Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดกิจกรรมการเรียนรู้(นักเรียน)วิชาภาษาไทย_ป.3_ภาคเรียนที่_1_ปีการศึกษา_2564-09071442

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้(นักเรียน)วิชาภาษาไทย_ป.3_ภาคเรียนที่_1_ปีการศึกษา_2564-09071442

Published by จรรยา ชินทอง, 2021-11-20 08:25:48

Description: ชุดกิจกรรมการเรียนรู้(นักเรียน)วิชาภาษาไทย_ป.3_ภาคเรียนที่_1_ปีการศึกษา_2564-09071442

Keywords: ชุดกิจกรรมการเรียนรู้(นักเรียน)วิชาภาษาไทย_ป.3_ภาคเรียนที่_1_ปีการศึกษา_2564-09071442

Search

Read the Text Version

หนวยการเรียนรทู ี่ ๔ เรื่อง ความกรุณาพาสขุ ใจ ๙๑ ตอนท่ี ๒ เขียนเรียงลาํ ดับเหตุการณจากแผนผงั เรยี งลาํ ดบั เหตกุ ารณ

๙๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนกั เรยี น ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) จากเหตกุ ารณล าํ ดับท่ี ๑-๕ นักเรียนชอบและไมช อบเหตุการณใด มากทส่ี ุด เพราะเหตใุ ด ชอบเหตุการณ เพราะ ไมชอบเหตุการณ เพราะ ชื่อ ................................................ สกลุ ............................. ชั้น ............... เลขที่ ............

หนวยการเรียนรทู ี่ ๔ เรอื่ ง ความกรุณาพาสขุ ใจ ๙๓ บทอาน เรื่อง นกเขาเถื่อน หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ เรือ่ ง ความกรุณาพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรือ่ ง เรียงลําดับเหตุการณ (นกเขาเถือ่ น) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ นกเขาเถือ่ น เจา นกเขาเถอื่ นเอย ใหเ จาอยเู รือนเลยี้ งนอง แมจ ะไปขายของ เลยี้ งนอ งเถดิ พอ คุณเอย นกเขาเอย ขนั อยูแตเ ชา จนเยน็ ขันเถิดแมจ ะฟง เสยี งเลน เน้อื เยน็ เจาคนเดียวเอย นกเขาเอย ขันอยแู ตเ ชาจนเทยี่ ง พระสุริยาบา ยเบ่ยี ง เที่ยงแลวจงนอนเปลเอย หนังสือภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๓ เลม ๑ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๙๔ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู สาํ หรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบงานที่ ๒ เร่ือง เรียงลาํ ดับเหตุการณ (นกเขาเถ่ือน) หนวยการเรยี นรูท ่ี ๔ เรือ่ ง ความกรณุ าพาสุขใจ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๒ เรื่อง เรียงลําดบั เหตกุ ารณ (นกเขาเถอื่ น) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามสั้น ๆ เปนประโยค นกเขาเถอ่ื น แมจะไปไหน และขอใหลูกทาํ อะไร (บททห่ี นึ่ง) นกเขาเถื่อน แมก ําลงั ทําอะไร (บททสี่ อง) นกเขาเถ่อื น แมใ หล ูกนอนเวลาไหน (บทท่ีสอง) ชื่อ ................................................ สกุล ............................. ชั้น ............... เลขท่ี ............

หนวยการเรยี นรูท่ี ๔ เรอ่ื ง ความกรุณาพาสุขใจ ๙๕ ใบความรทู ่ี ๒ เร่ือง การเขียนแผนภาพโครงเรอื่ ง หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๔ เรือ่ ง ความกรุณาพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๓ เรือ่ ง เขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง (ดาวลูกไก) รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ การเขยี นแผนภาพโครงเร่อื ง เปนการเขียนท่ีแสดงใหเห็นโครงเร่ืองโดยรวมทั้งเรื่อง ทําให จับใจความสําคัญของเร่ืองท่ีอานไดดียิ่งขึ้น การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ตองอาศัยการต้งั คําถามและตอบคําถามจากเร่ืองทอ่ี านวา ตวั ละครในเร่ือง มใี ครบา ง สถานทีเ่ กิดเหตุการณคือที่ไหน มีเหตุการณอ ะไรเกิดขน้ึ ผลของ เหตกุ ารณน ัน้ คอื อะไร ขน้ั ตอนการสรา งแผนภาพโครงเร่อื ง ๑. กาํ หนดชื่อเร่ือง หรอื ความคิดรวบยอด ๒. ระดมสมองคดิ ถึงส่งิ ท่ีเกย่ี วของกบั ชอื่ เร่อื ง หรือความคิดรวบยอด สาํ คญั นนั้ แลว จดบนั ทกึ ไวเปน คําหรือกลมุ คาํ ส้นั ๆ ๓. นําคําหรือกลุมคําที่จดบันทึกไวซ่ึงมีความสัมพันธกันมาจัดกลุม ต้งั ชอ่ื กลมุ คําเปน หวั ขอยอ ย แลว เรยี งลําดบั กลมุ คําตามความสาํ คัญ ๔. เลือกรูปแบบแผนภาพความคิด ใหเหมาะสมกับการนําไปใช ประโยชนแ ละเน้ือหาของเร่ือง

๙๖ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู สาํ หรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) บทอา น เรอื่ ง ดาวลูกไก หนว ยการเรียนรทู ี่ ๔ เรื่อง ความกรณุ าพาสุขใจ แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๓ เร่อื ง เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ ง (ดาวลกู ไก) รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ดาวลกู ไก กาลครั้งหน่ึงนานมาแลว มีตายายคูหน่ึงปลูกบานอยูท่ีเชิงเขา แมทั้งสองมีฐานะยากจน ก็เลี้ยงดูแมไกและลูกไกดวยความรัก ตากับยาย เลย้ี งแมไ กไวต ัวหน่ึง ตอ มาแมไ กมีลกู ๗ ตวั วันหนึ่งในเวลาใกลค่ํามีพระธุดงครูปหน่ึงมาปกกลดอยูใกลบาน ตากับยาย ท้ังสองไดไปกราบพระธุดงคดวยความดีใจที่นาน ๆ จะมีพระ ผานมาใหทําบุญ ตากับยายไดปรึกษากันวา อยากจะทําอาหารถวายพระ ในตอนเชา แตยากจนไมมีเงินจะไปซื้ออาหาร จึงคิดจะนําแมไกมา ทาํ อาหารดว ยความจาํ ใจ แมไกกําลังกกลูกทั้ง ๗ ตัว อยูใตถุนบาน ไดยินเรื่องที่ตากับยาย ปรึกษากัน รูตัววาแมจะตายก็ไมกลัว กลับเต็มใจที่จะเสียสละชีวิต เพื่อ ตอบแทนบุญคุณของตากับยาย และจะอุทิศตัวเปนอาหารถวายพระดวย เมอ่ื ลกู ไกร ูวาแมจ ะตาย ตางพากนั รองไหด วยความอาลยั รกั เชาวันรุงขึ้น ตากับยายก็ฆาแมไกทําอาหารถวายพระ สวนลูกไก ทั้ง ๗ ตัวไดไปปรึกษากันและตกลงใจจะขอตายตามแมไกไปทุกชาติ จึงพรอมใจกันกระโดดเขากองไฟตายตามแมไกไปทันที ดวยความกตัญู ลูกไกจึงเกิดเปนดาว ๗ ดวง เรียกวา “ดาวลูกไก” สองแสงสวางอยูบน ทอ งฟา ทกุ คาํ่ คืน

หนวยการเรียนรูท ี่ ๔ เรื่อง ความกรณุ าพาสขุ ใจ ๙๗ ใบงานท่ี ๓ เรื่อง เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง หนว ยการเรียนรูที่ ๔ เร่อื ง ความกรุณาพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๓ เรอื่ ง เขยี นแผนภาพโครงเร่อื ง (ดาวลูกไก) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๓ คําช้ีแจง ใหนักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรอื่ ง “ดาวลกู ไก” ดาวลูกไก ตัวละคร สถานที่ .................................................... ................................................ .................................................... ................................................ .................................................... ................................................ .................. .............................. ขอคดิ ท่ีไดจ ากเร่ือง ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ชื่อ ................................................ สกลุ ............................. ชน้ั ............... เลขท่ี ............

๙๘ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู สําหรับนกั เรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรทู ่ี ๔ เร่อื ง การต้งั คําถามและตอบคาํ ถาม หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๔ เรอื่ ง ความกรณุ าพาสุขใจ แผนการจดั การเรียนรูท ่ี ๔ เรื่อง ตอบคําถามเชงิ เหตุผล (เด็กนอย) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ การตั้งคาํ ถามและตอบคาํ ถามเชงิ เหตุผล การตั้งคําถาม เปนการแสวงหาความรูท่ีมีประสิทธิภาพ กอใหเกิด การเรียนรูที่พัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตรตรอง การถายทอด ความคดิ สามารถนําไปสูก ารเปลย่ี นแปลงการเรียนรู หลกั การตง้ั คําถามและตอบคําถามเชงิ เหตุผล ๑. กอนที่จะมีการตั้งคําถามนั้นเราก็ควรตั้งใจอานทําความเขาใจกับ เรอื่ งนน้ั ๆ ๒. มกี ารจดบันทึกระหวางการอาน ในเรือ่ งท่ีสนใจหรือมีขอ สงสัย ๓. จบั ใจความหรือประเดน็ สาํ คัญของเร่ืองท่ีอานใหได ๔. ตงั้ คาํ ถามที่ชัดเจนตรงประเดน็ ไมก ํากวม ๕. ต้งั คําถามใหเหมาะสม ถูกกาลเทศะ ๖. ใชภาษาท่ีสุภาพ เขาใจงาย และใชเหตุผลมากกวาอารมณหรือ อคติ ๗. มีความคิดสรางสรรค รูจักคิดหลายแงมุม เพื่อจะไดคําถามที่ หลากแนวคดิ ๘. ตอบคําถามดว ยความเปนเหตุและเปน ผล

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๔ เร่ือง ความกรุณาพาสุขใจ ๙๙ บทอาน เรื่อง เดก็ นอ ย หนวยการเรียนรูที่ ๔ เรอ่ื ง ความกรุณาพาสขุ ใจ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๔ เรื่อง ตอบคําถามเชงิ เหตผุ ล (เด็กนอย) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๓ เด็กนอ ย เด็กเอย เด็กนอ ย ความรเู รายงั ดอ ยเรง ศึกษา เมอื่ เตบิ ใหญเราจะไดมีวชิ า เปน เครือ่ งหาเลี้ยงชพี สาํ หรบั ตน ไดประโยชนหลายสถานเพราะการเรยี น จงพากเพียรไปเถิดจะเกิดผล ถงึ ลําบากตรากตราํ กจ็ ําทน เกิดเปน คนควรหม่ันขยนั เอย

๑๐๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบงานท่ี ๔ เร่ือง ตอบคําถามเชิงเหตุผล หนว ยการเรียนรูที่ ๔ เร่ือง ความกรุณาพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๔ เร่ือง ตอบคาํ ถามเชิงเหตุผล (เด็กนอ ย) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๓ คําชแี้ จง ใหนักเรียนตงั้ คําถามเก่ียวกับเรอ่ื งเด็กนอย ๕ คําถาม พรอม คาํ ตอบ คําถาม คําตอบ คาํ ถาม คําตอบ

หนวยการเรยี นรูท ี่ ๔ เรอื่ ง ความกรุณาพาสุขใจ ๑๐๑ คําถาม คําตอบ คาํ ถาม คาํ ตอบ คาํ ถาม คําตอบ ชอ่ื ................................................ สกุล ............................. ช้นั ............... เลขท่ี ............

๑๐๒ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู สาํ หรับนกั เรยี น ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรูที่ ๕ เร่ือง การต้งั คําถามและตอบคําถาม หนว ยการเรียนรทู ี่ ๔ เร่ือง ความกรณุ าพาสขุ ใจ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๕ เร่ือง ตอบคําถามเชงิ เหตุผล (วิชาหนาเจา) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ การเขียนเชิงอธบิ าย การเขียนอธิบาย คือ การเขียนใหผูอานไดรับความรูและความ เขาใจเรื่องราวอยางชัดเจนและถูกตอง การเขียนอธิบายจะตองใหขอมูล ที่เปนขอเท็จจริงและเขียนอธิบายขยายความขอมูลนั้นเพ่ือใหผูอานเขาใจ อยางแจม แจง ชดั เจน การเขยี นอธิบายท่ดี คี วรมหี ลักการเขยี น ดังนี้ ๑. กําหนดวัตถุประสงคในการเขียนใหชัดเจนวา ตองการ เขียนอธิบายเร่ืองอะไร และมีวัตถุประสงคในการเขียนอยางไร เพื่อจะได เลอื กวิธีเขยี นอธบิ ายไดอยางเหมาะสม ๒. เตรียมเนื้อเรื่องหรือขอมูล โดยศึกษาคนควาจากหนังสือ หรือส่ืออื่น ๆ เชน หนังสือ คูมือ ตํารา นิตยสาร วารสาร วิทยุ โทรทัศน และอนิ เทอรเ นต็ เปน ตน ๓. กําหนดโครงเร่ืองที่จะเขียน เพื่อเรียบเรียงความคิดและ ขอมลู ใหม คี วามตอเน่อื งและนา สนใจ ๔. เลือกวิธีการอธิบายใหเหมาะสมสอดคลองกับเรื่อง ในบางครั้งอาจจะตองใชว ิธีอธิบายมากกวา ๑ วิธใี นการเขียนอธบิ ายกไ็ ด ๕. ควรใชภาษาที่เขาใจงาย กระชับ รัดกุม และตรงไปตรงมา เพ่อื ใหผ อู านเขาใจเรอ่ื งไดอ ยา งชดั เจนท่ีสดุ

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๔ เรอื่ ง ความกรุณาพาสขุ ใจ ๑๐๓ บทอา น เร่อื ง วิชาหนาเจา หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๔ เรอ่ื ง ความกรณุ าพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี ๕ เรื่อง ตอบคําถามเชงิ เหตผุ ล (วชิ าหนาเจา) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ วิชาหนาเจา เกดิ มาเปนคน หนังสือเปนตน วชิ าหนาเจา ถาแมนไมร ู อดสอู ายเขา เพื่อนฝงู เยาะเยา วาเงาวา โง ลางคนเกิดมา ไมร วู ชิ า เคอะอยูจ นโต ไปเปนขาเขา เพราะเงาเพราะโง บา งเปน คนโซ เท่ยี วขอก็มี ถารวู ิชา ประเสรฐิ หนกั หนา ชหู นาราศี จะไปแหงใด มคี นปรานี ยากไรไ มมี สวสั ดีมงคล

๑๐๔ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู สาํ หรับนักเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบงานท่ี ๕ เร่ือง ตอบคําถามเชิงเหตุผล หนวยการเรียนรทู ี่ ๔ เรือ่ ง ความกรุณาพาสขุ ใจ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๕ เร่อื ง ตอบคาํ ถามเชงิ เหตุผล (วชิ าหนาเจา) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ คาํ ชีแ้ จง ใหน ักเรียนตงั้ คําถามเกี่ยวกบั เรือ่ งวิชาหนาเจา ๕ คาํ ถาม พรอม คําตอบ คาํ ถาม คาํ ตอบ คาํ ถาม คาํ ตอบ

หนวยการเรยี นรูท ี่ ๔ เรอื่ ง ความกรุณาพาสุขใจ ๑๐๕ คําถาม คําตอบ คาํ ถาม คาํ ตอบ คาํ ถาม คําตอบ ชอ่ื ................................................ สกุล ............................. ช้นั ............... เลขท่ี ............

๑๐๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนกั เรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรูท่ี ๖ เร่ือง นทิ านลกู โซ หนว ยการเรียนรูท่ี ๔ เรื่อง ความกรณุ าพาสขุ ใจ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๖ เร่ือง หลานยายกะตา (นทิ านลูกโซ) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ นิทานลูกโซ นิทานลูกโซ คือนิทานที่เร่ืองดําเนินไป เพราะตัวละครซ่ึงมีอยู หลายตัวมีพฤติกรรมเกี่ยวของกันเปนทอด ๆ เหมือนลูกโซ นิทานลูกโซ ของไทยท่ีรูจกั กันดีคอื เรอ่ื งยายกบั ตา นิทานยายกะตา หรือนิทานยายกับตา เปนนิทานเรื่องเลาสืบตอกัน มาเพ่ือความบันเทิงและคติสอนใจ และสะทอนสภาพสังคมวิถีชีวิต และความเชื่อของสังคมน้ัน นิทานยายกะตา เปนตัวอยางนิทานไทย ท่ีมี ความเปนเอกลักษณและแสดงถึงความเปนไทยในดานสังคมเกษตรกรรม การเนนความกตัญูและการเคารพผูอาวุโสไดเปนอยางดี เปนนิทาน ลูกโซซึ่งมีลักษณะที่พิเศษคือ เปนเร่ืองที่เลาตอเนื่องดวยวิธีการทวนเรื่อง ซ้ํ า ไ ป ซ้ํ า ม า ผู ก ต อ กั น เ ป น ลู ก โ ซ ส ว น ใ ห ญ เ รื่ อ ง จ ะ ว น ก ลั บ ม า ที่ เ ดิ ม แตบ างครง้ั อาจตอเน่ืองซ้ํา ๆ จนพบจุดจบ และนิทานลกู โซเ ร่ืองยายกะตา ยังเหมาะสําหรบั เด็กเริม่ เรยี น เพื่อใชฝก การอานไดเ ปนอยา งดี นิทาน ยายกะตา เปนนิทานเกา สืบประวัติเทาที่หลักฐานไดในสมัย รชั กาลที่ ๓ เนือ่ งจากปรากฏเปน ภาพวาดไวเชิงบานหนาตางในพระอุโบสถ วัดพระเชตพุ น

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ เรอื่ ง ความกรณุ าพาสุขใจ ๑๐๗ บทอาน เร่อื ง หลานยายกะตา หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ เร่อื ง ความกรุณาพาสุขใจ แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๖ เร่ือง หลานยายกะตา (นิทานลกู โซ) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓ ยายกะตาปลูกถัว่ ปลกู งาใหห ลานเฝา หลานไมเ ฝา กามากนิ ถว่ั กนิ งา เจด็ เมล็ดเจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี หลานรองไหไปหานายพราน ขอใหชวยยิงกา กากนิ ถวั่ กินงา เจด็ เมล็ดเจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี นายพรานตอบวา “ไมใชกงการอะไรของขา ” หลานจงึ ไปหาหนู ขอใหชวยกดั สายธนูนายพราน นายพรานไมช ว ยยงิ กา กากินถวั่ กนิ งา เจด็ เมล็ดเจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี หนตู อบวา “ไมใชก งการอะไรของขา ”

๑๐๘ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู สําหรับนกั เรยี น ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) หลานจึงไปหาแมว ขอใหแ มวชว ยกดั หนู หนไู มชวยกัดสายธนนู ายพราน นายพรานไมช วยยิงกา กากินถวั่ กินงา เจด็ เมลด็ เจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี แมวตอบวา “ไมใ ชกงการอะไรของขา” หลานจงึ ไปหาหมา ขอใหชวยกดั แมว แมวไมชว ยกดั หนู หนไู มชว ยกัดสายธนนู ายพราน นายพรานไมชว ยยงิ กา กากินถว่ั กนิ งา เจด็ เมลด็ เจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี หมาตอบวา “ไมใ ชกงการอะไรของขา ” หลานจงึ ไปหาไมค อ นใหยอนหวั หมา หมาไมช ว ยกดั แมว แมวไมชว ยกดั หนู หนูไมชว ยกัดสายธนูนายพราน นายพรานไมชวยยิงกา กากินถว่ั กินงา เจด็ เมล็ดเจ็ดทะนาน

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๔ เรือ่ ง ความกรณุ าพาสขุ ใจ ๑๐๙ ยายมายายดา ตามาตาตี ไมค อนตอบวา “ไมใชกงการอะไรของขา ” หลานจงึ ไปหาไฟใหช ว ยไหมไ มค อน ไมค อนไมชว ยยอนหวั หมา หมาไมชว ยกดั แมว แมวไมชว ยกดั หนู หนไู มช วยกัดสายธนนู ายพราน นายพรานไมชวยยงิ กา กากินถว่ั กินงา เจด็ เมล็ดเจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี ไฟตอบวา “ไมใ ชก งการอะไรของขา ” หลานจงึ ไปหานา้ํ ใหช ว ยดับไฟ ไฟไมช วยไหมไ มคอ น ไมคอ นไมชว ยยอ นหวั หมา หมาไมช ว ยกัดแมว แมวไมชวยกัดหนู หนูไมชว ยกดั สายธนูนายพราน นายพรานไมชวยยงิ กา

๑๑๐ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู สําหรับนักเรยี น ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) กากินถวั่ กนิ งา เจด็ เมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี นาํ้ ตอบวา “ไมใ ชก งการอะไรของขา ” หลานจึงไปหาตลงิ่ ใหช ว ยพงั ทับนาํ้ นาํ้ ไมช ว ยดับไฟ ไฟไมชวยไหมไ มคอ น ไมคอ นไมชวยยอนหัวหมา หมาไมช ว ยกดั แมว แมวไมชว ยกัดหนู หนูไมชว ยกดั สายธนนู ายพราน นายพรานไมช ว ยยิงกา กากินถวั่ กินงา เจด็ เมล็ดเจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี ตลิ่งตอบวา “ไมใ ชกงการอะไรของขา ” หลานจึงไปหาชา งใหช ว ยถลม ตลง่ิ ตล่ิงไมช ว ยพังทับนํ้า น้ําไมชว ยดบั ไฟ ไฟไมช วยไหมไ มคอ น ไมคอนไมช วยยอ นหัวหมา หมาไมช ว ยกัดแมว

หนว ยการเรยี นรูที่ ๔ เร่ือง ความกรณุ าพาสขุ ใจ ๑๑๑ แมวไมช ว ยกดั หนู หนไู มชว ยกัดสายธนูนายพราน นายพรานไมชวยยงิ กา กากินถว่ั กินงา เจด็ เมล็ดเจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี ชา งตอบวา “ไมใชก งการอะไรของขา ” หลานจงึ ไปหาแมลงหว่ีใหชว ยตอมตาชา ง ชางไมช ว ยถลม ตลง่ิ ตลิ่งไมช ว ยพงั ทับนํา้ นา้ํ ไมช ว ยดบั ไฟ ไฟไมชวยไหมไ มคอ น ไมค อ นไมชวยยอนหัวหมา หมาไมชว ยกดั แมว แมวไมชวยกัดหนู หนูไมชวยกดั สายธนูนายพราน นายพรานไมชวยยิงกา กากนิ ถว่ั กินงา เจด็ เมลด็ เจด็ ทะนาน ยายมายายดา ตามาตาตี

๑๑๒ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู สาํ หรับนักเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) แมลงหวต่ี อบวา “ขา จะชว ยตอมตาชา งใหต าเนา ท้งั สอง ขา ง” ชา งตกใจจงึ รบี ไปชว ยถลมตลง่ิ ตล่ิงจงึ รีบไปชว ยพงั ทับนํา้ น้ําจงึ รีบไปชว ยดบั ไฟ ไฟจึงรบี ไปชว ยไหมไ มค อน ไมคอนจงึ รบี ไปชว ยยอ นหวั หมา หมาจึงรบี ไปชวยกดั แมว แมวจงึ รบี ไปชว ยกดั หนู หนูจึงรบี ไปชว ยกดั สายธนขู องนายพราน นายพรานจึงรีบไปชว ยยิงกา กาจงึ เอาถว่ั เอางา เจด็ เมล็ดเจด็ ทะนานมาคนื หลาน หลานเอาถวั่ เอางาไปใหแ กยายกะตา ยายกะตาก็เลิกดา เลิกตหี ลานแตน้ันมา

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ เร่อื ง ความกรณุ าพาสุขใจ ๑๑๓ ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง เรียงลําดบั เหตกุ ารณเร่อื งหลานยายกะตา หนว ยการเรยี นรูที่ ๔ เรือ่ ง ความกรณุ าพาสุขใจ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๖ เรื่อง หลานยายกะตา (นิทานลูกโซ) รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ คําชี้แจง ใหนักเรียนเรียงลําดับเหตุการณตอไปนี้ใหถูกตอง โดยให นักเรียนใสหมายเลขหนา ๑-๑๕ หนาเหตุการณที่เกิดขึ้นกอนจนถึง เหตกุ ารณสดุ ทา ยตามลําดับ ยายกบั ตาปลกู ถวั่ ปลกู งาใหห ลานเฝา หลานไปหาหนใู หห นูชว ยกัดสายธนูนายพราน หลานไปหาชา งใหชวยถลม ตล่ิง หลานไปหาคอนใหค อ นชวยตีหมา หลานไมเฝา ถ่ัวเฝางาใหยายกบั ตา หลานไปหาแมว ใหแ มวชว ยกัดหนู หลานไปหานา้ํ ใหชวยดบั ไฟ หลานไปหานายพรานใหช วยยงิ กา

๑๑๔ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู สําหรับนกั เรยี น ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) หลานไปหาไฟใหไ ฟชว ยไหมค อ น หลานไปหาหมา ขอใหห มาชว ยกัดแมว หลานไปหาตลง่ิ ใหชวยพังลงมาทบั น้ํา กามากินถ่วั กนิ งาของยายกบั ตา หลานไปหาแมลงหว่ีใหชว ยตอมตาชาง แมลงหว่ีรับปากวา จะชวยไปตอมตาชา หลานเอาถัว่ กับงาไปใหแกย ายกบั ตา ชอื่ ................................................ สกลุ ............................. ชนั้ ............... เลขท่ี ............

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๔ เรือ่ ง ความกรุณาพาสุขใจ ๑๑๕ บทอา น เรือ่ ง หลานยายกะตา ภาค ๒ หนวยการเรยี นรูท่ี ๔ เรอื่ ง ความกรณุ าพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๗ เร่ือง เขยี นแผนภาพโครงเร่อื งหลานยายกะตา รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ เร่อื ง หลานยายกะตา ภาค ๒ หลังจากหลานไปตามเอาถ่ัวงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนานคืนมาจากกาได ทําใหยายกะตาตองมาปรึกษากัน และเห็นวาหลานเปนเด็กดีมีสติปญญา รูจักสังเกตรูจักแกปญหาเขาใจหาผูชวยเหลือท่ีเหมาะสมอยางเปนลําดับ ขนั้ ตอน จนสําเร็จตามท่ตี องการ เหตุการณท่ีเกิดขนึ้ เปน เพราะหลานขาด ความรับผิดชอบเอาแตเลนตามประสาเด็ก จะตีไปก็ตายเปลา และอาจ เปน เพราะตนไมไดส อนหลานเทาทีค่ วร จงึ ตอ งใหความใกลชิด ใหเ วลากับ หลานใหมากข้ึน พอวางจากทําไร ตาสอนใหหลานทําของเลน เชน ลอเลื่อน สอนให เด็กสานตะกรา กระบุง กระจาด บางคร้ังสอนใหทําวาวแลวพาหลานไป เลนวาว สอนใหรูจักทิศทางลม รูจักการผอนสายปาน หรือดึงสายปานให วาวลอยอยูไดนาน ๆ สวนยายสอนใหหลานใชทางมะพราวมาสานเปนรูป ปลา นก หมวก ตะกรอ เมื่อสานเสรจ็ ยายกจ็ ะชมหลานทุกคร้งั ไป ยามคํา่

๑๑๖ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู สําหรับนกั เรียน ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ก็จะคุยกับหลาน ชวนใหดูทองฟา ดูตําแหนงของดวงดาวและกลุมดาว เลานิทานเรอ่ื งดาวลูกไกกอ นจะพาหลานเขา นอนใหหลานฟง วันหน่ึงขณะท่ีตากําลังสอนใหหลานเลนลอเล่ือนอยูน้ันพลันก็คิดได วาหลานของเราเลนอยูคนเดียว ไมมีเพ่ือนเลน ไมมีเพื่อนรวมหัวเราะ จึ ง ไ ป ป รึ ก ษ า ย า ย เ พ่ื อ จ ะ พ า ห ล า น เ ข า โ ร ง เ รี ย น เ พ่ื อ ห า ค ว า ม รู แ ล ะ ประสบการณชีวิต ทุกวันตาจะปนรถจักรยานไปรับสงหลานท่ีโรงเรียน ยายจะทาํ อาหารใสปน โตใหหลานไปกินกลางวนั เม่ือหลานกลับมาถึงบาน จะเลาวาท่ีโรงเรียนไดเรียนเร่ืองอะไรบาง ยามค่ํากอนนอนก็จะนึกถึง พระคณุ ของยายกับตาท่ีเลี้ยงดู และสง ใหเรยี นหนังสือจนสามารถมคี วามรู ตดิ ตัวเพื่อใชใ นการดาํ รงชีวติ ในอนาคตได

หนวยการเรียนรทู ่ี ๔ เรื่อง ความกรณุ าพาสุขใจ ๑๑๗ ใบงานที่ ๗ เรอื่ ง เขียนแผนภาพโครงเรอื่ ง หนวยการเรยี นรูท ่ี ๔ เรื่อง ความกรณุ าพาสขุ ใจ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๗ เรอ่ื ง เขยี นแผนภาพโครงเรื่อง (หลานยายกะตา) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๓ คาํ ช้แี จง ใหน กั เรียนเขยี นแผนภาพโครงเรื่อง “หลานยายกะตา” หลานยายกะตา ตวั ละคร สถานที่ ................................................. .............................................. ................................................. .............................................. ................................................. .............................................. ........................... ขอ คดิ ท่ีไดจ ากเรือ่ ง ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ชอื่ ................................................ สกลุ ............................. ชั้น ............... เลขที่ ............

๑๑๘ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู สําหรับนักเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) บทอาน เร่อื ง ความกตัญเู ปน เครอื่ งหมายของคนดี หนว ยการเรียนรูท่ี ๔ เรอื่ ง ความกรณุ าพาสุขใจ แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๘ เร่ือง พระคุณนม้ี ีคณุ คา รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ความกตัญู คือ ความรูอุปการคุณที่มีผูทําไว เปนคุณธรรมคูกับ ความกตเวที คือ การตอบแทนอุปการคุณท่ีผูอื่นทําไวน้ัน บุญคุณที่วานี้ ไมใชวาตอบแทนกันแลวก็หายกัน แตหมายถึงการรําลึกถึงพระคุณท่ีเคย ใหความอุปการะแกเราดวยความเคารพย่ิง เมื่อรูพระคุณแลวก็ตอบแทน พระคุณทาน มีความคิดเชนน้ีอยูภายในใจอยางตอเน่ือง และแสวงหา โอกาสทําหนาที่ตอบแทนบุญคุณทานอยางไมรูลืม บุคคลเชนนี้หาไดยาก ในโลก ผูคนจึงพากันสรรเสริญยกยอง แมเทวดาท้ังหลายก็ปกปกรักษา ผูทมี่ ีความกตัญูกตเวที ในทางกลับกัน คนที่ไมรูพระคุณใคร ก็ยากที่จะเจริญได มีคน มากมายที่ไมมีความกตัญูรูคุณผูมีพระคุณ ชีวิตที่เห็นยังดีและมีความ เจริญกาวหนาน้ันยังคงเปนเพราะบุญเกายังสงผล แตเม่ือหมดบุญเกา ความเจริญน้ันก็ถึงเวลาหมดสิ้นไปดวย และยิ่งกับคนที่ไมมีบุญเกามากพอ ก็จะทาํ ใหช วี ิตต่ําลงไปเร่ือย ๆ สิ่งของหรอื ผทู ีค่ วรกตัญนู น้ั ควรจะเปน ใครและสิ่งใดบา ง ๑. บุคคลที่ควรกตัญู คือใครก็ตามที่มีบุญคุณควรระลึกถึงและ ตอบแทนพระคณุ เชน บิดามารดา ในฐานะที่ทานเปนผูใหกําเนิดและเลี้ยงดูจนเติบใหญ ใหการศึกษา อบรมสั่งสอน ใหละเวนจากความช่ัว มั่นคงในการทําความดี

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๔ เรอื่ ง ความกรณุ าพาสุขใจ ๑๑๙ เมื่อถึงคราวมีคูครองไดจัดหาคูครองที่เหมาะสมใหและมอบทรัพยสมบัติ ใหไวเปนมรดก บุตร ธิดา เม่ือรูอุปการคุณที่บิดามารดาทําไวยอม ตอบแทนดวยการประพฤติตัวดี สรางชื่อเสียงใหแกวงศตระกูล เลี้ยงดู ทา น และชว ยทานทาํ งานของทา น ลกู คนไหนทําไดอยา งน้ี นี่คอื ทส่ี ุดแหง ความกตญั ู ลูกคนใดทําไดชาตนิ มี้ ีแตความเจรญิ ครูบาอาจารย ในฐานะท่ีทานเปนผูประสาทความรูให ฝกฝน แนะนําใหเปนคนดีสอนศิลปวิทยาใหอยางไมปดบัง ยกยองใหปรากฏแก คนอ่ืนและชวยคุมครองศิษยทั้งหลาย ศิษยเมื่อรูอุปการคุณท่ีครูอาจารย ทําไวยอมตอบแทนดวยการต้ังใจเรยี น ใหเกียรติและใหความเคารพไมลวง ละเมิดโอวาทของครู ไมดหู มิน่ ทา น ผูใหความชวยเหลือยามทั้งที่เรามีความสุขหรือทุกขยาก ในฐานะ ท่ที านเมตตาสงเคราะหใหเรานัน้ ผานความยากลําบากไมว าจะเปนเร่ืองใด ท้ังเงินทอง การชวยเหลืออํานวยความสะดวก จึงควรที่จะตอบแทน ชวยเหลือทานเม่ือมีโอกาสไมจําเปนตองเปนเรื่องใหญแมเพียงเร่ืองเล็กก็ ตอ งรบี ขวนขวายตอบแทนตามกาํ ลังทเี่ รามี ๒. กตัญูตอสัตว ในฐานะท่ีสัตวมีคุณตอเราชวยทํางานใหเรา เราก็ควรเล้ียงดูใหดี ใหเหมาะสมเชน ชาง มา วัว ควาย หรือสุนัขท่ีชวย เฝาบา น เปนตน ๓. กตัญูตอส่ิงของ ในฐานะท่ีสิ่งของทุกอยางท่ีมีคุณตอเราเชน หนังสือที่ใหความรูแกเรา อุปกรณทํามาหากินตาง ๆ เราไมควรทิ้งขวาง หรือทําลายโดยไมเห็นคณุ คา คนรวยหลายคนนั้นไมเคยลืมคณุ ของสิ่งของ ท่ชี วยสรา งเน้อื สรา งตัว ทงั้ หมอ ไห หาบ รถจกั รยานเกา ๆ เหลา นี้เขาเก็บ ไวเ พื่อระลกึ ถึงความยากลาํ บากในหนหลัง เพ่ือใชเตือนสติตน

๑๒๐ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู สําหรับนกั เรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรทู ี่ ๗ เรื่อง การพดู แสดงความคิดเหน็ หนว ยการเรยี นรูที่ ๔ เรอื่ ง ความกรุณาพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๘ เร่ือง พระคณุ นม้ี ีคณุ คา รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๓ การพูดแสดงความคดิ เหน็ การพูดแสดงความคิดเห็น หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความรูสึก หรอื แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เรอื่ งใดเรือ่ งหนึ่งอยางมีเหตุผล ลักษณะของผพู ูดแสดงความคิดเหน็ ท่ดี ี ๑. ผูพดู จะตอ งมคี วามรูในเรอื่ งท่ีจะแสดงความคิดเหน็ เปน อยางดี ๒. การแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ควรมีหลักการแสดง ความคิดเหน็ ในเชิงขดั แยงและเชิงวจิ ารณ ๓. ใชภาษาสุภาพเหมาะสมกับโอกาส โดยเฉพาะการแสดงความ คิดเห็นในเชิงขัดแยงและเชิงวิจารณ เพื่อรักษาความสัมพันธท่ีดีตอผูพูด และผฟู ง ๔. การแสดงความคิดเห็นใด ๆ ก็ตาม ควรแสดงความคิดเห็นในเชิง สรางสรรค และเปน ประโยชนต อ สว นรวมเปน สาํ คญั

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๔ เร่ือง ความกรุณาพาสุขใจ ๑๒๑ ใบความรทู ี่ ๘ เรอ่ื ง มารยาทในการฟง หนวยการเรยี นรูท่ี ๔ เรือ่ ง ความกรณุ าพาสุขใจ แผนการจดั การเรยี นรูท ่ี ๙ เรื่อง เร่ืองเลาของแม (การเลารายละเอียดจากเรือ่ งท่ีฟง และด)ู รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ มารยาทในการฟง ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี ๑. ฟงอยา งตงั้ ใจ ตามองผูพ ูด ไมค ยุ หรือเลน ในขณะท่ีฟง ๒. ไมแสดงกิริยาท่ีไมเหมาะสม เชน กระทืบเทา เปาปากโห และไม ทาํ ความราํ คาญใหกบั ผอู ืน่ ๓. ปรบมือเพ่ือเปนการใหเกียรติผูพูด กอนที่ผูพูดจะพูด และ หลงั จากท่ีผูพ ดู พดู จบเเลว มารยาทในการพดู ควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑. เตรียมตัวใหพรอมกอนที่จะพูด โดยการหาความรูเกี่ยวกับเร่ืองท่ี จะพดู โดยการหาความรเู ก่ียวกับเร่ืองทีจ่ ะพดู ๒. ใชนํ้าเสียงท่ีนุมนวล ไมกระโชกโฮกฮาก และใชถอยคําท่ีสุภาพ เหมาะสม ๓. พูดเสียงดังฟง ชัด และมองผูฟง อยา งทว่ั ถึง ๔. กลาวคําขอโทษเม่ือพูดผิด และกลาวคําขอบคุณเมื่อไดรับการ ยกยอง ชมเชย มารยาทในการดู ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ ๑. ดดู ว ยความตงั้ ใจ ไมค ุยเลนในขณะทีด่ ู ๒. ไมส งเสยี งดัง หรือทาํ ความรําคาญใหก ับผอู ่ืน ๓. เมื่อตองเดินผานผูอื่นที่กําลังดู ใหเดินอยางสํารวม และ ระมัดระวงั มใิ หกระทบผูอน่ื

๑๒๒ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู สําหรับนกั เรียน ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรูท่ี ๙ เรอื่ ง การเขียนบรรยาย หนวยการเรียนรทู ี่ ๔ เรื่อง ความกรณุ าพาสขุ ใจ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๑๐ เร่ือง ผูมพี ระคุณของฉัน รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ การเขยี นบรรยาย การเขียนบรรยาย เปนการเขียนเลาเหตุการณใดเหตุการณหน่ึงท่ี เกิดขึ้น เพ่ือใหผูอานเห็นภาพเหตุการณ ลําดับเวลา สถานที่ บุคคล ผูเขียนควรกลาวถึง เหตุการณใหชัดเจน เลาขอเท็จจริงหรือรายละเอียด ของเรื่องตามทีเ่ ปน อยูโดยคาํ นงึ ถงึ ความตอเนอื่ ง จดุ มุงหมายของการเขียนบรรยาย การเขียนบรรยายใชแสดงความคิดเห็นไดหลายรูปแบบ เชน ใชใน คําประพันธแบบเลาเร่ือง เลาเหตุการณ การเขียนชีวประวัติ การเขียน บันทกึ การใหข อ มลู การรายงานขา ว เปน ตน หลกั การเขียนบรรยาย ๑. ใชถอยคาํ กะทัดรัด อา นแลวเขา ใจงาย มีความหมายคมคาย ๒. บรรยายตามลําดับเหตกุ ารณ บรรยายโดยไมท าํ ใหผูอานสับสน ๓. จุดประทับใจควรมเี หตุการณหรือจดุ สาํ คัญทท่ี าํ ใหผอู า น ประทบั ใจ ๔. บรรยายตอ เนือ่ งอาจแทรก ขอ คิดเห็น ความรู เปน เหตเุ ปน ผล เพ่ือประโยชนของผูอาน

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๔ เรื่อง ความกรุณาพาสขุ ใจ ๑๒๓ ตัวอยางการเขยี นบรรยาย “ผมเกิดที่บานสวน ธนบุรี หนาบานติดคลองวัดดอกไมไมไกลจากสถานี ตํารวจบุปผารามปจจุบันมากนัก สถานีตํารวจแหงนี้ สรางมากอนผมเกิด แตไมไดมีรูปรางหนาตาอยางท่ีเปนอยูทุกวันน้ี เดิมเปนเรือนไมสูง พ้ืนช้ันลางลาดซีเมนต มีเรือนพักตํารวจเปนเรือนแถวเกา ๆ ไมกี่หอง หนาโรงพักมีถนนผา นกลาง ฝงตรงขา มคอื วัดดอกไม ซงึ่ เปน ศัพทชาวบา น ภาษาราชการเรยี กวา วัดบุปผาราม” ผูเขยี น พ.เนตรรงั ษี

๑๒๔ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู สาํ หรับนักเรยี น ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบงานที่ ๘ เรอื่ ง การเขยี นบรรยายผมู ีพระคุณของฉนั หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ เรอ่ื ง ความกรณุ าพาสขุ ใจ แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๑๐ เร่ือง ผมู พี ระคุณของฉัน รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๓ คําชี้แจง ใหนักเรียนติดรูปภาพหรือวาดรูปผูมีพระคุณของนักเรียน แลว เขยี นบรรยายเรอื่ ง “ผมู พี ระคุณของฉัน” ความยาว ๑๐-๑๕ บรรทดั

หนวยการเรียนรทู ี่ ๔ เรื่อง ความกรุณาพาสขุ ใจ ๑๒๕ ชื่อ ................................................ สกลุ ............................. ช้ัน ............... เลขที่ ............

๑๒๖ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู สาํ หรับนักเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) แบบประเมินตนเอง ชอ่ื : _______________________________________วัน/เดือน/ป _____________ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๔ เรือ่ ง ความกรุณาพาสุขใจ คาํ ชีแ้ จง ๑. ระบายสลี งใน ของแตละกิจกรรมทนี่ กั เรียนคดิ วา ทาํ ไดตามระดับการประเมินเหลา นี้ เพือ่ ประเมินการเรยี นรูของนักเรยี น ปรบั ปรงุ พอใช คอนขางดี ดี ดมี าก กจิ กรรม ระดับความสามารถ ๑. เรียงลาํ ดับเหตุการณ ๒. เขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง ๓. ตอบคาํ ถามจากเรื่องท่ีอา น ๔. อานนิทานเรื่องหลานยายกะตา ๕. พดู แสดงความคิดเห็น ๖. เลา รายละเอยี ดของเร่ืองที่ฟง และดู ๗. เขียนบรรยาย ๒. นับจํานวนดาวจากตารางขางบนเพื่อบันทึกผลการเรียนรูของนักเรยี น ดังน้ี จาํ นวน.............................. จํานวน.............................. จาํ นวน.............................. จํานวน.............................. จาํ นวน.............................. สรปุ : วงกลมรอบผลการเรียนรขู องนักเรียน โดยนบั จากขอท่ไี ดดาวมากท่ีสดุ ปรบั ปรงุ พอใช ดี คอ นขางดี ดีมาก ๓. กาเครื่องหมาย ลงใน  ท่ีนักเรียนวางแผนจะทําเพ่ือพฒั นาการเรยี นในครั้งตอไป (เลือกได มากกวา ๑ ขอ)  อานและเขียนสะกดคํา  มสี มาธิในการเรยี น  ตงั้ ใจทํางานจนเสร็จ  มีมารยาทในการฟง และการพดู

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๕ เรอื่ ง อักษรหรรษา ๑๒๗ หนว ยการเรียนรูท่ี ๕ อกั ษรหรรษา

๑๒๘ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู สําหรับนักเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรทู ่ี ๑ เรื่อง คําอักษรควบกล้ํา หนวยการเรยี นรูที่ ๕ เร่ือง อกั ษรหรรษา แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑ เรอื่ ง อกั ษรควบกลํ้า (ร ควบ) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๓ คําอักษรควบกลาํ้ คําอักษรควบกลํ้า หมายถึง คําที่มีพยัญชนะสองตัวเขียนเรียงติดกันอยู ตนพยางคและใชสระเดียวกัน เวลาอานออกเสียงกลํ้าเปนพยางคเดียวกัน เสยี งวรรณยุกตข องพยางคนน้ั จะเปนไปตามเสียงพยัญชนะตัวหนา คําอักษรควบกลํา้ มี ๒ ชนดิ คือคาํ อักษรควบแท และคาํ อักษรควบไมแ ท ๑. คําอักษรควบแท เปนคําที่มีพยัญชนะ ๒ ตัว รวมสระเดียวกัน และ ออกเสียงพยัญชนะพรอมกันทั้ง ๒ ตัว ไดแก พยัญชนะ ร ล ว ควบกับ พยญั ชนะตัวหนา ตวั อยาง ร ควบ เชน กร : กรอง กรงุ เกรง กรอก ขร : ขรุขระ ขรมึ ขรวั คร : ครวั ครู ใคร ตร : ตรอง ตรี ตรา ปร : โปรด เปรย้ี ว ปราด พร : พร พรอ ม พร้ิม ๒. คําอักษรควบไมแท เปนคําท่ีมีพยัญชนะ ๒ ตัว รวมสระเดียวกัน แตออกเสียงพยัญชนะตัวหนาเพียงตัวเดียว ไดแก พยัญชนะที่มี ร ควบอยูดวย แตไ มออกเสยี ง ร หรอื ออกเสียง เปน เสยี งอื่นไป

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๕ เรอ่ื ง อักษรหรรษา ๑๒๙ ตัวอยาง ร ควบ เชน จร : จรงิ ซร : ไซร ศร : เศรา เศรษฐี สร : สราง เสริม สรง สระ

๑๓๐ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู สาํ หรับนกั เรียน ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) บทอา น เรือ่ ง ฝกอานคาํ อักษรควบกลํา้ (ร ควบ) หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๕ เรื่อง อักษรหรรษา แผนการจดั การเรียนรูท ี่ ๑ เร่ือง อักษรควบกลํา้ (ร ควบ) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๓ คําชีแ้ จง ใหนกั เรียนฝกอานออกเสียงคําควบกล้าํ “ร” ตอไปนี้ กระจง กระจาด กระเจย๊ี บ กระแซะ กระทอม กระแทก กระบอก กระแต กระโถน ตะกรอ ประกอบ ประเคน ประเดีย๋ ว ประถม ประทัด ประเมนิ ไมตรี ชาวประมง ตนกะเพรา ตน ตะไคร นกกระจอก มากระดก ครอง คราด ประกาศ ประพฤติ ประเภท ประมาท ประมุข ประวัติ ประสงค ประหยัด ประหลาด ปรากฏ เปรต โปรด โปรตนี ไปรษณีย มะปริง กิโลกรัม

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๕ เรื่อง อักษรหรรษา ๑๓๑ ใบงานที่ ๑ เร่ือง อักษรควบกลาํ้ แท ร ควบ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๕ เรื่อง อักษรหรรษา แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑ เร่อื ง อกั ษรควบกล้ํา (ร ควบ) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ คาํ ชแี้ จง ใหนกั เรียนระบายสคี ําท่ีมอี กั ษรควบกลาํ้ แท “ร” แลว คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั คําท่ีมี ร ควบกลาํ้ โกรธ เศรา ครวญ กิโลกรัม อารมณ รับรอง กรวย เปรต โอรส โปรด โปรด กะเพรา ไมตรี ตะกรอ ช่ือ .........................................................สกุล........................................ชั้น..............เลขท่.ี ..............

๑๓๒ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู สําหรับนกั เรียน ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรูที่ ๒ เร่อื ง อกั ษรควบกลาํ้ หนวยการเรียนรทู ่ี ๕ เรือ่ ง อกั ษรหรรษา แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๒ เรือ่ ง อักษรควบกลํ้า (ล ควบ) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ คําอักษรควบกลาํ้ (ล ควบ) คําอักษรควบกล้ํา หมายถึง คําที่มีพยัญชนะสองตัวเขียนเรียงติดกันอยู ตนพยางคและใชสระเดียวกัน เวลาอานออกเสียงกลํ้าเปนพยางคเดียวกัน เสยี งวรรณยกุ ตข องพยางคน ั้นจะเปน ไปตามเสยี งพยญั ชนะตวั หนา คาํ อกั ษรควบกล้ํามี ๒ ชนดิ คือคาํ อกั ษรควบแท และคําอักษรควบไมแ ท ๑. คําอักษรควบแท เปนคําที่มีพยัญชนะ ๒ ตัว รวมสระเดียวกัน และ ออกเสียงพยัญชนะพรอมกันท้ัง ๒ ตัว ไดแก พยัญชนะ ร ล ว ควบกับ พยญั ชนะตัวหนา ตวั อยาง ล ควบ เชน กล : กลม กลวง กลอก กลอง กลอ ง กลวย ขล : เขลา ขลาด ขลัง ขลุย คล : คลอง คลองแคลว คลอเคลีย ปล : แปลง ปลา ปลาย ปลวก ปลอม ผล : เผลอ แผลง ผลผี ลาม แผล เผลอไผล พล : พลิก พลอย พลาด เพลง พลกุ พลา น ๒. คําอักษรควบไมแท เปนคําท่ีมีพยัญชนะ ๒ ตัว รวมสระเดียวกัน แตออกเสียงพยัญชนะตัวหนาเพียงตัวเดียว ไดแก พยัญชนะท่ีมี ร ควบอยูดวย แตไ มออกเสียง ร หรือออกเสยี ง เปนเสยี งอ่นื ไป

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๕ เรอ่ื ง อักษรหรรษา ๑๓๓ ตัวอยาง ร ควบ เชน จร : จรงิ ซร : ไซร ศร : เศรา เศรษฐี สร : สราง เสริม สรง สระ

๑๓๔ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู สาํ หรับนักเรียน ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) บทอาน เรือ่ ง ฝก อานคําอักษรควบกลํา้ (ล ควบ) หนว ยการเรียนรูท่ี ๕ เรอื่ ง อกั ษรหรรษา แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๒ เร่ือง อกั ษรควบกลํ้า (ล ควบ) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓ คําช้ีแจง ใหน ักเรยี นฝกอานคาํ ควบกลํ้า “ล” ตอไปน้ี ตะกละ เผลอ พลู นาเกลยี ด เกล็ด เกล้ยี ง เกลียว แกลบ คลาย คลอด เคล็ด ปลอม ปลกั๊ ปลวิ ปลอบ พลกิ พลดั พล่วั แฟลต กลว ยไม กลว ยหอม กลองขาว กลอ งดินสอ กลบั บา น กลางคนื กลางวนั ขาดแคลน เขม็ กลดั ชอนกลาง ปลอดโปรง ปลอดภัย ปลาวาฬ ปลาหมึก ปลาหวาน เพลงชาติ เพาะปลกู รอ งเพลง วงกลม วง่ิ ผลดั กลาง

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๕ เรื่อง อักษรหรรษา ๑๓๕ ใบงานท่ี ๒ เร่ือง อักษรควบกล้าํ แท ล ควบ หนว ยการเรียนรทู ี่ ๕ เร่ือง อกั ษรหรรษา แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๒ เร่อื ง อักษรควบกลํา้ (ล ควบ) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ คาํ ชแ้ี จง ใหน ักเรยี นระบายสคี ําทมี่ ีอกั ษรควบกล้ําแท “ล” แลว คัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัดคําทีม่ ี ล ควบกลํา้ กะเพรา เผลอ เกลี้ยง เกลด็ แกลบ ปลิว ปลูก พรม โลก กลาง ขาดแคลน พลาด วง่ิ ผลัด ลอด ชื่อ ...........................................................สกุล.....................................ช้ัน...............เลขท่ี...............

๑๓๖ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู สาํ หรับนักเรยี น ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรูท ่ี ๓ เร่ือง อกั ษรควบกลาํ้ หนวยการเรียนรทู ่ี ๕ เรอ่ื ง อกั ษรหรรษา แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๓ เร่ือง อักษรควบกลํ้า (ว ควบ) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๓ คาํ อักษรควบกล้ํา (ล ควบ) คําอักษรควบกล้ํา หมายถึง คําท่ีมีพยัญชนะสองตัวเขียนเรียงติดกันอยู ตนพยางคและใชสระเดียวกัน เวลาอานออกเสียงกล้ําเปนพยางคเดียวกัน เสยี งวรรณยุกตข องพยางคน ้ันจะเปนไปตามเสยี งพยญั ชนะตัวหนา คําอกั ษรควบกลา้ํ มี ๒ ชนดิ คือคําอกั ษรควบแท และคาํ อกั ษรควบไมแ ท ๑. คําอักษรควบแท เปนคําที่มีพยัญชนะ ๒ ตัว รวมสระเดียวกัน และ ออกเสียงพยัญชนะพรอมกันทั้ง ๒ ตัว ไดแก พยัญชนะ ร ล ว ควบกับ พยญั ชนะตัวหนา ตัวอยา ง ว ควบ เชน กว : กวา กวาง กวาด ไกว ขว : ขวัญ ขวา ขวาน ขวาง แขวน คว : ควนั ควาย ควา ความ ๒. คําอักษรควบไมแท เปนคําท่ีมีพยัญชนะ ๒ ตัว รวมสระเดียวกัน แตออกเสียงพยัญชนะตัวหนาเพียงตัวเดียว ไดแก พยัญชนะท่ีมี ร ควบอยูดวย แตไมออกเสยี ง ร หรอื ออกเสียง เปนเสยี งอน่ื ไป ตวั อยา ง ร ควบ เชน จร : จริง ซร : ไซร ศร : เศรา เศรษฐี สร : สราง เสริม สรง สระ

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๕ เรือ่ ง อักษรหรรษา ๑๓๗ บทอาน เร่อื ง ฝก อานคําอกั ษรควบกลํ้า (ว ควบ) หนว ยการเรียนรูท่ี ๕ เร่ือง อกั ษรหรรษา แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๓ เร่ือง อักษรควบกล้าํ (ว ควบ) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓ คาํ ชี้แจง ใหนักเรียนฝกอา นคาํ ควบกลํ้า “ว” ตอ ไปนี้ คนควา กวาง ไมก วาด แกวงไกว เกวยี น ขวิด นางกวัก แตงกวา ไมแ ขวนเส้ือ ขวาน นอนควาํ่ ไขวห าง สงู กวา ควาย ควาญ ควนั แควน ความ เควง ควา ง ขวญั ขวา ง กวัดแกวง ขวักไขว ขวนขวาย

๑๓๘ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู สําหรับนกั เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.๓) ใบงานที่ ๓ เร่ือง อกั ษรควบกลํา้ (ว ควบ) หนวยการเรยี นรทู ่ี ๕ เร่อื ง อักษรหรรษา แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๓ เรื่อง อักษรควบกล้ํา (ว ควบ) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ คําชี้แจง ใหน กั เรยี นระบายสคี ําท่ีมีอกั ษรควบกลํ้าแท “ว” แลว คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั คําทม่ี ี ว ควบกลํา้ กวาด ขวาน ร้วั กวาง ควาย ควนั ขวา แกวง ขวิด แขวน มนั แกว ครัว ขวด เกวียน ชอื่ ...........................................สกุล.............................ช้ัน.............เลขท่ี...........

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๕ เรอ่ื ง อักษรหรรษา ๑๓๙ ใบความรทู ี่ ๔ เร่อื ง อักษรควบกลา้ํ ไมแท หนวยการเรียนรูที่ ๕ เรอ่ื ง อักษรหรรษา แผนการจดั การเรียนรูที่ ๔ เร่ือง อักษรควบกลํา้ (ทร เปลย่ี นเสยี งเปน ซ) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ คําอกั ษรควบกลํา้ ไมแท คาํ ควบกลํา้ ไมแ ท มอี ยู ๒ ประเภท ไดแ ก ๑. คําควบกลํ้าไมแท ท่ีมีพยัญชนะตัวหนาเปน จ ซ ศ ส พยัญชนะ ตวั หลงั เปน ร ใหออกเสยี งเฉพาะพยญั ชนะตัวหนา เชน เสร็จ อา นวา เสด็ จริง อานวา จงิ ปราศรัย อา นวา ปรา – ไส เศรา อานวา เสา ๒. คําควบกล้ําไมแท ที่มีพยัญชนะตัวหนาเปน ท พยัญชนะตัวหลัง เปน ร ใหออกเสียง ทร เปน เสยี ง ซ เชน ทราย อานวา ซาย ทรพั ย อานวา ซับ ทราบ อานวา ซาบ

๑๔๐ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู สําหรับนักเรยี น ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.๓) บทอา น เรื่อง ฝกอานคําอักษรควบกลํา้ ไมแ ท หนวยการเรียนรูท่ี ๕ เรื่อง อกั ษรหรรษา แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๔ เรื่อง อักษรควบกลาํ้ (ทร เปลยี่ นเสยี งเปน ซ) รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓ คําชแี้ จง ใหน ักเรียนฝกอา นคําควบกลา้ํ ไมแท ทร เปลี่ยนเปนเสยี ง ซ ตอ ไปนี้ รับทราบฉะเชงิ เทรา หาดทรายเศราปลาอนิ ทรี ทรพั ยส นิ พทุ รามี ทรวดทรงไหนทรามวัยสม มัทรีไหทรวงอกตรม ทรดุ โทรมแทรกตน ไทร เปล่ยี น ทร เปน เสียง ซ ท ควบ ร ระดม หนังสือเรยี น ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร