Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-07-คู่มือครู ศิลปะ ป.5

64-08-07-คู่มือครู ศิลปะ ป.5

Published by elibraryraja33, 2021-08-07 03:36:54

Description: 64-08-07-คู่มือครู ศิลปะ ป.5

Search

Read the Text Version

คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๕ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู (สําหรบั ครูผสู อน) เพือ่ การจดั การเรยี นรูโดยใชการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๕ (ฉบับปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

ก คานา ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพ่ือสร้างคุณลักษณะสาคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ๒) มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทา ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ใน การสืบสาน รักษา พัฒนาต่อยอด โครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนาการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม หรอื NEW DLTV ในทกุ ดา้ นอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณเ์ ทคโนโลยี บคุ ลากรและกระบวนการจัดการศกึ ษา เพอ่ื แก้ปญั หาการขาดแคลนครูในโรงเรยี นขนาดเล็ก สรา้ งโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ทุกเพศ ทกุ วยั ผา่ นการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มจานวน ๑๕ ช่องสญั ญาณ ไปยังโรงเรยี นต่างๆ และผูส้ นใจท่ัวประเทศ เพื่อให้ ประเทศไทยเปน็ สังคมแหง่ ปัญญามีจิตอาสาในการสรรคส์ ร้างและพฒั นาประเทศให้มัน่ คง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็บไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนิธิ และมีคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้รายช่ัวโมงครบท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครปู ลายทางสามารถปรับกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับชมุ ชน ท้องถนิ่ วัฒนธรรมและบริบทของแต่ละโรงเรียน คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับน้ี เป็นการปรับปรุงคร้ังที่ ๒ ซึ่งดาเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยความร่วมมือจากคณะทางาน ประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวทิ ยาลยั ศกึ ษานิเทศก์ และครผู ้เู ช่ียวชาญ ทง้ั ๘ กลมุ่ สาระ การเรียนรู้ เพ่ือให้ครูปลายทางใช้ในการ เตรยี มการสอนลว่ งหน้า รวมท้งั สามารถจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด เพื่อให้การจดั การเรยี นการ สอนเกดิ ประสทิ ธิผล นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเลก็ ต่อไป นับเปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อย่างหาทสี่ ดุ มิได้ ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ทรงมงุ่ ม่นั พฒั นายกระดบั คุณภาพ การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม เพือ่ พัฒนาสงั คมไทยและยกระดบั คุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดัง พระราชปณิธาน “...การศกึ ษาคือความมน่ั คงของประเทศ...” ขอพระองค์ทรงพระเจริญ มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ข (สำเนำ) ท่ี ศธ ๐๔๐๑๐/๕๘๑ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน กระทรวงศกึ ษำธิกำร กทม. ๑๐๓๐๐ ๑๑ มนี ำคม ๒๕๖๔ เร่ือง รับรองควำมร่วมมือกำรพัฒนำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อกำรสอนออกอำกำศทำงไกล ผำ่ นดำวเทยี ม เรยี น เลขำธิกำรมลู นิธิกำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทยี ม ในพระบรมรำชปู ถมั ภ์ อ้ำงถึง หนงั สือมูลนิธกิ ำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถมั ภ์ ที่ มศทท. ๙/๗๒ ลงวันที่ ๒๕ มกรำคม ๒๕๖๔ ตำมหนังสือที่อ้ำงถึง มูลนิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม ในพระบรมรำชูปถัมภ์ แจ้งว่ำ มูลนิธิ ฯ ได้ปรับปรุงคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย คู่มือครูและ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำตอนต้น ตำมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ จำกผู้ทรงคุณวุฒิ คณะผู้นิเทศ ครูผู้สอนจำกโรงเรียนต้นทำงและโรงเรียนปลำยทำง และได้พัฒนำเป็นคู่มือครู และแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง คู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ส่ือ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง โดยมูลนิธิ ฯ ได้ดำเนินกำรพัฒนำและบรรณำธิกำรกิจ โดยคณะกรรมกำรประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชำญ ครูผู้สอนท่ีมีประสบกำรณ์เป็นผู้ร่วมในกำรพัฒนำ คู่มือจนสำเร็จ และได้ประชุมหำรือเพ่ือให้ข้อเสนอแนะ ข้อควรปรับปรุงจำกสำนักวิชำกำรและมำตรฐำน กำรศึกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน นั้น ในกำรนี้ ขอรับรองว่ำคู่มือครูและแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ สื่อ ๖๐ พรรษำ ระดับประถมศึกษำ ฉบับปรับปรุง และคู่มือครูและแผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ฉบับปรับปรุง สำมำรถใช้ ในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนได้ จงึ เรียนมำเพอื่ โปรดทรำบ ขอแสดงควำมนบั ถือ (นำยอมั พร พินะสำ) เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พนื้ ฐำน สำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๖๕-๖๖ โทรสำร ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๕

สารบัญ ค คานา หน้า หนังสอื รับรองความรว่ มมอื การพฒั นาคมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทยี ม ก สารบัญ ข คาชแี้ จงการรับชมรายการออกอากาศด้วยระบบทางไกลผา่ นดาวเทยี ม คาชี้แจงรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ ๑ ค คาอธิบายรายวิชา กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี ๑ จ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั ช โครงสรา้ งรายวชิ าศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ ๑ ฒ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ ชื่อหน่วย แสงสีงานศิลป์ ณ ต แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรือ่ ง อปุ กรณส์ รา้ งสรรค์ทัศนศิลป์ 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เรือ่ ง น้าหนักแสงเงา 5 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง นา้ หนกั แสงเงาและวรรณะสี 12 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เร่ือง สีอุ่นสีเยน็ 19 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ เรอ่ื ง คุณค่างานทัศนศิลป์ 26 แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ 34 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๒ ช่ือหน่วย สรา้ งสรรค์องคป์ ระกอบศลิ ป์ 41 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรือ่ ง จังหวะในงานทัศนศลิ ป์ 42 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง ต้าแหน่งในงานทัศนศิลป์ 46 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง ความสมดุล 53 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง ภาพพิมพว์ สั ดธุ รรมชาติ 61 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ เร่อื ง ทศั นศลิ ปท์ ้องถิ่น 69 แบบประเมนิ ตนเอง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 77 แบบบันทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) 86 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ช่ือหน่วย ลีลาสรา้ งสรรค์ 87 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ (๑) 88 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ (๒) 91 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เรอื่ ง ทา่ ทางประกอบเพลง (๑) 97 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง ท่าทางประกอบเพลง (๒) 104 แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 110 116

ง 117 120 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ ช่ือหน่วย นาฏศลิ ป์ ถน่ิ สยาม 125 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง รา้ วงมาตรฐาน (๑) 132 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่ือง รา้ วงมาตรฐาน (๒) 145 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง นาฏศิลป์ พืน้ เมอื ง 153 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศิลป์ 154 แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 157 162 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๕ ช่ือหน่วย ร้องเพลง ครน้ื เครงใจ 168 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ เร่อื ง เพลงพวงมาลยั (๑) 169 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง เพลงพวงมาลัย (๒) 170 แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 171 แบบบันทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) 182 191 บรรณานุกรม 197 ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม ภาคผนวก ข. แผนผังความคิด (Graphic Organizers) ภาคผนวก ค. แบบบนั ทึกการเรียนรู้ ( Learning Logs) คณะกรรมการปรับปรงุ คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

จ คาชแ้ี จง การรบั ชมรายการออกอากาศดว้ ยระบบทางไกลผา่ นดาวเทียม มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใหบ้ ริการการจดั การเรียนการสอน จากสถานี วทิ ยุโทรทศั น์การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม จานวน ๑๕ ช่องรายการ ท้ังรายการสด (Live) และรายการย้อนหลัง (On demand) สามารถรบั ชมผ่านชอ่ งทาง ต่อไปนี้ ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา้ ท่ี Play Store/Google Play พมิ พ์คาวา่ DLTV - ระบบ iOS เข้าท่ี App Store พิมพค์ าว่า DLTV หมายเลขชอ่ งออกอากาศสถานวี ิทยุโทรทศั น์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 15 ช่องรายการ ช่อง ชอ่ ง (TRUE) รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา (DLTV) (ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๔.๓๐ น.) (ชว่ งเวลา ๑๔.๓๐ น. – ๐๘.๓๐ น.) DLTV 1 ช่อง 186 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ DLTV 2 ช่อง 187 รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ความรู้รอบตัว DLTV 3 ช่อง 188 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV 4 ชอ่ ง 189 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม DLTV 5 ชอ่ ง 190 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ศลิ ปวัฒนธรรมไทย DLTV 6 ช่อง 191 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ ท่พี ลเมอื ง DLTV 7 ชอ่ ง 192 รายการสอนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร DLTV 8 ชอ่ ง 193 รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาษาตา่ งประเทศ DLTV 9 ชอ่ ง 194 รายการสอนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 การเกษตร DLTV 10 ช่อง 195 รายการสอนชั้นอนุบาลปที ี่ 1 รายการสาหรบั เด็ก-การเลยี้ งดูลกู DLTV 11 ช่อง 196 รายการสอนชั้นอนบุ าลปที ่ี 2 สขุ ภาพ การแพทย์ DLTV 12 ช่อง 197 รายการสอนชนั้ อนุบาลปที ี่ 3 รายการสาหรบั ผสู้ งู วัย DLTV 13 ชอ่ ง 19๘ รายการของการอาชพี วังไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล DLTV 14 ช่อง 199 รายการของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช DLTV 15 ชอ่ ง 200 รายการพฒั นาวชิ าชพี ครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรียนระดับช้ันปฐมวยั ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๑.๓๐ น.

ฉ การตดิ ต่อรับขอ้ มูลข่าวสาร ๑. มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เลขที่ 214 ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนสั เขตป้อมปราบศตั รพู า่ ย กรงุ เทพมหานคร โทร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ิทยโุ ทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาบลหัวหิน อาเภอหวั หิน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ – ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ web@dltv.ac.th (ตดิ ตอ่ เรอ่ื งเว็บไซต)์ dltv@dltv.ac.th (ตดิ ตอ่ เรื่องทว่ั ไป) ๓. โรงเรยี นวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ อาเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร 032 522 347 , 032 520 478 โทรสาร 032 520 478 Facebook : โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ช คาชีแ้ จง กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ๑. แนวคดิ หลกั หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระการเรียนรู้ จานวน ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนาความรู้ด้านเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการฝึกทักษะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕ ประการ และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๘ ประการ ดงั น้ี สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการส่อื สารเปน็ ความสามารถในการรับสารและส่ือสารมีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การคดิ อยา่ งเป็นระบบเพ่ือนาไปส่กู ารสรา้ งองคค์ วามรหู้ รอื สารสนเทศ เพอ่ื ใชใ้ นการตัดสินใจ เกย่ี วกบั ตนเอง สังคมได้อย่างเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถ นากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยรู่ ่วมกันในสงั คมด้วยการสรา้ งเสริมความสมั พนั ธ์อันดรี ะหว่างบุคคล การจดั การปญั หาและความขดั แย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหาอย่าง สรา้ งสรรค์ถกู ตอ้ งเหมาะสม มีคณุ ธรรมดา้ นต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง สังคม ในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทางาน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๘ ประการ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข ในฐานะเป็น พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก ดงั นี้ ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒) ซือ่ สัตย์ สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อย่อู ย่างพอเพยี ง ๖) มุง่ มั่นในการทางาน ๗) รักความเปน็ ไทย ๘) มจี ิตสาธารณะ

ซ กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ เป็นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ีมงุ่ เน้นพัฒนาใหผ้ เู้ รียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มจี นิ ตนาการทางศลิ ปะ ชืน่ ชมความงาม มสี นุ ทรียภาพ ความมคี ุณคา่ ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะ ชว่ ยพฒั นาผเู้ รียนทั้งด้านรา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม สง่ เสรมิ ให้ ผเู้ รยี นมีความเชอื่ ม่นั ในตนเอง อนั เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ ครูผู้ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ควรมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จากจินตนาการ สามารถใช้ อุปกรณ์ทีเ่ หมาะสม รวมท้งั สามารถใชเ้ ทคนิค วธิ กี ารของศลิ ปนิ ใน การสรา้ งงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ุณค่างานทัศนศลิ ป์ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะ ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ชน่ื ชม ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนศิลปะ มีการบูรณาการด้านคุณลักษณะในแผน การจัด การเรียนรู้ท่ีคานึงถึงคุณลักษณะ ท่ีให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะด้านวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณค่า ของศลิ ปะ เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นแสดงออกอยา่ งอิสระ ในศิลปะแขนงต่างๆ ได้แก่ ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ สอดคล้อง ตามเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ และให้มีเจตคติที่ดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสา ครูผู้สอนควรปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์และเปน็ คนดีของสงั คม ๒. กระบวนการจดั การเรียนรู้ แนวคิดสาคญั ของการจดั ศกึ ษา ท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั คอื การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนคิด และลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ การประเมิน การเรียนรู้จึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน เพราะสามารถทาให้ผู้สอน ประเมินระดบั พฒั นาการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสาคญั ทส่ี ดุ กระบวนการจดั การศึกษาตอ้ ง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ให้ความสาคัญ ของการบรู ณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศกึ ษา ได้ระบุให้ ผู้ทเี่ กี่ยวขอ้ งดาเนินการ ดงั นี้ ๑) สถานศึกษาและหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึง ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทาได้คิดเป็นทาเป็นรัก การอา่ น และเกิดการใฝ่รู้อย่างตอ่ เน่ือง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ดี ีงามและ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคไ์ วใ้ นทุกวชิ า

ฌ (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ มีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยให้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวน การเรยี นรู้ ท้งั นี้ผู้สอนและผู้เรยี นอาจเรยี นรูไ้ ปพร้อมกนั จากสือ่ การเรยี น การสอนและแหลง่ วทิ ยาการประเภทต่าง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความ ร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝา่ ย เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ ๒) การจัดสภาพแวดล้อมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ (๑) จัดสภาพแวดล้อม ห้องเรียน หรือภายนอกห้องเรียน ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ สะอาด มีความเป็น ระเบียบ ตกแต่งห้องเรียนให้น่าอยู่ มีมุมต่างๆในห้องเรียน มีท่ีเก็บวัสดุอุปกรณ์ และง่ายต่อการนามาใช้ มีป้ายนิเทศ ใหค้ วามรู้ ภายนอกหอ้ งเรียนจดั บรรยากาศใหเ้ ปน็ ธรรมชาตนิ า่ อยู่ ร่มรืน่ และเหมาะกบั กิจกรรมการเรียนรู้ ถูกสขุ ลกั ษณะ และปลอดภยั (๒) จัดสภาพแวดลอ้ ม หรอื ห้องใหผ้ ้เู รยี นไดฝ้ ึกปฏบิ ตั กิ าร (๓) จัดสือ่ อุปกรณ์ ท่ีเกยี่ วกบั การเรียนร้อู ยา่ งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเคร่ืองมือแสวงหาความรู้ หรือ ช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ขา่ วสารทีท่ นั สมัยปัจจบุ นั อยูเ่ สมอ ๓) ครผู สู้ อน การจัดการเรยี นร้ตู ามแนวดังกลา่ ว จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนท้ังของผู้เรียน และผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผนจัดกิจกรรม ใหน้ ักเรียนเกดิ การเรียนรู้ กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเนน้ ท่ีบทบาทของผู้เรียนต้งั แตเ่ รม่ิ คือ ร่วมวางแผนการเรยี น การวัดผล ประเมนิ ผล และต้องคานึงว่ากิจกรรมการเรยี นนนั้ เน้นการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งกนั และกัน การสร้างคาอธิบายเก่ียวกับข้อมูลท่ีสืบค้นได้ เพื่อนาไปสู่คาตอบของปัญหาหรือคาถามต่าง ๆ และสร้าง องคค์ วามรู้ ท้ังนี้กิจกรรมการเรียนรู้เหล่าน้ีต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ท้ังทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา หลกั การจดั กระบวนการเรียนรกู้ ล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ระดับชัน้ ประถมศึกษา ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูต้องลด บทบาทในการสอนโดยเป็นผู้ชี้แนะ กระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ มากข้ึนและ อยา่ งหลากหลาย ดังน้ี 1) ควรให้นักเรียนทกุ คนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วย การกระตุ้นให้นักเรียนลงมือ ปฏบิ ตั แิ ละอภปิ รายผล โดยใชเ้ ทคนิคตา่ ง ๆ ของการสอน เชน่ การนาเขา้ สบู่ ทเรียน การใช้คาถาม การเสริมพลังมาใช้ให้ เปน็ ประโยชน์ ที่จะทาให้การเรยี นการสอนนา่ สนใจและมชี วี ิตชวี า 2) ครูควรมีการวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนานักเรียนเข้าสู่บทเรียน และลง ข้อสรุปไดโ้ ดยทีไ่ มใ่ ช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใช้คาถามท่ีมคี วามยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถของนกั เรยี น

ญ 3) เมื่อนักเรียนถาม อย่าบอกคาตอบทันที ควรให้คาแนะนาที่จะช่วยให้นักเรียนหาคาตอบได้เอง ครูควรให้ความสนใจตอ่ คาถามของนกั เรียนทกุ ๆ คน แมว้ า่ คาถามนนั้ อาจจะไมเ่ กย่ี วกบั เรือ่ งท่ีกาลงั เรียนอยกู่ ต็ าม ครูควร จะชีแ้ จงใหท้ ราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสู่เรื่องท่ีกาลังอภิปรายอยู่ สาหรับปัญหาท่ีนักเรียนถามมานั้น ควรจะไดห้ ยิบยกมาอภิปรายในภายหลงั 4) การสารวจตรวจสอบซา้ เปน็ ส่งิ จาเป็นเพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท่ีนา่ เชอื่ ถือ ดังนั้น ในการจดั การเรยี นรคู้ รูควร ยา้ ใหน้ ักเรียนได้สารวจตรวจสอบซา้ เพ่อื นาไปสขู่ อ้ สรุปท่ถี ูกต้องและเชื่อถือได้ กระบวนการเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรู้ จากห้องสมุด แหลง่ เรยี นรู้จากภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ปราชญช์ าวบา้ น งานวิเคราะหจ์ ากการศึกษาภาคสนาม การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาจริง โดยกาหนด ภาระงาน (task) การวางแผนปฏิบัติ ลงมือปฏิบัติโดยครูให้คาแนะนาและสาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง ผู้เรียนฝึกได้ปฎิบัติ ตามลาดับขั้นตอนจนชานาญ ในรูปแบบของโครงงาน ศิลป์สร้างสรรค์ ท่ีเน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภปิ รายกลุ่มย่อย การแกป้ ัญหากลุ่ม สืบคน้ ความรู้ กลุ่มสมั พันธ์ การเรยี นรู้แบบร่วมมอื การอภปิ ราย การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพัฒนา กระบวนการคดิ การสอนโดยใชว้ ธิ กี ารตง้ั คาถามผู้เรยี น การเรียนการสอนโดยใชแ้ ผนผงั ความคิด (Graphic Organizers) การเรยี นการสอนด้วยกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ๓. ส่ือการจดั การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้ ส่ือการจัดการเรียนรู้ เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนได้รับความรู้ ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ไ ด้ ง่ า ย ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ส้ั น แ ล ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว ส่ื อ ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรมู้ ีดงั น้ี ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนาเสนอขอ้ มูล ๒) คลิป/วดี ทิ ศั น/์ ภาพขา่ วสถานการณ์ปัจจบุ นั ๓) สถานการณ์สมมตุ ิ ๔) สอื่ บคุ คล แหลง่ เรียนรู้ เป็นเครือ่ งมอื สร้างคณุ ลกั ษณะการใฝเ่ รียนรทู้ ่ที ุกคนต้องใฝ่รตู้ ลอดชวี ติ ดงั นี้ ๑) แหลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรยี น ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ห้องสมุด ประชาชน หอ้ งสมดุ แห่งชาติ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและเป็นหัวใจสาคัญของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนควรจัด ห้องสมุดกลาง ห้องสมุดหมวดวิชา มมุ หนังสือในห้องเรียน ห้องสมุดเคลื่อนที่ รถเคลื่อนท่ี ห้องสมุดประชาชนล้วนเป็น แหล่งเรียนรจู้ ะทาใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รียนรู้และปลูกฝังลักษณะนสิ ัยทด่ี ีในการสง่ เสริมนิสัยรักการอ่าน

ฎ ๓) แหล่งเรยี นรูอ้ อนไลน์ - สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน - สานกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ ๔. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงคส์ าคญั ของการประเมินการเรียนรู้คือ การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ท่ีผู้สอน หรอื หลกั สูตรวางไว้ ปัญหาทพี่ บในปจั จุบันกค็ อื ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจานวนมากยังให้ ความสาคัญ การเรียนรู้แบบท่องจาเพ่ือสอบ หรือการเรียนรู้เพื่อแข่งขัน ซ่ึงถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผินมากกว่า การประเมิน การเรียนรู้ระหว่างเรยี นการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาตนเองซง่ึ ผลลพั ธข์ องการเรยี นรู้จะยัง่ ยนื กวา่ (กุศลนิ มสุ ิกลุ , ๒๕๕๕; ขจรศักด์ิ, เพ็ญจันทร์ และวรรณทิพา รอดแรงคา้ , ๒๕๔๘) ในการจดั การเรียนรู้เพ่อื พฒั นาสมรรถนะด้านต่างๆ ของผู้เรียนน้ัน จาเป็นต้องมีการประเมิน การเรียนรู้ อย่างต่อเนอ่ื ง ตัง้ แต่เร่ิมตน้ ระหว่างและสน้ิ สดุ กระบวนการเรยี นรู้ โดยใชก้ ารประเมินในรูปแบบท่ีหลากหลายสอดคล้อง ตามวัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นรู้ รปู แบบการประเมินการเรยี นรู้ได้แก่ การประเมิน การเรยี นรรู้ ะหว่างเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรยี นร้สู รปุ รวม (Summative Assessment) และ การประเมินการเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) ในการประเมินเพอื่ พัฒนาการเรียนรู้ และการประเมินตามสภาพจริงน้ัน ผู้สอนจาเป็นต้อง สะทอ้ นการประเมนิ ใหผ้ เู้ รยี นรบั ทราบเพอื่ ปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเอง และผู้สอนต้องนาผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อ ทบทวนและปรับแผนการจัดการเรยี นรูเ้ พื่อให้สามารถดาเนินการแกไ้ ข ช่วยเหลอื หรอื หาวธิ ีการต่างๆ เพ่ือช่วยให้ผู้เรียน แต่ละคนเกิดการเรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองไดต้ ามแตล่ ะจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรหู้ รอื เป้าหมายของตวั ชี้วดั ต่าง ๆ (กุศลนิ มุสิกลุ , ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมิน เพ่ือพฒั นาผ้เู รยี นและการตดั สินผลการเรยี น ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นใหป้ ระสบความสาเรจ็ นนั้ ผเู้ รยี น จะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินการเรี ยนรู้ในทุกระดับ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๕๒) การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรทู้ ีป่ รากฏในแผนการจดั การเรียนรู้ ให้ความสาคัญของการประเมินพฤตกิ รรม การปฏิบัติ ดังนี้ ๑) วธิ กี ารประเมนิ (๑) การวดั และประเมนิ กอ่ นเรยี น เพ่อื ตรวจสอบความพรอ้ ม และความรู้เดิมของผ้เู รยี น (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรยี นรขู้ น้ั นา) (๒) การวัดและประเมินระหว่างเรยี น ได้แก่ ดา้ นความรู้ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ และคณุ ลกั ษณะ โดยวธิ กี ารสงั เกตพฤตกิ รรม ถามตอบพรอ้ มแสดงเหตผุ ล ตรวจชน้ิ งาน การนาเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรู้ ขั้นสอน) จดุ มุง่ หมายของการประเมนิ ระหวา่ งเรยี น มดี ังนี้

