นก�ำลังใจให้สู้ต่อไป ถึงแม้ว่าจะเกิดเหตุการณ์ใดๆ ผู้คนก็ยังหล่ังไหลกันไปเที่ยวอย่างเช่นวันสงกรานต์ ยังมีผู้คนไปเล่นน�้ำกัน มากมาย ตอ่ ไปนกั ท่องเท่ยี วทกุ ท่านจะไดร้ ู้จักแหล่งท่องเทย่ี วดีๆ ที่ ๕ จังหวัด ชายแดนใต้ ฉนั จะเขยี นแหล่งทอ่ งเทยี่ วดๆี โดยเฉพาะในจงั หวดั สงขลาซงึ่ เปน็ บา้ นเกดิ ของฉันให้ทกุ ท่านทราบ แหลมสมิหลาอยู่ในเขตเทศบาลสงขลา ห่างจากตลาดสดเทศบาล ประมาณ ๓ กิโลเมตร มีหาดทรายขาวสะอาด และทิวสนอันร่มร่ืน มีร้านค้า

เร่อื งดๆี ทบ่ี ้านเรา 59 อาหารต้ังขายอยู่มากมาย แหลมสมิหลามีจุดชมวิว เรามองไปให้ไกลๆ สุด ของทะเล จะเห็นว่ามีวิวสวย เมื่อตกเย็นจะเห็นพระอาทิตย์ตกดินที่สวยงาม บริเวณแหลมสมิหลา มีนักท่องเที่ยวมากเป็นพิเศษ โดยเฉพาะเดือนมีนาคม- มิถุนายน และในวันหยุดราชการหรือวันส�ำคัญต่างๆ อย่างเช่นวันปีใหม่ วนั สงกรานต์ และยงั มรี ปู ปน้ั นางเงอื ก ซงึ่ เชอ่ื กนั วา่ ใครไดม้ าถา่ ยรปู กบั นางเงอื ก ก็ถือวา่ มาถงึ สงขลา ไว้ดงึ ดดู นักท่องเทย่ี วใหม้ าถ่ายรูปชมกัน สวนสัตวส์ งขลาเป็นส่วนสัตวอ์ ยู่บนเขาเลก็ ๆหลายลกู มเี นือ้ ที่ ๙๑๑ ไร่ มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ท่จี ะอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มเพื่อขยายพันธสุ์ ัตวป์ า่ สตั วห์ าดูยาก คืนสู่ธรรมชาติ มีถนนลาดยางโดยล้อมรอบและแยกชนิดสัตว์เป็นหมวดหมู่ มีสัตว์หลายชนิด สัตว์ต่างประเทศก็มีสัตว์ป่าอย่างเช่นยีราฟ ถ่ินก�ำเนิดของ สัตว์ชนิดน้ีอยู่ท่ีอัฟริกา เพนกวินถิ่นก�ำเนิดที่ข้ัวโลกเหนือ ปัจจุบันที่ส่วนสัตว์ ได้ก่อสรา้ งสวนน้ำ� ขึน้ มา สวนน�้ำอย่ใู กลก้ บั การแสดงวถิ ชี ีวติ สตั วป์ า่ สวนนำ้� เรม่ิ เปดิ ตัวต้งั แต่ ๑๐.๐๐ น. ภายในของสวนนำ�้ มีสไลเดอร์ นำ�้ ใสมีทเี่ ล่นสำ� หรบั เด็ก มีที่เล่นส�ำหรับเด็กประถม จะอยู่ใกล้ที่สำ� หรับผู้ใหญ่ ท่ีเด็กประถมไม่ค่อยลึก เท่าเอวฉันได้ น�้ำจะไหลเวียนรอบสระมีกระแสน้�ำเวียนรอบสระ มีอยู่จุดหน่ึง เปน็ จดุ ชมววิ ทวิ ทศั น์ จะเหน็ ตวั เมอื งสงขลา เหน็ ทะเล เหน็ สะพานตณิ สลู านนท์ หรือท่ีเรียกกันในค�ำขวัญของจังหวัดสงขลาว่าสะพานป๋า ที่สวนสัตว์สงขลา ยนิ ดตี ้อนรับนกั ทอ่ งเท่ียวทุกทา่ น สถาบันทักษิณคดีศึกษาอยู่ในต�ำบลเกาะยอ มีพ้ืนท่ีท้ังหมด ๒๓ ไร่ ๑ งาน ๓๙.๙ ตารางวา พ้ืนท่ีส่วนหน่ึงอยู่บริเวณเชิงเขา และส่วนหนึ่งอยู่บน ยอดเขา และเมือ่ ขนึ้ อยูบ่ นสุด สามารถเห็นทะเลสาบอย่างชดั เจนและสวยงาม สถาบันทักษิณคดีศึกษา ได้รวบรวมสิ่งเก่าแก่และหุ่นขี้ผ้ึง แสดงถึงวิธีการ ด�ำรงชีวิตเมื่อสมัยก่อน สถาบันทักษิณคดีศึกษาไม่ใช่มีแค่นี้ แต่รวบรวมเพื่อ

60 เรอ่ื งดีๆ ทบี่ า้ นเรา ศึกษาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมของภาคใต้ สถาบันทักษิณคดีศึกษา มีวัตถุ เก่าแก่มากมาย มีรูปปั้นขี้ผ้ึงมาประกอบเพื่อให้น่าสนใจมากยิ่งข้ึน สถาบัน ทกั ษิณคดศี ึกษา ประกอบด้วยส่วนสำ� คัญ ๕ ส่วน คือ พิพธิ ภัณฑ์คติชนวทิ ยา อุทยานวัฒนธรรม ศูนย์วิทย์บริการด้านวัฒนธรรมงานส่งเสริมเผยแพร่ และหมบู่ า้ นวฒั นธรรมสาธติ เกาะยอเป็นเกาะเล็กๆ ในทะเลสาบสงขลา เดินทางโดยข้ามสะพาน ติณสูลานนท์ไปตามเส้นทาง ท่ีเกาะยอมีของขายตามถนน มีเส้ือผ้าลายสวยๆ ทเ่ี กาะยอมีโฮมสเตย์ให้เชา่ มากมาย ถา้ เชา่ สามารถมองเหน็ พระอาทติ ย์ ตก-ข้ึน เกาะยอเหมาะแกก่ ารทำ� เกษตรกรรม บนเกาะยอมกี ารทำ� สวนผลไมแ้ บบสมุ รมุ หมายถงึ ผลไม้จะผลดั ใหผ้ ลผลติ ตลอดปี เชน่ สม้ โอ มะพร้าว ขนนุ ผลไมท้ ่ขี น้ึ ช่ือของเกาะยอคือ จ�ำปาดะ อาหารพ้ืนเมืองของภาคใต้ท้ัง ๕ จังหวัดน้ีก็อยู่ในภาคใต้น้ันจะเขียน ให้หมดท่ีเป็นอาหารของภาคใต้ แต่มันแยะมากก็เลยเอาอันท่ีรู้จักมาอย่างเช่น ข้าวย�ำใบยอ ข้าวย�ำใบยอเมล็ดข้าวจะเป็นสีม่วงมีสีสันสดใสน่ารับประทาน บูดเู ป็นอาหารหลักของชาวใต้ ทง้ั ๕ จังหวัดชายแดนใต้ กน็ ิยมกันรบั ประทาน และอกี อย่างหน่งึ คืออาหารทะเล มี ก้งุ หอย ปู ปลา เป็นสัตวท์ ะเลท่หี าง่ายใน ภาคใต้ สัตวเ์ หล่าน้ีจะอาศัยในทะเล ๕ จงั หวัดชายแดนของเรามพี ืน้ ท่ตี ดิ ทะเล เกอื บทกุ จงั หวดั ยกเวน้ จงั หวดั ยะลา แตป่ จั จบุ นั นที้ ะเลของพวกเราน้�ำไมค่ อ่ ยใส และมีกล่ินเหม็น ชายหาดกม็ ีขยะ บางครั้งนักทอ่ งเทย่ี วทีม่ าเทย่ี วทะเลก็จะเก็บ เปลอื กหอยกลบั บา้ น กส็ ามารถทำ� ได้ แตถ่ า้ คดิ ดใู หด้ ี เปลอื กหอยเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของหอยเลก็ ๆ เมอ่ื ครอบครวั ไหนทจ่ี ะมาปกิ นกิ กช็ ว่ ยเกบ็ ขยะทคี่ ณุ น�ำมาไปทงิ้ ถงั ขยะหรอื ถา้ ใหด้ กี เ็ กบ็ ขยะทท่ี ง้ิ เกลอื่ นกลาดไปทง้ิ ดว้ ย ฉนั อยากใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี ว ทีม่ าเที่ยวทะเล ให้ช่วยกนั อนุรักษท์ ะเลไวใ้ หน้ านแสนนาน

เรือ่ งดีๆ ทบี่ ้านเรา 61 ประเพณขี องชาวสงขลาจะไมเ่ หมอื นภาคอนื่ อกี ๔ จงั หวดั บางประเพณี กจ็ ะคล้ายๆ กัน อยา่ งเช่นชาวศาสนาพทุ ธ ประเพณแี หช่ กั พระ ชงิ เปรต ท�ำบญุ เดือนสิบ ท�ำบญุ บัว เป็นตน้ ชาวมสุ ลิมก็มีหลายประเพณีเชน่ กนั เช่น ละหมาด ฮาลาล แงเกาะห์ ปอซอ และหะรอมเป็นต้น ประเพณีน้ันต้องมีทุกประเทศ ทุกศาสนาแต่ปัจจุบันประเพณีได้เลือนหายไปมาก เพราะเทคโนโลยีใหม่ เข้ามาแทน จึงท�ำให้เด็กรุ่นหลังไม่รู้จัก ไม่สนใจ ดิฉันอยากให้ผู้คนท่ีรู้จักหรือ บรรพบุรุษท่ียังมีชีวิต ให้ชักน�ำเด็กๆ มาเข้าร่วมประเพณีน้ันๆ ให้สืบต่อให้ ยาวนาน อาชีพท้ัง ๕ จังหวัดชายแดนใต้น้ี จะนิยมการกรีดยางเป็นส่วนใหญ่ แต่ยงั มอี ีกหลายอาชีพ เช่น คา้ ขาย เกษตรกร ธรุ กจิ ส่วนตวั รบั ราชการ หรอื อีก หลายๆ อย่าง คนเราตอ้ งประกอบอาชีพ ถ้าเราไมป่ ระกอบอาชพี เราจะไมม่ ีเงิน ไปใช้ซอ้ื สิ่งของท่ีจ�ำเปน็ ปัจจบุ นั เงนิ หายาก เราตอ้ งช่วยกนั ประหยัดเงิน คนเรา ในปจั จุบันไม่ค่อยเหน็ คณุ ค่าของเงนิ เงินแค ๑ บาทกท็ ิง้ เจอก็ไมเ่ อา เพราะ ๑ บาทในปจั จบุ ันนซี้ ือ้ อะไรไม่ได้แลว้ พอ่ แม่ของเราตอ้ งประกอบอาชพี ทกุ อย่างที่ ทำ� ไดเ้ พอื่ หาเงนิ ใหเ้ รากวา่ จะไดเ้ งนิ แตล่ ะบาทมนั ยากมาก ตอ้ งเสยี เหงอ่ื เสยี แรง ให้เราจ่ายเงินในวนั นี้ ๕ จงั หวดั ชายแดนใต้ ถงึ เราจะนบั ถอื คนละศาสนา แตเ่ รากอ็ ยู่ร่วมกัน ได้ เพราะเราอภยั ใหก้ ัน ถงึ แม้วา่ จะทะเลาะ ฆา่ กนั ท�ำรา้ ย ฉันกไ็ ม่รู้วา่ เราอยไู่ ด้ ยงั ไง กด็ แี ลว้ ทเี่ ราอยดู่ ว้ ยกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ฉนั ขอเปน็ ตวั แทนของชาวสงขลา ชาวจังหวัดสงขลายินดีต้อนรับนักท่องเที่ยวทุกท่าน ชาวสงขลาพร้อมแล้ว ท่ีจะต้อนรับนักท่องเที่ยวทุกท่าน และเราจะท�ำให้นักท่องเท่ียวน้ันมีความสุข ที่ได้มาเทยี่ วท่จี งั หวดั สงขลา

62 เร่ืองดีๆ ทีบ่ า้ นเรา จากที่ฉันเล่าให้ทุกท่านฟัง ฉันภูมิใจและรักบ้านเกิดของฉันมาก สถานท่ีทกุ แห่งฉนั ไดไ้ ปเทยี่ ว และนา� ประสบการณ์มาเลา่ ส่กู ันฟัง มนั เปน็ ส่ิงดๆี ทอ่ี ยใู่ นใจฉนั ฉนั อยากใหท้ กุ คนมาเทยี่ ว แลว้ จะเหน็ ความงามทกุ สงิ่ ไดด้ ว้ ยตนเอง ฉนั ไมอ่ ยากไดย้ นิ ขา่ วการวางระเบดิ ในสถานทต่ี า่ งๆ ไมอ่ ยากใหม้ ขี า่ วการฆา่ กนั ใน ๕ จงั หวดั เพราะน่นั หมายถงึ ความไมม่ นั่ ใจ ความไมป่ ลอดภยั ในชีวิตทา� ให้ เกิดความสูญเสีย ท�าให้ทุกคนหวาดกลัว ไม่กล้ามาท่องเที่ยว โดยเฉพาะ ๓ จงั หวดั คอื นราธวิ าส ปตั ตานี และยะลา ไมม่ ใี ครอยากจะลงไปเทยี่ วไปศกึ ษา เนื่องจากสาเหตุน้ี ท้ังๆ ท่ีมีสถานท่ีสวยงามมากมายหลายสถานที่ใครก็ตาม ท่ีกอ่ ความไมส่ งบ นา่ จะหยดุ ได้แลว้ เพราะทา� ให้บา้ นเมืองเสยี หาย มคี วามทุกข์ ยากลา� บาก ถงึ เวลาแลว้ หรอื ยงั ทที่ กุ คน ทกุ ฝา่ ย ไดท้ นั กลบั มารว่ มมอื รว่ มใจกนั สรา้ งรอยยม้ิ ความสงบ ความสขุ ใหก้ บั พน้ื ทขี่ องเราในอดีต ฉันขอเป็นตัวแทนของ จังหวัดชายแดนทั้ง ๕ จังหวัด ว่าเราพร้อม และยนิ ดตี อ้ นรบั ทุกท่าน ท่จี ะมาเยี่ยมเยอื นเรา

เรื่องดีๆ ท่ีบา้ นเรา 63 เรอื่ งดๆี ทีบ่ ้านเรา เดก็ หญิงอาอีสะห์ กอตอ ขน้ึ ตน้ วา่ “กมั ปง” หมบู่ า้ นของเราทกุ คนยอ่ มรดู้ วี า่ ตอ้ งไมใ่ ชม่ บี า้ นหลงั เดยี ว และสมาชกิ ยอ่ มไมใ่ ชค่ นเดยี ว ตอ้ งมหี ลายบา้ นรวมกนั ถงึ ไดม้ าเปน็ หมบู่ า้ น และมหี ลายครวั เรอื นมารวมกนั ถงึ ไดม้ าเปน็ หมบู่ า้ นหรอื กมั ปง ตามความหมาย หรือค�ำแปลในภาษามลายถู น่ิ นนั่ เอง หมู่บ้านของเราเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ประกอบด้วยครอบครัวเพียงไม่กี่ ครอบครวั แตถ่ ้ามองกนั ในแงข่ องการเป็นหมู่บ้าน ในสมัยก่อนคุณยา่ เล่าวา่ แม้ จะมีไม่กี่หลังคาเรือนแต่ก็อยู่อย่างมีความสุข มันเป็นความสุขท่ีเพียบพร้อม ไปด้วยความบริสุทธ์ิใจของกันและกัน เป็นความบริสุทธิ์ใจท่ีกลั่นกรองจาก ธรรมชาตจิ รงิ ๆ ภาพครั้งเดก็ ท่เี ราวิ่งบนถนนลูกรงั สถานท่ีแคบๆ ทๆ่ี เราชอบ วงิ่ เลน่ ตามคนั นา เมอ่ื ครน้ั ทค่ี นั นาเตม็ ไปดว้ ยนำ้� ทค่ี า้ งในฤดฝู น บางคนนงั่ ตกปลา ได้ปลาเล็กบ้าง ใหญ่บ้าง ก็เฮกันสนุกสนาน ตามประสาของคนท่ีอยู่กัมปง ภาพทส่ี นกุ สนานเหลา่ นต้ี า่ งไดก้ ลายเปน็ อดตี ไปแลว้ แตค่ วามทรงจำ� ยงั ตดิ ฝงั ใจ อยเู่ หมอื นกบั ยงั มชี วี ติ ชวี าจนตราบทกุ วนั น้ี ทบี่ า้ นปลกู กนั หา่ งๆ แตม่ นั จะแปลก ตรงทแี่ มม้ นั จะเปน็ หมบู่ า้ นเลก็ ๆ เปน็ กมั ปงทมี่ บี า้ นอยแู่ มไ้ มก่ ห่ี ลงั คาเรอื นมผี คู้ น และเดก็ ๆ ทไี่ รก้ ารศกึ ษาแตก่ ย็ งั รสู้ กึ นา่ อยู่ อะไรเลา่ ทเี่ ปน็ ปจั จยั ทที่ �ำใหเ้ กดิ ความ รู้สึกอยากอยู่กัมปงนี้ ซ่ึงต่อไปนี้เราพร้อมจะเรียกว่ากัมปงกีตอได้เต็มปาก เพราะแม้จะไม่ได้เกิดที่น่ีแต่ก็อาศัยอยู่จนครึ่งหนึ่งของชีวิต พอท่ีจะได้ซาบซ้ึง ถึงการใช้ชีวิตอย่างชีวิตของคนกัมปงว่ามันมีอะไรดีกว่าชีวิตของคนเมืองใหญ่ๆ

64 เรอื่ งดีๆ ที่บา้ นเรา ทเ่ี จรญิ ไปดว้ ยเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั ซง่ึ ลว้ นเปน็ สง่ิ ทหี่ ลอ่ หลอมความรสู้ กึ ของตวั เอง และเกิดความเร้าใจและเพลิดเพลินโดยไม่รู้ตัวหากปัจจุบันน้ีกัมปงกีตอจะ ยิ่งน่าอยู่ขึ้นเยอะเพราะความดูแลของผู้นำ� ประเทศ รัฐบาล และองค์กรต่างๆ ท่เี ขา้ ไปในหมู่บ้านเรา แต่หมูบ่ า้ นของเราจะดขี ้ึนหรอื ไม่ขน้ึ อยู่กบั คนทอี่ าศัยอยู่ ในหมู่บ้านนั้นๆ คนในหมู่บ้านจะต้องมีแผนพัฒนาตนเองให้ดีข้ึนเร่ือยๆ คนใน หมู่บ้านต้องมีการศึกษา ท่ีหมู่บ้านของเรามีโรงเรียนของรัฐขนาดปานกลาง และมีปอเนาะเพียงแห่งเดียวนอกจากนี้ยังมีโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามระดับ พ้ืนฐานหรือท่เี รียกวา่ โรงเรยี น ตาดกี า จะมีครไู มก่ ่คี น แต่เราก็พอใจทจ่ี ะใหค้ น ในกมั ปงกีตอ มีการศึกษาตรงนดี้ ว้ ย เพราะกมั ปงกตี อจะมกี ารพฒั นาไดต้ ้องได้ รับการศึกษาท้ังทางโลกและทางธรรม มีการพัฒนาทางด้านร่างกายและจิตใจ แมจ้ ะเปน็ กัมปงเลก็ ๆ ถึงจะกันดารขนาดไหนก็ตาม ถ้าคนในกัมปงมีการศกึ ษา ท่ีถูกต้อง กัมปงกีตอก็จะได้ดีไปด้วยอย่างในตอนน้ี คนในกัมปงเร่ิมเห็น ความส�ำคัญของการศึกษาของลูกหลานและมีการพัฒนาการเคลื่อนที่ใน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๓ เขา้ ไปสร้างประโยชน์แก่คนในกัมปงมากมายเชน่ การสอน ท�ำปุ๋ยเกษตรกร สอนท�ำน้�ำยาล้างจานให้กลุ่มแม่บ้าน สาธิตการเพาะต้นกล้า ของพืชพันธุ์ต่างๆ ให้ชาวบ้านได้รู้จักและเรียนรู้เพ่ือสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ทั้งยังเป็นการส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวพระราชด�ำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเป็นไปตามหลักค�ำสอนของหลักศาสนา อิสลามอีกด้วย ท่ีสอนให้รู้ถึงบาปบุญของการใช้ชีวิตอย่างฟุ้งเฟ้อสุรุ่ยสุร่าย และไมเ่ นน้ ให้ติดหนสี้ นิ ใคร แตต่ อนนด้ี ูเหมือนวา่ กัมปงกตี อจะไม่สงบแลว้ เพราะมกี ารระบาดของ ยาเสพตดิ โดยเฉพาะใบกระทอ่ มเปน็ ยาเสพตดิ ทร่ี ะบาดอยา่ งมหนั ต์ หลายๆ คน ไมส่ บายใจ กลวั และเปน็ หว่ งคนทยี่ งุ่ เกยี่ วกบั เรอื่ งเลวรา้ ยเหลา่ น้ี กมั ปงกตี อกำ� ลงั จะเน่าเหม็นเพราะใบกระท่อม เพราะขาดการศึกษาและขาดจิตใจท่ียึดมั่นกับ หลกั ค�ำสอนของศาสนา ขณะท่กี �ำลงั น่งั เขียนเรยี งความเร่ืองนี้กไ็ ด้ดขู า่ วชว่ งเชา้

เรอื่ งดๆี ท่ีบ้านเรา 65 ของวนั ท่ี ๑๔ มนี าคม พ.ศ.๒๕๕๕ เปน็ ขา่ วเกย่ี วกบั การสบั ชนิ้ สว่ นของเดก็ ทารก แล้วน�าไปท้ิงถังขยะ เม่ือได้ดูแล้วท�าให้เกิดความรู้สึกว่า ท�าไมสังคมปัจจุบัน ถงึ ไดเ้ ลวรา้ ยเหลอื เกนิ มนั นา่ กลวั ขนึ้ เรอ่ื ยๆ อะไรเปน็ เหตใุ หค้ นเรามจี ติ ใจทเ่ี สอื่ ม ไดข้ นาดนี้ ความยากจน ความกลวั หรอื ความไรซ้ ง่ึ การศกึ ษาหรอื เพราะไรศ้ าสนา กลัวเหลือเกิน กลัวว่าเร่ืองราวเหล่านั้นจะเกิดขึ้นในกัมปงท่ีน่าอยู่ของฉัน และในอกี มุมหน่งึ ท่ีไดข้ ้อคิดจากขา่ วทดี่ ู คอื คนทไ่ี ปพบซากทารกนัน้ คอื คนที่ไป คุ้ยเขีย่ กองขยะเพอื่ หาวัตถุทส่ี ามารถนา� มาขายหาเงนิ ประทงั ชวี ติ ไปวันๆ ตรงน้ี ท�าให้รู้สึกว่าคนเหล่าน้ีน่าสงสารเหลือเกิน สะท้อนให้เห็นถึงความยากล�าบาก ของคนในสังคมใหญ่ๆ ความแตกต่างของผู้คนในเมืองใหญ่ระหว่างคนรวย กบั คนจนมนั ชา่ งชดั เจนเหลอื เกนิ แตห่ ากนา� มาเปรยี บกบั กมั ปงกตี อ แลว้ ยงั รสู้ กึ ภูมิใจมากกว่า อย่างน้อยคนในกัมปงยังรู้จักใช้ชีวิตอย่างพอเพียงรู้จักการ แบ่งปัน ความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ยังมีให้เห็น การรู้จักและพอใจในสิ่งท่ีพระเจ้า ประทานให้ พระเจ้าสอนให้เรารู้จักท�ามาหากินความสุขท่ีมีอยู่เรายังสัมผัสได้ แม้ว่ากัมปงกีตอจะมีสถานการณ์ของภาคใต้ มันยังถือว่าเป็นส่วนเล็กน้อย ถ้าเทียบกับประเทศอ่ืน กัมปงกีตอมีครอบครัวของศาสนาพุทธ เราอยู่ด้วยกัน ได้อย่างมีความสุข ทุกคนรักใคร่กลมเกลียวปรองดองกัน มีความสามัคคี ทแี่ น่นแฟ้นซึง่ เป็นอยา่ งน้มี านานและตราบจนทกุ วนั น้ี



เรอ่ื งดๆี ที่บา้ นเรา 67 เรอ่ื งดีๆ ทบ่ี ้านเรา นายนสั รูลเลาะห์ อาแว รางวัลชนะเลิศ ระดบั มัธยมศึกษา ท่ามกลางสังคมโลกที่ไม่หยุดนิ่งในกาลปัจจุบัน พ้ืนที่เล็กๆ พ้ืนที่หน่ึง ถกู มองวา่ เปน็ ทท่ี อ่ี นั ตรายซง่ึ เกลอ่ื นไปดว้ ยศพของผบู้ รสิ ทุ ธิ์ กลนิ่ ฟงุ้ คาวของกอง เลือดท่ีสัมผัสได้ถึงการสูญเสีย และยังเป็นที่ที่ถูกขีดเส้นแบ่งแยกให้เป็นพื้นท่ี ตอ้ งห้าม ไมม่ ีใครเลยทก่ี ล้าล้ำ� เสน้ ผ่านเข้ามา เพียงเพราะสถานการณท์ ี่เกดิ ขนึ้ ไม่เว้นแต่ละวัน แต่ภายใต้เหตุการณ์อันขมข่ืมท่ีเกิดขึ้นนั้น จะมีเพียงสักก่ีคน ที่รู้ว่า ณ พื้นท่ีตรงนี้มีเรื่องราวดีๆท่ีบรรพบุรุษได้ทิ้งไว้ให้ชนรุ่นหลังสืบทอด เรียนรู้ และอนุรักษ์ เพื่อคงไว้ซ่ึงความงดงามในความหลากหลายให้อยู่คู่ พ้ืนทเ่ี ล็กๆ พ้ืนทน่ี ี้ พื้นท่ีท่ีมีแต่เร่ืองราวดีๆ พ้นื ทที่ บ่ี ้านเรา ภาคใต้เหตุการณ์อันเลวร้ายที่ได้พรากชีวิตของคนออกจากกันน้ัน ได้สร้างความระทมทุกข์และหยดน้�ำตาแห่งการจากลาโดยไร้วันกลับมาอย่าง มากมายมหาศาล แต่ในขณะเดียวกัน เหตุการณ์เหล่าน้ันก็มิอาจพราก ของความสวยงามของความหลากหลายทอี่ ยคู่ บู่ า้ นเราไปได้ เทา่ ทผ่ี มจ�ำความได้ เปน็ เวลากวา่ สบิ เกา้ ปที ไ่ี ดใ้ ชช้ วี ติ ในชมุ ชนตำ� บลราตาปนั ยงั อำ� เภอยะหรงิ่ จงั หวดั ปัตตานี สบิ เก้าปกี บั ความสขุ ท่ีไดร้ ่วมสร้างกับคนในหมบู่ ้าน สบิ เก้าปกี บั หลาย เร่ืองราวดีๆ ที่ได้พบเจอและได้ยินมา นั่นหมายความว่าเป็นเวลากว่าสิบเก้าปี ที่ได้รู้จักถึงความแตกต่างของศาสนา แผกความเชื่อ ซ่ึงสิ่งนี้คือที่มาของความ

68 เร่อื งดๆี ท่บี า้ นเรา หลากหลายในหลายๆ ดา้ น อันไดแ้ ก่ ดา้ นภาษา การแตง่ กาย การมีวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีทีด่ งี าม อันเป็นส่ิงมคี า่ ทชี่ นรุน่ หลงั ควรรักษาไวใ้ ห้ อย่คู ู่บ้านเรา เพราะไมว่ ่าเวลาจะผา่ นไปเนิน่ นานสกั เพยี งใด มนั ก็ยังเป็นส่ิงมคี ่า ท่ีไม่มีใครสามารถพรากดึงไปได้ และท่ีส�ำคัญมันจะอยู่ตรงน้ี ตรงท่ีบ้านเรา ตลอดไป ส�ำหรับเรื่องดีๆท่ีผมจะหยิบยกมาเล่าน้ัน ก็คงหนีไม่พ้นสิ่งท่ีผม ได้อารัมภบทไว้ข้างต้น นั่นคือความหลากหลายในพื้นท่ีบ้านเรา เป็นท่ีทราบ กันดีว่า คนในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้น้ัน มีภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ ของตนในการสอ่ื สาร คอื ภาษามลายพู นื้ เมอื ง ซง่ึ ไดร้ บั มาจากภาษามลายกู ลาง ของชาวมาเลเซีย ภาษามลายูพื้นเมืองบางคำ� อาจฟังดูคล้ายๆ กับภาษามลายู กลางได้แก่ และบางค�ำก็แตกต่างกันอย่างส้ินเชิง ค�ำท่ีมีลักษณะคล้ายกัน ค�ำวา่ กิน ภาษามลายูกลางคือมากัน ภาษามลายพู น้ื เมอื งคือมาแก ส่วนคำ� ท่ีฟัง ดูตา่ งกนั เช่น ค�ำว่า ใคร ภาษามลายูกลางพดู วา่ ซียาปอ ภาษามลายูพ้ืนเมอื ง คือปียอ และค�ำอ่ืนๆ อีกมากมายที่ทั้งฟังดูคล้ายๆกันและต่างกันออกไป อย่างไรก็ดีความแตกต่างในเร่ืองของการใช้ภาษา ไม่ได้หมายความว่าเราแบ่ง แยกการสอื่ สารออกจากกนั เพราะเทา่ ทเ่ี หน็ ตามรา้ นนำ้� ชาทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งสองขา้ ง ทางนั้น เต็มไปด้วยการสนทนาท่ีใช้ภาษาต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น อย่างไรก็ดีแม้บางที่ บางถ่ิน จะใช้ค�ำต่างกัน แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่าเรา จะไม่พูดจากัน เราต่างเข้าใจกันมากกว่าจะมาน่ังถกเถียงกันว่าค�ำไหนถูก ค�ำไหนผิด เพราะไม่ว่าจะมาแกหรือมากัน มลายูพื้นเมืองหรือมลายูกลางนั้น ต่างกใ็ ช้ค�ำวา่ รกั ท่ีพูดเหมอื นกนั ทกุ ท่ี ทุกถน่ิ วา่ กาซิกัน น่นั เอง นอกจากภาษาทใี่ ชส้ อ่ื สารแลว้ ณ พนื้ ทตี่ รงนเ้ี รายงั มเี รอ่ื งราวดๆี ทเี่ กยี่ ว กับความเช่ือท่ีต่างกัน อันเป็นบ่อเกิดของความหลากหลายท้ังทางด้านศาสนา

เรอ่ื งดีๆ ที่บ้านเรา 69 วฒั นธรรม ประเพณี การแตง่ กาย และพธิ กี รรมตา่ งๆ สงิ่ มคี า่ ทวี่ า่ นล้ี ว้ นแลว้ แต่ เป็นสีสันท่ีแต่งแต้มพื้นท่ีแห่งความว่างเปล่า ให้กลายเป็นที่ท่ีเต็มไปด้วยความ สวยงามอนั นา่ ภริ มย์ ซงึ่ ความสวยงามทวี่ า่ นน้ั คอื การทค่ี นในพน้ื ทบ่ี า้ นเรามกี าร นับถือศาสนาท่ีต่างกัน มีพิธีกรรมที่ต่างกัน และมีวัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน ประดุจไม้ต้นเดียวกัน แต่แตกฉานไปด้วยก่ิงก้านต่างๆท่ีมีส่วนประกอบเป็น ดอกไม้ต่างสี ตา่ งกลิ่น ตา่ งความหมาย เปน็ ที่น่าประทับใจและหลงใหลแก่ผคู้ น เช่นเดียวกันกับความหลากหลายท่ีได้กล่าวข้างต้น ไม่ว่าจะเป็น การเข้าวัด เพ่ือท�ำการสวดมนต์ของชาวไทยพุทธ การเข้ามัสยิดเพ่ือท�ำการละหมาด ของชาวมุสลิม การมีวันส�ำคัญของแต่ละศาสนา อาทิ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันตรุษอีด้ิลฟิตรี วันตรุษอีด้ิลอัฎฮา และวันส�ำคัญอ่ืนๆ อีกมากมาย สานกับการมีพิธีกรรมที่ต่างกันออกไป เช่น ชาวไทยพุทธมีการ ตักบาตรในตอนเชา้ มกี ารสวดมนต์ขอพร ทำ� บญุ ในเทศกาลต่างๆ สว่ นชาวไทย มสุ ลมิ กม็ กี ารอาซาน เพอื่ เรยี กผคู้ นเขา้ ทำ� พธิ ลี ะหมาดหา้ เวลา มกี ารจา่ ยซะกาต เมือ่ ครบรอบปี และอ่นื ๆ เป็นตน้ ไมเ่ พียงเท่านัน้ คนในพน้ื ที่นีย้ ังมกี ารแต่งกายทีต่ ่างกนั มีความโดดเดน่ เป็นเอกลักษณ์ของตน นั่นคือ ชาวมุสลิมหญิงมีการคลุมศีรษะหรือท่ีเรียกว่า การคลุมฮีญาบ การสวมหมวกหรือกะปีเยาะห์ของมุสลิมชาย การแต่งกาย ของชาวไทยพุทธที่มีการนุ่งผ้าไหมสีสันสวยงามในงานต่างๆ ท่ีเห็นได้ชัดเลย ก็คือ การแตง่ กายของผู้น�ำละหมาด หรอื ทเ่ี รยี กว่าโตะ๊ อหี ม่าม มกี ารสวมใส่เส้ือ โต๊บสีต่างๆ ท่ีเห็นบ่อยนักมักจะเป็นสีขาวท่ีแสดงถึงความบริสุทธิ์ของการ เปน็ ผนู้ ำ� คนในการละหมาดทกุ ๆ หา้ เวลา คกู่ บั หมวกกะปเี ยาะห์ หรอื ผา้ พาดหวั ท่ีเรียกว่าผ้าสาราบ่ันนั่นเอง กับอีกหนึ่งความแตกต่างที่นุ่งผ้าจีวรสีส้มเหลือง ของพระ ดูแล้วเหมือนแสงเทียนท่ีให้ความสว่างแก่ผู้พบกับความทุกข์ยาก

70 เร่อื งดๆี ทบ่ี ้านเรา ความมืดมนทัง้ ทางดา้ นร่างกายและจติ ใจ และยังเปรียบเสมือนแสงแหง่ ปญั ญา ท่ีส่องให้มนษุ ย์รู้ถูก รู้ผดิ และรจู้ กั ความดี ความช่ัวอีกด้วย แนน่ อนเหลอื เกินวา่ ความหลากหลายอันงดงามเหล่านี้เปรียบเสมือนบทเรียนท่ีย่ิงใหญ่อันเลอค่าท่ี หามิได้ในห้องเรยี น เพราะผมเชอ่ื มนั่ วา่ ไมม่ ีหอ้ งเรียนไหนทจี่ ะกลา่ วถึงความ หลากหลายอนั ลำ�้ คา่ ไดม้ ากมายเพยี งนี้ คงไมม่ ตี ำ� ราเลม่ ไหนทสี่ รา้ งสสี นั ตระการ ตาไดม้ ากเทา่ สสี นั ทถี่ กู แตง่ แตม้ จากความหลากหลายในพนื้ ทแี่ หง่ นี้ และคงไมม่ ี ผู้สอนท่านไหนอธิบายถึงความแตกต่างท่ีอยู่ภายใต้ความหลากหลายได้ ครอบคลุมมากเท่าการเรียนรู้ด้วยตนเองจากพื้นที่แห่งความหลากหลายน้ี ส�ำหรับผมแล้วความหลากหลายที่กล่าวข้างต้นจะสวยงามได้น้ัน ขึ้นอยู่กับคน ในชุมชนรู้จักเรียนรู้และเข้าใจถึงความแตกต่างนั้นได้อย่างลึกซ้ึง ช่างประเสริฐ นักที่เราเกิดมาท่ามกลางความไม่เหมือน ท่ามกลางความแตกต่างท่ีไม่ใช่ความ แตกแยก เพราะความแตกตา่ งทอี่ ยใู่ นบา้ นเรานนั้ คอื ความหลากหลายทสี่ วยงาม เปน็ ความหลากหลายที่หลายพ้นื ที่ไม่มี แตเ่ ป็นเรอ่ื งราวดๆี ท่ีมีในบา้ นเรา บนโลกกลมๆ ใบนี้มีค�ำสอนให้เรียนรู้อยู่มากมาย แต่เราไม่สามารถ ปฏิเสธได้ว่า ศาสนาและความเชื่อต่างๆ คือจุดเร่ิมต้นของหลายค�ำสอน ที่ถกู หลอมรวมเป็นหนึ่ง ซง่ึ ได้ประจักษแ์ ก่มนษุ ยแ์ ลว้ ท่ีวา่ ทุกศาสนาสอนใหท้ ุก คนเป็นคนดี ค�ำสอนของทุกๆศาสนาสอนให้ปฏิบัติแต่ส่ิงท่ีดี ละเว้นสิ่งท่ีไม่ พงึ ประสงคท์ ง้ั ปวง และศาสนายงั เปน็ เครอื่ งยดึ เหนย่ี วจติ ใจของผคู้ น เพอื่ ใหร้ จู้ กั ยบั ยงั้ ชง่ั ใจตอ่ สง่ิ อบายทงั้ หลาย อนั เปน็ คณุ ธรรมทอ่ี ยใู่ นจติ ส�ำนกึ ของศาสนกิ ชน ทุกคนท่ีพึงปฏิบัติเพ่ือการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเป็นปกติสุข ดังจะเห็นได้ ในชีวิตประจ�ำวันท่ีคนในพ้ืนท่ีให้เกียรติแก่บุคคลต่างศาสนาซึ่งกันและกัน เพราะเราตา่ งเปน็ สว่ นเตมิ เตม็ กนั แตเ่ รากม็ ชี อ่ งวา่ งแหง่ การเคารพตอ่ กนั แมเ้ รา จะมีความเช่ือท่ีไม่เหมือนกัน แต่ส�ำหรับคนท่ีนี่แล้วน้ัน ศาสนาและความเชื่อ

เรอ่ื งดๆี ท่ีบ้านเรา 71 ทตี่ ่างกัน ไมใ่ ชอ่ ุปสรรคตอ่ การเป็นเพือ่ นบา้ นท่ดี ีต่อกัน เพราะตั้งแตผ่ มเกิดมา ผมยังไม่เคยเห็นคนในหมู่บ้านทะเลาะกันในเร่ืองของการนับถือศาสนา ไม่เคย เห็นภาพของความขัดแย้งเกี่ยวกับท่านศาสดาของคนสองศาสนา แต่กลับเห็น ภาพคนสองคน สองความศรัทธามีความรัก และความเข้าใจต่อกัน เพราะ ทุกคนเชื่อว่า ไม่ว่าจะเป็นพระ ผู้ซึ่งเป็นผู้น�ำในศาสนพิธีของพุทธศาสนา หรอื จะเปน็ โตะ๊ อีหมา่ มที่เปน็ ผนู้ �ำในพธิ กี รรมต่างๆ ของชาวมุสลิม หรือจะเปน็ ใครก็ตามนั้น ทุกคน ทุกเพศ ทุกศาสนา เราสามารถรักและผูกพันกัน เพียง เพราะเราเขา้ ใจต่อกนั ประหน่งึ วา่ เราเป็นพี่น้องกัน ผูซ้ งึ่ มีหวั ใจเดยี วกนั นัน่ เอง เร่อื งราวดีๆ ไมไ่ ด้มเี พยี งแค่ความหลากหลายท่ีกลา่ วขา้ งต้น ยังมีเรอื่ ง ราวที่เก่ียวกับวิถีชีวิตของคนที่นี่อีกด้วย ท้ังในเร่ืองของการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมบวกกบั แนวคดิ ดๆี ตั้งแต่ยังเปน็ เดก็ เชน่ ให้รูจ้ ักขยนั อดทน เขม้ แข็ง และให้ศึกษาหาความรู้ ด่ังวจนะของท่านศาสดามูฮัมหมัดของศาสนาอิสลาม ทีไ่ ดก้ ลา่ วว่า “จงศึกษาเถดิ แม้ความรนู้ ้นั จะอยถู่ งึ เมืองจนี ” ที่เปน็ เช่นนเ้ี พราะ ใหท้ กุ คนตระหนกั ถงึ ความรอู้ นั เปน็ สง่ิ สำ� คญั ยงิ่ ทจี่ ะตอ้ งไขวค่ วา้ เพราะนอกจาก จะทำ� ตนใหเ้ ปน็ คนอยา่ งสมบรู ณแ์ ลว้ ยงั สามารถเลยี้ งชพี ของตนใหร้ อดไดใ้ นวนั ขา้ งหนา้ อกี ดว้ ย เหตนุ นี้ เี่ องทท่ี ำ� ใหส้ องขา้ งทางเตม็ ไปดว้ ยผปู้ กครองทม่ี าสง่ เดก็ ๆ ที่บ้านโต๊ะครูหรือคุณครู บ้างก็ถือต�ำราเรียน บ้างก็ถืออัลกุรอาน เพ่ือไปหา ความรู้ท้ังที่เป็นวิชาศาสนาและสามัญ ซึ่งพบได้ในช่วงเวลาเช้าๆ และพลบคำ�่ ของทุกๆ วัน นอกจากการปลูกฝังส่ิงดีๆ แล้ว ณ พ้ืนที่ตรงน้ียังมีของดีๆ ที่ก้องระบือไกล ซ่ึงถูกรวมไว้ในหนึ่งค�ำส้ันหน่ึงค�ำขวัญท่ีท่องดังก้องขึ้นใจ ชาวปัตตานี ทว่ี า่ “บดู สู ะอาด หาดทรายสวย รวยนำ้� ตก นกเขาดี ลกู หยอี รอ่ ย หอยแครงสด” หากพิจารณาอยา่ งถอ่ งแท้แลว้ ค�ำขวญั ขา้ งตน้ น้ันสือ่ ถงึ วถิ ชี วี ติ การเป็นอยู่ของคนท่ีน่ีในเร่ืองของการประกอบอาชีพและสภาพแวดล้อมของ

72 เรอ่ื งดๆี ทบี่ า้ นเรา พน้ื ท่ีน้ี มีการทา� ประมง การทา� เกษตร การเล้ียงสตั ว์ การท�าน้า� บดู แู ละลกู หยี แปรรปู สง่ ออกทง้ั ในและนอกประเทศและการทา� อาชพี อน่ื ๆ เปน็ ตน้ อาชพี ตา่ งๆ เหลา่ นลี้ ว้ นแลว้ แตม่ คี วามสา� คญั กบั คนทน่ี ท่ี ง้ั สนิ้ เพราะนอกจากจะสรา้ งรายได้ ให้แก่ชุมชน อย่างมากมายมหาศาลแล้ว ยังท�าให้ผู้ที่ว่างงานมีงานท�า ถือเป็น การหางานใหแ้ กผ่ ู้ไรโ้ อกาสและยังสรา้ งรายได้ให้แกค่ รอบครวั อีกด้วย ทสี่ �าคญั กว่าน้ัน การท�างานเป็นหมู่คณะของคนในชุมชน ท�าให้คนท่ีน่ีรู้จักการให้ การแบ่งปันและรู้จักความสามัคคีต่อกันเพ่ือให้งานน้ันส�าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี อันเป็นส่ิงส�าคัญอย่างย่ิงในการท�ากิจการงานทั้งปวง นับว่าเป็นความโชคดี อย่างย่ิงท่ีบ้านเราเต็มไปด้วยสิ่งดีๆที่เราทุกคนควรรักษาและอนุรักษ์ไว้ เพื่อให้ ชนรนุ่ หลงั ไดส้ านตอ่ เรอ่ื งราวในวนั วานใหด้ า� เนนิ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จากอดตี จนถงึ ปจั จุบัน สูอ่ นาคต และใหเ้ รื่องราวท่ีนา่ จดจา� เหล่าน้ีได้อยู่ค่แู ผ่นดนิ ดๆี ในพน้ื ท่ี แห่งนตี้ ลอดไป ภายใต้เปลือกตาท่ีมีน้�าหลั่งไหลรินกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน นี้ ลกึ ๆ แลว้ ก็ซ่อนรอยยม้ิ แหง่ ความภาคภูมใิ จไว้มากมาย เพราะเร่อื งราวในวัน วานท่ีถูกเล่าขานในวันนี้ สร้างความประทับใจให้กับผมเป็นอย่างมาก ถือได้ ว่าการเกิดมาเปน็ สว่ นหน่ึงของความหลากหลายบนแผน่ ดินสยามผืนนี้ เปน็ สง่ิ ทน่ี า่ ภมู ใิ จยงิ่ นกั จา� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทช่ี นรนุ่ หลงั ตอ้ งสบื ทอดและอนรุ กั ษไ์ ว้ ทงั้ ใน เร่ืองของความหลากหลาย และเรอ่ื งราวเกย่ี วกบั วถิ ีชวี ติ อันเปน็ ส่ิงท่จี ะบอกให้ แก่คนทัว่ โลกทราบวา่ นี่แหละคอื บา้ นเรา

เรอื่ งดๆี ท่ีบา้ นเรา 73 เรือ่ งดๆี ที่บ้านเรา เด็กชายรวีวัฒน์ สำ� เภานลิ รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๑ ระดบั มัธยมศกึ ษา “กลบั ไปปา่ ยปีนเขา สุขแมเ้ หงาที่ราวป่า สู่ออ้ มกอดมารดา สู่ศรัทธาแห่งลำ� เนา กลบั ไปนอนตากน�ำ้ ค้างกลางภปู ่า ยังสขุ กว่าตากไอแอร์แลพิษเนา่ ดอกไมป้ ่าโชยประท่ินกลน่ิ บางเบา สุขกว่าเมามลพษิ ทอนจติ โทรม” ผมอ่านพบบทกลอนทพ่ี อ่ แตง่ เอาไวเ้ มอื่ หลายปีมาแล้ว พ่อใชด้ นิ สอดำ� (ดนิ สอด้ามแบนๆ มนๆ สแี ดงทใ่ี ชก้ บั งานกอ่ สรา้ งของชา่ ง) ขดี เขยี นตัวหวดั ๆ ลงบนเศษไม้กระดานอัดทีพ่ อ่ ตัดทง้ิ ไว้ และกองรวมกับเศษไมอ้ น่ื ๆ ในหอ้ งเก็บ สัมภาระรอคัดแยกส่วนท่ีใช้ประโยชน์ต่อไม่ได้แล้วเพ่ือส่งท�ำการฌาปนกิจ... จากบทกลอนข้างต้นท�ำให้ผมนึกมโนภาพค�ำนึงย้อนกลับไปถึงวันวัยท่ีผ่านเลย มาเกอื บๆ จะ ๑๔ ปีของผม ตอนเด็กๆ ผมมักจะซุกตัวอยู่กับตักอุ่นๆ ในอ้อมกอดของคุณย่าเพ่ือ ฟงั นทิ านสนกุ ๆ และเร่อื งราวทย่ี อ้ นกลับไปในวัยสาวจนถึงวยั เดก็ ของคุณย่า ปู่กับย่าเปน็ คนภาคกลาง ดว้ ยฐานะทย่ี ากล�ำบากในยุคข้าวยากหมาก แพง จึงพากันระเห็จลงมาทางใต้ จนได้ลงหลักปักฐานอยู่ท่ียะลา...ปู่เล็งเห็น เสมือนมีญาณทิพย์ว่า ...“อยู่ที่น่ีไม่อดตายแน่นอน” ปู่กับย่าหัดกรีดยางอยู่ไม่

74 เรื่องดๆี ท่ีบ้านเรา นานกส็ ามารถท�ำไดอ้ ยา่ งแคลว่ คลอ่ ง จนเจา้ ของสวนยางพงึ พอใจและไว้วางใจ หากวนั ไหนฝนตกตดั ยางไมไ่ ด้ ปกู่ บั ยา่ กจ็ ะเขา้ สวนยางปลกู ผกั นานาชนดิ ไวเ้ กบ็ กินโดยไมต่ อ้ งซอ้ื หา ท่นุ รายจา่ ยลงไปไดอ้ กี โข ทสี่ ำ� คัญกค็ อื ไมม่ ีสารพษิ ตกค้าง ในพชื ผกั ทป่ี กู่ บั ยา่ ปลกู “ดนิ ทนี่ ปี่ ลกู อะไรกข็ นึ้ งามทงั้ นนั้ ” ปกู่ ลา่ วกบั ยา่ ผา่ นมา ถงึ พอ่ และผมดว้ ย ปกู่ บั ยา่ เกบ็ หอมรอมรบิ สรา้ งฐานะมาเรอ่ื ยๆ จนไดซ้ อ้ื หาทท่ี าง บ้านช่องอาศัยเป็นของตนเอง ซ่ึงแต่ก่อนนั้นครอบครัวของปู่อาศัยอยู่กงสี หมายถึงท่พี กั ของคนกรีดยาง ทีเ่ ถา้ แกส่ ร้างหยาบๆ ไว้ให้ลกู กุลีอยอู่ าศยั ส่วนพ่อกับแม่ของผมรับราชการครูทั้งคู่ วันหยุดช่วงปิดเทอมของผม และเป็นวันที่พ่อว่างเว้นจากงานราชการ พ่อก็จะพาผมตระเวนไปเท่ียว ตามสถานท่ีต่างๆ ท่ีไม่ไกลบ้านนัก คร้ังหนึ่งพ่อพาผมไปไหว้พระนอนที่วัดถ�้ำ (วัดคูหาภิมุข) พระนอนเป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ปั้นด้วยดิน เหนียวโดยใช้ไมไ้ ผ่เปน็ โครง สร้างขึน้ สมัยศรวี ิชัยรงุ่ เรืองราว พ.ศ. ๑๓๐๐ หรือ สมยั เดยี วกบั พระบรมธาตเุ มอื งนคร มขี นาดความยาว ๘๑ ฟตุ ๑ นวิ้ ประดษิ ฐาน ภายในถำ้� คหู าภมิ ขุ เดมิ ชอ่ื วดั หนา้ ถำ้� กรมศลิ ปากรขน้ึ ทะเบยี นเปน็ โบราณสถาน วดั คูหาภิมขุ มพี ระพทุ ธรปู สมยั ศรีวชิ ัย สมยั สุโขทยั สมยั อ่ทู อง ใกล้ๆ กบั วัดมี ภเู ขาก�ำปน่ั เปน็ ภูเขาหินออ่ นสีชมพู สวยงามมาก ปัจจุบันรัฐบาลไดใ้ ห้สัมปทาน แก่บริษัทเอกชนท�ำหินอ่อนจ�ำหน่าย หินอ่อนสีชมพูจากยะลามีความสวยงาม และมีชื่อเสียงระดับประเทศ คราวต่อมาพ่อพาผมไปเที่ยวชมความงามของเขื่อนบางลาง ซึ่งเป็น โครงการพัฒนาแหล่งน้�ำแห่งแรกของภาคใต้ และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ เขื่อนบางลางไดอ้ �ำนวยประโยชน์ ใหเ้ กิด ความอุดมสมบูรณ์แก่แหล่งน�้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภค และผลิตกระแสไฟฟ้า ใหค้ วามสวา่ งไสวไปทว่ั ทง้ั ภมู ภิ าค เขอื่ นบางลาง กกั กน้ั แมน่ ำ�้ ปตั ตานไี วท้ บี่ รเิ วณ บ้านบางลาง ต�ำบลเข่ือนบางลาง อ�ำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ห่างจาก

เรอ่ื งดๆี ทีบ่ ้านเรา 75 ตัวอำ� เภอเมือง ๕๘ กิโลเมตร ตัวเข่อื นเปน็ เข่ือนหินถมแกนดนิ เหนียว มคี วาม สงู ๘๕ เมตร สันเขือ่ นยาว ๔๓๐ เมตร กวา้ ง ๑๐ เมตร ตัวอา่ งเก็บน�ำ้ มคี วามจุ ๑,๔๒๐ ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นท่ีรับน้�ำเหนือเขื่อน ๒,๐๘๐ ตารางกิโลเมตร เหนอื สนั เขอื่ นขนึ้ ไปจะมศี าลาชมววิ ใหผ้ ไู้ ปเทย่ี วไดย้ ลความงามของธรรมชาตทิ ่ี ประกอบดว้ ยขนุ เขาสลบั ซบั ซอ้ นเปน็ ภาพทสี่ วยงามประดจุ ภาพวาดของจติ รกร พ่อยังพาผมโดยสารไปกับขบวนรถไฟ เพื่อเดินทางสู่เมืองหาดใหญ่ ไปช่ืนชมความศิวิไลซ์ของเมืองท่ีได้ช่ือว่าเป็นเมืองหลวงของภาคใต้ เมือง ศนู ยก์ ลางดา้ นการคา้ และธรุ กจิ ของภาคใต้ ซง่ึ มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ และเปน็ ประตผู า่ นไปยงั ประเทศเพอื่ นบา้ น คอื มาเลเซยี และสงิ คโปร์ เนอื่ งจาก อยหู่ ่างจากดา่ นสะเดาเพียง ๖๐ กโิ ลเมตร ปัจจัยทที่ ำ� ให้มีความเจริญกา้ วหนา้ เป็นอย่างมากก็คือ การเป็นศูนย์กลางทางด้านต่างๆ ธุรกิจการค้า การขนส่ง การส่ือสาร การคมนาคม การศึกษา และการทอ่ งเทย่ี ว ...ตัวเมอื งหาดใหญ่เปน็ เมืองท่ีคอ่ นข้างจะทนั สมยั ประกอบด้วยอาคารบา้ นเรอื น รา้ นค้าพาณชิ ย์ต่างๆ มากมาย สามารถเดนิ ชมสินค้าต่างๆ อย่างเพลดิ เพลนิ โดยต้ังต้นจากจดุ หนึ่งใน ย่านกลางใจเมือง เช่น ถนนนิพัทธ์อุทิศ ๑, ๒ หรือ ๓ แล้วท่านจะพบสินค้า แปลกๆ ใหมๆ่ ทนี่ า่ สนใจเปน็ อยา่ งยงิ่ ศนู ยก์ ารคา้ มหี ลายแหง่ อาทิ ศนู ยก์ ารคา้ ลิโด ศูนย์การค้าโอเดียน ถนนเสน่หานุสรณ์ ศูนย์การค้าหาดใหญ่พลาซ่า และตลาดชีกิมหยง ถนนเพชรเกษม ซึ่งสามารถเดินไปได้อย่างสะดวก และ ตั้งอยู่ไมไ่ กลกนั นกั อกี ครงั้ หนง่ึ พอ่ พาผมไปดกู ารแขง่ ขนั นกเขาชวาเสยี งอาเซยี นทต่ี วั เมอื ง ยะลา บรเิ วณสวนขวัญเมืองยะลา ซึง่ เปน็ การแขง่ ขนั นกเขาชวารายการยงิ่ ใหญ่ ท่ีสุดของประเทศ และเกิดขึน้ ท่ีนีท่ กุ ปใี นช่วงต้นเดอื นมนี าคม เป็นการประชนั เสียงนกเขาเสียงดีจากทั่วประเทศ รวมถึงประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น มาเลเซีย สงิ คโปร์ อนิ โดนเี ซยี และบรูไน นกเขาชนดิ นเี้ ปน็ นกเขาทีม่ ีขนาดเล็ก จะมีเสยี ง

76 เร่ืองดีๆ ท่ีบ้านเรา ขันไพเราะเป็นที่ช่ืนชอบของคนท่ัวไป นอกจากนี้ยังเช่ือถือกันว่า นกเขาชวา เปน็ นกทน่ี ำ� โชคลาภมาใหแ้ กผ่ ูเ้ ลย้ี งอีกด้วย อีกสนามแข่งนกท่ีมีความนิยมคึกคักไม่แพ้กัน หรืออาจจะทะลุขีด ความนยิ มแซงหนา้ การแขง่ ขนั นกเขาชวาไปแลว้ กไ็ มแ่ น่ เนอื่ งเพราะผคู้ นทกุ กลมุ่ อาชีพและฐานะ ต่างพากันเล้ียงเป็นงานอดิเรกกันทุกครัวเรือนไปแล้ว น่ันคือ การแขง่ ขนั นกกรงหัวจกุ หรือช่ือทางการวา่ นกปรอดหวั โขนเคราแดง จนกลาย เป็นทีม่ าของตำ� นานกล้วยหินบันนังสตาและธารโต พอ่ เคยเลา่ ใหฟ้ งั วา่ แตก่ อ่ นกลว้ ยหนิ ไมม่ คี า่ อะไร คนไมน่ ยิ มรบั ประทาน กัน ทงั้ ไมน่ ยิ มปลูกเพราะราคาถกู มาก เนอ้ื ของกลว้ ยหินจะแข็ง ไมน่ ุม่ เหมอื น กลว้ ยไข่ กลว้ ยหอมหรอื กลว้ ยนำ�้ วา้ หากจะรบั ประทาน ตอ้ งนำ� ไปตม้ ใหส้ กุ กอ่ น และด้วยความบังเอิญ หรือความลงตัวของธรรมชาติท่ีจะรักษาพันธ์ุของ กล้วยหินเอาไว้ให้อยู่คู่บันนังสตาและธารโต จึงได้ค้นพบว่า กล้วยหินต้มจาก สามแยกบ้านเนียง บนถนนสายเก่าท่ีใช้ขนส่งผู้คนสิ่งของเดินทางจากยะลาสู่ จังหวัดทางส่วนบนของแผนที่ประเทศ เช่น ปัตตานี สงขลา พัทลุง นครศรีธรรมราช จนกระท่ังกรุงเทพมหานคร ซึ่งต้องสัญจรผ่านถนนสายนี้ กล้วยหินจึงเป็นจุดขายและจุดเดน่ ของสามแยกบา้ นเนยี งในเวลาตอ่ มา กระทง่ั ยกตัวข้ึนเป็นหนึ่งในของดีเมืองยะลา ผู้คนสัญจรผ่านไปมาจะต้องแวะซ้ือ แวะชมิ หรอื ซอื้ กลบั ไปเปน็ ของขวัญของฝาก จนเป็นที่ร่�ำลือ ...อนึ่ง กล้วยหนิ ไม่สามารถน�ำไปปลูกในท้องถ่ินอ่ืนให้ได้ผลเหมือนท่ีบันนังสตาและธารโตได้ ถึงปลูกได้ ก็จะให้ผลเหมือนผลผลิตจากแหล่งก�ำเนิดนั้นไม่ได้ เนื้อผลจะลีบ เลก็ ลง ผลจะดูเหี่ยวไม่เต่งตงึ และเปลือกกลว้ ยกม็ ักจะติดกบั เนอ้ื กลว้ ย ล่วงเวลาต่อมา ความพิเศษของกล้วยหินดูจะเพ่ิมขยายมากข้ึนเรื่อยๆ เม่อื มผี คู้ นน�ำกลว้ ยหินไปทอดทำ� เปน็ กล้วยแขกขาย ไดร้ สชาตดิ ีกว่ากลว้ ยอ่ืนๆ มีการน�ำไปแปรรูปท�ำเป็นกล้วยหินฉาบ ก็ยังมีรสชาติอร่อยน่ารับประทานกว่า

เรื่องดๆี ทบี่ ้านเรา 77 กลว้ ยน้ำ� ว้าฉาบ สเี หลืองสวยอมชมพูของกล้วยหินฉาบก็ดดู นี ่ารับประทานกวา่ กล้วยน�้ำว้าฉาบที่มีสีออกคล�้ำๆ ด่างๆ ท�ำเอากล้วยน�้ำว้าฉาบจากพัทลุงท่ีเคย ลอื ชือ่ มากอ่ นต้องซบเซาลงทนั ตา ความนิยมกล้วยหินบันนงั สตาและธารโต ยงั ไมห่ ยุดอยู่แคน่ ี้ เมอื่ กลุ่ม ผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุก น�ำกล้วยหินไปใช้เลี้ยงนก จนกลายเป็นอาหารหลักของ นกกรงหัวจุกไปแล้ว ออร์เดอร์จากการส่ังซ้ือกล้วยหินบันนังสตาและธารโต กพ็ งุ่ พรวดพราด เรยี กวา่ ผลิตกันไมท่ ันผบู้ รโิ ภค ราคาของกลว้ ยหนิ จากวันวาน ทไ่ี รค้ า่ กถ็ บี ตัวขึ้นแซงหน้าราคาของกลว้ ยชนิดอืน่ ในท้องตลาดไปแลว้ ...“อยู่ทน่ี ่ไี ม่อดตายแนน่ อน” คำ� พดู ของปเู่ มอ่ื วนั แรกทก่ี า้ วเทา้ ลงจากขบวนรถไฟ ณ สถานรี ถไฟยะลา กับลังแฟ้บบรรจุสัมภาระเพียงคนละใบกับย่า (ลังแฟ้บคือลังบรรจุผงซักฟอก สมยั กอ่ นแฟบ้ เปน็ ผงซกั ฟอกยห่ี อ้ แรกๆ จงึ เรยี กแฟบ้ แทนผงซกั ฟอกกนั ตดิ ปาก เหมือนเรียกบะหมี่ส�ำเร็จรูปว่ามาม่า เรียกแชมพูสระผมว่าแฟซ่าท�ำนองน้ัน) ปคู่ งมองเหน็ ความอดุ มสมบรู ณข์ องผนื แผน่ ดนิ ทเี่ ขยี วขจไี ปดว้ ยผลหมากรากไม้ อยู่ท่ัวทุกหัวระแหง คงแตกต่างจากบ้านเกิดของปู่มาก ปู่จึงม่ันใจเช่นน้ัน จริงๆ ด้วย มิใช่แต่กล้วยหินที่กล่าวถึงเท่านั้น ท่ีเจริญงอกงามบนผืนดินนี้ เงาะโรงเรียน ทเุ รียนหมอนทอง ชะนี กา้ นยาว กใ็ หผ้ ลผลิตดกี วา่ ทีไ่ ดๆ ผมยัง เสียดายท่ีพ่อเคยเล่าว่า ผลไม้ป่าอีกมากมายท่ีข้ึนตามธรรมชาติกลางป่าเขา ต้องสูญพันธุ์ลงเนื่องเพราะเจ้าของพื้นที่มีความจ�ำเป็นจะต้องหักล้างถางพง ให้หมดสิ้นเพื่อลงพืชเศรษฐกิจที่สำ� คัญๆ และได้ราคาท่ีคุ้มค่า อาทิ ยางพารา เป็นหลกั ตามมาด้วยผลไม้ทรี่ าคาดี เช่น ทุเรยี น ลองกอง เงาะโรงเรียน แล้วก็ ปลูกแซมด้วยกลว้ ยหนิ ให้เกิดความชนื้ เย็น ผมเคยขา้ มฟากชายแดนไปยังประเทศมาเลเซียกบั พ่อ ด้านที่ชายแดน ติดต่อกับอ�ำเภอเบตง ทางฝั่งมาเลเซีย มีชาวบ้านแถบน้ันได้น�ำผลไม้ป่าที่พ่อ

78 เร่ืองดีๆ ท่บี า้ นเรา เคยเล่าถึง มาวางขายในตลาด ณ จุดพักรถบนมอเตอร์เวย์ ผลไม้ที่กล่าวถึง ท่ีบ้านเราไม่เคยมีค่า และไมค่ อ่ ยมใี ครนยิ มรับประทานกัน เช่น ลูกลังแข ละไม มะไฟ ลกู หยี เนียงนก เงาะป่า ฯลฯ ผ่านมาถึงทกุ วันนี้จงึ กลายเป็นผลไมห้ ายาก กลับมีราคาแพงขึ้น ...ผลไม้ป่าไม่ต้องปลูก ไม่ต้องรดน้�ำใส่ปุ๋ย ไม่มีต้นทุน การผลิต กลับสรา้ งรายได้เป็นกอบเปน็ ก�ำแก่ชาวมาเลเซยี ไปอยา่ งน่าเสยี ดาย ผมเป็นพุทธศาสนิกชน ท่ีเกิดและเติบโตอยู่ท่ามกลางสังคมมุสลิม มีเพ่ือนๆ เป็นมุสลิม กินนอนเท่ียวเล่นและเรียนร่วมช้ันกันมาตั้งแต่เด็ก ผมไดซ้ มึ ซบั ประเพณแี ละวฒั นธรรมของพวกเขามาตลอด เขาถกู จดั ระเบยี บดว้ ย ความศรัทธาต่อพระเจ้าอย่างเคร่งครัด ในทุกๆ วันจะต้องทำ� ละหมาดวันละ ๕ เวลา ในทกุ ๆ ปีพวกเขาจะต้องถือบวชโดยการถือศลี อดราว ๓๐ วนั ในเดือน รอมฎอน เม่ือส้ินสุดรอมฎอน ก็จะมีการเฉลิมฉลอง กินเท่ียวออกเย่ียมเยียน ญาติพ่ีน้อง สวมใส่เสื้อผ้าใหม่ๆ อวดโฉมกันในวันฮารีรายอ ส�ำหรับผมก็แทบ จะกลมกลนื ไปกับประเพณวี ัฒนธรรมของมุสลมิ ประเพณีวัฒนธรรมของเขายังมิหมดเพียงนี้ ...ยังมีประเพณีการ กวนอาซูรออ์ ซึ่งเป็นการน�ำเอาอาหารหลากหลายชนิดที่มอี ยหู่ รอื เก็บสะสมไว้ มาใสล่ งในกระทะใบใหญร่ วมกัน เตมิ น�้ำลงคอ่ นกระทะ แล้วช่วยกันกวนจนเละ เป็นเน้ือเดียวกัน กวนไปพอหมาดๆ แล้วตักใส่ถาดผึ่งลมพอแห้ง ก็แบ่งกันรับ ประทาน อาชูรออ์ แปลว่า วันที่ ๑๐ เป็นวันไว้อาลัยโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้น ตอ่ อมิ ามฮเุ ซนบนิ อะลยี ์ บนิ อะบฏี อลบิ เนอ่ื งจากถกู สงั หารในสงคราม อฏั ฏอ็ ฟ ในอิรกั เมื่อวนั ที่ ๑๐ มฮุ ัรรอม ฮ.ศ. ๖๑ ซึ่งตรงกบั วันท่ี ๑๐ ตุลาคม ค.ศ. ๖๘๐ มุสลิมในประเทศไทย มีการท�ำอาหารชนิดหน่ึงเรียกว่า บูโบร์อาชูรอ เป็นค�ำ ในภาษา มลายูปาตานี–กลันตัน ผมเคยร่วมรับประทาน และติดใจรสชาติ ออกมันๆ กลมกล่อมของอาหารประเภทนี้ไม่แพ้ ข้าวย�ำน้�ำบูดู แกงมัสม่ัน นาซดิ าแฆ ขา้ วหมก แม้กระท่ัง ละซอ ละแซ ...ยังมอี กี วนั สำ� คญั หน่งึ เรยี กกนั ว่า

เรอ่ื งดีๆ ที่บ้านเรา 79 วันเมาลิด ซงึ่ หมายถงึ สถานทเ่ี กดิ ของท่านนบมี ุฮัมหมดั (ซ.ล.) เกิดในวันท่ี ๑๒ เดอื นรอบีอลุ เอาวัล มสุ ลมิ ในบางสังคมได้แสดงออกถึงความรัก การให้เกยี รติ ยกยอ่ ง ทา่ นนบีมุฮัมหมดั (ซ.ล.) โดยจดั งานคลา้ ยวนั เกิดของทา่ นขน้ึ ……………………………… ล่วงมาเกือบหมดวัน...คุณตะวันย้ายตัวเองไปแอบซ่อนอยู่หลังแนว ของต้นยางพาราและกอไผ่ตง หลุดลอดมาเพียงล�าแสงสีส้ม เสียดพาดเป็นล�า ยาวมาทางทผ่ี มนงั่ อยู่ ภาพทส่ี วยงามตรงหนา้ ทา� ใหผ้ มหยดุ คดิ คา� นงึ ถงึ เรอ่ื งราว แต่หนหลัง และเรื่องเล่าในอดีตของพ่อ แสงสีส้มอ่อนๆ อาบชีวิตทุกชีวิตไว้ ในออ้ มกอดธรรมชาติ ...พลางตระหนักไดว้ ่ายงั ไม่มอี ะไรตกถึงท้อง ...แตไ่ มต่ อ้ งเปน็ ห่วงผมหรอกครบั คุณ...เพราะผมจา� ค�าของป่เู สมอ... ...“อยู่ท่ีนี่ไมอ่ ดตายแนน่ อน”

80 เรอื่ งดๆี ท่ีบา้ นเรา เรอื่ งดๆี ท่บี า้ นเรา นายอษั ฎาวุธ ไชยวรรณ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ ระดับมัธยมศึกษา ภาพทิวทัศน์สวยงามตระการตา ยามเช้าหมอกขาวปกคลุมทั่วทิศา อากาศเยน็ สบาย อยทู่ ่ามกลางออ้ มกอดแหง่ ขุนเขา แสงอาทติ ยอ์ อ่ นๆ สาดสอ่ ง ลงมาตรงก่งิ กา้ นใบของตน้ ยาง สะทอ้ นสหู่ มอกขาวสลัว สลับแสงสีทองปนขาว เหมือนไฟฉายสอ่ งยามราตรที ม่ี ืดมดิ ตน้ ยางยนื ตน้ เรียงรายขนาบข้างสองถนน เสมือนก�ำลังรอผู้มาเยือนหมู่บ้านบนเขาแห่งนี้ ซึ่งตั้งอยู่ในหมู่ท่ี ๔ หมู่ที่ ๑๐ ตำ� บลน�ำ้ น้อย อำ� เภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา ความอดุ มสมบรู ณพ์ นู สุขบนผืน ดินน้ีเต็มไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร หว่านพืชเมล็ดพันธุ์ใดลงดินก็ย่อมเจริญ งอกงามตามใจหวัง เพราะมีแม่นำ้� ล�ำคลองไหลผ่านรอบนอกหมู่บ้านมิเคยขาด สาย ดง่ั คำ� กลา่ วขานนานมาถงึ ชอื่ เสยี งเลอ่ื งลอื วา่ “น�้ำนอ้ ยนา่ อยู่ ภเู ขากน้ั กลาง ขนาบข้างสองถนน ผู้คนมีศักด์ิศรี มากมีวัฒนธรรม” และขนานนามว่า “คนนำ�้ นอ้ ย มากน้�ำใจ” ระยะเวลาผา่ นมาราว ๓-๔ ปกี อ่ น ผมตน่ื นอนตอนเชา้ ออกมาสดู อากาศ บรสิ ทุ ธแิ์ สนสดชนื่ นอกบา้ น เหน็ ปกู่ �ำลงั เขา้ ไปในคอกววั ประหนงึ่ วา่ ถงึ เวลาแลว้ ท่ีพวกเราจะต้องท�ำหน้าที่ของตนเอง แววตาแห่งความผูกพันที่มองกันอย่าง ซาบซึ้งระหว่างปู่กับเพื่อนคู่ทุกข์คู่ยากท้ังสามตัว แต่ละตัวล้วนผ่านการท�ำงาน หนักเพื่อสังคมมาแล้วทั้งน้ัน ตัวแรกสีขาว ตัวโตก�ำย�ำ เขาแหลมชื่อหน้าขาว อีกตวั หนึ่งสีนำ�้ ตาลอมแดง ลกั ษณะเดน่ ของมนั จะดำ� เฉพาะหนา้ และขาทัง้ สี่ชอ่ื

เร่ืองดีๆ ท่ีบ้านเรา 81 หนา้ ดำ� ตวั สดุ ทา้ ยชอ่ื หางดอก หางของมนั จะสวยโดดเดน่ กวา่ ตวั อนื่ แตม่ นั อายุ มากแล้วเดินไม่ค่อยไหว ทั้งสามตัวดีใจที่จะได้ออกจากคอกที่กักขังพวกมัน ท้งั คนื เพราะจะได้สมั ผสั กลิน่ หญา้ หอมๆ อกี ครัง้ กอ่ นพระอาทติ ยจ์ ะลาลับโลก ก็จะต้องจ�ำใจมาถูกจองจ�ำเช่นเดิม ก้าวแรกเม่ือย่�ำรุ่งท่ีพวกมันรู้สึกถึงก็คือ อสิ รภาพในโลกกวา้ ง ปเู่ ขาเดนิ จงู แมว่ วั สาวสองตวั ลว่ งหนา้ ไปกอ่ น มอื ของปถู่ อื เชือกพร้อมไม้เรียว ผิดกับผมซึ่งไม่ถืออะไรสักอย่างเดินตามหลังหางดอกอย่าง ชา้ ๆ แคน่ ค้ี วามสขุ กบ็ งั เกดิ โดยไมต่ อ้ งบงั คบั ขเู่ ขญ็ แตอ่ ยา่ งไร จดุ หมายปลายทาง ข้างหนา้ คอื ลานหญ้ากลางทุ่งนาบนโลกกวา้ ง ตามรายทางที่เดินผ่านมาเกือบๆ ครึ่งทางผมมองเห็นสิ่งหน่ึงซึ่งกำ� ลัง สน่ั ไหวอยบู่ นตน้ ไม้ ทนั ใดเสยี งปกู่ ด็ งั ขนึ้ ดว้ ยค�ำกลา่ วทกั ทาย คณุ ลงุ ทอี่ ยขู่ า้ งบน ส่งรอยย้ิมแทนค�ำตอบ ใต้ต้นตาลโตนดมีเพียงไม้ไผ่ท่อนหนึ่งพาดติดกับล�ำต้น เขาข้ึนไปได้อย่างไรผมแสนสงสัย อีกต้นหนึ่งก็มีลักษณะเช่นน้ีเหมือนกัน คุณลุงท่ีอยู่บนต้นตาลก็ลงมาส่งย้ิมให้ผมอีกครา ผมสังเกตเห็นว่าเขาสวมเพียง กางเกง เสอ้ื ไมไ่ ดใ้ ส่ แตผ่ กู ผา้ ขาวมา้ ไวท้ เ่ี อวแลว้ เหนบ็ มดี ปาดตาล และพยายาม ไต่ขึ้นไปอีกคร้ังโดยใช้ความสามารถเฉพาะตัว ผมมองคุณลุงปีนป่ายไปจนถึง ยอดตาล และนกึ ในใจวา่ คนเราบางครง้ั หากไมก่ ลา้ เสยี่ งหรอื ลงมอื ทำ� กไ็ มม่ ที าง จะประสบความส�ำเร็จมือสองข้างของคุณลุงประคองมีดแล้วค่อยๆ ปาดงวง ตาล(ช่อดอก)อย่างช้าๆ รอการไหลลงสู่กระบอกไม้ไผ่ท่ีผูกติดไว้เป็นภาชนะ รองรับโดยมีเศษไม้เค่ียมชิ้นบางๆ วางไว้ก้นกระบอกเพื่อช่วยให้น้�ำหวานไม่มี รสเปรี้ยว น้�ำหวานท่ีได้สามารถแปรรูปเพ่ิมมูลค่าได้โดยการเคี่ยวให้เป็นนำ้� ผึ้ง เรียกว่า น้�ำตาลเหลว นอกจากน�้ำหวานท่ีหอมอบอวลนี้แล้ว ต้นตาลโตนด สามารถน�ำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ กุ สว่ นอาจจะมคี า่ กวา่ มนษุ ยบ์ างคนทไ่ี มเ่ คยสรา้ ง คุณประโยชน์อันใดแก่สังคม แต่กลับสร้างความเดือดร้อนแก่ชาวบ้านมิเว้น แต่ละวันในห้าชายแดนใต้ ต้นตาลสูงใหญ่สามารถนำ� ล�ำต้นไปท�ำหลังคาบ้าน หรอื ไมแ้ ปรรปู เฟอรน์ เิ จอรป์ ระดบั ตกแตง่ บา้ นไดอ้ ยา่ งสวยงามอกี ดว้ ย และใบตาล

82 เร่อื งดีๆ ท่ีบ้านเรา ก็สามารถท�ำหลังคามุมจากหรือหมวกสานใยตาลได้ตามภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลุงไต่ลงมาจากต้นในมือถือกระบอกไม้ไผ่พร้อมน้�ำหวาน ใบหน้าย้ิมแย้ม เพราะว่าค�่ำคืนนี้อาจจะมีงานเล้ียงสังสรรค์ร่วมดื่มกินน้�ำตาลเมากับผองเพ่ือน ที่ขน�ำน้อยข้างคอกวัวบ้านคุณลุง พวกเขาก่อไฟไล่ยุงข้างกายกระบวยใช้ตัก น้�ำตาลเมาเพื่อด่ืมกิน จากคนแรกสู่คนต่อไปเรื่อยๆ จนถึงคนสุดท้ายแล้ว กลบั มาทเ่ี ดมิ เรยี กวา่ เวยี นรอบวง เสมอื นการยน่ื มติ รไมตรขี องคนในชนบทบา้ น เรา คณุ ลงุ เขาคงจะนกึ อะไรสกั อยา่ งถงึ ไดย้ มิ้ นอ้ ยยมิ้ ใหญ่ แลว้ เดนิ ทางกลบั บา้ น ดว้ ยกระบอกน้ำ� ตาลคลอ้ งเต็มบ่า การเดินทางของปู่และผมสิ้นสุดลงตรงจุดหมายปลายทางที่วางไว้ สมั ผัสแรกของหางดอกมนั ค่อยๆ ย่�ำเดนิ ลงนาแล้วเอนกายนอนคลุกลงกับหญ้า ออ่ นๆ เวลานมี้ นั ชา่ งมคี วามสขุ มากเหลอื เกนิ ยามแสงแดดสอ่ ง กวาดสายตามอง ทวั่ ทอ้ งนากวา้ งอนั เขยี วชอมุ่ อยา่ งสขุ ใจยงิ่ นกั ปนู่ ง่ั ลงแลว้ เลา่ ใหผ้ มฟงั วา่ ในอดตี ทนี่ ี่ เคยเปน็ ปา่ รกเรม่ิ แรกลงมอื ถางหญา้ รมิ ทางกอ่ น แลว้ จงึ ไถดะ เปน็ การไถนา เบอ้ื งตน้ เพอื่ ใหด้ ินร่วนลงบ้างจากเน้ือดินท่ีแขง็ หลงั จากนั้นไถตามรอยเดมิ อีก ๒ คร้ังเรียกวา่ ไถแปร เพื่อให้ดินละเอียดมากย่งิ ขน้ึ พอเสรจ็ กเ็ อาคราดมาเกลีย่ ดินจนเสมอกนั เมลด็ ข้าวท่แี ชน่ ้�ำค้างไว้ ๒ คนื กเ็ รมิ่ แตกรากออกมา แลว้ นำ� ไป หวา่ นในแปลง เฝา้ ฟมู ฟกั รกั ษา ๒ เดือนจึงเปน็ ตน้ กลา้ เก็บกล้าขน้ึ มาเตม็ กำ� มอื เป็นมัดๆ ลงมอื ไถดะอีกครัง้ แตค่ รง้ั น้ีตอ้ งมีนำ้� ขงั เรียกวา่ ไถด�ำ พอด�ำนาเสร็จ เอามูลค้างคาวมาหว่านในแปลงเพ่ือบ�ำรุงต้น ๒-๓ เดือน ข้าวจะตั้งท้อง เป็นรวงข้าวสีทอง ฤดูเก็บเกี่ยวก็มาถึง มือถือเคียวเกี่ยวข้าวอย่างขยันขันแข็ง โดยไม่ยอ่ ทอ้ ต่ออุปสรรคเบ้ืองหนา้ ชว่ งเวลาวา่ งหลงั จากเสรจ็ งาน ปกู่ จ็ ะออกเรอื ประมงหาปลาอกี ทางหนง่ึ เพื่อจุนเจอื ครอบครัว เรือท่ใี ชส้ ัญจรไปมาเปน็ เรอื ขดุ ท�ำมาจากไมญ้ างทงั้ ตน้ แต่ ไม่ใช่ยางพารา ล�ำต้นจะสูงใหญ่กว่าขุดด้วยขวานไต มีไม้ไผ่ยาวไว้ถ่อเรือ เครือ่ งมอื หาปลาเล้ียงชีพเมื่อคร้ังก่อนนนั้ มยี อ เป็นสเี่ หลีย่ มผกู กา้ นนวิ้ ๔ ท่อน

เร่อื งดๆี ทบ่ี ้านเรา 83 ไว้ดักปลาในน�้ำลึก อีกชนิดเป็นไซ ท�ำด้วยไม้ไผ่กลมๆ ไว้ดักปลาตอนน�้ำเช่ียว อีกอย่างที่คล้ายกันคือ จมรันท�ำด้วยกระบอกไม้ไผ่ยาวเมตร ๕๐ ซม.ไว้ดัก ปลาไหลโดยเฉพาะ มเี หยอื่ ปลู อ่ ไวข้ ้างในกระบอกไมไ้ ผ่ สงิ่ สุดท้ายก็คือ สมุ่ ปลา ท�ำด้วยไม้ไผ่เหลาเป็นซีกเป็นซ่ีแล้วค่อยๆ สานให้กลม จนเหลือช่องขนาดเล็ก พอที่จะล้วงมือลงไปจบั ปลาได้ เรือบางล�ำจอดเทียบท่า บ้างก็ล่องเรือไปมาหาสู่กับคนบางโหนดเป็น ประจ�ำเพื่อสานสัมพนั ธไ์ มตรโี ดยผ่านคลองขดุ คลองใหญ่และคลองใต้ ท้ังสาม คลองล้วนเช่ือมลงสู่ทะเลสาบสงขลาทั้งสิ้นซึ่งเป็นทะเลสาบท่ีใหญ่ท่ีสุดใน ประเทศไทย ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั สงขลา พทั ลงุ และนครศรธี รรมราช ประกอบดว้ ย แหลง่ น�้ำ ๓ ส่วน คือ แหลง่ นำ้� จืด นำ้� เคม็ นำ�้ กร่อย จงึ ไดช้ ื่อว่าเมอื งสามน้�ำ เกาะยอเป็นเกาะเล็กๆ ในทะเลสาบสงขลาล้อมรอบด้วยพรรณไม้ นานาชนิด เสน่ห์อีกอย่างหน่ึงของเกาะยอ คือ ผ้าทอเกาะยอ ที่โดดเด่นด้าน ลวดลายแปลกตา สะพานตณิ สลู านนทเ์ ปน็ สะพานทยี่ าวทส่ี ดุ ในประเทศไทยซง่ึ ยาวถึง ๒.๖ กม.เป็นการเปิดการจราจรติดต่อกันระหว่างบ้านนำ�้ กระจายผ่าน มายงั เกาะยอเชอ่ื มตอ่ ไปยงั เขานอ้ ยอกี ฝง่ั หนงึ่ ของแผน่ ดนิ ไดอ้ ยา่ งสะดวกสบาย รวดเรว็ นอกจากนย้ี งั เปน็ การเพม่ิ ความสวยงามใหก้ บั ทศั นยี ภาพของทะเลสาบ สงขลาอกี ดว้ ย หาดสมิหลา เป็นหาดทรายท่ีอยู่ท่ามกลางร่มเงาของทิวสน เกาะหนู เกาะแมวมองเห็นอยู่เบ้ืองหลังมิห่างไกล รูปปั้นนางเงือกส่งย้ิมทักทายแก่ผู้มา เยอื นทุกครา พอปเู่ ลา่ เรื่องราวในอดตี จบก็จูงมอื หลานน้อยกลับบา้ น พอช่วงสายๆ ผมก็เริ่มท�ำงานหารายได้เสริมจากฝูงวัวที่ปู่เล้ียงไว้โดย การตักมูลวัวใส่กระสอบเป็นปุ๋ยคอกราคากระสอบละ ๒๐ บาท เงินทุกบาท ทีห่ าไดด้ ว้ ยตนเองท�ำใหเ้ รารู้สกึ ภาคภูมใิ จ ลานกวา้ งหนา้ บา้ นเป็นแปลงผักสวน ครัวปลอดสารพษิ ของยา่ ทป่ี ลกู ไว้กินกันในครอบครัว โดยยดึ หลกั เศรษฐกิจพอ เพียงตาม คำ� สอนของพอ่ หลวง ภาระงานเสรจ็ สิน้ ด้วยใจมงุ่ มน่ั ตะวันเริม่ บา่ ย

84 เรอื่ งดีๆ ท่บี ้านเรา คลอ้ ยลงมาซง่ึ เปน็ เวลาพกั ผอ่ นของผม จกั รยานคนั เกา่ ขช่ี มทวิ ทศั นร์ ะหวา่ งทาง พอถึงหลาแหลมซอก็หยุดรถยกมือไหว้ทวดตาขุนด�ำ ซึ่งเป็นส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ประจำ� หมบู่ า้ นเสรจ็ จงึ เดนิ ตรงไปทศ่ี าลาใตต้ น้ มะขามยกั ษค์ อ่ ยๆ ลม้ ตวั ลงนอน สายตามองไปยงั รมิ ถนนลพบรุ รี าเมศวร์ เหน็ แมค่ า้ ขายกระทอ้ นยาวเหยยี ดและ หนงึ่ ในนนั้ มยี า่ ผมดว้ ย พอตกเยน็ ใกลม้ ดื คำ่� สองมอื ผมเขน็ รถทบี่ รรทกุ กระทอ้ น เพียงไม่กี่ลูก พอถึงหลาแหลมซอย่าก็ไปจุดประทัดแพด่ังล่ันท่ัวบริเวณเพราะ ถอื วา่ เปน็ การแกบ้ นทข่ี ายของดแี ลว้ เดนิ ทางกลบั บา้ นพรอ้ มกบั ปทู่ ก่ี ำ� ลงั ตอ้ นววั เข้าคอก สมาชิกทุกคนในครอบครัวพอท�ำหน้าที่ของตนเองเสร็จก็พร้อมใจกัน มานง่ั รบั ประทานมอ้ื ค�่ำ อาหารจานแรกคงจะเปน็ แกงสม้ อยา่ งแนน่ อน สเี หลอื ง ของขมน้ิ รสเปรยี้ วของแกงผสมกบั ความกลมกลอ่ มของกะปทิ �ำใหร้ สชาตอิ าหาร อร่อย พร้อมกับน้�ำพริกผักลวก และปลาทอด อาหารม้ือน้ีช่างเอร็ดอร่อย เช่นเดียวกับอาหารม้ืออื่นๆ ที่ย่าท�ำอาหารบ้านเราให้ปู่และผมได้ล้ิมรสจนลืม ความเหน็ดเหน่ือยทุกอย่างไปหมด ไม่ว่าจะเป็นขนมจีนจุดเด่นอยู่ตรงน้�ำยา เพราะใช้ปลาทะเลที่มีเน้ือมาก รสหวานทำ� เป็นน้�ำยาจึงเรียกว่า ขนมจีนน�้ำยา ปักษ์ใต้ ข้าวย�ำ เป็นอาหารหลักของชาวใต้ที่มีคุณค่า ประกอบด้วยข้าวสวย ข้าวตังทอดราดด้วยน�้ำเคยหรือบูดู กุ้งแห้ง มะพร้าวแห้งพร้อมผักห่ันฝอย เต้าคั่ว เป็นอาหารจานเดียวเฉพาะในสงขลา โดยมีเส้นหมี่ลวกสุก หูหมู หมสู ามช้นั ไข่ต้ม เต้าหูท้ อด ถ่ัวงอก แตงกวาหน่ั ผกั บงุ้ ลวกเปน็ ส่วนผสมสำ� คัญ แล้วราดน�้ำปรุงรส แกงพุงปลา เป็นอาหารขึ้นชื่อของภาคใต้อีกอย่างท่ีมีน้�ำ มากกวา่ เนื้อ รสคอ่ นขา้ งเค็ม สว่ นประกอบส�ำคญั คือ ไตปลา ปลาย่าง อาหาร อยา่ งสดุ ท้ายท่ีขาดไมไ่ ด้กค็ อื สะตอ เพราะสะตอเป็นตัวแทนของคนใต้ หลงั จากรบั ประทานเสรจ็ ทกุ คนลกุ ขนึ้ ไปเขา้ นอน ทนั ใดเสยี งหนงึ่ แวว่ มาว่า “นกครดู ขูดพร้าวเจียวเจียว น่งั กินคนเดียวไมไ่ วใ้ ห้น้าเดนมัง่ น้าเดนเขา

เร่ืองดีๆ ที่บ้านเรา 85 ไปไชโยไชยา ได้ลูกวัวมาตัวหนึ่งช่ือว่าอีลิงหางดอก เอาไปผูกไว้เลนอกเล ใน เท่ียงเท่ียงสายสายสีแก้วตาลายลักวัวไป ถึงไหนถึงหลาน้�ำเชี่ยวเสียวมือ เสยี วตีน” แล้วคอ่ ยๆ เงยี บลง เพลงกลอ่ มเดก็ นยี้ งั อยูใ่ นใจผมตลอดมา ค่�ำคืน แห่งการพักผ่อนของใครหลายๆ คนในยามน้ี แตก่ ลบั เป็นชว่ งเวลาแห่งการตอ่ สู้ ระหวา่ งมนษุ ย์บางคนกบั ธรรมชาติ เพอ่ื แย่งชิงความอย่รู อดในแต่ละวนั ในมือ ถอื มดี กรดี ยาง คาดตะเกียงแบตเตอร่ี พรอ้ มสวมชุดประจำ� ท่เี ป้ือนคราบน้ำ� ยาง สองผัวเมียคิดถึงใบหน้าลูกจึงมีแรงท�ำงาน กรีดซ�้ำตรงบาดแผลเดิมบนล�ำต้น เพราะเพยี งตอ้ งการหยดนำ�้ ตาขาวบรสิ ทุ ธจิ์ ากเนอ้ื ไม้ เอาไปแลกเงนิ ตรา ยำ่� เดนิ บนทางสายเก่ารอบสวนยางอย่างเหน็ดเหน่ือยเมื่อยล้า พอน้�ำยางหยดลงเต็ม จอก จงึ ออกเดินเกบ็ อกี ครงั้ น�ำน�้ำยางท้ังหมดมากรองกับตะแกรง จงึ คอ่ ยแบง่ ใส่รางส่เี หล่ยี มทเี่ ป็นเหล็ก (ต้ากง) ตวงนำ้� ยาง ๑ กระป๋องลิตรผสมนำ้� ครงึ่ ลติ ร แลว้ เทน้�ำส้มฆา่ ยาง ๑ สว่ น ตามดว้ ยเอาไมม้ ากวนยางใหแ้ ขง็ ตวั จึงค่อยเหยยี บ ยางบนพื้นจนแบน หลังจากนั้นน�ำแผ่นยางเข้าเคร่ืองจักรรีดยาง โดยเร่ิมจาก หัสลน่ื ๑-๒ ครงั้ ตอ่ ดว้ ยหสั ดอกอีกครง้ั น�ำยางแผ่นท่ไี ดต้ ง้ั บนรถมอเตอร์ไซค์ เพื่อเอาไปตากแดดท่ีบ้านให้แห้ง งานทุกอย่างที่แสนล�ำบากย่อมส�ำเร็จได้ก็ เพราะผวั หาบเมียคอน หลังจากท�ำงานเสร็จ พอ่ ก็แวะไปจบิ น้�ำชาที่รา้ นประจ�ำก่อน สถานทนี่ ้ี เปน็ ทพ่ี บปะหารอื กนั ของคนในชมุ ชนถงึ ปญั หาตา่ งๆ ในสงั คม เสยี งขบั ขานรอ้ ง รกิ รกิ รกิ ดังท่ัวรา้ น รูปรา่ งตวั เลก็ ๆ ปราดเปรียวรวยสีสันสวยงาม คือรูปโฉม ของนกกรงหัวจุก แก้มและคอถึงหน้าอกมีสีขาวและสีแดงจนถึงข้างหูเป็นเส้น แบง่ ขนสขี าวกบั สดี ำ� ชา่ งงดงามนกั กรงนกแขวนกบั ราวเหลก็ ขงึ เชอื ก มนั กระโดด โลดเต้นไปตามลีลาร่าเริงอยู่ในกรง สามารถสร้างความสุข ความประทับใจแก่ เจ้าของได้อย่างดี ทุกวันอาทิตย์มีการแข่งขันประชันเสียงกันเพื่อชิงของรางวัล ที่ขน�ำนก ซ่ึงเป็นเวลาเดียวกันท่ีผมก�ำลังเล่นอยู่กับผองเพ่ือนท่ีบ้าน โดยการ

86 เร่ืองดๆี ท่บี ้านเรา โยนหินให้ลงกรอบท่ีวาดไว้บนดินแล้วเขย่งขาเดียวไปเก็บหินเรียกว่า ลูกฉุด บา้ งกล่มุ กเ็ ลน่ ไทรตอก คอื การนำ� ลกู ยางมาต้ังสองลกู แลว้ ตอกกนั ไปมา ถ้าหาก ใครแตกกอ่ นก็จะเป็นผแู้ พ้ น้ีแสดงว่าถึงช่วงปลายเดอื นกมุ ภาพันธ์แลว้ เรมิ่ เขา้ สู่ชว่ งยางผลดั ใบในฤดูรอ้ น ยา่ งเขา้ สหู่ นา้ แลง้ แสงแดดจา้ แผดเผาแตเ่ พยี งกาย จติ ใจนนั้ ชมุ่ ฉ่�ำดว้ ย นำ�้ เยน็ ๆ ทพี่ วกเดก็ ๆ สาดเลน่ กนั อยา่ งสนกุ สนานหลงั จากเสรจ็ ท�ำบญุ วา่ งเดอื น ห้า (เมษายน) ตรงกบั ขน้ึ ๙ ค�่ำเดือนห้าของทุกปี ชว่ งเช้าจะพาขนมจีนไปปา่ ชา้ แลว้ นงั่ ไหวพ้ ระรบั ศลี สนิ้ เสยี งสวดมาตกิ า พระภกิ ษเุ รมิ่ ฉนั เพลและสวดบงั สกุ ลุ ตามล�ำดับ ลูกหลานที่อยู่ไกลได้กลับมาอาบน�้ำเปล่ียนผ้าขาวม้าบัว ร่วมรดน้�ำ ด�ำหัวญาติผู้ใหญ่ และน่ังจับกลุ่มคุยกันตามประสาญาติ คงไม่แตกต่างกับ บรรยากาศท่ีลูกหลานไปเย่ียมเยือนสุสาน (กูโบร์) แล้วเอ่ยค�ำอวยพรพร้อม ขอขมาลาโทษ และกลา่ วตกั บรี ยฺ ามกลางคนื ใหด้ งั ลน่ั เพอื่ ปา่ วประกาศถงึ ชยั ชนะ ไปทั่วทุกตรอกซอกซอย ในวันอีดหนึ่งในวันตรุษทางศาสนาอิสลามซ่ึงหนึ่งปีมี ๒ วนั คอื วันอีดล้ิ ฟิฏร์ และวนั อดี ิล้ อฎั ฮาวนั มสุ ลิมจะไปร่วมละหมาดในวนั ตรุษ ในเวลาประมาณ ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ไม่ว่าจะเป็นไทยพุทธหรือมุสลิมเรา กค็ อื คนไทย เทศกาลงานบญุ ผา่ นไปไม่กี่วนั กม็ าถึงพธิ ีพานมขา้ วซึ่งตรงกับแรม ๘ ค่�ำเดือนห้าท�ำเพื่อความสุขทางใจของชาวนา หลงั จากฤดเู กบ็ เกย่ี วก็พาขา้ ว เรยี ง(รวงขา้ วเตม็ มอื )กบั ขา้ วสกุ มาถวายพระทวี่ ดั ศรี ษะครี ี พอเสรจ็ กร็ ว่ มกนั สรง นำ้� พ่อทา่ นคง ซึ่งครงั้ ยงั มีชวี ิตอย่เู คยสรา้ งปาฏหิ าริยว์ าจาสทิ ธิ์ และอกี ทา่ นคือ พอ่ ทา่ นอนิ ทร์ อดตี เจา้ อาวาสวดั ทา่ นางหอมชอ่ื เสยี งทา่ นเลอ่ื งลอื ถงึ สงั ขารอมตะ อีกสัปดาห์ใกล้มาถึงวันส่งหาบสง่ คอนของหมบู่ ้าน พอถงึ แรม ๑๕ ค�่ำ เดือนห้า ตอนเช้าชาวบ้านพร้อมใจกันพาข้าวแกงไปถวายพระท่ีหลาแหลมซอ ธงผา้ ขาวมา้ ปลวิ สะบดั เหนอื เสาไมไ้ ผท่ ช่ี าวบา้ นชว่ ยกนั ยก ธปู เทยี นดอกไมพ้ รอ้ ม พวงขา้ วแขวนไวท้ ไ่ี มห้ าบแลว้ เอาไปทงิ้ ทส่ี ามแยกเพอ่ื ปดั เปา่ เรอ่ื งรา้ ยใหห้ มดสนิ้ เสียงว่าบทเชิดชูตายายดังมาจากโรงโนราลงครูของคณะอารีใยดีศิลป์ ซ่ึงมี

เร่อื งดๆี ทบี่ า้ นเรา 87 ลุงเสริญ (สรรเสริญ ไชยวรรณ) เป็นทายาทของตาจอนผู้สืบทอดมานานกว่า ๑๐๐ปี ในละแวกน้ีรู้จักกันดี เพราะมีลีลาท่าร�าอ่อนช้อย ช่วงเวลาที่นิยมเล่น ตงั้ แตเ่ ดอื นหกถึงเดือนเก้า เรมิ่ จากวนั พธุ ก็ร�าถวายครู พอรุ่งเชา้ เร่ิมร�าแตง่ พอก แล้วเชิญพ่อแม่ตายายที่ล่วงลับไปแล้วมาเข้าร่างทรงจนถึงคืนวันเสาร์ก็ร�าส่งครู เสียงไอ้เท่งทักทายหนูนุ้ยดงั ขึ้นโดยมีนายหนังยุพิน เรอื นแกว้ เปน็ ผู้เชดิ รูปหนัง ตะลงุ เลน่ เงาหลงั จอพรอ้ มพากยเ์ สยี งใหผ้ ชู้ มฟงั ซงึ่ เปน็ นายหนงั หญงิ ของหมบู่ า้ น ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มสงู มากจากเรอื่ งดาวจรสั แสง มผี ชู้ มถงึ ๖๐-๗๐ คนในสมยั นนั้ เคยได้รบั รางวลั อย่างเชน่ แหวนนามสกลุ แหวนเพชร โล่เกียรติยศ เปน็ ตน้ งานบญุ วนั สารทเดอื นสบิ (กนั ยายน)กม็ าถงึ ครงั้ แรกวนั แรม ๑ คา�่ เดอื น สิบเรยี กว่า วันรบั เปรต ชาวบ้านจดั ส�ารบั ไปทา� บุญทวี่ ดั ครงั้ ที่สองวันแรม ๑๕ เดอื นสบิ เรียกวา่ วันสง่ เปรต ลกู หลานกจ็ ะทา� บุญเลยี้ งสง่ อีกคร้งั เปน็ การแสดง ถึงความกตัญญูต่อบุพการีผู้ล่วงลับไปแล้วโดยอุทิศส่วนกุศลไปให้วิญญาณของ บรรพบรุ ุษ เร่ืองราวดีๆ ท่ีบ้านของผมมีมากมายเหลือคณนา ต้ังแต่ครั้งอดีต จนถึงปัจจุบันก็ยังอยู่คู่คนบนเขาตลอดมาเพราะชาวบ้านช่วยกันรักษาและ สืบสานประเพณีวัฒนธรรมท่ีดีงามต่างๆ เอาไว้ วิถีชีวิตท่ีเรียบง่ายอยู่กับ ธรรมชาตอิ ยา่ งมคี วามสขุ ยงั มใี หเ้ หน็ อยเู่ รยี งราย เชน่ ลกู เลกย็ งั คงออกเรอื ประมง หาปลาเลยี้ งชพี อยเู่ สมอ รวงขา้ วเหลอื งอรา่ มงามตามาแตไ่ กล ภาพความสวยงาม เหล่านี้ยังคงตราตรึงจิตของผมมิรู้คลาย ย่ิงท�าให้ผมรู้ส�านึกรักบ้านเกิดมากข้ึน บ้านของผมน้ันมีเร่ืองดีๆ มากมายท่ีเป็นเกราะคุ้มกันสิ่งเลวร้าย เสมือนเป็น กา� แพงแขง็ แกรง่ ทภี่ ายในเปย่ี มดว้ ยความรกั ผมจะขอทา� ตามคา� กลา่ วของบคุ คล ส�าคัญท่านหน่ึงของภาคใต้ คือ ท่านพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ที่กล่าวไว้ว่า “เกิดมาต้องตอบแทนคณุ แผ่นดิน”



เรอื่ งดๆี ท่ีบ้านเรา 89 เรอ่ื งดีๆ ท่บี ้านเรา นางสาวกวนิ ทิพย์ วรรณพงศ์ ภาพเด็กๆ ปีนป่ายตน้ ไม้ ชายหนุ่มไล่ววั เดนิ ลัดเลาะไปตามทุ่งนา หา จงิ้ หรดี ไปตกปลา ปนี ตน้ หวา้ เกบ็ ผลมาทาน ลยุ โคลนจบั ปลา บางครง้ั กย็ นื สะบดั ไปมาเพราะปลิงเกาะขา ทีไ่ ดร้ ับชมบอ่ ยๆ ผ่านทางสื่อโทรทศั น์ อาจดหู า่ งไกล กับวิถีชาวเมือง แต่ส�ำหรับฉันแล้ว น่ันคือชีวิตประจ�ำวันของชาวบ้านนารังนก ต�ำบลแม่ทอม อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัดสงขลา ภาพเหล่าน้ีฉันเห็นจนชินตา และร้สู ึกภาคภมู ิใจทีไ่ ด้เกิดใน ผืนแผ่นดินทักษิณแดนสยาม ด้ามขวานทองของไทย ดินแดนท่ี อุดมสมบูรณแ์ ละมคี วามหลากหลายท้ังดา้ นภูมิศาสตร์ สงั คม และศาสนา แมฉ้ นั จะอาศยั อยใู่ นตวั เมอื งเทศบาลนครหาดใหญ่ แตเ่ พราะตอนเดก็ ๆ ฉันเติบโตมากับคุณยายที่ชนบท ฉันจึงได้เรียนรู้เสน่ห์ของชาวนารังนก เมื่อถึง วนั หยดุ ทไี ร จะตอ้ งเดนิ ทางกลบั ไปทกุ ครงั้ คณุ ยายทา่ นอาศยั อยใู่ นบา้ นไมห้ ลงั คา กระเบ้อื งดินเผา แม้กลางวันแดดจะร้อนแตใ่ นตวั บา้ นก็เย็นสบาย หากวันใดฝน ตกก็วิ่งหากะละมัง ถ้วย ชาม มารองรับน�้ำฝน ถือเป็นเร่ืองสนุกอย่างหน่ึง วันไหนยายออกไปท�ำนา ฉันก็เดินตามไปด้วย แม้ก่อนออกจากบ้านไม่ได้ ทานอะไรแตก่ วา่ จะถงึ ทนี่ าของยายกแ็ กท้ อ้ งรอ้ งไปไดพ้ อสมควร เพราะระหวา่ ง ทางมีทง้ั นมแมว นมควาย ชุมเลยี ง ลกู หว้า ตะขบข้ึนเรียงราย จะพดู ว่าเดินไป ทานไปกไ็ มผ่ ดิ เทา่ ไรนกั ชว่ งหนา้ แลง้ น�้ำจะแหง้ เรากต็ น่ื แตเ่ ชา้ ไปหาเหด็ มนั กนั ในนา แตช่ ่วงสห่ี ้าปมี านีน้ ้�ำไม่ยอมแห้ง ทอ้ งนานบั รอ้ ยไร่กก็ ลายเป็นท้องนำ้� ไป

90 เรื่องดีๆ ที่บา้ นเรา การหาเหด็ มนั จึงเปลีย่ นเป็นจบั ก้งุ หอย ปู ปลา แทน ชาวบ้านกม็ ีรายไดจ้ าก การจบั สัตวน์ �ำ้ แทนการท�ำนา ได้วันละหลายรอ้ ยบาทเลยทเี ดยี ว เวลาค่�ำคืนที่บ้านนารังนกก็ไม่เคยหลับใหลเหมือนเช่นเมืองใหญ่ ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพราะแสงไฟจากภัตตาคารหรือสถานบนั เทิง หากแตเ่ ปน็ แสงห่ิงหอ้ ย ท่ีมีไม่มากนัก และแสงไฟจากชาวบ้านท่ีใช้ส่องกรีดยาง บ้างใช้ตะเกียงไฟ จากถ่านหิน บ้างก็ใช้ไฟตะเกียงไฟฟ้าส�ำหรับกรีดยาง ตะเกียงไฟฟ้ามีข้อดีคือ เมอ่ื โดนลมพดั กไ็ มด่ บั แถมไมม่ กี ลน่ิ เหมอื นตะเกยี งจากถา่ นหนิ อกี ทง้ั ยงั มจี งิ้ หรดี เรไร รอ้ งประสานเสยี งเปน็ วงดนตรขี นาดใหญ่ ยามคำ่� คนื หากคืนใดฝนตกแล้ว กจ็ ะมคี ณุ กบ คณุ องึ่ อา่ ง คณุ คางคก ออกมารว่ มบรรเลงอกี ดว้ ย คนื ไหนปดิ ประตู บา้ นไม่ดี ก็จะมีคณุ นักรอ้ งเหล่าน้ี เข้ามาขบั ร้องใหฟ้ ังแบบใกลช้ ิดถงึ ในบ้าน เวลาเช้าตรู่ที่บ้านยายไม่จ�ำเป็นต้องใช้นาฬิกาปลุก เพราะไก่ที่เลี้ยงไว้ นกดุเหว่า ส่งเสยี งรอ้ งดงั ล่ัน รวมถงึ เสียง “มอ มอ” จากฝงู วัวทถ่ี ูกต้อนไปกิน หญ้าในนา ก็ถือเป็นเสียงปลุกที่ดีเย่ียม ในตอนเช้าที่หมู่บ้านวัดนารังนกจะมี พระจากวัดนารังนกมาเดินบิณฑบาต ชาวบ้านก็จะเตรียมตักบาตรกันทุกวัน หากเป็นวันพระ ชาวบ้านจะพากันไปทำ� บุญทวี่ ัดแทน พูดถึงวัด คนท่ีน่ีนิยมเข้าวัดกันทุกวันพระส่วนฉันพิเศษหน่อยเพราะ หากเปน็ ช่วงปดิ เทอมแล้ว ฉนั จะไปวดั ทกุ สปั ดาห์ ไมไ่ ด้ตั้งใจจะไปท�ำบญุ หรอก แต่ที่วดั คูเตา่ มีตลาดนัดรอ้ ยปี ตงั้ อยู่ภายในวดั ริมคลอง อู่ตะเภา ตลาดนัดร้อยปีนี้จะมีทุกๆวันพฤหัสบดี เม่ือไปซ้ือกับข้าว ซ้ือขนมแล้วก็แวะไปไหว้พระด้วยเสียเลย ท่ีตลาดนัดร้อยปีวัดคูเต่านี้ มีผู้คน แน่นขนัดเสมอ ทั้งชาวไทยพุทธ และมุสลิม มาจับจ่ายใช้สอยกันมากมาย ไม่เพียงแค่ตลาดนัดคูเต่าเท่าน้ันที่มีท้ังชาวพุทธและมุสลิมมารวมกัน หากท่ีวัด นารงั นกมแี สดงหนงั ตะลงุ มโนราห์ดว้ ยแลว้ ชาวบา้ นสองศาสนาจะพร้อมใจกนั มาปเู สอ่ื รอชมการแสดง สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ทนี่ ท่ี ง้ั ชาวพทุ ธและอสิ ลามอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข

เรอ่ื งดีๆ ท่ีบ้านเรา 91 วัดคูเต่านี้เป็นวัดเก่าแก่ มีอายุกว่าร้อยปีได้รับรางวัลเพ่ือการอนุรักษ์ มรดกทางวฒั นธรรมภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ เมอื่ ปี ๒๕๕๔จากองคก์ ารศกึ ษาวทิ ยา ศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติ พระอโุ บสถของวดั สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ศิลปวัฒนธรรมพื้นเมืองของชาวภาคใต้ โดยมีศิลปะจีนผสมผสานอยู่ด้วย รายละเอียดต่างๆ ในวัดคูเต่ามีความประณีต สวยงาม เพราะเป็นมือของช่าง พน้ื เมอื งสมยั กอ่ น นอกจากภายในวดั คเู ตา่ จะมตี ลาดนดั รอ้ ยปแี ลว้ ยงั มโี รงเรยี น วัดคเู ตา่ อยู่ด้วย ซึ่งปจั จุบนั เหลือเพยี งตวั อาคารโรงเรยี น ไม่มีการเรียนการสอน วัดคูเต่าน้ีเคยเป็นสถานที่ท�ำภาพยนตร์เร่ืองครูแก ชาวบ้านละแวกนั้นต่ืนเต้น ดีอกดีใจกันอย่างมาก ท่ีได้รับเชิญไปร่วมแสดงเป็นตัวประกอบในภาพยนตร์ เพราะไม่เคยมีกองถ่ายภาพยนตร์มาถ่ายท�ำกันที่นี่ ชาวบ้านถึงกับยอมหยุด กรีดยางไปแสดงภาพยนตร์ ไม่ได้ค่าตัวก็ไม่เป็นไร ขอแค่ได้แสดงก็พอ คุณตา ของฉันก็ไปแสดงกับเขาเหมือนกัน ได้ค่าตัว ๓๐๐ บาท แม้จะได้น้อยกว่า การกรดี ยาง แต่คุณตากด็ ใี จท่ีครง้ั หนง่ึ ของชีวิตได้แสดงภาพยนตร์ ส่ิงหน่ึงของภาคใต้ที่ข้ึนช่ือคืออาหาร อาหารปักษ์ใต้ของเรานั้นขึ้นชื่อ อยหู่ ลายอยา่ งทง้ั น้�ำบดู ู หรอื ทเี่ รยี กกนั วา่ น�้ำเคย ขา้ วย�ำ แกงไตปลา หลนกงุ้ สม้ คั่วกล้ิงเนื้อ ผดั สะตอ ผัดลูกเหรียง รสชาติจัดจ้านถกู ปากถูกใจ ที่ตำ� บลแมท่ อม ก็มีเหนียวหลาม (ข้าวหลาม) เป็นสินค้าโอทอป รสชาติอร่อยไม่แพ้ข้าวหลาม หนองมน มีท้ังข้าวเหนียวขาว ข้าวเหนียวด�ำ รสชาติหอมมัน ความอร่อย ของข้าวหลามแม่ทอมนี้เป็นที่รู้กันในวงกว้าง ได้รับรางวัลจากการประกวด หลายต่อหลายคร้ัง ดังค�ำขวัญของต�ำบลแม่ทอมท่ีว่า “แม่ทอมเรืองนาม ขา้ วหลามลอื ไกล แหลง่ ใหญส่ ม้ โอหวาน ปชู นยี สถานคา่ ลำ�้ หลวงพอ่ ลนิ้ ดาํ วาจา สิทธ์”ิ ภาคใต้ของเรามีประเพณีมากมาย เช่นชักพระหรือลากพระ วันสารทเดือนสิบ แข่งเรือ บ้านยายของฉันจะมีการไหว้ตายายในเดือกหก และเดือนสิบ ตามจันทรคติ ในวันนี้ลูกหลานจะน�ำของคาว ของหวาน ผลไม้

92 เร่อื งดีๆ ที่บา้ นเรา และของแกบ้ น เช่น หัวหมู ไก่ตม้ ไก่ปากทอง ไข่ต้ม มาแกบ้ นท่เี คยบนบานเอา ไวใ้ นปที ผ่ี า่ นมา การตงั้ ตายายถอื เปน็ การทำ� ความเคารพ บชู า ขอพรบรรพบรุ ษุ การท�ำพิธีไหว้บรรพบุรุษหรือท่ีเรียกว่าตั้งตายายน้ีเป็นความเช่ืออย่างหน่ึง อาจเรยี กไดว้ า่ เปน็ การนบั ถอื ผี แตก่ ไ็ มอ่ าจเรยี กไดง้ มงายเพราะถอื เปน็ ความเชอื่ อยา่ งหนงึ่ ทำ� เพอ่ื ความสบายใจของลกู หลาน ฉนั เดก็ ๆกไ็ มร่ หู้ รอกวา่ วนั นสี้ ำ� คญั อยา่ งไร ร้เู พยี งวา่ ถงึ วันไหวต้ ายายทีไร จะมีขนมใหก้ นิ เต็มอิ่มเลยทีเดยี ว ในวนั สารทเดอื นสบิ หลายๆคนอาจจะรอคอยการชงิ เปรตทวี่ ดั ฉนั เอง ก็เป็นหนึ่งในหลายๆคนท่ีรอคอยการชิงเปรต อาหารต่างๆ ท่ีใช้ชิงเปรตจะถูก วางไว้บนหลาเปรต (ร้านเปรต) แล้วให้ชาวบ้านไปแย่งชิงกัน บ้างแย่งชิง เพื่อความสนกุ สนาน บา้ งเพื่อแก้บน แก้เคลด็ เชือ่ กนั ว่าหากลูกหลานของเปรต ตนใดแย่งชิงได้ เปรตตนน้ันจะได้รับส่วนบุญด้วย กิจกรรมท่ีฉันชอบอีกอย่าง ในช่วงวันสารท คือช่วยยายท�ำขนม ในงานวันสารทน้ันยายจะท�ำขนมเอง ท้ังขนมดีซ�ำ (ขนมเจาะหู ขนมแห้ง) ขนมต้ม ส่วนลากับข้าวพองหลากสี ยายจะซอ้ื เอา ฉนั ชอบชว่ ยยายทำ� ขนมตม้ ทำ� ไปแอบทานขา้ วเหนยี วดบิ ไป ฝมี อื การแทงต้มของฉันนั้นยังไม่เก่งเท่าคุณยาย ลูกเล็กๆ แถมไม่สวย แต่ถือว่า เป็นการฝกึ ฝกึ ไปเรื่อยๆ เดีย๋ วกส็ วยเอง ยายบอกกับฉันวา่ “ต้มกับหนมแหง้ นี้ นมสอนแมม่ า (ยายจะแทนตวั เองวา่ แมแ่ ละเรยี กฉนั วา่ ลกู ) ซอื้ เอากเ็ สยี ดายเบย้ี เราทำ� เองได้ ทำ� เองดหี วา คนแตแ่ รกก็ท�ำเองกันทั้งเพ จ�ำแมไ่ วน้ ะลกู สาวเหอ” ปู่ ยา่ ตา ยาย ชอบจะเลา่ เรอ่ื งสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ ละความเปน็ มาตา่ งๆใหฟ้ งั ทั้งเรื่องของแม่โพสพ พระพราย พระเพลิง พระแม่คงคา พระแมธ่ รณี รวมถงึ เร่ืองเล่าท้องถิ่น เรื่องหลวงพ่อทวดล้ินด�ำ หลวงปู่ทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด พระพทุ ธสหิ ิงค์ พอ่ ท่านคลา้ ยวาจาสิทธิ์ วดั นารังนก เรอื่ งแม่ศรีมาลา (ตายาย มโนราห์) คุณตามักจะพูดถึงทวดจระเข้ที่หัวเขาแดงเป็นประจำ� เมื่อได้ฟังข่าว พายุเข้าภาคใต้ เร่ืองนี้จึงเป็นเรื่องท่ีฉันชอบท่ีสุด ซึ่งทวดจระเข้ที่หัวเขาแดงน้ี

เรอ่ื งดๆี ท่ีบ้านเรา 93 เป็นท่ีเคารพนับถือของชาวสงขลาว่ากันว่าทวดจระเข้ที่หัวเขาแดงจะคอยดูแล ชาวบา้ นไม่ใหเ้ กิดอันตรายจากสัตวร์ ้ายตา่ งๆ รวมทัง้ ป้องกันคลน่ื ลมในทะเลให้ กบั ชาวบา้ นยามออกเรอื หาปลา ดงั นน้ั กอ่ นทชี่ าวบา้ นในบรเิ วณดงั กลา่ วจะออก เรือจับปลาหรือสัตว์น�้ำใดๆ ก็ตามจึงต้องบอกกล่าวขอความคุ้มครองจากทวด หวั เขาแดงก่อนเสมอ ความภาคภมู ใิ จของชาวสงขลามอี ยหู่ ลายอยา่ ง ดา้ นบคุ คล ชาวสงขลา บ้านเราก็ไม่น้อยหน้าใคร ถ้าพูดถึงบุคคลท่ีเป็นความภาคภูมิใจของชาวสงขลา แลว้ พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ ประธานองคมนตรแี ละรฐั บรุ ษุ กเ็ ปน็ หนงึ่ ในนน้ั อย่างไม่ต้องสงสัย ท่านได้บ�ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์กับสังคมชาติโดยมิรู้จัก เหน็ดเหน่ือย ที่ส�ำคัญยิ่งไปกว่านั้น พลเอกเปรมเริ่มนโยบายแก้ปัญหา ความยากจนของเกษตรกร ทา่ นยึดมนั่ ในการประกอบคุณงามความดี ค�ำนงึ ถงึ บ้านเมืองเป็นหลัก ไม่แสวงหาผลประโยชน์เพ่ือตนเอง ดูแลบ้านเมืองต่าง พระเนตรพระกรรณ พลเอกเปรมไดพ้ สิ จู น์ให้เห็นมาแล้วตลอดชีวติ การทำ� งาน ของทา่ นและตลอดเวลาทร่ี บั ใชพ้ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั วา่ ทา่ นเปน็ บคุ คล ทสี่ มควรยดึ ถือเป็นแบบอย่าง หากจะใหพ้ ลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ เปน็ ตวั แทนของบคุ คลศาสนาพทุ ธ นายอาศสิ พิทักษ์คมุ พล ก็ถอื เปน็ ตวั แทนของบคุ คลมุสลมิ ทีม่ ีผลงานและคุณ งามความดีประจักษ์แก่ชาวไทย จนได้รับการแต่งต้ังให้เป็นจุฬาราชมนตรี นายอาศิส เปน็ มสุ ลมิ ชาวใตค้ นแรก และเปน็ มุสลมิ นิกายสุหน่คี นท่ี ๕ ทีไ่ ด้รับ เลอื กใหเ้ ขา้ ด�ำรงตำ� แหนง่ จฬุ าราชมนตรี ถอื เปน็ ผนู้ �ำมสุ ลมิ ไทยสายสหุ นคี่ นแรก ท่ีไม่ได้จบด้านการศาสนาจากประเทศในกลุ่มตะวันออกกลาง คำ� ปรารภของ นายอาศิสในวันรับต�ำแหน่งนั้น กัดกินหัวใจหลายๆคน รวมถึงฉันด้วย ด้วย ประโยคท่ีว่า “บัดน้ีข้าพเจ้าได้รับเลือกให้เป็นผู้น�ำของพวกท่าน และไม่ใช่ว่า ขา้ พเจา้ จะดที ส่ี ดุ ไปกวา่ พวกทา่ น” ประโยคขา้ งตน้ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความถอ่ มตน

94 เร่ืองดๆี ท่บี า้ นเรา ของท่านอาศสิ ไดเ้ ป็นอย่างดี น่เี ป็นสิง่ แสดงให้เหน็ วา่ ไม่ว่าจะนบั ถือศาสนาใด หากปฏบิ ตั ิตวั เป็นคนดี ลว้ นไดร้ บั การยกย่อง เชดิ ชู และสามารถอาศัยอย่รู ่วม กนั ได้อย่างสงบสุขภายใต้ร่มพระโพธิสมภาร วา่ กนั วา่ หวั ของคนใตแ้ ขง็ แกรง่ ยงิ่ กวา่ หนิ ผา ไฟโชตชิ ว่ งรอ้ นระอแุ คไ่ หน กไ็ ม่สามารถท�าลายหนิ ผาลงได้ อีกท้งั นา�้ ใจของคนไทยทงั้ ชาตจิ ะหลอมรวมกนั เปน็ หนึง่ กลายเป็นธารน�า้ ใจอนั ย่งิ ใหญ่ไหลบ่าเข้าดับไฟใตใ้ ห้ดบั ลง เหลอื ท้ิงไว้ แตส่ ายธารนา�้ ไหลไหลลอ้ มรอมหนิ ผาใหญ่ แสดงถงึ ความรกั ความสามคั คี ทคี่ น ไทยมีให้กัน ปกป้องให้ชาวใต้กินดีอยู่ดี มีความอุดมบูรณ์ และอยู่ร่วมกันสอง ศาสนาไปจนช่ัวลูกสืบหลาน หากใครถามเราจะบอกได้ว่า “ปักษ์ใต้บ้านเรา ดีจังหู นาสวย เลใส น�้ายางดี กับข้าวหรอย อยู่ไหนก็ไม่เหมือนอยู่บ้านเรา อย่าลืมนะพ่ีน้องเหอ”

เรือ่ งดีๆ ท่ีบา้ นเรา 95 เรอ่ื งดๆี ที่บ้านเรา นายซอรีฟ อาแวกือจิ สิ่งดีๆ เป็นดั่งแสงไฟที่ฉายน�ำทางสู่ชุมชน ให้ก้าวพ้นไปสู่เส้นชัยแห่ง ความสุขและความเจรญิ ท่แี ท้จรงิ นับว่าเปน็ ความโชคดีของประชาชนในชุมชน ต่างๆ ท่ีเกิดมาบนผืนแผ่นดินทางด้านขว้างของประเทศไทย ดินแดนที่มีแต่ ความสงบสขุ รม่ เยน็ ความสามคั คี การชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั สง่ิ เหลา่ นเี้ ปน็ การ สะทอ้ นถึงเร่อื งราวดๆี ที่เกิดข้นึ อยู่ทุกวนั ทกุ เวลา ทุกวนิ าที และทุกลมหายใจ ซึ่งน�ำความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันที่เข้มแข็งจึงท�ำให้ ยังคงยืนอยู่บนพ้ืนฐาน ของชมุ ชนแห่งน้ี โอ.้ ..โอ้ ปกั ษใ์ ตบ้ า้ นเรา โอ.้ ..โอ.้ ..ชมุ ชนของเรา แมน่ ้�ำ ภเู ขา ทงุ่ นากวา้ ง ใหญ่ เตม็ ไปด้วยความสมบรู ณ์ จะไปไหนมาเท่ียวบา้ นเรา จากชุมชนกลมุ่ เลก็ ๆ ในอดีต จากบ้านเล็กเพียงไม่กี่หลัง จากผู้คนท่ีมีเพียงไม่ก่ีคน ไม่น่าเชื่อว่าเม่ือ เวลาผา่ นไปพน้ื ทที่ ร่ี นุ่ ปยู่ า่ ตายาย ทเี่ คยอาศยั อยทู่ เี่ ตม็ ไปดว้ ย ปา่ ตน้ น�้ำลำ� ธารที่ ทอดยาวจากภเู ขาผา่ นใจกลางของทงุ่ นาและมสี ภาพเปน็ ภเู ขาลอ้ มรอบทงุ่ นาอยู่ ใจกลางภูเขา ท�ำให้ชุมชนเหน็ น้ี อุดมสมบูรณ์เตม็ ไปดว้ ยธรรมชาตแิ สนบริสุทธ์ิ มีสัตว์ป่านานาชนิด ปัจจุบันนี้กลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ท่ีมีช่ือว่า “บูกิต” จากค�ำบอกเลา่ ของผอู้ าวโุ สในพน้ื ท่ี แตก่ อ่ นพนื้ ทน่ี ย้ี งั ไมม่ ผี คู้ นอาศยั อยู่ จนไดม้ ี ผู้คนกลุ่มแรกเร่ิมเข้ามาก่อตั้งถ่ิน ส่วนใหญ่ได้อพยพมาจากบ้านเจาะไอร้องซ่ึง อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง เหตุท่ีแต่ละกลุ่มอพยพมาจากบ้านเดิมเพราะต้องการ

96 เร่อื งดๆี ท่ีบา้ นเรา หาท่ีดินที่ท�ำกินใหม่ที่อุดมสมบูรณ์ ใครขยันก็สามารถจับจองที่ดินได้มาก และเตม็ ไปด้วยของกินและสัตวป์ ่านอ้ ยใหญ่ เขาไดต้ ้งั เปน็ ชุมชนเลก็ ๆ ขน้ึ มา มี ไม่ก่ีคนเองที่อาศัย พอเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็วชุมชนแห่งนี้ก็ได้เป็นชุมชน ขนาดกลาง ได้มีการแต่งต้ังก�ำนันขึ้นมาและต้ังช่ือชุมชนว่า “บูกิต” ซ่ึงบูกิต ก็เป็นชุมชนท่ีห่างจากตัวเมืองนราธิวาสประมาณ ๔๔ กิโลเมตร ผ่านทางสาย นราธวิ าส-สุไหงโกลก ทุกคร้ังที่เราอยู่ในพ้ืนที่ชุมชนแห่งนี้เกือบทุกพ้ืนที่ก็ได้เห็นภูเขา ขนาดใหญน่ ้ตี ลอดเวลา และเราไดส้ อบถามผอู้ าวโุ สในชมุ ชน ภูเขาใหญม่ ีชอ่ื ไม่ ลงุ เขาบอกวา่ มีซิ ชอื่ วา่ “บเู กะ๊ ตะเว” ซ่ึงไมร่ ูว้ า่ ความหมายว่าอะไรใครเปน็ ผ้ตู งั้ ช่ือให้ เพราะตนก็ได้ยินมาจากคนสมัยก่อนพูดต้ังแต่ตนยังวัยเยาว์ และเขา ยงั บอกอกี ว่า ภเู ขานี้ กเ็ ป็นสว่ นหนง่ึ ของเทอื กเขาสนั กาลาครี ีนน้ั เอง ทำ� ใหเ้ รารู้ หลายๆ อย่างและคิดทุกครั้งท่ีได้เห็นภูเขาลูกนี้ ลุงคนน้ีเขาพูดภาษาไทยไม่ได้ เราถามเป็นภาษายาวี ซ่ึงเป็นภาษามลายูท้องถ่ินภาคใต้ ทุกครั้งท่ีเราเจอ ลุงคนนี้ เราจะถามสารทุกขส์ ขุ ดิบทั่วไป เขากพ็ ดู คยุ ได้ปกติ แต่อาจมหี ลงๆลืมๆ บา้ งตามกาลเวลาท่เี กอื บจะครบศตวรรษพดู คุยอย่างอารมณด์ ี ด้วยวัยท่เี ลยมา นานมีเรื่องเล่าจากประสบการณข์ องตนมากมาย อกี อยา่ งเขาไดพ้ ูดวา่ แตก่ ่อน ไม่เคยมีปัญหาการแบ่งแยก ใช้วิถีชีวิตแบบง่าย ๆ อยู่กับคนต่างศาสนาอย่าง สุขสบายเขา้ มาหาสู่กนั มีปัญหาอะไรเกิดข้นึ กช็ ่วยๆกนั เวลามุสลิมมงี านตา่ งๆ ชาวไทยท่ีนับถือศาสนาพุทธก็ไปร่วมด้วยไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรมทางศาสนาหรือ เทศกาลต่างๆ ด้วย วัฒนธรรมของชุมชนมุสลิมเรา ที่เด่นที่สุดคือ การแต่งกายมุสลิม ส่วนใหญ่จะไม่นิยมใส่ผ้าที่ผลิตด้วยใยไหมเว้นแต่จะมีโอกาสพิเศษเท่าน้ัน เช่น การตอ้ นรบั ผอู้ าวโุ สทมี่ าเยอื นถน่ิ แตก่ ารแตง่ กายจะนยิ มสวมเสอ้ื ผา้ เนอื้ บางเบา โดยเฉพาะผ้า “บาเต๊ะ” เปน็ ทนี่ ิยมเปน็ อยา่ งมาก ผ้าบาเต๊ะ นจ้ี ะใชท้ ำ� ผา้ นุ่งผา้

เร่อื งดีๆ ที่บ้านเรา 97 โสร่งหรือผ้าคลุมต่างๆ ของมุสลิมที่เป็นผู้หญิง เช่นการแต่งกายก็จะมีผ้าคลุม ศรี ษะ นงุ่ ผา้ โสรง่ บาเตะ๊ สว่ นชายนงุ่ โสรง่ หรอื กางเกง สวมเสอ้ื แขนยาวและสวม หมวกแบบมุสลิม คล้ายกับชาวมาเลเซีย คือ สตรีนุ่งผ้าปาเต๊ะ สวมเส้ือแขน กระบอกยาวแบบชวา ผ้าคลุมศีรษะ ผู้ชายนุ่งโสร่งลาย หรือกางเกงขายาว เสอ้ื สขี าวแขนยาว คลา้ ยไทยภาคกลาง มผี า้ โพกศรี ษะหรอื หมวกแขก แตป่ จั จบุ นั การแต่งกายเป็นสากลมากขึ้น ระหว่างผู้ท่ีนับศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม คือ ผู้หญิงมุสลิมเม่ือออกจากบ้านจะแต่งกายแบบมิดชิดใส่เสื้อแขนยาวและมี ผา้ คลมุ ศรี ษะดว้ ย สว่ นทอ่ี ยอู่ าศยั บา้ นเรอื นสว่ นใหญจ่ ะวางเสาไวบ้ นตอหมอ้ ตนี เสาซงึ่ จะกอ่ อฐิ ฉาบปนู และจะใชไ้ มใ้ นการกอ่ สรา้ งรปู ทรงของเรอื นเปน็ เรอื นไม้ เสาทุกต้นไม่ฝังลงดินเพราะว่าดินมันชื้น แต่จะต้ังอยู่บนแผ่นปูนหรือแผ่นหิน เรยี บๆ ทฝ่ี งั อยู่ ในดนิ ใหโ้ ผลข่ น้ึ มาจากพนื้ ดนิ ไมเ่ กนิ ๑ ฟตุ เพอื่ กนั มใิ หป้ ลวกกดั ตีนเสาและกันเสาผุจากความช้ืนของดิน โดยเอกลักษณ์ของเรือนภาคใต้อยู่ที่ หลังคา ซงึ่ เป็นแบบทรงปั้นหยาท่สี วยงามและเสาเรือนจะเปน็ เสาไมต้ ้ังบนฐาน คอนกรีตเหตุเพราะสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเกิดพายุลมแรงเสมอ จ�ำเป็น ต้องมีโครงสร้างท่ีแข็งแรง ลักษณะเรือนไทยเป็นเรือนยกพ้ืนสูง แต่ว่าไม่สูง จนเกินไป พอที่จะเดินลอดได้ ทุกชุมชนก็จะมีศิลปะการแสดง เช่น ดิเกร์ฮูลู ซิละ มะโหยง่ ชุมชนไทยพุทธก็จะมกี ลองยาว และประเพณีต่างๆ ศลิ ปะการ แสดงยังมีให้เห็นในงานต่างๆ เช่น งานเปิดพิธี งานแต่งงาน งานกีฬาชุมชน การแสดงดเิ กรฮ์ ลู ู เปน็ สว่ นหนงึ่ ทท่ี ำ� ใหผ้ คู้ นเกดิ ความสนกุ รา่ เรงิ เลน่ กบั การแสดง ไปด้วย ท่าร่ายร�ำทใี่ ชใ้ นการแสดงจะบง่ บอกถงึ ธรรมชาติและการห่วงหาอาทร ตอ่ กนั เชน่ การทำ� มอื เปน็ ลกู คลน่ื ทา่ กวกั มอื เพอื่ ชกั ชวนพน่ี อ้ งชาวถนิ่ กลบั มายงั บ้านเกิด สว่ นเนือ้ หาของเพลงทเ่ี อามาขับรอ้ งโตก้ นั จะมเี น้ือหาเกยี่ วกบั วถิ ชี ีวิต อาชพี และวฒั นธรรมของชาวใต้ การแสดงซลิ ะ กเ็ ปน็ ศลิ ปะปอ้ งกนั ตวั อกี แขนง หน่ึงท่ีชุมชนแห่งนี้ได้เรียนรู้จากท่ีเข้ามาเผยแพร่ในสมัยก่อนและมะโหย่งเป็น

98 เรอ่ื งดีๆ ที่บา้ นเรา ความเช่ือส่วนบุคคลเป็นพิธีกรรมทางศาสนาเขียนอีกอย่างว่าศิลปะการบ�ำบัด โรคของคนในสมยั กอ่ น ทกุ ครง้ั ชุมชนเราได้มีประเพณตี า่ งๆจดั ขน้ึ ลว้ นแต่เปน็ ฝกึ ความอดทน การอยู่ร่วมกัน การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และการแบ่งปันสามัคคีกัน เช่น เดือนรอมฎอนเปน็ เดือนแหง่ การถอื ศีลอด โดยห้ามรับประทาน หา้ มด่ืม ต้ังแต่ พระอาทิตย์ข้ึนจนถึงพระอาทิตย์ตกดิน ประเพณีวันรายอเป็นการเฉลิมฉลอง หลังจากถือศีลอด อาหารที่นิยมน�ำมาท�ำเพื่อเลี้ยงแขกที่มาเยียนที่บ้านของ แตล่ ะคนกค็ ือ ข้าวเหนยี วตม้ ภาษาทอ้ งถนิ่ จะเรียกว่า “ตปู ะ” มักรบั ประทาน คกู่ นั กบั สะตอดองและแกงเนอื้ อาหารทน่ี ยิ มท�ำอกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื ขา้ วหมกั หรอื เป็นที่รู้จักดีในนาม “ตาแป” ขนมท้ังสองชนิดน้ีท�ำมาจากข้าวเหนียว ซ่ึงเป็น ประเพณี มีการสืบทอดมาจากโบราณและสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบันเป็น ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทไี่ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งจา้ งคณุ ครมู าสอน แตเ่ ปน็ ภมู ปิ ญั ญาทชี่ าวบา้ น สามารถเรยี นรกู้ นั เอง วนั รายอนอกจากจะเปน็ วนั ทส่ี นกุ สนานรนื่ เรงิ แลว้ ยงั เปน็ วันแห่งการอภัยหรือมาอัฟ ให้แก่กันอีกด้วย วันท่ีมีท้ังเสียงหัวเราะจากเด็กๆ และคราบน้�ำตาแห่งขอโทษ ถนนที่เคยดูเรียบๆ ธรรมดาไม่น่าสนใจมากนัก มนั ถกู ประดบั ไปดว้ ยสสี นั ของเสอ้ื ผา้ สวยงามหลากหลายสปี ะปนกนั อยา่ งลงตวั การสวมเสื้อผ้าท่ีสวยงามในวันรายอเป็นส่ิงที่ดีและจะได้รับผลบุญเช่นเดียวกัน วันรายอก็ยังเป็นวันที่ทุกคนปรารถนาและรอคอยเสมอมา ถัดจากรายอฟิตรี ไปอีกสองเดือนกับอีก ๑๐ วัน จะเป็นรายอฮัจญี เป็นการเฉลิมฉลองของผู้ท่ี ไปแสวงบุญ ณ นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย จะมีการท�ำบุญเรียกว่า การกรุบาน คือการเชือดวัวตัวหนึ่งส�ำหรับคน ๗ คน และแบ่งเน้ือออกเป็น ๗ ส่วน ท่ีส�ำคัญคือจะแบ่งให้เท่าๆกัน ส�ำหรับเนื้อท่ีได้น้ันจะเก็บไว้ทานใน ครอบครัวบางสว่ น และท่เี หลอื กจ็ ะแบง่ ปันให้กบั ญาตพิ ่นี อ้ งและแก่คนยากจน ความเชอ่ื ของชาวมสุ ลมิ ในการทำ� กรบุ านคอื เมอื่ ถงึ วนั ฟน้ื คนื ชพี เราจะใชว้ วั เปน็

เรื่องดีๆ ทบี่ ้านเรา 99 พาหนะในการเดินทางไปท่ีทุ่งอารอฟะเพื่อรับค�ำตัดสินจากพระผู้เป็นเจ้า หลังจากรายอฮัจญีชาวมุสลิมในแต่ละถ่ินจะร่วมเลือกวันในเดือนมุฮัรรอม ซึ่ง เป็นเดือนแรกของปี เป็นการฉลองปีใหม่อาซูรอ ส่วนอาซูรอเป็นช่ือขนม ท่ีผสมด้วย ข้าวเจ้า กะทิ นำ�้ ตาล เป็นส่วนประกอบหลัก พืชผักผลไม้จำ� พวก หวั มันเทศ เผอื ก ขา้ วโพด กล้วยดิบ ถั่ว ฟกั ทอง หอม ตะไคร้ ถูกนำ� ไปร่วมกนั ในกระทะใบบัวบนเตาท่ีร้อนแล้วกวนจนส่วนประกอบท้ังหมดละลายเป็น เนอ้ื เดียวกัน จากนั้นใช้ไฟอ่อนกวนต่อไปจนหนดื เหนียวข้น จึงยกลงใส่ในถาด เนื้อขนมจะแข็งอีกเม่ือท้ิงไว้ให้เย็น ขนมส่วนหนึ่งถูกใช้ในพิธีกรรม และส่วนท่ี เหลือก็ใชเ้ ล้ียงคนท้งั หมบู่ า้ นรวมทั้งแขกเหรอื่ ทม่ี าร่วมงาน แทจ้ รงิ ของการร่วม งานบญุ ไมไ่ ดอ้ ยทู่ ตี่ วั ขนม แตห่ ากเปน็ การสรา้ งเงอื่ นไขใหค้ นในชมุ ชนท�ำงานรว่ ม กนั แลว้ ตอ่ ดว้ ยประเพณเี มาลดิ เปน็ วนั เกดิ ของทา่ นนบมี ฮู มั หมดั (ซ) ชาวมสุ ลมิ ได้ท�ำบุญไปละหมาดร่วมกันท่ีมัสยิดเพื่อร�ำลึกถึงท่านนบี และอวยพรร่วมกัน รับประทานอาหารพร้อมกันและมีเด็กๆคอยรับสตางค์ท่ีห่อด้วยกระดาษสีใส่ ใบเตยชิ้นเล็กๆเพ่ือเพิ่มความหอมหวานในห่อน้ัน ประเพณีต่างๆ ส่งผลให้เกิด ความเชื่อ รวมถึงการเกิดของชาวมุสลมิ วิธกี ารตอ้ นรบั สมาชกิ ใหมใ่ นสมัยก่อน นั้น จะเร่ิมต้นตั้งแต่หญิงที่ต้ังท้อง ๗ เดือนที่ฝากท้องกับหมอต�ำแย ก็เข้าพิธี “แนแง” หรอื การสะเดาะเคราะหเ์ ปน็ การสรา้ งขวญั กำ� ลงั ใจใหแ้ กค่ ณุ แมค่ นใหม่ ในพิธีจะมหี มากพลู ๗ ใบ มะพรา้ วแก่ทปี่ อกเปลือกเหลือแต่กะลา แล้วน�ำมา กล้ิงบนท้องของผู้หญิงท้องเบาๆ แล้วปล่อยลงทางขาของผู้หญิง ซึ่งวิธีน้ีมี ความเช่ือว่าคุณแม่คนใหม่จะคลอดง่ายและปลอดภัย เม่ือถึงก�ำหนดคลอด หมอต�ำแยคนเดิมก็จะมาท�ำคลอดโดยมีเคล็ดต้องเตรียมข้าวสาร ด้ายดิบ เหรียญเงนิ ๑๒ บาท พลู ๑ ใบหมากครึง่ ลูก แล้วน�ำไปรว่ มไว้ในจาน เมื่อเดก็ นอ้ ยลมื ตาดโู ลก กจ็ ะนำ� เดก็ นอ้ ยนอนในถาดโดยมขี า้ วสารโปรยและวางผา้ หรอื เบาะนำ� ตวั เดก็ นอ้ ยวางลงไปในถาดจะมโี ตะ๊ ครมู าท�ำพธิ อี าซานทหี่ ซู า้ ยและขวา