Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ท่าตุ้มผลิใบ

ท่าตุ้มผลิใบ

Published by sakulsueb_9, 2022-03-21 01:33:18

Description: เอกสารเผยแพร่ในโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยสู่ตำบลสร้างรากแก้วให้ประเทศ (U2T) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางสู่ตำบลท่าตุ้ม อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

Keywords: U2T,lpru,ลำพูน,ต.ท่าตุ้ม

Search

Read the Text Version

ท่าตุม้ ผลิใบ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมคู า อาจารย์ทัตพิชา สกลุ สืบ ผู้เขยี น / กองบรรณาธิการ อาจารยภ์ าณวุ ัฒน์ สกลุ สืบ 978-616-590-268-7 ISBN มนี าคม 2565 พิมพค์ รัง้ ท่ี 1 จานวนพมิ พ์ 120 เล่ม ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แหง่ ชาติ ทตั พชิ า สกลุ สืบ . ทา่ ตมุ้ ผลิใบ.--ลาปาง : คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลาปาง, 2565. 291 หน้า. 1.การพัฒนาชมุ ชน. 2.การจัดการส่ิงแวดล้อม. I. ภาณวุ ฒั น์ สกุลสบื , ผู้แต่งร่วม. II.ธนพร หมูคา , ผ้แู ตง่ รว่ ม. III. ช่ือเร่อื ง. 307.1 ISBN 978-616-590-268-7 จัดพิมพโ์ ดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมคู า อาจารย์ทตั พิชา สกลุ สบื ออกแบบปกและ อาจารย์ภาณวุ ฒั น์ สกลุ สืบ พิมพ์ท่ี 119 หมู่ 9 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลาปาง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลาปาง 52100 โทรศพั ท์ 054-237399 ตอ่ 1174 บริษทั ดีเซมเบอรี่ จากัด 248/7 ซอยมติ ตคาม ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดสุ ิต กรงุ เทพ 10300 โทรศพั ท์มอื ถือ 085-997-7220 อีเมล [email protected]

คำนิยม กระผม นายเดชา ทองเพ็ญ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม ก่อนอื่น กระผมต้องขอขอบพระคุณ คณะทำงานโครงการ U2T ของมหาวิทยาลัยราชภัฎ ลำปาง ที่ได้เข้ามาช่วยให้ความรู้และประสบการณ์และเสริมสร้างสิ่งต่าง ๆ ให้กับ ตำบลทา่ ตุม้ ในคร้ังน้ี ตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ที่ทางมหาวิทยาลัยได้จัดทำขึ้น แสดงให้เห็น ถึงเรื่องราวการลงพื้นที่ในตำบลท่าตุ้ม เพื่อพัฒนาชุมชนโดยความร่วมมือกับองค์การ บริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ที่มีความมุ่งหวังเดียวกันคือ ความต้องการที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของราษฎรในตำบลท่าต้มุ ให้มีการพัฒนาไปในทุกๆ ด้าน เช่น ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการส่งเสริม ผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้านการส่งเสริมอนามัย ด้านการส่งเสริมสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มี มาตรฐานและเป็นที่รู้จักทั่วไป ถึงแม้ว่า “ตำบลท่าตุ้ม”จะเปน็ ตำบลเล็ก ๆ ในอำเภอ ป่าซาง มีพื้นที่เพียง 29.10 ตารางกิโลเมตร หรือ 18,187.5 ไร่ แต่พวกเราก็ภูมิใจที่ ทางมหาลัยคดั เลือกตำบลของเรา เพ่อื ทีเ่ ข้ามารว่ มกันพฒั นาตำบลท่าต้มุ ซงึ่ จะเห็นได้ ว่า ผลสำเร็จของวัตถุประสงค์นั้น มีมากกว่าที่ได้กำหนดไว้และทางองค์การบริหาร ส่วนตำบลท่าตุ้ม จะทำการต่อยอดและส่งเสริมกิจกรรมในทุกๆ ด้าน ที่ทาง มหาวิทยาลยั ไดท้ ำไว้ต่อไปให้สมกบั ความมงุ่ หมาย ท้ายน้ี กระผมในนามขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลทา่ ตมุ้ และพ่ีน้องชาวตำบล ท่าตุ้ม ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์ พร้อมด้วย คณะทำงานทุกท่าน ที่ได้เสียสละแรงกายแรงใจ ในการช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ ของทุกคนในตำบลท่าตุ้มในครั้งนี้ และกระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ในอนาคตคงได้ ร่วมงานกบั ทา่ นและทางมหาวทิ ยาลัยราชภฎั ลำปางต่อไป (นายเดชา ทองเพ็ญ) นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลท่าต้มุ ก

คำนยิ ม กระผม นายชัยวัฒน์ ชำนาญไพร ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม กระผมมีความยินดีอย่างยิ่ง ที่ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปางได้เข้ามาทำโครงการ U2T ในตำบลทา่ ตุ้ม ของเราในครง้ั นี้ ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้มีผลกระทบต่อชีวิตความเปน็ อยูข่ องพ่ีนอ้ งประชาชนในตำบลทา่ ตุ้ม เป็นอย่างมาก ส่งผลให้หลายครอบครัวได้รับผลกระทบในหลาย ๆ ด้าน แต่ในความโชคดีที่ทาง มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง ได้คัดเลือกตำบลท่าตุ้มในการพัฒนาชุมชน โดยความ มุ่งหวังที่จะยกระดับเศรษฐกิจและสังคม สร้างการจ้างงานแก่ประชาชน เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาชุมชน ในช่วงสถาณการณ์นี้ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม ดีใจและ ยินดที ่ีท่านไดเ้ ข้ามาพัฒนาและต่อยอดในหลาย ๆ ส่ิงทต่ี ำบลท่าตมุ้ มอี ยู่ ให้เป็นที่รู้จัก ตอ่ สังคมภายนอกมากข้ึน ตลอดระยะเวลาในการทำงานของคณะทำงาน U2T ของมหาวิทยาลัย ราชภัฎลำปาง ตำบลท่าตุ้ม ได้รับการพัฒนาและยกระดับในหลายๆ ด้าน ท้ายน้ี กระผม ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์ พร้อมด้วย คณะทำงานทุกท่าน ในการช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของทุกคนในตำบลท่าตุ้ม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าในอนาคตคงได้ร่วมงานกับท่านและทางมหาวิทยาลัยราชภัฎ ลำปางต่อไป นายชยั วฒั น์ ชำนาญไพรปลดั องคก์ ารบริหารส่วนตำบลท่าต้มุ ข

คำนำ หนงั สือ “ท่าตมุ้ ผลิใบ” ท่จี ดั ทำขึน้ น้มี วี ัตถุประสงคเ์ พ่ือบันทึกเรื่องราว การลงพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนตามโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล หรือ U2T ทีม่ หาวิทยาลัยราชภฏั ลำปางรว่ มมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลทา่ ตมุ้ อำเภอ ป่าซาง จังหวัดลำพูน ด้วยความมุ่งหวังที่จะยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คม จัดทำ ข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน สร้างการจ้างงานแก่ประชาชน บัณฑิตใหม่ และ นักศกึ ษา เพ่อื นำไปสู่การพัฒนาตามความตอ้ งการของชุมชน คณะทำงานในโครงการนี้ประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมูคำ อาจารย์ ดร.ชัดนารี มีสุขโข อาจารย์เอกสิทธิ์ ไชยปิน อาจารย์ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และ อาจารย์ทัตพิชา สกุลสืบ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง แนวทาง การดำเนินงานใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการกำหนดเป้าหมาย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ-เฝ้าระวังป้องกันโควิด-19 ด้านการ ส่งเสรมิ อนามัยและสง่ิ แวดล้อม ดา้ นการสง่ เสริมผลติ ภัณฑช์ ุมชนให้มีมาตรฐาน และเป็นทีร่ จู้ กั ตลอดระยะเวลาของการดำเนินโครงการ คณะทำงาน U2T มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางได้รับความรู้และประสบการณ์ที่ดีจากชุมชน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำให้ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียทุกฝ่ายได้บทเรียนในการพัฒนา ตนเองและสงั คมส่วนรวม คณะทำงานมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางหวงั เป็นอยา่ ง ย่งิ วา่ จะได้เห็น “ท่าตุม้ ผลใิ บ” เติบโตตอ่ ไปในอนาคต คณะทำงาน U2T กลุ่มงาน OTOP ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมูคำ อาจารยภ์ าณวุ ฒั น์ สกลุ สบื อาจารยท์ ัตพชิ า สกลุ สืบ ค

สารบญั คาํ นิยม หนา คํานาํ ก-ข สารบัญ ค บทท่ี 1 ความเปนมา และขอมูลพนื้ ฐานของตาํ บลทาตมุ ง บทที่ 2 ทรัพยากรธรรมชาติ และการฟน%& ฟู 1 69 บทท่ี 3 เม่ือโควดิ -19 มาถึงทาตุม ผลกระทบและแนวทางแกไข ในมติ สิ ขุ ภาพ 86 103 บทท่ี 4 การยกระดบั เศรษฐกจิ เพ่อื พชิ ติ ภัยโควิด 128 177 บทที่ 5 นักสูกูวิกฤต ประชาชน นกั ศึกษา บณั ฑติ ทาตมุ บทที่ 6 ถอดบทเรียนคณะทาํ งานโครงการ U2T บรรณานกุ รม 230 ภาคผนวก 231 ง

บทท่ี 1 ความเปน็ มา และขอ้ มูลพ้ืนฐานของตำบลทา่ ต้มุ 1. สภาพภูมิศาสตร์และสภาพทวั่ ไปของตำบลท่าตุม้ ตำบลท่าตุ้ม เป็นตำบลหนึ่งที่อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอปา่ ซาง เปน็ ตำบลท่กี ่อตั้งมาชา้ นานไมส่ ามารถค้นหาประวัตไิ ดอ้ ย่างชดั เจน จากคำบอก เล่าของคนเฒ่าคนแก่และผู้ที่น่าเชื่อถือได้กล่าวว่า ตำบลท่าตุ้มเป็นชุมชนหน่ึง ทม่ี ชี าวบ้านมาอาศยั ตดิ กบั แมน่ ้ำปิง (บรเิ วณท่ีต้ังบา้ นทา่ ตุม้ หมทู่ ี่ 1 ในปจั จบุ ัน) เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์และอยู่ติดกับแม่น้ำปิงชาวบ้านได้ อาศัยการจับสัตว์น้ำ โดยอาศัยอุปกรณ์พื้นบ้านที่เรียกว่า“ตุ้ม” จึงได้นำ ความหมายมาตงั้ ชอื่ หม่บู ้านว่า “บา้ นทา่ ตุม้ ” ตอ่ มาเมอื่ การปกครองได้ขยายมา ส่วนภูมิภาค จึงได้ยกฐานะบ้านท่าตุ้มข้ึนเป็นตำบล ท่าตุ้ม โดยมีหมู่บ้านอื่น ๆ รวมดว้ ย ปจั จบุ ันมีหมู่บ้านท้ังหมด 14 หม่บู ้าน ประชาชนท่อี าศัยอยูใ่ นตำบลทา่ ตุ้ม เป็นชาวพน้ื เมอื งเหนือและชาวยอง ภาษาพดู จึงมที งั้ ภาษาคำเมอื งและภาษา ยอง วิถีชีวิตทั่วไปมีความเป็นอยู่เรียบง่ายและจิตใจโอบอ้อมอารีและช่วยเหลือ ซ่ึงกนั และกนั การเรียกชื่อสถานที่ต่าง ๆ ในท้องถิ่น โดยทั่วไปมักใช้คำเรียกจากชื่อ ของสิง่ ทีม่ อี ยใู่ นบริเวณนน้ั ซงึ่ สังเกตได้ง่าย อาจมองเห็นไดช้ ัดเจนแม้อยู่ห่างไกล หรือสามารถเป็นจุดนำสายตาให้ผู้คนเดินทางมาถึงสถานที่หรือจุดหมายนั้นได้ อย่างถูกต้อง เช่น แม่น้ำ ต้นไม้ ที่ลุ่ม ที่ดอน เป็นต้น ซึ่งเปรียบได้กับการใช้

แอปพลิเคชันแชร์โลเคชันหรือเป็นจุดเช็กอินของคนในสมัยนี้นั่นเอง ดังพบ ข้อมูลในงานวิจัย ของ โอฬาร รัตนภกั ดี และวมิ ลศริ ิ กลิ่นบุปผา (2550) ที่สรปุ ไวใ้ นรายงานการวิจยั เรื่องภมู นิ ามของหม่บู า้ นในจงั หวัดลำพนู สรปุ ไว้ว่า ...สมพร ยกตรี (1) ปราชญ์ด้านพรรณไมล้ ้านนากลา่ วถึงการใช้พรรณไม้ มาเป็นชื่อเรียกของหมู่บ้านหรือสถานที่ต่าง ๆ ในภาคเหนือว่า เป็น ภมู ินามทส่ี ัมพันธก์ ับชมุ ชนท้องถนิ่ การใชค้ าํ เรียกชือ่ จากพันธ์ุไม้ นอกจาก จะเป็นจุดหมายตาแล้วอาจเรียกอีกอย่างว่าเป็น “ไม้หมายถิ่น” ได้ด้วย กล่าวคือ ณ สถานทีน่ ัน้ สามารถพบเห็นพันธ์ุไม้นั้นได้ง่าย ยกตัวอย่าง เชน่ บ้านท่าตุ้ม มาจากคำในกลุ่มของแม่น้ำ คือคำว่า “ท่า” และคำในกลุ่ม พันธุ์ไม้ คือคำว่า “ตุ้ม (ไม้ตุ้ม)” สําหรับที่มา (2) ของการเรียกชื่อบ้าน “ท่าตุ้ม” น้ีมีเรื่องเล่าว่า “ในอดีตหมู่บ้านนี้มีต้นไม้ใหญ่ คือ ต้นตุ้ม (ต้นตะกู) อยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำปิง ซึ่งมักจะมีพ่อค้าจากเขตดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่มาจอดพักอยู่บริเวณท่าน้ำนี้ เพื่อค้าขายกับชาวบ้าน ชาวบา้ นจงึ ตง้ั ช่ือหมบู่ า้ นว่า บ้านท่าตมุ้ โดยชนกล่มุ แรกทีม่ าต้ังถิ่นฐาน คือ กลมุ่ ลว๊ั ะ ไทลอ้ื จนกระท่งั เกิดอทุ กภยั หรอื น้ำทว่ มใหญก่ ลุม่ คนเหล่าน้จี งึ ได้ อพยพลีภ้ ัยไปอยูท่ อ่ี ำเภอฝางและจังหวดั เชยี งราย...” น่าสนใจว่า “ไม้ตุ้ม” ที่เคยขึ้นมากริมฝั่งแม่น้ำปิงจนกลายมาเป็นชื่อ เรยี กของหมบู่ า้ นและตำบลในปัจจุบนั น้ี จะยังมใี ห้เห็นมากน้อยเพียงใดและยังมี เหลืออยู่ในที่ใดบ้าง ประการสำคัญ คือ เราสามารถนํา “ไม้ตุ้ม” มาทำอะไรได้ บา้ งกับการพัฒนาผลติ ภณั ฑช์ ุมชนนอกจากการเป็น \"ภมู นิ าม\" ของทอ้ งถน่ิ 2

1.1 ที่ตงั้ และอาณาเขต เนื้อที่ตำบลท่าตุ้มมีพื้นที่ทั้งหมด 29.10 ตารางกิโลเมตรหรือ 18,187.5 ไร่ (หนังสือรับรองจำนวนพื้นที่ที่ว่าการอำเภอป่าซาง เลขที่ ลพ 0217/320,2551) ตำบลท่าตุ้มมีระยะห่างจากอำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ประมาณ 12 กิโลเมตร ในการคมนาคมติดต่อระหว่างหมู่บ้าน ในเขตตำบลท่า ตุ้ม ส่วนใหญ่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนลาดยาง ในเขตพื้นที่ตำบล ท่าตมุ้ แต่ละทศิ ติดต่อในพน้ื ทต่ี ่าง ๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลแม่แรง ตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน และอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลนครเจดีย์และตำบลมะกอก อำเภอป่าซาง จังหวัด ลำพนู ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับตำบลแม่แรงและ อำเภอป่าซาง จงั หวดั ลำพนู ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับแม่นำ้ ปงิ และตำบลน้ำดบิ อำเภอปา่ ซาง จงั หวัดลำพนู ตำบลทา่ ตมุ้ มเี ขตความรับผดิ ชอบท้งั หมด 14 หมบู่ า้ น ดงั นี้ 1. บา้ นทา่ ตุม้ หมทู่ ่ี 1 2. บา้ นหนองบวั หมทู่ ่ี 2 3. บ้านนองเกดิ หมูท่ ี่ 3 4. บา้ นรอ่ งหา้ หมทู่ ่ี 4 5. บา้ นรอ่ งชา้ ง หม่ทู ่ี 5 6. บ้านหนองหมู หมู่ท่ี 6 7. บา้ นปา่ ตอง หมู่ที่ 7 8. บา้ นปา่ สเี สยี ด หมู่ที่ 8 9. บ้านแม่อาวนอ้ ย หมู่ที่ 9 3

10. บ้านมงคลชยั หมู่ที่ 10 11. บา้ นสันป่าขาม หมู่ที่ 11 12. บ้านสารภีชัย หมู่ที่ 12 13. บา้ นไรป่ า่ คา หมู่ที่ 13 14. บ้านสนั ปา่ เป้า หมทู่ ี่ 14 1.2 ลักษณะภูมปิ ระเทศ ภูมิประเทศของตำบลท่าตุ้ม เป็นพื้นทีร่ าบลุ่มแม่น้ำ มีแม่น้ำปิงไหล ผ่านทางทิศตะวันตกของตำบล สภาพภูมิประเทศของตำบลท่าตุ้ม มีสภาพเป็น พื้นที่ราบและที่ดอนผสมกันไป พื้นที่ที่ราบลุ่มบางปีมักมีน้ำท่วมเป็นครั้งคราว โดยเฉพาะพืน้ ท่นี า ทีต่ ิดอยกู่ ับแมน่ ำ้ หรือลำเหมือง ส่วนทเ่ี ปน็ ที่ดอนในบางปีไม่ สามารถทำนาได้ จึงทำใหเ้ กิดพน้ื ท่รี กรา้ งว่างเปลา่ พ้ืนที่ราบ ส่วนมากจะเป็นที่ทำนา ทำสวน (ลำไย) หอมแดงหรือ พชื ผักต่าง ๆ โดยมกั จะอาศยั นำ้ ฝนและนำ้ บาดาล มพี น้ื ทปี่ ระมาณ 80% พ้ืนท่ีดอน เป็นทีอ่ ยูอ่ าศยั ส่วนใหญจ่ ะปลูกบ้านและปลกู ผลไมต้ า่ ง ๆ รอบบริเวณบ้าน เช่น ลำไย มะม่วงและพื้นท่ีสาธารณูปโภครวมอยูด่ ้วยประมาณ 20% 1.3 ลักษณะภูมิอากาศ จากสภาพภูมิประเทศท่ีโอบล้อมด้วยภูเขาและ แมน่ ำ้ ทำให้สภาพภูมอิ ากาศโดยทัว่ ไปเย็นสบาย ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม สิ้นสุดเดือนพฤษภาคม และ มีอากาศร้อนจัดในเดอื นเมษายน อณุ หภูมิสูงสดุ ประมาณ 35 องศาเซลเซียส 4

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม สิ้นสุดเดือนตุลาคมและมีฝน ตกหนักในเดือนกนั ยายนจะมีน้ำหลากมากฝนตกชุกตลอดฤดู ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน สิ้นสุดเดือนกุมภาพันธ์ และ จะมีอากาศหนาวสุดในช่วงเดือนธันวาคม อากาศจะเย็นจัดในตอนเช้าและ มหี มอกลง อุณหภูมิโดยเฉล่ยี ตำ่ สุดประมาณ 14 องศาเซลเซียส 2. สภาพทางสงั คม ด้านสภาพทางสังคมของตำบลท่าตุ้ม ในส่วนของสาธารณสุข การ คมนาคม การไฟฟา้ การประปาและอาชญากรรม ดังน้ี 2.1 ดา้ นสาธารณสุข ด้านสาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล (รพ. สต.) จำนวน 2 แหง่ และมสี ถานพยาบาล 2 แหง่ ดงั นี้ 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านท่าตุ้ม รับผิดชอบ หมู่ที่ 1 และหมูท่ ี่ 4 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านมงคลชัย รับผิดชอบ หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 10 หมทู่ ่ี 11 หมู่ที่ 12 หม่ทู ี่ 13 และหมูท่ ่ี 14 3. มีสถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) 3 แห่ง 4. มีศูนยส์ าธารณสขุ มลู ฐานชุมชนศนู ย์ (ศสมช.) 13 แห่ง 2.2 ด้านการคมนาคมขนส่ง (ทางบก, ทางน้ำ, ทางราง ฯลฯ) ด้านการคมนาคมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) มีเส้นทางคมนาคมที่ใช้ติดต่อกันทุกหมู่บ้านมีทั้งถนนลูกรัง ถนนคอนกรีตเสริม 5

ไม้ไผ่ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนลาดยาง ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวง ท้องถ่นิ และถนนบดอดั 2.3 ดา้ นการไฟฟ้า ด้านการไฟฟ้า ในเขตพื้นที่ตำบลท่าตุ้ม ทุกหมู่บ้านทั้ง 14 หมู่บ้าน มีไฟฟา้ เข้าถงึ ทกุ หมบู่ า้ น จากการสำรวจพบวา่ ยังมีครวั เรอื นทย่ี งั ไมม่ ไี ฟฟ้าใช้อยู่ บ้าง สาเหตุเพราะเป็นครัวเรือนทีเ่ พิ่งก่อสรา้ งใหม่และก่อสร้างห่างจากหมู่บ้าน หลัก องค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้มจึงมีแผนงาน เพื่อดำเนินการเดินสายไฟ เพื่อแก้ไขปัญหาให้ต่อไป ส่วนไฟฟ้าใช้เพื่อการเกษตรนั้น ยังคงมีความ จำเป็น อยู่อีกมาก เนื่องจากว่าปัจจุบันน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับใช้ในการเกษตรมีราคา แพง เกษตรกร จึงมคี วามต้องการใชไ้ ฟฟา้ เพอื่ การเกษตร เพ่ือเป็นการลดต้นทนุ การผลิตมากข้ึน 2.4 ดา้ นอาชญากรรม องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลท่าตุ้ม มรี ะบบการป้องกันอาชญากรรมใน ตำบล ดงั น้ี - มตี ูย้ ามตำรวจ 1 แห่ง - มศี นู ย์อาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) ทา่ ตุม้ 1 แห่ง - มศี ูนยป์ ระสานงานป้องกันปราบปรามยาเสพติดและอาชญากรรม 1 แห่ง - มอี าสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน (อปพร.) 54 คน - มีอาสาสมัครตำรวจ (อส.ตร.) หม่บู ้านเพ่อื ปอ้ งกนั และปราบปราม ยาเสพติดและอาชญากรรม 130 คน 6

3. ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 3.1 ทรัพยากรนำ้ การจัดการทรัพยากรน้ำ ในตำบลท่าตุ้ม พื้นที่มีแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ได้แก่ แม่นำ้ ปงิ เป็นแม่น้ำสายหลกั ท่ีมนี ำ้ ไหลผ่านตลอดปี มีปรมิ าณนำ้ แตกตา่ งกันใน แต่ละช่วงของปี สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ แหล่งน้ำท่ีชุมชนสร้าง ขึ้นใช้เพื่อบรรเทา ได้แก่ บ่อบาดาลและบ่อน้ำตื้น มี 2 ประเภทหลัก เน้นการใช้ ประโยชน์ด้านอุปโภคบริโภคเป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีการจัดการน้ำ ด้วยการสร้าง ฝายตามลำน้ำตา่ ง ๆ เปน็ ประโยชน์มากในชว่ งฤดฝู น ตารางท่ี 1 ขอ้ มลู ด้านแหลง่ น้ำเพือ่ การเกษตรรายหม่บู ้าน ปี 2561 หมู่ที่ ช่อื หมู่บา้ น สระน้ำขนาดเลก็ จำนวนสระ จำนวนราย 1 ทา่ ตุ้ม 51 51 2 หนองบัว 12 12 3 หนองเกดิ 23 23 4 รอ่ งหา้ 57 57 5 รอ่ งชา้ ง 48 48 6 หนองหมู 22 22 7 ปา่ ตอง 15 15 8 ป่าสเี สยี ด 13 13 9 แมอ่ าวนอ้ ย 9 9 10 มงคลชัย 55 11 สนั ป่าขาม 3 3 12 สารภชี ยั 55 13 ไรป่ า่ คา 33 14 สันปา่ เป้า 44 รวม 270 270 ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 13 มีนาคม 2561 7

3.2 ลักษณะแหล่งน้ำ ตำบลท่าตุ้ม มีแหล่งน้ำที่ใช้สำหรับอุปโภคคือน้ำบาดาลและ นำ้ เหมือง พืน้ ทีต่ ำบลทา่ ตุ้ม มนี ้ำบาดาลจำนวนมาก เพยี งพอสำหรับการเกษตร เพียงพอกบั การอปุ โภคและบริโภคของประชาชน 3.3 การประปา ประชาชนในตำบลท่าตุ้ม ได้รับการบริการด้านการประปาจาก กิจการประปาของหมู่บ้านครบทั้ง 12 หมู่บ้าน ตำบลทา่ ตุ้มเป็นตำบลที่มีระบบ ไฟฟ้าขยายไปทัว่ ถึงท้ังตำบล ประชากรมีไฟฟ้าใช้ครอบคลุม ส่วนใหญ่ครัวเรือน ที่ออกไปสร้างอยู่ในพื้นที่ทำการเกษตร เช่น สวนผลไม้ สวนลำไยทำให้ ขาดไฟฟา้ ใช้ในครวั เรือนและไฟฟา้ ภาคการเกษตร ภาพท่ี 1 : ประปาหมบู่ า้ นตำบลท่าตมุ้ อำเภอป่าซาง จังหวดั ลำพูน ภาพจาก : คณะทำงาน U2T ท่าตมุ้ 8

ตาราง 2 แสดงท่ตี ัง้ ของประปาหมบู่ ้านตำบลท่าตมุ้ หมู่ท่ี จำนวน หมู่ที่ จำนวน (แห่ง) (แหง่ ) 14 8 1 23 9 2 3 3 10 3 4 2 11 1 5 5 12 2 6 2 13 2 7 1 14 1 3.4 ทรพั ยากรป่าไม้ การจัดการทรพั ยากรป่าไม้ พื้นที่ตำบลท่าตุ้ม อยู่บนเขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธ์ุสัตวป์ า่ ป่าสงวนแห่งชาตแิ ละไม่มีเขตปฏริ ูปท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม ลักษณะของไม้และปา่ ไม้ พื้นที่ป่าไม้ในตำบลท่าตุ้มส่วนใหญ่ คนในชุมชนประกอบอาชีพ เกษตรกรรม จึงมีพื้นที่เกษตรกรรม ทั้งสิ้นประมาณ 9,000 ไร่ ส่วนใหญ่เป็น สวนและสวนผลไม้ เช่น สวนลำไย ปลูกข้าว การทำเกษตรผสมผสานบ้าง บางครัวเรือน การทำเกษตรส่วนใหญ่จะเป็นการทำการเกษตรที่ให้ผลผลิต เป็นตามฤดกู าล จึงไม่สามารถสร้างรายได้ให้ชุมชนได้ตลอดท้งั ปี 9

3.5 การจดั การทรพั ยากรดนิ ข้อมลู กล่มุ ชดุ ดิน ความเหมาะสมของดนิ และคณุ ภาพดิน เพื่อการ จัดการทรัพยากรดินในพื้นที่ตำบลท่าตุ้ม โดยรวมลักษณะดินของตำบลท่าตุ้ม สามารถแบ่งเป็น 7 ชุด ตามข้อมูลการแบ่งกลุ่มชุดดินของกรมพัฒนาที่ดิน ที่พัฒนาข้ึนโดยการรวมชุดดินที่มีลักษณะ สมบัติและศักยภาพในการเพาะปลกู รวมถึงการจดั การดนิ ท่คี ลา้ ยคลงึ กนั มาไว้เปน็ กลมุ่ เดยี วกนั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการ ให้คำแนะนำ การตรวจสอบลักษณะดิน การใช้ที่ดินและการจัดการดินที่ เหมาะสมให้แก่เกษตรกร (กรมพัฒนาที่ดิน, 2664 เว็บไซต์) ได้แก่ กลุ่มชุดดิน ที่ 4 กลุ่มชุดดินที่ 7 กลุ่มชุดดินที่ 15 กลุ่มชุดดินที่ 17 กลุ่มชุดดินที่ 33 กลุ่ม ชุดดนิ ท่ี 38 และกลุ่มชดุ ดินที่ 59 สรปุ ไดด้ ังนี้ กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 4 ดินในกลุ่มชุดดินนี้ มีลักษณะเป็นดินเหนียว ดินปนสีน้ำตาลปน สีเทา ดินชั้นล่างสีน้ำตาล อาจพบก้อนปูนหรือสารเคมีสะสมพวกเหล็กและ แมงกานีสในดินชั้นล่าง การระบายน้ำของดินค่อนข้างเลว พบตามที่ราบลุ่ม ระหวา่ งชั้นดนิ รมิ ลำน้ำ น้ำแชข่ งั ในฤดฝู นลึก 30-50 เซนตเิ มตร ดินมีความอุดม สมบูรณป์ านกลาง pH 5.5-6.5 ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในฤดูฝนมีน้ำแช่ขังนาน 4-5 เดือน ความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช เหมาะสมกับการทำนา มากกว่าการปลูกพืชอื่น ๆ ในฤดูแล้งสามารถปลูกพืชไร่หรือพืชผักที่มีอายุส้ัน ได้เปน็ อย่างดี 10

กลุ่มชุดดินท่ี 7 ดินในกลุ่มชุดดินนี้ มีลักษณะเป็นเป็นดินเหนียว มีสีน้ำตาลพืช สีน้ำตาลปนเทา พบจุดประสีน้ำตาลหรือมีสีแดงปะปนตลอดชั้นดิน กลุ่มดินนี้ เกิดจากพวกตะกอนลำน้ำ เป็นดินลึก มีระบายน้ำค่อนข้างเลว ฤดูฝนน้ำขังน้ำ ลกึ 30-50 เซนติเมตร 3-4 เดอื น ดินอดุ มสมบรู ณ์ปานกลาง pH 0-0.7 ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในฤดูฝนมีน้ำแช่ขังนาน 3-5 เดอื น ความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช เหมาะสมกับการทำนา มากกว่าการปลูกพืชไร่ ไม้ผลและพชื ผักในฤดูแลง้ สามารถปลูกพืชไร่และพืชผัก ตา่ ง ๆ ได้ แตต่ ้องมีแหลง่ น้ำธรรมชาติหรือแหลง่ น้ำชลประทานช่วยเสริมปัญหา ในการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ กล่มุ ชดุ ดินท่ี 15 ดินในกลุ่มชุดดินนี้ มีลักษณะเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินร่วน เหนียวปนทราย แป้งดินปนมีสีน้ำตาลปนเทา ดินล่าง สีน้ำตาลหรือสีเทาปน ชมพู พบจุดประสีเหลืองหรือสีน้ำตาลปนเหลือง ดินชั้นล่างมักพบพวกสารเคมี สะสมพวกเหล็กและแมงกานสี กลุ่มชุดดินน้เี กดิ จากซากวตั ถุดินกำเนิดดิบ พวก ตะกอน ลำน้ำดนิ มีความอดุ มสมบรู ณ์ ค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง pH 6.0-7.5 ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยทั่วไปไม่มี แม้บางแห่ง ดนิ มีความอดุ มสมบรู ณ์ค่อนข้างต่ำแตพ่ อปรับปรงุ ได้ 11

ความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช มีความเหมาะสมในการทำ นามากกว่าพชื ไร่ ไม้ผลและพชื ผักแตใ่ นฤดแู ล้งก็สามารถปลกู พชื ไรพ่ ชื ผกั ตา่ ง ๆ ไดถ้ า้ มีแหล่งนำ้ สำรองเพยี งพอ กลมุ่ ชดุ ดินที่ 17 ดินในกลุ่มชุดดินนี้ มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย เนื้อดินร่วน สีน้ำตาล ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย มีสีน้ำตาลอ่อน สีเทาอ่อน สีเทา ปนชมพู พบจุดประสีน้ำตาลปนเหลือง บางแห่งอาจพบศิลาแลง เกิดจากพวก ตะกอนลำน้ำ ตามพื้นที่ราบเรียบ บริเวณลานตะพักลำน้ำ ดินมีการระบายน้ำ คอ่ นขา้ งเลว มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่ pH 4.5-5.5 ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื้อดินค่อนข้างปนทราย ฤดูฝน น้ำขงั นาน 2-4 เดือน ดินมคี วามอุดมสมบูรณ์ต่ำ ความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช มีความเหมาะสมในการทำ นามากกว่าพืชไร่ ไม้ผลและพืชผัก ในฤดูฝนแต่สามารถปลูกพืชไร่พืชผักต่าง ๆ ได้ในฤดูแล้ง ถา้ มีแหลง่ นำ้ เพยี งพอ กลุ่มชุดดนิ ที่ 33 ดนิ ในกลุ่มชดุ ดินนี้ มลี กั ษณะเปน็ ดนิ รว่ นปนทราย มสี ีนำ้ ตาลหรือ สีน้ำตาลปนแดง อาจจะมีแร่ไมก้าหรือก้อนปูนปะปนพบตามสันคันริมน้ำเก่า และเปน็ ตะกอนมีพืน้ ท่ีคอ่ นข้างราบเรยี บถงึ เป็นลกู คล่นื ลอนลาด มีความลาดชนั ประมาณ 2-12% มีความอดุ มสมบูรณป์ านกลาง pH 6.5-7.5 ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีความเสี่ยงต่อการขาดน้ำได้ ในบางปี 12

ความเหมาะสมสำหรบั การปลูกพืช มคี วามเหมาะสมในการปลกู พืชหลายชนดิ ทัง้ พืชไร่พืชผักไมผ้ ลและทำนาขา้ ว กลมุ่ ชุดดินที่ 38 ดินในกลุ่มชุดดินนี้ มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทรายละเอียด ดินมี สีน้ำตาลพบจุดประสนี ้ำตาล เป็นในดินช้ันล่างมีความลาดชั้น 0-2% เป็นดินลึก มีการระบายนำ้ ดีถงึ ปานกลาง ระดับน้ำใต้ดินลึกประมาณ 1 เมตร มีความอุดม สมบรู ณป์ านกลาง pH 5.0-7.0 ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดินบนค่อนข้างเป็นดินทราย ในบางปีจะมีน้ำท่วมฉับพลันจากแม่น้ำอาจเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำขณะ ฝนทงิ้ ช่วง ความเหมาะสมสำหรับการปลกู พชื มคี วามเหมาะสมในการปลูก พชื ไร่ ไมผ้ ลหลายชนิด แต่ไม่ค่อยเหมาะสมทจี่ ะใช้ในการทำนา เน่ืองจากสภาพ พน้ื ท่ไี มอ่ ำนวย กลมุ่ ชุดดนิ ท่ี 59 ดินในกลุ่มชุดดินนี้ มีลักษณะเป็นดินผสมแร่หลายชนิด เกิดจาก ตะกอนลำน้ำพัดพามาทับรวมกัน พบบริเวณที่ราบลุ่มหรือบริเวณพื้นล่างของ หุบเขา มีความลาดชันประมาณ 0-2% ดินที่พบส่วนใหญ่มีการระบายน้ำ คอ่ นข้างเร็วถึงเรว็ มาก ส่วนมากมกี อ้ นกรวดและเศษหินปะปนอยใู่ นเนอื้ ดิน ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดินมีการระบายน้ำเลว มีน้ำแช่ขัง ในฤดฝู นและดนิ แฉะเกนิ ไปสำหรับพชื 13

ความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช มีความเหมาะสมในการทำ นาในช่วงฤดูฝนและเหมาะสมในการปลูกพืชไร่ในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากดินมี ความชื้น พอที่จะปลูกพืชไรได้หลายชนิดหลังการเก็บเกี่ยวข้าวและพื้นที่ บางส่วนของกลุ่มดินมีอยู่ใต้ระบบชลประทานโดยเฉพาะในภาคเหนือ ส่วนการ ปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้นไม่เหมาะสม เพราะมีน้ำท่วมขังในฤดูฝนและดินมีการ ระบายนำ้ เลว ลกั ษณะของดินในพนื้ ทท่ี า่ ตุ้ม พื้นที่ตำบลท่าตุ้มส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำประโดง กระจายทั่วทุกพื้นที่ ดังนั้นลักษณะของดินตำบลท่าตุ้มส่วนใหญ่มีลักษณะเป็น ดินร่วน ดินเหนียว ดินทราย สภาพดินของตำบลท่าตุ้มถือว่ามีความอุดม สมบูรณ์ เหมาะแกก่ ารเพาะปลูกพชื ทางการเกษตรและพืชเศรษฐกิจ เช่น ลำไย ข้าว เป็นต้น 3.6 การจัดการขยะภายในตำบลท่าตมุ้ ภาพที่ 2 แสดงภาพการจดั การขยะวดั ร่องชา้ ง ตำบลทา่ ต้มุ 14

3.6.1 ลักษณะการคดั แยกขยะ จากภาพตัวอย่างการจัดการขยะในวัดร่องช้าง มีการจดั การ ขยะที่มีรูปแบบที่ดี เพราะเป็นการจัดการขยะภายในวัด ทำให้การจัดการเรื่อง ขยะงา่ ยต่อการควบคุมดแู ลของพระสงฆ์ ภาพท่ี 3 แสดงการบรหิ ารจัดการคัดแยกขยะในวัดรอ่ งช้าง ตำบลทุ้ม อำเภอป่าซาง จงั หวดั ลำพนู 15

ขอ้ มูลการลงพืน้ ทสี่ ำรวจเรอ่ื งข้อมูลขยะในตำบลทา่ ตุ้ม ตารางที่ 3 บ้านทา่ ตมุ้ หมทู่ ่ี 1 หวั ขอ้ ในการเกบ็ ขอ้ มูล ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการลงพื้นท่ี ระบบการจดั การขยะทม่ี ีอยูใ่ น - มีการจดั การขยะภายในครัวเรือนแต่ หมบู่ า้ น ยังไมเ่ ปน็ ระบบ (เผา ท้งิ ขาย) - มกี ารกำจดั ขยะโดยการเผาขยะ ภายในครัวเรอื น ข้อมลู การคดั แยกขยะหมูบ่ ้าน - มีการทิง้ ขยะลงลมุ่ พื้นทที่ ้งิ ขยะหมูบ่ า้ น/ความพ่งึ พอใจ - เปน็ กลุ่มท้งิ ขยะของคนในหมู่บ้าน ของเจ้าของพนื้ ท่ีทิ้งขยะ มกี ารเกบ็ เงนิ ค่าท้งิ - นำขยะฝากไปทงิ้ ทต่ี า่ งบ้าน กิโลกรมั ละ ลักษณะของขยะในหม่บู ้าน 1- ใบบาไทม้, ขยะทว่ั ไป ปัญหาทต่ี อ้ งการแกไ้ ขเรื่องขยะ - การทงิ้ ขยะลงในแม่น้ำปงิ ความตอ้ งการดา้ นจดั การขยะ - การจดั การเรอ่ื งขยะ ใหม้ ีการจดั เกบ็ ทดี่ ี อุปกรณอ์ ่ืน ๆ - เรอ่ื งขยะตอ้ งการถังขยะแยกประเภท 16

ตารางที่ 4 บา้ นหนองบวั หมู่ท่ี 2 หวั ขอ้ ในการเก็บข้อมูล ขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการลงพนื้ ที่ ระบบการจดั การขยะที่มอี ยใู่ น - มีการเผาขยะจากเศษใบไม้ หมบู่ า้ น (เผา ทง้ิ ขาย) - ไมม่ กี ารจัดการขยะท่วั ไป ขอ้ มลู การคดั แยกขยะหมู่บ้าน - มีพน้ื ทค่ี ดั แยกขยะในหมบู่ า้ นทเี่ ดยี ว พื้นท่ที ้ิงขยะหมบู่ ้าน/ความพงึ่ - บริเวณศาลาท่ีอา่ นหนังสือประจำหมู่บ้าน พอใจของเจา้ ของพ้ืนที่ทิ้งขยะ ลักษณะของขยะในหม่บู า้ น - ใบไม้, ขวดแกว้ ,ขยะท่วั ไป ปัญหาที่ต้องการแกไ้ ขเร่อื งขยะ - จุดแยกขยะทไ่ี ม่เพียงพอตอ่ การทงิ้ ขยะและ จดั การขยะ ความตอ้ งการดา้ นจดั การขยะ - มถี งั ขยะแยกประเภทประจำหมบู่ า้ น อุปกรณ์อ่ืน ๆ ตารางที่ 5 บ้านหนองเกิด หมทู่ ่ี 3 หัวขอ้ ในการเกบ็ ข้อมูล ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการลงพ้นื ท่ี ระบบการจัดการขยะทีม่ ีอยใู่ น - มกี ารจดั การขยะ โดยการนำขยะไปทง้ิ ในพื้นท่ี หมบู่ ้าน (เผา ท้ิง ขาย) อน่ื - มกี ารเผาขยะ เช่น เศษใบไม้, ถงุ พลาสติก ข้อมลู การคดั แยกขยะหมู่บา้ น - ไม่มกี ารจดั การการแยกขยะในหมู่บ้าน 17

หวั ขอ้ ในการเกบ็ ข้อมลู ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการลงพื้นท่ี พื้นที่ท้ิงขยะหมู่บ้าน/ความพ่ึง - มีพื้นที่ทง้ิ ขยะท่ีเดียวในหมบู่ า้ นแต่ไมม่ กี าร พอใจของเจา้ ของพนื้ ที่ท้ิงขยะ จดั การท่ดี ี ลักษณะของขยะในหมู่บ้าน - ขวดน้ำ, ขวดพลาสติก, เศษใบไม้, ขยะท่วั ไป ปญั หาท่ีต้องการแกไ้ ขเรอ่ื งขยะ - ถงั ขยะและพน้ื ทีท่ งิ้ ขยะภายในหมบู่ ้าน ความตอ้ งการด้านจัดการขยะ - รถเก็บขยะประจำตำบล อุปกรณอ์ น่ื ๆ - ถังขยะแยกประเภท ตารางที่ 6 หม่บู ้านร่องห้า หมทู่ ่ี 4 หวั ขอ้ ในการเกบ็ ขอ้ มลู ข้อมูลทไ่ี ด้จากการลงพน้ื ที่ ระบบการจัดการขยะท่ีมีอยู่ใน - ไมม่ ีการจดั การขยะ มกี ารกำจดั ขยะในครัวเรอื น หมู่บ้าน (เผา ท้งิ ขาย) โดยการเผา ข้อมลู การคดั แยกขยะหมู่บ้าน - ไม่มกี ารคดั แยกขยะภายในหมบู่ า้ น พ้ืนทีท่ ้ิงขยะหมู่บา้ น/ความพึง่ - ไมม่ ีพืน้ ทที่ ิง้ ขยะของหมบู่ า้ น พอใจของเจ้าของพื้นท่ที ้ิงขยะ - มีลกั ษณะเป็นเศษใบไม้ ขวดแกว้ ขยะเปยี ก ลกั ษณะของขยะในหมบู่ า้ น ภายในครวั เรอื นเปน็ สว่ นใหญ่ ปัญหาทต่ี ้องการแกไ้ ขเร่ืองขยะ - ยงั ไม่มีการจดั การขยะท่ีถูกต้อง - ขาดพน้ื ที่ท้ิงขยะภายในหม่บู ้าน 18

หัวข้อในการเก็บขอ้ มูล ข้อมลู ทไี่ ด้จากการลงพืน้ ท่ี ความต้องการด้านจัดการขยะ - ต้องการถังขยะแยกประเภทประจำจุดตา่ งๆ อปุ กรณอ์ น่ื ๆ ภายในหม่บู ้าน - รถเกบ็ ขยะ เพื่อมาเก็บขยะอยา่ งนอ้ ยอาทิตย์ ละหนึ่งครั้ง ตารางที่ 7 บา้ นรอ่ งชา้ ง หมูท่ ี่ 5 หัวขอ้ ในการเก็บข้อมลู ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการลงพืน้ ท่ี ระบบการจัดการขยะทมี่ อี ยู่ - มีการจดั การขยะ โดยการนำขยะไปท้งิ ใน ในหมูบ่ ้าน (เผา ทงิ้ ขาย) พืน้ ท่ีอน่ื - มกี ารเผาขยะ เชน่ เศษใบไม้, ถงุ พลาสติก ข้อมูลการคัดแยกขยะ หพม้นื บู่ท้าี่ทนงิ้ ขยะหมบู่ า้ น/ความ - ไมม่ ีการจัดการการแยกขยะในหมู่บา้ น พึง่ พอใจของเจา้ ของพ้ืนทีท่ ้ิง ลขยักะษณะของขยะในหม่บู า้ น - มีพนื้ ที่ทิง้ ขยะท่ีเดยี วในหมู่บา้ นแตไ่ ม่มีการ จัดการทด่ี ี ปัญหาทตี่ อ้ งการแก้ไขเรอ่ื ง - ขวดน้ำ, ขวดพลาสตกิ , เศษใบไม้, ขยะ คขยวาะมตอ้ งการด้านจัดการ ทั่วไป ขยะ อปุ กรณอ์ ่นื ๆ - ถงั ขยะและพ้ืนทท่ี ้ิงขยะภายในหมู่บ้าน - รถเก็บขยะประจำตำบล - ถังขยะแยกประเภท 19

ตารางท่ี 8 บา้ นหนองหมู หมทู่ ี่ 6 หวั ข้อในการเกบ็ ขอ้ มลู ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการลงพน้ื ที่ ระบบการจัดการขยะทีม่ อี ยู่ - มีการจัดการขยะที่เปน็ พลาสตกิ เพ่อื นำ ในหมูบ่ า้ น (เผา ทง้ิ ขาย) ไปขาย ขอ้ มูลการคดั แยกขยะ --เศไมษม่ ใกีบาไมรคจ้ ดััดแกยารกโขดยยะกภาารยเผในาหมบู่ ้าน หม่บู ้าน พืน้ ทท่ี ิง้ ขยะหมบู่ ้าน/ความพึ่ง - มพี ้ืนที่ทงิ้ ขยะอยู่ท่ีเดยี ว ไม่เพียงพอต่อการ พอใจของเจ้าของพื้นที่ทิ้งขยะ ทงิ้ ขยะจนทำให้ขยะลน้ ถงั ขยะ ลกั ษณะของขยะในหมู่บา้ น - ขวดน้ำ,ขวดพลาสติก, เศษใบไม้, ขยะท่ัวไป ปญั หาท่ีตอ้ งการแกไ้ ขเร่ืองขยะ - การคดั แยกขยะภายในหมบู่ า้ น ความต้องการด้านจัดการขยะ - การนำขยะไปทำใหเ้ กิดประโยชน์ อุปกรณ์อ่ืน ๆ - รถเก็บขยะประจำตำบล - ถังขยะแยกประเภท ตารางท่ี 9 หม่บู ้านปา่ ตอง หมทู่ ่ี 7 หัวข้อในการเก็บขอ้ มลู ข้อมูลทไี่ ด้จากการลงพนื้ ท่ี ระบบการจัดการขยะทมี่ อี ยู่ใน - มีการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ มถี งั ขยะ หม่บู ้าน (เผา ทง้ิ ขาย) ประจำจดุ ตา่ ง ๆ ของหมูบ่ า้ น (เปน็ ถังดำ) ข้อมลู การคดั แยกขยะหม่บู ้าน - มีการคัดแยกขยะอยา่ งเป็นระบบ พ้ืนที่ทิ้งขยะหมู่บา้ น/ความพึ่ง พอใจของเจ้าของพน้ื ทท่ี ้ิงขยะ - มถี ังขยะแยกประเภทตามจุดตา่ ง ๆ ของ หมบู่ ้านเป็นจำนวนมาก 20

หวั ขอ้ ในการเก็บข้อมลู ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการลงพน้ื ที่ ลักษณะของขยะในหม่บู า้ น - หลอดไฟ, เศษขยะ, ใบไม้, กระดาษ, และ ขยะอ่ืนๆ ปัญหาที่ตอ้ งการแกไ้ ขเร่อื งขยะ - ไม่มปี า้ ยตดิ ขยะเพอื่ บง่ บอกถึงลักษณะ ความต้องการดา้ นจัดการขยะ ของขยะทจ่ี ะท้งิ อุปกรณ์อน่ื ๆ - ตอ้ งการรถเก็บขยะภายในตำบล - ถเกงั บ็ขอยยะแ่างยนกอ้ ปยรอะาเภททิตยทล์ม่ี ะมี หีคนวาึง่ คมรทง้ั รุดโทรม ตารางท่ี 10 หมูบ่ ้านป่าสีเสยี ด หม่ทู ่ี 8 หัวขอ้ ในการเกบ็ ขอ้ มูล ขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการลงพืน้ ท่ี ระบบการจดั การขยะทมี่ ีอยู่ใน หมบู่ า้ น (เผา ท้งิ ขาย) - มีการเผาขยะจากเศษใบไม้ และทิง้ ขยะ ขอ้ มลู การคดั แยกขยะหม่บู า้ น โดยไมม่ กี ารคัดแยกขยะก่อนทง้ิ พืน้ ท่ีทิง้ ขยะหมบู่ า้ น/ความพ่ึง - ถังแยกขยะประจำหมบู่ า้ นมเี พยี งทีเดียว พอใจของเจ้าของพืน้ ที่ ทิ้งขยะ ในหมู่บ้าน - บริเวณพนื้ ท่ีทง้ิ ขยะคอื บริเวณศาลา ลักษณะของขยะในหม่บู า้ น ประจำหม่บู า้ น - มีพน้ื ที่คัดแยกขยะน้อยเกนิ ไป ไมเ่ พยี งพอสำหรับการ - คเปัดน็ แลยักกษณะใบจากการทำการเกษตร, ขวด แกว้ , กระดาษ 21

หวั ข้อในการเกบ็ ข้อมูล ข้อมูลทไ่ี ด้จากการลงพ้นื ที่ ปญั หาทตี่ ้องการแก้ไขเรือ่ งขยะ - มีจุดคัดแยกขยะให้เพียงพอต่อทิ้งขยะ ความต้องการดา้ นจดั การขยะ ภายในหมบู่ ้าน อุปกรณ์อืน่ ๆ - ต้องการรถเกบ็ ขยะภายในตำบล เกบ็ อย่างนอ้ ยอาทิตยล์ ะหนึ่งคร้ัง - มีถงั ขยะตง้ั อยหู่ นา้ บา้ น ตารางท่ี 11 บา้ นแมอ่ าวน้อย หมู่ท่ี 9 หัวข้อในการเก็บข้อมูล ขอ้ มลู ที่ได้จากการลงพน้ื ที่ ระบบการจัดการขยะทีม่ อี ย่ใู น หมู่บ้าน (เผา ท้งิ ขาย) - นำขยะไปทงิ้ ในทข่ี องผ้อู น่ื ข้อมูลการคดั แยกขยะหมู่บา้ น พน้ื ท่ที ้ิงขยะหมู่บา้ น/ความพ่ึง - ไม่มีการคัดแยกขยะ พอใจของเจ้าของพน้ื ท่ีทิ้งขยะ - ไมม่ ีพ้ืนทที่ ิง้ ขยะ ลักษณะของขยะในหมบู่ า้ น - ขวดน้ำ, ขวดพลาสติก, เศษใบไม้, ขยะ ท่วั ไป ปัญหาทต่ี ้องการแก้ไขเรอ่ื งขยะ - ถงั ขยะและพ้นื ท่ีทิ้งขยะภายในหมู่บ้าน ความต้องการดา้ นจดั การขยะ - รถเก็บขยะประจำตำบล อุปกรณ์อ่ืน ๆ - ถังขยะแยกประเภท 22

ตารางท่ี 12 บ้านมงคลชัย หม่ทู ่ี 10 หวั ขอ้ ในการเกบ็ ขอ้ มลู ข้อมูลที่ได้จากการลงพ้นื ท่ี ระบบการจดั การขยะที่มีอยู่ใน - มีการจดั การขยะทเ่ี ปน็ พลาสตกิ หมู่บ้าน (เผา ทง้ิ ขาย) เพื่อนำไปขาย ขอ้ มูลการคดั แยกขยะหมบู่ ้าน - มเศกี ษาใรบคไดั มแ้จยดั กกขายระโดภยากยาในรเหผมาบู่ า้ น พ้นื ท่ีทง้ิ ขยะหมูบ่ า้ น/ความพง่ึ - มพี ้นื ท่ที ิง้ ขยะ แตไ่ ม่เพียงพอตอ่ การ พอใจของเจา้ ของพน้ื ทที่ ง้ิ ขยะ ท้งิ ขยะจนทำใหข้ ยะลน้ ถงั ขยะ ลักษณะของขยะในหมูบ่ า้ น - ขวดน้ำ, ขวดพลาสติก, เศษใบไม้, ขยะท่วั ไป ปญั หาทต่ี อ้ งการแก้ไขเร่ืองขยะ - การคดั แยกขยะภายในหมู่บา้ น - การนำขยะไปทำให้เกิดประโยชน์ ความตอ้ งการดา้ นจดั การขยะ - รถเกบ็ ขยะประจำตำบล อปุ กรณ์อื่น ๆ - ถงั ขยะแยกประเภท ตารางท่ี 13 บา้ นสนั ปา่ ขาม หมู่ที่ 11 หวั ข้อในการเกบ็ ข้อมลู ขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการลงพ้นื ท่ี ระบบการจัดการขยะท่ีมอี ย่ใู น - ไม่มีถังขยะแยกประเภทภายใน หมู่บา้ น (เผา ทง้ิ ขาย) หมู่บ้าน มกี ารจดั การขยะ - ไบม้าม่ งบกี าารงคคัดรัวแเยรกือขนยะประจำหมบู่ า้ น ขอ้ มลู การคดั แยกขยะหมบู่ า้ น 23

พื้นที่ทิง้ ขยะหมู่บา้ น/ความพึ่ง - พื้นทที่ ิ้งขยะ คือ ศาลาประจำ พอใจของเจ้าของพ้ืนที่ทิง้ ขยะ หม่บู ้าน (นำขยะมารวมกนั ลักษณะของขยะในหมบู่ า้ น - ใโดบยไมไม้, ่มหีกลาอรดจไดัฟก,าขรยขะยเะปแยี ลกะทจวั่ ดั ไเปกบ็ ท่ี ด- ี)การคดั แยกขยะภายในหมู่บ้าน ปญั หาทีต่ อ้ งการแก้ไขเรื่องขยะ - สถานทแี่ ยกขยะ - ตอ้ งการถงั ขยะแยกประเภทให้ ความต้องการด้านจัดการขยะ อุปกรณอ์ ืน่ ๆ เพยี งพอตอ่ การทงิ้ ขยะ ภายในหมบู่ า้ น ตารางท่ี 14 บ้านสารภีชยั หม่ทู ี่ 12 หัวข้อในการเกบ็ ข้อมูล ขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการลงพืน้ ที่ ระบบการจัดการขยะทีม่ ีอยูใ่ น - มกี ารจดั การขยะภายในครวั เรือน หมู่บา้ น (เผา ท้งิ ขาย) โดยการเผา ข้อมูลการคดั แยกขยะหม่บู ้าน - มีการคัดแยกขยะเพยี งทเี่ ดยี วใน หมบู่ า้ นคอื วัด พื้นที่ท้งิ ขยะหม่บู า้ น / ความพึง่ พอใจของเจ้าของพื้นทที่ งิ้ ขยะ - วัดร่องชา้ ง ลกั ษณะของขยะในหม่บู า้ น ปัญหาทต่ี ้องการแก้ไขเรอ่ื งขยะ - ขยะเปียก, ใบไม้, ขวดน้ำ ความตอ้ งการดา้ นจดั การขยะ - ถังขยะไม่เพยี งพอต่อความต้องการ อปุ กรณ์อืน่ ๆ - ถังขยะแยกประเภทต้ัง ณ จดุ ต่าง ๆ ของหมูบ่ า้ น 24

ตารางท่ี 15 บา้ นไรป่ า่ คา หมทู่ ่ี 13 หวั ขอ้ ในการเก็บข้อมูล ข้อมลู ท่ไี ด้จากการลงพื้นท่ี ระบบการจัดการขยะทม่ี ีอยูใ่ น - มีธนาคารขยะประจำหมู่บ้าน แตม่ ีการ หมู่บ้าน (เผา ท้งิ ขาย) จัดมานานแลว้ ไม่มีความต่อเน่ือง ข้อมลู การคัดแยกขยะหมบู่ ้าน - มีการคดั แยกขยะแต่ยังไมเ่ ป็นระบบ และยงั มีการเผาขยะเปยี กภายในบ้าน พน้ื ทที่ ิ้งขยะหมู่บา้ น/ความพงึ - มพี ืน้ ทต่ี ัง้ ถงั ขยะแยกประเภทท่ีเดียว พอใจของเจ้าของพืน้ ท่ที ิ้งขยะ ณ ศนู ย์ กศน.ตำบลทา่ ตมุ้ ลักษณะของขยะในหม่บู า้ น - ขวดน้ำ, ขวดพลาสติก, เศษใบไม้, ปัญหาทต่ี ้องการแก้ไขเรอ่ื งขยะ ขยะท่วั ไป - มจี ดุ คัดแยกขยะใหเ้ พยี งพอต่อทิ้งขยะ ภายในหมูบ่ ้าน ความต้องการดา้ นจดั การขยะ - ตอ้ งการถงั ขยะแยกประเภทประจำจุด อุปกรณ์อ่ืน ๆ ต่าง ๆ ภายในหมบู่ า้ น - รถเก็บขยะ เพอื่ มาเก็บขยะอย่างนอ้ ย อาทติ ย์ละหนง่ึ ครั้ง 25

ตารางท่ี 16 บ้านสันปา่ เปา้ หม่ทู ี่ 14 หัวขอ้ ในการเกบ็ ข้อมูล ข้อมูลทไ่ี ด้จากการลงพ้ืนที่ ระบบการจัดการขยะที่มีอยู่ใน - มีการจัดการขยะทเ่ี ปน็ พลาสตกิ เพอ่ื หมู่บ้าน (เผา ทง้ิ ขาย) นำไปขาย - เศษใบไม้จัดการโดยการเผา ขอ้ มลู การคัดแยกขยะหมบู่ า้ น พนื้ ท่ที ้ิงขยะหมบู่ ้าน/ความพึง - ไมม่ กี ารคดั แยกขยะภายในหมบู่ า้ น พอใจของเจา้ ของพนื้ ท่ีท้งิ ขยะ - มีพืน้ ท่ีทิง้ ขยะอยทู่ เี่ ดยี ว ไม่เพยี งพอต่อ ลักษณะของขยะในหมบู่ า้ น การทิ้งขยะจนทำให้ - ขขยวดะนลน้้ำ,ถขงั ขวดยพะลาสติก, เศษใบไม้, ปัญหาทต่ี อ้ งการแกไ้ ขเรื่องขยะ ขยะทวั่ ไป ความตอ้ งการด้านจดั การขยะ - การคดั แยกขยะภายในหมูบ่ ้าน อปุ กรณอ์ นื่ ๆ - การนำขยะไปทำใหเ้ กิดประโยชน์ - รถเก็บขยะประจำตำบล - ถังขยะแยกประเภท 3.6.2 การจดั การปญั หาสภาพแวดล้อมของท่าตุ้ม เมื่อกล่าวถึงการจัดการปัญหาสภาพแวดล้อมของตำบลท่าตุ้ม ในภาพรวมนั้น ทางหน่วยงานภาครัฐและประชาชนในพื้นที่ได้สรา้ งความเขา้ ใจ และความตระหนักในประเดน็ ปญั หาเหลา่ น้ี โดยสรปุ ได้ ดงั นี้ 26

1) ควรมีการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ ถึงผลกระทบ ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ท่ีจะเกิดข้นึ ตอ่ ประชาชนในพนื้ ท่ีตำบลทา่ ตมุ้ โดยเน้นให้ชุมชน เห็นถึงผลเสียหรืออันตรายที่ประชาชนจะได้รับทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและมีจิตสำนึกในการช่วยกันรักษา สภาพแวดล้อมและการแกป้ ัญหาสภาพแวดลอ้ มรว่ มกนั 2) ภาครัฐและชุมชนต้องมีการร่วมแสดงความคิดเห็นในเวที ของตำบล โดยตอ้ งมีกฎ ระเบียบหรือมาตรการทางกฎหมายบังคบั ใช้และมีการ ลงโทษหรือกำหนดโทษตามกฎหมายแกผ่ ู้สรา้ งปญั หาสงิ่ แวดล้อม โดยมาตรการ ทางกฎหมายนีต้ ้องมีผลบังคบั ใชอ้ ยา่ งเขม้ งวดและจรงิ จัง ทงั้ นเ้ี พื่อสรา้ งลักษณะ นิสัยในการรักษาสิ่งแวดล้อม ให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนโดยเฉพาะ ผูป้ ระกอบการที่มกี ิจการอันจะทำให้เกดิ ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม 4. การปกครอง 4.1 การเลือกตง้ั ตำบลทา่ ตุ้ม มี 1 เขตเลือกตั้ง ประกอบดว้ ย 16 หนว่ ยเลอื กตงั้ ดังน้ี 27

แผนที่ 1 แสดงพ้นื ท่ีขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้ม คดั จาก www.http://tatoom.go.th 28

แผนที่แสดงภาพถา่ ยทางอากาศ ภาพที่ 4 แสดงเส้นทางระหว่างอำเภอปา่ ซางและองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลทา่ ต้มุ อำเภอป่าซาง จงั หวดั ลำพนู คดั จาก www.http://tatoom.go.th 29

4.2 ประชากร ด้านข้อมูลประชากรของตำบลท่าตุ้ม แบ่งเป็นสถิติประชากรตำบล ท่าตุ้ม ข้อมูลเกี่ยวกับประชากร เปรียบเทียบย้อนหลัง 1-2 ปี ใน พ.ศ.2563 และ พ.ศ.2564 และการคาดการณ์ในอนาคต และช่วงอายุและจำนวน ประชากร ดงั ต่อไปน้ี 4.2.1 สถติ จิ ำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ.2563 บา้ น ชาย หญงิ รวม ครัวเรอื น หมทู่ ี่ 1 ท่าตุม้ 406 470 876 376 หมู่ที่ 2 หนองบัว 448 467 915 432 หมทู่ ่ี 3 หนองเกิด 363 362 725 340 หมทู่ ่ี 4 ร่องห้า 259 270 529 222 หมทู่ ่ี 5 ร่องช้าง 425 446 871 308 หมู่ท่ี 6 หนองหมู 203 208 411 167 หมู่ที่ 7 ปา่ ตอง 179 192 371 164 หมทู่ ่ี 8 ป่าสีเสียด 143 142 285 128 หมู่ที่ 9 แมอ่ าวน้อย 145 173 318 137 หมู่ท่ี 10 มงคลชยั 290 270 560 234 หมู่ที่ 11 สนั ป่าขาม 150 162 312 118 หมู่ที่ 12 สารภีชัย 139 142 281 108 หมูท่ ี่ 13 ไร่ป่าคา 176 218 394 156 หมูท่ ่ี 14 สันปา่ เปา้ 124 133 257 112 รวมตำบลทา่ ตุ้ม 3,451 3,656 7,107 3,003 30

4.2.2 สถติ จิ ำนวนประชากรและบา้ น ประจำปี พ.ศ.2564 ข้อมลู : (ระหวา่ งวนั ที่ 1-24 มีนาคม พ.ศ.2564) บา้ น ชาย หญงิ รวม ครัวเรอื น หมทู่ ่ี 1 ทา่ ตมุ้ 396 471 867 377 หมทู่ ่ี 2 หนองบวั 443 463 906 433 หมู่ท่ี 3 หนองเกิด 350 361 711 343 หมทู่ ่ี 4 รอ่ งห้า 254 267 521 225 หมทู่ ่ี 5 ร่องชา้ ง 418 446 864 310 หมทู่ ่ี 6 หนองหมู 205 209 414 168 หมู่ท่ี 7 ป่าตอง 184 191 375 165 หมู่ท่ี 8 ป่าสเี สียด 143 139 282 130 หมู่ท่ี 9 แม่อาวน้อย 143 171 314 137 หมู่ท่ี 10 มงคลชยั 287 272 559 240 หมทู่ ี่ 11 สันป่าขาม 148 157 305 118 หมู่ที่ 12 สารภีชัย 136 140 276 109 หมู่ที่ 13 ไร่ปา่ คา 174 218 392 157 หมู่ท่ี 14 สนั ปา่ เปา้ 124 127 251 113 3,405 3,632 7,037 3,025 รวมตำบลทา่ ตุ้ม 31

4.3 ชว่ งอายุและจำนวน ประชากร จำนวนประชากรแยกรายอายุ ตำบลทา่ ต้มุ อำเภอปา่ ซาง จงั หวัดลำพนู ข้อมลู (เดอื นกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2564) อายุ(ปี) ชาย หญงิ รวม อายุ(ปี) ชาย หญงิ รวม น้อยกว่า 1 ปี 15 18 33 1 ปี 17 30 47 24 27 51 3 ปี 28 21 49 2 ปี 28 21 49 5 ปี 26 21 47 4 ปี 33 28 61 7 ปี 27 31 58 6 ปี 31 36 67 9 ปี 29 30 59 8 ปี 27 22 49 11 ปี 21 26 47 10 ปี 26 21 47 13 ปี 24 28 52 12 ปี 25 32 57 15 ปี 24 31 55 14 ปี 25 30 55 17 ปี 23 19 42 16 ปี 34 27 61 19 ปี 35 26 61 18 ปี 36 25 61 21 ปี 31 25 56 20 ปี 38 40 78 23 ปี 50 45 95 22 ปี 54 44 98 25 ปี 36 38 74 24 ปี 41 52 93 27 ปี 41 45 86 26 ปี 60 45 105 29 ปี 52 46 98 28 ปี 56 49 105 31 ปี 56 52 108 30 ปี 52 42 94 33 ปี 41 39 80 32 ปี 45 42 87 35 ปี 61 42 103 34 ปี 47 48 95 37 ปี 50 51 101 36 ปี 32

38 ปี 41 43 84 39 ปี 42 39 81 40 ปี 45 41 86 41 ปี 48 60 108 42 ปี 52 47 99 43 ปี 42 48 90 44 ปี 42 48 90 45 ปี 35 62 97 46 ปี 36 52 88 47 ปี 42 48 90 48 ปี 45 61 106 49 ปี 36 60 96 50 ปี 56 58 114 51 ปี 61 64 125 52 ปี 56 71 127 53 ปี 58 65 123 54 ปี 66 96 162 55 ปี 64 75 139 56 ปี 75 84 159 57 ปี 67 90 157 58 ปี 77 81 158 59 ปี 71 65 136 60 ปี 54 75 129 61 ปี 82 68 150 62 ปี 55 57 112 63 ปี 86 88 174 64 ปี 58 54 112 65 ปี 50 44 94 66 ปี 48 64 112 67 ปี 36 52 88 68 ปี 46 44 90 69 ปี 41 39 80 70 ปี 24 40 64 71 ปี 38 55 93 72 ปี 30 33 63 73 ปี 28 31 59 74 ปี 24 23 47 75 ปี 21 14 35 76 ปี 17 19 36 77 ปี 22 26 48 78 ปี 15 15 30 79 ปี 14 19 33 80 ปี 16 11 27 81 ปี 10 13 23 82 ปี 13 13 26 83 ปี 10 10 20 84 ปี 8 16 24 85 ปี 3 15 18 33

86 ปี 3 6 9 87 ปี 4 5 9 88 ปี 5 8 13 89 ปี 2 6 8 90 ปี 5 7 12 91 ปี 4 4 8 92 ปี 1 3 4 93 ปี 4 2 6 94 ปี 1 2 3 95 ปี 1 1 2 96 ปี 1 1 2 97 ปี 0 0 0 98 ปี 1 0 1 99 ปี 0 1 1 100 ปี 1 0 1 มากกวา่ 0 0 0 100 ปี 4.4 การแบ่งอายขุ องประชากรทา่ ตมุ้ แยกตามชว่ งอายุ (ปี) เฉพาะผทู้ ีม่ สี ญั ชาตไิ ทยและมชี ื่ออยูใ่ นทะเบยี นบา้ น ข้อมูล: (เดือนกุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564) ลกั ษณะขอ้ มูล ชาย หญงิ รวม แยกตามเพศ 3,408 3,637 7,045 แยกตามลักษณะสถานะของบุคคล ชาย หญิง รวม ผู้ท่ีมสี ญั ชาติไทย และมีช่อื ยูใ่ นข้อมูล 3,405 3,628 7,033 ทะเบยี นบา้ น ผทู้ ไ่ี มไ่ ดส้ ัญชาตไิ ทย และมีชื่อย่ใู นขอ้ มลู 2 8 10 ทะเบยี นบ้าน ผู้ทม่ี ีชอื่ อยู่ในข้อมลู ทะเบยี นบา้ นกลาง 00 0 ผู้ท่ีอยรู่ ะหว่างการยา้ ย (ผูท้ ี่ยา้ ยออก 11 2 แตย่ งั ไมไ่ ด้ยา้ ยเขา้ ) **ข้อมูล วันท่ี 24 มีนาคม 2564 34

4.5 พ้ืนท/ี่ สภาพการถอื ครอง พ้ืนที่ ไมผ้ ล/ ท่ีอยู่ พ้นื ท่ี ปา่ หมายเหตุ ท้ังหมด ไมย้ ืน อาศยั การเกษตร ไม้/ หมู่ที่ ท่ีนา ต้น อ่นื ๆ อนื่ 1 1,638 295 1,079 258 5 1 กรรมสิทธิ์ การถือ 2 1,376 326 693 263 88 6 ปกครอง 3 864 - 430 239 190 5 สว่ นใหญ่ 4 915 360 310 243 1 1 เป็นโฉนด 5 1,633 350 701 250 321 11 และ นส.3 ก 6 690 - 288 148 253 1 7 536 190 199 145 1 1 8 856 371 368 115 1 1 9 1,215 5 390 136 675 9 10 605 18 347 112 125 3 11 389 11 149 117 110 2 12 497 165 268 62 1 1 13 749 - 328 101 321 8 14 539 1 176 85 270 7 รวม 12,502 2,092 5,726 2,274 2,353 57 ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 35

4.6 การบรหิ ารราชการ ตำบลท่าตุ้มมีหน่วยราชการต่าง ๆ ที่บริหารราชการในพื้นท่ี ประกอบด้วย 1. หนว่ ยงานการบริหารงานระดับกลาง ทมี่ าปฏิบัติงานในเขตพื้นที่ ตำบลท่าตมุ้ รวมท้ังสน้ิ 1 หน่วยงาน 2. หน่วยงานการบริหารระดับต้น ที่มาปฏิบัติงานในเขตพ้นื ทีต่ ำบล ทา่ ตุ้มรวมท้งั สิน้ 1 สำนักกับ 3 กอง 3. หน่วยงานการบริหารอื่นๆ ประกอบด้วย โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล 2 แห่ง 4.7 การเมือง รายชื่อผู้ดำรงตำแหน่งประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล 1. นายบญุ รตั น์ ขนั โปธิ เมอ่ื 19 มกราคม พ.ศ. 2539 ถึง 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2441 2. นายอำนวย สรุ ินทรแ์ กว้ เมอ่ื 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2441 ถึง 19 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2543 3. นายเจย วรรณหลวง เมอื่ 19 มถิ ุนายน พ.ศ.2543 ถึง 10 เมษายน พ.ศ.2447 4. นายอำนวย สรุ ินทร์แกว้ เมือ่ 1 กนั ยายน พ.ศ.2547 ถึง 26 กนั ยายน พ.ศ. 2551 36

5. นายแสวง มูลรตั น์ เมื่อ 26 กันยายน พ.ศ.2551 ถงึ 23 สงิ หาคม พ.ศ. 2555 6. นายถวลิ แสงบญุ เมอ่ื 6 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2555 ถึงปจั จบุ ัน รายช่อื ผู้ดำรงตำแหนง่ ประธานกรรมการบริหาร อบต.ท่าตุม้ 1. นายศรคี ำ ไชยยอง เมอื่ 19 มกราคม พ.ศ.2539 ถงึ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2441 2. นายบุญรัตน์ ขนั โปธิ เม่ือ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2442 ถงึ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2543 3. นายเดชา ทองเพญ็ เม่ือ 19 มิถนุ ายน พ.ศ. 2543 ถึง 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 4. นายเดชา ทองเพญ็ เมื่อ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 ถึง 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 5. นายเดชา ทองเพ็ญ เมือ่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ถึง 23 สงิ หาคม พ.ศ. 2555 6. นายเดชา ทองเพ็ญ เมอ่ื 30 กันยายน พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบัน 37

รายชอ่ื ผูด้ ำรงตำแหน่งปลัด อบต.ทา่ ตมุ้ 1. สบิ ตำรวจโท ภาสกร ใหม่หล้า เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2540 ถงึ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447 2. พนจ่าอากาศเอก ทวผี ล ธรรมานุวงศ์ เม่อื 16 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2447 ถึง 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2549 3. นายศุภกูณฑ์ สุภาพ เมอื่ 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2549 ถึง 30 ธันวาคม พ.ศ.2551 4. นายเทพนมิ ติ แสนพรหม เมอ่ื 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึง 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2561 5. นายชัยวฒั น์ ชำนาญไพร เมอื่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 ถึงปัจจบุ นั 5. สภาพทางเศรษฐกิจ 5.1 อาชพี อาชีพหลัก ที่สำคัญของประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ได้แก่ อาชพี เกษตรกรรม ไดแ้ ก่ 1. อาชพี ทำสวน สว่ นใหญ่ทำสวนผลไม้ ได้แก่ ลำไย มะม่วง ฯลฯ 2. อาชีพทำไร่ ไดแ้ ก่ ทำไรม่ นั ฝรั่ง มะเขือเทศ ฯลฯ 3. อาชีพเล้ยี งสัตว์ ไดแ้ ก่ สกุ ร ไก่ โค ฯลฯ อาชีพเสริม ได้แก่ อาชีพทอผ้า เยบ็ ผ้า จกั สาน ฯลฯ 38

5.2 ชีวภาพ พันธุพ์ ชื เศรษฐกิจ ลำไย พนื้ ท่ีปลกู 6,259 ไร่ พนั ธุท์ ่ีนยิ มปลูกมากทสี่ ุด คอื พนั ธ์ุอิดอ ขา้ ว พื้นท่ีปลกู 1,564 ไร่ พนั ธทุ์ ี่นิยมปลกู คือ พนั ธุ์ข้าวเหนยี วสนั ป่าตอง 1 การผลิตและลกั ษณะการผลติ พชื ทางการเกษตร ระยะเวลาที่มีการผลิตและจำหน่ายพชื ระบบ ช่วงเดือนในรอบปี ทมี่ กี ารปลกู พชื ตามระบบ การ ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ผลิต ข้าว นาปี ลำไย (ในฤดู) ลำไย (นอก ฤดกู าล) มันฝร่งั 5.3 การปศุสัตว์ เกษตรกรในเขตตำบลท่าตุ้ม นิยมเลี้ยงสัตว์ปีกเป็นส่วนใหญ่ เช่น ไก่พื้นเมือง ไก่ชน ในพื้นที่มีฟาร์มไก่เนื้อ ฟาร์มไก่ไข่ ส่วนวัวพันธุ์พื้นเมืองหรือ รู้จักกันในนาม “โคขาวลำพูน” เป็นโคพันธุ์ที่เลือกใช้ในพระราชพิธี “จรด พระนังคลั แรกนาขวัญ” มเี กษตรกรเลีย้ งบ้างในหมทู ี่ 7 หมู่ที่ 8 และหม่ทู ่ี 13 39

6. การพาณิชยกรรมและการบริการ 6.1 หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารสว่ นตำบลท่าตมุ้ 6.1.1 สถานท่ีจำหนา่ ยอาหาร จำนวน 14 แห่ง ดงั นี้ หมทู่ ี่ จำนวน (แห่ง) หมทู่ ่ี จำนวน (แหง่ ) 11 8 0 20 9 2 3 3 10 1 4 0 11 0 5 0 12 1 6 3 13 1 7 0 14 2 6.1.2 สถานทีเ่ ลย้ี งสัตว์ จำนวน 4 แห่ง ดงั นี้ หมู่ท่ี จำนวน (แห่ง) หม่ทู ี่ จำนวน (แห่ง) 11 8 0 20 9 1 3 0 10 0 4 0 11 0 5 0 12 0 6 1 13 0 7 1 14 0 40

6.1.3 สถานเสรมิ ความงาม จำนวน 8 แห่ง ดงั นี้ หมทู่ ่ี จำนวน (แห่ง) หมู่ที่ จำนวน (แหง่ ) 10 80 23 90 30 10 1 40 11 0 51 12 0 60 13 1 70 14 2 6.1.4 สถานซ่อมรถ / อ่ซู ่อมรถ จำนวน 12 แหง่ ดงั น้ี หมูท่ ่ี จำนวน (แหง่ ) หมทู่ ่ี จำนวน (แหง่ ) 1181 2090 3 2 10 1 4 0 11 2 5 3 12 2 6 0 13 0 7 0 14 0 41

6.1.5 สถานท่กี ักเก็บและจำหน่ายนำ้ มนั (ปั๊มน้ำมนั ) จำนวน 17 แหง่ ดังนี้ หมู่ที่ จำนวน (แหง่ ) หมูท่ ี่ จำนวน (แหง่ ) 1181 2191 3 1 10 1 4 1 11 1 5 3 12 2 6 1 13 1 7 1 14 1 6.2 ผลติ ภณั ฑ์ทีส่ ำคัญของตำบลท่าตุ้ม 6.2.1 ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ลำไย เป็นไม้ผลทางเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างยิ่งอันดับต้น ๆ ของตำบลท่าตุ้ม แต่ละปีมีเกษตรกรผู้ปลูก มีรายได้จากการจำหน่ายผลผลิต แหล่งผลิตกระจายไปทุกหมู่บ้านในตำบล เกษตรกรนำผลผลิตจำหน่ายให้กับ ผูร้ ับซื้อคนกลาง ข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่ประชาชนมีความสนใจในการปลูก รองลงมาจากลำไยทีท่ ำให้เกิดรายได้ในชมุ ชน รองจากการจำหนา่ ยลำไย พืชผักต่าง ๆ ในชุมชน มีเกษตรกรบางกลุ่มได้ปลูกพืชผัก ต่าง ๆ ในชุมชน เม่ือผลผลิตออกผล ได้นำผลผลิตไปจำหน่ายตามท้องตลาด ในชุมชน 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook