Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือสามัญ_ขั้นความรู้เบื้องต้น

หลักสูตรการฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือสามัญ_ขั้นความรู้เบื้องต้น

Published by DaiNo Scout, 2021-11-13 07:51:34

Description: หลักสูตรการฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือสามัญ_ขั้นความรู้เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

201 ทำอย่ำงไรเขำจึงจะบรรจุกำหนดกำรของเขำลงในกำรกระทำ - เขาจะสามารถสอนไดห้ รือไม่ - เขาทราบไหมวา่ การทางานของคณะกรรมการเป็ นอยา่ งไร (การประชุมนายหมู)่ - เขาจะรู้ไหมวา่ จะหาความคิดในการประชุมในการเล่นเกมไดจ้ ากไหน ฯลฯ ทป่ี ระชุมนำยหมู่ มีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบเกี่ยวกบั การดาเนินงานทวั่ ไป เก่ียวกบั การบริหารงาน ภายในกองลูกเสือสามญั ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสืออยเู่ บ้ืองหลงั คอยใหค้ าแนะนาและเสนอแนะเมื่อนาย หมูก่ าลงั หลงทาง หรือ ปฏิบตั ิในเรื่องที่ไมถ่ ูกตอ้ ง นี่เป็ นวิธีการฝึกอบรมอยา่ งหน่ึง และก่อนอื่น ลูกเสือตอ้ งไดร้ ับการฝึกอบรมใหเ้ ขา้ ใจวธิ ีการน้ีเสียก่อนอยา่ งซาบซ้ึง ถา้ ไมท่ าใหน้ ายหมูเ่ ห็นจริงโดย ทนั ทีทนั ใดแลว้ เขาก็จะไม่สามารถท่ีจะมองเห็นวถิ ีทางท่ีถูกตอ้ งในการท่ีจะปฏิบตั ิตามแนวทางของ ตนเองได้ จาไวว้ า่ ผกู้ ากบั กองลูกเสือหรืองรองผกู้ ากบั กองลูกเสือไมค่ วรไปบีบบงั คบั หรือกระทาใน ลกั ษณะเป็นเชิงการต่อตา้ นต่อความคิดเห็นของลูกเสือท่ีประชุมนายหมู่ ควรหาวธิ ีที่ดีที่สุดในการ ปฏิบตั ิต่อเรื่องเหล่าน้ี โดยให้เขาไดร้ ู้จกั กบั “การใหแ้ ละการรับ” ซ่ึงเป็นเรื่องที่เขาจะมีชีวติ ผกู พนั อยู่ กบั สงั คมหรือชุมชนต่อไปในอนาคต ท่ีประชุมนายหมู่ ประกอบดว้ ย หวั หนา้ นายหมูล่ ูกเสือ (ถา้ มี) และนายหมูล่ ูกเสือ บางโอกาส อาจเชิญรองนายหมูล่ ูกเสือเขา้ ร่วมในประชุมดว้ ย เวน้ แต่การประชุมที่เกี่ยวกบั วนิ ยั หากผบู้ งั คบั บญั ชา ลูกเสือเขา้ ร่วมประชุมดว้ ยควรทาหนา้ ที่แตเ่ พียงที่ปรึกษา ท่ีประชุมนายหมู่ลูกเสือ มีหนา้ ท่ี 1. พจิ ารณาการรักษาเกียรติของกองลูกเสือ 2. จดั รายการกิจกรรมของกองลูกเสือ 3. พจิ ารณาการบริหารภายในของกองลูกเสือ 4. ควบคุมการรับ – จา่ ยเงินของกองลูกเสือ แนวปฏิบตั ิในกำรประชุมนำยหมู่ลูกเสือ ทปี่ ระชุมนำยหมู่ การฝึกระบบหมูข่ องลูกเสือเป็นแนวทางที่จะปลูกฝังระบอบประชาธิปไตยใหก้ บั เดก็ และ เป็นหลกั สาคญั ของการฝึกอบรมลูกเสือ จึงเป็ นเร่ืองที่ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือจะตอ้ งเอาใจใส่ และฝึกฝน อบรมปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบและวธิ ีการ ดงั น้ี กำรจัดทปี่ ระชุมนำยหมู่ 1. หอ้ งประชุม ในหอ้ งประชุมจดั ใหม้ ีโตะ๊ หมูบ่ ูชา มีพระพุทธรูป ธงชาติ และพระบรมฉายา ลกั ษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลปัจจุบนั กบั มีพระบรมรูปของพระบาทสมเดจ็ พระมุง กุฎเกลา้ ฯ เจา้ อยหู่ วั องคพ์ ระผพู้ ระราชทานกาเนิดลูกเสือไทย และรูปของลอร์ด เบเดน โพเอลล์

202 2. โตะ๊ ประชุม ควรจดั ใหม้ ีเกา้ อ้ีประชุมตามจานวนของนายหมู่ และจดั ที่นงั่ เป็นพิเศษสาหรับ ผกู้ ากบั กองลูกเสือหรือรองผูก้ ากบั กองลูกเสือที่จะเขา้ ประชุมดว้ ยในฐานะที่ปรึกษา โดยจดั ใหน้ ง่ั อยู่ ทางซา้ ยของประธาน 3. การจดั ที่นงั่ จะตอ้ งกาหนดไวใ้ หท้ ราบ โดยมีการเขียนป้ายหรือเคร่ืองหมายแสดงไว้ ณ ที่ น้นั ๆ เช่น ประธาน เลขานุการ หมู่สิงโต หมูเ่ สือ หมู่นกหวั ขวาน ฯลฯ และผกู้ ากบั ลูกเสือ 4. ผเู้ ขา้ ประชุม - นายหมูท่ ุกหมู่ ถา้ นายหมู่ไมอ่ ยใู่ หร้ องนายหมูเ่ ขา้ ประชุมแทน - ผกู้ ากบั ลูกเสือ ถา้ ผกู้ ากบั ไม่อยใู่ หร้ องผกู้ ากบั เขา้ ประชุมแทน - ผทู้ รงคุณวฒุ ิที่กองลูกเสือเชิญมาเพอ่ื แนะนาวชิ าการเป็ นคร้ังคราว การเลือกประธานและเลขานุการ ท่ีประชุมทาได้ 2 วธิ ี ก. ที่ประชุมเลือกประธานและเลขานุการใหเ้ ป็ นประธาน และเลขาฯ ตามเวลาที่กาหนด ไว้ 6 เดือน หรือ 1 ปี เม่ือครบกาหนดแลว้ ควรมีการเลือกกนั ใหม่ ข. ใหน้ ายหมู่หมุนเวยี นกนั เป็นประธาน เลขานุการ ของที่ประชุม 5. การเขา้ ห้องประชุม เลขานุการจะเป็ นผเู้ ขา้ ก่อนแลว้ จึงเชิญนายหมูต่ ่าง ๆ เขา้ หอ้ งประชุมจนถึงประธานและท่ี ปรึกษาเขา้ เป็นคนสุดทา้ ยผทู้ ี่เขา้ ประชุมก่อนท่ีจะเขา้ นง่ั จะตอ้ งไปไหวพ้ ระพทุ ธรูป (ยกเวน้ ผทู้ ี่นบั ถือ ศาสนาอ่ืน มิใช่ศาสนาพทุ ธ ใหแ้ สดงความเคารพต่อธงชาติและพระบรมฉายาลกั ษณ์ไดเ้ ลย) และ แสดงความเคารพตอ่ ธงชาติ และพระบรมฉายาลกั ษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ตามลาดบั เสียก่อน โดยวธิ ีวนั ทยหตั ถ์ แลว้ จึงไปนงั่ ยงั ท่ีของตน (ยกเวน้ ประธานจะตอ้ งจุดธูปเทียนและกราบที่ ไหวพ้ ระ) 6. การเปิ ดประชุม เป็นหนา้ ท่ีของประธานท่ีจะกล่าวเปิ ด โดยลุกข้ึนยนื หนั หนา้ เขา้ สู่ท่ีประชุมยน่ื มือขวาออกไป ขา้ งหนา้ ทามุมประมาณ 45 องศา แขนเหยยี ดตรงแสดงรหสั ของลูกเสือแลว้ กล่าววา่ “บดั น้ีสมาชิก ของท่ีประชุมไดม้ าครบองคป์ ระชุมแลว้ ขา้ พเจา้ ขอเปิ ดการประชุม ขอใหส้ มาชิกท้งั หลายไดใ้ ชส้ ิทธิ และเสรีภาพของทา่ นโดยเสรีในการประชุมและใหถ้ ือวา่ การประชุมน้ีเป็นความลบั ไม่เปิ ดเผย” เม่ือ ประธานกล่าวจบแลว้ ลดมือลงมาแสดงรหสั สมาชิกที่เขา้ ประชุมยนื ข้ึนพร้อมกนั พร้อมกบั ยกมือขวา ข้ึนแสดงรหสั ลูกเสือแบบใหค้ าปฏิญาณของลูกเสือแลว้ กล่าวพร้อมกนั วา่ “ขา้ พเจา้ จะถือวา่ การประชุม น้ีเป็นความลบั เวน้ ไวแ้ ต่จะไดร้ ับความเห็นชอบจากท่ีประชุม” เสร็จแลว้ ประธานนงั่ ลงสมาชิกนงั่ ลง พร้อมกนั จากน้นั จึงให้ดาเนินการประชุมตามระเบียบวาระตอ่ ไป 7. การพดู ในที่ประชุม ก่อนพดู ตอ้ งยกมือของอนุญาต เม่ือประธานอนุญาต จึงจะพดู ได้ (และจะตอ้ งพูดกบั ประธาน ทุกคร้ัง) เม่ือเวลาพดู ใหน้ งั่ ไม่ตอ้ งยนื

203 8. การนดั หมายเรียกประชุม เป็นหนา้ ที่ของเลขานุการที่จะแจง้ นดั หมายไป 9. การจดั ระเบียบวาระการประชุม เป็นหนา้ ที่ของเลขานุการโดยประสานงานกบั ประธาน 10. เร่ืองที่จะจดั เขา้ วาระการประชุมนายหมู่ ควรเป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวกบั หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบใน กองลูกเสือของตน จดั ทากาหนดการฝึกอบรม การอยคู่ ่ายพกั แรม การเงิน การลงโทษ การให้ รางวลั และการแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ฯลฯ เป็นตน้ 11. รายงานการประชุมของนายหมู่ ผเู้ ขา้ ร่วมประชุมจะตอ้ งถือเป็นความลบั ไม่ควรเปิ ดเผย เวน้ แต่จะไดร้ ับความเห็นชอบจากที่ประชุม 12. การจดรายงานการประชุม เป็นหนา้ ท่ีของเลขานุการจะตอ้ งเป็นผจู้ ดและจดั ทารายงาน การประชุมบนั ทึก ลงในสมุดและสาเนาแจง้ ใหผ้ เู้ ขา้ ประชุมทราบ 13. ผดู้ ารงตาแหน่งประธานที่ประชุมนายหมู่ เป็นบุคคลที่ผกู้ ากบั แตง่ ต้งั จากนายหมูท่ ี่นาย หมูส่ ่วนมากเห็นชอบดว้ ย 14. เลขานุการของท่ีประชุม ประธานท่ีประชุมเป็นผแู้ ต่งต้งั จากนายหมูโ่ ดยใหน้ งั่ อยทู่ างซา้ ย ของกองลูกเสือ ประธาน (เลขานุการ จะเป็ นผเู้ ชิญนายหมู่เขา้ ท่ีประชุมนายหมูท่ ีละคนจนถึงประธาน แลว้ จึงเชิญผกู้ ากบั กองลูกเสือ เป็นคนสุดทา้ ย) เลขานุการ มีสิทธิแสดงความคิดเห็นไดไ้ มม่ ีสิทธิออก เสียงลงคะแนนและมติของท่ีประชุม 15. ผกู้ ากบั กองลูกเสือ ท่ีเขา้ ประชุมไมม่ ีสิทธิออกเสียงในท่ีประชุมแตม่ ีสิทธิยบั ย้งั การกระทา ใด ๆ ท่ีผกู้ ากบั กองลูกเสือ เห็นวา่ ถา้ จะปล่อยใหท้ าไปตามขอ้ ตกลงของท่ีประชุมแลว้ อาจก่อใหเ้ กิดผล เสียหายข้ึนได้ 16. การปิ ดประชุมประธานจะลุกข้ึนยนื หนั หนา้ เขา้ สู่ที่ประชุม ยนื่ มือขวาออกไปขา้ งหนา้ ทามุมประมาณ 45 องศา แขนเหยยี ดตรงแสดงรหสั ของลูกเสือ แลว้ กล่าววา่ “ขา้ พเจา้ ขอปิ ดการ ประชุม” เม่ือประธานกล่าวจบใหน้ ายหมูท่ ุกคนลุกข้ึนยนื ทาวนั ทยหตั ถแ์ ก่ประธาน (ประธานทา วนั ทยหตั ถต์ อบ) เลขานุการออกเป็นคนสุดทา้ ย หมำยเหตุ ในการประชุมนายหมู่ นายหมูท่ ุกคนในกองลูกเสือจะตอ้ งเขา้ ร่วมประชุม ในกรณี ที่นายหมูค่ นหน่ึงคนใดไมม่ าที่กองลูกเสือในวนั ประชุม หรือไดร้ ับเลือกใหเ้ ป็นประธาน เลขานุการ ใหร้ องนายหมู่เขา้ ประชุมแทน รองนายหมู่มีสิทธิแสดงความคิดเห็นและออกเสียงลงคะแนนและมติ ไดเ้ ช่นเดียวกบั นายหมู่

204 (ตวั อยา่ งระเบียบวาระการประชุม) ระเบียบวาระการประชุมนายหมูล่ ูกเสือ คร้ังท่ี……../…………….วนั ที่……เดือน………………พ.ศ. …………... ณ………………………… วาระท่ี 1 เรื่องที่ประธานจะแจง้ ใหท้ ราบ วาระท่ี 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมคร้ังท่ี ………/……………… วาระท่ี 3 เร่ืองที่สืบเนื่องจากการประชุมคร้ังก่อน (ถา้ มี) วาระที่ 4 เรื่อง………………เป็นเร่ืองที่จะประชุมพิจารณากนั ในการประชุม (ถา้ มีหลายเรื่องกใ็ ส่วาระท่ี 5 ที่ 6จนหมดเร่ืองที่จะนามาประชุม) วาระที่ 5 เรื่องอ่ืนๆ(ถา้ มี)วาระที่ 5 หรือวาระอนั ดบั สุดทา้ ยน้ีเป็นวาระที่กาหนดสาหรับเรื่องที่ จะมีข้ึน ภายหลงั ท่ีไดก้ าหนดระเบียบวาระไปแลว้ จะไดน้ ามาเขา้ พูดในท่ีประชุมได้ (ตวั อยา่ ง) บนั ทึกรายงานการประชุมนายหมู่ลูกเสือ คร้ังท่ี……../…….….วนั ท่ี……เดือน………………พ.ศ. ………... .. ณ……………………………… ผเู้ ขา้ ประชุม 1. ………………………………………… 2. ………………………………………… 3. ……….………………………………… ฯลฯ ผไู้ ม่มาประชุม (ถา้ มี) เปิ ดประชุมเวลา ……………………น. ประธานกล่าวเปิ ดการประชุมแลว้ ดาเนินการประชุมตามระเบียบวาระต่อไป

205 วาระที่ 1 เรื่อง……………………………………. วาระที่ 2 ประธาน เสนอวา่ ท่ีประชุม (มีมติหรือตกลงอยา่ งไร) ฯลฯ เรื่อง …………………………………. ............................................................ ท่ีประชุม (มีมติหรือตกลงอยา่ งไร) ปิ ดประชุม .…………………น. ลงชื่อ……………………………..ผจู้ ดรายงานการประชุม ท่ีประชุมรับรองรายงานการประชุมน้ีแลว้ การประชุมคร้ังท่ี……./……………… เม่ือ…………………. (ลงชื่อ)………………………………….ประธาน (ลงช่ือ)…………………………………..นายหมู่ ฯลฯ

206 (ตวั อยา่ งบญั ชีลงชื่อผเู้ ขา้ ประชุม) รำยช่ือผ้เู ข้ำร่วมกำรประชุมนำยหมู่ลูกเสือ คร้ังท่ี ………/………………… วนั ท่ี………เดือน………………….พ.ศ………….ณ …………………………………. อนั ดบั ลายเซ็นช่ือ ตาแหน่ง หมายเหตุ

207 ปัญหำต่ำง ๆ ทอ่ี ำจจะเกดิ ขนึ้ 1. ลูกเสือท่ีมีอายนุ อ้ ย จะเห็นวา่ ยงุ่ ยากในการที่จะใหร้ ับผดิ ชอบในการกระทาหนา้ ท่ีรองนาย หมู่หรือนายหมู่ 2. บางทีอาจจะใชเ้ วลาถึง 18 เดือนหรือมากกวา่ ในการท่ีจะพฒั นาการดาเนินงานของระบบ หมู่ภายในกอง 3. มีหลาย ๆ มติของท่ีประชุมนายหมู่ จะเป็นเร่ืองยากท่ีจะปฏิบตั ิตามได้ 4. ลูกเสือรุ่นโตมกั จะละทิ้งกองลูกเสือไป หากกิจกรรมมิไดส้ นองความตอ้ งการของเขา 5. ………………………………….. 6. ………………………………….. อยา่ งไรก็ดี วธิ ีการที่ดีที่วางแผนไวเ้ พ่ือช่วยลดและฝึกอบรมนายหมูจ่ ะก่อใหเ้ กิดผลดีและขจดั ปัญหาหลายอยา่ งได้ ผกู้ ากบั กองลูกเสือจะบรรลุถึงจุดน้ีไดอ้ ยา่ งไร ข้อเสนอแนะบำงประกำร 1. ผกู้ ากบั กองลูกเสืออาจแนะนานายหมู่ ในโอกาสที่เป็นกนั เอง เช่น 1) ระหวา่ งการประชุมนายหมู่ 2) หลงั จากการประชุมกอง 3) ระหวา่ งการสนทนาเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ในขณะท่ีด่ืมน้าชากาแฟหลงั การประชุม 4) ในการอยคู่ ่ายพกั แรม 5) ……………………………………….. 6) ……………………………………….. 2. การสนบั สนุนส่วนตวั ของผกู้ ากบั 1) ยกยอ่ งและยว่ั ยรุ ะหวา่ งการประชุมหมู่หรือกอง 2) ใหโ้ อกาสแก่นายหมู่ เพอื่ จะนาความคิดเห็นและปัญหาไปปรึกษาผกู้ ากบั กองลูกเสือ 3) ช่วยเหลือนายหมู่ตดั สินใจและแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง 4) ………………………………………… 5) ………………………………………… 3. ในโอกาสที่มีการฝึกอบรมนายหมู่ ใหเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมเป็นคร้ังคราวเม่ือมีการฝึกอบรมนายหมู่ ใหเ้ ขา้ รับการฝึ กอบรมพเิ ศษ โดยผกู้ ากบั กลุ่มและมีบุคคลภายนอกมาช่วย ช่วยเหลือนายหมู่ตดั สินใจและแกป้ ัญหาดว้ ยตวั เขาเอง ………………………………………… …………………………………………

208 4. เสนอแนะใหม้ ีการอ่าน 1) จดั ใหม้ ีหนงั สือคู่มือการลูกเสือ เพ่ือเกิดความคิด 2) จดั ใหม้ ีหนงั สือขา่ วสารการลูกเสือ 3) จดั ใหม้ ีข่าวสารความคิดเห็นในเหตุการณ์ในตาบล และหมู่บา้ นในกิจการลูกเสือ 4) จดั ใหม้ ีหนงั สือตา่ ง ๆท่ีมีคุณคา่ ในกิจกรรมตา่ ง ๆ 5) …………………………………………. 6) …………………………………………. จงทาบญั ชีแสดงโอกาสตา่ ง ๆ ท่ีท่านในฐานะผกู้ ากบั กองลูกเสือหรือรองผกู้ ากบั กองลูกเสือ จะก่อใหเ้ กิดข้ึนภายในกองลูกเสือของทา่ น เพอ่ื ใหม้ ีการสนบั สนุนและใหก้ ารฝึกบรมนายหมู่ลูกเสือ ของท่านมากข้ึน ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… เอกสำรอ้ำงองิ ขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการปกครอง หลกั สูตรและวชิ าพิเศษลูกเสือพ.ศ. 2509

เรื่อง กำรเล่นเกม 209 บทเรียนท่ี 16 เวลำ 30 นำที ขอบข่ำยวชิ ำ 1. ประโยชนแ์ ละความมุ่งหมายของเกม 2. ประเภทของการเล่นเกมของลูกเสือ 3. การเลือกและการดดั แปลงการเล่นเกม 4. การจดั ทาบญั ชีอุปกรณ์การเล่นเกม จุดหมำย เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั เทคนิคและวธิ ีการเล่นเกมของ ลูกเสือสามญั วตั ถุประสงค์ เม่ือจบบทเรียนน้ีแลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. อธิบายประโยชน์และความมุง่ หมายของเกมในลกั ษณะที่เป็นวธิ ีการฝึกอบรมอนั เหมาะสมกบั วยั ของเดก็ ลูกเสือสามญั ได้ 2. บอกประเภทและอธิบายวธิ ีการเล่นที่ถูกตอ้ ง เพ่ือการเล่นที่สมบูรณ์ได้ 3. เลือกและดดั แปลงเกมตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของเดก็ และสิ่งแวดลอ้ ม 4. จดั ทาบญั ชีเบ้ืองตน้ สาหรับหีบอุปกรณ์ของเกมได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม 1. อารัมภบทเกี่ยวกบั ประโยชน์ ประเภท วธิ ีการเล่นเกมในกองลูกเสือ 10 นาที 2. สาธิตการเล่นเกม และใหเ้ ล่นเอง 10 นาที 3. การตรวจหีบอุปกรณ์ของเกม การแสดงตวั อยา่ งหนงั สือเกม และประโยชน์ของเครื่องมือต่าง ๆ ในการเรียน 5 นาที 4. สรุป 5 นาที สื่อกำรสอน 1. เอกสารประกอบบทเรียน 2. อุปกรณ์การเล่นตามชนิดของเกม 3. แผนภูมิ – ภาพเล่ือน หรือแผน่ โปร่งใส กำรประเมินผล 1. การทดสอบดว้ ยการซกั ถาม 2. การปฏิบตั ิจริง

210 3. การสงั เกตพฤติกรรม เนื้อหำวชิ ำ ควำมสำคญั ของกำรเล่นเกม ในชีวติ ของเขาในกองลูกเสือ ลูกเสือสามญั เร่ิมนาทกั ษะความสัมพนั ธ์เหล่าน้ีเขา้ มาใชป้ ฏิบตั ิ เขาเริ่มทดสอบทกั ษะใหม่กบั ความจริง ท่ีกล่าวเช่นน้ีมิไดห้ มายความวา่ ในอายวุ ยั อนั วเิ ศษน้ีเด็กไดม้ ี ความรู้และทกั ษะในทุกประการ สิ่งเหล่าน้ีเป็นเร่ืองของความเจริญกา้ วหนา้ ในทางประสบการณ์เพื่อ ไปยงั การเป็ นคนหนุ่ม เดก็ จะพยายามทดสอบทกั ษะของเขาเร่ือยไป ขณะเดียวกนั เขาก็เรียนรู้และ ยอมรับเอาทกั ษะใหมเ่ ขา้ มาดว้ ยบางโอกาส ชีวติ เดก็ ส่วนใหญช่ อบเล่นแตก่ ารเล่นเกมอะไรที่จะเป็น ประโยชน์แก่เดก็ เด็กจะไมเ่ รียกร้องเพราะเขาถูกกาหนดตวั ใหม้ ีตาแหน่งในการเล่น ถา้ เดก็ โตข้ึนหาก ใหเ้ ขาเล่นเกมเบา ๆ เขาจะไม่พอใจและหยดุ เล่น ก่อนท่ีเกมจะยตุ ิลง หรือแสดงทา่ ทีไม่สนใจ ไม่รักษา กติกา โลกของการเล่นเป็นโลกแห่งความจริง สาหรับเดก็ ในการเล่นน้ีเด็กจะไดเ้ รียนรู้และทดสอบ ความสามารถของตนเองจนเกิดความชานาญและความเคยชินต้งั แต่เลก็ จนโต สิ่งเหล่าน้ีทาใหเ้ ดก็ รู้จกั การใหแ้ ละการรับ การรู้แพ้ รู้ชนะ สามารถร่วมงานกบั บุคคลอ่ืนไดโ้ ดยราบร่ืน ซ่ึงผกู้ ากบั กองลูกเสือ จะตอ้ งพยายามปลูกฝังส่ิงเหล่าน้ีใหเ้ ด็กเสียแต่เยาวว์ ยั ฉะน้นั การเล่นจึงเป็นส่วนหน่ึงในโลกของเดก็ ดว้ ยวธิ ีการจดั การเล่นอยา่ งรอบคอบและฉลาด ผกู้ ากบั ลูกเสืออาจมีส่วนช่วยส่งเสริมความเจริญเติบโตใหแ้ ก่ลูกเสือตอ่ ไปได้ กองลูกเสือ หมูล่ ูกเสือ อาจจดั ใหม้ ีบรรยากาศที่เป็นมิตรและมีความมนั่ คง อบอุน่ ใจแก่ลูกเสือ และในบรรยากาศน้ีควรสร้างสรรคพ์ ฒั นาทกั ษะต่าง ๆ ใหแ้ ก่เขา เพื่อนาไปใชใ้ นอนาคตขา้ งหนา้ เรำจะใช้กำรเล่นในกำรกำหนดกำรฝึ กอบรมลูกเสือได้อย่ำงไร ? ลูกเสือจะชอบการเล่นที่สนุก ทาใหใ้ จคอเบิกบาน การเล่นที่ประกอบดว้ ยการวง่ิ การกระโดด การไล่จบั กนั ส่ิงเหล่าน้ีช่วยการพฒั นาทางร่างกาย การรู้จกั บงั คบั แขน ขา เพ่มิ ความเจริญเติบโต ใหแ้ ก่ร่างกายโดยทวั่ ไป การเล่นบางอยา่ งช่วยใหม้ ีการพกั ผอ่ นทางสมอง บางอยา่ งฝึกใหส้ มองตอ้ งใช้ ความคิดอยา่ งฉบั ไว การเล่นบางอยา่ ง โดยเฉพาะการเล่นท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั โครงการฝึกอบรมที่กา้ วหนา้ และ เคร่ืองหมายวชิ าพเิ ศษ อาจนามาใชป้ ระกอบการฝึกอบรมไดป้ ระเภทส่งเสริมการเรียนรู้ ก่อนหนา้ น้ีผกู้ ากบั กองลูกเสือมีความลาบากใจท่ีจะเลือกเกมท่ีตรงกบั ความจริง และทา โครงการซ่ึงสมดุลกบั จานวนผเู้ ล่นเเละเวลาอนั จากดั เป็นเกมท่ีไดป้ ระโยชน์สนุกสนาน เกมท่ีเกะกะมี คุณค่านอ้ ย เกมท่ีรุนแรงเด็กจะจาไดร้ วดเร็ว ถา้ เกมน้นั ทาใหท้ ุกคนสนุกสนาน บางกติกาการ รับผดิ ชอบตนเองเป็นเร่ืองจาเป็น ความสาคญั ของการเล่นยตุ ิธรรม ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือผทู้ ี่เล็กกวา่ ออ่ นแอกวา่ หรือร่างกายพิการจะทาใหเ้ ด็กเกิดความรู้สึกภูมิใจในตนเอง

211 กำรเล่นสำหรับลกู เสือ ช่วยใหล้ ูกเสือแต่ละคนทางานเป็นส่วนหน่ึงของชุด โดยเฉพาะเม่ือแขง่ ขนั กบั ชุดอ่ืน น่ีก็เป็น ประโยชน์แก่ลูกเสือเป็นรายคน แต่ผกู้ ากบั กองลูกเสือคงจะเห็นวา่ ควรจะพฒั นาการเล่นใหเ้ กี่ยวพนั กบั การส่งเสริมใหล้ ูกเสือรู้จกั ร่วมกนั ทางานเป็นคณะยง่ิ กวา่ การแข่งขนั กนั เพราะในชีวิตประจาวนั น้นั ความสาเร็จในธุรกิจการงานจะมีข้ึนดว้ ยการทางานร่วมกบั กลุ่มอื่นมากกวา่ การที่ทางานโดยเป็ น ปฏิปักษต์ อ่ กนั กำรเล่นสำหรับหมู่ลกู เสือ ช่วยใหล้ ูกเสือแตล่ ะคนสร้างตนเองเป็นสมาชิกของกลุ่มเล็ก เพอื่ ทาการช่วยเหลือ และหวงั คงจะไดก้ ารยอมรับนบั ถือ ในผลงานที่ตนทา น่ีกเ็ ป็นเร่ืองทกั ษะของการรู้จกั ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น อนั จะเป็นทกั ษะท่ีเป็นประโยชน์แก่ลูกเสือแต่ละคน ฉะน้นั จึงกล่าวไดว้ า่ เป็ นภาวะของผกู้ ากบั กองลูกเสือที่จะเลือกการเล่นอยา่ งระมดั ระวงั ตอ้ ง คิดจุดประสงคไ์ วก้ ่อน จดั ทากาหนดการใหม้ ีการเล่นแตล่ ะอยา่ งไดส้ ัดส่วนกนั ไมใ่ ชก้ ารเล่นเป็ น เครื่อง “ฆา่ เวลา” เพ่ือจะใหไ้ ดค้ ุณคา่ เตม็ ที่ การเล่นตอ้ งใหเ้ กิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน การเล่นที่มีเสียงดงั เกิดโทษใหค้ ุณคา่ นอ้ ย เดก็ จะมองเห็นประเด็นน้ีไดโ้ ดยเร็ว ความสาคญั ของความยตุ ิธรรม ความไมเ่ ห็นแก่ตวั และการช่วยเหลือผทู้ ่ีเล็กกวา่ อ่อนแอกวา่ หรือผพู้ ิการเหล่าน้ีจะปรากฏแก่เด็ก และเด็กจะมีความประทบั ใจ หัวข้อบำงประกำรทพี่ งึ จำเม่ือเตรียมกำรเล่น 1. เกมมีหลายชนิด อยา่ ใหเ้ ล่นการเล่นเก่าท่ีเด็กชอบซ้าซาก ไม่จาเป็นตอ้ งเป็นการแขง่ ขนั หรือแบบวง่ิ ผลดั 2. อุปกรณ์ ควรจดั เตรียมให้พร้อม เรียงตามลาดบั การใช้ ก่อนหลงั ก่อนเร่ิมเล่น 3. กติกา ควรทาใหง้ ่าย และชดั เจน กติกาท่ีสลบั ซบั ซอ้ น จะลืมง่ายเขา้ ใจผดิ และถา้ กาลงั เล่น อยา่ งตื่นเตน้ อาจจะละเมิดกติกาได้ 4. ความยตุ ิธรรม เม่ือมีการละเมิดกติกาหรือการเล่นผดิ ไปจากท่ีอธิบายไวใ้ หห้ ยดุ การเล่น อธิบายใหมแ่ ลว้ จึงเล่นต่อไป การละเมิดกติกาโดยฝ่ ายหน่ึง จะทาใหอ้ ึกฝ่ ายหน่ึงมีปฏิกิริยาตอบโต้ แทน 5. ความสงบเงียบ เป็นส่ิงจาเป็นเมื่ออธิบายการเล่น รวมท้งั ผใู้ หญ่ที่ยนื ดูอยขู่ า้ ง ๆ ดว้ ย 6. การทดลอง การเล่นใหม่ควรเริ่มตน้ ชา้ ๆ เพ่อื ใหแ้ น่วา่ ทุกคนเขา้ ใจ

212 7. การแพ้ – คดั ออก ผกู้ ากบั กองลูกเสือควรเล่ียงการเล่นแบบแพค้ ดั ออก ใหผ้ ถู้ ูกคดั ออกยนื ดู ขา้ งสนาม ควรเลี่ยง เพราะเดก็ เหล่าน้ีจะรวมกนั เล่นอยา่ งอ่ืน ควรใชผ้ สู้ งั เกตการณ์เป็ นผชู้ ่วยตดั สิน ถา้ ตอ้ งการใหเ้ ด็กท่ีถูกคดั ออกไดก้ ลบั เขา้ ไปร่วมการเล่นใหม่ 8. เวลา อยา่ เล่นจนเกินเวลา การเล่นที่ดีจะหมดความหมายไป หากความสนุกหมดลง คู่มือการเล่นเกมเป็นส่วนสาคญั ที่ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือตอ้ งมีไว้ คู่มือเป็นอุปกรณ์ส่วนตวั ท่ี สาคญั ชิ้นหน่ึง สามารถจาแนกชนิดของการเล่นออก ไดด้ งั น้ี 1. กำรเล่นท้งั กอง (Genreal Games) เป็นเกมทว่ั ไปเล่นเบา ๆ สนุกสนาน 2. กำรเล่นทม่ี ีคู่แข่งขัน (Conquer) เป็นการเล่นท่ีมีคู่แขง่ ขนั เล่นไดท้ ้งั กองจะแข่งขนั จากคน หน่ึงไปอีกคนหน่ึงกไ็ ด้ หรือจบั คูแ่ ขง่ ขนั กนั จะมีผชู้ นะในที่สุด เช่น ชนววั 3. กำรเล่นแบบวง่ิ ผลดั (Relay Games) เป็นการเล่นที่ส่งต่อ แขง่ ขนั เป็นหมู่ 4. กำรเล่นเป็ นชุด (Team Games) แข่งขนั เป็ นชุดหรือเป็นทีม 5. กำรเล่นเพื่อทดสอบ (Star Test Games or Test Games) เป็นการเล่นเพือ่ ทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะจากบทเรียนที่ผา่ นมา 6. กำรเล่นเพ่ือฝึ กประสำท (Sense Training Games) เป็นการเล่นฝึกประสาทใหว้ อ่ งไว ใน การฟังคาส่งั การปฏิบตั ิตาม ทาใหเ้ กิดไหวพริบดี 7. กำรเล่นเงยี บ ๆ (Quiet Games) การเล่นที่ไมต่ อ้ งใชเ้ สียง การใชค้ วามคิดหรือกิจกรรมท่ี ตอ้ งการบรรยากาศสงบเงียบ 8. กำรแสดงบทบำท (Acting Games) เป็นการแสดงทา่ ทางสวมบทบาทตวั ละครหรือแสดง บทบาทลอ้ เลียนแบบต่าง ๆ 9. กำรเล่นในทกี่ ว้ำง (Wide Games) เป็ นการเล่นกลางแจง้ ในที่กวา้ ง เช่น การเล่นซ่อนหาไล่จบั และสะกดรอย หีบอปุ กรณ์สำหรับกองและหมู่ลกู เสือ กองและหมูล่ ูกเสือ ควรมีหีบอุปกรณ์การเล่น อุปกรณ์ในหีบยอ่ มจะมีแตกตา่ งกนั แตค่ วรจะมี อุปกรณ์ต่อไปน้ีรวมอยดู่ ว้ ย เช่น เชือก ลูกบอลขนาดเล็ก ถุงถวั่ ชอลก์ ฟุตบอล นกหวดี ผา้ ปิ ดตา ฯลฯ มกั จะมีแนวโนม้ อยวู่ า่ หีบอุปกรณ์การเล่นไดก้ ลายเป็นหีบทิง้ ขยะ ฉะน้นั จึงควรมอบหมายให้ สมาชิกในหมูเ่ ป็นผดู้ ูแลรักษาใหอ้ ยใู่ นสภาพที่ดีอยเู่ สมอ สมุดบันทกึ กำรเล่นส่วนบุคคล มกั มีประโยชนท์ ่ีผกู้ ากบั จะจดั ใหม้ ีสมุดบนั ทึกการเล่นส่วนบุคคลข้ึนไว้ เพื่อบนั ทึกการเล่นท่ี ไดร้ ับการฝึกสอนไปใหม่ พร้อมกบั วธิ ีเล่นและอุปกรณ์การเล่น วนั ที่ไดเ้ ล่นเกมน้ีคร้ังหลงั สุดกค็ วร บนั ทึกไวเ้ พื่อจะไดไ้ ม่ตอ้ งเล่นซ้าใหบ้ ่อยนกั

213 ควำมคดิ เหน็ เกย่ี วกบั กำรเล่น ควรศึกษาหนงั สือเกี่ยวกบั การเล่นเกมตา่ ง ๆ เพ่ือหาความรู้ใหม่เก่ียวกบั การเล่นเพม่ิ เติม ตวั อย่ำงเกม เกมเล่นท้งั กอง “เกมแย่งหำง” ใหล้ ูกเสือใชผ้ า้ ผกู คอเหน็บเขม็ ขดั ท่ีขา้ งล่าง แตใ่ หห้ ลวม ๆ โดยใชช้ ายแลบ ออกมาเป็ นหางใหล้ ูกเสือทุกคนกระจายในสนามท่ีมีขอบเขตจากดั เมื่อใหส้ ญั ญาณเริ่มเล่น ใหล้ ูกเสือ ทุกคนพยายามดึงหางของคนอื่น โดยระวงั ไม่ใหค้ นอื่นดึงหางของตวั เองไปได้ คนที่หางหลุดแลว้ ตอ้ ง ออกจากการเล่นทนั ที ใครดึงหางคนอ่ืนไดม้ ากที่สุดเป็นผูช้ นะ ผกู้ ากบั กองลูกเสือตอ้ งพยายามไมใ่ ห้ ลูกเสือปล้ากนั หรือถูกตวั กนั เกมแข่งขนั ระหว่ำงหมู่ “เกมแข่งขนั เรือบด” ใหล้ ูกเสือยนื เป็นแถว เป็นหมู่ ๆ กนั แลว้ ใหท้ ้งั แถวนง่ั บนส้นเทา้ ปลาย เทา้ เขยง่ คนที่อยหู่ นา้ สุดมือเทา้ สะเอว คนต่อ ๆ ไป เอามือท้งั สองจบั บ่าคนหนา้ เมื่อไดย้ นิ สัญญาณ ให้ เล่ือนไปขา้ งหนา้ ท้งั แถวดว้ ยการกระโดดไปลกั ษณะนงั่ งอเขา่ โดยมิใหม้ ือขาดจากกนั หมูใ่ ดถึงเส้นที่ กาหนดใหก้ ่อนเป็นหมู่ที่ชนะ เอกสำรอ้ำงองิ 1. เกมเบด็ เตล็ด โดยหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมพลศึกษา 2. 108 เกม โดยสโมสรลูกเสือธนบุรี 3. เกมลูกเสือ 4 ประเภท โดยวา่ ท่ี ร.ท. สนั ต์ิ ยวุ ยทุ ธ์

เรื่อง กำรเดนิ ทำงไกลและอย่คู ่ำยพกั แรม 214 บทเรียนที่ 17 เวลำ 210 นำที ขอบข่ำยวชิ ำ 1. ความหมายและความสาคญั ของการเดินทางไกลและอยคู่ ่ายพกั แรม 2. จดั เตรียมลูกเสือและอุปกรณ์การเดินทางไกลและอยคู่ ่ายพกั แรม 3. สาธิต “ข้นั มูลฐานท่ีเก่ียวกบั การอยคู่ ่ายพกั แรม” 4. ปฏิบตั ิในการเดินทางไกลในข้นั เบ้ืองตน้ จุดหมำย เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การเดินทางไกลและอยคู่ า่ ยพกั แรม ตามวธิ ีการของลูกเสือ และสามารถปฏิบตั ิได้ วตั ถุประสงค์ เม่ือจบบทเรียนน้ีแลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. อธิบายความหมายและความสาคญั ของการเดินทางไกลและอยคู่ า่ ยพกั แรมได้ 2. ดาเนินการในการเตรียมลูกเสือและอุปกรณ์ไปเดินทางไกลและอยคู่ า่ ยพกั แรมได้ 3. อภิปรายเก่ียวกบั มาตรฐานการเดินทางไกลและอยคู่ า่ ยพกั แรมได้ 4. บอกทกั ษะบางประการในการอยคู่ ่ายพกั แรมได้ 5. ปฏิบตั ิในการเดินทางไกลตามวธิ ีการของลูกเสือได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม 1. บรรยายประกอบภาพ 10 นาที 2. สอนเป็นฐานเก่ียวกบั อุปกรณ์การอยคู่ า่ ยพกั แรม 30 นาที 3. ประชุมหมู่ อภิปราย 20 นาที 4. ปฏิบตั ิ (ออกเดินทางไกล) 150 นาที สื่อกำรสอน 1. แผนภูมิ แผนภาพ ภาพพลิก แผน่ โปร่งใส ฯลฯ 2. อุปกรณ์ในการอยคู่ ่ายพกั แรม (เป็นฐาน) 3. แผนที่และเขม็ ทิศ กำรประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรม 2. การซกั ถาม 3. การตอบแบบสอบถาม

215 เนื้อหำ กำรประชุมใหญ่ อธิบายเร่ืองการอยคู่ า่ ยพกั แรมของลูกเสือ ทาไมจึงมีการอยคู่ ่ายพกั แรมและมีความจาเป็ น อยา่ งไรที่จะตอ้ งอยคู่ า่ ย ถา้ สามารถจดั หาแผนภูมิและภาพที่สามารถจะดึงดูดความสนใจจากผเู้ ขา้ รับ การฝึกอบรม จะเป็นภาพพลิก แผน่ ป้ายสักหลาด หรือการฉายภาพเพ่ือเพิ่มความสนใจใหม้ ากข้ึนได้ ก็จะเป็นผลดี ควรส่งเสริมใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมออกความคิดเห็นเพิม่ เติมดว้ ย กำรจัดอปุ กรณ์ สถำนทสี่ ำธิตประจำวนั เสนอแนะใหใ้ หผ้ เู้ ขา้ รับการฝึ กอบรมไดร้ ู้จกั เขา้ ใจ และใหพ้ บกบั ความจริงเกี่ยวกบั การสอน เป็นฐาน ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะทราบวา่ เขาตอ้ งการทกั ษะอะไรของการอยคู่ า่ ยพกั แรมบา้ ง แลว้ แนะนาใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมไปศึกษาในฐานน้นั ๆ ใหน้ านเป็นพิเศษ เพื่อจะไดม้ ีความเขา้ ใจทกั ษะ น้นั ๆ ตามที่ตอ้ งการ ทกั ษะในการนาลูกเสือไปอยคู่ า่ ยพกั แรมน้นั มีหลายประการ เช่น การเลือกสถานที่ อุปกรณ์ การกางเตน็ ท์ กิจกรรมระหวา่ งการอยคู่ า่ ย สุขภาพอนามยั การเดินทางสารวจ การผกู เงื่อน ฯลฯ สาหรับการฝึกอบรมข้นั ความรู้เบ้ืองตน้ น้ีจะกล่าวเพียงเลก็ นอ้ ย เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมไดม้ ี ความรู้ไวบ้ า้ งเทา่ น้นั ฐานต่าง ๆ จะตอ้ งมีสิ่งท้งั หลายเหล่าน้ีรวมอยดู่ ว้ ย - การเลือกบริเวณท่ีต้งั คา่ ย - อุปกรณ์เครื่องมือส่วนตวั และของหมู่ - การกางเตน็ ท์ - การก่อกองไฟ การสร้างเตาไฟ และอุปกรณ์การทาครัว - การประกอบอาหาร นอกจากท่ีกล่าวแลว้ อาจจะเพม่ิ เติมฐานใหม้ ีมากข้ึนตามประสงคไ์ ดอ้ ีก เช่น - กิจกรรม ระหวา่ งการอยคู่ ่าย - สุขภาพในการอยคู่ า่ ย - การสุขาภิบาล - เครื่องมือปฐมพยาบาล กำรประชุมหมู่อภิปรำยโดยมีวทิ ยำกรประจำกลุ่ม ใหอ้ ภิปรายส่ิงซ่ึงจะไดร้ ับจากเอกสารประกอบเร่ือง “ มาตรฐานการอยคู่ ่ายพกั แรม” คาถาม ตอ่ ไปน้ีอาจจะช่วยส่งเสริมการอภิปรายได้ ดงั น้ี 1. ความมุง่ หมายของการตรวจคา่ ยมีอะไรบา้ ง 2. มาตรฐานท่ีผฝู้ ึกอบรมมุ่งหวงั มีเพยี งไร 3. จะใหเ้ กิดข้ึนบ่อยคร้ังเพยี งไร 4. ใครจะเป็นผูร้ ับผิดชอบเก่ียวกบั การตรวจคา่ ย 5. ทาอยา่ งไรจึงจะยว่ั ยใุ หล้ ูกเสือปฏิบตั ิการถึงมาตรฐานดียง่ิ ข้ึน

กำรเดนิ ทำงไกลและอย่คู ่ำยพกั แรม 216 เอกสำรประบทเรียนท่ี 17 (ฉบบั ที่ 1) กำรเดินทำงไกล เนื้อหำวชิ ำ การเดินทางไกล คือ การเดินทางของลูกเสือมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อใหล้ ูกเสือไดฝ้ ึก 1. ความอดทน และระเบียบวนิ ยั 2. ทดสอบระบบหมู่ และการเป็นผูน้ าของนายหมู่ 3. รู้จกั การเป็นผนู้ าและผตู้ ามที่ดี ตามวถิ ีทางของประชาธิปไตย 4. ใหร้ ู้จกั รับผดิ ชอบ 5. ทดสอบวชิ าลูกเสือที่เรียนมาแลว้ ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ ไดก้ ล่าววา่ “เด็กยงั ไมเ่ ป็นลูกเสือที่แทจ้ ริง จนกวา่ จะไดเ้ ป็นลูกเสือเอก แลว้ ” โดยเฉพาะการเดินทางของลูกเสือเอกน้นั โดยปกติจะเดินทางไปต่างถ่ิน ซ่ึงผกู้ ากบั จะกาหนด เส้นทางไวใ้ ห้ มีคาสั่ง แลว้ ใหล้ ูกเสือเดินตามคาสง่ั น้นั และจะตอ้ งเขียนรายงานการเดินทางไกลดว้ ย ตนเอง การเดินทางไกลน้ีผกู้ ากบั เป็ นผกู้ าหนดเส้นทางให้ ตอนแรก ๆ ฝึกหดั ใหล้ ูกเสือเดินทางใน ระยะใกล้ ๆ ก่อนเมื่อมีความชานาญข้ึน จึงคอ่ ย ๆ เพม่ิ ระยะทางข้ึน การเดินทางไกลของลูกเสือโท จะตอ้ งเดิน 1 วนั พร้อมดว้ ยลูกเสือตรี 2 คน ลูกเสือโทส่วนมาก ปกติอายุ 11 – 12 ปี ในการเดิน ทางไกลระยะทาง 10 กิโลเมตร ตลอดระยะทางตอ้ งมีการทดสอบวชิ าตามหลกั สูตรรวมอยดู่ ว้ ย การ ทดสอบควรเป็นวชิ าเก่ียวกบั ความเช่ือมน่ั ในความสามารถของตนเอง การพิจารณาสังเกตและจา เร่ือง สนุก ๆ และการผจญภยั สาหรับลูกเสือโท ไม่ใช่เป็ นการทดสอบวชิ าท่ีเรียนมาแลว้ เหมือนลูกเสือเอก ซ่ึงจะตอ้ งทดสอบวชิ าลูกเสือตรี โท และลูกเสือเอก เพ่ือเป็นการทบทวนวชิ าการ และทดสอบดว้ ย กำรเตรียมตวั การเดินทางดว้ ยเทา้ ไม่ใช่เร่ืองยงุ่ ยากแตป่ ระการใด เพยี งแต่มีส่ิงสาคญั บางอยา่ งท่ีตอ้ ง พิจารณา ซ่ึงจะทาใหก้ ารเดินเทา้ ของท่าน เป็ นที่น่าสนุกสนานมากยง่ิ ข้ึน การวางแผนอยา่ งฉลาด และ การเตรียมบางอยา่ งก่อนการเริ่มตน้ ออกไป ซ่ึงจะเป็ นการสายเกินไปที่กลบั มาคิดถึงเร่ืองของการ ป้องกนั เอาไวก้ ่อน ส่ิงสาคญั ประการหน่ึงที่จะตอ้ งคานึงถึงในการเดินทาง โดยเฉพาะการเดินทางดว้ ยเทา้ ก็คือ การเอาใจใส่ดูแลเทา้ ของทา่ นใหถ้ ูกวธิ ี รักษาเทา้ ของทา่ นใหอ้ ยใู่ นสภาพที่ดี ลา้ งเทา้ ของทา่ นบ่อย ๆ

217 ใหส้ ะอาด สาหรับรองเทา้ ตอ้ งใหแ้ น่ใจวา่ รองเทา้ ของท่าน ควรจะมีช่องวา่ งดา้ นหวั รองเทา้ เพ่อื ให้ นิ้วเทา้ แผอ่ อกไปได้ และใหโ้ อบส่วนโคง้ ของหลงั เทา้ และสนั เทา้ อยา่ งกระชบั เพ่ือป้องกนั มิให้ เสียดสีได้ สาหรับการเดินทางดว้ ยเทา้ รองเทา้ ทรงเต้ีย แบบธรรมดากเ็ ป็ นการเพียงพอ แต่สาหรับ ตามชนบทพ้นื ที่ขรุขระตามไหล่เขา รองเทา้ หุม้ ขอ้ หรือรองเทา้ บูท๊ สาหรับการเดินทางเทา้ จะดีกวา่ เชือกผกู รองเทา้ จะตอ้ งดึงใหต้ ึงพอ เพ่ือใหร้ องเทา้ กระชบั แตไ่ ม่ถึงกบั เป็นการผกู มดั เทา้ ของทา่ น เมื่อเกิดเทา้ บวมข้ึนมา ใหค้ ลายเชือกรองเทา้ ออกจนรู้สึกวา่ สบายข้ึน แตอ่ ยา่ ถอดรองเทา้ เพราะอาจจะ สวมกลบั เขา้ ไปไดย้ ากข้ึน ถุงเทา้ อยา่ งท่ีใชเ้ ป็นทางการของลูกเสือถือวา่ ดีเป็ นพเิ ศษ สาหรับการ เดินทางดว้ ยเทา้ ถุงเทา้ ของท่าน ควรจะใส่ไดพ้ อดี ถา้ ไมพ่ อดีควรเป็น 2 คู่ (คูส่ ้นั อยใู่ น คู่ยาวอยนู่ อก) เพือ่ ใหก้ ระชบั ท่านตอ้ งแน่ใจวา่ ถุงเทา้ ไมเ่ ป็นรูหรือขาดเส้นใยหลุดลุ่ย จะไม่ทาใหผ้ วิ หนงั ของท่าน ระคายเคืองดว้ ยแป้งผงช่วยใหส้ บายเทา้ ข้ึนและแหง้ การสวมเส้ือผา้ ที่เหมาะสม จะทาใหท้ า่ นเดินทางไกลอยา่ งมีความสุข เคร่ืองแบบชุดของทา่ น เป็นดีที่สุด มนั ออกแบบไวส้ าหรับการใชง้ านสมบุกสมบนั นอกบา้ น และเป็นเครื่องแสดงตวั วา่ ท่าน เป็นลูกเสือคนหน่ึง ผคู้ นให้ความนบั ถือ ลูกเสือที่เดินทางดว้ ยเทา้ ดูเสมือนเป็ นผปู้ ฏิบตั ิตนตาม แนวทางของลูกเสือที่แทจ้ ริง ทา่ นจะสนุกสนานในการเดินทางไกลของท่านมากยงิ่ ข้ึน เพราะท่านจะมีความรู้สึกวา่ ท่านได้ กา้ วหนา้ ไปขา้ งหนา้ อยเู่ สมอ บางคร้ังทา่ นคงอยากจะหยดุ เพอื่ พิจารณาสิ่งต่าง ๆ ที่ทา่ นไดพ้ บเห็นตาม เส้นทางหรือเกบ็ สิ่งท่ีในคาส่ังเดินทางไกลระบุไว้ แต่เพื่อที่จะไปใหไ้ ดร้ ะยะทางท่ีจะเดินทาง ทา่ นตอ้ ง เคล่ือนท่ีไปขา้ งหนา้ ดว้ ยความเร็วสม่าเสมอ กำรฝึ กอบรมก่อนเดนิ ทำงไกล 1. ฝึกอบรมระเบียบวนิ ยั และระบบหมู่ 2. ฝึกอบรมเก่ียวกบั การปฏิบตั ิระหวา่ งเดินทาง - เดินทางใหถ้ ูกตอ้ งตามกฎจราจร - เดิน 20 นาที พกั 5 นาที - เวลาเดินหา้ มรับประทานของหวาน - ถา้ เดินทางเวลากลางคืน ตอ้ งมีไฟฉาย ตะเกียง ไม่ควรสวมชุดสีดา เพ่ือความปลอดภยั บนทอ้ งถนน - เวลาผา่ นหมู่บา้ น หา้ มเยา้ แหยส่ ัตว์ ทาตนเป็นมิตรที่ดีกบั ชาวบา้ น - อุปกรณ์การเดินทางท่ีนาติดตวั ไป ตอ้ งคอยสารวจอยูเ่ สมอเม่ือเวลาหยดุ พกั หรือ เริ่มออกเดินทางไปยงั จุดต่อไป ท้งั น้ี เพื่อป้องกนั การสูญหาย

218 กำรเตรียมกำรของผ้กู ำกบั ลูกเสือ 1. แบ่งงานใหร้ องผกู้ ากบั กองลูกเสือ ทาการฝึกอบรมก่อนพาเด็กออกเดินทางไกล 2. เมื่อเดก็ ออกเดินทางไกล ตอ้ งมอบหมายงานให้รองผกู้ ากบั กองลูกเสือรับผดิ ชอบทุกคน ตามความถนดั ถา้ รองผกู้ ากบั กองลูกเสือยงั ไมม่ ีประสบการณ์พอ ผกู้ ากบั ตอ้ งสอนหรือ แนะนาก่อน อยา่ บงั คบั ให้เขาทางาน 3. การมอบหมายงานควรเป็ นดงั น้ี - คอยติดตามดูการเดินทางตามเส้นทาง - ระมดั ระวงั เคร่ืองดื่ม อาหาร - การปฐมพยาบาล - ความปลอดภยั ต่าง ๆ ตามที่เห็นควร

219 กำรเดินทำงไกลและอย่คู ่ำยพักแรม เอกสำรประกอบบทเรียนท่ี 17 (ฉบบั ท่ี 2) มำตรฐำนกำรอย่คู ่ำยพกั แรม มาตรฐานการอยคู่ า่ ยพกั แรม คือ การจดั วางเครื่องใชต้ า่ ง ๆในคา่ ยใหเ้ ป็นระเบียบเรียบร้อย เพอ่ื ใหเ้ กิดความสะอาดและถูกอนามยั อุปกรณ์เคร่ืองมือเครื่องใชจ้ ะตอ้ งเก็บรักษาไวใ้ นที่ปลอดภยั โดยวธิ ีถูกตอ้ ง ส่วนเคร่ืองใชส้ ่วนตวั ตอ้ งจดั เก็บไวใ้ หเ้ ป็ นระเบียบเรียบร้อยไม่สูญหาย ปัจจยั ที่สาคญั อยา่ งหน่ึง คือการเปล่ียนแปลงสภาพของการอยคู่ ่ายพกั แรมคือ จากการถือวา่ การอยคู่ า่ ยพกั แรมเป็ นจุดหมายปลายทาง มาเป็นวธิ ีการท่ีจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง นนั่ คือการจดั ใหม้ ีการเดินทางสารวจ และการจดั ใหม้ ีกิจกรรมอื่นอีกดว้ ย ปัจจุบนั น้ี การอยคู่ า่ ยแรมคืนแบบเคล่ือนที่ไดง้ ่าย และเป็ นหมูพ่ ร้อมดว้ ยอุปกรณ์ขนาดเบา เป็นท่ีนิยมกนั มากและตอ้ งใชว้ ธิ ีการที่แตกตา่ งออกไป ปัญหาท่ีเกี่ยวกบั ผกู้ ากบั ลูกเสือ ไม่ใช่ในประเด็นท่ีวา่ ควรจะทาอยา่ งไรบา้ ง แมว้ า่ ประเด็นน้ีก็ เป็นประเด็นสาคญั ก็ตาม แต่อยทู่ ่ีวา่ จะใหก้ ารอยคู่ ่ายพกั แรมของลูกเสือบรรลุถึงมาตรฐานที่ตอ้ งการได้ อยา่ งไร ท้งั ๆ ท่ีไดก้ าหนดวธิ ีการต่างๆ ไวอ้ ยา่ งรัดกมุ เขม้ งวดและเหมาะสมกบั ลูกเสือวยั 11 – 12 ปี แลว้ แต่วธิ ีเดียวกนั น้ี อาจจะไม่เหมาะสาหรับเดก็ วยั 15 –16 ปี กไ็ ด้ การที่จะช่วยเหลือใหบ้ รรลุมาตรฐานสูงในการอยคู่ ่ายพกั แรมน้นั ข้ึนอยกู่ บั ภูมิหลงั และ การศึกษาเล่าเรียนของลูกเสือมากเหมือนกนั ผกู้ ากบั ลูกเสือตอ้ งเขา้ ใจลูกเสือของตน และรู้วา่ วธิ ีไหน จะเป็นวธิ ีท่ีดีที่สุดที่จะทางานร่วมกบั ลูกเสือ ที่จะกล่าวไดด้ ว้ ยความมน่ั ใจ วา่ การอยคู่ ่ายพกั แรมน้นั ควรใชว้ ธิ ีการของระบบหมู่ นนั่ คือ การมอบภาระความรับผิดชอบใหแ้ ก่นายหมู่อยา่ งจริงจงั เช่ือใจนายหมู่และใหค้ วามมน่ั ใจกบั นายหมู่ วา่ เขาจะไดใ้ หก้ ารช่วยเหลือเม่ือประสบปัญหาต่าง ๆ และขจดั ปัญหาน้นั ให้หมดไป เม่ือผกู้ ากบั ไดส้ ร้างความสมั พนั ธ์อนั ถูกตอ้ งกบั นายหมู่ตา่ ง ๆ และท่ีประชุมนายหมูไ่ ดท้ า หนา้ ท่ีอยา่ งมีประสิทธิภาพแลว้ ลูกเสือจะเป็นผูร้ ักษามาตรฐานกนั เอง โดยไดร้ ับความสนบั สนุนจากผู้ กากบั ลูกเสือ ที่กล่าวน้ี มิใช่เรื่องเฉพาะนายหมูล่ ูกเสือวยั 14 – 16 ปี แต่เป็นการกล่าวโดยทวั่ ๆ ไปในกรณี ที่ผกู้ ากบั ลูกเสือไม่สามารถจะปกครองลูกเสือท่ีมีอายมุ ากกวา่ ไดโ้ ดยปกติก็เพราะวา่ ผกู้ ากบั ไมส่ ามารถ สร้างความสัมพนั ธ์อนั ดีกบั เด็กอนั เป็นสิ่งจาเป็นที่จะทาใหร้ ะบบหมูด่ าเนินไปไดอ้ ยา่ งเรียบร้อย สนอง ความตอ้ งการของเดก็ วยั น้นั อยา่ งไรก็ดี ในระหวา่ งการฝึ กอบรมลูกเสือวยั รุ่นที่ไมม่ ีประสบการณ์ในการอยคู่ า่ ยพกั แรมมา ก่อน การใชร้ ะบบการตรวจค่ายพกั แรมและการแข่งขนั เป็ นวธิ ีการสร้างนิสัยท่ีดีสุด เมื่อบรรลุถึงจุดน้ี

220 แลว้ จะนาไปสู่ถึงการอยคู่ า่ ยพกั แรมโดยหมูล่ ูกเสือ อนั มีนายหมูต่ า่ ง ๆ ไดร้ ับความไวว้ างใจ ใหเ้ ป็น ผดู้ าเนินการโดยตลอด ผกู้ ากบั มีส่วนเกี่ยวขอ้ งเพียงเล็กนอ้ ยท่ีกล่าวเช่นน้ีมิไดห้ มายความวา่ ผกู้ ากบั ลูกเสือไมต่ อ้ งทาอะไรเลย ผูก้ ากบั มีบทบาทท่ีสาคญั ตอ้ งแสดงตลอดเวลา โดยการส่งเสริมและ ช่วยเหลือนายหมูท่ ้งั หลายแกป้ ัญหาต่างๆท่ีเกิดข้ึน โดยดูแลทว่ั ไปและรู้วา่ มีปัญหาอะไรเกิดข้ึน ท้งั ส่งเสริมใหร้ ักษามาตรฐานการอยคู่ ่ายพกั แรมตลอดเวลาไม่ใช่วา่ จะทาหนา้ ที่เพยี งตรวจค่ายในตอนเชา้ เทา่ น้นั 1. ควำมมุ่งหมำยของกำรตรวจค่ำยคืออะไร 1) บุคคล - ความสะอาดและความเป็นระเบียบ - ควรถามไถ่กบั ปัญหาที่เกิดข้ึน ฯลฯ 2) หมู่ - ความภูมิใจในหมู่ของตน - การอยูอ่ ยา่ งมีระเบียบ 3) เส้ือผา้ - แยกผา้ แหง้ จากผา้ เปี ยกมีการนาออกผ่งึ แดด - แยกเส้ือสะอาด จากเส้ือผา้ สกปรก การซกั ฟอกเส้ือผา้ ท่ีสกปรก 4) อาหาร - การประกอบอาหารถูกอนามยั และการเกบ็ รักษาอาหาร - การจดั ทิ้งเศษอาหาร ขยะ โดยวธิ ีถูกอนามยั 5) ถว้ ยชาม ภาชนะหุงตม้ - ความสะอาดและมีที่วา่ งเป็ นระเบียบเรียบร้อย ฯลฯ 6) ไฟ - มีการก่อกองไฟอยา่ งเหมาะสม - การจดั เตรียมฟื น เช้ือไฟ ฯลฯ 7) เตาไฟ - การเกบ็ เช้ือเพลิง - การบารุงรักษา ฯลฯ 2. มำตรฐำนทค่ี วรมุ่งหวงั มีอะไรบ้ำง - คานึงถึงอายุ - ประสบการณ์และมาตรฐานท่ีมีอยใู่ นหมู่ - เดก็ ท่ีอ่อนกวา่ ตอ้ งการความสนใจและคาแนะนามาก - เดก็ โตกวา่ ควรกระตุน้ ใหถ้ ึงมาตรฐานสูงสาหรับเขาเองและสาหรับสมาชิกท่ีอ่อนกวา่

221 3. กำรตรวจค่ำยควรมีอย่ำงสม่ำเสมอ - ข้ึนอยกู่ บั อายแุ ละประสบการณ์ในหมู่ - เด็กอายนุ อ้ ยยอ่ มชอบการตรวจเป็นประจา - เด็กอายมุ ากตอ้ งการความเตือนใจ - การตรวจไม่ใช่การควบคุมตามพิธีการของผใู้ หญ่ - การตรวจแบบเป็น “จุด” หน่ึงจุดใด และการตรวจอยา่ งไม่เป็นทางการโดยผกู้ ากบั กอง ลูกเสือและ นายหมู่ทุกหมู่ร่วมกนั ไปตรวจควรกระทา - การตรวจเวลาเชา้ เม่ือไปอยคู่ ่ายในระยะวนั แรก ๆ จะช่วยสร้างความเป็นระเบียบใน ที่ต้งั เต็นท์ 4. ใครจะเป็ นผู้รับผดิ ชอบสำหรับกำรตรวจ - โดยปกติผกู้ ากบั กองลูกเสือหรือรองผกู้ ากบั กองลูกเสือ - โดยหวั หนา้ หมู่ และนายหมู่ร่วมกนั - การชมเชย และตาหนิเพ่ือสร้างสรรคก์ ารอยคู่ ่ายใหด้ ีข้ึน - การจดั ฝึกอบรมก่อนมาค่าย เก่ียวกบั การจดั กาหนดการ - การใชห้ นงั สืออบรมก่อนมาคา่ ย - ความสนุกในการอยคู่ ่ายพกั แรม - การอยคู่ า่ ยพกั แรมของลูกเสือ 5. ทำอย่ำงไรจึงจะส่งเสริมให้ลูกเสือบรรลถุ งึ มำตรฐำนกำรอยู่ค่ำยพกั แรม ข้ันสูง - ลูกเสือทุกคนควรมีความซาบซ้ึงถึงความมุง่ ประสงคข์ องการตรวจค่าย - ควรยกยอ่ งชมเชย ยง่ิ กวา่ การกล่าวตาหนิ - ยวั่ ยเุ กิดการแข่งขนั ระหวา่ งหมูต่ ่อหมู่ ใหม้ ีมาตรฐานการอยคู่ า่ ยดีข้ึน - อาจจะยกยอ่ งเป็นรายบุคคล หรือเป็นหมู่แลว้ แตค่ วามจาเป็นท่ีควร - รางวลั ความพยายามท่ีดี รับรู้มาตรฐานท่ีสูงดว้ ย ไมใ่ ช่รับรู้เฉพาะแตม่ าตรฐานท่ีสูงสุด เท่าน้นั - การฝึกอบรมก่อนไปอยคู่ ่ายตามกาหนดการฝึกปกติ - สนบั สนุนใหร้ ักษาประเพณีเดียวกบั มาตรฐานข้นั สูงในการประชุมนายหมู่ - สนทนากบั นายหมูเ่ ป็ นการส่วนตวั เป็นคร้ังคราว ใหค้ าชมเชยและคาแนะนาท่ีเป็ น ประโยชน์ ตามท่ีจาเป็ น เอกสำรอ้ำงองิ ขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการปกครอง หลกั สูตรและวชิ าพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509

เรื่อง กำรบริหำรงำนในกองลูกเสือสำมัญ 222 บทเรียนที่ 18 เวลำ 45 นำที ขอบข่ำยวชิ ำ 1. หลกั เกณฑใ์ นการต้งั กองลูกเสือ 2. วธิ ีการขอต้งั กองลูกเสือ 3. การทาเอกสารขอต้งั กอง และเอกสารภายในกอง จุดหมำย เพ่ือใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรม สามารถขอจดั ต้งั กองลูกเสือ และบริหารงานในกองลูกเสือได้ วตั ถุประสงค์ เม่ือจบบทเรียนน้ีแลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. อธิบายการบริหารงานในกองลูกเสือสามญั ได้ 2. บรรยายวธิ ีดาเนินการจดั ต้งั กองลูกเสือสามญั ได้ 3. ทาทะเบียนและเอกสารต่าง ๆ ในกองลูกเสือสามญั ได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม 30 นาที 1. บรรยาย 15 นาที 2. อภิปรายซกั ถาม สื่อกำรสอน 1. แบบพิมพ์ ลส. ตา่ งๆ 2. แผนภูมิการต้งั กอง 3. ขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติ ฯ พ.ศ. 2556 4. กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเครื่องแบบ 5. พ.ร.บ. ลูกเสือ กำรประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรม 2. การซกั ถาม 3. การใหต้ อบแบบสอบถาม

223 เนื้อหำ กำรดำเนินงำนจัดต้ังกองลูกเสือสำมญั ใหป้ ฏิบตั ิตอ่ ไปน้ี 1. รวบรวมเดก็ ชายที่อายอุ ยใู่ นเกณฑท์ ่ีจะเป็นลูกเสือสามญั จานวน 2 - 6 หมู่ (หมูห่ น่ึง 6 - 8 คน) กองหน่ึงอยา่ งนอ้ ย 12 คน และกองหน่ึงไม่เกิน 48 คน 2. มีผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือที่ผา่ นการฝึกอบรมวชิ าลูกเสือสามญั ข้นั ความรู้เบ้ืองตน้ (B.T.C) เป็นอยา่ งนอ้ ย 1 คน เป็นผกู้ ากบั กองลูกเสือและมีอายไุ มน่ อ้ ยกวา่ 20 ปี กบั มีรองผกู้ ากบั กองลูกเสือ อยา่ งนอ้ ย 1 คน มีอายไุ ม่นอ้ ยกวา่ 18 ปี (รองผกู้ ากบั กองลูกเสือน้ีไม่จาเป็นตอ้ งผา่ นการฝึ กอบรมมา ก่อน แต่ควรหาโอกาสเขา้ รับการฝึกอบรม) 3. เมื่อไดเ้ ด็กครบจานวนในขอ้ 1 แลว้ เร่ิมทาการสอนวชิ าในหลกั สูตรลูกเสือตรี โท เอก และวชิ าพเิ ศษตามท่ีกาหนดในขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติ 4. ดาเนินการขออนุญาตต้งั กองตามลาดบั ข้นั โดยใชแ้ บบพิมพ์ ดงั น้ี 1. ลส. 1 (คาร้องขอต้งั กลุ่ม, กอง) จานวนกองละ 1 - 3 แผน่ 2. ลส. 2 (ใบสมคั ร ผบ.) จานวนคนละ 1 - 3 แผน่ 3. ทาหนงั สือนาของผขู้ ออนุญาตปะหนา้ ไปดว้ ย แบบพิมพด์ งั กล่าวน้ีใหท้ าเป็ น 3 ชุด คือ เกบ็ ไวเ้ ป็นสาเนาท่ีโรงเรียน 1 ชุด ส่งจงั หวดั 1 ชุด ถา้ สังกดั จงั หวดั ทาเป็น 2 ชุด เก็บไวท้ ี่โรงเรียน 1 ชุด หรือสงั กดั สานกั งานลูกเสือแห่งชาติ ใหท้ าเป็น 2 ชุด คือ เกบ็ ไวท้ ่ีโรงเรียน 1 ชุด ส่งสานกั งานลูกเสือแห่งชาติ 1 ชุด 5. เม่ือไดร้ ับอนุมตั ิใหต้ ้งั กองแลว้ และเดก็ เรียนจบหลกั สูตรลูกเสือตรีใหท้ าพธิ ีเขา้ ประจากอง ใหเ้ รียบร้อย (เดก็ จะไดแ้ ตง่ เคร่ืองแบบลูกเสือสามญั ถูกตอ้ ง ในวนั ทาพิธีเขา้ ประจากอง) สิ่งทตี่ ้องจัดทำให้มใี นกองลูกเสือสำมัญ 1. สถานที่ฝึกอบรมท้งั ที่ร่มและกลางแจง้ 2. หอ้ งประชุมหรือหอ้ งลูกเสือโดยเฉพาะ 3. ทะเบียนต่าง ๆ คือ 1) คาร้องขอต้งั , กอง (ลส. 1) 2) ใบสมคั รเป็นผบู้ งั คบั วชิ าลูกเสือ (ลส. 2) 3) ใบสมคั รเป็นลูกเสือ (ลส. 3) 4) ใบโอนกอง (ลส. 4) 5) ทะเบียนลูกเสือสามญั (ลส. 7) 6) รายงานลูกเสือประจาปี (ลส. 10) 7) ใบต้งั กลุ่มลูกเสือหรือต้งั กองลูกเสือ (ลส. 11, ลส. 12)

224 8) ใบแต่งต้งั ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือ (ลส. 13) 9) บตั รประจาตวั ลูกเสือสามญั (ลส. 16) 10) ใบเสร็จเงินคา่ บารุงลูกเสือ (ลส.19) 4. บนั ทึกการประชุมผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือ 5. บนั ทึกการสอนของผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือ 6. บญั ชีรายช่ือ 7. สมุดหมายเหตุกอง 8. แผนภูมิตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั กิจกรรมของลูกเสือเพ่ือประกอบการสอน 9. บนั ทึกรายงานการประชุมนายหมู่ (Court of Honour) 10. หนงั สือคูม่ ือต่าง ๆ เอกสำรอ้ำงองิ 1. ขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติวา่ ดว้ ยการปกครองหลกั สูตรและวชิ าพเิ ศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 2. www.scout.org 3. www.scoutthailand.org

เรื่อง กำรวำงแผนกำหนดกำรฝึ กอบรม 225 บทเรียนที่ 19 เวลำ 90 นำที ขอบข่ำยวชิ ำ 1. ความหมายและประเภทของการวางแผน 2. ข้นั ตอนการวางแผน 3. ขอ้ ควรคานึงในการวางแผนกาหนดการฝึกอบรมลูกเสือ 4. ตวั อยา่ งการวางแผนระยะยาว ระยะส้ัน และการประชุมกองลูกเสือ จุดหมำย เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรม สามารถวางแผนกาหนดการฝึกอบรมได้ วตั ถุประสงค์ เม่ือจบบทเรียนน้ีแลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. บอกความหมายและประเภทของการวางแผนได้ 2. ช้ีแจงข้นั ตอนการวางแผนงานได้ 3. อธิบายถึงขอ้ ควรคานึงในการวางแผนได้ 4. ร่วมกบั ผกู้ ากบั กองลูกเสืออื่นทาการวางแผนกาหนดการฝึกอบรมลูกเสือสามญั ระยะยาว และระยะส้นั ได้ 5. ประเมินผลการวางแผนระยะส้นั ได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม ตอนที่ 1 1. นาเขา้ สู่บทเรียน และช้ีแจงวตั ถุประสงค์ 10 นาที 2. มอบงานการวางแผนระยะยาวใหแ้ ต่ละหมู่ทา 20 นาที 3. เสนอผลงานการวางแผนระยะยาว 10 นาที ตอนที่ 2 1. มอบงานการวางแผนระยะส้ัน (การประชุมกองลูกเสือ) 30 นาที 2. รายงานผลการวางแผนระยะส้นั 10 นาที 3. สรุป 10 นาที สื่อกำรสอน 1. แผนภูมิ เครื่องฉายภาพขา้ มศีรษะ สไลดภ์ าพ/ขอ้ ความ 2. เอกสารตวั อยา่ งการวางแผนระยะยาว ระยะส้ัน และการประชุมกองลูกเสือ 3. เอกสารหลกั สูตรลูกเสือสามญั , แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือ (ในบทเรียนที่ 7 เร่ืองหลกั สูตรลูกเสือสามญั )

226 4. กระดาษชาร์ท สีเมจิก ไมบ้ รรทดั กำรประเมินผล 1. การสงั เกตพฤติกรรม 2. การซกั ถาม 3. การตอบแบบสอบถาม 4. ผลงานการจดั ทาแผนระยะส้นั / ระยะยาว เนื้อหำ อำรัมภบท อารัมภบทส้นั ๆ เกี่ยวกบั การวางแผนจดั ทากาหนดการ ใหเ้ หตุผลประกอบสาหรับการ วางแผน และใหข้ อ้ แนะนาเพื่อช่วยใหก้ ารจดั ทาดีข้ึน โดยใชเ้ อกสารประกอบ เช่น “การวางแผน กาหนดการประชุมหมู่ ประชุมกองลูกเสือสามญั หลกั สูตรลูกเสือสามญั และแผนการจดั กิจกรรม ลูกเสือสามญั ฯลฯ อธิบายถึงความจาเป็นในการจดั ทาโครงการระยะยาว โดยใชว้ ธิ ีการตามเอกสารหรือ สไลดภ์ าพ/ขอ้ ความประกอบ (Power Point) อธิบายท้งั กาหนดการเป็นภาคเรียนและตลอดปี กาหนด ผรู้ ับผดิ ชอบ ซ่ึงอาจจะเป็ นผูก้ ากบั รองผกู้ ากบั หรือบุคคลท่ีเหมาะสมตามสาระสาคญั ของกาหนดการ ท้งั น้ีควรให้นายหมูล่ ูกเสือมีส่วนร่วมในการกาหนดการน้ีดว้ ย ประการสุดทา้ ย การจดั ทารายละเอียดการประชุมกองลูกเสือ ควรกาหนดลงไดว้ า่ การ เล่นเกมอะไรบา้ ง การฝึกอบรม ใครเป็นผสู้ อนรับผดิ ชอบ การสวดมนต์ การมอบรางวลั และ เคร่ืองหมายวชิ าพิเศษก็เขียนลงไวด้ ว้ ย หรือกิจกรรมที่ตอ้ งการจดั ในแตล่ ะสปั ดาห์ดว้ ย ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือของกองโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ นายหมูล่ ูกเสือควรจะไดม้ ีส่วนร่วมใน การกาหนดการน้ี ทุกคนควรจะรู้วา่ ตนมีหนา้ ที่อยา่ งไร จะสอนวชิ าอะไรในกาหนดการแต่ละสปั ดาห์ น้นั วธิ ีการเช่นน้ีจะเป็ นขอ้ ผกู พนั ดว้ ยประการต่าง ๆ ในการดาเนินงานของกองลูกเสือ เช่น เขา้ ใจถึง งานที่ตอ้ งปฏิบตั ิและการเตรียมความพร้อมดา้ นอุปกรณ์ การกาหนดแผนงานตามวธิ ีน้ีอาจใชเ้ วลาเพยี งเลก็ นอ้ ย เม่ือสิ้นสุดการประชุมและเมื่อได้ ลงมติแลว้ กจ็ ะใชเ้ ป็นมาตรฐานสาหรับท่ีประชุมนายหมู่ จะไดน้ าไปประชุมหารือกนั ต่อไป ในที่สุด นายหมูท่ ้งั หลายก็จะมีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั การดาเนินงานของลูกเสือสามญั กำรทำงำนตำมโครงกำรในหมู่ จงเลือกรายการปฏิบตั ิงานหน่ึงเดือนจากแผนงานประจาปี แลว้ จดั ทาแผนงานละเอียด สาหรับเดือนน้นั อยา่ งนอ้ ยใหม้ ีการประชุมกอง 1 คร้ัง และประชุมหมู่ 1 คร้ัง ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือควรร่วมกนั ทาสัก 2 – 3 คนก็ได้ ถา้ ผบู้ งั คบั บญั ชาท่ีมาจากกอง ลูกเสือเดียวกนั ประสงคจ์ ะทางานร่วมกนั กท็ าได้

227 อนุญาตใหใ้ ชเ้ วลา 10 นาที เพือ่ ใหส้ มาชิกของกลุ่มไดม้ ีโอกาสเปรียบเทียบผลงานและ แสดงความคิดเห็น กำรรำยงำนในทปี่ ระชุมใหญ่ ควรให้โอกาสผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือไดซ้ กั ถามปัญหาเกี่ยวกบั การทากาหนดแผนงาน การไปอยคู่ ่าย และกิจกรรม ใกลจ้ ะปิ ดการประชุมใหพ้ ูดเรื่องการประเมินผลของกิจกรรม ค่ายพกั แรม และการทา กาหนดการของกองลูกเสือ การกระตุน้ เตือนใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมไดใ้ หต้ วั อยา่ งคาถามท่ีควรจะใชถ้ ามวา่ การ ประเมินผลของกาหนดการหรือกิจกรรมอยา่ งอื่นวา่ เป็นอยา่ งไร จงเขียนคาถามเหล่าน้ีลงในแผนภูมิ หรือตอนสุดทา้ ยของเอกสารประกอบจะช่วยไดบ้ า้ ง เพ่ือเป็นขอ้ สรุป

กำรวำงแผนกำหนดฝึ กอบรมลกู เสือ 228 เอกสำรประกอบบทเรียนที่ 19 วำงแผนทำไม ผกู้ ากบั ลูกเสือท่ีมีความคิดอยา่ งมากมายจะไมป่ ระสบผลสาเร็จเตม็ ที่ นอกจากเขาจะไดแ้ บง่ ความคิดเห็นของเขาใหแ้ ก่ผกู้ ากบั ลูกเสือช่วยกนั ทา ผกู้ ากบั ลูกเสือเป็นผวู้ างแผนเพื่อความกา้ วหนา้ ของกองลูกเสือ ลูกเสือจะเป็ นผไู้ ดร้ ับผลสาเร็จตามที่ผกู้ ากบั คิดจะทา การไปอยคู่ า่ ยประจาปี มีความสนุกสนานและผจญภยั มากเพยี งไร ถา้ ผกู้ ากบั ไดว้ างแผนการ ฝึกอบรมใหด้ ี โดยใหล้ ูกเสือไดอ้ อกสารวจเนินเขารอบ ๆ แทนท่ีจะมองดูเฉย ๆ ความต้งั ใจดีที่จะช่วยเหลือลูกเเสือใหม้ ีความสามารถเป็ นรายบุคคล จะไม่ไดผ้ ลแต่อยา่ งใด เวน้ แตผ่ กู้ ากบั จะไดว้ างแผนดว้ ยความรอบคอบวา่ จะใหล้ ูกเสือบรรลุผลสาเร็จอยา่ งไร “วางแผนทาไม ?” เพอ่ื บรรลุถึงจุดหมาย โดยใชเ้ วลา กาลงั คน แหล่งทรัพยากรท่ีมีอยไู่ ดผ้ ลดี ที่สุด ท้งั จะช่วยผกู้ ากบั ใหใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากความคิดเห็นของรองผกู้ ากบั ผฝู้ ึกสอนและนายหมู่ใน หมูค่ ณะของผกู้ ากบั อีกดว้ ยท้งั เป็นโอกาสของผทู้ ่ีจะไดเ้ ฉลี่ยความเป็นผนู้ าของเขาไปยงั บุคคลอื่นดว้ ย กำหนดกำรระยะยำว จะช่วยที่ประชุมนายหมูล่ ูกเสือใหก้ าหนดแผนงานไวล้ ่วงหนา้ ตลอดปี ถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ท่ีประชุมเห็นสมควรวา่ กองลูกเสือของตนควรจะมี ท่ีประชุมจะกาหนดเร่ืองหรื อคติพจน์ของงานประจาปี ข้ึนไว้ คร้ันแลว้ เร่ิมตระเตรียมเกี่ยวกบั กาลงั คนและอุปกรณ์ที่ตอ้ งการจะใช้ ในการดาเนินงาน เพ่ือใหบ้ รรลุตาม “เรื่อง” หรือ “คติพจน์” น้นั กำหนดกำรระยะส้ัน จะช่วยท่ีประชุมนายหมู่ใหก้ าหนดรายละเอียดใหช้ ดั เจนยงิ่ ข้ึนในเรื่อง ต่อไปน้ี 1. วตั ถุประสงค์ 2. ผรู้ ับผดิ ชอบ 3. บทบาทหนา้ ท่ี 4. เวลา 5. สถานท่ี ขอ้ ควรคานงในการกาหนดการสาหรับแผนงาน - อะไรที่จะรวมเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั - มีกิจกรรมมาก ๆ ดีกวา่ การพดู มาก - การเขา้ ร่วมทางานดีกวา่ การพดู - กิจกรรมกลางแจง้ ดีกวา่ กิจกรรมในร่ม

229 สิ่งไม่เคยชินดึงดูดใจมากกวา่ ส่ิงเคย ส่ิงท่ีประหลาดใจทาให้เกิดความสนใจมากกวา่ ส่ิงคาดหมาย ของจริงดีกวา่ ของเทียม จุดหมายท่ีมุ่งจะบรรลุถึง คือ “เรียนรู้โดยการการะทา” อะไรท่ีเราไดย้ นิ เราลืม อะไรที่เราเห็น เราจาได้ อะไรท่ีเราทา เรารู้ ส่วนประกอบทสี่ ำคัญสำหรับกำรประชุมกองลกู เสือ ความสนุกสนาน เร่ืองหวั เราะอารมณ์ร่าเริง – และความสนุกสนานสนานในการ ทางาน ร่วมกบั ผูอ้ ่ืน ระเบียบดี ไม่ใชก้ ารบงั คบั แบบทหารแต่ตอ้ งการใหม้ ีระเบียบวนิ ยั และ มารยาทท่ีดี ในขณะที่ทางานและเล่นรวมกนั การฝึกอบรมกา้ วหนา้ มีการทา้ ทายและความสมั ฤทธิผลสมดุลกนั ความกา้ วหนา้ ของแต่ ละบุคคลเห็นไดช้ ดั โอกาสท่ีแตล่ ะหมู่จะไดท้ าตามโครงการ ฝึกสอนใหร้ ู้จกั การทางานเป็ นทีม กิจกรรมเกี่ยวกบั พลานามยั เป็นกิจกรรมกลางแจง้ การเล่น การอยคู่ ่ายพกั แรม การออกไปฝึก นอกสถานที่ ความสนใจพิเศษของกลุ่ม เช่น การพายเรือ การใชใ้ บ การเดินบนเขา ฯลฯ ส่ิงแปลก ๆ การจดั ประชุมเป็นแบบเดียวกนั หลาย ๆ คร้ังเป็นเร่ืองน่าเบื่อหน่าย การก่อใหเ้ กิดผลทางใจ การชุมนุมกองไฟ การสงบนิ่ง เพ่อื เป็ นการพฒั นาทางจิตใจ การทบทวน เป็นโอกาสท่ีจะฝึกอบรมและทบทวนวชิ าที่เรียนมาแลว้ แนวทำงเพ่ือกำรวำงแผนให้ได้ผล แนวทางต่อไปน้ีจะช่วยนายหมูล่ ูกเสือในการประชุมนายหมู่ เพ่อื ใหจ้ ดั ทาแผนงานท่ีต่ืนเตน้ ผจญภยั และไดผ้ ล อนั ดบั ที่ 1 พจิ ารณางานท่ีตอ้ งทา 1. อะไรที่เราตอ้ งการทาใหส้ าเร็จ 2. อะไรที่เป็ นวตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม 3. อะไรท่ีตอ้ งทา โดยใคร ทาอยา่ งไร และเม่ือไร อนั ดับท่ี 2 พจิ ารณาวา่ อะไรท่ีจะช่วยอานวยความสะดวก

230 1. เรามีเวลาหรือไม่ 2. เรามีอุปกรณ์หรือไม่ 3. เรามีผชู้ ่วยที่มีความชานาญหรือไม่ 4. เราจะไดส้ ่ิงช่วยใหค้ วามสะดวกน้ีจากที่ใดบา้ ง อนั ดับที่ 3 พจิ ำรณำเลือกวธิ ีอื่นอกี 1. มีขอ้ คิดกี่อยา่ งท่ีจะเลือก 2. มีอะไรท่ีจะมากระทบกาหนดการบา้ ง อนั ดบั ที่ 4 ข้นั ตดั สินใจ 1. กาหนดการน้ีจะพจิ ารณาร่วมกบั ใคร? 2. เราตกลงกนั ไดแ้ ลว้ หรือ อนั ดับที่ 5 บนั ทึกกาหนดการข้นั สุดทา้ ย 1. ใครจะเป็นผรู้ ับบนั ทึกน้ีบา้ ง 2. จะไดร้ ู้อยา่ งไรวา่ ทุกคนเขา้ ใจในบนั ทึก อนั ดันที่ 6 นากาหนดการไปฝึก อนั ดนั ท่ี 7 ประเมินผลที่ไดฝ้ ึกแลว้ จะรู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ กาหนดการฝึกน้นั ประสบผลดีหรือไม่ การทากาหนดแผนการฝึกอบรมมิใช่เป็นการสิ้นสุดของงาน เพือ่ ที่ผกู้ ากบั จะไดว้ างแผน กาหนดงานใหป้ ระสบผลสาเร็จต่อไปในอนาคต ผกู้ ากบั จะตอ้ ง “สารวจ” ผลงานอยเู่ สมอ ถา้ จาเป็นจะ เปลี่ยนแปลงแกไ้ ขแผนงานน้นั จะทาเป็นระยะ ๆ ไปกไ็ ด้ ข้อควรคำนึงในกำรวำงแผนกำหนดกำรฝึ กอบรมลกู เสือสำมัญ ในการวางแผนกาหนดการฝึ กอบรมลูกเสือสามญั ผกู้ ากบั ลูกเสือตอ้ งคานึงถึงสิ่งต่อไปน้ี 1. วนั สาคญั ทางลูกเสือ เช่น - วนั ท่ี 1 กรกฎาคม วนั คลา้ ยวนั สถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ - วนั ที่ 25 พฤศจิกายน วนั คลา้ ยวนั สวรรคตของรัชกาลท่ี 6 (วนั วชิราวธุ ) 2. พิธีการทางลูกเสือ เช่น - พธิ ีเขา้ ประจากองลูกเสือสามญั - พิธีประดบั เคร่ืองหมายวชิ าพเิ ศษและสายยงยศ - พิธีรับลูกเสือสารองไปเป็นลูกเสือสามญั 3. วนั หยดุ ราชการประจาปี 4. วนั สอบปลายภาคเรียน / ปลายปี 5. วนั สอบวชิ าพเิ ศษลูกเสือสามญั / เครื่องหมายสายยงยศ

231 6. วนั ปิ ดภาคเรียน อน่ึง ในกรณีที่ผเู้ ขา้ รับการอบรมเป็นครูผสู้ อนกิจกรรมลูกเสือโดยตรง การจดั ทากาหนดการ ฝึกอบรมหรือกาหนดการสอน ควรคานึงถึงเรื่องต่อไปน้ีเพิม่ เติมดว้ ย 1. การศึกษาจุดมุง่ หมายของหลกั สูตร 2. จุดประสงค์ และเน้ือหา 3. ศึกษาจิตวทิ ยาการเรียนรู้แตล่ ะระดบั 4. จดั แบง่ เน้ือหา คาบเวลา ใหเ้ หมาะสมตอ่ เน่ือง 5. กิจกรรมลูกเสือสามญั เป็ นกิจกรรมอยใู่ นกลุ่มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนโดยคาบเวลาเรียน ของกิจกรรมท้งั หมด คือ ป. 4 มีคาบเวลาเรียน 40 คาบ ป. 5 มีคาบเวลาเรียน 40 คาบ ป. 6 มีคาบเวลาเรียน 40 คาบ หมำยเหตุ คาบเวลาเรียน ละ 60 นาที

232 ตวั อย่ำงงำนตำมโครงกำร 1. ใหก้ ลุ่มของท่านวางแผนจดั ทากาหนดการฝึกอบรมรายภาคเรียน หลกั สูตรลูกเสือตรี มี เวลาเรียนภาคละ 20 คาบ สอนสปั ดาห์ละ 1 คาบ ก่อนทากาหนดการสอนควรคานึงถึงสิ่งต่อไปน้ี 1. วนั สาคญั ทางลูกเสือ 2. พธิ ีการทางลูกเสือ 3. วนั หยดุ ราชการประจาปี 4. วนั สอบปลายภาคเรียน 5. วนั สอบวชิ าพิเศษลูกเสือสามญั 6. วนั ปิ ดภาคเรียน 7. จุดประสงค์ และเน้ือหา 8. แบง่ เน้ือหา คาบเวลา ใหเ้ หมาะสมและตอ่ เน่ือง - ดูขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการปกครอง หลกั สูตร และวชิ าพเิ ศษ ลูกเสือ สามญั ประกอบ - เขียนลงในแผนภูมิ - ใชเ้ วลาปฏิบตั ิงาน 25 นาที - รายงานในที่ประชุมกลุ่ม 3 นาที แบบฟอร์ม ลาดบั ที่ เน้ือเร่ือง จานวนคาบ ผสู้ อน หมายเหตุ

233 ตวั อย่ำงงำนทใ่ี ห้ทำ ใหก้ ลุ่มของท่านจดั ทาบนั ทึกการประชุมกองโดยเลือกเน้ือหาจากหลกั สูตรลูกเสือสามญั และ เขียนลงในแผนภูมิ - ใชเ้ วลาปฏิบตั ิ 30 นาที - รายงานในท่ีประชุมกลุ่มละ 2 นาที ประโยชน์ของกำรวำงแผน 1. เพ่อื กาหนดวตั ถุประสงค์ 2. เพอ่ื กาหนดเน้ือหา 3. เพื่อกาหนดเวลา 4. เพอ่ื กาหนดวสั ดุอุปกรณ์ 5. เพื่อกาหนด บุคลากรผรู้ ับผดิ ชอบ 6. เพ่ือกาหนดวธิ ีการสอน 7. เพื่อกาหนดการประเมินผล กำรวดั ผลและประเมนิ ผลกำรเรียน และกำรติดตำมผลของกจิ กรรมลกู เสือ การวดั ผลและการประเมินผล ตลอดจนการติดตามผลเพื่อพฒั นาการเรียนการสอน และการ จดั ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนและเลื่อนข้นั ตามความสามารถของผเู้ รียนเป็นหนา้ ท่ีของผกู้ ากบั ลูกเสือได้ ทดสอบเป็นระยะหรือทดสอบเพื่อจบแตล่ ะบทเรียน เช่น วดั ผลจากการสังเกต - ความสนใจและความเขา้ ใจ - การเขา้ ร่วมกิจกรรม การซกั ถาม หรือสัมภาษณ์ การทดสอบ การปฏิบตั ิจริง ท้งั น้ีใหเ้ ป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการประเมินผลการเรียน

234 กำรวำงแผนกำหนดกำรฝึ กอบรม (กำรประชุมกองลกู เสือ) การฝึกอบรมลูกเสือมีสปั ดาห์ละ 1 วนั การฝึกอบรมน้ีใชก้ นั ในเวลาประชุมกองลูกเสือ ฉะน้นั ฝึกอบรมลูกเสือคร้ังที่ 1 จึงนิยมเรียกกนั ตามวธิ ีการของลูกเสือวา่ “การประชุมกองคร้ังที่ 1” และคร้ัง ตอ่ ๆ ไปตามลาดบั ข้นั ตอนของกำรประชุมกองลูกเสือ มดี งั นี้ การประชุมกองคร้ังท่ี……………………….เวลา…………………….นาที 1. พิธีเปิ ด (ชกั ธง สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก) 10 นาที 2. การเล่น (เพอื่ บริหารร่างกาย) 5 นาที 3. การสอนวชิ าตามหลกั สูตร 25 นาที ก ………………………………………………. 10 นาที ข ………………………………………………. 10 นาที ค ………………………………………………. ง. การเล่นเพื่อทบทวนวชิ าท่ีเรียนมาแลว้ (เทา่ ท่ีทาได)้ 4. ผกู้ ากบั บรรยายหรือเล่าเร่ืองส้ันที่เป็นประโยชน์ 5. พธิ ีเปิ ด (นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแต่งกาย เชิญธง เลิก) ตวั อย่ำงกำรประชุมกองคร้ังที่ 1 (เวลา 60 นาที) 1. พธิ ีเปิ ด (เชิญธง สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก) 10 นาที (นาย จ. ผกู้ ากบั ) 2. การเล่น (เพ่อื บริหารร่างกาย “กระตา่ ย – กระแต” 5 นาที (นาย ก. รองผกู้ ากบั ) 3. การสอนวชิ าตามหลกั สูตร ก. เง่ือนพิรอด ตะกรุดเบด็ ขดั สมาธิ บ่วงสายธนู 20 นาที (นาย ถ. รองผกู้ ากบั นายหมู่) ข. การเล่นเพ่ือทบทวนวชิ าเงื่อน “ใครต่อเชือกตามท่ีเรียนแลว้ ไดเ้ ร็วกวา่ กนั ” 5 นาที 4. ผกู้ ากบั บรรยายหรือเล่าเรื่องส้นั “ประวตั ิ บี.- พ.ี ” 10 นาที (นาย จ. ผกู้ ากบั ) 5. พิธีปิ ด นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแต่งกาย ชกั ธง แยก 10 นาที (นาย จ. ผกู้ ากบั )

235 ผู้กำกบั ลูกเสือจะประเมนิ ผลเมื่อไร 1. ระหวา่ งการอภิปรายกบั รองผกู้ ากบั ลูกเสือ นายหมู่ลูกเสือ และลูกเสือโดยไม่เป็นทางการ 2. ระหวา่ งการประชุมนายหมูล่ ูกเสือ 3. โดยการสงั เกตในโอกาสท่ีปฏิบตั ิงาน 4. โดยการต้งั คาถาม เช่น - ลูกเสือสนุกสนานหรือไม่ ? - เป็นการทา้ ทายสาหรับลูกเสือคนโตเช่นเดียวกบั เด็กคนเลก็ กวา่ หรือไม่ - ลูกเสือทุกคนประสงคค์ วามกา้ วหนา้ หรือไม่ ? - ลูกเสือเรียนโดยการการะทาหรือโดยการไดร้ ับฟังคาสอน - โครงการฝึกอบรมเพื่อรับเคร่ืองหมายจดั ทาโดยการทดสอบหรือนาไปรวมกบั โครงการอื่นที่ทาใหล้ ูกเสือเกิดความสนุกสนาน - มีหลกั การสาคญั ของการวางแผนกาหนดการ รวมอยใู่ นแผนงานหรือเปล่า - อุปกรณ์การฝึกอบรมควรไดร้ ับการปรับปรุงใหด้ ีข้ึนไดห้ รือไม่ - บางส่วนของกาหนดการไดจ้ ดั กลางแจง้ หรือไม่ ต่อจากน้ีเราจะไปท่ีไหน จะทาอะไรต่อไป

236 ตัวอย่ำง การจดั ทากาหนดการฝึกอบรมลูกเสือสามญั หลกั สูตรลูกเสือระยะส้ันเป็นรายเดือน / ภาค และระยะยาวโดยการวางแผนตลอดปี การศึกษา สัปดำห์ เร่ือง จำนวน ผู้สอน หมำยเหตุ คำบ 1 ปฐมนเิ ทศ 1 อ.สุนนั ท์ ดูรายละเอียดจากคูม่ ือ - ช้ีแจงการเรียนตามหลกั สูตร การจดั กิจกรรมลกู เสือ– ลูกเสือตรี เนตรนารี ช้นั ป.4และ - เคร่ืองแบบเคร่ืองหมาย กฎกระทรวงวา่ ดว้ ย - ประกอบเคร่ืองแบบลกู เสือสามญั เครื่องแบบลูกเสือสามญั 2 - 5 ความรู้เก่ียวกบั ขบวนการลูกเสือ 3 อ.พลู ศกั ด์ 1. ประวตั ิลอร์ด เบเดนโพเอลล์ 1 2. พระราชประวตั ิ ร. 6 1 3. ววิ ฒั นาการของลกู เสือโลกและ 1 ลูกเสือไทย 1 4. การเคารพ การแสดงรหสั 1 การจบั มือและคติพจน์ลูกเสือ 6 - 7 คาปฏิญาณและกฎ 2 อ.ศรัณย์ - ฯลฯ ในการสอนและสอบวชิ าพิเศษลูกเสือสามญั หากมีเวลาเรียนไมพ่ อ ผกู้ ากบั ลูกเสือสามญั อาจจะจดั ใหม้ ีการอยคู่ ่ายพกั แรม การคา้ งคืน เพื่อทาการสอนและสอบวชิ าพิเศษลูกเสือสามญั ได้

เร่ือง กำรส่งเสริมกจิ กำรลกู เสือสำมัญ 237 บทเรียนที่ 20 เวลำ 45 นำที ขอบข่ำยวชิ ำ 1. แหล่งสนบั สนุนการลูกเสือของโรงเรียน 2. การขอความช่วยเหลือจากแหล่งสนบั สนุนเหล่าน้นั จุดหมำย เพือ่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมทราบถึงแหล่งและวธิ ีการในการขอรับการสนบั สนุนช่วยเหลือ กิจการลูกเสือ วตั ถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนน้ีแลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. บอกแหล่งท่ีจะช่วยสนบั สนุนกองลูกเสือได้ 2. อธิบายวธิ ีวางแผนช่วยเหลือลูกเสือสารองและลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม 1. อารัมภบท 10 นาที 2. แบง่ กลุ่มทางานตามโครงการ 20 นาที 3. รายงาน 15 นาที ส่ือกำรสอน 1. เอกสารประกอบ การสนบั สนุนกองลูกเสือสามญั 2. แผนภูมิ กำรประเมินผล 1. การสังเกตจากพฤติกรรม 2. การแสดงออกตามบทบาท 3. การซกั ถาม เนื้อหำวชิ ำ อำรัมภบท ในการนาเขา้ สู่เร่ืองน้ี ควรช้ีแจงผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมทราบวา่ สมาคมหรือหน่วยงานที่ เก่ียวกบั การส่งเสริมเยาวชนน้นั ไม่ใช่มีเพยี งแตส่ มาคมลูกเสือเท่าน้นั แตย่ งั มีสมาคมอื่น ๆ อีกมากท่ี พยายามช่วยเหลือในการพฒั นาเยาวชน ซ่ึงควรจะไดท้ าเป็นบญั ชีหน่วยงานหรือสมาคม หรือสถาบนั เหล่าน้นั ไว้

238 กำรประชุมกลุ่มย่อย แยกผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมท้งั หมดออกเป็นกลุ่มยอ่ ย ๆ (ประมาณกลุ่มละ 3 หรือ 4 คน) - ใหช้ ่วยกนั คิดและทาบญั ชีรายชื่อหน่วยงานหรือสมาคมหรือสถาบนั ท่ีมีบทบาทในการ พฒั นา เยาวชนในทางใดทางหน่ึง - ใหเ้ ขียนรายช่ือองคก์ ารขา้ งตน้ รอบ ๆ คาวา่ “อิทธิพลที่มีต่อเยาวชน” บนกระดาษชาร์ท - แลว้ ใหว้ จิ ารณ์บทบาทท่ีสาคญั หน่ึงหรือสององคก์ าร แลว้ ถามวา่ เราสามารถจะใชอ้ งคก์ าร หรือหน่วยงานน้ีไดอ้ ยา่ งไร เพื่อจะใหบ้ รรลุถึงจุดมุง่ หมายของการลูกเสือ ในทานองเดียวกนั กองลูกเสือมิไดต้ ้งั อยโู่ ดยลาพงั ในทอ้ งถ่ินมกั จะมีองคก์ ารหรือหน่วยงาน ท่ีอาจเป็ นประโยชน์แก่กองลูกเสือได้ - ใหท้ าบญั ชีรายช่ือหน่วยงานหรือสถาบนั - ตอ่ ไปใหว้ ิจารณ์แต่ละหน่วยงานหรือองคก์ ารโดยต้งั คาถามวา่ ผกู้ ากบั สามารถจะชกั นา และดึงเอาหน่วยงานหรือองคก์ ารเหล่าน้นั ใหม้ าสนบั สนุนกองลูกเสือของตนไดอ้ ยา่ งไร - ผบู้ รรยายควรจะช้ีให้เห็นถึงบทบาทของคณะผใู้ หก้ ารฝึ กอบรมของอาเภอและบทบาทของ คณะกรรมการกลุ่มและช้ีใหเ้ ห็นวา่ คณะกรรมการกลุ่มสามารถจะช่วยเหลือกองลูกเสือได้ คร้ันแลว้ ใหถ้ ามวา่ จะช่วยสนบั สนุนกองลูกเสือไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ผกู้ ากบั ลูกเสือควรไดร้ ับการส่งเสริมใหม้ ี ความสมั พนั ธ์กบั คณะกรรมการกลุ่มยงิ่ ข้ึน ช้ีใหเ้ ห็นวา่ การลูกเสือและชุมชนมีทรัพยากรอนั อุดมสมบูรณ์ ท้งั ดา้ นตวั บุคคลและส่ิงของ ขอใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมทาบญั ชีรายช่ือทรัพยากรเหล่าน้ีเพือ่ ประโยชน์ในวนั ขา้ งหนา้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความผกู พนั และความสมั พนั ธ์ซ่ึงผกู้ ากบั ไดส้ ร้างข้ึนกบั กองลูกเสือสารอง และกบั กองลูกเสือสามญั รุ่นใหญน่ ้นั มีความสาคญั เป็นพเิ ศษ เพราะสามารถช่วยส่งเสริมใหโ้ ครงการ พฒั นาเยาวชนไดส้ มบูรณ์ข้ึนจริง ๆ กองลูกเสือสามญั สร้างเสริมงานซ่ึงไดเ้ ริ่มตน้ ไวต้ ้งั แต่ลูกเสือสารอง และขณะเดียวกนั เตรียมการสาหรับลูกเสือสามญั กา้ วไปสู่ลูกเสือสามญั รุ่นใหญต่ ่อไป ท่านมีความเห็นวา่ วธิ ีการเหล่าน้ีดีหรือไม่ และจะปรับปรุงวธิ ีการเหล่าน้ีบา้ งไหม ปรับปรุง อยา่ งไร

239 กำรทำงำนเป็ นกล่มุ โดยมีวทิ ยากร ใหว้ ทิ ยากรประจาหมู่แบ่งสมาชิกในหมูข่ องตนออกเป็น 2 กลุ่มยอ่ ย ตามความสนใจ เพื่อ ปฏิบตั ิงานตามโครงการที่มอบหมายให้ 2 โครงการ (กลุ่มละ 1 โครงการ) คือ 1. ความสัมพนั ธ์กบั ลูกเสือสารอง 2. ความสมั พนั ธ์กบั ลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ โครงกำรท่ี 1 กำรสร้ำงควำมสัมพนั ธ์กบั กองลูกเสือสำรอง ใหว้ างแผนจดั ทากาหนดการระยะเวลา 4 - 6 สปั ดาห์ สกั 1 อยา่ ง สาหรับกองลูกเสือสามญั ซ่ึงจะใหค้ วามช่วยเหลือและบริการลูกเสือสารอง 2 คน ซ่ึงกาลงั จะเปล่ียนไปเป็นลูกเสือสามญั โครงกำรท่ี 2 กำรสร้ำงควำมสัมพนั ธ์กบั กองลกู เสือสำมัญรุ่นใหญ่ ใหว้ างแผนจดั ทากาหนดการระยะเวลา 4 - 6 สปั ดาห์ สัก 1 อยา่ ง สาหรับกองลูกเสือสามญั ซ่ึงจะใหค้ วามช่วยเหลือลูกเสือสามญั 2 คน ซ่ึงมีอายพุ อท่ีจะเขา้ ไปอยใู่ นกองลูกเสือสามญั รุ่นใหญไ่ ด้ แลว้ กาหนดเวลาใหเ้ พยี งพอสาหรับท้งั สองกลุ่ม เพอื่ ใหร้ ายงานใหอ้ ีกกลุ่มหน่ึงฟังเป็นการ แลกเปล่ียนความคิดเห็นกนั

กำรส่งเสริมกจิ กำรลกู เสือสำมญั 240 เอกสำรประกอบบทเรียนที่ 19 สิ่งต่ำง ๆ ทอี่ ำจให้กำรสนับสนุนต่อกองลูกเสือสำมัญ 1. ควำมช่วยเหลือจำกผู้ใหญ่ทวั่ ๆ ไป แผนการฝึกอบรมลูกเสือสามญั มีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งไดร้ ับความช่วยเหลือจากผบู้ รรยาย หรือวทิ ยากร ซ่ึงอาจจะเป็นผกู้ ากบั กองลูกเสือ บุคคลภายนอกก็ตาม ในการท่ีจะขอความช่วยเหลือจาก บุคคลเหล่าน้ี ควรคานึงถึงสิ่งต่อไปน้ี คือ 1) เจา้ หนา้ ที่ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เยาวชนในทอ้ งถ่ิน สามารถให้คาแนะนาผฝู้ ึกอบรมลูกเสือไดใ้ น หลายๆ วชิ า ส่วนใหญไ่ ม่ตอ้ งมีคา่ จา้ งสาหรับความช่วยเหลือ เช่น เจา้ หนา้ ท่ีของสานกั งานเยาวชน วาย.เอม็ .ซี.เอ. สมาคมสตรีผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ เป็ นตน้ 2) บอกใหผ้ บู้ รรยายทราบล่วงหนา้ โดยสรุป ใหเ้ ขาทราบวนั เวลา และสถานท่ี เเละเรื่องที่ จะเชิญไปใหก้ ารบรรยาย ตลอดจนอายขุ องผฟู้ ัง เเละใหเ้ ขาทราบวา่ จะตอ้ งเตรียมอุปกรณ์เเละวชิ าการ ตามระดบั อายขุ องเดก็ 3) จงรายงานชื่อผบู้ รรยายให้ผอู้ านวยการลูกเสืออาเภอ หรือรองผอู้ านวยการลูกเสืออาเภอ ทราบดว้ ย อาจจะขอเชิญเป็นกรรมการสอบวชิ าพิเศษลูกเสือสามญั ดว้ ยกไ็ ด้ 4) จดั ใหม้ ีจานวนลูกเสือเขา้ ฟังคาบรรยายมากเพียงพอ เป็ นการใหก้ าลงั ใจแก่วทิ ยากรและ ผบู้ รรยายจะไดป้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ 5) บางคร้ัง ควรเชิญผบู้ รรยายหรือวทิ ยากรไปร่วมในท่ีประชุมนายหมู่ เพื่อช่วยใหค้ าแนะนา เกี่ยวกบั ทกั ษะตา่ ง ๆ ใหน้ ายหมู่ปฏิบตั ิงานเองเพื่อเป็นการซกั ซอ้ มก่อนจะมีการบรรยายแก่กองลูกเสือ 2. พ่อแม่หรือผู้ปกครอง ผปู้ กครองลูกเสือสามญั เป็นผทู้ ี่ใหก้ ารสนบั สนุนกิจกรรมลูกเสือสามญั เป็นอยา่ งดี ผกู้ ากบั ลูกเสือสามญั ควรสร้างความสมั พนั ธ์กบั ผปู้ กครองอยา่ งใกลช้ ิด กิจกรรมตา่ ง ๆ ควรแจง้ ข่าวสาร หรือจดั ป้ายนิเทศ เช่น การเดินทางไกล อยคู่ า่ ยพกั แรม การเดินทางเพ่ือศึกษานอกสถานท่ี การสอบวชิ าพเิ ศษ ใหพ้ อ่ แม่และผปู้ กครองทราบเป็นการส่วนตวั อีกประการหน่ึง หากผกู้ ากบั กองลูกเสือสามญั มีความรู้เก่ียวกบั ภูมิหลงั ของเดก็ ในกองแต่ละ คน และทราบถึงงานอดิเรกและความสนใจของบรรดาผปู้ กครองและพอ่ แม่ของลูกเสือ ก็ยง่ิ เป็น ประโยชนม์ ากข้ึน เพราะอาจเชิญมาทาหนา้ ท่ีเป็นผบู้ รรยายและวทิ ยากรในบางโอกาส

241 การจดั ใหม้ ีการรับประทานอาหารเยน็ ร่วมกนั หรือการอยคู่ า่ ยพกั แรมร่วมกนั หรือการมี กิจกรรมร่วมกนั ระหวา่ งผปู้ กครองกบั ลูกเสือเป็ นคร้ังคราวก็เป็นประโยชน์อยา่ งยงิ่ หรือการจดั ใหม้ ีวนั คุณพอ่ คุณแม่ (Parents’ Day) ในคา่ ยพกั แรม แลว้ ใหก้ องลูกเสือสามญั จดั ใหค้ วามบนั เทิงและความ สนุกสนานและการประกอบอาหารแบบของลูกเสือ ก็นบั วา่ ไดป้ ระโยชน์อยา่ งยง่ิ สิ่งสาคญั อีกประการหน่ึง คือ ผปู้ กครองของเดก็ ในกองลูกเสือควรจะไดเ้ ขา้ มาเป็นกรรมการ แผนกตา่ ง ๆ ของลูกเสือดว้ ย 3. กำรจัดทำทะเบยี นลกู เสือ ส่ิงท่ีมีความสาคญั ยงิ่ ในกองลูกเสือสามญั คือ 1) แผนภูมิแสดงความกา้ วหนา้ ของลูกเสือ 2) ทะเบียนลูกเสือ 3) บญั ชีเงินค่าบารุงลูกเสือ 4) สมุดบนั ทึกรายงานการประชุมนายหมู่ สมุดบนั ทึกบางอยา่ งต่อไปน้ี อาจจะเลือกจดั ทาข้ึนตามความจาเป็น คือ 1) สมุดเกม 2) สมุดบนั ทึกธรรมชาติศึกษา 3) สุดบนั ทึกของหมู่ 4) บตั รประจาตวั ลูกเสือ (ล.ส. 16) 4. กำรบริกำรเยำวชน กิจกรรมเพ่อื บริการเยาวชนน้นั กวา้ งขวางและมากมาย ผกู้ ากบั กองลูกเสือจะควรฉวยโอกาส รับความรู้จากผบู้ รรยายหรือวทิ ยากรและจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่พอจะหาไดใ้ หม้ าก นอกจากน้ีการ ฝึกอบรมพิเศษเกี่ยวกบั ความเป็นผนู้ าของเยาวชน ซ่ึงจดั ข้ึนโดยเจา้ หนา้ ที่การศึกษา จะมีวชิ าตา่ ง ๆ ตามถนดั และความสนใจของผกู้ ากบั กองลูกเสืออยมู่ าก ซ่ึงอาจเป็ นประโยชนต์ ่อผกู้ ากบั กองลูกเสือ ขอ้ สาคญั ก็คือผกู้ ากบั ลูกเสือตอ้ งหาความรู้จากเพื่อน ๆ ร่วมงานเกี่ยวกบั บริการเยาวชน ตอ้ งเป็ นผทู้ ่ี สร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกบั สมาคมและองคก์ ารหรือหน่วยงานอื่น ๆ นอกเหนือจากวงการลูกเสือดว้ ย ผกู้ ากบั กองลูกเสือควรทราบวา่ มีกองทุนช่วยเหลือผกู้ ากบั กองลูกเสือ ในทอ้ งท่ีหรือไม่ ผู้ กากบั ควรรู้ไวบ้ า้ ง เพราะอาจช่วยเหลือผกู้ ากบั ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การไปรับการฝึกอบรมต่าง ๆ หรือไปปฏิบตั ิงานตามโครงการบางอยา่ ง โครงการสอนเพื่อรับเครื่องหมายสายยงยศของลูกเสือสามญั ก็เป็นเร่ืองที่น่าสนใจสาหรับ ลูกเสือ-สามญั กองลูกเสือสามญั จึงมีความจาเป็นอยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งจดั ใหล้ ูกเสือไดร้ ับการฝึกอบรมตาม

242 ความถนดั และใหเ้ กิดทกั ษะความสามารถในวชิ าน้นั จริง ๆ เพื่อใหล้ ูกเสือในกองของตนไดผ้ า่ นการ ทดสอบไปตามเกณฑจ์ นไดร้ ับเคร่ืองหมายสายยงยศในท่ีสุด 5. ค่ำใช้จ่ำยของกองลูกเสือสำมญั สิ่งสาคญั อยา่ งหน่ึงกค็ ือ ในการจดั กิจกรรมของหมู่หรือกองลูกเสือควรจดั ทาบนั ทึกหลกั ฐาน เก่ียวกบั คา่ ใชจ้ า่ ยในเร่ืองน้นั ๆ ใหถ้ ูกตอ้ งและแน่นอน นอกจากน้ีควรจดั เงินทดรองจ่ายไวจ้ านวน หน่ึงเพือ่ เป็นเงินจดั ซ้ืออุปกรณ์ใหม่แทนท่ีอุปกรณ์ท่ีเส่ือมคุณภาพแลว้ และสาหรับเป็นคา่ ใชจ้ ่ายใน การเดินทาง ซ่ึงเป็นค่าใชจ้ า่ ยท่ีจาเป็นโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เช่น ค่าพาหนะในการเดินทางไปอยคู่ า่ ยพกั แรมหรือการเดินทางเพ่ือสารวจ หรือเพื่อทศั นศึกษา ณ สถานท่ีไกล ๆ หรือต่างจงั หวดั เป็นตน้ ในการจดั กิจกรรมพิเศษบางอยา่ งท่ีลูกเสืออาจจะตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายบา้ งตามสมควร เราอาจจะ กาหนดโครงการล่วงหนา้ ให้ระยะนานพอควร และส่วนหน่ึงของคา่ ใชจ้ ่ายท่ีจาเป็นสาหรับลูกเสือ เรา อาจเกบ็ เงินจากลูกเสือเป็ นเงินสะสมเป็นรายสัปดาห์ก็ได้ และมอบใหท้ ี่ประชุมนายหมู่ลูกเสือ เป็นผู้ คอยสารวจตรวจสอบทุกสัปดาห์ และใหท้ ่ีประชุมนายหมู่แถลงรายจ่ายของลูกเสือหรือของใชเ้ ลก็ ๆ นอ้ ย ๆ เป็นตน้ ท่ีจาเป็นสาหรับกองลูกเสือสามญั 6. กำรจัดนิทรรศกำรสำหรับผู้ปกครองของลูกเสือ ผปู้ กครองของลูกเสือสามญั ส่วนใหญ่ตอ้ งการทราบวา่ ลูกเสือสามญั ทาอะไรกนั บา้ งในการ ประชุมกอง หรือประชุมหมู่ลูกเสือ ดงั น้นั จึงมีความจาเป็ นอยา่ งยงิ่ ท่ีกองลูกเสือสามญั ตอ้ งจดั โอกาส ใหผ้ ปู้ กครองของลูกเสือไดเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมเป็ นคร้ังคราว นอกเหนือจากการจดั นิทรรศการและจดั โอกาสสงั สรรคเ์ ป็ นทางการแลว้ ยงั มีกิจกรรมอื่น ๆ ท่ีผปู้ กครองของลูกเสือสามญั ควรจะไดเ้ ห็นไดช้ มอยา่ งยงิ่ ก็คือ 1) พิธีเขา้ ประจากองฯ โดยเฉพาะในโอกาสท่ีบุตรหลานของตนทาพธิ ีเขา้ ประจากอง 2) การเขา้ เยยี่ มชมการจดั งานของลูกเสืออ่ืน ๆ ที่เป็นแบบอยา่ งได้ 3) ไปเยยี่ มบา้ นผกู้ ากบั กองลูกเสือสามญั เป็นคร้ังคราว 4) ไปเยยี่ มชมกิจกรรมลูกเสือสารองของอาเภอหรือจงั หวดั โดยการไดร้ ับเชิญ 5) ไปเยยี่ มกองลูกเสือสามญั หรือหมูล่ ูกเสือสามญั ในขณะท่ีไปอยคู่ ่ายพกั แรม ส่ิงท่ีควรจะเอาใจใส่ในการเชิญผปู้ กครองของลูกเสือสามญั มีดงั น้ี คือ 1) การเชิญผปู้ กครองหรือของลูกเสือ ควรเชิญดว้ ยบตั รเชิญ หรือเป็ นหนงั สือเชิญ เพราะเป็น ที่น่าช่ืนชมมากกวา่ การใหล้ ูกเสือไปเชิญดว้ ยวาจา 2) การจดั กิจกรรมและจดั งานในตอนเยน็ ซ่ึงจะเชิญผปู้ กครองของลูกเสือไปร่วมน้นั ควรจะ ไดซ้ กั ซอ้ มและเตรียมการใหด้ ี 3) ควรประชาสัมพนั ธ์ใหผ้ ปู้ กครองของลูกเสือทราบล่วงหนา้ เกี่ยวกบั การจดั กิจกรรมและจดั งาน

243 4) รู้จกั เลือกอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมและอุปกรณ์ท่ีดี ๆ เพื่อให้ผปู้ กครองของลูกเสือไดช้ มและ จะไดใ้ หค้ าแนะนาดว้ ย การเชิญนอกจากจะเชิญผปู้ กครองลูกเสือแลว้ ควรเชิญครูในโรงเรียนและบุคคลอ่ืน ๆ ไปร่วมดว้ ย 7. กำรตดิ ต่อกบั ประชำชนและกำรประชำสัมพนั ธ์ งานอดิเรกที่จะตอ้ งทา กค็ ือ การหาวธิ ีใหก้ ิจกรรมลูกเสือดาเนินอยอู่ ยา่ งสม่าเสมอตอ่ เน่ือง และหาวธิ ีทาใหช้ ุมชนเขา้ ใจถึงวตั ถุประสงคแ์ ละวธิ ีการของลูกเสือโดยวธิ ีการต่าง ๆ ดงั น้ีคือ 1) กระทาใหเ้ ป็นตวั อยา่ งท่ีดี เช่น แตง่ เครื่องแบบใหส้ ง่าและถูกตอ้ งตามระเบียบ 2) การสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกบั หน่วยงานเยาวชนอ่ืน ๆ และกบั ผปู้ กครองของลูกเสือ 3) มีความสัมพนั ธ์เป็ นอยา่ งดีกบั ผสู้ ่ือขา่ วหนงั สือพิมพใ์ นทอ้ งถิ่น 4) จดั ทาป้ายนิเทศ หนงั สือเวยี นและข่าวสาร เพอ่ื แจง้ ข่าวสารและรายละเอียดใหผ้ ปู้ กครอง พอ่ แม่ของลูกเสือไดท้ ราบกนั ทวั่ ๆ ไป 5) การท่ีผกู้ ากบั กองลูกเสือไปเยยี่ มเยยี นผปู้ กครองของลูกเสือ เพ่ือนฝงู ของลูกเสือ ยอ่ มทาให้ เกิดความสนใจต่อการลูกเสือเป็นอยา่ งมาก 6) การจดั นิทรรศการ และจดั ทาคาขวญั ของการนิทรรศการกเ็ ป็นความคิดท่ีดี เช่น เกี่ยวกบั การเดินทางไกล การอยคู่ ่ายพกั แรม การจดั ตูแ้ สดงผลงาน เป็นตน้ 7) การจดั รายการออกโทรทศั น์ และวทิ ยกุ ระจายเสียง เป็นการประชาสมั พนั ธ์ที่ดีมาก แต่ ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากสานกั งานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติเสียก่อนเฉพาะกองลูกเสือใน ส่วนกลาง ถา้ เป็นส่วนภูมิภาคตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากผอู้ านวยการลูกเสือจงั หวดั ก่อน 8) ควรใชท้ ศั นูปกรณ์ในการประชาสัมพนั ธ์ ควรส่งเสริมใหล้ ูกเสืออ่านขา่ วการลูกเสือและ ใหเ้ ขียนข่าวความรู้เก่ียวกบั การเดินทางเพื่อทศั นศึกษาของเขาลงในวารสารตา่ ง ๆ ของโรงเรียนและ ของชุมชน พยายามหาภาพถ่ายเก่ียวกบั การลูกเสือ อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเผยแพร่กิจการลูกเสือจาก สานกั งานของกองลูกเสือสามญั ที่พอจะหาได้ นาไปใชป้ ระโยชนใ์ หม้ ากท่ีสุด

เรื่อง กำรฝึ กอบรมผู้กำกบั ลูกเสือ 244 บทเรียนท่ี 21 เวลำ 30 นำที ขอบข่ำยวชิ ำ 1. การจดั กิจกรรมฝึกอบรม ระยะเวลาการฝึกอบรม 2. การรายงานผลการฝึกอบรม 3. ระเบียบสานกั งานคณะกรรมบริหารลูกเสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการฝึกอบรมบุคากรทางลูกเสือเพอ่ื รับ เครื่องหมายวดู แบดจ์ พ.ศ. 2556 และ ระเบียบสานกั งานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ย การฝึกอบรมผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือเพ่อื รับเครื่องหมายวดู แบดจ์ ระดบั ผนู้ า พ.ศ. 2532 จุดหมำย เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมทราบข้นั ตอนการฝึกอบรมข้นั สูงและตอบการศึกษาเพม่ิ เติม ฉบบั ท่ี 2 ได้ วตั ถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนน้ีแลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. บรรยายข้นั ตอนของการฝึ กอบรมข้นั สูงโดยยอ่ ได้ 2. ทาคาตอบการศึกษาเพม่ิ เติม ฉบบั ท่ี 2 ได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม 5 นาที 1. อารัมภบท 20 นาที 2. บรรยาย 5 นาที 3. สรุป สื่อกำรสอน เอกสำรประกอบ 1. การศึกษาเพ่ิมเติมเกี่ยวกบั การฝึกอบรมลูกเสือ 2. วชิ าผกู้ ากบั ลูกเสือสามญั ข้นั ความรู้ช้นั สูง คืออะไร 3. ระเบียบสานกั งานลูกเสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ.2556 4. ระเบียบสานกั งานลูกเสือแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการฝึกอบรมผบู้ งั คบั บญั ชลูกเสือเพ่ือรับเคร่ืองหมายวูด แบดจ์ ระดบั ผนู้ า พ.ศ. 2532

245 กำรประเมินผล 1. การสงั เกตพฤติกรรม 2. การซกั ถาม เนื้อหำวชิ ำ อำรัมภบท 1. ใหช้ ้ีแจงความมุง่ หมายในการฝึกอบรมใหท้ ราบวา่ คณะลูกเสือแห่งชาติตอ้ งการสร้าง ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือใหม้ ีคุณภาพดี มีประมาณพอเหมาะพอควร เพอื่ จะไดไ้ ปเป็นผนู้ ากองลูกเสือ และเป็นผฝู้ ึกลูกเสือ 2. แจง้ ใหท้ ราบกาหนดวนั เดือน ปี และสถานที่ท่ีมีการฝึ กอบรม ข้อสรุป กล่าวใหก้ าลงั ใจ เสนอแนะวา่ ควรจะทาประการใด และอวยพรใหเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมประสบ ผลสาเร็จ เพ่ือความกา้ วหนา้ ของตวั เอง และกิจการลูกเสือเป็นส่วนรวม วชิ ำผ้กู ำกบั ลกู เสือสำมัญข้ันควำมรู้ช้ันสูง คืออะไร วชิ ากากบั ลูกเสือสามญั ข้นั ความรู้ช้นั สูง เป็นข้นั ความรู้วชิ าผกู้ ากบั ลูกเสือสามญั ที่สูงข้ึนต่อ จากข้นั ความรู้เบ้ืองตน้ ที่ไดร้ ับการฝึกอบรมไปแลว้ กำรจัดกำรฝึ กอบรม ในส่วนกลาง คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ คณะกรรมการลูกเสือกรุงเทพมหานคร สโมสรลูกเสือต่าง ๆ คณะกรรมการฝึกอบรมของส่วนราชการในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ เป็น ผดู้ าเนินการ ในส่วนภูมิภาค สานกั งานลูกเสือจงั หวดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สานกั งานเขตตรวจ ราชการภาค สมาคมลูกเสือต่าง ๆ ที่มีคณะผใู้ หก้ ารฝึกอบรมเป็นผดู้ าเนินการโดยขออนุญาตจากสานกั คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เป็ นคราว ๆไป ระยะเวลาการฝึกอบรม 7 วนั แบบอยคู่ ่ายพกั แรม ณ ค่ายลูกเสือ หรือสถานที่อ่ืนที่เหมาะสม ความมุง่ ประสงค์ เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจอยา่ งลึกซ้ึงกวา้ งขวางแก่ผกู้ ากบั ลูกเสือสามญั และใหม้ ีทกั ษะที่จาเป็นเพอื่ การปฏิบตั ิงานของตน เพื่อใหก้ ารฝึกอบรมลูกเสือเป็นไปดว้ ยดี การดาเนินการ จะแบง่ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมออกเป็นหมู่ ๆ ละ 6 คน ถึง 8 คน มีวทิ ยากร ประจาหมู่อยปู่ ระจา วทิ ยากรประจาหมู่มีหนา้ ท่ีดูและใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมทุกคนไดร้ ับความรู้จาก การฝึกอบรมใหม้ ากท่ีสุด ในระหวา่ งการฝึกอบรม เวลาส่วนใหญ่จะใชใ้ นการทางานร่วมกนั ในหมู่เพอ่ื แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั อภิปรายปัญหาตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั งานของทา่ น หรือใหช้ ่วยกนั ทางาน

246 ตามโครงการท่ีกาหนดให้ เพ่ือใหท้ า่ นนาหลกั การและวธิ ีการของลูกเสือไปใชใ้ นกองลูกเสือของท่าน ได้ วธิ ีฝึกอบรมจะสะทอ้ นถึงสภาพของชีวติ ในกองลูกเสือสามญั ทา่ นจะเห็นวา่ น่าเพลิดเพลิน สนุกสนาน เร่งเร้าจิตใจ และมีความหมาย การฝึกอบรมเป็นแบบอยคู่ า่ ยพกั แรม เพือ่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึ กอบรมไดป้ ระสบการณ์ในการอยู่ คา่ ยพกั แรมไปในตวั เวลาเดียวกนั จะไดใ้ หก้ ิจกรรมตา่ ง ๆ ไปดว้ ย การร่วมมือของผเู้ ขา้ รับการฝึ กอบรมเป็ นกญุ แจดอกสาคญั ในการนาไปสู่ความสาเร็จของการ ฝึ กอบรม กำรฝึ กอบรมข้นั นีจ้ ะช่วยท่ำนได้อย่ำงไร การฝึกอบรมข้นั น้ี แมจ้ ะไดจ้ ดั ข้ึนเพ่ือสนองความตอ้ งการโดยเฉพาะบางประการ แต่ก็มีความ ยดื หยนุ่ พอท่ีจะปรับปรุงใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการเฉพาะตวั ของทา่ นได้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมื่อได้ นาระบบวทิ ยากรประจาหมูม่ าใช้ ทา่ นควรจะไดม้ องบทบาทของทา่ นในฐานะเป็นผกู้ ากบั กองลูกเสือสามญั วา่ มีอะไรบา้ ง และ ท่านตอ้ งการความช่วยเหลือประการใดบา้ ง ควรปรึกษาหารือกบั วทิ ยากรประจาหมูห่ รือกบั สมาชิกใน หมู่ของทา่ น หรือกบั วทิ ยากรอื่นในคณะผใู้ หก้ ารฝึกอบรม วธิ ีที่ฝึกอบรมมีดงั ต่อไปน้ี 1. โดยทว่ั ไป - ระบบหมู่ - โดยเฉพาะการประชุมนายหมู่ - การฝึกอบรมท่ีมีความหมาย โดยเฉพาะทกั ษะทางการลูกเสือ - การวางแผนกาหนดการ – ระยะส้นั ระยะยาว - วชิ าการอยคู่ ่ายพกั แรม – แบบใหม่ และแบบเดิม - การช่วยเหลือคนหนุ่มเป็ นรายบุคคล - คาปฏิญาณและกฎลูกเสือภาคปฏิบตั ิ 2. โดยรายละเอียด - ลูกเสือสามญั อายนุ อ้ ย และอายมุ าก - ควรจาเป็ นที่ตอ้ งจดั กาหนดการใหส้ มดุล - การช่วยคนวยั รุ่นหนุ่ม - การใหค้ าแนะนา - การบริการลูกเสือ - การสนบั สนุนกลุ่มลูกเสือ - กิจการลูกเสือสากล - การอยคู่ า่ ยพกั แรมโดยอุปกรณ์ขนาดเบาหรืออุปกรณ์ขนาดหนกั - การดินทางสารวจ - การใชแ้ ผนท่ีและเขม็ ทิศ - การฝึกทกั ษะอยา่ งอ่ืนเพม่ิ เติมตามตอ้ งการ 3. วชิ าตอ่ ไปน้ีก็ไดร้ ับการฝึกดว้ ย

247 - เครื่องหมายวชิ าพิเศษ - ลูกเสือพิการ - กิจกรรมผจญภยั - ความรับผดิ ชอบของผนู้ า - การบนั เทิงในกองลูกเสือสามญั - กิจกรรมร่วม และการฝึกอบรมเนตรนารี - การร่วมมือกบั องคก์ ารเยาวชนอื่น วชิ าดงั กล่าวเหล่าน้ีมีความสัมพนั ธ์ต่อเน่ืองกนั เป็นข้นั ตอน เป็นลาดบั ไปตลอดเวลาการ ฝึกอบรม หวงั วา่ เม่ือจบการฝึ กอบรมแลว้ ท่านคงจะนาความรู้ที่ไดร้ ับไปจากการฝึกอบรมน้ีไปใชก้ บั กองลูกเสือของทา่ นได้ เนื่องจากการฝึกอบรมข้นั สูงน้ี จดั ข้ึนสาหรับผกู้ ากบั กองลูกเสือท่ีไดผ้ า่ นการฝึกอบรมข้นั ความรู้เบ้ืองตน้ มาแลว้ จึงหวงั ไดว้ า่ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมทุกคนจะใหก้ ารช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ไดม้ ากเพราะต่างก็มีประสบการณ์และภูมิหลงั ต่างกนั ท่ำนควรจะรู้อะไรบ้ำงก่อนทจี่ ะไปเข้ำรับกำรฝึ กอบรม เพอื่ เป็ นการเตรียมตวั ของทา่ นก่อนไปเขา้ รับการฝึกอบรม ท่านควร 1. มีความแน่ใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจสาระสาคญั ของการลูกเสือ ดงั ท่ีไดเ้ รียนมาแลว้ ในการฝึกอบรม ข้นั ความรู้เบ้ืองตน้ 2. ถา้ ทาได้ ควรหาความรู้เกี่ยวกบั ทกั ษะการลูกเสือ ภาคปฏิบตั ิ และความรู้ในการอยคู่ ่ายพกั แรมเบ้ืองตน้ ไปดว้ ย 3. พยายามทาคาตอบ “การศึกษาเพ่ิมเติมฉบบั ที่ 2” เก่ียวกบั การฝึกอบรมลูกเสือสามญั และ แนบส่งไปพร้อมกบั ใบสมคั ร คาตอบน้ีมิใช่การทดสอบแต่อยา่ งใด แต่เป็นการช่วยใหท้ ่านไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเร่ืองกิจกรรมลูกเสือกวา้ งขวางข้ึน วทิ ยากรประจาหมู่ จะหาโอกาสอภิปรายหารือกบั ท่านระหวา่ งการฝึกอบรมจะสมคั รได้ ท่ีไหน เมื่อไร คอยดูประกาศท่ีทอ้ งถ่ินหรือส่วนกลาง ตลอดจนสานกั งานคณะลูกเสือแห่งชาติ

248 ข้อพงึ ปฏบิ ตั ิเร่ืองกำรทำคำตอบ เอกสำรกำรศึกษำเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั กำรฝึ กอบรมวชิ ำผ้กู ำกบั ลกู เสือสำมญั ข้ันควำมรู้เบื้องต้น ...................................................................................... คณะกรรมการฝึกอบรมลูกเสือแห่งชาติ ขอใหค้ าแนะนาต่อไปน้ี สำหรับผ้เู ข้ำรับกำรฝึ กอบรม 1. การศึกษาเพ่ิมเติม - เป็นคาถามเก่ียวกบั วชิ าความรู้ที่ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมไดผ้ า่ นมาแลว้ ในข้นั น้นั ๆ - จดั ทาข้ึนเพื่อผูเ้ ขา้ รับการฝึ กอบรมจะไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ในดา้ นวชิ าการ และดา้ นธุรการ ตอ่ ไปเพื่อใหท้ ่านไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะกวา้ งขวางยงิ่ ข้ึน 2. การศึกษาหาความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะเช่นวา่ น้นั อาจทาได้ 2 วธิ ี กล่าวคือ 2.1 โดยการอา่ นหนงั สือหรือเอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง เช่น พระราชบญั ญตั ิลูกเสือ ฯ กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเครื่องแบบลูกเสือฯ ขอ้ บงั คบั ลกั ษณะปกครองลูกเสือ ฯ วารสารลูกเสือ เอกสารประกอบที่ไดร้ ับการแจกจากการฝึกอบรม ฯลฯ 2.2 โดยการสนทนาซกั ถามหาความรู้จากผกู้ ากบั ลูกเสือ ผตู้ รวจการลูกเสือ บุคคลที่มีความรู้ ฯลฯ 3. เม่ือไดม้ ีความรู้แลว้ ให้ตอบคาถามขอ้ ต่าง ๆ ที่มีอยู่ “การศึกษาเพิม่ เติมฉบบั ท่ี 2” โดย เขียนคาตอบลงในกระดาษใหช้ ดั เจนอา่ นง่าย กำรตอบคำถำมจะคัดลอกจำกตำรำกไ็ ด้ 4. เม่ือจะเขา้ ไปรับการฝึกอบรมข้นั ต่อไป ใหน้ ากระดาษคาตอบที่ไดท้ าเสร็จแลว้ ดงั กล่าวใน ขอ้ 3 ไปยน่ื ใหก้ บั ผอู้ านวยการฝึก ในวนั รายงานตวั เพอ่ื เขา้ รับการฝึกอบรมดว้ ย ผไู้ ม่นา กระดาษคาตอบไปยนื่ ดว้ ย จะไม่ไดร้ ับอนุญาตให้เขา้ รับการฝึกอบรมคร้ังน้นั สำหรับผู้อำนวยกำรฝึ กและวทิ ยำกรประจำหมู่ 1. ใหผ้ อู้ านวยการฝึกมอบกระดาษคาตอบท่ีไดร้ ับมาจากผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมแลว้ มอบให้ วทิ ยากรประจาหมูท่ ่ีเจา้ ของกระดาษคาตอบน้นั เป็นสมาชิกอยู่

249 2. ใหว้ ทิ ยากรประจาหมู่นดั หมายกบั สมาชิกในหมูท่ ีละคนเพ่ือซกั ถามขอ้ ต่าง ๆ ดงั ปรากฏ ในตน้ ฉบบั เอกสารการศึกษาเพิ่มเติมฉบบั ที่ 2 ทุกขอ้ ในเวลาวา่ งจะเป็นตอนเลิกการประชุมประจาวนั แลว้ กไ็ ดว้ นั หน่ึงควรสอบถามเพียง 1 หรือ 2 คน เป็ นอยา่ งมาก วทิ ยากรประจาหมู่ควรดูคาตอบท่ีเจา้ ของเสนอมาแลว้ ประกอบดว้ ย หากมีขอ้ อะไรซกั ถาม เพ่มิ เติมจากคาตอบน้นั เพ่ือจะใหไ้ ดค้ วามรู้กระจา่ งแจง้ ข้ึนกย็ อ่ มทาได้ หากวทิ ยากรประจาหมู่เห็นวา่ ควรจะใหค้ าแนะนาเพิ่มเติมประการใดบา้ งก็ยอ่ มทาได้ 3. การซกั ถามเช่นวา่ น้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการฝึ กอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจ และมี ทกั ษะในเรื่องน้นั ๆ อยา่ งชดั แจง้ ที่สุดเป็นสาคญั ไมใ่ ช่เป็ นการจดั ผลวา่ เป็นการสอบไดห้ รือสอบตก 4. ความปรารถนาของวทิ ยากรประจาหมู่ ก็คือ เพื่อถือวา่ เอกสารการศึกษาเพ่มิ เติมเป็ นปัจจยั สาคญั ส่วนหน่ึงของการฝึกอบรม

250 เอกสำรศึกษำเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั กำรฝึ กอบรมวชิ ำผ้กู ำกบั ลกู เสือสำมญั ข้ันควำมรู้เบือ้ งต้น ....................................................................... ใหต้ อบทุกขอ้ ก่อนตอบใหอ้ ่านเอกสารประกอบ และบนั ทึกที่ทา่ นไดท้ าไวใ้ นระหวา่ งการ ฝึกอบรมข้นั ความรู้เบ้ืองตน้ และข้นั ความรู้ช้นั สูง เสียก่อน 1. จุดหมายของการลูกเสือ คือ ส่งเสริมการพฒั นาคนหนุ่มท้งั ทางกาย สติปัญญา และ ศีลธรรม เพ่อื ใหค้ นหนุ่มเหล่าน้นั มีฐานะในการสร้างสังคมใหด้ ีข้ึน จงยกตวั อยา่ งลูกเสือในกองของทา่ นมาสักคนหน่ึง แลว้ พิจารณาวา่ ในการประชุมกองคร้ังที่ ผา่ นมามีกิจกรรมอะไรบา้ งท่ีช่วยใหล้ ูกเสือผนู้ ้ีมีการพฒั นาทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม 2. จุดมุ่งประสงค์ 2.1 จุดมุ่งประสงคข์ องการประชุมผกู้ ากบั ลูกเสือในกลุ่มมีประการใดบา้ ง ทา่ นไดม้ ี ส่วนช่วยตามความมุง่ ประสงคน์ ้ีอยา่ งไรบา้ ง 2.2. ท่านทาใหผ้ กู้ ากบั กลุ่มมีส่วนในงานของลูกเสือประการใดบา้ ง 2.3 อะไรเป็ นผลดีท่ีเกิดจากงาน หรือกิจกรรมของกลุ่มท่ีลูกเสือทุกประเภทในกลุ่มมี ส่วนร่วมมือดว้ ย 2.4 ท่านมีความสัมพนั ธ์อยา่ งไดผ้ ลกบั กองลูกเสือสารอง และกองลูกเสือสามญั รุ่นใหญอ่ ยา่ งไรบา้ ง ทา่ นจะทาใหค้ วามสัมพนั ธ์น้นั ดีข้ึนไดอ้ ยา่ งไร 2.5 ผปู้ กครองของลูกเสือมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั กิจการของลูกเสืออยา่ งไรบา้ ง 3. ความสาเร็จของระบบหมู่ข้ึนอยกู่ บั ทศั นคติของผกู้ ากบั กองลูกเสือและคุณภาพของนายหมู่ ท้งั หลาย ทา่ นจะพฒั นาการปฏิบตั ิงานของระบบหมู่อยา่ งไรบา้ งจึงจะไดผ้ ลดียงิ่ ข้ึน ท่านมอบความรับผดิ ชอบใหแ้ ก่นายหมู่ท้งั หลายอยา่ งไรบา้ ง และท่านช่วยนายหมูเ่ หล่าน้นั อยา่ งไร 4. จงวางแผนการประชุมกองสองคร้ังโดยปรึกษาหารือ กบั นายหมู่ และรองผกู้ ากบั ทุกคนใน กอง (จะไมต่ อ่ เน่ืองกนั กไ็ ด)้ โดยกาหนดประเด็นหรือคาขวญั เก่ียวกบั วชิ าเคร่ืองหมายวชิ าพเิ ศษลูกเสือ ท่ีน่าสนใจของลูกเสือในกองทา่ น จงระบุแผนการประชุมร่วม รายละเอียดเก่ียวกบั อุปกรณ์ท่ีใช้ ตลอด ถึงความช่วยเหลือท่ีตอ้ งการในการท่ีทา่ นไดใ้ ชห้ มู่ลูกเสือเป็นหน่วยเพื่อกิจกรรมมากนอ้ ยเพยี งไร ใน การประชุมคร้ังน้ีไดผ้ ลอยา่ งไรบา้ ง ทา่ นคิดจะใชก้ ารติดตามผลดว้ ยวธิ ี หรือ