ฏ (๒.๑) เพื่อค้นหาและวินิจฉัยว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเน้ือหา มีทักษะความชานาญ รวมถึง มีเจตคติทางการเรยี นรอู้ ย่างไรและในระดับใด เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ อยา่ งเหมาะสม เพือ่ พัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรียนได้อยา่ งเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพื่อใช้เป็นขอ้ มูลปอ้ นกลับให้กบั ผูเ้ รียนวา่ มผี ลการเรียนร้อู ย่างไร (๒.๓) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ของผูเ้ รยี นแตล่ ะคน (4) การวัดและประเมินหลงั เรยี น เพ่อื ตรวจสอบความสาเร็จตามจุดประสงค์รายแผน เป็นการพัฒนา ในจุดที่ผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมข้ันสรุป) และเพื่อตัดสินผล การจัดการเรียนรู้ เปน็ การประเมนิ หลังจากผเู้ รียนได้เรยี นไปแล้ว ผลจากการประเมนิ ประเภทนใ้ี ชป้ ระกอบการตดั สินผล การจดั การเรยี นการสอน หรอื ตดั สนิ ใจวา่ ผู้เรียนคนใดควรจะไดร้ ับระดับคะแนนใด (๔) ประเมนิ รวบยอดเม่ือส้นิ สดุ หนว่ ยการเรียนรู้ ดาเนนิ การดังนี้ การประเมินโดยครูผู้สอน เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั สมรรถนะ คุณลกั ษณะ และ เจตคติหรือไม่ เช่น การทาโครงงาน การนาความรู้ไปใช้เพ่ือพัฒนา สงั คมในรูปแบบต่าง ๆ การประเมนิ โดยผเู้ รียนแต่ละคน โดยการทาแบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning log) ควรให้ผู้เรียนได้ ประเมินการเรยี นรู้ของตนเอง เพ่อื เปิดโอกาสไดส้ ะทอ้ นคิดสง่ิ ท่เี รยี นรทู้ ั้งทท่ี าได้ดีและยงั ตอ้ งพัฒนา (ตวั อยา่ งแบบบันทึก การเรยี นรู้ ดูภาคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนไดป้ ระเมนิ การเรยี นรยู้ อ่ ยหลงั จบการเรยี นรู้แตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ และประเมิน การเรยี นรูร้ วมในชว่ งกลางภาคเรยี น และปลายภาคเรียน โดยครสู ามารถเลอื กใช้ชุดคาถามและจานวนขอ้ ให้เหมาะสมกับ บรบิ ทของผ้เู รยี น ชว่ งเวลาและธรรมชาตขิ องแต่ละวชิ า ทัง้ นีใ้ นคร้งั แรกครคู วรทาร่วมกบั นักเรียนเพอ่ื แนะนาวิธีการเขียน แบบสะท้อนคิด และควรอา่ นสิ่งท่ีนักเรียนบนั ทึกพร้อมใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมทั้งใช้ ประโยชน์จากขอ้ มลู ในแบบบันทกึ เพอื่ พัฒนาการสอนของตัวเองและชว่ ยเหลอื นกั เรยี นเปน็ รายบุคคลต่อไป ๒) ผู้ประเมิน ได้แก่ เพื่อนประเมินเพ่ือน ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และผู้ปกครอง ร่วมประเมนิ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านศิลปะ เป็นกระบวนการทางสุนทรียศาสตร์ ที่เกี่ยวกับรสนิยม ความช่ืนชอบ ความงาม เกณฑ์ในการวัดผลแบบนิยมท่ีเน้นความถูกต้องของการตอบข้อสอบใน มาตัดสินความงาม ความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ม่เหมาะสม การวดั และประเมินผลตามสภาพจริง จึงเหมาะทจี่ ะใช้ประเมินผลการเรียนรู้ทางศิลปะ เปน็ การประเมนิ ความสามารถ และกระบวนการในการปฏิบัติในสถานการณ์จริง หรือคล้ายสถานการณ์จริง ทั้งในและ นอกหอ้ งเรียน เน้นให้ผูเ้ รียนไดแ้ สดงออกถึงความเข้าใจและทักษะการคิด ท่ีบูรณาการการเรียนรู้เช่ือมโยงการนาไปใช้ ในชวี ิตประจาวัน ด้วยการเรยี นรู้ดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และนาฏศิลป์มคี วามเก่ยี วข้องกับวิถีชีวติ วัฒนธรรมของผู้คนในสงั คม

ฐ การวัดและประเมนิ ผลกับการจัดการเรยี นการสอนศิลปะ จงึ เป็นเร่ืองที่สัมพันธ์กัน หากขาดส่ิงหนึ่งส่ิงใด การเรียนการสอนก็ขาดประสิทธิภาพ ครูต้องใช้วิธีการและเคร่ืองมือการประเมินที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การซกั ถาม การระดมความคดิ เหน็ เพือ่ ใหไ้ ดม้ ตขิ อ้ สรปุ ของประเด็นท่กี าหนด การใชแ้ ฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงานทเี่ นน้ การปฏิบตั ิ การประเมนิ ความรู้เดิม การให้ผู้เรียนประเมินตนเอง การให้เพื่อนประเมินเพื่อน และการใช้เกณฑ์การให้ คะแนน (Rubrics) สง่ิ สาคญั ทสี่ ดุ ในการประเมินเพ่อื พัฒนา คือ การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในลักษณะคาแนะนาที่ เชอ่ื มโยงความรเู้ ดมิ กบั ความรใู้ หมท่ าใหก้ ารเรียนรู้พอกพูน แก้ไขความคิด ความเข้าใจเดิมท่ีไม่ถูกต้อง ตลอดจนการให้ ผูเ้ รยี นสามารถตัง้ เป้าหมายและพัฒนาตนได้ ในการประเมนิ เพอ่ื ตดั สนิ ผลการเรยี นท่ีดตี ้องให้โอกาสผู้เรียนแสดงความรู้ ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพ้ืนฐานของเกณฑ์ผลการปฏิบัติมากกว่าใช้เปรียบเทียบ ระหว่างผ้เู รยี น 5. คาแนะนาบทบาทครปู ลายทางในการจัดการเรียนรู้ ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคู่ขนานกับครูต้นทางในการกากับดูแลช่วยเหลือนักเรียนในทุกขั้นตอน การสอน ดังนี้ 1) ข้ันเตรียมตัวก่อนสอน (1) ศึกษาทาความเข้าใจคาช้ีแจงและทาความเข้าใจเช่ือมโยง ทั้งเป้าหมาย กิจกรรมและการวัดผล และประเมนิ ผลระหวา่ งหนว่ ยการเรยี นร้กู ับแผนการจัดการเรยี นรู้รายช่ัวโมง (2) ศึกษาค้นคว้าความรู้เพ่ิมเติม จากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความรู้ท่ีเช่ือถือได้ รวมทั้ง เทคนคิ การจัดการเรยี นรูเ้ พ่ือพัฒนาความสามารถของผู้เรยี นอยา่ งรอบด้าน (3) ปรับ/ประยุกต์หรือเพิ่ม เป้าหมายทั้งเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้น และ ทเี่ ป็นปัจจบุ นั ตามบรบิ ทของหอ้ งเรยี น โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศักยภาพ ของผู้เรยี น และตามสภาพจรงิ (4) ศึกษาคลิปบทเรียนท่ีมีการอัพโหลดล่วงหน้าเพื่อทาความเข้าใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสือ่ ต่าง ๆ ที่ครูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจดั กิจกรรมในข้ันตอนช่วงการปฏิบัติ ท้ังด้านวิธีการ สื่อท่ีใช้ และช่วงเวลาของการทาแต่ละกิจกรรมเพื่อนามาวิเคราะห์และหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ช่วยเหลือ ส่งเสริม/อานวย ความสะดวกนักเรยี นตามบริบทของห้องเรียนของตนให้สามารถเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเตม็ ตามศักยภาพ (5) เตรียมใบงาน (ที่คัดเลือกสาหรับมอบหมายให้นักเรียนได้ทาตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมท้ัง การเตรียมอปุ กรณต์ ามระบใุ นแผนฯและ/หรอื ท่ีปรากฏในคลปิ (ในกรณมี ีการปรบั เปล่ยี นเพิ่มเติม) (6) ติดตามข้อมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกาหนดการสอนที่มีรายละเอียด ของสอ่ื การสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเว็บไซต์ www.dltv.ac.th 2) ขนั้ การจัดการเรียนรู้ (1) สรา้ งการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทากิจกรรม เช่น กระตุ้นให้นักเรียนคิด ตอบคาถามของครู ต้นทาง ฟังเฉลยและชว่ ยเสริม/อธิบาย/ในสงิ่ ท่นี ักเรยี นยังไมเ่ ข้าใจ ชมเชย/ให้กาลังใจหากนักเรยี นทาไดด้ ี

ฑ (2) ใหค้ วามช่วยเหลือนักเรยี นที่ตามไม่ทัน เชน่ อธบิ ายเพิ่มเตมิ เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถเรียนรู้ต่อไปอย่าง มีประสทิ ธภิ าพ (3) กากบั ดแู ลใหม้ ีวินัยในการเรยี นเช่น ไมเ่ ล่นหรอื พูดคยุ กนั ปฏบิ ตั ิตามคาสัง่ ในการทากจิ กรรม ฯลฯ (4) อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ เชน่ จดั เตรยี มสอื่ การเรยี นร/ู้ อปุ กรณ์ (5) สงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียนเช่น คุณลักษณะผู้เรียน, สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/ การปฏิบัติงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินท่ีแนะนาไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือนา ขอ้ มลู ไปพฒั นานกั เรียนและให้ความช่วยเหลอื นกั เรียนทัง้ ชน้ั /กลุ่ม/รายบคุ คลตามกรณี 3) ขั้นการปฏิบัติ (1) ทบทวนข้ันตอนการทากิจกรรมตามท่ีครูต้นทางแนะนา และตามข้อแนะนาการปฏิบัติที่ระบุ ใน PowerPoint ตรวจสอบความเขา้ ใจ และเตรียมนักเรียนก่อนทากิจกรรม (การแบง่ กลมุ่ ฯลฯ) (2) กากับให้การทากจิ กรรมเปน็ ไปตามลาดับเวลาตามแนวทางท่รี ะบุบน PowerPoint (3) ใหค้ วามชว่ ยเหลอื นักเรยี นในระหวา่ งการทากจิ กรรม (4) เตรียมพร้อมนักเรียนสาหรับกิจกรรมในข้ันตอนสรุปการเรียน (ถ้ามี) เช่น การสรุปผลปฏิบัติงาน เพ่ือเทียบเคยี งกบั ผลงานทน่ี กั เรยี นต้นทางจะนาเสนอ เปน็ ตน้ 4) ข้ันสรปุ (1) กากับนกั เรียนใหม้ สี ว่ นร่วมในการเฉลยใบงาน/สรุปผลการทากิจกรรม ฯลฯ (2) ทบทวนประเด็นสาคัญท่ีมีการสรุปท้ายช่ัวโมง และงาน/ใบงานที่ครูต้นทางมอบหมายให้ทาเป็น การบ้าน/หรือใบงานท่ีครูปลายทางได้เลือกมาใชก้ ับชน้ั เรยี นของตน (3) จดั ให้นกั เรยี นได้ทาแบบประเมินตามระบใุ นหวั ขอ้ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ (เฉพาะหลงั จบ แตล่ ะหน่วยการเรียนร้แู ละคร่ึง/ปลายภาคเรยี น) 5 ) การบนั ทกึ ผลหลังสอน (1) บันทึกการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้ข้อมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนเพ่ือวิเคราะห์เทคนิค หรือวิธีการใด ที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มคี วามรู้ มที ักษะ และคุณลกั ษณะตามจดุ ประสงค์ (2) บันทึกสาเหตุของความสาเร็จ อุปสรรค และ/หรือข้อจากัดที่เกิดข้ึน เช่น เทคนิค หรือวิธีการใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ ส่ิงแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะตามจดุ ประสงค์ โดยใช้คาถามท่ใี ห้ไวใ้ น “คาถามบันทึกผลหลังสอนสาหรับครูปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค.) เปน็ แนวทางในการย้อนคิด ไตร่ตรองส่งิ ทเี่ กดิ ขึ้นและนาไปบันทึกผลหลงั สอนของชว่ั โมงนัน้ ๆ (3) วิเคราะหแ์ ละสรุปผลจากข้อมูลตามปัญหา/ความสาเร็จท่ีเกิดข้ึน และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพอ่ื นามาพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ และช่วยเหลือ/ส่งเสริมนักเรยี นในการจัดการเรียนรู้ในคร้ังต่อไป รวมทั้งนาไปใช้เป็น ขอ้ มูลเพือ่ พัฒนาเป็นงานวิจัยในช้ันเรยี นต่อไป

ฒ คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหัสวิชา ศ15101 รายวชิ า ทัศนศลิ ป์ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1 หนว่ ยกติ ทัศนศลิ ป์ ศกึ ษา รปู รา่ ง รปู ทรง ในธรรมชาติและงานทศั นศิลป์ เส้น สี รูปรา่ ง รูปทรง พ้นื ผวิ และพนื้ ที่วา่ ง อทิ ธิพล ของวรรณะสีอุ่น-เย็น การใช้สีวรรณะอุ่น-เย็น วาดภาพถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์งานภาพพิมพ์ และการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี การจัดระยะความลึก น้าหนัก และแสงเงาในการวาดภาพ ความเหมือนและความแตกต่างในงานทัศนศิลป์ ความคิด ความรู้สึก ที่ถ่ายทอด ในงานทัศนศลิ ป์ งานทัศนศลิ ป์ในวฒั นธรรมท้องถิ่นและจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ดนตรี ศึกษาระบุองค์ประกอบดนตรีในเพลงท่ีใช้ในการสื่ออารมณ์ การอ่านและเขียนโน้ตดนตรีไทย และสากล รู้จักใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลงจังหวะและท้านอง สามารถจ้าแนกลักษณะของเสียงขับร้องและเคร่ืองดนตรีท่ีอยู่ ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ รู้และเข้าใจการด้นสดง่าย ๆ โดยใช้ประโยคเพลงแบบถามตอบ ร้องเพลงไทยหรือ เพลงสากลหรือเพลง ไทยสากลที่เหมาะสมกับวัยและใช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรมในการแสดงออกตามจินตนาการ เหน็ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งดนตรีกบั ประเพณใี นวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมถงึ คุณคา่ ของดนตรที ี่มาจากวัฒนธรรม นาฏศลิ ป์ ศกึ ษาค้นคว้าบรรยายองค์ประกอบนาฏศิลป์ และแสดงท่าทางประกอบเพลงหรือเรื่องราว ตามความคิด ของตน โดยเน้นการใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ในการสื่อความหมายและการแสดงออก มีส่วนร่วมในการเขียน เค้าโครงเร่ืองหรือบทละครสั้น ๆ เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศิลปช์ ุดตา่ ง ๆ การเปรยี บเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยแตล่ ะทอ้ งถ่ิน การแสดงนาฏศิลป์พื้นบา้ นทสี่ ะท้อนถงึ วฒั นธรรมและประเพณี รวมถึงบอกประโยชน์ท่ีได้รับ จากการชมการแสดง โดยการใช้กระบวนการศึกษาค้นคว้า การบรรยาย การเปรียบเทียบ การอภิปรายการจ้าแนก การฝึก ทกั ษะ การสร้างสรรค์ การร่วมกจิ กรรม เพอ่ื ให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ มีทกั ษะสร้างสรรคง์ าน และสามารถถ่ายทอด เพื่อการอนุรกั ษ์ ตระหนกั ถงึ คณุ ค่าของนาฏศิลปท์ ี่ถือเป็นเอกลกั ษณ์ประจา้ ชาติ รหัสตวั ชว้ี ัด ศ ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 , ป.5/6 , ป.5/7 ศ ป.5/1 , ป.5/2 ศ ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 , ป.5/6 , ป.5/7 ศ ป.5/1 , ป.5/2 ศ ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 , ป.5/6 ศ ป.5/1 , ป.5/2 รวมท้งั หมด 26 ตวั ช้ีวดั

ณ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 จานวน 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ศ15101 รายวชิ า ทศั นศิลป์ ดนตรี–นาฏศิลป์ ภาคเรยี นที่ 1 รวมเวลา 40 ช่ัวโม สาระท่ี ทศั นศิลป์ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ปต์ ามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณค์ ุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่องานศลิ ปะอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ตวั ชวี้ ัด ป.๕/๑ บรรยายเกยี่ วกบั จงั หวะตาแหนง่ ของสิง่ ตา่ งๆ ที่ปรากฏในสง่ิ แวดล้อม และงานทศั นศิลป์ ตวั ชี้วดั ป.๕/๒ เปรียบเทยี บความแตกต่างระหวา่ งงานทัศนศลิ ป์ ที่สรา้ งสรรค์ด้วยวสั ดุอปุ กรณ์และวิธีการ ท่ตี า่ งกัน ตัวชวี้ ดั ป.๕/๓ วาดภาพ โดยใชเ้ ทคนคิ ของแสงเงา น้าหนกั และวรรณะสี ตวั ช้วี ัด ป.๕/๔ สรา้ งสรรคง์ านปั้นจาก ดนิ น้ามัน หรอื ดนิ เหนยี ว โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ ตัวช้ีวัด ป.๕/๕ สรา้ งสรรคง์ านพิมพ์ภาพ โดยเนน้ การจัดวางตาแหน่งของสิ่งตา่ ง ๆ ในภาพ ตัวช้วี ัด ป.๕/๖ ระบปุ ญั หาในการจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์ และการสอื่ ความหมายในงานทัศนศลิ ปข์ องตนเอง และบอกวิธกี ารปรบั ปรงุ งานให้ดีขึน้ ตัวช้ีวัด ป.๕/๗ บรรยายประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของงานทศั นศลิ ป์ทมี่ ผี ลต่อชวี ติ ของคนในสังคม มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งทัศนศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ งาน ทศั นศลิ ป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากลตัวช้ีวัด ตัวชีว้ ัด ป.๕/๑ ระบุ และบรรยายเกี่ยวกบั ลกั ษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหลง่ เรยี นรู้หรอื นิทรรศการ ศลิ ปะ ตวั ชีว้ ัด ป.๕/๒ อภิปรายเกีย่ วกับงานทศั นศิลปท์ ี่สะทอ้ นวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาในทอ้ งถ่ิน สาระท่ี ดนตรี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่ ดนตรีถ่ายทอด ความรู้สึกความคิดต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชมและประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั ตวั ช้วี ัด ป.5/1 ระบอุ งคป์ ระกอบดนตรใี นเพลงที่ใชใ้ นการสอื่ อารมณ์ ตัวชี้วดั ป.5/2 จาแนกลักษณะของเสยี งขบั รอ้ งและเครอ่ื งดนตรีที่อย่ใู นวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ ตวั ชีว้ ดั ป.5/3 อ่าน เขียนโนต้ ดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสยี ง ตวั ชว้ี ดั ป.5/4 ใช้เครอื่ งดนตรีบรรเลงจงั หวะ และทานอง ตัวชี้วัด ป.5/5 รอ้ งเพลงไทยหรอื เพลงสากลหรอื เพลงไทยสากลทเ่ี หมาะสมกบั วยั ตวั ช้ีวัด ป.5/6 ดน้ สดงา่ ย ๆ โดยใช้ประโยคเพลงแบบถามตอบ ตัวช้วี ดั ป.5/7 ใชด้ นตรีร่วมกบั กิจกรรมในการแสดงออกตามจินตนาการ มาตรฐาน ศ 2.2 เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของดนตรี ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

ด ตัวชว้ี ัด ป.5/1 อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณใี นวฒั นธรรมต่าง ๆ ตัวชี้วัด ป.5/2 อธิบายคุณคา่ ของดนตรที ่ีมาจากวัฒนธรรมท่ตี ่างกนั สาระที่ นาฏศิลป์ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคดิ อย่างอสิ ระ ชน่ื ชมและประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ตัวชีว้ ัด ป.5/1 บรรยายองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ ตัวชี้วดั ป.5/2 แสดงท่าทางประกอบเพลงหรือเรอ่ื งราวตามความคดิ ของตน ตัวช้ีวัด ป.5/3 แสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ในการส่ือความหมายและ การแสดงออก ตัวชี้วดั ป.5/4 มีส่วนรว่ มในกลุม่ กับการเขียนเคา้ โครงเรอื่ งหรอื บทละครส้นั ๆ ตัวชี้วัด ป.5/5 เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศิลป์ชดุ ต่าง ๆ ตวั ช้วี ัด ป.5/6 บอกประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการชมการแสดง มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศลิ ปท์ ี่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมปิ ัญญาไทยและสากล ตัวช้ีวัด ป.5/1 เปรียบเทยี บการแสดงประเภทตา่ ง ๆ ของไทย ในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ตัวชวี้ ดั ป.5/2 ระบหุ รอื แสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พืน้ บ้านทสี่ ะท้อนถงึ วัฒนธรรมและประเพณี

รหัสวชิ า ศ15101 โครงสร้างรายวิชา ต ภาคเรียนที่ 1 รายวิชา ทศั นศิลป์ ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 รวมเวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ สาระ ทศั นศิลป์ หนว่ ยที่ ชอ่ื หนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ ความคดิ รวบยอด เวลา น้าหนัก เรียนรู้ เรยี นรู้/ (ชว่ั โมง) คะแนน ตวั ช้วี ัด ๑ แสงสงี านศิลป์ มฐ. ศ ๑.๑ สใี นวงจรสธี รรมชาตเิ กิดจากการผสมกนั ๕ ๑๒ ป.๕/๓ ของแม่สี ซงึ่ แต่ละสีสามารถแบง่ เปน็ โทนสไี ด้ จากการไลค่ ่านา้ หนักอกี ดว้ ย การไล่คา่ นา้ หนกั มคี วามส้าคญั ในการสร้างสรรคง์ าน ทัศนศิลป์ สามารถแบง่ ระยะและสร้างมิติใน งานทศั นศิลป์ได้ ๒ สร้างสรรค์ มฐ. ศ ๑.๑ ในงานทัศนศิลป์ องค์ประกอบศลิ ป์เป็น ๕ ๑๓ องค์ประกอบ ป.๕/๑ อีกหน่งึ เรอ่ื งส้าคญั เปน็ สว่ นที่จะทา้ ใหผ้ ลงาน ศิลป์ ป.๕/๖ ถกู สรา้ งสรรค์ขน้ึ อย่างสวยงามและมหี ลักการ มฐ. ศ ๑.๒ การจดั วางภาพให้ดนู า่ สนใจ ซงึ่ งานทัศนศลิ ป์ ป.๕/๑ มีการสรา้ งสรรคใ์ นรปู แบบวิธีการท่แี ตกต่าง กัน สาระดนตรี – นาฏศิลป์ สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด เวลา นา้ หนกั หน่วยที่ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน (ช่วั โมง) คะแนน เรียนรู้ การเรยี นรู้/ ภาษาท่านาฏศลิ ป์และทา่ ทางประกอบ 4 10 ตวั ช้วี ัด เพลง เปน็ การถา่ ยทอดความรสู้ ึกและอารมณ์ 4 10 3 ลีลาสร้างสรรค์ มฐ. ศ 3.1 แสดงออกโดยใช้ท่าทางการเคล่อื นไหว ป. 5/1 เพอื่ สอื่ ความหมาย และเคลอื่ นไหวประกอบ ป. 5/2 จังหวะเข้ากับบทเพลง โดยใช้ความคดิ และ มฐ. ศ 2.1 จินตนาการในการสรา้ งสรรค์ ออกแบบ ป. 5/5 ท่าทางอย่างอิสระ ใชอ้ วัยวะส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายได้อย่างสวยงาม 4 นาฏศิลป์ ถน่ิ มฐ. ศ 2.1 สยาม ป. 5/5 นาฏศิลปไ์ ทย เป็นการแสดงอยา่ งหนง่ึ ของ มฐ. ศ 3.1 ไทย ทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์ประจ้าชาติ จ้าเป็นตอ้ ง ป. 5/3 ศกึ ษาเก่ยี วกับทา่ ร้า เคร่ืองแต่งกาย เนือ้ รอ้ ง มฐ. ศ 3.2 ป. 5/1 และท้านอง ทีถ่ กู จดั ไวอ้ ยา่ งเปน็ มาตรฐาน ป. 5/2 โดยผ้เู ชยี่ วชาญทางดา้ นนาฏศิลปไ์ ทย

ถ หน่วยท่ี ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนัก 5 เรียนรู้ การเรียนรู้/ (ช่ัวโมง) คะแนน ร้องเพลง ตัวชี้วดั เพลงพน้ื บา้ น คอื เพลงทเ่ี กดิ ข้นึ ในทอ้ งถน่ิ 2 5 ครืน้ เครงใจ ทีส่ ะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ วถิ ชี วี ิตความเปน็ อยู่ มฐ. ศ 2.1 ประเพณวี ัฒนธรรมทเี่ ป็นเอกลักษณ์ ป. 5/5 จงึ มลี ักษณะเฉพาะที่แตกต่างกนั ออกไป มฐ. ศ 3.2 เพลงพน้ื บ้าน อาจดดั แปลงมาจากการท้ามา ป.5/2 หากนิ วถิ ชี ีวติ อาชพี ของชาวบา้ นในแต่ละ ท้องถน่ิ น้นั ๆ รวมตลอดภาคเรียน 20 50

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เร่อื ง แสงสงี านศลิ ป์ ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 แสงสีงานศิลป์

๒ คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๕) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ แสงสงี านศิลป์ รหัสวิชา ศ๑๔๑๐๑ รายวชิ า ศิลปะ(ทัศนศลิ ป)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๕ ชั่วโมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั เกณฑ์การประเมนิ ผลช้ินงานหรือภาระงาน สาระ ทศั นศิลป์ มาตรฐานศ ๑.๑ สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจาวัน ตวั ช้วี ัด ศ ๑.๑ ป.๕/๒ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการ ทต่ี ่างกัน ศ ๑.๑ ป.๕/๓ วาดภาพ โดยใชเ้ ทคนคิ ของแสงเงา น้าหนกั และวรรณะสี ศ ๑.๑ ป.๕/๔ สรา้ งสรรค์งานป้นั จาก ดนิ นา้ มัน หรอื ดินเหนยี ว โดยเน้นการถา่ ยทอดจินตนาการ ศ ๑.๑ ป.๕/๗ บรรยายประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของงานทศั นศลิ ป์ทม่ี ีผลต่อชีวิตของคนในสงั คม ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด สใี นวงจรสีธรรมชาตเิ กิดจากการผสมกนั ของแม่สี ซ่ึงแตล่ ะสีสามารถแบ่งเป็นโทนสีได้จากการไล่ค่าน้าหนัก อีกด้วย การไล่ค่าน้าหนักมี ความสาคัญในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สา มารถแบ่งระยะและสร้างมิติ ในงานทัศนศลิ ปไ์ ด้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ - ความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั แสงเงา น้าหนัก และสี ทักษะ/กระบวนการ - สร้างสรรค์ผลงานทศั นศลิ ป์โดยใชแ้ สงเงา น้าหนกั และสีไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม เจตคติ - ทัศนคตทิ ่ดี ตี ่องานทศั นศลิ ป์ มองเห็นคุณค่าและความสาคญั ของงานทศั นศลิ ป์ ๔. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของ ตนเอง

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง แสงสีงานศลิ ป์ ๓ ๕. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - มีวินัย - ใฝ่เรยี นรู้ - มงุ่ มัน่ ในการทางาน - มจี ิตสาธารณะ ในการช่วยเหลอื และแบง่ ปนั วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการทางาน ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน - ภาพวาดระบายสี ประเมินผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธบิ ายคุณภาพ น้าหนกั คะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ เกณฑ์ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑. การวางแผน การปฏิบตั งิ านอยา่ ง การปฏบิ ัติงานอยา่ ง การปฏิบัตงิ านอยา่ ง ไม่มกี ารวางแผนใน กอ่ นการปฏิบตั ิ มลี าดบั ขน้ั ตอน มลี าดับขั้นตอน มีลาดบั ขน้ั ตอน การปฏบิ ตั งิ านให้มี ช้นิ งาน สามารถควบคมุ สามารถควบคมุ สามารถควบคุม ลาดับข้ันตอน และ เวลาการทางานได้ เวลาได้ แต่แบ่งเวลา เวลาได้ แต่แบ่ง ไมค่ วบคุมเวลาการ อย่างเหมาะสม ผดิ พลาดเลก็ นอ้ ย เวลาผดิ พลาด ปฏบิ ัติงาน ๒. ความถกู ตอ้ ง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไมต่ รงตาม สมบรู ณค์ รบถว้ น อยา่ งถูกตอ้ งตาม ถูกต้องตามหัวขอ้ ถูกต้องตามหวั ขอ้ หัวขอ้ หรือคาช้ีแจง ของชิ้นงาน หวั ข้อหรอื คาชีแ้ จง หรือคาช้แี จงกาหนด หรอื คาชีแ้ จงกาหนด ที่กาหนด กาหนดครบถ้วน แตผ่ ดิ พลาดบ้าง แต่ผิดพลาด สมบรู ณ์ เลก็ นอ้ ย ปานกลาง ๓. ความประณีต มคี วามสร้างสรรค์ มีความสร้างสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม แต่มี และดึงดดู ใจ ไมล่ อกเลียนแบบ ไมล่ อกเลียนแบบ มลี อกเลยี นแบบ การลอกเลยี นแบบ มกี ารนาเสนอที่ มกี ารนาเสนอท่ี เลก็ นอ้ ย มีการ ทาใหก้ ารนาเสนอ นา่ สนใจ สะอาด น่าสนใจ แต่ขาด นาเสนอท่นี ่าสนใจ ไมน่ า่ สนใจ เรยี บรอ้ ย ความสะอาด แต่ขาดความ เรยี บรอ้ ย สะอาดเรียบร้อย ๔. การสง่ งานตรง สามารถทางาน สามารถทางาน สามารถทางาน ไม่ส่งงานตามเวลา ตามเวลาทก่ี าหนด เสร็จสมบูรณ์ เสรจ็ สมบรู ณ์ เสร็จสมบรู ณ์ ทก่ี าหนดทง้ั สามครง้ั ส่งได้ตรงตามเวลา ส่งได้แต่ไม่ตามเวลา สง่ ไดแ้ ต่ไม่ตามเวลา ทก่ี าหนดภายใน ท่กี าหนดภายใน ท่กี าหนดภายใน ช้ันเรียนได้ ชน้ั เรียนในครั้งแรก ชั้นเรยี นในคร้ังแรก ตอ้ งมีการนดั หมาย ต้องมีการนัดหมาย ให้ส่งในคร้งั ถดั ไป ให้สง่ ในครง้ั ท่ี 3

๔ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๕) เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรบั ปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี ้นึ ไปจงึ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรือ่ ง แสงสงี านศลิ ป์ ๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง อุปกรณส์ ร้างสรรค์ทัศนศิลป์ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง แสงสีงานศลิ ป์ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาศิลปะ (ทศั นศิลป์) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่๕ 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้วี ัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ตอ่ งานศลิ ปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ป. ๕/๒ เปรียบเทยี บความแตกตา่ งระหว่างงานทศั นศิลป์ ท่ีสร้างสรรคด์ ว้ ยวัสดอุ ปุ กรณแ์ ละวิธีการที่ตา่ งกนั ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด งานทัศนศิลป์ประกอบด้วยจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และภาพพิมพ์ ซ่ึงแต่ละรูปแบบ มีเทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ และวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานแตกต่างกัน ผู้สร้างสรรค์ผลงาน พึงรู้ และเข้าใจคุณสมบัตขิ องวัสดุอุปกรณใ์ นการสรา้ งงานทศั นศิลป์ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - เปรียบเทยี บความแตกต่างของรปู แบบงานทศั นศลิ ป์แต่ละประเภท 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลปป์ ระเภทจติ รกรรม ด้วยวสั ดุอปุ กรณท์ เี่ หมาะสม 3.3 ด้านคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - ตระหนกั และเห็นคุณค่าของวัสดอุ ุปกรณ์ท่ีใช้ในการสร้างสรรคผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ รูปแบบงานทัศนศลิ ป์ ๔.๒ วัสดอุ ุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นงานทัศนศิลป์ ๕. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสอื่ สาร - ความสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นคติ ๖. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๖.๑ มวี ินัย ๖.๒ ใฝเ่ รยี นรู้ ๖.๓ มงุ่ มัน่ ในการทางาน ๖.๔ มีจติ สาธารณะ ในการช่วยเหลือกัน ในการปฏิบัตงิ านกลุม่ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้

๖ การจดั กิจกรรมการเรียนร แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรือ่ รายวิชา ศลิ ปะ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ ลาดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา กจิ กรรม ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ ๑ ขน้ั นา ๑๐ ๑. ครูกลา่ วทักทาย ๒ ๑. เปรียบเทยี บความ ข้นั สอน แตกตา่ งของรปู แบบงาน นาที ตน้ ทางและปลายท ทศั นศิลป์แต่ละประเภท ทง้ั ห้องเรียน พร้อม จุดประสงค์การเรยี นักเรยี นทราบ ๒.ครูใหน้ กั เรียนสัง ต่าง ๆ ทีค่ รเู ตรียม สนี ้า สีโปสเตอร์ พ กระดาน หมกึ พมิ พ งานศลิ ปะตา่ ง ๆ 10 1. ครูใหน้ ักเรียนแ นาที กลุ่ม ๆ ละ ๔ คน 2. ครแู จก ชื่อวัสด และภาพตัวอย่าง โ กลุ่มจะไดช้ อ่ื อุปกร ตัวอยา่ งผลงานทแ่ี 3. ครูอธบิ าย เกีย่ ว อปุ กรณท์ ค่ี วรใชก้ บั

คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๕) รู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ อง อุปกรณส์ รา้ งสรรคท์ ัศนศิลป์ เรอื่ ง แสงสงี านศิลป์ จานวน ๑ ชัว่ โมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ มครู กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ ยนกั เรียน ๑. วัสดอุ ปุ กรณ์ - การถาม-ตอบ ทาง งานทัศนศิลป์ มแจง้ เช่น สีไม้ สีน้า ยนรู้ให้ ดนิ สอ พู่กัน หมึกพมิ พ์ งเกตอปุ กรณ์ ๑. นกั เรียนร่วมกันสงั เกต แทน่ พมิ พ์ เปน็ ต้น มมา เช่น สไี ม้ อปุ กรณท์ ่ีครูเตรียมมา พู่กัน ดินนา้ มัน ๒. นกั เรียนชว่ ยกนั วเิ คราะห์ พ์ และภาพ ภาพผลงานงานแต่ละชิน้ วา่ ใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ใดบ้าง แบง่ ๑. นักเรียนแบง่ กลมุ่ ๆ ๑. ตวั อยา่ ง - การถาม–ตอบ ละ ๔ คน ผลงาน - แบบสงั เกต ดุอุปกรณ์ ๒. นักเรยี นภายในกลุ่ม ๒. สลากบตั รภาพ พฤตกิ รรม โดยแต่ละ ร่วมกันวิเคราะห์ วัสดอุ ุปกรณ์ ๓. สลากอปุ กรณ์ รณ์ หรอื ภาพ และภาพตัวอยา่ งทไ่ี ด้ ๔. PowerPoint แตกต่างกนั และฟงั ค้าอธิบายจากครู วกับวสั ดุ บงาน

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่อื ง แสงสีงานศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา กิจกรรม ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ 3 ๒. สรา้ งสรรคผ์ ลงาน ข้ันปฏบิ ตั ิ จิตรกรรม ปะตมิ าก ภาพพิมพพ์ รอ้ มยก ทศั นศิลปป์ ระเภทจติ รกรรม ดว้ ยวัสดุอปุ กรณ์ทเี่ หมาะสม ผลงานประกอบ 4. ครูซักถามนกั เร ความเข้าใจในการ อุปกรณก์ ับรูปแบบ ทัศนศิลป์ ๓๐ ๑. ครูให้นกั เรียนท นาที จับคู่ หาคู่ ชอ่ื อปุ ก ผลงานทัศนศิลป์ โ ช่อื อุปกรณต์ อ้ งไปจ ท่ไี ดภ้ าพผลงาน ท อปุ กรณเ์ ดยี วกนั ๒. ครชู ีแ้ จงกจิ กรร เมือ่ นักเรียนจับคแู่ นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม สรา้ งสรรคผ์ ลงานจ ท่ีจับคไู่ ด้

๗ แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนักเรยี น กรรม และ กตัวอยา่ งภาพ รียนถึง ๓. นักเรยี นตอบคา้ ถาม ใช้วัสดุ เกยี่ วกบั ความเข้าใจใน บของงาน การใชว้ สั ดุอปุ กรณก์ บั รปู แบบ ท้ากจิ กรรม ของงานทศั นศลิ ป์แขนงต่าง ๆ กรณ์กับภาพ โดยกลมุ่ ท่ไี ด้ ๑. นักเรยี นท้ากิจกรรมตามหา ๑. สลากบตั รภาพ - แบบประเมิน จบั คู่ กบั กล่มุ ที่ใช้วัสดุ ค่อู ุปกรณก์ บั ภาพผลงาน ๒. สลากอปุ กรณ์ ชน้ิ งาน ๓. กระดาษ รม รอ้ ยปอนด์ แลว้ ให้ มรว่ มกนั ๔. วสั ดอุ ุปกรณ์ จากอปุ กรณ์ งานทัศนศิลป์ ๒. นักเรยี นร่วมกนั สรา้ งสรรค์ เชน่ สีชอล์ก ผลงานจากอุปกรณท์ จี่ บั คู่ได้ สีไม้ สนี ้า ดินสอ ๓.นักเรยี นร่วมกันนา้ เสนอ พกู่ นั ผลงาน

๘ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา กิจกรรม ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ 4 ๓. ตระหนักและเหน็ คุณคา่ ข้นั สรปุ ๑๐ ๑. ครบู รรยายสรปุ ของวัสดุอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการ นาที ของงานทัศนศลิ ป์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นงาน รูปแบบต่าง ๆ ๒. ครวู ิจารณผ์ ลงา พรอ้ มชแ้ี นะแนวท ปรับปรงุ แก้ไข

คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๕) แนวการจดั การเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนกั เรยี น - ถาม-ตอบ ป รปู แบบ ๑. นักเรยี นรว่ มกนั อภิปราย - แบบประเมนิ และวัสดุ ความรู้สึกหรือความประทับใจ ช้นิ งาน นทศั นศิลป์ จากผลงานท่นี กั เรียนรว่ มกัน สร้างสรรค์ พรอ้ มบอก านนกั เรยี น การเลือกใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ใน ทางการ การสรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์ และแนวทางในการนา้ ไปใช้ สร้างสรรคผ์ ลงานคร้งั ต่อไป

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง แสงสีงานศลิ ป์ ๙ ๘. สื่อการเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ ๘.๑ PowerPoint ๘.๒ สลากบตั รภาพและช่อื อุปกรณ์ ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑก์ ารประเมินผลชน้ิ งานหรือภาระงาน เกณฑ์การประเมินผล ชน้ิ งานการวาดภาพระบายสี : เรอื่ งอปุ กรณส์ ร้างสรรคท์ ัศนศลิ ป์ รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ๔ ๒๑ 1. การจัด มคี วามสมบูรณใ์ นการจัดวาง มีความสมบรู ณใ์ นการจัดวาง การจดั องค์ประกอบ องคป์ ระกอบ การจัดองค์ประกอบ การจัดองคป์ ระกอบ เปน็ ส่วน ของภาพการจัดวางภาพ ของภาพ มจี ดุ สนใจของภาพ ใชส้ ัดส่วน ใหญ่ มจี ดุ สนใจของภาพ ยงั ไม่เกิดความสมบรู ณ์ และพื้นทไ่ี ดเ้ หมาะสม การใช้สดั ส่วนและพื้นทยี่ งั ไมเ่ หมาะสมเทา่ ทค่ี วร 2. ความคดิ นกั เรียนสรา้ งสรรคช์ ิ้นงานได้ นกั เรียนสร้างสรรค์ช้ินงานได้ นักเรยี นสร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ มคี วามน่าสนใจ แปลกใหมแ่ ต่ยังดไู มน่ า่ สนใจ ชิน้ งาน ยงั ไม่แปลกใหม่ และการเลอื กใช้ และเลือกใชว้ ัสดุอปุ กรณไ์ ด้ และเลอื กใชว้ สั ดอุ ปุ กรณไ์ ด้ และยังไมน่ า่ สนใจ วัสดอุ ุปกรณไ์ ด้ ถูกตอ้ งเหมาะสม ถูกต้องเหมาะสม การเลอื กใช้วัสดุอปุ กรณ์ อยา่ งเหมาะสม ไม่ถูกต้องกบั งาน 3. เทคนคิ นกั เรยี นลงสชี นิ้ งานไดอ้ ย่าง นกั เรียนลงสชี น้ิ งานไดอ้ ยา่ ง นกั เรยี นลงสีชิน้ งาน การใช้สี สมบรู ณ์เตม็ พนื้ ท่ขี องผลงาน สมบรู ณเ์ ตม็ พ้ืนทขี่ องผลงาน ไมส่ มบรู ณ์ สสี ันสวยงามเกิดแสงเงา และน่าสนใจ 4. ความสวยงาม นักเรยี นทา้ งานประณตี นักเรยี นท้างานประณีต สะอาด นกั เรยี นทา้ งานไม่ ความประณตี สวยงาม สะอาด เรียบรอ้ ย เรยี บร้อย แตย่ ังไมเ่ กิดความ ประณตี ไม่สะอาด สวยงาม เรยี บรอ้ ยเทา่ ทีค่ วร ยงั ไม่เกิดความสวยงาม 5. การถา่ ยทอด พดู บรรยายเร่ืองราวผ่าน พดู บรรยายเร่ืองราวผา่ นช้ินงาน พูดบรรยายเรอ่ื งราวผา่ น เร่อื งราว ชน้ิ งานถ่ายทอดความ ถ่ายทอดความประทับใจ ช้นิ งาน ถ่ายทอดความ ประทับใจ บอกการเลือกใช้ บอกการเลอื กใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ใน ประทับใจ บอกการ วสั ดุอปุ กรณใ์ นการสร้างสรรค์ การสรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ เลอื กใช้วสั ดุอปุ กรณใ์ น งานทศั นศิลป์ได้อย่างถูกต้อง ได้อยา่ งถกู ตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ การสร้างสรรค์งาน ครบถว้ น และน่าสนใจ และน่าสนใจ ทัศนศลิ ป์ได้ แตไ่ ม่ ครบถ้วน ไมน่ ่าสนใจ เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๕-๒๐ ดีมาก ๑๐-๑๕ ดี ๑-๙ พอใช้ หมายเหตุ ระดบั ดีขน้ึ ไปจึงถือว่าผา่ นเกณฑ์

๑๐ คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๕) แบบประเมินพฤติกรรม รายการประเมิน ลาดบั ชอ่ื -นามสกุล มงุ่ ม่ันต้ังใจ เพยี รพยายาม รบั ผดิ ชอบ รักษาและเหน็ ตรงตอ่ เวลา ท่ี ทางาน อดทน คุณค่าของ อปุ กรณ์ ๑๒๓ ๔๑๒ ๓๔๑๒ ๓๔๑๒ ๓๔๑ ๒๓๔ เกณฑก์ ารประเมนิ พฤติกรรม รายการประเมนิ ผล ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔ ๓ ๒๑ ๑. นกั เรียนตง้ั ใจ ผเู้ รียนมคี วามมุ่งมั่น ผู้เรยี นมคี วามมุ่งมัน่ ผเู้ รยี นมีความมุ่งม่ัน ผ้เู รยี นไมม่ ี ท้างานทไ่ี ดร้ บั ต้งั ใจทา้ งานที่ได้รับ ต้ังใจท้างานทไ่ี ด้รบั ตั้งใจท้างานทไ่ี ดร้ ับ ความมุ่งมนั่ ต้ังใจ มอบหมาย มอบหมายจนสา้ เรจ็ มอบหมายจนสา้ เร็จ มอบหมายจนสา้ เรจ็ ทา้ งานทีไ่ ด้รบั ตลอดท้งั คาบ แต่มีคุยเลน่ บ้าง มีคยุ เลน่ และไมต่ ัง้ ใจ มอบหมายจน ๒. ผู้เรยี นทา้ งานด้วย ทา้ งานบ้าง สา้ เร็จ ความเพยี รพยายาม ผ้เู รียนท้างานดว้ ย ผเู้ รียนท้างานดว้ ย ผู้เรียนไม่มีความ อดทนเพอื่ ทา้ ใหเ้ สรจ็ ความเพียรพยายาม ความเพยี รพยายาม ผู้เรียนทา้ งานด้วย เพียรพยายาม ตามเป้าหมาย อดทนเพอ่ื ท้าใหเ้ สรจ็ อดทนเพอื่ ทา้ ใหเ้ สร็จ ความเพียรพยายาม อดทนเพอ่ื ตามเป้าหมายตลอด ตามเป้าหมาย แต่คยุ อดทนเพอ่ื ท้าใหเ้ สรจ็ ทา้ งานให้เสรจ็ ๓. ผ้เู รียนมคี วาม ทัง้ คาบ เลน่ กันบ้าง ตามเปา้ หมาย ตามเปา้ หมาย รับผิดชอบส่งงานตรง บางครงั้ มีคยุ เลน่ ตามเวลาทก่ี า้ หนด ผ้เู รยี นสง่ งานตรง ผูเ้ รยี นสง่ งานช้า และไม่สนใจงานบ้าง ผูเ้ รยี นสง่ งานช้า ตามเวลาทกี่ ้าหนด 1 วนั 3 วันขน้ึ ไป ผู้เรยี นสง่ งานช้า 2 วัน ๔. ผเู้ รียนรักษาและ ผเู้ รยี นเกบ็ และดูแล ผ้เู รยี นดูแลอปุ กรณท์ ี่ ผเู้ รยี นเกบ็ และดแู ล ผู้เรียนไม่เกบ็ เห็นคณุ ค่าของ อปุ กรณท์ ่ีใช้ในการ ใชใ้ นการท้างานทุก อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการ และไม่ดูแล อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ น ท้างานทุกชิ้นอยา่ ง ชน้ิ แต่เก็บไม่ ท้างานบางช้ิน อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ใน การทา้ งาน การทา้ งาน เรยี บร้อย เรียบรอ้ ย ผเู้ รยี นเข้าเรยี นช้า 15-20 นาที ผเู้ รยี นเขา้ เรยี น ๕. ผเู้ รยี นเข้าเรยี น ผเู้ รยี นเขา้ เรยี นตรง ผูเ้ รยี นเขา้ เรยี นช้า ชา้ 30 นาทีเป็น ตรงตอ่ เวลา เวลา 10-15 นาที ต้นไป

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เร่ือง แสงสีงานศลิ ป์ ๑๑ เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี นึ้ ไปจึงถือว่าผ่านเกณฑ์ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ความส้าเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอปุ สรรค ........................................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................. ........................................................ ข้อจา้ กัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชื่อ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................... ................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ................

๑๒ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๕) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่ือง นา้ หนักแสงเงา เวลา ๑ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ เรื่อง แสงสงี านศิลป์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ รายวิชาศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป์) 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอย่างอิสระ ช่นื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน ป. ๕/๓ วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา นาหนัก และวรรณะสี ๒. สาระส้าคญั /ความคิดรวบยอด นาหนกั และแสงเงา หมายถึง ความอ่อนแก่ของสีหรือแสงเงาที่นามาใช้ในการเขียนภาพ จานวนความเข้ม อ่อนของสีต่าง ๆ และแสงเงาตามท่ีประสาทตาสัมผัส ผู้เรียนต้องรับรู้และเข้าใจหลักในการใช้แสงเงา เพ่ือนามา สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ปใ์ ห้เกิดความสวยงามและเสมอื นจริง ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธบิ าย/เปรยี บเทยี บความแตกต่างของภาพที่มนี า้ หนกั แสงเงากบั ภาพที่ไมม่ ีน้าหนักแสงเงา 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรค์ผลงานทศั นศิลปใ์ หเ้ กิดนา้ หนักแสงเงาของสี 3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - ตระหนักถึงคุณค่าของแสงเงาทเ่ี กิดข้ึนในผลงานทัศนศิลป์ ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ นาหนัก แสงเงา ๕. สมรรถนะส้าคัญของผเู้ รยี น ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความร้สู ึก และทัศนคติ ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๖.๑ มวี ินยั ๖.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓ ม่งุ ม่นั ในการทางาน ๖.๔ มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง แสงสงี านศลิ ป์ การจดั กจิ กรรมการเรยี นร แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ รายวชิ า ศิลปะ (ทัศนศิลป)์ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ลา้ ดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขั้นตอนการจดั เวลา กิจกรรม ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ ๑ ข้ันนา้ ๑๐ ๑. ครกู ล่าวทกั ทาย ๒ 1. อธิบายและเปรยี บเทียบ ขน้ั สอน นาที ต้นทางและปลายท ความแตกตา่ งของภาพ ที่มีน้าหนกั แสงเงากบั ภาพท่ี ทัง้ หอ้ งเรียน พร้อม ไม่มีน้าหนักแสงเงา จุดประสงค์การเรยี ให้นกั เรยี นทราบ ๒. ครซู กั ถามนกั เร การระบายสภี าพ เ น้าหนักแสงเงาสี จ มลี กั ษณะอยา่ งไร ๓. ครูซกั ถามนกั เร การใช้สี ว่าสามาร ในการทา้ ใหเ้ กดิ น้า ไดห้ รือไม่ อยา่ งไร ๑๐ ๑. ครูอธบิ ายเกี่ยวก นาที ความสา้ คญั และล การเกดิ น้าหนักแส

๑๓ รู้ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ ๒ เรอ่ื ง น้าหนักแสงเงา ๑ เร่อื ง แสงสงี านศลิ ป์ จานวน ๑ ช่วั โมง แนวการจดั การเรยี นรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ มครู กิจกรรมนักเรียน - การถาม-ตอบ ยนกั เรยี น ๑. นกั เรียนรว่ มกันตอบคา้ ถาม ทาง เชน่ ภาพดูสมจริง ดสู วยงาม มแจง้ มากขึ้น เป็นต้น ยนรู้ รยี นเกย่ี วกบั ๒. นักเรียนร่วมกันตอบคา้ ถาม - การถาม-ตอบ เม่ือมกี ารไล่ เชน่ ไดโ้ ดยการใชส้ แี ดง - แบบสงั เกต จะทา้ ให้ภาพ สีเหลอื ง และสีสม้ ระบายสี ทอ้ งฟ้าช่วงพระอาทิตยต์ กดนิ พฤตกิ รรม รียน เก่ยี วกับ รถใช้สี หลายสี ๑. นักเรียนร่วมกันอภปิ รายวา่ ๑. ตวั อย่าง าหนกั แสงเงา การระบายสีภาพพนื้ หลัง ผลงาน เช่นอะไร ทีม่ ีการไล่น้าหนกั แสงเงาของสี 2. PowerPoint กบั ความหมาย กบั สที ี่มีน้าหนักเบา เกดิ ขน้ึ ได้ น้าหนกั แสงเงา ลกั ษณะ อยา่ งไร และทา้ ให้เกดิ สงเงาของสี

๑๔ ล้าดับ ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้ันตอนการจดั เวลา กจิ กรรม ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ 3 ๒. สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ขั้นปฏบิ ตั ิ ๒. ครูอธบิ ายเกี่ยว ให้เกิดนา้ หนกั แสงเงาของสี สที ไี่ ม่เกิดนา้ หนักแ กับการระบาย ท่ีม แสงเงาของสี จะท ความแตกตา่ งกัน ๓. ครูให้ตัวอย่างภ นักเรยี น และให้นัก อภปิ รายเรื่องน้าหน สี ในการระบายภา วา่ เกิดขึน้ ได้อยา่ งไ ความแตกตา่ งกนั อ พรอ้ มยกตัวอย่างภ ๓๐ ๑. ครูอธบิ ายลักษณ นาที สที เี่ หมาะสมกับภา ภาพเกิดความสวย ของสีมีความเก่ยี วข การระบายแสงเงา ๒. ครูให้นักเรยี นป ช้แี จงขั้นตอน การท การลงน้าหนกั แสง

ค่มู ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๕) แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรียน วกบั การระบาย ความรู้สกึ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร แสงเงา มีการไล่นา้ หนกั ท้าใหภ้ าพเกดิ ภาพผลงานกบั ๑. นักเรียนวาดภาพคนละ ๑. สมุดวาด - แบบประเมนิ กเรยี นร่วมกัน ๒ ภาพ เขียน ช้ินงาน นักแสงเงาของ ๒. ดนิ สอสี าพพนื้ หลงั ภาพท่ี ๑ ลงนา้ หนกั แสงเงา ไร และเกดิ อยา่ งไร ดว้ ยสที ีช่ อบเพียงสเี ดียว ภาพประกอบ ภาพท่ี ๒ ลงน้าหนักแสงเงา ณะของการใช้ าพ จะท้าให้ ดว้ ยสหี ลายสี ยงาม น้าหนกั ข้องกบั ๒. นักเรยี นน้าเสนอผลงาน าในภาพ ปฏบิ ัติงาน และ ทา้ งานเกย่ี วกบั งเงาของสี

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง แสงสงี านศลิ ป์ ลา้ ดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขั้นตอนการจัด เวลา กจิ กรรม ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ 4 ๓. ตระหนักถงึ คณุ คา่ ของแสง ขน้ั สรปุ ๑๐ ๑. ครูสรปุ ความรเู้ เงาทเี่ กดิ ข้ึนในผลงานทศั นศลิ ป์ นาที น้าหนักแสงและเง ๒. ครวู ิจารณผ์ ลงา พร้อมชี้แนะแนวท ปรบั ปรงุ แก้ไข

๑๕ แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ มครู กิจกรรมนักเรียน เกยี่ วกับเรอ่ื ง 1. นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปราย - แบบประเมนิ าของสี ความร้สู กึ หรือความประทับใจ ชิ้นงาน - ถาม-ตอบ านของนักเรยี น จากผลงานที่นกั เรียนท้า ทางการ พรอ้ มบอกแนวทางและ การน้าไปใชใ้ นผลงาน ครั้งตอ่ ไป

๑๖ คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๕) 8. สือ่ การเรยี นรู/้ แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ PowerPoint น้าหนักแสงเงา ๘.๒ ตัวอย่างผลงานนา้ หนัก แสงและเงา 9. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑก์ ารประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ชนิ้ งานการวาดภาพระบายสี : เรื่อง น้าหนกั แสงเงา รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ๑ ๔๒ 1. การจัด มคี วามสมบูรณใ์ นการจัดวาง มคี วามสมบรู ณ์ในการจดั วาง การจดั องค์ประกอบของ องคป์ ระกอบ การจดั องคป์ ระกอบ การจัดองคป์ ระกอบ ภาพการจัดวางภาพยงั ไม่ ของภาพ มีจุดสนใจของภาพ ใชส้ ดั สว่ น เป็นส่วนใหญ่ มจี ุดสนใจของ เกดิ ความสมบรู ณ์ และพ้ืนทไี่ ด้เหมาะสม ภาพ การใชส้ ดั ส่วนและพน้ื ท่ียัง ไมเ่ หมาะสมเทา่ ทคี่ วร 2. ความคิด นกั เรียนสรา้ งสรรคช์ น้ิ งานได้ นกั เรยี นสร้างสรรคช์ นิ้ งานได้ นักเรยี นสร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ มคี วามน่าสนใจ แปลกใหมแ่ ต่ยังดไู มน่ ่าสนใจ ชนิ้ งานยงั ไมแ่ ปลกใหม่ 3. เทคนิคการใช้ นักเรียนลงสชี น้ิ งานไดอ้ ย่าง นักเรยี นลงสชี ิน้ งานไดอ้ ยา่ ง นักเรยี นลงสีชิ้นงาน สี สมบรู ณ์เตม็ พ้นื ท่ขี องผลงาน สมบรู ณ์เตม็ พนื้ ท่ขี องผลงาน ไม่สมบรู ณ์ ไมเ่ กดิ การไล่ 4. ความสวยงาม ความประณีต มีการไลน่ ้าหนกั แสงเงาของสี มกี ารไลน่ ้าหนักแสงเงาของสี น้าหนกั แสงเงาของสี 5. การถา่ ยทอด สสี นั สวยงาม และนา่ สนใจ แต่ยงั ไม่เกิดความสวยงาม เรอ่ื งราว นกั เรยี นทา้ งานประณตี นักเรียนท้างานประณตี สะอาด นักเรียนท้างาน สวยงาม สะอาด เรยี บร้อย เรยี บรอ้ ย แตย่ งั ไมเ่ กดิ ความ ไมป่ ระณตี ไม่สะอาด สวยงาม เรียบร้อยเทา่ ที่ควร ยังไม่เกิดความสวยงาม พดู บรรยายเรอ่ื งราวผ่าน พูดบรรยายเร่ืองราวผ่านชน้ิ งาน พูดบรรยายเรื่องราวผ่าน ช้นิ งานบรรยายเปรียบเทยี บ บรรยายเปรียบเทยี บภาพสองภาพ ชิน้ งานบรรยาย ภาพสองภาพได้อยา่ งถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ เปรียบเทียบ ภาพสอง ครบถว้ น และนา่ สนใจ และน่าสนใจ ภาพได้ แตไ่ มค่ รบถ้วน ไมน่ ่าสนใจ เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๕-๒๐ ดมี าก ๑๐-๑๕ ดี ๑-๙ พอใช้ หมายเหตุ ระดบั ดขี ้นึ ไปจึงถือวา่ ผ่านเกณฑ์

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอ่ื ง แสงสีงานศลิ ป์ ๑๗ แบบประเมินพฤติกรรม รายการประเมนิ ลา้ ดบั ชื่อ-นามสกุล มุ่งมั่นตงั้ ใจ เพียรพยายาม รบั ผดิ ชอบ รักษาและเห็น ตรงต่อเวลา ที่ ทา้ งาน อดทน คุณค่าของ อปุ กรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรม รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๓ ๒๑ ประเมนิ ผล ๔ ๑. นักเรยี นตงั้ ใจ ผู้เรียนมีความมงุ่ มัน่ ผเู้ รยี นมคี วามมุ่งม่นั ผู้เรียนมคี วามมุ่งมน่ั ผเู้ รียนไม่มคี วาม ทา้ งานท่ีได้รบั ตง้ั ใจท้างานทไ่ี ด้รับ ต้งั ใจทา้ งานที่ไดร้ บั ตัง้ ใจท้างานที่ไดร้ บั มงุ่ มนั่ ตง้ั ใจ มอบหมาย มอบหมายจนส้าเรจ็ มอบหมายจนส้าเรจ็ มอบหมายจนสา้ เร็จ ท้างานทไี่ ด้รบั ตลอดทัง้ คาบ แต่มคี ุยเลน่ บ้าง มีคุยเล่น และไม่ต้ังใจ มอบหมายจน ท้างานบา้ ง ส้าเรจ็ ๒. ผเู้ รียนท้างาน ผู้เรียนท้างานดว้ ย ผเู้ รียนทา้ งานด้วย ผูเ้ รียนทา้ งานดว้ ยความ ผู้เรียนไมม่ ีความ ดว้ ยความเพยี ร ความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายาม เพียรพยายาม อดทน เพยี รพยายาม พยายาม อดทน อดทนเพือ่ ทา้ ใหเ้ สรจ็ อดทนเพอ่ื ทา้ ใหเ้ สร็จ เพอ่ื ทา้ ให้เสรจ็ ตาม อดทนเพ่ือ เพ่ือท้าใหเ้ สรจ็ ตาม ตามเป้าหมายตลอด ตามเป้าหมาย แตค่ ยุ เป้าหมายบางครั้ง ท้างานให้เสร็จ เปา้ หมาย ท้ังคาบ เล่นกันบ้าง มีคยุ เล่นและไมส่ นใจ ตามเปา้ หมาย งานบา้ ง ๓. ผเู้ รยี นมีความ ผเู้ รยี นสง่ งานตรง ผูเ้ รียนสง่ งานช้า ผเู้ รยี นสง่ งานช้า 2 วัน ผ้เู รียนสง่ งานชา้ รับผิดชอบส่งงาน ตามเวลาทกี่ า้ หนด 1 วัน 3 วันขึน้ ไป ตรงตามเวลาที่ กา้ หนด ๔. ผเู้ รียนรักษา ผ้เู รียนเกบ็ และดแู ล ผู้เรยี นดแู ลอปุ กรณ์ที่ ผเู้ รียนเกบ็ และดแู ล ผเู้ รยี นไมเ่ กบ็ และเห็นคุณคา่ ของ อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ น ใชใ้ นการทา้ งานทกุ อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการ และไม่ดแู ล อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการ การท้างานทกุ ช้ิน ชน้ิ แต่เก็บไม่ ท้างานบางชิน้ อุปกรณท์ ี่ใช้ใน ท้างาน อย่างเรยี บร้อย เรยี บรอ้ ย การท้างาน ๕. ผเู้ รยี นเขา้ เรยี น ผูเ้ รยี นเข้าเรียน ผู้เรยี นเขา้ เรียนช้า ผเู้ รียนเข้าเรียนชา้ ผเู้ รยี นเข้าเรยี น ตรงต่อเวลา ตรงเวลา 10-15 นาที 15-20 นาที ชา้ 30 นาที เปน็ ต้นไป

๑๘ คู่มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๕) ช่วงคะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๑-๑๕ ดมี าก ๖-๑๐ ดี 1-5 พอใช้ ควรปรับปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดีข้นึ ไปจงึ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ 10. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ความส้าเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ........................................................................................................................................ ................................................. ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................................................................ ............. ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ขอ้ จา้ กดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................. ............................................ ลงช่อื ...................................................... ผ้ตู รวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรื่อง แสงสงี านศลิ ป์ ๑๙ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรอื่ ง น้าหนักแสงเงาและวรรณะสี หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง แสงสงี านศิลป์ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ รายวิชาศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป์) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชวี้ ัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ป. ๕/๓ วาดภาพ โดยใชเ้ ทคนิคของแสงเงา น้าหนัก และวรรณะสี ๒. สาระสา้ คัญ/ความคิดรวบยอด นา้ หนักและแสงเงา หมายถึง ความอ่อนแก่ของสีหรือแสงเงาท่ีนามาใช้ในการเขียนภาพ จานวนความเข้ม อ่อนของสีต่าง ๆ และแสงเงาตามที่ประสาทตาสัมผัส ผู้เรียนต้องรับรู้และเข้าใจหลักในการใช้แสงเงา เพื่อนามา สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปใ์ หเ้ กิดความสวยงามและเสมือนจรงิ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธบิ ายและเปรียบเทยี บความแตกต่างระหว่างภาพที่มีน้าหนักแสงเงาในวรรณะสีอุ่นกับภาพที่มีน้าหนัก แสงเงาในวรรณะสเี ยน็ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรค์ผลงานทศั นศิลปใ์ หเ้ กิดนา้ หนกั แสงเงาในวรรณะสีอนุ่ และวรรณะสีเยน็ 3.3 ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - ตระหนกั ถงึ คุณค่าความรสู้ ึกของการใช้นา้ หนักแสงเงาในวรรณะสี สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ นา้ หนัก แสงเงา และวรรณะสี ๕. สมรรถนะสา้ คญั ของผเู้ รยี น ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสอื่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความเข้าใจ ความร้สู ึก และทัศนคติ ๖. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ใฝเ่ รียนรู้ ๖.๓ มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๖.๔ มีจติ สาธารณะ 7. กจิ กรรมการเรียนรู้

๒๐ การจัดกิจกรรมการเรยี นร แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓ เรอื่ รายวิชา ศิลปะ (ทัศนศลิ ป์) หน่วยการเรยี นรู้ท ล้าดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขนั้ ตอนการจดั เวลา กจิ กรรมค ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ ๑ ขน้ั นา้ ๑๐ ๑. ครกู ล่าวทักทายนักเร นาที และปลายทาง ทงั้ ห้องเร จุดประสงค์การเรียนรใู้ ห ๒. ครูใหน้ กั เรียนดภู าพ ทม่ี ีน้าหนกั สี เปน็ วรรณ และภาพท่มี ีน้าหนกั สี เป แลว้ ให้นักเรียนเปรียบเท ท่ีมา : https://www.pint in/34051442181930660 phC2V

คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๕) รู้ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ อง น้าหนักแสงเงาและวรรณะสี ที่ ๑ เรื่อง แสงสีงานศิลป์ จ้านวน ๑ ชว่ั โมง แนวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมิน ครู กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ รียนตน้ ทาง ๑. นักเรียน ดภู าพตวั อย่าง ๑. ตวั อยา่ งภาพ - การถาม-ตอบ รียนพร้อมแจ้ง สองภาพทคี่ รูเตรยี มมา ห้นกั เรียนทราบ ร่วมกันเปรียบเทยี บความรสู้ กึ ๒ ภาพ ระหว่างสองภาพ ทง้ั สองภาพ ณะสอี ุ่น ใหค้ วามรสู้ กึ แตกตา่ งกนั ปน็ วรรณะสเี ยน็ อย่างไร เชน่ รสู้ ึกรอ้ น รู้สกึ เยน็ ทยี บความรสู้ กึ เป็นตน้ terest.com/p 09/?nic_v2=1a5X

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑ เร่ือง แสงสงี านศลิ ป์ ล้าดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา กจิ กรรมค ที่ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ ๒ ๑. อธิบายและ ขนั้ สอน ๑๐ ๑. ครูอธิบาย ถึงการให เปรยี บเทยี บความ ขนั้ ปฏิบัติ นาที ในวรรณะสี และการเลอื แตกต่างระหว่างภาพท่ีมี นา้ หนักแสงเงาในวรรณะ ให้เหมาะสมกบั ภาพ เช่น สรี อ้ น กบั ภาพท่มี ี ถงึ ความรู้สึกร้อนแรงมา น้าหนกั แสงเงาในวรรณะ วรรณะสรี ้อน เป็นต้น สีเยน็ ๒. ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกนั 3 ๒. สรา้ งสรรคผ์ ลงาน เปรยี บเทียบความแตกต ทศั นศลิ ป์ใหเ้ กิดนา้ หนัก น้าหนกั แสงเงาในวรรณ แสงเงาในวรรณะสรี อ้ น และวรรณะสเี ยน็ กับน้าหนกั แสงเงาในวรร ๓๐ ๑. ครชู ้แี จงขนั้ ตอนการ นาที ขัน้ ตอนการลงนา้ หนกั แ ในวรรณะสีตา่ ง ๆ โดยใ จับสลากความรสู้ กึ แลว้ เลือกใชว้ รรณะสใี ห้เหมา ความรสู้ กึ ทจ่ี บั สลากได้ น้าหนกั แสงเงาสใี หเ้ กดิ ค ๒. ครูอธบิ าย ถงึ การเลือ ให้เหมาะกบั ภาพและกา เงาของสี เป็นสิง่ หนึ่งทีจ่ เกดิ ความสวยงาม และบ อารมณค์ วามรสู้ กึ ไดเ้ ปน็

๒๑ แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมนิ ครู กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู้ ้นา้ หนกั แสงเงา ๑. นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายว่า ๑. ตวั อย่างงาน - การถาม-ตอบ อกใช้วรรณะสี การระบายสพี ื้นหลงั ดว้ ย 2. PowerPoint - แบบสังเกต น ถา้ ตอ้ งการสอื่ พฤติกรรม าก กค็ วรเลอื กใช้ การไล่นา้ หนกั แสงเงาใน นา้ หนกั แสง วรรณะสรี ้อน กับการไล่ เงาและ - แบบประเมนิ นอภิปราย นา้ หนกั แสงเงาในวรรณะ วรรณะสี ช้นิ งาน ต่าง ระหวา่ ง ณะสีรอ้ น สเี ย็น ให้ความรสู้ ึกแตกตา่ ง รณะสเี ย็น กนั อยา่ งไร รปฏบิ ัติงาน แสงเงาของสี ๑. ใหน้ ักเรียนจบั สลาก ๑. สมดุ วาด ให้นกั เรียน ความรสู้ กึ ตา่ ง ๆ แลว้ เลอื กใช้ เขยี น วใหน้ กั เรยี น าะสมกับ วรรณะสใี ห้เหมาะสมกบั ๒. ดนิ สอสี และใหม้ กี ารไล่ ความรู้สึกนัน้ ๆ และใหม้ ี ๓. สชี อลก์ ความสวยงาม การไล่น้าหนักแสงเงาสใี ห้ อกใชว้ รรณะสี ารไล่นา้ หนักแสง สวยงาม ลงในสมดุ วาดเขยี น จะช่วยใหภ้ าพ บง่ บอกถงึ ๒. นกั เรียนนาเสนอผลงาน นอย่างดี