Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารบริสุทธิ์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารบริสุทธิ์

Published by puwanai_fah, 2021-10-03 12:42:18

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารบริสุทธิ์

Search

Read the Text Version

สาร คอื อะไร

สมบตั ิของสาร • สสาร (matter ) คอื สง่ิ ทม่ี มี วล ตอ้ งการทอ่ี ยแู่ ละสามารถสมั ผสั ได้ หรอื อาจหมายถงึ สงิ่ ต่างๆทอ่ี ยรู่ อบตวั เรา มตี วั ตน ตอ้ งการทอ่ี ยู่ สมั ผสั ได้ อาจมองเหน็ หรอื มองไมเ่ หน็ กไ็ ด้ เชน่ อากาศ หนิ เป็นตน้ นกั วทิ ยาศาสตรเ์ รยี กสสารทร่ี จู้ กั วา่ สาร • สาร หมายถงึ สสารทศ่ี กึ ษาคน้ ควา้ จนทราบสมบตั แิ ละองคป์ ระกอบท่แี น่นอน ได้ หรอื สาร หมายถงึ เน้ือของสสารทน่ี ามาศกึ ษาหรอื สง่ิ ทน่ี ามาศกึ ษา ดงั นนั้ จงึ ใชค้ าวา่ สารแทนสสารได้ • สมบตั ิของสาร เป็นลกั ษณะเฉพาะของสารชนิดนนั้ ๆ ซง่ึ สามารถบ่งบอกได้ วา่ สารนนั้ คอื อะไร

สมบตั ิของสาร • สมบตั ิของสาร เป็นลกั ษณะเฉพาะของสารชนิดนนั้ ๆ ซง่ึ สามารถบง่ บอกได้ วา่ สารนนั้ คอื อะไร • สมบตั ิของสารจาแนกได้เป็น 2 ประเภท ดงั นี้ • 1. สมบตั ิทางกายภาพ (Physical Properties) • 2. สมบตั ทิ างเคมี (Chemical Properties)

1. สมบัตทิ างกายภาพของสาร เป็นสมบตั ิท่ีสังเกตไดจ้ ากลกั ษณะภายนอกหรือใชเ้ ครื่องมือง่ายๆ ในการสงั เกต เช่น สี กลิ่น รส การละลาย ความแขง็ ลกั ษณะผลึก สถานะ การนาความร้อน นาไฟฟ้า จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น เป็นตน้

2. สมบตั ิทางเคมีของสาร สมบตั ทิ างเคมเี ป็นสมบตั ทิ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โครงสรา้ งภายในของสาร เป็นสมบตั ิ ทส่ี งั เกตไดเ้ มอ่ื มปี ฏกิ ริ ยิ าเคมเี กดิ ขน้ึ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ เม่อื มกี ารเปลย่ี นแปลงทาง เคมี หรอื เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี เชน่ ความเป็นกรด – เบส การเกดิ สนิมเหลก็ การเผาไหม้ การเกดิ แก๊ส การเกดิ ตะกอน การตดิ ไฟ เป็นตน้ การเกดิ สนิมเหลก็ การเผาไหม้

บทท่ี 1 สมบัตขิ องสารบริสุทธ์ิ สารบริสุทธ์ิและสารผสม มจี ุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่น แตกต่างกนั อย่างไร

ทองคา ที่ใชท้ าเคร่ืองประดบั หรือทองรูปพรรณ ไม่ไดเ้ ป็นสารบริสุทธ์ิท่ีประกอบดว้ ย ทองคาเพียงอยา่ งเดียว เน่ืองจากทองคาบริสุทธ์ิ 100 % แมจ้ ะมีความเหนียว สามารถยดื ขยาย ตีหรือรีดในทุกทิศทางไดแ้ ต่มีความออ่ นตวั มากกวา่ โลหะอ่ืน ทาใหไ้ ม่สามารถทา เป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามตอ้ งการได้ จึงนิยมมาทาเป็นทองคาแท่ง



ทองรปู พรรณ เป็นสารผสมระหวา่ งทองคากบั โลหะชนิดอ่นื ๆ เชน่ เงนิ ทองแดง ในอตั ราสว่ นทเ่ี หมาะสม ซง่ึ จะทาใหส้ มบตั ติ า่ ง ๆ ของทองคาแขง็ และคงรปู ดขี น้ึ สามารถทาเครอ่ื งประดบั งา่ ยขน้ึ

สารบริสุทธ์ิ และ สารผสม คืออะไร สารผสม เป็นสารที่มีองคป์ ระกอบของสารต้งั แต่ 2 ชนิดข้ึนไปมา รวมกนั เช่น - ทองรูปพรรณ เป็นสารผสมระหวา่ งทองคาและโลหะอ่ืน - น้าเกลือเป็นสารผสมระหวา่ งน้าและเกลือ ส่วนสารที่มีองคป์ ระกอบเพียงชนิดเดียวจดั เป็นสารบริสุทธ์ิ เช่น - ทองคาแท่ง - น้ากลนั่ - ธาตุ เป็นตน้



กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร

กจิ กรรม 2.1 เรอ่ื ง จดุ เดอื ดของสารบรสิ ทุ ธแิ ์ ละสารผสมเป็นอยา่ งไร 1. จดุ ประสงคก์ ารทดลอง 1. วดั อุณหภมู แิ ละเขยี นกราฟการเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ขิ องน้าและ สารละลายน้าเกลอื เมอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ น 2. ตคี วามหมายขอ้ มลู จากกราฟ เพอ่ื เปรยี บเทยี บจดุ เดอื ดของน้าและ สารละลายน้าเกลอื

กจิ กรรม 2.1 เรอ่ื ง จุดเดอื ดของสารบรสิ ทุ ธแิ ์ ละสารผสมเป็นอยา่ งไร 2. กาหนดปัญหา สารบรสิ ทุ ธแิ ์ ละสารผสมมจี ุดเดอื ดแตกต่างกนั หรอื ไม่ 3. สมมติฐาน (คาตอบของปัญหา) สารบรสิ ทุ ธมิ ์ จี ุดเดอื ดคงท่ี สว่ นสารผสมมจี ุดเดอื ดไมค่ งท่ี

กิจกรรม 2.1 เร่ือง จดุ เดือดของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสมเป็นอย่างไร 4. กาหนดตวั แปร ตวั แปรตน้ คอื ชนดิ ของสาร (สารบรสิ ทุ ธิ ์ และ สารผสม) ตวั แปรตาม คอื จุดเดอื ด (อุณหภมู ขิ ณะเดอื ด) ตวั แปรควบคมุ คอื ปรมิ าตรของสาร บกี เกอรข์ นาดเทา่ กนั เทอรม์ อ มเิ ตอรช์ นิดเดยี วกนั ชุดขาตงั้ การตดิ ตงั้ เทอรม์ อมเิ ตอร์ ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ เวลา

เราจะสงั เกตได้อย่างไรว่าของเหลวกาลงั เดือด เมื่อของเหลวเร่ิมเดือดจะมีฟองอากาศ ขนาดเลก็ เกดิ ขนึ้ ที่ก้นภาชนะ แล้วเคล่ือนท่ี ขนึ้ สู่ด้านบน เม่ือสังเกตเห็นฟองอากาศ ขนาดใหญ่เกดิ ขนึ้ ทัว่ ท้งั ภาชนะ แสดงว่า ของเหลวกาลงั เดือด

จดุ เดือด จดุ เดือด (Boiling point) คือ อณุ หภมู ิของสารขณะเดือด

กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร 5. วสั ดุและอปุ กรณ์ 1. น้า 2. เกลือ 3. บีกเกอร์ 4. เทอร์มอมิเตอร์ 5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. แท่งแกว้ คนสาร 7. นาฬิกาจบั เวลา 8. ไฟแช็ค



























กิจกรรม 2.1 เรอื่ ง จดุ เดือดของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสมเป็นอย่างไร 5. วสั ดุและอุปกรณ์ 1. น้า 2. เกลือ 3. บีกเกอร์ 4. เทอร์มอมิเตอร์ 5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. แท่งแกว้ คนสาร 7. นาฬิกาจบั เวลา 8. ไฟแชค็

กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร 6. วิธีการดาเนินกิจกรรม 1. เตมิ น้าปรมิ าตร 50 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตรลงในบกี เกอร์ 2. จดั อุปกรณ์เพอ่ื วดั อุณหภมู ขิ องน้าเมอ่ื ใหค้ วามรอ้ นโดยระวงั กระเปาะของเทอรม์ อมเิ ตอรไ์ มใ่ หส้ มั ผสั กบั บกี เกอร์ 3. ใชแ้ ทง่ แกว้ คนน้าในบกี เกอรข์ นาดใหค้ วามรอ้ นสงั เกตการ เปลย่ี นแปลง วดั อุณหภมู ขิ องน้าทุกๆ 30 วนิ าที จนกระทงั่ น้าเดอื ดและวดั อุณหภมู ติ ่อไปอกี 2 นาที พรอ้ มบนั ทกึ ลงในตารางทอ่ี อกแบบไว้ 4. ทาเชน่ เดยี ว กบั ขอ้ 1 - 3 โดย โดยใชส้ ารละลายน้าเกลอื แทนน้าใน ปรมิ าตรทเ่ี ท่ากนั 5. นาขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากตารางบนั ทกึ ผลมาเขยี นกราฟความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งอุณหภมู กิ บั เวลา

กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร

กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร

กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร



กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร

กจิ กรรม 2.1 เร่ือง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็ นอย่างไร

80 70 60 ุอณห ูภมิ (องศาเซลเ ีซยส) 50 40 30 20 เวลา (วนิ าท)ี 10 0 0 30 60 90 120 150 180 ตวั อย่าง กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างอุณหภูมกิ บั เวลา

กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างอณุ หภูมขิ องสารกบั เวลาเม่ือให้ความร้อนกบั นา้



กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างอณุ หภูมขิ องสารกบั เวลา เมื่อให้ความร้อนกบั สารละลายโซเดยี มคลอไรด์



กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างอุณหภูมขิ องสารกบั เวลา เมื่อให้ความร้อนกบั นา้ และสารละลายโซเดยี มคลอไรด์






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook