เซตเปดแบบนาโนวคิ ลีย 281 (⊇) โดยตรงกนั ขาม ถา A ∈ NSO(U, X) ∩ NPO(U, X) ไดว า A ⊆ NCl(NInt(A)) และ A ⊆ NInt(NCl(A)) จาก A ⊆ NCl(NInt(A)) โดยสมบตั นิ าโนอินทเิ รียและนาโนโคลสเชอร ไดวา NInt(NCl(A)) ⊆ NInt(NCl(NCl(NInt(A)))) = NInt(NCl(NInt(A))) จาก A ⊆ NInt(NCl(A)) จึงไดว า A ⊆ NInt(NCl(NInt(A))) ทำให A ∈ τRα(X) จงึ ไดว า NSO(U, X) ∩ NPO(U, X) ⊆ τRα(X) จาก (⇒) และ (⇐) จงึ สรปุ ไดว า τRα(X) = NSO(U, X) ∩ NPO(U, X) ทฤษฎีบท 3.7. ถา (U, τR(x)) เปน ปริภมู ินาโนทอพอโลยี และ LR(X) = UR(X) = X แลว U, ϕ, LR(X) และ A ⊃ LR(X) เทานนั้ ท่ีเปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟาใน U พิสจู น. เนือ่ งจาก τR(x) = {U, ϕ, LR(X), UR(X), BR(X)} และจากกำหนดให LR(X) = UR(X) ทำให τR(x) = {U, ϕ, LR(X)} เนอ่ื งจากทกุ ๆ เซตเปด แบบนาโนเปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟา ทำให U, ϕ, LR(X) เปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา ........⃝1 ตอ ไปจะแสดงวา A ที่ A ⊃ LR(X) เทานน้ั ทเ่ี ปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา ถา A ⊂ LR(X) เนอ่ื งจาก ϕ เปนเซตเปด แบบนาโนเซตเดียวท่เี ปนสบั เซตของ A ทำให NInt(A) = ϕ ไดวา NCl(NInt(A)) = NCl(ϕ) = ϕ และไดวา NInt(NInt(A)) = NInt(ϕ) = ϕ เปนผลทำให A NInt(NCl(NInt(A))) ดังน้ัน A ไมเ ปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา ถา A ⊃ LR(X) เน่ืองจาก LR(X) เปนเซตเปดแบบนาโน จึงไดว า LR(X) = NInt(LR(X)) ⊆ NInt(A) ∪ ให x ∈ NInt(A) จาก NInt(A) = {G ⊂ A : G เปน เซตเปดแบบนาโน} ทำให x ∈ LR (X ) เปนผลทำให NInt(A) ⊂ LR(X) ดงั น้นั NInt(A) = LR(X) ไดว า NCl(NInt(A)) = NCl(LR(X)) ไดว า NInt(NCl(NInt(A))) = NInt(NCl(LR(X))) ........⃝2 เนื่องจาก BR(X) = UR(X) − LR(X) = UR(X) − UR(X) = ϕ ดังนน้ั BR(X)c = ϕc = U ทำให NInt(BR(X)c) = NInt(U) = U เนื่องจาก U เปน เซตปดแบบนาโนเพยี งเซตเดยี วท่ี LR(X) เปนสับเซต ดงั นนั้ NCl(LR(X)) = U เปนผลทำให NInt(NCl(LR(X))) = NInt(U) = U ........⃝3 จาก ⃝2 และ ⃝3 ไดว า NInt(NCl(NInt(A))) = U ทำให A ⊆ NInt(NCl(NInt(A))) ดงั นน้ั A เปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟา ........⃝4 จาก ⃝1 และ ⃝4 สรปุ ไดวา U, ϕ, LR(X) และ A ⊃ LR(X) เทานนั้ ที่เปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา ใน U โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร ครง้ั ที่ 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
282 อาดลุ ย จงรักษ และ พรรณราย พั้วปอ ง ทฤษฎบี ท 3.8. ให (U, τR(x)) เปน ปริภูมินาโนทอพอโลยี และ ถา LR(X) = ϕ แลว จะไดวา U, ϕ, UR(X) และ A ⊃ UR(X) เทา น้นั ท่ีเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา พสิ ูจน. ให LR(X) = ϕ เนือ่ งจาก BR(X) = UR(X) − LR(X) = UR(X) − ϕ = UR(X) ดังนนั้ τR(x) = {U, ϕ, UR(X)} เนอ่ื งจาก ทุก ๆ เซตเปดแบบนาโนเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา ดังนน้ั U, ϕ, UR(X) เปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา ........⃝1 ให A ⊂ U จะแสดงวา A ⊃ UR(X) เทา นัน้ ท่ีเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา ถา A ⊃ UR(X) และ A ≠ ϕ เน่อื งจาก ϕ ซ่งึ เปน เซตเปด แบบาโนแอลฟาเพียงเซตเดียวท่เี ปนสบั เซตของ A ดงั นั้น NInt(A) = ϕ ไดวา NCl(NInt(A)) = NCl(ϕ) = ϕ ไดว า NInt(NCl((A))) = NInt(ϕ) = ϕ เปนผลทำให A NInt(NCl(NInt(A))) ดงั นั้น A ไมเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา ใน U ถา A ⊃ UR(X) เนื่องจาก UR(X) เปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟาท่ใี หญท สี่ ดุ เปนสบั เซตของ A ดงั นั้น NInt(A) = UR(X) แลว NCl(NInt(A)) = NCl(UR(X)) ไดว า NInt(NCl(NInt(A))) = NInt(NCl(UR(X))) ........⃝2 เนอื่ งจากเซตปดแบบนาโนทีม่ ี UR(X) เปน สบั เซตมีเพียง U เทานน้ั ทำให NCl(UR(X)) = U ........⃝3 จาก ⃝2 และ ⃝3 จึงไดวา NInt(NCl(NInt(A))) = NInt(U) = U ทำให A ⊆ NInt(NCl(NInt(A))) ดังนน้ั A เปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา ........⃝4 จาก ⃝1 และ ⃝4 สรุปไดวา U, ϕ, UR(X) และ A ⊃ UR(X) เทา นนั้ ที่เปน เซตเปดแบบนาโน แอลฟา ทฤษฎีบท 3.9. ให (U, τR(x)) เปนปริภมู ินาโนทอพอโลยี และ ถา UR(X) = U และ LR(X) ̸= ϕ แลว U, ϕ, LR(X) และ BR(X) เทานน้ั ทเ่ี ปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟาใน U พิสูจน. เนอื่ งจาก τR(x) = {U, ϕ, LR(X), UR(X), BR(X)} ........⃝1 และจากกำหนดให UR(X) = U ทำให τR(x) = {U, ϕ, LR(X), BR(X)} เน่อื งจากเซตเปด แบบนาโนเปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟา ดังน้นั U, ϕ, LR(X) และ BR(X) เปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟา ให A ⊆ U ถา A = ϕ ไดวา A เปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟา แตถ า A ̸= ϕ จะแสดงวา A ไมเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา กรณีท่ี A ⊂ LR(X) เนอื่ งจากเซตเปดแบบนาโนทเ่ี ปนสับเซตของ A คือ ϕ เทา นั้น ดังนน้ั NInt(A) = ϕ เปนผลทำให NInt(NCl(NInt(A))) = ϕ ไดว า A NInt(NCl(NInt(A))) ดงั นั้น A ไมเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร ครัง้ ที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค
เซตเปด แบบนาโนวิคลยี 283 กรณที ่ี LR(X) ⊂ A เนือ่ งจากเซตเปดแบบนาโนทีใ่ หญท สี่ ดุ ทีเ่ ปน สบั เซตของ A คอื LR(X) ดงั น้ัน NInt(A) = LR(X) ไดว า NInt(NCl(NInt(A))) = NInt(NCl(LR(X))) ........⃝2 เนอ่ื งจาก BR(X)c = (UR(X) − LR(X))c = U − (U − LR(X)) = LR(X) ไดว า NInt(BR(X)c) = NInt(LR(X)) = LR(X) ⊂ A ........⃝3 และไดว า NCl(LR(X)) = NCl(BR(X)c) = BR(X)c ........⃝4 จาก ⃝2 , ⃝3 , ⃝4 ไดวา NInt(NCl(NInt(A))) ⊆ A เปนผลทำให A NInt(NCl(NInt(A))) ไดว า A ไมเปน เซตเปด แบบนาโนแอลฟา ดังน้ัน เซตเปด แบบนาโนแอลฟาใน U มีเพียง U, ϕ, LR(X) และ BR(X) บทแทรก 3.10. ถา UR(X) = U แลว τR(x) = τRα ทฤษฎีบท 3.11. ให (U, τR(x)) เปนปริภูมินาโนทอพอโลยี ถา LR(X) ≠ UR(X) ซึง่ LR(X) ̸= ϕ และ UR(X) ̸= U แลว U, ϕ, LR(X), BR(X), UR(X) และ A ⊃ UR(X) เทา นน้ั ท่ีเปนเซตเปด แบบนาโนแอลฟา ใน U พสิ จู น. ให τR(x) = {U, ϕ, LR(X), BR(X), UR(X)} เปน นาโนทอพอโลยสี ำหรบั U เนือ่ งจากทกุ ๆ เซตเปด แบบนาโนเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา จะไดว า U, ϕ, LR(X), BR(X) และ UR(X) เปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟาใน U ให A ⊆ U ซง่ึ A ⊃ UR(X) จะแสดงวา A เปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา เนือ่ งจาก UR(X) เปน เซตเปด แบบนาโนที่ใหญทส่ี ดุ ท่เี ปนสับเซตของ A จงึ ไดว า NInt(A) = UR(X) ........⃝1 ดงั นนั้ NCl(NInt(A)) = NCl(UR(X)) เปนผลทำให A ⊆ NInt(NCl(NInt(A))) ดังน้นั A เปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา เน่อื งจาก U เปนเซตปดแบบนาโนเซตเดียวที่ UR(X) ท่ีเปนสบั เซต จึงไดวา NCl(UR(X)) = U ดังนัน้ NInt(NCl(UR(X))) = NInt(U ) = U ........⃝2 จาก ⃝1 และ ⃝2 ไดว า NInt(NCl(NInt(A))) = U ถา A ⊂ UR(X) จะแสดงวา A ไมเ ปน เซตเปดแบบนาโนแอลฟา เนื่องจากเซตเปดแบบนาโนทเี่ ปนสบั เซตของ A มเี พียง ϕ เทา น้ัน จงึ ทำให NInt(A) = ϕ ไดว า NCl(NInt(A)) = NCl(ϕ) = ϕ และไดวา NInt(NCl(NInt(A))) = NInt(ϕ) = ϕ ทำให A NInt(NCl(NInt(A))) ดงั นัน้ A ไมเ ปนเซตเปด แบบนาโนแอลฟา ในทำนองเดยี วกนั ถา A ⊂ LR(X) แลว A ไมเ ปนเซตเปดนาโนแบบแอลฟา และถา A ⊂ BR(X) แลว A ไมเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา ดงั นน้ั U, ϕ, LR(X), BR(X), UR(X) และ A ⊃ UR(X) เทา นัน้ ท่ีเปนเซตเปดแบบนาโนแอลฟา ใน U โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครง้ั ที่ 7 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค
284 อาดุลย จงรกั ษ และ พรรณราย พัว้ ปอง เอกสารอางอิง [1] M.Lellis Thivagar and Carmel Richard, Note on nano topological spaces, Commu- nicated. [2] N.Levine, Semi-open sets and semicontinuity in topological spaces, Amer.Math.Monthly, 70(1963), 36-41. [3] A.S.Mashhour, M.E.Abd EI-Monsef and S.N.EI-Deeb, On pre-topological spaces, Bull.Math.de la Soc. R.S. de Roumanie, 28(76)(1984), 39-45. [4] Miguel Caldas, A Note on some application of α-open sets, IJMMS, 2(2003), 125-130. [5] O. Njastad, On some classes of nearly open sets, Pacific J.Math, 15(1965), 961-970. [6] Z.Pawlak, Rough sets, International journal of computer and Information Sciences, 11(1982), 341-356. [7] I.L.Reilly and M.K.Vamanamurthy, On α-sets in topological spaces, Tamkang J.Math, 16(1985), 7-11. โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครง้ั ที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
Type of the Article: Seminar SE-PU 11 285 ความตอ เนอ่ื งแบบนาโน On Nano Continuity ผแู ตง : M. Lellis Thivagar และ Carmel Richard จดั ทำโดย: อาดุลย จงรกั ษ1* และ เสาวลักษณ คำวิเศษ1 1หลักสูตรสาขาวิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ *Correspondence: [email protected] บทคัดยอ ในบทความน้ีผูวิจัยไดนำเสนอฟง กช นั แบบใหมบนปริภูมินาโนทอพอโลยีซึ่งเรียกวา ฟงกชันตอเนอื่ งแบบ นาโนในเทอมของเซตปดแบบนาโน นาโนโคลสเชอร นาโนอินทิเรยี และศึกษาคุณลักษณะตา งๆของฟง กชัน ดังกลาวในเทอมของเซตปด แบบนาโน นาโนโคลสเชอร นาโนอนิ ทเิ รีย คำสำคญั : นาโนทอพอโลยี , เซตเปดแบบนาโน , เซตปดแบบนาโน , ฟง กช ันตอเน่อื งแบบนาโน Abstract The purpose of this paper to the propose a new class of function called nano continuous function and derive their characteizations in terms of nano closed sets, nano closure and nano interior. Keywords: Nanotopology, Nano-open sets, Nano closed sets, Nano continuous functions 1. บทนำ ในป 1991 Z. Pawlak ไดนิยามปรภิ มู ิแอบพร็อกซิเมชนั และศึกษาสมบัติตา งๆของปริภูมิน้ีตอ มาในป 2013 M. Lellis Thivagar และ Carmel Richard ไดสรา งและศกึ ษานาโนทอพอโลยีซง่ึ นยิ าม จากสับเซตของเอกภพสมั พัทธดวยการใชความสมั พันธสมมูลบนเอกภพสัมพทั ธดังกลาวอยูในเทอมของ แอบพร็อกซิเมชันและบาวดดารี่รีเจียนของสับเซตดังกลา ว จากนนั้ เขาไดนยิ ามเซตปดแบบนาโน นาโน อนิ ทิเรยี นาโนโคลสเชอรและศึกษาสมบัติตางๆทางทอพอโลยี สำหรับบทความนี้ศึกษาความตอ เน่ือง แบบนาโน 2. ความรูพื้นฐาน บทนิยาม 2.1. ให X เปนเซตซงึ่ ไมใ ชเซตวางและτ เปน เซตยอ ยของเซตกำลังของ X ท่มี ีคณุ สมบัตดิ งั น้ี (1) ϕ ∈ τ และ X ∈ τ โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค
286 อาดุลย จงรักษ และ เสาวลกั ษณ คำวเิ ศษ (2) ถา G1, G2, ..., Gn ∈ τ แลว ∩n Gi ∈ τ (3) ถา ∈ ทกุ คา ∈ i=1 เปนเซตดรรชนี แลว ∪ ∈ เรียก(x, τ) วา ปรภิ มู ิเชงิ ทอ Gα τ α J เมือ่ J Gα τ พอโลยี (topological space) เรียก τ วา ทอพอโลยี (topoαl∈oJgy) บน X และเรียกสมาชิกของ τ วา เซตเปด (open set) และเรียก F ⊂ X วาเซตปดใน X ถาคอมพรีเมนตของ F เปน เซตเปด ใน X คณุ สมบัตขิ อ (2)ในบทนิยามที่ 2.1 น้ี เราสามารถแสดงเพียงใหไ ดว า ถา G1, G2 ∈ τ แลว G1∩G2 ∈ τ ก็พอทั้งน้ีเพราะ ถา ประพจนนี้จริงแลวโดยอาศัยอปุ นัยเชงิ คณิตศาสตร สามารถแสดงไดวา คุณสมบัติ ขอ (2) เปนจริงดวย บทนิยาม 2.2. ให {U} ̸= ϕ ซ่งึ เรยี กวา เอกภพสมั พทั ธ และ R เปน ความสัมพนั ธสมมลู บน U ซงึ่ เรยี ก วาความสมั พนั ธ อินดสิ เซอนิบิลิตี (Indiscernibility) U จะถกู แบงดว ยชัน้ สมมูลใน U เรยี ก(U, R) วา ปริภูมิแอบพรอกชิเมชนั (approximation space) ให X ⊆ (U, R(x)) เปนชนั้ สมมูลของ x ภายใต R (1) โลเวอร แอบพรอกซิเมชัน (lower approximation) ของ X เทียบกบั R คือ ∪ LR(X) = {R(x) : R(x) ⊆ X} x∈U (2) อัปเปอรแ อบพรอกซิมาชนั (upper approximation) ของ X เทียบกบั R คือ ∪ UR(X) = {R(x) : R(x) ∩ X ̸= ϕ} x∈U (3) บาวดารรี ีเจียน (boundary region) ของ X เทียบกบั R คือ BR(X) = UR(X) − LR(X) บทนยิ าม 2.3. ให {U} ̸= ϕ เรียกวา เอกภพสัมพทั ธแ ละ R เปนความสัมพันธส มมูลบน U ให X ⊆ U ให τR(X) = {U, ϕ, LR(X), UR(X), BR(X)} แลว τR(x) เปน โทโพโลยบี น U และเรียกวานาโนทอ พอโลยี (nano topology)ที่เทยี บกบั X สมาชกิ ของนาโนทอพอโลยี เรียกวา เซตเปดแบบนาโน (nano- open sets)ใน U และ (U, τR(X)) เรียกวา ปรภิ ูมินาโนทอพอโลยี (nano topology space)สมาชกิ ท่อี ยใู น [τR(X)]c เรยี กวา เซตปดแบบนาโน(nano closed sets)ใน U หมายเหตุ 2.4. เบซิส(basis) ของนาโนทอพอโลยี τR(X) เทยี บกับ X คือ BR = {U, ϕ, LR(X), BR(X)} บทนยิ าม 2.5. ให (U, τR(X)) เปน ปรภิ ูมนิ าโนทอพอโลยที ่ีเทยี บกบั X โดยที่ X ⊆ U และ A ⊆ U (1) นาโนอนิ ทีเรีย(nano interior) ของ A หมายถงึ ผลผนวกของ เซตเปด แบบนาโน ทัง้ หมดท่ีเปน สับ เซตของเซต A เขยี นแทนดว ย NInt(A) นั่นคอื NInt(A) = ∪ ⊆ A|G เปนเซตเปดแบบนาโนใน U} {G (2) นาโนโคลสเชอร( nano closure) ของ A หมายถึงผลตัดของ เซตปดแบบนาโน ท่ีบรรจเุ ซต A เขียน แทนดวย NCl(A) น่ันคอื โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
ความตอเน่อื งแบบนาโน 287 NCl(A) = ∩ ⊇ A|F เปน เซตปด แบบนาโนใน U} {F หมายเหตุ 2.6. จากนิยาม 4.3 จะไดวา NInt(A)เปน เซตเปดแบบนาโน ที่เปน สับเซตของ A ท่ีใหญ ท่ีสดุ และ NCl(A) เปนเซตปด แบบนาโน ทเี่ ล็กทสี่ ุดท่ีบรรจุใน A หมายเหตุ 2.7. ในบทความนี้ U กับ V เปนเซตจำกดั ท่ีไมเปนเซตวาง X ⊆ U และ Y ⊆ V ; U/R และ V/R′ เปนเซตของชัน้ สมมูลโดยความสมั พนั ธสมมลู R และ R′ ใน U และ V ตามลำดับโดยท่ี (U, τR(X))และ (V, τR′(Y )) เปน ปรภิ ูมินาโนทอพอโลยที ่ีเทยี บกบั X และ Y ตามลำดับ บทนิยาม 2.8. ให (U, τR(X)) และ (V, τR′(Y )) เปน ปริภมู ินาโนทอพอโลยี และ f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) ตอ เน่อื งแบบนาโน(nano continuous) บน U กต็ อเม่ือ อนิ เวอรส อิม เมจ ของทกุ ๆเซตเปด แบบนาโน ใน V เปนเซตเปดแบบนาโน ใน U นั่นคือ f−1(G) ∈ τR(X), ∀G ∈ τR′(Y ) ตัวอยาง 2.9. ให U = {a, b, c, d} กับ U/R = {{a, c}, {b}, {d}} โดยที่ให X = {a, d} ⊆ U จะ แสดงวา τR(X) = {U, ϕ, {d}, {a, b, c}, {a, c}} พสิ จู น. U/R = {{a, c}{b}, {d}} R(a) = [a] = {a, c} R(b) = [b] = {b} R(c) = [c] = {c, a} R(d) = [d] = {d} LR(X) = ∪ {R(x) : R(x) ⊆ X} = {d} x∪∈U UR(X) = {R(x) : R(x) ∩ X ̸= ϕ} = {a, c}U {d}U {c, a} = {a, c, d} x∈U BR(X) = UR(X) − LR(X) = {a, c, d} − {d} = {a, c} ดงั นัน้ τR(X) = {U, ϕ, {d}, {a, c, d}, {a, c}} ให V = {x, y, z, w} กบั V/R′ = {{x}{y, z}, {w}} โดยทใี่ ห Y = {x, z} ⊆ V จะแสดงวา τR′(X) = {V, ϕ, {x}, {x, y, z}, {y, z}} จาก V /R′ = {{x}{y, z}, {w}} R(x) = [x] = {x} R(y) = [y] = {y, z} R(z) = [z] = {z, y} R(w) = [w] = {w} ∪ LR′(Y ) = {R(y) : R(y) ⊆ Y } = {x} y∪∈V UR′(Y ) = {R(y) : R(y) ∩ Y ̸= ϕ} = {x}U {y, z}U {z, y} = {x, y, z} y∈V BR′(y) = UR′(Y ) − LR′(Y ) = {x, y, z} − {x} = {y, z} โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร คร้งั ท่ี 7 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค
288 อาดลุ ย จงรกั ษ และ เสาวลักษณ คำวิเศษ ดงั น้นั τR′(Y ) = {V, ϕ, {x}, {x, y, z}, {y, z}} ให f : (U, τR(X)) → (V, τR′) เปนฟง กช นั โดยที่ f(a) = y, f(b) = w, f(c) = z, f(d) = x จะแสดงวา f ตอเนื่องบน U เน่อื งจากเซตเปด แบบนาโนใน V ไดแ ก V, ϕ, {x}, {x, y, z}, {y, z} และจากการนิยามฟง กชนั จะได f −1({x}) = {d} ∈ τR(X) f −1({y, z}) = {a, c} ∈ τR(X) f −1({x, y, z}) = {d, a, c} ∈ τR(X) f −1({V }) = U ∈ τR(X) f −1(ϕ) = ϕ ∈ τR(X) โดยบทนิยาม 2.8 จึงไดวา f เปน ฟง กชนั ตอ เนอ่ื งแบบนาโนบน U 3. ทฤษฎบี ทหลัก ทฤษฎบี ท 3.1. ให (U, τR(X)) และ (V, τR′(Y )) เปน ปริภูมนิ าโนทอพอโลยจี ะไดวา f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) ตอ เน่ืองแบบนาโน ก็ตอ เมอ่ื อนิ เวอรสอมิ เมจของทกุ เซตปดแบบ นาโนใน V เปนเซตปดแบบนาโนใน U พสิ จู น. (⇒) ให f เปน ตอ เน่ืองเเบบนาโนบน U และให F เปนเซตปดแบบนาโนใน V จะแสดงวา f−1(F ) เปนเซตปดแบบนาโนใน U เนือ่ งจาก F เปนเซตปดแบบนาโนใน V ดงั น้นั V − F เปนเซตเปด แบบนาโนใน V แต f เปน ฟงกชันตอเนอ่ื งแบบนาโน โดยนยิ ามความตอ เน่อื งแบบนาโน จะไดว า ที่ f−1(V − F ) เปน เซตเปด แบบนาโนใน U จะไดว า f−1(V − F ) = f−1(v) − f−1(F ) = U − f−1(F ) เปน เซตเปด แบบนาโนใน U ดงั น้นั U − (U − f−1(F )) = f−1(F ) เปนเซตปดแบบนาโนใน U (⇐) ให อินเวอรส อิมเมจ ของทกุ ๆเซตปดแบบนาโนเปนเซตปดแบบนาโนใน U จะแสดงวา f เปนฟง กช นั ตอ เนอ่ื งแบบนาโน ให G เปนเซตเปดแบบนาโน ใน V ดังนนั้ V − G เปน เซตปดแบบนาโนใน V จากท่ีกำหนดใหอินเวอรสอิมเมจของทุก ๆ เซตปดแบบนาโนเปน เซตปด แบบนาโนใน U จะไดว า f−1(V − G) เปน เซตปดแบบนาโนใน U จะไดว า f−1(V − G) = f−1(v) − f−1(G) = U − f−1(G) เปน เซตปด แบบนาโนใน U ทำให U − (U − f−1(G)) = f−1(G) เปนเซตเปดแบบนาโนบน U ดงั นัน้ f เปน ฟง กชันตอเนื่องแบบนาโนบน U ทฤษฎบี ท 3.2. ให (U, τR(X)) และ (V, τR′(Y )) เปน ปริภมู นิ าโนทอพอโลยีจะไดวา f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) เปน ฟงกชันตอ เน่อื งแบบนาโน ก็ตอเมอื่ f(NCl(A)) ⊆ NCl(f(A)) สำหรบั ทุกๆ A ⊆ U โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร คร้ังที่ 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
ความตอเนื่องแบบนาโน 289 พิสจู น. (⇒) ให f เปนฟง กชัน ตอเน่ืองแบบนาโน และ A ⊆ U จะแสดงวา f(NCl(A)) ⊆ NCl(f(A)) เนอื่ งจาก A ⊆ U จะไดวา f(A) ⊆ f(U) แต f(U) ⊆ V เพราะฉะนนั้ f(A) ⊆ V จาก f ตอ เน่อื งแบบนาโน โดยทฤษฎีบท 3.1 ไดว า f−1(NCl(f(A))) เปนเซตปด แบบนาโนใน U เนอื่ งจาก f(A) ⊆ NCl(f(A)) จะไดวา f−1f(A) ⊆ f−1(NCl(f(A))) แตเน่อื งจาก A ⊆ f−1(f(A)) ดังน้ัน A ⊆ f−1(NCl(f(A))) เนอื่ งจาก f−1(NCl(f(A))) เปนเซตปดแบบนาโน และ A ⊆ f−1(NCl(f(A))) แต NCl(A) เปน เซตปด แบบนาโนท่ีเล็กทีส่ ุดท่ี A เปนสบั เซต ดังนั้น NCl(A) ⊆ f−1(NCl(f(A))) ทำให f (NCl(A)) ⊆ f (f −1(NCl(f (A)))) = NCl(f (A)) นั่นคือ f (NCl(A)) ⊆ NCl(f (A)) (⇐) ให f(NCl(A)) ⊆ NCl(f(A)) สำหรับทกุ ๆ A ⊆ U และให F เปน เซตปดแบบนาโนใน V จะแสดงวา f เปนฟง กช นั ตอเนอื่ งแบบนาโน เน่อื งจาก f−1(F ) ⊆ U จะไดว า f (NCl(f −1(F ))) ⊆ NCl(f (f −1(F ))) ⊆ NCl(F )(∵ f f −1(F ) ⊆ (F )) ไดว า f (NCl(f −1(F ))) ⊆ NCl(F ) ดังน้ัน f −1f (NCl(f −1(f ))) ⊆ f −1(NCl(F )) นนั่ คือ NCl(f −1(F )) ⊆ f −1(NCl(F )) เน่ืองจาก F เปนเซตปดแบบนาโน ทำให F = NCl(F ) ดงั นั้น NCl(f−1(F )) ⊆ f−1(F ) แตเ นอื่ งจาก f−1(F ) ⊆ NCl(f−1(F )) เพราะฉะน้นั NCl(f−1(F )) = f−1(F )NCl(f−1(F )) เปนเซตปด แบบนาโนใน U ดงั นัน้ f−1(F ) เปน เซตปดแบบนาโนใน U โดยทฤษฎีบท 3.1 ทำใหไดวา f เปนฟงกชันตอ เน่อื งแบบนาโน หมายเหตุ 3.3. ถา f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) เปนฟง กช ันตอ เนื่องแบบนาโน แลว f(NCl(A)) ไมจ ำเปนตองเทา กับ NCl(f(A)) เม่อื A ⊆ U ให U = {a, b, c, d} : U/R = {{a}, {b, d}, {c}} ให X = {a, c, d} แลว TR(X) = {U, ϕ, {a, c}, {b, d}} ให V = {x, y, z, w} กบั V /R′ = {V, ϕ, {y}, {x, y, z}, {x, z} ให f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) กำหนดโดย f(a) = y, f(b) = X, f(c) = y, f(d) = x แลว f −1(V ) = U, f −1(ϕ) = ϕ, f −1({y}) = {a, c}f −1({x, y, z}) = U และ f −1({x, z}) = {b, d} พบวา อินเวอรส อมิ เมจของทุก ๆ เซตเปด แบบนาโนของ V เปนเปดแบบนาโนใน U ดงั น้นั f ตอเนอ่ื งแบบนาโน บน U และถาให A = {a, c} ⊆ V แลว f(NCl(A)) = f({a, c}) = {y} แต NCl(f (A)) = NCl({y}) = {y, w} ดงั น้นั f(NCl(A)) ̸= NCl(f(A)) ถงึ แมวา f เปนฟง กช นั ตอ เน่ืองแบบนาโน นน่ั คอื ไมตอ งเทา กนั เหมอื นอยางเชนทฤษฎบี ท 3.2 เม่ือ f เปน ฟงกช ันตอเนื่องแบบนาโน โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร คร้งั ท่ี 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
290 อาดุลย จงรักษ และ เสาวลกั ษณ คำวิเศษ ทฤษฎบี ท 3.4. ให (U, τR(X)) และ (V, τR′(Y )) เปนปรภิ มู ินาโนทอพอโลยที ี่ X ⊆ U และ Y ⊆ V โดยที่ τR′(Y ) = {V, ϕ, LR′(Y ), UR′(Y ), BR′(Y )} ซง่ึ มเี บซสิ เปน BR′ = {V, ϕ, LR′(Y ), BR′(Y )} จะไดวาฟงกชัน f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) เปน ฟงกช นั ตอเนือ่ งแบบนาโน กต็ อ เม่อื อินเวอรส อิม เมจ ของทกุ ๆ สมาชกิ BR′ เปน เซตเปดแบบนาโนใน U พสิ จู น. (⇒) ให f เปนฟงกช ันตอ เน่ืองแบบนาโนบน U และให BR′ เปนเบสสำหรับ τR′(Y ) โดยที่ B ∈ BR′ จะแสดงวา f−1(B) เปนเซตเปด แบบนาโนใน U เนื่องจาก B ∈ BR′ ไดว า B ∈ τR′(Y ) โดยนิยามฟง กชันตอเน่ืองแบบนาโน ไดวา f−1(B) ∈ τR(X) นน่ั คอื อินเวอรส อิมเมจของทกุ ๆ สมาชิกของ BR′ เปน เซตเปด แบบนาโนใน U (⇐) ใหอินเวอรส ของทกุ ๆ สามชกิ ใน BR′ เปนเซตเปด แบบนาโนใน U และให G ∈ τR′(Y ) ∪ จะไดวา G = {B|B ∈ BI } โดยท่ี BI ⊂ BR′ จะไดว า f −1(G) = f −1(∪{B|B ∈ BI }) = ∪ −1 (B)|B ∈ BI } {f ซึ่งแตละ f−1(B) เปน เซตเปดแบบนาโนใน U เนื่องจาก ผลผนวกแบบใด ๆ ของเซตเปด แบบนาโนยังคงเปน เซตเปด แบบนาโน เปน ผลทำให f−1(G) เปน เซตเปด แบบนาโนใน U ดังนั้น f เปน ฟงกชนั ตอ เน่ืองแบบนาโนบน U ทฤษฎบี ท 3.5. ให (U, τR(X)) และ (V, τR′(Y )) เปน ปริภมู ินาโนทอพอโลยี จะไดวา f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) เปน ฟง กชันตอ เนอื่ งแบบนาโน กต็ อเมอ่ื NCl(f−1(B)) ⊆ f−1(NCl(B)) สำหรบั ทุก ๆ B ⊆ V พิสูจน. (⇒) ให f เปน ฟงกช ันตอ เน่อื งแบบนาโน และให B ⊆ V เนือ่ งจาก NCl(B) เปนเซตปดแบบนาโนใน V โดยทฤษฎีบท 3.3 ไดว า f−1(NCl(B)) เปนเซตปด แบบนาโนใน U เนื่องจาก B ⊆ NCl(B) ทำให f−1(B ⊆ f−1(NCl(B)) เปนผลทำให NCl(f −1(B)) ⊆ NCl(f −1(NCl(B))) = f −1(NCl(B)) น่ันคอื NCl(f −1(B)) ⊆ f −1(NCl(B)) (⇐) ให B ⊆ V และ NCl(f −1(B)) ⊆ f −1(NCl(B)) ให B เปนเซตปด แบบนาโนใน V จะไดว า NCl(B) = B จากสมมตฐิ านไดว า NCl(f−1(B)) ⊆ f−1(NCl(B)) = f−1(B) ดังนัน้ NCl(f−1(B)) ⊆ f−1(B) แตเ นอ่ื งจาก f−1(B) ⊆ NCl(f−1(B)) เปน ผลทำให NCl(f−1(B)) = f−1(B) นนั่ คือ f−1(B) เปนเซตปด แบบนาโนใน U สำหรับทุกๆสบั เซต B ทีเ่ ปนเซตปดแบบนาโนใน V โดยทฤษฎีบท 3.3 ไดวา f เปนฟงกช นั ตอ เน่อื งแบบนาโน บน U โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครั้งที่ 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
ความตอ เน่อื งแบบนาโน 291 ทฤษฎีบท 3.6. ให (U, τR(X)) และ (V, τR′(Y )) เปน ปรภิ มู นิ าโนทอพอโลยี จะไดวา f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) เปน ตอเน่ืองแบบนาโน ก็ตอเมื่อ f−1(NInt(B)) ⊆ NInt(f−1(B)) สำหรับทุก ๆ B ⊆ V พิสูจน. (⇒) ให f เปนฟง กช นั ตอ เนือ่ งแบบนาโนและ B ⊆ V . . . (1) เน่อื งจาก NInt(B) เปน เซตเปด แบบนาโนใน V . . . (2) โดยหมายเหตุ 3.3 ไดวา f−1(NInt(B)) เปนเซตเปดแบบนาโนใน U ทำให NInt(f −1(NInt(B))) = f −1(NInt(B)) เน่อื งจาก NInt(B) ⊆ Bf−1(NInt(B)) ⊆ f−1(B) ไดวา NInt(f −1(NInt(B))) ⊆ NInt(f −1(B)) จาก (1) และ (2) จงึ ไดวา f−1(NInt(B)) ⊆ NInt(f−1(B)) (⇐) ให f−1(NInt(B)) ⊆ NInt(f−1(B)) สำหรบั ทุก B ⊆ V ให B เปน เซตเปดแบบนาโนใน V จะไดว า NInt(B) = B แตเ นอ่ื งจาก f−1(NInt(B)) ⊆ NInt(f−1(B)) ทำให f−1(B) ⊆ NInt(f−1(B)) แตเ นอ่ื งจาก NInt(f−1(B)) ⊆ f−1(B) จึงไดวา f−1(B) = NInt(f−1(B)) แต NInt(f−1(B)) เปน เซตเปด แบบนาโนใน U ทำให f−1(B) เปน เซตเปดแบบนาโนใน U โดยหมายเหตุ 3.3 จงึ ไดวา f เปน ฟงกช ันตอเนื่องแบบนาโน ตัวอยา ง 3.7. ให U = {a, b, c, d} ท่ี U/R = {{a}, {b}, {c}} และ X = {a, c} โดยท่ี τR(x) = {u, ϕ, {c}, {a, c, d}, {a, d}} และให V = {x, y, z, w} ซง่ึ V /R′ = {V, ϕ, {x}, {y}, {z}, {w}} และ Y = {x, w} โดยที่ τR′(Y ) = {V, ϕ, {x, w}} กำหนด f : (U, τR(X)) → (V, τR′(Y )) โดยที่ f (a) = x, f (b) = y, f (c) = z, f (d) = w จะแสดงวา f เปนฟง กชันตอเน่อื งแบบนาโนบน U พสิ ูจน. เนื่องจากเซตเปดแบบนาโนบน U ไดแก U, ϕ, {c}, {a, c, d}, {a, d} ทำใหเ ซตปด แบบนาโนใน U ไดแ ก ϕ, U, {a, b, d}, {b} และ {b, c} จากนยิ าม f จะไดวา f−1(ϕ) = ϕ ∈ NC(U) f −1(V ) = U ∈ N C(U ) f −1({y, z}) = {b, c} ∈ N C(U ) โดยทฤษฎีบท 3.1 ไดวา f ตอ เนอ่ื งแบบนาโนใน U จากตัวอยาง 3.7 ยงั พบวา f−1(ϕ) = ϕ ∈ NO(U) f −1(V ) = U ∈ N O(U ) f −1({x, w}) = {a, d} ∈ N O(U ) นนั่ คือ อินเวอรสของทุก ๆ เซตเปดแบบนาโนใน V เปนเซตเปดแบบนาโนใน U ถา ให B = {y} ⊂ V จะไดว า f−1(NCl(B)) = f−1({y, z}) = {b, c} และ NCl(f−1(B)) = {b} ดังนั้น NCl(f −1(B)) ≠ f −1(NCl(B)) โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร คร้ังท่ี 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
292 อาดุลย จงรกั ษ และ เสาวลักษณ คำวเิ ศษ แต NCl(f−1(B)) ⊆ f−1(NCl(B)) ซงึ่ เปนไปตามทฤษฎบี ท 3.5 ถาให A = {x, z, w} ⊂ V จะไดว า f −1(NInt(A)) = f −1({x, w}) = {a, d} และ NInt(f −1(A)) = NInt({a, c, d}) = {a, c, d} ถาให A = {x, z, w} ⊂ V จะไดว า f −1(NInt(A)) = f −1({x, w}) = {a, d} และ NInt(f −1(A)) = NInt({a, c, d}) = {a, c, d} ดังนนั้ f −1(NInt(A)) ̸= NInt(f −1(A)) แต f−1(NInt(A)) ⊆ NInt(f−1(A)) ซงึ่ เปน ไปตามทฤษฎบี ท 3.6 เอกสารอา งองิ [1] Lashin E.F.,Kozae A.M.,Abo Khadrea A.A.$ Medthat T.(2005),”Rough set theory for topological spaces”,International Journal of Approximate Resoning,40/1-2,35-43, [2] Lashin E.F.& Medhat T. (2005)”Topoligical reduction of information sys- tems”,Chaos,Solitons and Fractals,25 277-286,. [3] Lellis Thivagar & Carmel Richard.”Note on Nanotopological Spaces”(commuicated). [4] Pawlak Z.(1982),”Rough sets”,International Journal of Information and Computer Science,11(5);341-356,. [5] Pawlak Z.(1991),”Rough sets-Theoretical Aspects of Reasoning about data”,Kluwer Academic Publishers,Dordrecht,Boston,London,. [6] Rady E.A. (2004),Kozae A.M.and Abd El-Monsef M.M.E.,”Generalized Rough Sets”,Chaos,Solitons and Frectals,21,49-53. [7] Salama S.(2001),”some topological properties of rough sets with tools for data min- ing”,Internation Journal of computer Science Issues,Vol.8,Issue3,No2,588-595. [8] Skowron A.(1988),.”On Topology in Information System”,Bull.Polish Acad.Sci.,Math., 36/7-8,477-479,. โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร ครง้ั ที่ 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
Type of the Article: Seminar SE-PU 12 293 นิจพลใน Semimedial Semigroup Idempotent in Semimedial Semigroup ผแู ตง: Fitore Abdullahu จัดทำโดย: ภทั รศักดิ์ โทนหงสษา1* 1สาขาวชิ าคณติ ศาสตร คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 80 ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม 44000 *Correspondence: [email protected] บทคดั ยอ ให S เปน semigroup จะเรียก S วา I-semimedial semigroup ถา S เปน I-left semimedial (xyxx2yz = z) และ S เปน I-right semimedial (zxyzyx2 = x) ในสัมมนานี้เปน การกลาวถงึ I- semimedial semigroup และคลาสอน่ื ๆของ semigroup ในการพิสูจน I-semimedial semigroup และ I-medial semigroup และ I-distributive semigroup พสิ จู นเหมอื นกันและการพิสจู น left semi- medial weakly separative semigroup ไมมสี มาชิก left magnifying คำสำคญั : I-semimedial semigroups, I-distributive semigroups Abstract We say that a semigroup S is a I-semimedial semigroup if it is both I-left (xyxx2yz = z) and I-right (zxyzyx2 = x) semimedial, where x, y, z belong to S and where x and y are idem- potents. In this paper it is presented the connection between I-semimedial semigroups and some special classes of semigroups. It is proved that the class of I-semimedial sem- groups, I-medial semigroups and Idistributive semigroups are the same. It is also proved that the left semimedial weakly separative semigroup has no left magnifying element Keywords: I-semimedial semigroups, I-distributive semigroups 1. บทนำ ให S เปน semigroup จะเรยี ก S วา medial semigroup ถา สอดคลองกบั (xy)(zu) = (xz)(yu) เมอ่ื x, y, z, u ∈ S ให S เปน semigroup จะเรียก S วา left semimedial ถา สอดคลอ ง กบั (x2)(yz) = (xy)(xz) เม่อื x, y, z ∈ S ในทำนองเดียวกันจะเรยี ก S วา right semimedial ถา สอดคลองกับ (zy)(x2) = (zx)(yx) เม่อื x, y, z, ∈ S ให S เปน semigroup จะเรยี ก S วา semimedial ถา S เปน left และ right semimedial คลาสอน่ื ๆ ของ semimedial semigroup จะ พิจารณาใน [1] และ [7] โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครัง้ ที่ 7 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค
294 ภทั รศกั ด์ิ โทนหงสษ า ความคิดของ I-medial semigroup และ I-commutative semigroup ถูกนำมาใชใน [3] ในสมั มนาน้ีเปน เรอ่ื งเกี่ยวกบั semigroup ก็คือ I-left semimedial และ I-right semimedial กอนอืน่ ตองอางผลลัพธบางอยางซงึ่ ใชในการพิสจู นแลว นำเสนอระหวาง I-semimedial semigroup และ I-distributive semigroup และคลาสอๆ่ื นของ semigroup ในการพิสจู น I-semimedial semi- group, I-distributive semigroup และ I-medial semigroup พิสจู นเหมือนกัน สุดทา ยคอื การ พิสูจน left semimedial weakly separative semigroup ไมมีสมาชิก left magnifying สำหรบั หมายเหตแุ ละความคดิ อางอิงจาก [5] และ [6] 2. ความรพู ืน้ ฐาน บทนิยาม 2.1. ให a และ b เปน สมาชกิ ของเซต ซงึ่ อาจจะเปนเซตเดียวกนั หรอื ตางเซตกันกไ็ ด คูอนั ดบั (ordered pair) ของ a และ b เขยี นแทนดว ย (a, b) โดยเรยี ก a วาสมาชกิ ทห่ี นงึ่ และเรียก b วาสมาชกิ ทสี่ อง บทนยิ าม 2.2. คูอันดับ (a, b) = (c, d) ก็ตอ เมอื่ a = c และ b = d จากบทนิยาม 2.1 จะเหน็ ไดว าการเทา กนั ของคูอนั ดบั นัน้ ไมเ หมือนการเทากนั ของเซต เนอ่ื งจาก อันดบั ที่หน่ึงและสองของสมาชิกจะมีสว นสำคญั ที่แสดงถึงการเทากันดว ยเชน {2, 3} = {3, 2} แต (2, 3) ̸= (3, 2) เปนตน บทนิยาม 2.3. ให A และ B เปนเซตใด ๆ ผลคณู คารทีเชยี น ของ A และ B คือเซตของคูอันดับ (a, b) ทุกคอู ันดบั โดยที่ a ∈ A และ b ∈ B เขยี นแทนดวย A × B นั่นคือ A × B = {(a, b) | a ∈ A และ b ∈ B} หมายเหตุ สำหรบั A เปน เซตใด ๆ จะไดวา A × ∅ = ∅ = ∅ × A ตวั อยา ง 2.4. ให A = {1, 2, 3} และ B = {a, b} จะไดวา A × B = {(1, a), (1, b), (2, a), (2, b), (3, a), (3, b)} B × A = {(a, 1), (a, 2), (a, 3), (b, 1), (b, 2), (b, 3)} A × A = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (2, 1), (2, 2), (2, 3), (3, 1), (3, 2), (3, 3)} B × B = {(a, a), (a, b), (b, a), (b, b)} จากตัวอยา งจะเห็นวา A × B ≠ B × A บทนิยาม 2.5. ให A และ B เปน เซตใด ๆ 1. จะเรยี ก r วาเปน ความสมั พนั ธจ าก A ไป B (relation from A to B) ก็ตอเมอื่ r ⊆ A × B 2. จะเรยี ก r วา เปน ความสมั พนั ธบน A (relation on A) ก็ตอ เมือ่ r ⊆ A × A โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครัง้ ท่ี 7 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค
นจิ พลใน Semimedial Semigroup 295 ตัวอยาง 2.6. กำหนดให A = {1, 2, 3} และ B = {a, b} จะไดวา r1 = {(1, a), (2, a), (3, b)} เปน ความสมั พนั ธจ าก A ไป B เน่ืองจาก r1 ⊆ A × B r2 = {(1, 2), (1, 3), (2, 3)} เปน ความสัมพนั ธบน A เน่อื งจาก r2 ⊆ A × A บทนยิ าม 2.7. ให A และ B เปนเซตใด ๆ และ r เปนความสมั พนั ธจ าก A ไป B 1. โดเมน (domain) ของrเขียนแทนดวยDrหมายถึงเซตของสมาชกิ ตวั หนาของทุกคอู ันดบั ใน r Dr = {x | (x, y) ∈ r สำหรับบาง y ∈ B} 2. เรนจ (rang) ของ r เขยี นแทนดวย Rr หมายถงึ เซตของสมาชกิ ตวั หลังของทุกคอู ันดับใน r Rr = {y | (x, y) ∈ r สำหรบั บาง x ∈ A} ตัวอยาง 2.8. จากตวั อยาง 2.7 จงหา Dr1 และ Rr1 จะไดวา Dr1 = {1, 2, 3} และ Rr1 = {a, b} บทนยิ าม 2.9. ให A และ B เปนเซตใด ๆ และ f เปนความสมั พันธจาก A ไป B จะเรียก f วา ฟงกชนั (function) จาก A ไป B กต็ อเมอ่ื 1. Df = A 2. สำหรบั ทุก ๆ x ∈ A จะไดว า ถา (x, y) ∈ f และ (x, z) ∈ f แลว y = z ถา f เปนฟงกช ันจาก A ไป B แลว จะเขยี นแทนดว ย f : A −→ B หมายเหตุ โดยทว่ั ๆ ไป ถา (x, y) ∈ f แลว จะเขยี นดวยสญั ลกั ณ y = f(x) ซง่ึ เรียก y วา เปนคา ของฟง กชัน f ที่ x นั่นคือ ถา f : A −→ B จะไดวา Df = A และ Rf ⊆ B ตวั อยาง 2.10. ให A = {1, 2, 3} และ B = {a, b} 1. ให f = {(1, a), (2, a), (3, b)} จะไดวา f เปน ฟง กช ันจาก A ไป B 2. ให g = {(1, a), (2, a), (2, b), (3, b)} จะไดวา g ไมเปน ฟง กชนั จาก A ไป B เพราะวา (2, a) ∈ g และ (2, b) ∈ g แต a ≠ b 3. ให h = {((1, 1), 1), ((1, 2), 2), ((1, 3), 3), ((2, 1), 1), ((2, 2), 2), ((2, 3), 3), ((3, 1), 1), ((3, 2), 2), ((3, 3), 3)} เปนฟง กชันจาก A ไป B จะเหน็ วา h เปนฟง กช นั จาก A × A ไป A บทนยิ าม 2.11. ให S เปนเซตใด ๆ และ S ≠ ∅ จะเรียก ∗ วา การดำเนินการทวภิ าค (binary operation) บน S ก็ตอ เมอื่ ∗ เปนฟงกช ันจาก S × S ไป S เขยี นแทนดวย ∗ : S × S → S และ สำหรบั ทกุ ๆ a, b, c ∈ S และจะเขียน a ∗ b = c แทน ∗(a, b) = c บทนยิ าม 2.12. ให ∗ เปน การดำเนินการทวิภาคบน S และ H ⊆ S จะเรียก H วามี สมบัติปด (closed) ภายใต ∗ ก็ตอ เม่อื a ∗ b ∈ H สำหรบั ทุก a, b ∈ H โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค
296 ภัทรศักด์ิ โทนหงสษ า บทนยิ าม 2.13. ให ∗ เปนการดำเนนิ การทวิภาคบน S จะเรยี ก ∗ วามี สมบตั ิการจัดหมู (associa- tive) ถา a ∗ (b ∗ c) = (a ∗ b) ∗ c สำหรบั ทกุ a, b, c ∈ S บทนิยาม 2.14. ให S ≠ ϕ และ ∗ เปน การดำเนนิ การทวภิ าคบน S จะเรยี ก (S, ∗) วา กึง่ กรุป (semigroup) กต็ อ เมอ่ื (S, ∗) มีสมบตั กิ ารจัดหมู หมายเหตุ 2.15. จะเขียน ab แทน a ∗ b และจะเขียน (ab)c แทน (a ∗ b) ∗ c บทนยิ าม 2.16. ให a ∈ S และ S เปน semigroup จะเรยี ก a วา idempotents ถา a2 = a บทนยิ าม 2.17. ให S เปน semigroup และ I⊆ S จะเรียก I วา idempotents ถา a2 = a สำหรับทุก ๆ a ∈ I บทนยิ าม 2.18. ให x, y, z, u ∈ S และ S เปน semigroup จะเรยี ก S วา 1. I-left commutative ถา สอดคลอ งกับ (xy)z = (yx)z เมื่อ x, y เปน idempotents 2. I-right commutative ถา สอดคลอ งกับ z(xy) = z(yx) เมอื่ x, y เปน idempotents 3. I-commutative ถา สอดคลอ งกบั xy = yx เมื่อ x, y เปน idempotents 4. I-medial ถา สอดคลอ งกบั (xy)(zu) = (xz)(yu) เมอ่ื y, z เปน idempotents 5. I-left semimedial ถา สอดคลอ งกับ x2(yz) = (xy)(xz) เมือ่ x, y เปน idempotents 6. I-right semimedial ถาสอดคลองกบั (zy)x2 = (zx)(yx) เมอ่ื x, y เปน idempotents 7. I-semimedial ถา S เปน I-left semimedial และ I-right semimedial 8. I-left distributive ถาสอดคลองกบั x(yz) = (xy)(xz) เมอ่ื x, y เปน idempotents 9. I-right distributive ถา สอดคลอ งกบั (zy)x = (zx)(yx) เมื่อ x, y เปน idempotents 10. I-distributive ถา S เปน I-left distributive และ I-right distributive 11. diagonal ถาสอดคลอ งกับ x2 = x และ (xy)z = xz 12. weakly separative ถา มี x, y ∈ S ทที่ ำให x2 = xy = y2 แลว x = y ประพจน 2.19. ให S เปน semigroup จะไดว า 1. ถา S เปน I-commutative semigroup แลว S เปน I-medial semigroup 2. ถา S เปน I-medial semigroup แลว S เปน I-semimedial semigroup 3. ถา S เปน I-semimedial semigroup แลว S เปน I-distributive semigroup พสิ ูจน. ขอ 1. ให S เปน I-commutative semigroup จะแสดงวา S เปน I-medial semigroup นัน่ คือแสดงวา (xy)(zu) = (xz)(yu) สำหรบั ทุกๆ x, y, z, u ∈ S เมอ่ื y, z เปน idempotents ให x, y, z, u ∈ S และ y, z เปน idempotents พิจารณา โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครั้งท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
นจิ พลใน Semimedial Semigroup 297 (xy)(zu) = (xy2)(zu) ; y = y2 = (x(yy))(zu) ; y2 = yy = x((yy)(zu)) ; associative = x((zu)(yy)) ; I-commutative semigroup = x((zu)y2) ; yy = y2 = x((zu)y) ; y2 = y = x(z(uy)) = x(z(yu)) ; associative = (xz)(yu) ; I-commutative semigroup ; associative ดงั นั้น S เปน I-medial semigroup ขอ 2. ให S เปน I-medial semigroup จะแสดงวา S เปน I-semimedial semigroup นัน่ คอื จะแสดงวา 2.1 S เปน I-left semimedial semigroup 2.2 S เปน I-right semimedial semigroup ขอ 2.1 จะแสดงวา S เปน I-left semimedial semigroup นนั่ คือจะแสดงวา x2(yz) = (xy)(xz) สำหรบั ทุกๆ x, y, z ∈ S เมอ่ื x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พจิ ารณา x2(yz) = (xx)(yz) ; x2 = xx = (xy)(xz) ; I-medial semigroup ดงั น้นั S เปน I-left semimedial semigroup ขอ 2.2 จะแสดงวา S เปน I-right semimedial semigroup น่ันคือจะแสดงวา (zy)x2 = (zx)(yx) สำหรบั ทกุ ๆ x, y, z ∈ S เมือ่ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พจิ ารณา (zy)x2 = (zy)(xx) ; x2 = xx = (zx)(yx) ; I-medial semigroup ดงั นนั้ S เปน I-right semimedial semigroup จากขอ 2.1 และ 2.2 จะไดว า S เปน I-semimedial semigroup ขอ 3. ให S เปน I-semimedial semigroup จะแสดงวา S เปน I-distributive semigroup นัน่ คอื จะแสดงวา 3.1 S เปน I-left distributive semigroup 3.2 S เปน I-right distributive semigroup โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครั้งที่ 7 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค
298 ภัทรศกั ด์ิ โทนหงสษา ขอ 3.1 จะแสดงวา S เปน I-left distributive semigroup นนั่ คอื จะแสดงวา x(yz) = (xy)(xz) สำหรบั ทกุ ๆ x, y, z ∈ S เมือ่ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พจิ ารณา x(yz) = x2(yz) ; x = x2 = (xy)(xz) ; I-left semimedial semigroup ดงั นน S เปน I-left distributive semigroup ขอ 3.2 จะแสดงวา S เปน I-right distributive semigroup น่ันคือจะแสดงวา (zy)x = (zx)(yx) สำหรับทุกๆ x, y, z ∈ S เม่ือ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พจิ ารณา (zy)x = (zy)x2 ; x = x2 = (zx)(yx) ; I-right semimedial semigroup ดังนั้น S เปน I-right distributive จากขอ 3.1 และ 3.2 จะไดวา S เปน I-distributive semigroup ประพจน 2.20. ให S เปน semigroup จะไดว า 1. ถา S เปน I-left commutative semigroup แลว S เปน I-left semimedial semi- group 2. ถา S เปน diagonal semigroup แลว S เปน I-semimedial semigroup พสิ ูจน. ขอ 1. ให S เปน I-left commutative semigroup จะแสดงวา S เปน I-left semimedial semigroup นัน่ คอื จะแสดงวา x2(yz) = (xy)(xz) สำหรบั ทุกๆ x, y, z ∈ S เมอ่ื x, y เปน idem- potents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พิจารณา x2(yz) = (xx)(yz) ; x2 = xx = ((xx)y)z ; associative = (y(xx))z ; I-left commutative semigroup = ((xy)x)z ; associative = (xy)(xz) ; associative ดงั นนั้ S เปน I-left semimedial semigroup ขอ 2. ให S เปน diagonal semigroup จะแสดงวา S เปน I-semimedial semigroup นนั่ คอื จะแสดงวา โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครง้ั ท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
นิจพลใน Semimedial Semigroup 299 2.1 S เปน I-left semimedial semigroup 2.2 S เปน I-right semimedial semigroup ขอ 2.1 จะแสดงวา S เปน I-left semimedial semigroup นน่ั คอื จะแสดงวา x2(yz) = (xy)(xz) สำหรับทุกๆ x, y, z ∈ S เมอื่ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พิจารณา x2(yz) = (xx)(yz) ; x2 = xx = ((xx)y)z ; associative = ((xy)x)z ; associative = (xy)(xz) ; associative ดังนนั้ นั้น S เปน I-left semimedial semigroup ขอ 2.2 จะแสดงวา S เปน I-right semimedial semigroup นน่ั คอื จะแสดงวา (zy)x2 = (zx)(yx) สำหรบั ทกุ ๆ x, y, z ∈ S เมอื่ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พจิ ารณา (zy)x2 = (zy)(xx) ; x2 = xx = ((zy)x))x ; associative = ((zx)y)x ; associative = (zx)(yx) ; associative ดังนั้นน้ัน S เปน I-right semimedial semigroup จากขอ 2.1 และ 2.2 จะไดวา S เปน I-semimedial semigroup ตัวอยา ง 2.21. กำหนดให S = {a, b, c} และ นยิ ามการดำเนนิ การทวภิ าค ∗ บน S ดงั ตารางตอ ไปน้ี * abc a b bb b bbb c ccc จากตารางจะไดวา 1. S เปน semigroup 2. S เปน I-semimedial semigroup 3. S ไมเปน I-commutative semigroup เนือ่ งจาก b ∗ c = b และ c ∗ b = c จะไดวา b ∗ c ̸= c ∗ b ดังนนั้ S ไมเ ปน I-commutative semigroup โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
300 ภทั รศกั ด์ิ โทนหงสษา 4. S ไมเปน diagonal semigroup เน่ืองจาก a2 = a ∗ a = b และ a = a จะไดวา a2 ̸= a ดงั นัน้ S ไมเ ปน diagonal semigroup 5. S ไมเปน I-left commutative semigroup เนือ่ งจาก ((b∗c)∗a) = (b∗a) = b และ ((c∗b)∗a) = (c∗a) = c จะไดว า ((b∗c)∗a) ≠ ((c∗b)∗a) ดังน้ัน S ไมเ ปน I-left commutative semigroup ตัวอยาง 2.22. กำหนดให S = {a, b, c} และ นยิ ามการดำเนนิ การทวิภาค ∗ บน S ดงั ตารางตอ ไปนี้ * ab c a b ba b bbb c bbc จากตารางจะไดว า 1. S เปน semigroup 2. S เปน I-semimedial semigroup 3. S ไมเ ปน I-commutative semigroup เน่อื งจาก c ∗ a = b และ a ∗ c = a จะไดว า c ∗ a ≠ a ∗ c ดังนัน้ S ไมเ ปน I-commutative semigroup 4. S ไมเปน I-left commutative semigroup เน่ืองจาก (a ∗ c) ∗ c = a ∗ c = a และ (c ∗ a) ∗ c = b ∗ c = b จะไดวา (a ∗ c) ∗ c ≠ (c ∗ a) ∗ c ดงั น้นั S ไมเ ปน I-left commutative semigroup 5. S ไมเ ปน diagonal semigroup เนอ่ื งจาก a2 = a ∗ a = b และ a = a จะไดว า a2 ≠ a ดงั นนั้ S ไมเปน diagonal semigroup บทแทรก 2.23. [1] ให S เปน idempotents semigroup จะไดว า 1. S เปน I-left semimedial semigroup กต็ อ เมือ่ S เปน I-left distributive semigroup 2. S เปน I-semimedial semigroup กต็ อเม่ือ S เปน I-medial semigroup 3. เนือ้ หา ประพจน 3.1. ให S เปน semigroup จะไดว าเง่อื นไขตอ ไปนสี้ มมลู กัน 1. S เปน I-medial semigroup 2. S เปน I-semimedial semigroup 3. S เปน I-distributive semigroup โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครง้ั ท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
นจิ พลใน Semimedial Semigroup 301 พสิ ูจน. (1) ⇒ (2) ให S เปน I-medial semigroup จะแสดงวา S เปน I-semimedial semigroup นนั่ คือจะแสดงวา 1. S เปน I-left semimedial semigroup 2. S เปน I-right semimedial semigroup จะแสดงวา 1. S เปน I-left semimedial semigroup นน่ั คอื จะแสดงวา x2(yz) = (xy)(xz) สำหรบั ทกุ ๆ x, y, z ∈ S เมื่อ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พิจารณา x2(yz) = (xx)(yz) ; x2 = xx = (xy)(xz) ; I − medial semigroup ดงั น้ัน S เปน I-left semimedial semigroup 2. จะแสดงวา S เปน I-right semimedial semigroup นนั่ คือจะแสดงวา (zy)x2 = (zx)(yx) สำหรับทุกๆ x, y, z ∈ S เมือ่ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พจิ ารณา (zy)x2 = (zy)(xx) ; x2 = xx = (zx)(yx) ; I − medial semigroup ดังนน้ั S เปน I-right semimedial semigroup จากขอ 1. และ 2. จะไดว า S เปน I-semimedial semigroup (2) ⇒ (3) ให S เปน I-semimedial semigroup จะแสดงวา S เปน I-distributive semi- group น่ันคือจะแสดงวา 1. S เปน I-left distributive semigroup 2. S เปน I-right distributive semigroup จะแสดงวา 1. S เปน I-left distributive semigroup น่ันคือจะแสดงวา x(yz) = (xy)(xz) สำหรับทกุ ๆ x, y, z ∈ S เมื่อ x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พิจารณา x(yz) = x2(yz) ; x = x2 = (xy)(xz) ; I − lef t semimedial semigroup ดงั นน้ั S เปน I-left distributive semigroup จะแสดงวา 2. S เปน I-right distributive semigroup น่นั คือจะแสดงวา (zy)x = (zx)(yx) สำหรบั ทุกๆ x, y, z ∈ S เมอื่ x, y เปน idempotents โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครง้ั ท่ี 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
302 ภัทรศกั ด์ิ โทนหงสษา ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พิจารณา (zy)x = (zy)x2 ; x = x2 = (zx)(yx) ; I-right semimedial semigroup ดังนนั้ S เปน I-right distributive semigroup จากขอ 1. และ 2. จะไดว า S เปน I-semimedial semigroup (3) ⇒ (1) ให S เปน I-distributive semigroup จะแสดงวา S เปน I-medial semigroup นน่ั คือจะแสดงวา (xy)(zu) = (xz)(yu) สำหรบั ทุกๆ x, y, z, u ∈ S เมอ่ื y, z เปน idempotents ให x, y, z, u ∈ S และ y, z เปน idempotents พิจารณา (xy)(zu) = y(x(zu)) ; associative = y((xz)u) ; associative = (y(xz))u ; associative = ((yx)(yz))u ; I-left distributive semigroup = (((yx)y)z)u ; associative = (((yy)x)z)u ; associative = ((y2x)z)u ; yy = y2 = ((yx)z)u ; y2 = y = ((xz)y)u = (xz)(yu) ; associative ; associative ดงั น้นั S เปน I-medial semigroup บทต้งั 3.2. ให S เปน I-left semimedial semigroup ถา สอดคลองกบั y(xy) = x สำหรบั ทุกๆ x, y ∈ S เมอื่ x, y เปน idempotents จะไดว า S เปน I-commutative semigroup พิสจู น. ให S เปน I-left semimedial semigroup ถา สอดคลอ งกบั y(xy) = x สำหรบั ทุกๆ x, y ∈ S เมอื่ x, y เปน idempotents จะแสดงวา S เปน I-commutative semigroup นน่ั คอื จะแสดงวา xy = yx สำหรับทุกๆ x, y ∈ S เมอ่ื x, y เปน idempotents ให x, y ∈ S และ x, y เปน idempotents พิจารณา โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครั้งท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
นจิ พลใน Semimedial Semigroup 303 xy = x2y2 ; x = x2, y = y2 = (xx)(yy) ; x2 = xx, y2 = yy = x(x(yy)) ; associative = x(y(xy)) ; associative = xx ; y(xy) = x = (y(xy))x ; x = y(xy) = ((yy)x)x ; associative = (yy)(xx) ; associative = y2x2 ; yy = y2, xx = x2 = yx ; y2 = y, x2 = x ดังนั้น S เปน I-commutative semigroup บทต้งั 3.3. ให S เปน I-left semimedial semigroup ถา สอดคลองกบั (xy) = y สำหรับทุกๆ x, y ∈ S เมอ่ื x, y เปน idempotents จะไดวา S เปน I-left commutative semigroup พิสูจน. ให S เปน I-left semimedial semigroup ถา สอดคลอ งกับ (xy) = y สำหรบั ทุกๆ x, y ∈ S เม่ือ x, y เปน idempotents จะแสดงวา S เปน I-left commutative semigroup น่นั คือจะแสดงวา (xy)z = (yx)z สำหรบั ทกุ ๆ x, y, z ∈ S เม่อื x, y เปน idempotents ให x, y, z ∈ S และ x, y เปน idempotents พิจารณา (xy)z = (x2y)z ; x = x2 = ((xx)y)z ; x2 = xx = ((xy)x)z ; associative = (yx)z ; (xy) = y ดงั นน้ั S เปน I-left commutative semigroup บทต้ัง 3.4. ให S เปน semigroup จะไดว าขอ ความตอ ไปนีส้ มมลู กนั 1. S เปน diagonal semigroup 2. S เปน I-left semimedial semigroup ซ่ึง (xy)x = x สำหรับทุกๆ x, y ∈ S พิสูจน. (1) ⇒ (2) ให S เปน diagonal semigroup จะแสดงวา S เปน I-left semimedial semigroup นัน่ คอื จะแสดงวา (xy)x = x สำหรบั ทุกๆ x, y ∈ S ให x, y ∈ S พจิ ารณา โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร คร้งั ที่ 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
304 ภัทรศกั ด์ิ โทนหงสษ า (xy)x = xx ; diagonal semigroup = x2 ; xx = x2 = x ; x2 = x ดังนั้น S เปน I-left semimedial semigroup ถาสอดคลอ งกบั (xy)x = x สำหรบั ทุกๆ x, y ∈ S (2) ⇒ (1) ให S เปน I-left semimedial จะแสดงวา S เปน diagonal semigroup นัน่ คือจะแสดงวา (xy)z = xz สำหรบั ทกุ ๆ x, y, z ∈ S ให x, y, z ∈ S พิจารณา (xy)z = ((xx)y)z ; x = xx = ((xy)x)z ; associative = xz ; (xy)x = x ดงั น้ัน S เปน diagonal semigroup เอกสารอา งอิง [1] F. Abdullahu, A. Zejnullahu, Notes on semimedial semigroups, Comment. Math. Univ. Carolin. 50, 3 (2009) 321-324. [2] J. Dudek, Medial idempotent grupoids. I, Czechoslovak Mathematical Journal, 41(1991) 249-259. [3] F. P. Gangon, A representation theorem for I-medial and for generalized inverse semigroups, Semigroup Forum 23(1981) 49-72. [4] H. Jurgensen, F. Migliorini and J. Szép, Semigroups, Akademini. Kiadó, Budapest, 1991. [5] J. Ježek, T. Kepka, Selfdistributive groupoids.Part D1: Left distributive semigroups, Acta. Univ. Carolinae, 47/1(2006), 15-56. [6] A. Nagy, Special Classes of Semigroups, Kluwer Academic Publisher, Dordrecht, Boston, London, 2001. [7] A. Zejnullahu, Medial semigroups and their generalization, Dissertation, University of Prishtina, Prishtinë (1989). โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครงั้ ที่ 7 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค
Type of the Article: Seminar SE-PU-13 305 (m, n)-ไอดีลในกง่ึ กรปุ LA On (m, n)-ideals in LA-Semigroups ผูแตง: Muhammad Akram, Naveed Yaqoob and Madad Khan จดั ทำโดย: ราชนั ขนั ชา1* 1สาขาวิชาคณิตศาสตร คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 80 ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม 44000 *Correspondence: [email protected] บทคัดยอ ในงานสัมมนาน้ี เราจะศึกษาสมบตั ิ (m, n)-ideals ใน LA-semigroups พรอมทัง้ ศกึ ษาสมบตั ิบางประการ ของ (m, n)-ideals ใน locally associative LAsemigroups คำสำคญั : LA-semigroups,(m, n)-ideals Abstract The purposeof this paper is to study (m, n)-ideals in LA-semigroups. Some properties of (m, n)-ideals in LA-semigroups and in locally associative LA-semigroups has been provided Keywords: LA-semigroups,(m, n)-ideals 1. บทนำ แนวคิด (m, n)-ไอดลี ของ Semigroups ถูกแนะนำโดย Lajos [2] ในป ค.ศ. 1972 [1] LA- semigroups ถูกแนะนำโดย Kazim และ Naseerudin ตอ มา Mushtaq [3, 4] และคนอืน่ ๆไดศกึ ษา และเพม่ิ ผลบางอยางใน LA-semigroups ในป ค.ศ. 1979 Mushtaq และ Yusuf ไดใหผลบางอยา ง ใน locally associative LA-semigroup พวกเขายงั ไดกำหนดความสอดคลองขององคประกอบใน locally associative LA-semigroup ในบทความน้ีเราจะศกึ ษาสมบัติบางประการของ (m, n)-ไอดลี ใน locally associative LA-semigroups 2. ความรูพ ้นื ฐาน บทนิยาม 2.1. ให a และ b เปนสมาชิกของเซต ซง่ึ อาจจะเปนเซตเดียวกัน หรือ ตา งเซตกันก็ได คูอนั ดบั (ordered pair) ของ a และ b เขียนแทนดวย (a, b) โดยเรียก a วา สมาชกิ ที่หนงึ่ และเรียก b วา สมาชิกทส่ี อง บทนิยาม 2.2. คูอันดบั (a, b) = (c, d) กต็ อเมื่อ a = c และ b = d โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครงั้ ท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
306 ราชนั ขันชา จากบทนยิ าม 2.0.2 จะเห็นไดวาการเทากนั ของคูอนั ดับนน้ั ไมเหมือนการเทากันของเซต เน่ืองจากอนั ดับที่หนง่ึ และสองของสมาชกิ จะมีสวนสำคญั ที่แสดงถงึ การเทากันดวยเชน {2, 3} = {3, 2} แต (2, 3) ≠ (3, 2) เปน ตน บทนิยาม 2.3. ให A และ B เปน เซตใด ๆ ผลคูณคารทีเชียน ของ A และ B คอื เซตของ (x, y) ทุก คูอนั ดับ โดยท่ี x เปน สมาชิกของ A และ y เปน สมาชกิ ของ B เขียน A × B แทนผลคณู คารทีเชียนข อง A และ B A × B = {(a, b) | a ∈ A และ b ∈ B} หมายเหตุ สำหรับ A เปนเซตใด ๆ จะไดวา A × ∅ = ∅ = ∅ × A ตัวอยา ง 2.4. ให A = {2, 3, 4} และ B = {5, 6} จะไดวา A × B = {(2, 5), (2, 6), (3, 5), (3, 6), (4, 5), (4, 6)} A × A = {(2, 2), (2, 3), (2, 4), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (4, 2), (4, 3), (4, 4)} (A × A) × A = {((2, 2), 2), ((2, 2), 3), ((2, 2), 4), ((2, 3), 2), ((2, 3), 3), ((2, 3), 4), ((2, 4), 2), ((2, 4), 3), ((2, 4), 4), ((3, 2), 2), ((3, 2), 3), ((3, 2), 4), ((3, 3), 2), ((3, 3), 3), ((3, 3), 4), ((3, 4), 2), ((3, 4), 3), ((3, 4), 4), ((4, 2), 2), ((4, 2), 3), ((4, 2), 4), ((4, 3), 2), ((4, 3), 3), ((4, 3), 4), ((4, 4), 2), ((4, 4), 3), ((4, 4), 4)} บทนยิ าม 2.5. ให A และ B เปนเซตใด ๆ จะเรยี ก r วาเปน ความสัมพันธ(relation) จาก A ไป B กต็ อ เม่อื r ⊆ A × B ถา r ⊆ A × A จะกลาววา r เปน ความสัมพนั ธบน A ตัวอยา ง 2.6. กำหนด A = {2, 3, 4} และ B = {5, 6} จะไดวา r1 = {(2, 5), (3, 5), (4, 6)} เปนความสัมพันธจาก A ไป B เนื่องจาก r1 ⊆ A × B แต r2 = {(2, 5), (3, 4), (4, 6)} ไมเ ปนความสมั พันธจ าก A ไป B เนือ่ งจาก r2 A × B บทนยิ าม 2.7. ให A และ B เปน เซตใด ๆ และ r เปนความสมั พันธจาก A ไป B 1. โดเมนของ r เขยี นแทนดว ย Dr หมายถงึ เซตของสมาชกิ ตัวหนา ของทกุ คูอนั ดับใน r Dr = {x | (x, y) ∈ r สำหรบั บาง y ∈ B} 2. เรนจข อง r เขียนแทนดว ย Rr หมายถึงเซตของสมาชิกตวั หลงั ของทุกคูอนั ดบั ใน r Rr = {y | (x, y) ∈ r สำหรับบาง x ∈ A} โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร คร้ังท่ี 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
(m, n)-ไอดลี ในก่ึงกรุป LA 307 ตัวอยาง 2.8. จากตัวอยา ง 2.6 จะไดว า Dr1 = {2, 3, 4} และ Rr1 = {5, 6} บทนยิ าม 2.9. ให A และ B เปนเซตใด ๆ และ f เปนความสมั พันธจ าก A ไป B จะเรียก f วา ฟงกชัน(function) จาก A ไป B กต็ อเมือ่ 1. Df = A 2. สำหรบั ทกุ ๆ x ∈ A จะไดว า ถา (x, y) ∈ f และ (x, z) ∈ f แลว y = z ถา f เปนฟง กชนั จาก A ไป B แลว จะเขยี นแทนดวย f : A −→ B หมายเหตุ โดยท่วั ๆ ไป ถา (x, y) ∈ f แลวจะเขยี นดวยสญั ลักณ y = f(x) ซึ่งเรียก y วา เปน คา ของฟง กช ัน f ที่ x นัน่ คือ ถา f : A −→ B จะไดวา Df = A และ Rf ⊆ B ตัวอยาง 2.10. ให A = {2, 3, 4} และ B = {5, 6} 1. ให f = {(2, 5), (3, 5), (4, 6)} จะไดวา f เปนฟงกช ันจาก A ไป B 2. ให g = {(2, 5), (3, 5), (3, 6), (4, 6)} จะไดว า g ไมเ ปน ฟงกช ันจาก A ไป B เพราะวา (3, 5) ∈ g และ (3, 6) ∈ g แต 5 ≠ 6 3. ให h = {((2, 2), 2), ((2, 3), 3), ((2, 4), 4), ((3, 2), 2), ((3, 3), 3), ((3, 4), 4), ((4, 2), 2), ((4, 3), 3), ((4, 4), 4)} จะไดว า h เปนฟง กช นั จาก A × A ไป A บทนยิ าม 2.11. ให A เปน เซตใด ๆ ที่ไมเปนเซตวาง จะเรียก · วา การดำเนนิ การทวิภาค (binary operation) บน A ก็ตอ เมอ่ื · เปนฟงกชันจาก A × A ไป A เขียนแทนดวย · : A × A → A และ สำหรับทุก ๆ a, b, c ∈ A และจะเขยี น a · b = c แทน ·(a, b) = c ตัวอยา ง 2.12. จากตวั อยา ง 2.10 ขอ 3. จะไดวา h เปน ฟงกชันจาก A × A ไป A นน่ั คือ h เปน การดำเนนิ การทวิภาคบน A บทนิยาม 2.13. ให S เปนเซตท่ีไมเปนเซตวาง และ · เปนการดำเนินการทวิภาคบน S จะเรยี ก (S, ·) วา กรุปปอยด (groupoid) ตวั อยา ง 2.14. จากตวั อยา ง 2.10 ขอ 3. จะไดว า (A, h) เปนกรุปปอยด หมายเหตุ 2.15. ในสมั มนาเรอ่ื งนี้ จะเขยี น S แทน (S, ·) เปน กรุปปอยด และจะเขียน ( ) แทน · เชน (a · b) · c จะเขียนแทนดว ย (ab)c และจะเขยี น aa = a2 บทนยิ าม 2.16. ให S เปนกรุปปอยดจะเรยี ก S วา กง่ึ กรุป (Semigroup) ถา (xy)z = x(yz) สำหรับทกุ ๆ x, y, z ∈ S โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร ครงั้ ท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
308 ราชนั ขนั ชา บทนิยาม 2.17. ให S เปนเซตใดๆที่ไมเปนเซตวา ง จะเรียกฟง ก · : S × S → S วา การดำเนินการ ทวภิ าค (binary operation) บน S บทนิยาม 2.18. [1] ให S เปน กรุปปอยด จะเรยี ก S วา เปน ก่งึ กรุป LA ( LA-semigroup ) ถา สอดคลองกับสมบตั ิ (ab)c = (cb)a สำหรบั ทกุ ๆ a, b, c ∈ S และเรียกสมบัตนิ วี้ า left invertive ตวั อยาง 2.19. ให S = {a, b, c} และกำหนดการดำเนินการทวิภาค · บน S จะไดวา S เปน กง่ึ กรุป LA ภายใต · ดงั ตารางตอไปนี้ ·abc a c cb b b bb c b bb บทนิยาม 2.20. [4] ให S เปนกึ่งกรุป LA จะเรยี ก S วา locally associative LA-subsemigroup กต็ อเมื่อ (aa)a = a(aa) สำหรับทุกๆ a ∈ S ตัวอยาง 2.21. จากตัวอยา ง 2.19 จะไดว า S เปน locally associative LA-subsemigroup หมายเหตุ 2.22. ให S เปน locally associative LA-semigroup และ a ∈ S จะเขียน a1 = a, an+1 = ana สำหรับ n ≥ 1 หมายเหตุ 2.23. ให S เปน locally associative LA-semigroup ที่มี e เปน เอกลกั ษณทางซายของ S และ a ∈ S จะไดว า 1). aman = am+n = an+m, amn = (am)n = (an)m สำหรบั ทกุ a ∈ S และ m, n ∈ N 2). (ab)n = anbn สำหรับทกุ a, b ∈ S และ n ∈ N หมายเหตุ 2.24. ให S เปน locally associative LA-semigroup ถา A, B ⊆ S แลว (AB)n = AnBn สำหรับ n ≥ 1 บทนิยาม 2.25. ให S เปน กงึ่ กรุป LA จะกลาววา S มี medial law ถา (ab)(cd) = (ac)(bd) สำหรบั ทุก ๆ a, b, c, d ∈ S บทนยิ าม 2.26. ให S เปน ก่งึ กรุป LA จะกลา ววา S มี paramedial law ถา (ab)(cd) = (db)(ca) สำหรบั ทกุ ๆ a, b, c, d ∈ S โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครงั้ ที่ 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
(m, n)-ไอดีลในกึ่งกรุป LA 309 บทแทรก 2.27. ถา S เปน ก่งึ กรุป LA ท่ีมี e เปน เอกลกั ษณทางซาย แลว a(bc) = b(ac) สำหรับ ทกุ ๆ a, b, c ∈ S บทนิยาม 2.28. ให S เปน กึง่ กรุป LA และ ∅ ̸= A ⊆ S จะเรยี ก A วาเปน กึ่งกรุปยอ ย LA (LA-subsemigroups ) ของ S ถา AA ⊆ A ตวั อยา ง 2.29. กำหนดให S = {a, b, c} และ A = {b, c} จากตวั อยา ง ๒.o.๗ จะไดวา A เปน กง่ึ กรุ ปยอย LA ของ S บทแทรก 2.30. ถา S เปน LA-semigroups ทม่ี ีเอกลกั ษณท างซาย e แลว SS = S และ S = eS 3. (m, n)-ไอดีลใน ก่ึงกรปุ LA บทนยิ าม 3.1. ให S เปน กงึ่ กรุป LA และ ∅ ̸= A ⊆ S 1. จะเรยี ก A วา เปน ไอดีลทางซา ย (left ideal) ของ S ถา SA ⊆ A 2. จะเรียก A วา เปน ไอดีลทางขวา (right ideal) ของ S ถา AS ⊆ A 3. จะเรียก A วา เปน ไอดีล (ideal) ของ S ถา A เปน ทงั้ ไอดีลทางซายและไอดลี ทางขวาของ S หมายเหตุ 3.2. ให S เปนกึง่ กรุป LA และ ∅ ̸= A ⊆ S กำหนดความหมายของ An สำหรับทุก n ∈ N ดงั นี้ A1 = A A2 = AA A3 = (AA)A A4 =... ((AA)A)A An = (...((AA)A)...)A บทนยิ าม 3.3. ให S เปนก่ึงกรุป LA และ ∅ ̸= A ⊆ S สำหรับ m, n ∈ N 1. จะเรยี ก A วา (m, 0)-ไอดีล ของ S ถา AmS ⊆ A 2. จะเรียก A วา (0, n)- ไอดลี ของ S ถา SAn ⊆ A บทต้งั 3.4. ให S เปน LA-semigroup ถา e เปนเอกลกั ษณทางซา ย ของ S แลว em = e สำหรบั ทุก m∈N พิสูจน. สมมติวา e เปน เอกลักษณทางซาย ของ S จะแสดงวา em = e สำหรบั ทุก m ∈ N ให P (m) แทนขอ ความ em = e , ∀m ∈ N 1. จะแสดงวา P (1) เปนจริง เน่อื งจาก e1 = e ดังนั้น P (1) เปน จรงิ โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร คร้งั ท่ี 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
310 ราชัน ขนั ชา 2. ให k ∈ N สมมติวา P (k) เปน จริง จะแสดงวา P (k + 1) เปนจรงิ เนื่องจาก P (k) เปนจรงิ จะไดว า ek = e พิจารณา ek+1 = eke ; หมายเหตุ 2.22 = ee ; P (k) เปน จรงิ =e ; e เปนเอกลกั ษณทางซา ย ดังนนั้ P (k + 1) เปน จริง จึงสรุปวา em = e สำหรบั ทุก m ∈ N ทฤษฎีบท 3.5. ให S เปน ก่งึ กรปุ LA ท่ี e เปนเอกลกั ษณทางซา ยของ S และ A ⊂ S จะไดว า (1) ถา A เปน (m, 0)-ไอดลี ของ S แลว e ∈/ A (2) ถา A เปน (0, n)-ไอดีล ของ S แลว e ∈/ A พสิ ูจน. เราจะพิสจู นโดยขอขดั แยง (1) สมมตวิ า A เปน (m, 0)-ไอดีล ของ S จะแสดงวา e ∈/ A สมมติวา e ∈ A พิจารณา S = eS ; บทแทรก 2.30 ⊆ AS ; สมมติฐาน e ∈ A ⊆ AmS ; A ⊆ Am ⊆A ; A เปน (m, 0)-ไอดีล ของ S นัน่ คอื S ⊆ A ซง่ึ เกิดขอขดั แยง กบั A ⊂ S จงึ สรุปไดว า e ∈/ A (2) สมมตวิ า A เปน (0, n)-ไอดีล ของ S จะแสดงวา e ∈/ A สมมติวา e ∈ A พจิ ารณา S = eS ; บทแทรก 2.30 = (ee)S = (Se)e ; ee = e = (Sen)en ⊆ (SA)A ; left invertive law ⊆ (SAn)An ; บทตงั้ 3.4 ; บทตัง้ 3.4 และ e ∈ A ; A ⊆ An โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครงั้ ท่ี 7 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค
(m, n)-ไอดลี ในกงึ่ กรปุ LA 311 ⊆ AAn ; A เปน (0, n)-ไอดลี ของ S ⊂ SAn ;A ⊂ S ⊆A ; A เปน (0, n)-ไอดลี ของ S ดงั นัน้ S ⊂ A ซ่ึงเกิดขอ ยังแยง กับ A ⊂ S จงึ สรปุ ไดว า e ∈/ A หมายเหตุ 3.6. ให S เปนก่ึงกรุป LA และให T, M, N ⊆ S เราเขยี น (T M)N = (MN)T ใหหมายความวา (ab)c = (cb)a สำหรับทกุ a ∈ T, b ∈ M, c ∈ N บทนยิ าม 3.7. ให S เปนกง่ึ กรปุ LA และ A เปน ก่งึ กรปุ ยอ ย LA ของ S จะเรยี ก A วาเปน (m, n)− ไอดีล ของ S ถา สอดคลองกับเง่อื นไขน้ี (AmS)An ⊆ A โดยท่ี m, n เปน จำนวนเตม็ ท่ีไมเปน ลบ ทฤษฎีบท 3.8. ให S เปนก่งึ กรปุ LA ถา B เปนกงึ่ กรุปยอย LA ของ S และ A เปน (m, n)−ไอดลี ของ S แลว ∅ ̸= A ∩ B เปน (m, n)−ไอดีล ของ B พิสูจน. สมมติวา B เปน ก่ึงกรุปยอ ย LA ของ S และ A เปน (m, n)−ไอดลี ของ S จะแสดงวา (A ∩ B) เปน (m, n)−ไอดีล ของ B นัน่ คือจะแสดงวา 1. A ∩ B ⊆ B 2. (A ∩ B) เปน LA-subsemigroup ของ B 3. (A ∩ B) เปน (m, n)−ไอดลี ของ B 1. จะแสดงวา A ∩ B ⊆ B ให x ∈ A ∩ B จะแสดงวา x ∈ B เนื่องจาก x ∈ A ∩ B จะไดวา x ∈ A และ x ∈ B ดังนน้ั x ∈ B เพราะฉะนน้ั A ∩ B ⊆ B 2. จะแสดงวา (A ∩ B) เปน LA-subsemigroup ของ B น่นั คือตองแสดงวา (A ∩ B)(A ∩ B) ⊆ (A ∩ B) เน่ืองจาก (A ∩ B)(A ∩ B) = {xy | x ∈ A ∩ B , y ∈ A ∩ B} ให mn ∈ (A ∩ B)(A ∩ B) จะแสดงวา mn ∈ A ∩ B เน่ืองจาก mn ∈ (A ∩ B)(A ∩ B) จะไดว า m ∈ A ∩ B และ n ∈ A ∩ B เนื่องจาก m ∈ A ∩ B จะไดวา m ∈ A และ m ∈ B เนื่องจาก n ∈ A ∩ B จะไดวา n ∈ A และ n ∈ B จาก m ∈ A และ n ∈ A และ A เปน LA-subsemigroup ของ S โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครงั้ ที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค
312 ราชัน ขนั ชา จะไดว า mn ∈ AA ⊆ A ดงั นั้น mn ∈ A และจาก m ∈ B และ n ∈ B และ B เปน LA-subsemigroup ของ S จะไดว า mn ∈ BB ⊆ B ดงั น้ัน mn ∈ B ดังนั้น mn ∈ A ∩ B เพราะฉะนั้น (A ∩ B)(A ∩ B) ⊆ (A ∩ B) จึงไดว า (A ∩ B) เปน LA-subsemigroup ของ B 3. จะแสดงวา (A ∩ B) เปน (m, n)−ไอดลี ของ B น่นั คือจะแสดงวา ((A ∩ B)mB)(A ∩ B)n ⊆ A ∩ B พจิ ารณา ((A ∩ B)mB)(A ∩ B)n ⊆ (AmB)An ; (A ∩ B)m ⊆ Am และ (A ∩ B)n ⊆ An ⊆ (AmS)An ; B⊆S ⊆A ; A เปน (m, n)-ideal ของ S และ ((A ∩ B)mB)(A ∩ B)n ⊆ (BmB)Bn ; (A ∩ B)m ⊆ Bm และ (A ∩ B)n ⊆ Bn ⊆ (BmS)Bn ;B ⊆ S ⊆B ; B เปน (m, n)-ideal ของ S ดงั นนั้ ((A ∩ B)mB)(A ∩ B)n ⊆ A ∩ B จงึ สรุปวา (A ∩ B) เปน (m, n)−ไอดลี ของ B ทฤษฎบี ท 3.9. ให S เปนก่ึงกรปุ LA ถา Ai เปน (m, n)-ไอดลี ของ S สำหรบั ทุกๆ i ∈ I แลว ∩n Ai ̸= ∅ เปน (m, n)−ไอดลี ของ S i=1 พิสจู น. สมมติวา Ai เปน (m, n)-ไอดีล ของ S สำหรับทุกๆ i ∈ I จะแสดงวา ∩n Ai เปน (m, n)−ไอดีล ของ S i=1 นั่นคือตอ งแสดงวา 1. ∩n Ai ⊆ S i=1 2. ∩n เปน LA-subsemigroup ของ S Ai i=1 3. ∩n เปน (m, n)−ไอดีล ของ S Ai i=1 โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร ครั้งท่ี 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
(m, n)-ไอดลี ในกงึ่ กรุป LA 313 1. จะแสดงวา ∩n Ai ⊆ S i=1 ให x ∈ ∩n Ai จะแสดงวา x ∈ S i=1 เนือ่ งจาก x ∈ ∩n Ai จะไดว า x ∈ Ai สำหรับทกุ i ∈ I i=1 เนอ่ื งจาก Ai เปน (m, n)-ไอดีล ของ S สำหรบั ทกุ i ∈ I จะไดว า Ai ⊆ S สำหรับทกุ i ∈ I ดังนน้ั x ∈ S จึงไดว า ∩n Ai ⊆ S i=1 2. จะแสดงวา ∩n Ai เปน LA-subsemigroup ของ S i=1 ∩n ∩n Ai ∩n นั่นคอื ตองแสดงวา ( Ai ) ( ) ⊆ Ai ∩n i=1 i=1 i=1 Ai ∩n ∩n ให xy ∈ ( ) ( Ai ) จะแสดงวา xy ∈ Ai i=1 i=1 i=1 ∩n ∩n ∩n Ai และ y ∈ ∩n Ai เน่อื งจาก xy ∈ ( Ai )( Ai ) จะไดวา x ∈ i=1 i=1 i=1 i=1 ดังนน้ั x ∈ Ai สำหรบั ทุก i ∈ I และ y ∈ Ai สำหรบั ทกุ i ∈ I เนื่องจาก Ai เปน (m, n)- ไอดลี ของ S สำหรับทกุ i ∈ I จะไดวา xy ∈ Ai สำหรบั ทุก i ∈ I ดงั นัน้ xy ∈ ∩n Ai i=1 ∩n ∩n ∩n จงึ ไดว า ( Ai )( Ai ) ⊆ Ai i=1 i=1 i=1 3.จะแสดงวา ∩n Ai เปน (m, n)-ไอดีล ของ S i=1 ∩n ∩n ∩n น่ันคือ จะแสดงวา (( Ai )mS) ( Ai )n ⊆ Ai i=1 i=1 i=1 ให ∩n ∩n ∩n ∩n (( Ai )mS) ( Ai )n = {(ams)bn | am ∈ ( Ai )m , s ∈ S , bn ∈ ( Ai )n} i=1 i=1 i=1 i=1 ∩n ∩n Ai )n จะแสดงวา (xmy)zn ∈ ∩n Ai ให (xmy)zn ∈ (( Ai )mS) ( i=1 i=1 i=1 ∩n ∩n เนื่องจาก (xmy)zn ∈ (( Ai )mS) ( Ai )n i=1 i=1 ∩n ∩n จะไดว า xm ∈ ( Ai )m ,y∈S และ zn ∈ ( Ai )n i=1 i=1 ∩n เน่อื งจาก ( Ai )m ⊆ Aim สำหรับทุก i∈I จะไดว า xm ∈ Ami สำหรบั ทุก i ∈ I i=1 โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครงั้ ท่ี 7 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค
314 ราชัน ขนั ชา และเนือ่ งจาก ( ∩n )n ⊆ Ain สำหรับทุก i∈I จะไดว า zn ∈ Ain สำหรับทุก i∈I Ai i=1 จะไดวา (xmy)zn ∈ (AimS)Ain ⊆ Ai สำหรบั ทุก i ∈ I ดังน้นั (xmy)zn ∈ ∩n Ai ∩n ∩n ∩n i=1 Ai Ai Ai ดงั นน้ั (( )mS) ( )n ⊆ i=1 i=1 i=1 จึงสรุปวา ∩n Ai เปน (m, n)-ไอดีล ของ S i=1 บทนิยาม 3.10. ให S เปน ก่ึงกรุป LA และ a ∈ S จะเรียก a วา idempotent ถา aa = a = a2 ให I ⊆ S จะเรยี ก I วา idempotent ถา aa = a = a2 สำหรบั ทกุ ๆ a ∈ I หมายเหตุ 3.11. ถา I เปน idempotent แลว I2 = I ทฤษฎีบท 3.12. ถา B2 = B แลว Bn = B สำหรบั ทกุ ๆ n ∈ N พสิ ูจน. สมมตวิ า B2 = B จะแสดงวา Bn = B สำหรับทกุ ๆ n ∈ N ให P (n) แทนขอ ความ Bn = B สำหรับทุกๆ n ∈ N 1. จะแสดงวา P (1) เปน จริง จาก B1 = B ดงั นัน้ P (1) เปน จริง 2. ให k ∈ N สมมติวา P (k) เปนจริง จะแสดงวา P (k + 1) เปนจรงิ เนอ่ื งจาก P (k) เปน จริง จะไดวา Bk = B พจิ ารณา Bk+1 = BkB ; หมายเหตุ 2.22 = BB ; P(k) เปนจรงิ = B2 ; หมายเหตุ 3.2 =B ; สมมติฐาน B2 = B ดังนนั้ P (k + 1) เปนจรงิ นัน่ คอื Bn = B สำหรับทุก n ∈ N ทฤษฎีบท 3.13. ให S เปน locally associative LA-semigroup ทีม่ ี e เปนเอกลกั ษณท างซาย ถา B เปน idempotant (m, m)-ไอดีล ของ S แลว B จะเปน (m, 0)-ไอดีล และ (0, m)-ไอดีล ของ S พสิ ูจน. สมมติวา B เปน idempotant (m, m)-ไอดลี ของ S จะแสดงวา B เปน (m, 0)-ไอดลี และ (0, m)-ไอดีล ของ S น่ันคอื จะแสดงวา BmS ⊆ B และ SBm ⊆ B ตามลำดบั สำหรบั ทกุ m ∈ N โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครัง้ ท่ี 7 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค
(m, n)-ไอดีลในกึ่งกรปุ LA 315 ให m ∈ N จะแสดงวา BmS ⊆ B ; idempotent พิจารณา ; หมายเหตุ 2.23 ขอ 1. ; หมายเหตุ 3.2 BmS = (B2)mS ; left invertive law = (Bm)2S ; idempotent = (BmBm)S ; paramedial law = (SBm)Bm ; left invertive law = (SBm)(BmBm) ; B เปน (m, m)-ideal ของ S = (BmBm)(BmS) ; ทฤษฎีบท 3.11 = ((BmS)Bm)Bm ; idempotent ⊆ BBm = BB =B ดังนนั้ BmS ⊆ B นน่ั คอื B เปน (m, 0)-ideal ของ S ตอ ไปจะแสดงวา SBm ⊆ B ให m ∈ N พจิ ารณา SBm = S(BmBm) ; idempotent = Bm(SBm) ; บทแทรก 2.27 = (BmBm)(SBm) ; idempotent = (BmS)(BmBm) ; medial law = (BmS)Bm ; idempotent ⊆B ; B เปน (m, m)-ideal ของ S ดงั น้นั SBm ⊆ B นัน่ คอื B เปน (0, m)-ideal ของ S จึงสรุปวา B เปน (m, 0)-ไอดีล และ (0, m)-ไอดลี ของ S หมายเหตุ : ให S, M, N เปนเซต (SM)N = (MN)S ใหห มายความวา สมาชิกในเซต กระทำกนั เชน (ab)c = (cb)a สำหรับทุก a ∈ S, b ∈ M, c ∈ N ทฤษฎบี ท 3.14. ให S เปน locally associative LA-semigroup ทมี่ ี e เปน เอกลกั ษณทางซา ย และ A เปน LA-subsemigroup ของ S ถา A เปน (0, m)-ไอดลี ของ S และ B เปน (m, n)-ไอดลี ของ S แลว BA เปน (m, n)-ไอดีล ของ S พิสูจน. สมมตวิ า A เปน (0, m)-ไอดีล ของ S และ B เปน (m, n)-ไอดลี ของ S จะแสดงวา BA เปน (m, n)-ไอดีล ของ S นัน่ คอื จะแสดงวา โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร คร้งั ท่ี 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
316 ราชัน ขนั ชา 1. BA ⊆ S 2. BA เปน LA-subsemigroup ของ S 3. BA เปน (m, n)-ideal ของ S 1. จะแสดงวา BA ⊆ S เนื่องจาก A เปน (0, m)-ไอดีล ของ S จะไดวา A ⊆ S และเนอื่ งจาก B เปน (m, n)-ไอดลี ของ S จะไดว า B ⊆ S นัน่ คอื BA ⊆ S 2. จะแสดงวา BA เปน LA-subsemigroup ของ S นั่นคอื จะแสดงวา (BA)(BA) ⊆ BA พจิ ารณา (BA)(BA) = (BB)(AA) ; medial law ⊆ BA ; LA-subsemigroup ดงั นั้น (BA)(BA) ⊆ BA 3.จะแสดงวา BA เปน (m, n)-ideal ของ S ; หมายเหตุ 2.24 นั่นคือจะแสดงวา ((BA)mS)(BA)n ⊆ BA ; by left invertive law พิจารณา ; by left invertive law ; by left invertive law ((BA)mS)(BA)n = ((BmAm)S)(BnAn) ; ทฤษฎีบท 3.11 = ((SAm)Bm)(BnAn) = ((BnAn)Bm)(SAm) ; A⊆S = ((BmAn)Bn)(SAm) = ((BmA)Bn)(SAm) ; (m, n)-ไอดลี ,(0, n)-ไอดลี ของ S ⊆ ((BmS)Bn)(SAm) ⊆ BA จึงสรุปไดวา BA เปน (m, n)-ไอดลี ของ S ทฤษฎบี ท 3.15. ให S เปน locally associative LA-semigroup ทมี่ ี e เปน เอกลกั ษณท างซา ย จะ ไดวาผลคณู ของสอง (m, n)-ไอดลี ของ S เปน (m, n)-ไอดีล ของ S พิสจู น. สมมติวา A และ B เปน (m, n)-ไอดีล ของ S จะแสดงวา ผลคณู ของ A และ B เขยี นแทน ดวย AB เปน (m, n)-ไอดลี ของ S นั่นคือจะแสดงวา 1. AB ⊆ S โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร คร้ังท่ี 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
(m, n)-ไอดลี ในกึง่ กรปุ LA 317 2. AB เปน LA-subsemigroups ของ S 3. AB เปน (m, n)-ไอดีล ของ S 1. จะแสดงวา AB ⊆ S เน่ืองจาก A และ B เปน (m, n)-ไอดีล ของ S จะไดวา A และ B เปน LA-subsemigroups ของ S ดงั นั้น A ⊆ S และ B ⊆ S จึงสรปุ ไดว า AB ⊆ S 2. จะแสดงวา AB เปน LA-subsemigroups ของ S นั่นคือตองแสดงวา (AB)(AB) ⊆ AB พจิ ารณา (AB)(AB) = (AA)(BB) ; medial law ⊆ AB ; LA-subsemigroup ดงั นั้น (AB)(AB) ⊆ AB 3.จะแสดงวา AB เปน (m, n)-ไอดลี ของ S น่ันคือตอ งแสดงวา ((AB)mS)(AB)n ⊆ AB เน่ืองจาก A เปน (m, n)-ไอดีล ของ S ดงั นัน้ (AmS)An ⊆ A และเนื่องจาก B เปน (m, n)-ไอดีล ของ S ดังนัน้ (BmS)Bn ⊆ B พิจารณา ((AB)mS)(AB)n = ((AmBm)S)(AnBn)) ; หมายเหตุ 2.24 = ((AmBm)(SS))(AnBn) ; บทแทรก 2.30 = ((AmS)(BmS))(AnBn) ; medial law = ((AmS)An)((BmS)Bn) ; medial law ⊆ AB ; (m, n)-ไอดีล ของ S นน่ั คอื ((AB)mS)(AB)n ⊆ AB จงึ สรุปวา AB เปน (m, n)-ไอดีล ของ S ทฤษฎบี ท 3.16. ให S เปน locally associative LA-semigroup และ A, B เปน LA-subsemigroups ของ S ถา AB ⊆ A, A เปน (m, 0)−ไอดลี ของ S และ B เปน (0, n)−ไอดีล ของ S แลว ผลคูณ ของ AB เปน (m, n)-ไอดลี ของ S พิสจู น. สมมตวิ า AB ⊆ A , A เปน (m, 0)-ไอดลี ของ S และ B เปน (0, n)-ไอดลี ของ S จะแสดง วา ผลคูณของ AB เปน (m, n)-ไอดลี ของ S โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครั้งท่ี 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
318 ราชนั ขนั ชา นัน่ คือจะแสดงวา 1. AB ⊆ S 2. AB เปน LA-subsemigroups ของ S 3. AB เปน (m, n)-ไอดีล ของ S 1. จะแสดงวา AB ⊆ S เน่ืองจาก A เปน LA-subsemigroups ของ S จะไดว า A ⊆ S และเนือ่ งจาก B เปน LA-subsemigroups ของ S จะไดวา B ⊆ S ดังนัน้ AB ⊆ S 2. จะแสดงวา AB เปน LA-subsemigroups ของ S นนั่ คือตองแสดงวา (AB)(AB) ⊆ AB พจิ ารณา (AB)(AB) = (AA)(BB) ; medial law ⊆ AB ; LA-subsemigroup ดงั นนั้ (AB)(AB) ⊆ AB 3. AB เปน (m, n)-ไอดลี ของ S ; หมายเหตุ 2.24 นนั่ คอื ตองแสดงวา ((AB)mS)(AB)n ⊆ AB ; จากสมมติฐาน AB ⊆ A พจิ ารณา ; A เปน (m, 0)-ไอดีล ของ S ((AB)mS)(AB)n = ((AmBm)S)(AnBn)) ;A ⊆ S ⊆ (AmS)(AnBn) ; B เปน (0,n)-ไอดลี ของ S ⊆ A(AnBn) ⊆ A(SBn) ⊆ AB น่นั คอื ((AB)mS)(AB)n ⊆ AB จึงสรุปวา ผลคูณ AB เปน (m, n)-ไอดีล ของ S เอกสารอางองิ [1] M.A. Kazim and M. Naseerudin, On almost-semigroup, Aligarh Bull. Math., 2 (1972), 1-7. [2] S. Lajos, Generalized ideals in semigroups, Acta Sci. Math., 22 (1961), 217-222. โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร ครัง้ ท่ี 7 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค
(m, n)-ไอดลี ในกึ่งกรุป LA 319 [3] Q. Mushtaq and S.M. Yusuf, On LA-semigroups, Aligarh Bull. Math., 8 (1978), 65-70. [4] Q. Mushtaq and S.M. Yusuf, On locally associative LA-semigroups, J. Nat. Sci. Math., 19 (1979), 57-62. [5] N. Yaqoob, M. Aslam, B. Davvaz and A.B. Saeid, On rough (m,n) bi -hyperideals in -semihypergroups, U.P.B. Scientific Bulletin. Series A, 75(1) (2013) 119-128. [6] M. Aslam, M. Shabir, N. Yaqoob and A. Shabir, On rough(m, n)-bi-ideals and gen- eralized rough(m, n)-bi-ideals in semigroups, Ann. Fuzzy Math. Inform., 2(2) (2011) 141-150. โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครง้ั ที่ 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
320 ราชัน ขนั ชา โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณิตศาสตร ครั้งท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
บทคัดยอผลงานวิจัยอ่ืน ๆ ท่รี ว มนำเสนอในโครงการ
Research RE-AP 03 323 wOinthVaoBltuelrgrea FInutnecgtrioalnEbqyuUastiinongsthoefMthoehaSnedcoTnradnsKfionrdm Chadaporn Khamhaeng, Jantra Udorn and Somthawin Khunkhet* Department of Mathematics, Faculty of Science Ubon Ratchathani Rajabhat University Ubon Ratchathani, 34000, Thailand *Correspondence: [email protected] Abstract In this paper, we study the Volterra integral equations of the second kind with a bulge function. The Mohand transform, inverse Mohand transform and the convolution theorem are used in this study. The modified Simpson’s method to find the numerical solutions. Then, we compare the results among Mohand transform and modified Simpson’s method in our example. We found that,the results are good excellent accuracy. Keywords: Mohand transform, Volterra integral equations, Convolution theorem โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร คร้งั ท่ี 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
324 Research RE-AP 06 การวเิ คราะหแนวโนมของคุณภาพนำ้ แมน ้ำบางปะกง Trend Analysis of Water Quality Bang Pakong เพชรพริง้ ทองโสภณ1, อภศิ ักดิ์ ไชยโรจนวฒั นา1* Petchpink Thongsophon1, Apisak Chairojwattana1* 1ภาควชิ าคณิตศาสตร คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยบรู พา 1Department of Mathematics, Faculty of Science, Burapha University *Correspondence: [email protected] บทคัดยอ การศกึ ษาการวเิ คราะหแนวโนมของคุณภาพน้ำแมนำ้ บางปะกงในคร้ังน้ี ประกอบดว ยขอ มูล คาออกซิเจน ละลายนำ้ (DO) อุณหภูมิ และความเค็ม โดยทำการเกบ็ รวบรวมขอ มูลทกุ 20 นาที ตัง้ แตวันท่ี 12 สงิ หาคม พ.ศ.2557 ถงึ วันท่ี 11 มิถุนายน พ.ศ.2558 ซง่ึ ไดรบั ความอนเุ คราะหขอ มูลจาก ภาควชิ าวารชิ ศาสตร คณะวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา โดยทำการวิเคราะหขอมูลดว ยวธิ ีการทางสถติ ิดังน้ี สถติ ิทดสอบ สัมประสิทธส์ิ หสัมพนั ธล ำดบั ทขี่ องสเปย รแมน (Spearman Rank Correlation test : SRC) ความชันของ เซน (Sen’s slope) และสถติ ิทดสอบแมนน - เคนดัล (Mann - Kendall test) ผลการศึกษาพบวา คา DO คาอุณหภูมแิ ละคาความเคม็ มแี นวโนม เพิ่มข้นึ อยางมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับนัยสำคัญ 0.05 คำสำคัญ: การวเิ คราะหแ นวโนม คณุ ภาพน้ำ Abstract The objective of this research is to study a trend analysis of water quality in Bang Pakong River. Data consists of dissolved oxygen (DO), temperature and salinity by collecting data every 20 minutes from 12 August 2014 to 11 June 2015 with courtesy of Department of Aquatics Science, Faculty of Science, Burapha University. Spearman Rank Correlation test, Sen’s Slope and Mann-Kendall test were used to analyze in this study. The study found that DO, temperature and salinity tend to slightly increase at significant level 0.05. Keywords: Trend Analysis, Water quality โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครง้ั ท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
Research RE-AP 07 325 Optical Solitons of Biswas-Arshed Equation by The Generalized (G′/G)-Expanding Method Orapin Sangduck*, Arunya Mawiang and Montri Torvattanabun Department of Mathematics, Faculty of Science and Technology, Loei Rajabhat University,Loei 42000, Thailand *Correspondence: [email protected] Abstract In this work, we investigate the new celebrated Biswas-Arshed equation. This model con- tains higher order spatio-temporal dispersion in compensation with negligibly small group velocity dispersion. A class of solitary wave solutions are obtained by the generalized (G′/G)-expansion method. The solutions are derived in terms of trigonometric functions, hyperbolic functions and rational functions respectively. In addition, the graphical repre- sentations of these solutions are showed in the work. Keywords: The Biswas-Arshed equation,The generalized (G′/G)-extension method, soliton โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
326 Research RE-AP 08 การวางนยั ทัว่ ไปของการประสานลำดับฟโ บนกั ชแี ละลำดบั ลคู สั อนั ดับสี่ มอดโุ ล 3 และการประยุกต Generalization of Coupled Fibonacci Sequences and Lucas Sequences of Fourth Order Modulo 3 and Application เสฏฐวุฒิ บญุ ดี*, อนิรุธ สุขขงั และ ฐติ ิกาญจน มลู สาร Seattawut Boondee*, Anirut Sukkhang and Titikan Moonsan สาขาวิชาคณติ ศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี Department of Mathematics, Faculty of Science, Udon Thani Rajabhat University. *Correspondence: [email protected] บทคดั ยอ ในการศึกษาโครงงานคร้ังน้ี ไดศึกษาเกยี่ วกับการวางนัยทั่วไปของการประสานการบวกลำดับฟโบนักชีและ ลำดับลคู สั อนั ดับส่ี มอดโุ ล 3 และการประยุกตใชในการออกแบบลายผาและทอไดจริง มีรปู แบบดงั นี้ αn,3 ≡ αn (mod 3) ; n ≥ 4 γn,3 ≡ γn (mod 3) ; n ≥ 4 เมอ่ื กำหนดให α0 = a, α1 = b, α2 = c, α3 = d, α4 = e, γ0 = f, γ1 = g, γ2 = h, γ3 = i และ γ4 = j เมือ่ a, b, c, d, e, f, g, h, i และ j เปน จำนวนเต็มทีเ่ ปนสว นตกคา งคานอ ยสุดของมอดุโล 3 คำสำคัญ: ลำดับฟโ บนักชี ลำดับลคู สั การวางนัยทวั่ ไปของการประสานลำดับฟโ บนักชแี ละลำดับลูคัส Abstract This study mathematics projects. We study the generalization coupled Fibonacci sequences and Lucas sequences of fourth order modulo 3. And applied to woven fabric design can used as a model to tie-dyeing and woven practical. Scheme by αn,3 ≡ αn (mod 3) ; n ≥ 4 γn,3 ≡ γn (mod 3) ; n ≥ 4 With intial conditions α0 = a, α1 = b, α2 = c, α3 = d, α4 = e, γ0 = f, γ1 = g, γ2 = h, γ3 = i and γ4 = j where a, b, c, d, e, f, g, h, i and j are integer number of residues modulo 3. Keywords: Fibonacci sequences, Lucas sequences, Generalized of coupled Fibonacci se- quences and Lucas sequences. โครงการสัมมนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครงั้ ท่ี 7 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
Research RE-AP 09 327 TSehceonSodlKuitniodnwoitfhVaoBltuelgrreaFIunntecgtiroanl bEqyuUastiinogntshoefYathneg Transform Saralee Khannak, Supichaya Rayabsri and Somthawin Khunkhet* Department of Mathematics, Faculty of Science Ubon Ratchathani Rajabhat University Ubon Ratchathani, 34000, Thailand *Correspondence: [email protected] Abstract In this paper, we study the Volterra integral equations of the second kind with a bulge function. The Yang transform, inverse Yang transform and the convolution theorem are used in this study to obtain the exact solution. The modified Simpson’s method to find the numerical solutions. Then, we compare the results among Yang transform and modified Simpson’s method in our example. We found that,the results are good excellent accuracy. Keywords: Yang transform, Volterra integral equations, Convolution theorem โครงการสมั มนาวิชาการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร คร้งั ท่ี 7 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค
328 Research RE-PU 03 ทฤษฎีจุดตรงึ ของคาสโนเซสกิบนปริภูมิฟรีเชทสำหรบั การสง หดตวั แบบ φ The Krasnoselskii Fixed-Point Theorems on Frechet Space for φ-Contraction Mapping นฤมล กล่นั มาลัย*, ทิพวรรณ พัวเฮง และ อารรี ตั น อรณุ ชยั Narumol Klanmalai*, Tippawan Phouheng and Areerat Arunchai สาขา วชิ า คณิตศาสตร และ สถิติ คณะ วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั นครสวรรค นครสวรรค 60000 ประเทศไทย Division of Mathematics and Statistics, Faculty of Science and Technology, Nakhon Sawan Rajabhat University, Nakhon Sawan Rajabhat 60000, Thailand *Correspondence: [email protected] บทคดั ยอ งานวิจัยนี้ ไดศึกษาทฤษฎีบทจดุ ตรงึ ของคาสโนเซสกิบนปริภูมิฟรีเชทเชงิ ทอพอโลยี สำหรบั ผลบวกของการ สงหดตวั แบบ φ และการสง แบบกระชบั อยา งออน คำสำคญั : ทฤษฎีจุดตรงึ ,ปริภูมิฟรีเชทบนโทโพโลยี, ทฤษฎบี ทจุดตรงึ ของคาสโนเซสกิ, คุณสมบตั ิของ ดัน ฟอรด-เพททสิ . Abstract In this manuscript, we study some Fixed-point theorems of the Krasnoselskii type in a Frechet topological vector space of a sum of φ-Contraction Mapping and which is for every weakly compact map Keywords: Fixed-point theory, Frechet topological vector space, Krasnoselskii Fixed-point theorems, Dunford– Pettis property. โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณิตศาสตร ครง้ั ท่ี 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค
Research RE-PU 04 329 สูตรการหาจำนวนตนไมแผทวั่ ของกราฟ 2-วฏั จกั ร AofFBoircmyculilcarGfroarpthhse Number of Spanning Trees ปฐ ยา มสี ขุ * และ นริ ุตติ์ พพิ รรธนจินดา Padtaya Meesuk*, and Nirutt Pipattanajinda โปรแกรมวิชาคณติ ศาสตร คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร กำแพงเพชร 62000 Program of Mathematics, Faculty of Sciences and Technology, Kamphaeng Phet Rajabhat University, Kamphaeng Phet, 62000 *Correspondence: [email protected] บทคัดยอ สำหรับแตล ะ k ∈ Z+ และ G เปน กราฟเช่ือมโยงที่มีอันดับ n จะเรียก G วาเปน กราฟ k-วฏั จักร ถา G เปนกราฟที่มีขนาดเปน m = n + k − 1 ในงานวจิ ยั นี้จะเปนการหาสูตรของจำนวนตน ไมแผท่ัวของกราฟ 2-วัฏจักร ดวยการหาจำนวนตน ไมแผทั่วของกราฟ k-วฏั จักรท่ีแตกตา งกนั และการหาความสมั พนั ธของ จำนวนของตนไมแผท ั่วในกราฟ k-วฏั จกั ร กบั (k − 1)-วฏั จักร คำสำคัญ: ตน ไมแ ผทั่ว, 2-วัฏจักร, สตู รการหาจำนวนตนไมแ ผทว่ั Abstract For each k ∈ Z+ and G is a connected graph of order n, G is said to be k-cyclic graph if G is the graph of size m = n+k−1. In this project, to find a formula for the number of spanning trees of bicyclic (2-cyclic), by finding the number of spanning trees of k-distinct cyclic graph and finding the relation of the number of spanning trees on k-cyclic with (k − 1)-cyclic graphs. Keywords: Spanning tree, bicyclic, formula for the number of spanning trees โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานดา นคณติ ศาสตร ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
330 Research RE-PU 05 การหารแบบใหมของ 3-ลำดบั ฟโ บนัชชี On Quotient Sequence of 3-Fibonacci Sequences พิทยา โพธิจนั ทร*, ณัฐพล บรรพตะธิ และ โกสุมภ จนั ทรแ สงกระจาง Phittaya Photijan*, Natthaphon Banpatati and Kosum Chansaengkrachang สาขาวชิ าคณติ ศาสตรและสาขาวิชาสถติ ิประยุกต คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร 186 หมู 1 ถ.สรุ ินทร- ปราสาท ตำบลนอกเมอื ง อำเภอเมืองสุรนิ ทร จังหวัดสรุ ินทร 32000 Mathematics and Statistics Program, Faculty of Science and Technology, Surindra Rajabhat University, 186 Moo 1, Surin-Prasat Road, Nok Mueang Subdistrict, Mueang Surin District, Surin Province 32000 *Correspondence: [email protected] บทคัดยอ โครงงานฉบับน้ีจัดทำขน้ึ โดยมีวตั ถปุ ระสงค เพ่ือศึกษาการหารแบบใหมของ 3-ลำดับฟโบนัชชี และแสดง สูตรการหารแบบใหมข อง 3-ลำดบั ฟโบนัชชี อีกทัง้ ใชห ลักการอุปนัยเชงิ คณิตศาสตรใ นการพิสจู นทฤษฎีบท คำสำคญั : ลำดับฟโบนชั ชี , 3-ลำดบั ฟโ บนชั ชี Abstract This project aims to study the new division of 3-Fibonacci sequences and presents a new division formula of 3-Fibonacci sequences. In addition, the mathematical induction is ap- plied to prove the theorem. Keywords: Fibonacci sequence, 3-fibonacci sequences โครงการสมั มนาวชิ าการและนำเสนอผลงานดานคณติ ศาสตร คร้งั ที่ 7 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367