๙๐ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 11 เร่อื ง ประวตั ิพระเจ้าพิมพสิ ารและนางขุชชตุ ตรา เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่ือง พทุ ธประวตั ิ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตวั อยา่ งและชาดก ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศึกษา ตัวชว้ี ัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/ แหล่งเรียนรู้ ส 1.1 ม.2/6 วิเคราะห์และประพฤติตน ขนั้ นา - วดี ิทัศน์ เรอื่ ง ประวัติ ตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก 1. ครนู าเข้าสบู่ ทเรียน โดยใช้ประเด็นคาถามให้นักเรยี นรว่ มกนั อภิปราย พระเจา้ พิมพิสารและนางขุชชตุ ตรา ประวัติสาวก ชาดก/ เรื่องเล่าและศาสนิกชน หาคาตอบ ดังน้ี ตัวอย่างตามท่กี าหนด 1.1 นักเรียนคดิ วา่ บศา้ำนสนแลสะถวำดันมคี วาำมสา�ำคัญอหยร่าืองไไมรอ่ ย่ำงไร ภาระงาน/ ชิน้ งาน (มคี วำ(มบส้า�ำนคเญัป็นในทฐ่ีพำนักะอขาอศงัยกขำอรงเปฆ็นรสาวถาำสนทสใี่ ่วนนกวำัรดปเประ็นกทอี่พบักพขิธอีกงรภรมิก)ษุ - ป้ายนเิ ทศ หรือโปสเตอร์ สาระสาคญั สงฆ)์ ๑.๒ นักเรียนและผูป้ กครองสำมำรถร่วมพฒั นำศำสนสถำนในชมุ ชน ประชาสัมพนั ธ์ การศึกษาประวัติของสาวกหหรรอื ือบบคุ คุ ลคล 1ได.2ห้ รหอื าไกมน่อักยเำ่ รงียไนรไมม่ ีบา้ นสาหรับพักอาศัยจะเป็นอยา่ งไร สาคัญของศาสนา ทาให้ได้แนวทางการ (ได้ โ(ดดยากรำงรชบีวริติจดำ้วคยทครวพั ายมเ์ พล่อืาบรูาณกะอปาฏจิสไดงั ข้รรับณอห์ันรตอื รกาำยรจไปากรว่สมัตว์ร้าย ประพฤตทิ ่ีเหมาะสม ส่งผลใหส้ ังคมสงบสุข ต้องตากแกดจิ ดกแรลรมะเทปำยี งกศฝำนสน) ำในศำสนสถำน) 1.3 ถา้ ไม่มีวัดสาหรบั พระสงฆ์จาพรรษาจะเปน็ อย่างไร ขอบเขตเน้อื หา (ท่านจะไม่มีท่ีพักสาหรับจาพรรษา ไม่มีที่ศึกษาธรรม ปชราะววพัตุทิชธำตววัพอุทยธ่าตงวั อยำ่ ง พทุ ธศาสนิกชนไมม่ ที ี่สาหรับประกอบศาสนพธิ )ี - พระเจา้ พิมพสิ าร 1.4 นกั เรยี นและผูป้ กครองสามารถร่วมพฒั นาวดั ไดห้ รือไม่ อยา่ งไร - นางขชุ ชตุ ตรา (ได้ โดยการบรจิ าคทรัพยเ์ พ่ือบรู ณะปฏิสังขรวัดซ่ึงเปน็ ทพ่ี ักของ พระสงฆ์ ) 7930
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 11 เรื่อง ประวตั พิ ระเจ้าพิมพสิ ารและนางขุชชุตตรา ๙๑ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่อง พทุ ธประวตั ิ พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนกิ ชนตัวอย่างและชาดก เวลา 1 ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ า สงั คมศึกษา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2. ครูใช้คาตอบข้างต้นเช่ือมโยงเข้าสู่บทเรียน โดยชี้ให้นักเรียนเห็นถึง ดา้ นความรู้ ความสาคัญของศาสนิกชนตัวอย่าง เช่น การทานุบารุงศาสนา การสืบต่อ 1. นักเรียนอธิบายประวัติและการปฏิบัติ หลักธรรมคาสอนของพศรำสะพนุทำ ธเปเจ็น้าตเน้ ป็นต้น ตนตามหลักธรรมของพระเ-จเจำ้ พ้าพิมิพมพสิ ำิสราแรลแะละ ขนั้ สอน นางขชุ ชตุ ตราไดถ้ ูกตอ้ ง 1. ครูเปิดวีดิทัศน์ เร่ือง ประวัติพระเจ้าพิมพิสารและนางขุชชุตตราให้ นักเรียนดู พร้อมมอบหมายให้นักเรียนเขียนสรุปความสาคัญและข้อคิดที่ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ ได้รับลงในสมุด 2. นักเรียนวิเคราะห์คุณธรรมท่ีเป็น 2. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุม่ กลมุ่ ละเท่าๆๆ กัน และมอบหมายให้ แบบอย่างของพระเจ้าพิมพิสารและนางขุชชุตต แต่ละกลุ่มออกแบบป้ายนิเทศ หรือป้ายโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ เร่ือง การ นราำทงขี่มุชีตช่อุตพตรระำพททุ ่มี ธตี -่อพระพุทธศำสนำไดถ้ กู ตอ้ ง ทานุบารุงศาสนาพกรา้อรมเผทยัง้ แวิเผค่พรรำะหพ์คุทุณธศธารสรมนทาเี่ ปกน็ารแสบืบบตอ่อยหำ่ งลขักอธงรพรรมะคเจา้ำสอน สศมาสเหนตาุสไดมถ้ ผูกลต้องสมเหตสุ มผล ขพอิมงพสิ รำะรพแุทลธะเนจำ้างขขอชุ งชพชุ รตะรเำจท้าพี่มิตีม่อพพิสราะรพแลทุ ะธนศาำงสขนุชำชโุตดตยรคารแู พจรก้อกมรทะั้งดวำิเษคสรรา้ำะงห์ คแุณบธบรแรลมะทส่ีเเีปม็นจแิกบ๓บอดยำ้ มา่ งใขหอ้นงพกั เรระยี เนจ้า(ใช้เวลพำปิมพระิสมาำรณแล๑ะน๕านงขำชุทช)ี ตุ ตราท่ีมีต่อ พระ๓พ.ุทคธรศูสา่มุ สนนกั าเรโียดนย๒ครกูแลจุ่มกนกำ� รเสะนดอาหษนสำ้ รช้าัน้ งเแรยีบนบแโดลยะนส�ำีเเมสจนิกอใน3รดูป้าแมบบให้ ด้านคณุ ลักษณะ นขไ3ดอักจ้.งเรำกคกียำรนปรูสเรชุม่ะิญนวตัชักพิวเรนรียะปนเรจะ2ำ้ ชพำกมิ สลพมั ุ่มิสพนำนั ารธเแสใ์ ลหนะผ้อนูอ้หำนื่นงเข้าหชชุ น็ ั้นชปตุเรรตียะรนโำยไชโปดนปย์ขรนอะางยเกุกสำตนร์ใอนชใ�ำ้นครวูปำแมบคบดิ ทขอ่ี ง 3. นักเรียนเชิญชวนประชาส- ัมสพัมันพธันใ์ หธ์ใ้ ห้ ผู้อื่นเห็นประโยชน์ของการนาความคิดท่ีได้จาก ประวัติพระ เจ้าพิมพิสารและนางขุชชุตตราไป การเชิญชวนประชาสัมพนั ธใ์ ห้ผ้อู ื่นเหน็ ประโยชนข์ องการนาความคิดท่ีไดจ้ าก ประยกุ ตใ์ ช้ได้อย่างเหมาะสม ประวตั ิพระเจา้ พิมพสิ ารและนางขชุ ชตุ ตราไปประยุกต์ใช้ 7941
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 11 เรอื่ ง ประวตั พิ ระเจา้ พิมพิสารและนางขุชชตุ ตรา ๙๒ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรื่อง พุทธประวตั ิ พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ศาสนกิ ชนตัวอยา่ งและชาดก เวลา 1 ช่วั โมง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศึกษา 4. หลังจบการนาเสนอแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปประโยชน์และ ข้อคดิ ท่ีได้จากการปฏิบตั กิ ิจกรรม ขั้นสรปุ 1. ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รายสรปุ บทเรียนเก่ยี วกับประโยชน์ของ การนาแนวทางข้อคิดท่ีได้จากการศกึ ษาประวัติพระเจ้าพิมพิสารและนางขชุ ชตุ ตรา และบทบาทหน้าทใ่ี นการทานุบารุงศาสนา การเผยแผ่ พระพุทธศาสนา การสบื ตอ่ หลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา (แบบอยา่ งการดาเนินชีวิตและข้อคดิ จากพทุ ธประวัติ พุทธสาวิกา ชาวพุทธตวั อย่าง ก่อใหเ้ กิดความศรทั ธาในหลักธรรมและนาไปสู่การปฏบิ ัติ ในชีวติ ประจาวนั สบื ทอดต่อกันมาจนถงึ ปจั จุบนั ทาให้สังคมสงบสขุ ) 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ สาระสาคัญ เรอื่ ง พระสารีบุตร พระโมค คัลลานะ พระเจา้ พิมพิสาร และนางขชุ ชตุ ตรา (การศกึ ษาประวัติของสาวก หรือบุคคลสาคญั ของศาสนา ทาใหไ้ ด้ แนวทางการประพฤติท่เี หมาะสม สง่ ผลให้สงั คมสงบสขุ ) 7925
93 9736 การวัดและประเมนิ ผล วิธกี าร เครอ่ื งมือท่ีใช้ เกณฑ์ ส่งิ ทีต่ ้องการวัด/ ประเมนิ - ตอบคาถามได้ถกู ต้อง - การตอบคาถาม - คาถาม มากกวา่ ร้อยละ 80 ด้านความรู้ - การอธบิ าย - วดี ิทัศน์ เรือ่ ง ประวัติ -พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิ ก า ร อ ธิ บ า ย ป ร ะ วั ติ แ ล ะ ก า ร - การทางานกลุ่ม พระเจา้ พมิ พสิ ารและ กจิ กรรมในชนั้ เรียน ผ่าน ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ - การนาเสนอ นางขชุ ชุตตรา เกณฑ์ร้อยละ 80 พระเจ้าพมิ พิสารและ - ป้ายนเิ ทศ หรือ นางขุชชุตตรา - การตอบคาถาม โปสเตอรป์ ระชาสมั พันธ์ - ตอบคาถามได้ถูกต้อง - การวเิ คราะห์ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม สมเหตุสมผลมากกว่า ด้านทักษะ/กระบวนการ - การทางานกลุ่ม ร้อยละ 80 การวิเคราะห์คุณธรรมท่ีเป็น - การนาเสนอ - คาถาม แบบอย่างของพระเจ้าพิมพิสาร - วดี ิทัศน์ เรอ่ื ง ประวัติ - พฤติกรรมปฏิบตั ิ แ ล ะ น า ง ขุ ช ชุ ต ต ร า ท่ี มี ต่ อ - การอภิปราย พระเจา้ พมิ พิสารและ กิจกรรมในช้นั เรยี นผ่าน พระพุทธศาสนา - การทางานกลุ่ม นางขุชชุตตรา เกณฑ์ ร้อยละ 80 - ปา้ ยนิเทศ หรือ - ป้ายนเิ ทศ หรือ ด้านคุณลกั ษณะ โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ โปสเตอรป์ ระชาสมั พนั ธ์ การเชิญชวนประชาสัมพันธ์ให้ - แบบสังเกตพฤติกรรม ผู้อื่นเห็นประโยชน์ของการนา ความคิดท่ีได้จากประวัติพระ - ป้ายนิเทศ หรอื เจ้าพิมพิสารและนางขุชชุตตรา โปสเตอร์ประชาสัมพนั ธ์ ไปประยกุ ต์ใช้ และอปุ กรณต์ กแตง่ - แบบสังเกตพฤติกรรม
94 7974 บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ........................................................................................................................... ............................................ ปัญหาและอุปสรรค ....................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ................................................................................................................................................................ ....... ลงชือ่ ......................................ผ้สู อน (........................................................) วันท.่ี .......เดอื น..............พ.ศ.............. ความคิดเหน็ / ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................ .................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................ผตู้ รวจ (...........................................................) วันท.ี่ .........เดอื น................พ.ศ.............
๙๕ ๙๕ หกลนมุ่่วสยากราะรกเรายี รนเรรียูท้ นี่ ร2ู้ สกหเรังลน่ือคุ่ม่วงมสยศากพรกึาทุ ะรษกธเาราปยี รรศนเะรารวยีสู้ทนตั น่ี ริ2าพู้ แสเุทรลังธื่อคะสงมวาศฒัพวกึ ทุนกษธธาปพรรรศุทแะมาธวผสสตั นนาิ ากพวแาิกทุ ลราธะจสวศดั าฒั ากวสนากนรธพเรกิ รรุทชียแมธนนผสตรนา้ทูวักวอี่าิก1รยาจ2่าศดังาเแกรสาลอ่ื นรระงเากิชรยชพียาวนนดทุ ชิตรกธาูท้ัวศอี่ สา1ยสัง2่าคนงมเิกแรศลช่ือระกึนงาชษตยพาาวัวดทุ ชิอกธายศา่ สางสังคนมกิ ศชึกนษตาวั อย่าง เชว้นัลามธั 1ยมชศว่ั กึโมษเชงวาน้ัลปามที ัธ1ี่ ย2มชศว่ั ึกโมษงาปที ี่ 2 ตตปตวัวัารอมชะยสวแ้ีวา่ัตดับ1งิสบต.า1าอวมยกมท่า.ก่ีงช2กาา/หาด6รนกดดว/าิเปตตตเคเัวัวารนรอม่ืชะอินายสวแวี้งะช่าัตเดับห1งลีวิสบติ์่แตา.า1าอแลแวมยลกะลมท่าปะะ.ีก่งช2ศรขกาา/ะาห้อาด6สพรนคกดนดฤิดว/าิกติเจเคเชิตรนาร่ือนนิกนางะชเหลีวกขิ์่แตาิจัน้แลแกละนล1รปะะา.รศรขมะา้อนคกสพคกัรนาฤิดูใรเิกตจรหเชิตยีรา้นนนยีกนักนอเรา่ รกขู้นียจิ้ันพนกน1รรดา้อ.รูภมมคนากกพรักานั ูใรเเรหเทียร้นศยีนักนนอเรา่ารู้นีธยพรนรรดอ้ มูรโภมดขว่ ากมยอพนั กมงเนัททีปอศ่ารภนนะปิาเพดธรุท็นราธยรคทมหรโาดข่วาาถมยคอสากมางภมันตทีปิกใอ่ารหขภบนะ้นุ ิปเพแักดดรุทล็นเงัารธนะยคียทหใี้าหนาาถคส้ าาภมตส1ภ2ติกใอหัว่ือิก..ขบอ้/นขุ ใภยแุักดแบา่าลเังหคพงรนะทวลียเใ้ี ทาี่คห่งนมเศว้ รรรนยี ู้รตภ2ส1าเนจู้รวั่ือธกิ..ร่ือักอร/ขู้ใภงยรุ แบมาา่ พหคพงขทุทวลเอทา่ีคง่ธงมเศศวทรรรนายี่าู้รสาเนนู้จรธนรื่อพกัริกู้งรทุ ชมพธนขททุ อธางศสทา-า่ สนนพิกทุ ชธนทาส- สชสทขงิราอาบญรบงะ123กสพกาเสขาุข...ณาุทราตทพสรธวศคปเม่าศรโนึกญั นระเารดษื้อรมสพะจ็สหานหพุทพเาิกราธฤรธ่ือชทตะรงนาิมทรรสตมหาี่เวัหวราอชสขสทอทาสมนิงริาอายชาบมญราบงทา่างะ213กสณพกะาเงปลศสขาขุ...ณาุทสเไิัาญราตสทพรจทธมสวศคปเมโา้่าศรโนนึกัญญนระเารสกดษือ้ารมสพะ่ง็จรสหานหพุททผมพเากิราธฤาลพรธื่อชทใตะใรรงหนาหิมทรระ้สตไมหา้ี่สยเดัวหวราอัาง้แอทาสมวินคนยชามาทม่าวางณะงปลศสเไิัาญจทมกรส(ท(ก11โ้าเพำำนญาป่มี..ชส3รรก4ราน็า่ำงคะรส:ลทผผยมมิดโนืบhไดิทู้าลกพหแัทตกtใ๑ย๑๑ใตมี่รลาหt่อเหมpะ.วัธีส..ะร้ไ๓ห๒๑พ้สยีปอดรsีว่เยลป:ัารรง้ยแนย/นในวักะมค็นน/ะคา่กใกัคgมธรนมงเหวรตดoเิดรพาหเกรลวั ปรชน็oวุทำยีาอักมา11ทก((็น่.คาสรนธยพเgใลคาปบมี่ทำ�.ผม.นศlำ่ค3ร4รไิ/าถ็นาูเุ้างปคากะทิดสSขสท:ำพนผสยมอคำนืบYว,ยีอมh่มี้ทูกทนุุบรหง่ำZลัตกพนนtใำตดี่มธขิกาาtหอ่ท5เทคร:ขpัวธสีศำรร้อชห้นะี่Lกhอำ�อ่ำรsเุงี่วยำคนนลม:ค7รนักศยงtนลส/นวตักtมนิพหม/เ่าา่ในาpคำรgวัวธรนงสชนารวกิมียosิดรพาอกสนะวีวถ้ี:ชรชทนoวย/ุท(าพิตมาชึมงทนา/่.ารี่เรา่ธgอปทุิรgขลคบตท่วำ่งกศlทoเยไิยี/อาธนทมวัุมาคาาทSสาำo่เนงอนสกพร่ีนธคจY,งปอ,.นเยนุบเ(1พใ1ันี)gักทุZถล้าพผนขเนทรำ่lัน้ิกา)ปุทอเ.ูกท5.ธย/รยีขง1ะรกา่รช2มภSท็ตธะนี่LทแกอนียุงนโานYีปทม7ิป้อศำผงยลใหน่ีนรนตนZพคหสรวาาง่ดพ่ราชกัรลน้ััวส)ะสัร5ภารำวกา้จูนรเัอวกมสนะโเรยภLถเกิะกัเชปย์ยตนใปีพยมีา7หึงริกขพน่าริช็่นอนินปุทรีำยข)ุงกเทุทนกะผพรอมชธคทุ)านธจาโ้์อาูเงู้เวีธำ�ุรนี่ทจยขศป,กรคัยติตเ)ีเใ11พ(กั้าชธผขีเยาคนทิรำ่ดออ)ปุทเ.(.ศยนสียน1ะงิรกด่าพ2ยบว็ธนแนนไยีานอ์โาคแร่าท่ราผยใหนรสนายดะงาลนควาพ่ดขชรลั้น(นา่ถมคงัสัระเกา้้จูนรงอัวกนมปกูหามเภเเะไกัเชป์ตนใปีปตคอ้ี็นำรนรกิพนิร็่นอนิธรอ้ี็ยนหวยข้ีเทุกะรผพมช(ง่)ุาาลหนทธโรา)ู้เวีธุทงยมกัขศมลรค่าติี)ไชธียใาคทนิักรดอนศนสนิด่ียวนา์อคแา่่าสายงาล-ภขนา่ถคะกกพา้งอูกามปเรไำำุทปตคอรน้าะรรธ้อ็ยนวย้ีงอนศ(ง่าาานหทอ�ำ)ำงนมแเิลก่าสไท/ทนันกแรนศี่วบชกิ ทบน้ิ ช-ภำปงนางาป้ำรตกนย้าะวัำยงนอรานิเใยนทชเิ ำ่ท/ช้ศงศวีแไชปิตลน้ิ ใขะงชอยา้ นงกตวั อยำ่ ง 7985
๙๖ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 12 เร่อื ง พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอื่ ง พุทธประวตั ิ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า ศาสนิกชนตัวอยา่ งและชาดก เวลา 1 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศึกษา 4. พระธรรมวิสุทธมิ งคล (บวั ญาณสมปฺ นฺ 2. ค๑รูใ.๔ช้คนาตกั อเรบยี ขน้าคงดิตว้นำ่ เบชคุ่ือคมลโยทงก่ี เขล้าำ่ สวถู่บงึทเทรีำ�ยปนรโะดโยยชใหน้นต์ ักอ่ เพรทุียธนศเหำส็นนถำึง โน) อควยาำ่ มงไสราค(เัญปน็ขผอทู้งพม่ี ุทสี ธว่ ศนาใสนนกิกำรชทนำ�ตนัวบุอยำ� ร่างุ ศเำชส่นนกำากรำทราเนผุบยแารผุงพ่ ศราะสพนทุ าธกศาำรสเนผำย กแผำรพ่ สรบืะพตอุท่ หธศลากั สธนรารมกคาำ�รสบือนตอ่ขหอลงพกั ธรระรพมทุ คธาเสจอำ้ น) ของพระพุทธเจ้า เป็นตน้ 5. ศาตราจารยส์ ัญญา ธรรมศักดิ์ ๒. ครูใช้ค�ำตอบข้ำงต้นเชื่อมโยงเข้ำสู่บทเรียน โดยให้นักเรียนเห็นถึง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ มไแขมพแขพคดทวทอ้ันอนั้รร๑้ร๒๔๕๓๑ำบะอ่ง้บงส่๑สบัม.พ1)))))พมหอหอใ.ใคสค๑สพพศทหร.หททุมนนมือำ�ร้อมำ้นำ่รรานธ้ง5432้ัค1ำอค1แูขตนมยะะเรศักยกัญั))))ะร)ดบอ้.รบใัธมพทเำ1ใไแูเศพพสหทจร็คงข่ำรรหสรหใั้ทุงบีมยานจพรรแ้อา่บรดิยีขนแ้รำตธนง่ะะเนมำตกังทนรค้อัดธบตำนรทธมพรตพล่วเะตวรคไี่จ็ลา่รรใกัยหกำัวสทดิะุมทุรำจิบพดวัรยีะเส์สแาำกทจุ้มมธหรธแามทนกรคธญรัทลศำียทรรรธำทวอะ่ีไลสรเวนกุ่มยำนำู้มิญสปดิสามนิรนมเบุ่ืาสชส์กอกสเรงมุท้จมหน็ทมำปกอตนญัำอลคำอ่ืาณรธาอลรปอ็นอล่รกิก่มุธ๕ลกงาิมสญู้นิมศุ่เกหไชิญัรแชจกงมเจ5พทา(ทกรกจึแนบรลับาคาบณำโ้ ทมุื่ลบลัปษอบตญกรัธลบสวั เกศิไมศธุ่รวงัญสัธบำลปลจท(รศรอญกึัรกปลาบมุ่้าป้าโคพมมรยำกดษญำรยัวำำ้รกมศุสทำพค่เกะิ์นาณยแูลงรญกัคนรปวธเริเนมจือลสแูดทำ�ตเะักิศารชเิกพกสอืจ์ิมณศยขทชิะาน่กหกอกรปฺใำวสอนศสะนรกนวัหวัตนกงนตใมยะรหชขขพิขวนัำโฺิวักฺปาดะรวัินอ้อขรอหทุอวชดนำญขทพอง้ง)ชวยัธษานโฺ้พอพำ�พำุทิรขนศำษ่ นฟดตรุณทญงทุอ้ธ)ำฟังบะัุวลทธสศดธาวนลพอำ�ปิศคี่ณนาศงัโี้ปิรทยุราชสนวำกิงุวชร่สาธรำนสศ้ีชโาสงนเรรรนำกินจรทจท้์ูริกสช์กทิำ้ตสกั่ีคแนชนชแวัเลวนำปโนลตอระดตนะ็กัวตยรสยัวสำอตำ่วัู้จเีอรีเงยนอ้มัมกเยา่ยผจทจ่างยำ่กโิิกงี่ ดงแ๓ท3ผย่ี่ ดา้ นความรู้ 1. นักเรียนอธิบายหลักปฏิบัติของ พุทธศาสนิกชนตัวอย่างได้ถูกต้องครอบคลุม สาระสาคัญ ด้านทักษะและกระบวนการ 2. นักเรียนวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้จาก การศึกษาประวัติพุทธศ- ำสนศกิ าชสนนติกวั ชอนย่ำตงัวอย่าง ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล ด้านคณุ ลักษณะ 3. นักเรียนเสนอแนะวิธีการนาหลกั ปฏบิ ัติ แ ล ะ ข้ อ คิ ด ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ วั ติ ไดร้ บั คอื 1อ.ะ2ไรนักเรียนสามารถนาหลักปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนตัวอย่างท่ี พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ช น ตั ว อ ย่ า ง ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ได้ร๑ับ.ไ๒ปปนรกั ะเยรกุยี ตน์ใสชำใ้ นมกำราถรดนาำ� เหนลินกัชปวี ติฏขบิ อตั งขิตอนงเอพงทุ ไดธศอ้ ำยส่างนไกิรชนตวั อยำ่ งที่ ชีวติ ประจาวนั ได้อย่างเหมาะสม ไดร้ บั ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นกำรดำ� เนนิ ชวี ติ ของตนเองไดอ้ ยำ่ งไร 9769
๙๗ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 12 เรอื่ ง พุทธศาสนิกชนตัวอยา่ ง หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรอื่ ง พุทธประวตั ิ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตวั อย่างและชาดก เวลา 1 ชว่ั โมง ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศึกษา 1.3 ยกตัวอย่างแนวทางการนาข้อคิดท่ีได้จากการศึกษาประวัติพระ พสารระีบสุตำรบีแุตลระแพลระพโมรคะคโมัลคลคาัลนละำไปนะปไรปะปยรุกะตย์ใกุชต้ในใ์ ช้ใีวนิตชปวี ริตะปจราะวจันำ� เวปนั ็นเผปัง็นความคิด ผ(ตงั อคบวำคมาคถาดิ มตามความเขา้ ใจของนกั เรยี น) 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน และร่วมกัน สรุปความรู้ทีไ่ ด้รบั อกี ครง้ั หนงึ่ ขน้ั สรปุ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปบทเรียน เร่ือง พุทธศาสนิกชน ตวั อยา่ ง (พุทธศาสนิกชนตัวอย่างเป็นแบบอย่างในการร่วมทานุบารุงพุทธ ศาสนา สืบต่อหลักธรรมคาสอนพระพุทธเจ้า เป็นแบบอย่างที่กอ่ ใหเ้ กิดความ ศรัทธาในหลักธรรมและนาไปสู่การปฏิบัติในชีวิตประจาวันสืบทอดต่อกันมา จนถงึ ปจั จุบัน) 2. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปสาระสาคญั ่ 9870
98 8981 การวดั และประเมนิ ผล สิ่งทีต่ ้องการวดั / ประเมิน วิธีการ เครือ่ งมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ การอธิบายหลักปฏิบัติของ - การตอบคาถาม - คาถาม - ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง - การทากจิ กรรมกล่มุ - ใบความรู้ เรื่อง มากกวา่ ร้อยละ 80 - การศึกษาค้นคว้า พุทธศาสนิกชนตัวอย่างที่ควร ด้วยตนเอง ร้จู ัก ด้านทกั ษะ/กระบวนการ การวิเคราะห์ข้อคิดท่ีได้จาก - การตอบคาถาม - คาถาม - ตอบคาถามไดถ้ ูกตอ้ ง การศึกษาประวัติพุทธ - - การวเิ คราะห์ - ใบความรู้ เรือ่ ง สมเหตุสมผลมากกว่า ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง - การอภปิ ราย พุทธศาสนิกชนตัวอย่างที่ควร ร้อยละ 80 - การทากจิ กรรมกลุ่ม รู้จกั - การออกแบบปา้ ย - กระดาษฟลิปชาร์ท นิเทศ และสีเมจกิ ด้านคณุ ลกั ษณะ เสนอแนะการนาหลกั ปฏิบัติ - การตอบคาถาม - คาถาม - ตอบคาถามได้ถูกต้อง แลละขะอ้ ขค้ ิดอทคี่ไิดด้จทำกี่ ไกดำร้ จศกึาษกำ - การวเิ คราะห์ กปราะวรัตศิพึ ทุ กธศษำสานปกิ ชรนะ วั ติ - การอภิปราย - ใบความรู้ เรอ่ื ง สมเหตุสมผลมากกว่า พตัวุทอธยศ่ำางสไปนปิกรชะนยตกุ ัวตอใ์ ชย้ ่างไป - การนาเสนอหน้า พุทธศาสนิกชนตัวอย่างที่ควร รอ้ ยละ 80 รูจ้ ัก - พฤติกรรมการปฏิบัติ ประยกุ ต์ใช้ ชน้ั เรยี น - กระดาษฟลปิ ชารท์ กิจกรรมในช้ันเรียน ผ่าน - การออกแบบป้าย - ปา้ ยนิเทศ เกณฑร์ อ้ ยละ 80 นเิ ทศ - แบบสงั เกตพฤติกรรม - การสังเกต พฤติกรรม
99 8929 บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ปญั หาและอุปสรรค ................................................................................................................................. ...................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข .................................................................................................................................................................... ... ลงชอื่ ......................................ผสู้ อน (........................................................) วันที.่ .......เดอื น..............พ.ศ.............. ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ......................................ผตู้ รวจ (...........................................................) วันท.ี่ .........เดือน................พ.ศ.............
100 18030 ใบความรู้ เร่อื ง พุทธศาสนิกชนตัวอย่างท่ีควรรจู้ กั หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 พทุ ธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนกิ ชนตวั อย่างและชาดก รายวิชา สังคมศึกษา รหสั วิชา ส 22101 ภาคเรียนท่ี 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ทา่ นพุทธทาส อินทปญั โญ ๑. กาเนิดแห่งชีวติ ท่านอาจารย์พุทธทาส มีนามเดิมว่า เงื่อม นามสกุล พานิช เกิดเมื่อ วันอาทิตย์ ขึ้น ๗ ค่า เดือน ๗ ปีมะเมีย วันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ ในสกุลของพ่อค้าที่ตลาดพุมเรียง ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี บิดาช่ือ เซ้ียง มารดา ช่ือ เคลอื่ น มนี ้อง สองคน เปน็ ชายช่อื ย่ีเกย้ และ เป็นหญงิ ช่ือ กมิ ซอ้ ย บดิ าของท่านมีเช้ือสายจีน ประกอบอาชีพหลัก คือ การคา้ ขายของชา เฉกเช่นท่ีชาวจีนนิยมทากันทั่วไป แต่อิทธิพลที่ท่านได้รับจากบิดา กลับเป็น เรื่องของความสามารถทางด้านกวี และทางด้านช่างไม้ ซ่ึงเป็นงานอดิเรกที่รัก ยิง่ ของบิดา ส่วนอิทธพิ ลท่ีได้รับจากมารดา คือ ความสนใจในการศกึ ษาธรรมะ อย่างลึกซ้ึง อุปนิสัยท่ีเน้นเรื่องความประหยัด เร่ืองละเอียดลออในการใช้จ่าย และการทาทุกส่ิงให้ดีท่ีสุด และ ตอ้ งทาให้ดกี ว่าครูเสมอ ท่านได้เรยี นหนังสือเพียงแค่ช้ัน ม.๓ แลว้ ต้องออกมาค้าขายแทนบิดาซง่ึ เสยี ชีวติ คร้ันอายุครบ ๒๐ ปี ก็ได้บวชเป็นพระตามคตินิยมของชายไทย ท่ีวัดโพธาราม ไชยา ได้รับฉายา ว่า “อินทปัญโญ”แปลว่า ผู้มีปัญญาอันยิ่งใหญ่ เดิมท่านตั้งใจจะบวชเรียนตามประเพณีเพียง ๓ เดือน แต่ ความสนใจ ความซาบซึ้ง ความรู้สกึ เป็นสุข และสนกุ ในการศึกษาและเทศน์แสดงธรรม ทาให้ท่านไม่อยากสึก เล่ากันว่า เจ้าคณะอาเภอเคยถามท่าน ขณะที่เป็นพระเง่ือมว่า มีความคิดเห็นอย่างไรในการใช้ชีวิต ท่านตอบ ว่า “ผมคดิ วา่ จะใชช้ ีวติ ใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่เพื่อนมนษุ ย์ให้มากท่ีสดุ ” 2. อดุ มคตแิ หง่ ชีวิต ระหว่างพระเง่ือมท่ีเรียนเปรียญธรรม ๔ อยู่นั้น ด้วยความท่ีท่านเป็นคนรักการศึกษาค้นคว้าจาก พระไตรปิฎก และศึกษาค้นคว้าออกไปจากตาราถงึ เร่ืองการปฏิรูปพระพุทธศาสนา ในประเทศศรลี ังกา อินเดีย และการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก ทาให้ท่านรสู้ ึกขัดแย้งกบั วิธกี ารสอนธรรมะแทล่ีะคคววาำมมยย่อ่อหหยย่อ่อนน ในพระวนิ ัยของสงฆ์ ตลอดจนความเชื่อท่ีผิดๆ ของพุทธศาสนกิ ชน ทาใหท้ ่านมคี วามเช่อื มั่นว่าพระพุทธศาสนา ทสี่ อนที่ปฏบิ ัติกนั ในเวลาน้ัน คลาดเคลอื่ นไปมากจากท่พี ระพทุ ธองคท์ รงช้ีแนะ ท่านจึงตัดสินใจหันหลังให้กับการศึกษาของสงฆ์ เวลาน้ันกลับไชยาเพื่อศึกษาและทดลองปฏิบัติตาม แนวทางท่ีทา่ นเชื่อม่ัน โดยรว่ มกับนายธรรมทาสและคณะธรรมทาน จัดตั้งสถานปฏิบัตธิ รรม “สวนโมกขพลา
18041 101 ราม” ขึ้นเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จากนัน้ ท่านได้ศกึ ษาและปฏบิ ตั ธิ รรมะอย่างเข้มข้น จนเชอื่ มนั่ วา่ ทา่ นมาไม่ผดิ ทาง แนแ่ ละได้ประกาศใชช้ ือ่ นาม “พุทธทาส” เพอื่ แสดงใหเ้ ห็นถึงอุดมคตสิ งู สุดในชวี ิตของท่าน จากบันทึกของท่าน เม่ือวันท่ี ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๗ เขียนไว้วา่ “…ชีวิตของข้าพเจ้า สละทุกอย่างๆ มุ่ง หมายต่อความสุขนี้ และประกาศเผยแพร่ความสุขน้ีเท่าน้ัน ไม่มีอะไรดีกว่าน้ีในบรรดามีอยู่ในพุทธ ศาสนา…” 3. ปณธิ านแห่งชีวิต ทา่ นอาจารย์พุทธทาส เช่ือว่า มนุษย์ทุกคนก็คือเพื่อนรว่ ม เกิด แก่ เจ็บ ตายดว้ ยกันหมดท้ังส้ิน และหัวใจ ของทกุ ศาสนากเ็ หมือนกนั หมด คอื ต้องการให้คนพ้นจากความทุกข์ ท่านจึงได้ตง้ั ปณธิ านในชีวิตไว้ ๓ ขอ้ คอื 1. ใหพ้ ุทธศาสนิกชน หรือศาสนิกแหง่ ศาสนาใดกต็ าม เข้าถึงความหมายอนั ลึกซง้ึ ทสี่ ุดแห่งศาสนาของตน 2. ทาความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งศาสนา 3. ดงึ เพ่อื นมนษุ ย์ให้ออกมาเสยี จากวตั ถุนยิ ม 4. ผลงานแห่งชีวิต ตลอดชีวิตของท่านอาจารย์พุทธทาส ท่านย้าอยู่เสมอว่า“ธรรมะ คือ หน้าท่ี” เป็นการทาหน้าที่ เพ่ือ ความอยู่รอด ท้ังทางฝ่ายกายและฝ่ายวิญญาณของมนุษย์ และท่านได้ทาหน้าท่ีในฐานะ ทาส ผู้ซ่ือสัตย์ของ พระพุทธเจ้า ทุกอณูแห่งลมหายใจเข้าออก จนแม้วาระสุดท้ายแห่งชีวิต จึงไม่น่าสงสัยเลยว่าผลงานท่ีท่าน สรา้ งสรรคไ์ ว้ เพอื่ เป็นมรดกทางธรรมน้นั เฉพาะผลงานหลกั ๆ ดังน้ี คือ 1. การจดั ตั้งสถานปฏบิ ัตธิ รรมสวนโมกขพลาราม และ สวนโมกข์นานาชาติ 2. การร่วมกบั คณะธรรมทาน ในการออกหนงั สอื พิมพ์ “พทุ ธสาสนา” ราย ๓ เดือน 3. การพิมพ์หนังสอื ชดุ “ธรรมโฆษณ์” ซึ่งเปน็ หนงั สือทร่ี วบรวมพิมพ์จากปาฐกถาธรรม ท่ที า่ นแสดงไว้ เก่ียวกับงานหนังสือนี้ ท่านเคยใหส้ ัมภาษณ์กับ พระประชา ปสนนฺ ธมโฺ ม ว่า “เราไดท้ าสิ่งทีม่ ันควรจะทา ไม่เสียค่าข้าวสกุ ของผู้อื่นแล้ว เชื่อวา่ มนั คุ้มค่า อย่างน้อยผมกลา้ พดู ไดอ้ ยา่ งหนึง่ ว่า เด๋ียวนี้ไม่มีใครในประเทศไทยบ่นได้ว่า ไม่มีหนังสือธรรมะอ่าน ก่อนน้ีได้ยินคนพูดจนติดปากว่า ไม่มีหนังสือ ธรรมะจะอ่าน เรากย็ ังติดปาก ไม่มหี นงั สือธรรมะจะอ่าน ตอนน้บี น่ ไมไ่ ดอ้ ีกแล้ว” ทา่ นอาจารย์ พุทธทาส ได้ละสังขาร กลับคืนสู่ธรรมชาติอย่างสงบ ณ สวนโมกขพลาราม เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๖ สิริรวม อายุ ๘๗ ปี นับได้ ๖๗ พรรษา คงเหลือไว้แต่ผลงานท่ีทรงคุณค่าแทนตัวท่าน ให้ อนุชนคนรุ่นหลังได้สืบสานปณิธานของท่าน รับมรดกความเป็น “พุทธทาส” เพื่อพุทธทาสจะได้ไม่ตายไปจาก พระพุทธศาสนา ทม่ี า: https://goo.gl/qcVSLn
102 18025 พระมหาธรรมราชาลิไท 1. พระราชประวตั ิ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) ทรงเปน็ พระราชโอรส ของพระยาเลอไท พระมหากษัตริย์องค์ท่ี ๕ แห่งกรุงสุโขทัย ตาม ประวัติศาสตร์กล่าวว่า ได้ทรงศึกษาวิชาชั้นต้นจากพระเถระชาว ลังกา ซ่ึงเข้ามาสอนหนังสือและเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง และเมื่อขึ้นครองราชย์ได้ ๕ ปี ก็ทรงอุปสมบท เป็นพระภิกษุใน พระพุทธศาสนา เม่ือ พ.ศ. ๑๙0๔ โดยนิมนต์พระเถระจากลังกามา เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงเปน็ นักปราชญ์ที่รอบ รู้ท้ังด้านศาสนา ด้านการปกครองและด้านอักษรศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ซ่งึ ประมวลได้ ดงั นี้ ๑.๑ ด้านศาสนา ๑) ทรงเช่ียวชาญทางด้านศาสนา รอบรู้พระไตรปิฎกอย่างแตกฉาน ทั้งอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา แลละะปปกรกณร์พณเิ ศ์ พษิ เอศนื่ ษๆอโื่ นดยๆทรโงดศยกึ ษทำรจงำกศพึ กรษะสางจฆา์ผกเู้ ชพ่ยี วรชะำสญงพฆร์ะผไู้ เตชรี่ปยฎิ วกชในาขญณพะรนนั้ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก ใ น ข ณ ะ น้ั น ๒) ทรงสง่ เสริมอุปถมั ภ์ด้านการศึกษาพระพุทธศาสนาและศลิ ปะศาสตรต์ ่างๆ ๓) ทรงส่งราชบุรุษไปขอพระบรมสารีริกธาตุจากลังกาทวีปและได้ทรง นามาบรรจุไว้ในพระ มหาธาตุเมอื งนครชมุ (เมอื งโบราณอยใู่ นจงั หวัดกาแพงเพชร) ๔) ทรงส่งราชทูตไปอาราธนาพระสังฆราชมาจากลังกาทวีป มาจาพรรษาอยู่ที่วัดป่ามะม่วง นอกจากน้ที รงผนวชในพระพุทธศาสนา และทรงสรา้ งพระพทุ ธรูปไวห้ ลายองค์ ๑.๒ ดา้ นการปกครอง ๑) โปรดใหส้ รา้ งปราสาทราชมณเฑยี ร ๒) โปรดใหย้ กผนงั กน้ั นา้ ตั้งแตส่ องแคว (พิษณโุ ลก) มาถงึ สุโขทยั ๓) ทรงปกครองดว้ ยทศพธิ ราชธรรม ๑.๓ ดา้ นอักษรศาสตร์ ๑) ทรงพระราชนิพนธ์ เร่ือง “ไตรภูมิพระร่วง” อันเป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเร่ืองแรก ของไทย ๒) โปรดให้สร้างศิลาจารึกไว้หลายหลักจารึกท้ังภาษาไทย มคธ และขอม ทรงเชี่ยวชาญในด้าน ไสยศาสตร์ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ โดยท่ีพระองคท์ รงสามารถคานวณปฏิทินและลบศักราชได้ พระมหาธรรมราชาลไิ ท สวรรคตในปีใดไม่ปรากฏแน่ชัด แต่เข้าใจว่าเป็นช่วงใดช่วงหน่งึ ระหวา่ ง ปพี พ..ศศ.. ๑๑๙๙๑๑๑๑-๑- ๙๑๑๙๗๑๗ 2. คณุ ธรรมท่คี วรยดึ ถอื เปน็ แบบอย่าง ๒.๑ ทรงมีความกตัญญูอย่างยิ่ง พระธรรมราชาลิไท ทรงมีความรักและกตัญญูต่อพระราชมารดาของ พระองคเ์ ปน็ อย่างยิ่ง สังเกตได้จากการที่ทรงพระราชนิพนธห์ นังสือพระพทุ ธศาสนาช่ือ “ไตรภูมิพระร่วง” ทรง แจ้งวัตถุประสงค์ข้อหน่ึงว่า เพื่อเทศนาโปรดพระมารดา การพระราชนิพนธ์คัมภีร์พระพุทธศาสนา ถือว่าเป็น การสร้างกศุ ลอนั ยงิ่ ใหญอ่ ยา่ งหนึง่ พระองคไ์ ม่ลมื ที่จะแบ่งบญุ ให้แก่พระมารดาของพระองค์ ๒.๒ ทรงมีความสามารถในการถ่ายทอดนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เน้ือหาของไตรภูมิพระร่วง กลา่ วถึง เร่อื งศีลธรรม จริยธรรม เร่ืองนรก สวรรค์ เป็นเรื่องละเอียดออ่ น ยากทจ่ี ะอธิบายให้เข้าใจได้ แต่พระมหาธรรม
103 18036 ราชาลิไท ทรงมีความสามารถในการถ่ายทอด ทรงทาเร่ืองยากให้ง่ายได้ โดยเฉพาะการยกตัวอย่างหรือ อุปมาอุปไมย ทรงทาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั เนอ้ื หาและทาใหผ้ อู้ ่านเข้าใจไดแ้ จม่ แจ้ง ๒.๓ ทรงมีความคิดริเร่มิ เปน็ ยอด วิเคราะห์ได้จากการที่ทรงบรรยายธรรมในไตรภูมิพระรว่ ง จะเหน็ ว่า พระธรรมราชาลิไทมิเพียงแต่ “คัดลอก” ความคิดจากคัมภีร์พระไตรปิฎกและอรรถกถา ฎีกา เท่านั้น หาก พระองค์ทรงเสนอแนวคิดใหม่ๆ ด้วย เช่น แนวคิดเรื่องคนทาช่ัวแล้วถูกจารึกชื่อบนหนังหมา ซึ่งในคัมภีร์ พระไตรปิฎกและอรรถกถา ฎีกา ก่อนหน้าน้ันพูดถึงเฉพาะคนทาดีแล้วถูกจารึกชื่อในแผ่นทองเท่านั้น นอกจาก น้ี พระยาลิไทยงั ทรงคิดนรกขึ้นมาใหม่ เพื่อลงโทษคนทาความผิดท่ี (เช่ือกนั วา่ ) มใี นสมัยพระองค์ ซ่ึง ไม่มีในสมัยพระไตรปิฎกและอรรถกถา ฎีกา คือ ทรงบรรยายถึงคนที่เป็นพ่อค้าโกงสินค้า ข้าราชการทุจริต คอรัปช่ัน ตายไปแล้วไปตกนรกขุมดังกล่าว ทรงนาเอาพฤติกรรมของคนสมัยสุโขทัยมาตีแผ่วา่ คนเหล่านั้นตาย แล้วจะต้องไปนรก ทาให้พระสกนิกรของพระองค์ “อายชั่ว – กลัวบาป” ไม่กล้าทุจริตคอรัปชั่น แม้ว่าจะไม่มี ใครเห็นก็ตาม เพราะฉะนั้นไตรภูมิพระร่วง มองอีกแง่หนง่ึ กค็ ือ “กฎหมายทางใจ” ที่ควบคุมมิให้พสกนิกรของ พระองค์ทาผิดทาช่วั น่ันเอง นับเปน็ ความคิดรเิ รมิ่ ในการหาอบุ ายสอนศีลธรรมได้อยา่ งแยบคาย ท่ีมา: https://goo.gl/tHh9Zk
104 18074 สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๐ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๔๓ ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าฯ ดารงพระอิสริยยศ ๒๒ พรรษา ส้ินพระชนม์เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๖๔ พระชนมายุ ๖๒ พรรษา พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จในพระจอมเกล้าฯ และเจ้าจอมมารดาแพ ประสูติ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๐๓ พระนามว่า พระองคเ์ จ้า มนุษยนาคมานพ เมื่อพระชนมายุได้ ๘ พรรษา ทรงเร่มิ ศึกษาภาษาบาลี จน สามารถแปลธรรมบทได้ก่อนทรงผนวชเปน็ สามเณร นอกจากนี้ยงั ทรงศกึ ษา ภาษาอังกฤษ และโหราศาสตร์ อีกด้วย เมื่อพระชนมายุได้ ๑๔ พรรษา ได้ทรงผนวชเป็นสามเณรตามราช ประเพณี ณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม แล้วมาประทบั ณ วัดบวรนิเวศวิหารอยู่ ๒ เดือนจึงลาผนวช ทรงผนวช เป็นพระภิกษุเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๒๒ แล้วมาประทับจาพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวหิ าร พระองค์ได้ครองวดั บวรนเิ วศ วิหาร สืบต่อจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศ ฯ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๓๔ ได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็น สมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญธ่ รรมยตุ ิ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๓๖ พระองค์ได้ทรงปรับปรุงการพระศาสนา และทางคณะสงฆ์ในด้านต่าง ๆ เป็นอันมากโดยเริ่มงาน ต้ังแต่ เสด็จไปตรวจการคณะสงฆ์ในหวั เมืองต่าง ๆ เกือบท่ัวราชอาณาจกั ร โดยกระทาอย่างต่อเนอ่ื งทุกปีเกอื บ ตลอด พระชนม์ชีพ ทาให้ทรงทราบความเป็นไปของคณะสงฆ์ และของประชาชนในภูมิภาคต่าง ๆ เป็นอย่างดี และ นาขอ้ มูลและปัญหาต่าง ๆ มาปรบั ปรงุ แกไ้ ขในทกุ ๆ ดา้ น พอประมวลได้ดงั นี้ ด้านการพระศาสนา พระองค์ได้พัฒนาภิกษุสามเณร ให้มีความรู้ความสามารถในพระธรรมวินัย เพ่ือ จะได้แนะนาสั่งสอนประชาชนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ทรงผลิตตาราและหนังสือทาง พระพทุ ธศาสนา ทคี่ นทั่วไปสามารถอ่านทาความเข้าใจได้ง่าย ด้านการคณะสงฆ์ ทรงออกพระมหาสมณาณัติ ประทานพระวินิจฉัยและทรงวางระเบียบ แบบแผน เก่ียวกับความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรในด้านต่าง ๆ ให้ถูกต้องเป็นมาตรฐาน เช่น ระเบียยบบเเกกี่ยี่ยววกกับับพพรระะออุปุปัชัชฌฌายำ์ยก์ ากรำบรรบรรพรชพาชอำุปอสุปมสบมทบกทารกปำกรคปรกอคงรภอิกงษภุสิกาษมุสเณำมรเแณละรศแิษละยศ์วัดิษยก์วาัดร วกนิำริจวฉินยั ิจอฉธยัิกอรณธิก์ รณะเ์บรยีะบเบเกีย่ยีบวเก่ยีับวสกมบั ณสศมักณดศ์ิ พกั ัดยิ์ พศดั นยิตศยนภิตัตยดภวตั งตดรวางปตรำะปจารตะจาแำ� ตหำ�นแ่งหเนปง่็นตเป้น็นต้น ด้านการศึกษา ทรงปรับปรุงการศึกษาของคณะสงฆ์ให้ทันสมัย ทรงจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม เพิ่มขึ้นจากแบบเดิมที่ศึกษาภาษาบาลี โดยให้ศึกษาพระธรรมวินัยในภาษาไทยเรียกว่า หลักสูตร นกั ธรรม งานพระนิพนธ์ พระองค์ทรงรอบรู้ภาษาต่าง ๆ หลายภาษา คือ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ และภาษาฝร่ังเศส ได้ทรงนิพนธ์เรื่องต่าง ๆ ไว้เป็นอันมาก เช่น หนังสือหลักสูตร นักธรรมชนั้นกั ตธรีรโมทชเัน้ อตกรีหโทลักเอสกูตรหบลากั ลสี ไูตวรยบาำกลรี ณไว์ทยำ้ังกชรุดณร์ทวง้ัมชพดุ ระรวนมิพพนรธะ์ทนั้งิพหนมธด์ทมงั้ ีมหามกดกมวีม่าำก๒ก๐ว๐่ำ ๒เร๐่ือ๐ง นเรอ่ือกงจนากอนกจี้ยำังกทนรงย้ี ชงั าทรระงชคำ� มั รภะรี คบ์ ัมาภลไีรวบ์ ้กำวล่าีไว๒ก้ ๐ว่ำค๒มั ๐ภรี ค์ มั ภีร์ ทม่ี า: https://goo.gl/kCJUwR
105 18085 พระธรรมวิสุทธมิ งคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบวั หรอื หลวงตาบวั (12 สงิ หาคม พ.ศ. 2456 - 30 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นพระภกิ ษุนิกายเถรวาทคณะธรรมยุติกนิกาย ฝา่ ยอรญั วาสี วิปัสสนาธุระ ชาวจังหวัดอุดรธานี และเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าบ้านตาด (วัด เกษรศีลคุณ) องค์แรก ท่านเป็นหนึ่งในศิษย์ของพระครูวินัยธร (ม่ัน ภูริทัตฺ โต) ซึ่งมีโอกาสอุปฐากรับใช้หลวงปู่มั่นในช่วงปัจฉิมวัยและเป็นผู้หนึ่งที่ได้ บนั ทึกประวตั ขิ องหลวงป่มู ัน่ โดยละเอยี ดในเวลาต่อมา 1. ชาตกิ าเนิด พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) หรือ หลวงตามหาบัว เดิมมีชื่อว่า \"บัว โลหิตดี\" เกิดวันที่ 1๑2๒ สิงหาำคม พพ..ศศ..2๒4๔5๕6๖ณณตตา�ำบบลลบบ้า้ำนนตตาำดดออาเ�ำภเภออเมเอืมงือองดุอรุดธราธนำีนจีงั จหังวหัดวอัดดุ อรุดธราธนำี นมีพมี่นีพอ้ ี่นง้อทง้ั ทห้ังมหดม1ด6๑ค๖นคในน วในยั วเดัย็กเดทก็ ่าทนำ่เปน็นเปค็นนคทนเี่ ลท่อื เี่ ลมือ่ใสมในสศในาศสนำสานพำทุ พธทุ โธดยโดไดย้ทไดา้ทบ�ำญุ บตุญกั ตบักาบตำรตกรับกผับ้ใู หผญูใ้ หอ่ ญยอ่เู สยมู่เสอมอ 2. อุปสมบท ท่านอุปสมบทเมื่อวันท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่วัดโยธานิมิตร ตาบลหนองบัว อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยมีพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี เป็นพระอุปัชฌาย์ โดยได้ ฉายานามว่า \"ญาณสมฺปนฺโน\" แปลว่า \"ถึงพร้อมแล้วด้วยญาณ\" ท่านมีความเคารพเล่ือมในเรื่องการภาวนา และกกรรรมมฐฐานำนทท่าน่ำนไดไ้สดอ้สบอถบาถมำวมธิ วีกิธาีกรำภราภวำนวานจำาจกำพกรพะอระปุ อชั ุปฌัชาฌย์ขำอยง์ขทอา่ งนทแ่ำลนะแไลดะร้ ไบั ดก้ราับรกแนำระแนนาะใหน้ภ�ำาใหวน้ภาำว่านำ\"พวุท่ำ “โธพ\"ทุ ทโ่าธน”จทึงำ่ปนฏจิบงึ ตั ปภิ ฏาิบวัตนภิ าแำวลนะำเดแินลจะงเดกินรมจเงปกน็รมปเรปะน็ จปาระจ�ำ 3. ปฏิบัตกิ รรมฐาน หลังสาเร็จการศึกษาทางปริยัติ ท่านเดินทางไปจังหวัดนครราชสีมาเพ่ือปฏิบัติกรรมฐานได้ระยะหนึ่ง จงึ เดินทางไปจังหวัดสกลนครโดยต้ังใจไปถวายตัวเป็นลูกศิษย์ของพระอาจารยม์ ั่น โดยพระอาจารย์มั่นรับท่าน เปน็ ลูกศษิ ย์ ทา่ นเชื่อม่ันว่ามรรคผลนพิ พานมีจริงและเช่ือม่นั พระอาจารยม์ น่ั ที่ไขข้อขอ้ งใจไดต้ รงจุด ท่านรกั ษา ระเบียบวินัยข้อวัตรปฏิบัติต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด หลังจากศึกษาอยู่กับพระอาจารย์มั่นในพรรษาท่ี 2 ท่านเร่ิม หักโหมความเพียรในการปฏิบัตกิ รรมฐาน จนผิวหนังบรเิ วณก้นช้าระบมและแตกในที่สดุ พระอาจารย์ม่ันเตือน วา่ \"กเิ ลสมนั ไม่ได้อยกู่ ับร่างกายนะ มันอยู่กบั จติ \" ซ่งึ ทา่ นก็น้อมรบั คาเตือนของพระอาจารย์มั่นทันที ท่านได้บรรลุธรรมข้ันสูงสุดในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 แรม 14 ค่า เดือน 6 เวลา 5 ทุ่ม ตรง บนหลงั เขาซง่ึ ปัจจุบันเปน็ ทต่ี ้งั ของวดั ดอยธรรมเจดยี ์ จงั หวดั สกลนคร 4. มรณภาพ พระธรรมวิสทุ ธิมงคล อาพาธลาไส้อุดตัน และมีปอดตดิ เช้ือมานานกว่า 6 เดือน คณะแพทยถ์ วายการ รกักำษรรากั อษยำ่าองตย่ำองเตนอ่ื เงนแื่อตง่อแาตกอ่ าำรกอำารพอาำธพไำมธ่ดไมีข่ด้ึนขี จ้นึ นจเมน่ือเมวื่อันวทันี่ ท3่ี0๓๐มกมรการคำมคมพ.พศ..ศ2. 5๒5๕4๕๔เวลเวาล0ำ 3๐.๓5.3๕๓น.นห. ัวใจ หยัวุดใจเตห้นยแดุ ลเตะ้นหแยลดุ ะกหายรหดุ กายำรใจหำสยิรใิอจายสไุิรดอิ ้ำ9ย7ุไดป้ ๙ี 5๗ เปดีอื ๕นเด1อื8นว๑ัน๘7ว7นั พ๗ร๗รษพารรษำ
106 18069 ศาตราจารย์สญั ญา ธรรมศักด์ิ ศาตราจารย์สัญญา ธรรมศักด์ิ เกิดเม่ือวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2450 เป็น บุตรของมหาอามาตย์ตรี พระยาธรรมสารเวทย์เศษภักดี ศรีสัตยาวัตตาพิริยพาหะ (ทองดี ธรรมศักดิ์) กบั คุณหญิงชน้ื ธรรมศักด์ิ และได้สมรสกบั คุณหญิงพะงา เพญ็ ชาติ มบี ตุ รดว้ ยกัน 2 คน คอื นายชาติศกั ดิ์ ธรรมศักด์ิ กบั นายแพทยจ์ กั รธรรม ธรรมศักดิ์ 1. ชีวิตการศกึ ษา นายสัญญา ธรรมศักด์ิ การศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก ขณะที่อายุได้ 11 ปี บิดาก็เสียชีวิตลง ทาให้ชีวิตที่ราบเรียบสุขสบายเปลี่ยนไปได้รับความ ยากลาบาก เพราะขาดหัวหน้าครอบครัว ซึ่งในระหว่างนี้ก็ได้มีพระอรรถกฤคินิรุตติ์ (ชม เพ็ญชาติ) เข้ามาให้ ความช่วยเหลือดูแลเอาใจใส่ในทุก ๆ ดา้ น เม่ือท่านเรียนจบจากโรงเรียนอัสสัมชัญ คุณหญิงชื้นผู้เป็นมารดาก็นาไปฝากฝังไว้กับเจ้าพระยาอภัย ราชามหายุติธรรมธร (ม.ร.ว. ลพ สทุ ัศน)์ ผู้เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมระทา่ นจึงได้ทางานเป็นนกั เรียนล่าม ประจากระทรวง และไดเ้ ข้าเรียนวชิ ากฎหมาย กระทรวงยตุ ิธรรม ระหว่างน้นั ก็ไดอ้ ุปสมบทท่ีวัดเบญจมบพิตร และไดศ้ กึ ษาพระธรรมวินัย จนสอบไล่นักธรรมตรีได้ท่ี 1 หลังจากจบการศึกษาเป็นเนติบัณฑิตไทย จากโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ก็ได้สอบชิงทุน “รพีบญุ นิธิ” ไปศกึ ษาวิชากฎหมายที่สานกั กฎหมาย The Middle Temple สหราชอาณาจักร ตามหลักสตู ร 3 ปี แตท่ า่ นใช้เวลาศกึ ษาเพียง 2 ปี 3 เดอื น กส็ าเรจ็ เนตบิ ณั ฑติ อังกฤษ เมือ่ พ.ศ.2476 2. ชีวติ การทางาน หลังสาเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษ สัญญาได้เข้ารับราชการท่ีกระทรวงยุติธรรม ในตาแหน่งผู้ พผูิ้พิพากำษกษาฝำึกฝหึกหัดัดจาจกำกนนั้ ้ันกก็ม็มีคีคววามำมเจเจรริญิญกก้า้ำววหหนน้า้ำใในนหหนน้า้ำทที่ร่ีราำชชกกาำรรใในนตตา�ำแแหหนน่ง่งผผู้พู้พิพิพาำกษาำศาำลอุทธรณ์ ข้ำาหลวง ยุติธรรมภาค 4 ผู้พพิ ากษาหวั หน้าศาลจงั หวัดเชยี งใหม่ ปลดั กระทรวงยุติธรรม ผูพ้ พิ ากษาศาลฎกี า ผู้พิพากษา หวั หน้าคณะศาลฎีกา อธิบดีผพู้ พิ ากษาศาลอุทธรณ์ และประธานศาลฎกี า ตามลาดับ หลังจากเกษียณอายุราชการท่ีกระทรวงยุติธรรมแล้ว ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ดารง ตาแหน่งองคมนตรี เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2511 และได้รับเชิญให้เป็นคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2514 ก็ได้รับการแต่งตงั้ เปน็ อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ในชว่ งเวลาขณะนนั้ ได้เกิดความไมส่ งบทางการเมืองข้ึน มีการเดินขบวนเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิต นกั ศกึ ษาและได้เกิดการปะทะกัน ระหวา่ งรัฐบาลกับนสิ ิตนักศึกษา กลายเปน็ โศกนาฏกรรมวันมหาวิปโยค 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ทาใหจ้ อมพลถนอม กิติขจร ต้องลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวก็ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งต้ังให้ ศาตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ เป็น นายกรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ขณะดารงตาแหน่งท่านก็ได้พยายามแก้ไขปัญหาอย่าง ประนปี ระนอม และได้ลาออกจากตาแหน่งเมื่อวันท่ี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 3. ศาสนา งานดา้ นพระศาสนา ศาสตราจารสัญญา ธรรมศักด์ิ เป็นผู้ใส่ใจพุทธศาสนามาต้ังแต่รุ่นหนุ่ม และเป็นผู้ศึกษาถึงพุทธธรรมอย่าง ลึกซ้ึง โดยได้อุทิศตนให้แก่งานพระพุทธศาสนามายาวนานกว่า 40 ปี ท่านได้เรียนรู้พระธรรมคาสั่งสอนของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และปรัชญาแห่งพระพุทธศาสนา จากท่านเจ้าคุณพระเทพมุนีแห่งวัดเบญจม บพิตร ท้ังได้มีโอกาสสนทนาธรรม และศึกษาพระพุทธนาธรรมอย่างกว้างขวางกับท่านอาจารย์พุทธท-ทำาสส
107 10970 ภิกขุ แห่งวัดสวนโมกขพลาราม จนเป็นแรงบันดาลใจให้ท่านทุ่มเทการทางานให้กับพุทธมาคมแห่งประเทศ ไทยอย่าง เตม็ ทแี่ ละเป็นที่ได้รับบทบาทตอ่ การส่งเสริมพระพทุ ธศาสนาโดยได้ดารงตาแหนง่ นายกพุทธสมาคม แห่งประเทศไทย และเป็นองคก์ ารพุทธศาสนาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกยาวนานถึง 15 ปี ซ่ึงตลอดระยะเวลาอัน ยาวนานนี้ทา่ นได้บาเพญ็ ประโยชน์ให้เกดิ แกอ่ งค์การพุทธ ศาสนาเป็นอเนกประการ ทาให้องค์การพุทธศาสนา สนิกสัมพันธ์แห่งโลกเป็นปึกแผ่นมั่นคงและวัฒนาถาวร เป็นศูนย์รวมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนาของพุทธ ศาสนิกชนทั่วโลกอย่างสมบูรณ์ จนได้รับเหรียญเชิดชูเกรียติ ช้ันที่ 1 ในวาระ ฉลองครบรอบ 50 ปี ขององค์การพุทธศาสนิกชนสัมพันธ์โลก เม่ือวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ในฐานะ บุค คล ผู้คุ ณูป กา รแ ก่อ งค์ กา รพุ ท ธ ศ าส นา ท่ าม กล าง คว าม ช่ื นช มยิ นดี ขอ งช าว พุท ธทั่ วโ ล ก ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันท่ี 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริรวมอายุได้ 94 ปี 4. คุณธรรมทค่ี วรถอื เป็นแบบอยา่ ง 4.1. เปน็ ผ้ใู ฝร่ ใู้ ฝศ่ ึกษา อาจารย์สัญญา ธรรมศกั ด์ิ แมจ้ ะเป็นลกู พระยา แต่เมอ่ื ส้ินบดิ า ชีวติ ก็ลาบากมี แม่คนเดียวที่จะมาเก้ือหนุน โชคดีท่ีครอบครัวคหบดีซึ่งเป็นศิษย์ของบิดาท่านให้ความอนุเคราะห์สนับสนุนให้ เรียนและเข้าทางาน ต่อมาท่านได้ทุนไปศึกษาวิชากฎหมายยังประเทศอังกฤษ ซ่ึงเป็นทุนท่ีเอาดอกผลจาก มลู นิธิมาใช้ ท่านจึงได้เงินใช้จ่ายประจาเดือนนอ้ ยกว่านักเรียนทุนคนอ่ืนๆ ความจากัดด้านทุนจึงกลายเป็นแรง ขับที่สาคัญทาให้ท่านได้ใฝ่เรียนมากข้ึน เม่ือไม่ได้เท่ียวสนุกสนานกับคนอ่ืน เพราะเงินไม่มีก็เข้าห้องสมุดอ่าน ตาราด้วยความวิริยะอุตสาหะจนสามรถสอบเป็น เนติบัณฑิตอังกฤษได้ในเวลาเพียง 2 ปี 3 เดือน ของ หลกั สูตร 3 ปเี ต็ม จนในภายหลังไดส้ นใจศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาและปฏบิ ตั ิธรรมอย่างเคร่งครัดคนหนง่ึ 4.2 เป็นผู้มีความกตัญญูกตเวที ในช่วงท่ีตกยากเพราะส้ินบิดานั้นพระยาอรรถกฤตินิรุตติ์ (ชม เพ็ญ- ชาติ) ซ่ึงเป็นศิษย์ของบิดาที่ได้ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนให้เรียนและให้ทางาน ท่านถือว่าชีวิตของท่าน นอกจากแม่แล้วยังมีท่าสนผู้นี้เป็นผู้มีความอุปการ คุณจึงมีความรู้ศึกเป็นหน้ีบุญคุณอย่างมาก เม่ือมีโอกาส สนองคณุ ท่านก็ยินดีทาเตม็ ความสามารถ อาจารย์สัญญาไดก้ ล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “ทา่ น เจ้าคุณอรรถกฤตินริ ุตติ์ เป็นผู้เดียวที่หมั่นมาเยี่ยมเยียนถามทุกข์สุข และให้กาลังใจแกแม่และข้าพเจ้า และในท่ีสุดท่านก็เป็นผู้ชักนา และรับรองให้ข้าพเจ้าได้เข้าเรียนวิชากฎหมาย เม่ืออายุ 18 ปี และได้อบรมสั่งสอนให้กาลังใจตลอดมาจน ข้าพเจา้ ไตเ่ ตา้ เป็นตวั เปน็ ตนมาจนถงึ วันนี้ 4.3 เป็นผู้ซ่ือสัตย์สุจริต อาจารย์สัญญาเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุจริตเน่ืองจากท่านได้รับการหล่อ หลอมโดยสาย เลือดจากบิดาผู้เป็นนักกฎหมายที่ซ่ือสัตย์ ยุติธรรมตลอดถึงแบบอย่างท่ีดีจากผู้หลักผู้ใหญ่ท่ีมี บุญคุณ เช่น พระยาอรรถกฤตินิรุตต์ิผู้มีพระคุณทาให้ท่านเป็นผู้ยึดมั่นในความซ่ือสัตย์ สุจริต ยุติธรรมยิ่งชีวิต รับราชการเก่ียวกับกฎหมายเป็นผู้พิพากษา ตุลาการ ที่ยึดม่ันในคุณธรรมจนปรากฏแก่สายตาของสังคม ดังที่ ท่านได้กล่าวไว้วา่ “ ความดีน้ันไมใ่ ช่สง่ิ ท่ีหายากเลย ไม่ต้องไปมองหาท่ีไหน หาท่ีตัวเราเอง ความดีท้ังหลายอยู่ ทีต่ วั เรานัน่ แหละ” 4.4 เปน็ ผู้ใฝ่ธรรม ท่านได้อปุ สมบทเมอื่ อายุครบ 20 ปี ได้สมั ผัสกับความรม่ เยน็ แห่งพระธรรมลาสิขา มาแล้วก็ใส่ใจศึกษาธรรมตลอดเวลา และได้ศึกษาธรรมจากท่านพุทธทาสภิกขุแห่งวัดสวนโมกขพลาราม นับเป็นผูร้ ู้ธรรมะลกึ ซ้งึ และปฏิบตั ิตามได้คนหน่งึ ท่านไดด้ ารงตาแหนง่ นายกพทุ ธสมาคมแห่งประเทศไทย และ ประธานองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกยาวนานถึง 15 ปี และได้รับเหรียญเชิดชูเกียรติช้ันที่ 1 ( WFB GRAND MERIT MEDALA ) ในฐานะบคุ คลผมู้ คี ณุ ปู การแกอ่ งค์การพระพทุ ธศาสนา
108 10981 4.5 เป็นผู้จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ อาจารย์สัญญาเป็นผู้ที่มีความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ มิใช่จงรักภักดีแต่เพียงในใจเหมือนพสกนิการอื่นๆ แต่มีโอกาสได้รับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาท อย่างใกล้ชิด ได้ดารงตาแหน่งองคมนตรีและประธานองคมนตรีโดยลาดับเป็นเวลานานถึง 30 ปี ได้ใช้ความรู้ ความสามารถสนองพระเดชพระคุณใต้เบ้ืองพระยุคลบาทอย่างถวายชีวิต ด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตจนเป็นท่ีไว้ วางพระราชหฤทัย ดังประจักษ์พยานหลักฐานจากจดหมายของ ดร. เชาน์ ณ ศีลวันต์ ถึงอาจารย์สัญญาว่า “กระผผมมไไดด้เ้ขเข้า้ำเฝเฝ้าพ้ำพระรบะาบทำสทมสเมดเ็จดพ็จรพะรเจะ้าเจอ้ยำอู่หยัวู่หณัว ณพรพะรตะาตห�ำนหักนจักิตจริตลรดลาดมำีเรมื่อีเงรห่ือนงหึ่งทนี่สึงั่งทใี่สหั่ง้กใรหะ้กผรมะเชผิญมเพชริญะ รพารชะกรรำะชแกสรระับแสรั่งมับาสย่ังังมทำ่ายนังทป่ำรนะปธารนะวธ่ำานทว่ีอำาทจี่อารำยจ์สำรัญยญ์สัญาทญาำงทาน�ำง(ำรนับใ(ชรับ้ใตใช้เบ้ใต้ือ้เงบพ้ือรงะพยรุคะลยบุคาลทบ)ำมทา)โมดำยโตดลยอตดลอยดัง ไยมัง่เไคมย่เคทยาอทะ�ำไอระผไดิรพผิดลพาดลบำกดพบรก่อพงรแ่อมง้แตม่ค้แรตงั้ ่คเดรยี้ังเวด”ียว” ท่ีมา: https://goo.gl/XmWJNM
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 13 เร่ือง ชาดก ๑๐๙ หน่วยการเรียหกนลนร่มุ่วู้ทสย่ี 2ากราเระร่ือกเงราียพรนเุทรรธยี ปู้ทนรี่ ะร2วู้ สตั เริงั พอ่ืคทุ งมธศพสึกาทุ วษธกาปพรศุทะาธวสสัตนาิวาพิกแาุทแลผศธะนาสวสกาฒั นาวริกนกจชธดั นพกรตารุทวั รมอธเรยสียา่ านงวแรู้ทกิลี่ะา1ช3ศาดาเกรส่อื นงิกชชานดกตัวอยา่ รงาแยลวะชิ ชาาดสกงั คมศกึ ษาเวลา 1 ช่ัวโมง เวลา ชั้นมธั กแตปเลลลวัรา่ ะช่มุะแพสขีว้สล้อฤดัาะรต1คศะิติดา.กสนจ1านตาตปแเรกิกลาเมลวัรรมปชา่ ะียชะ.แนรแ2นพสบขะ้ีวลตรว/บ้อฤัดะวัู้ัต6อสต1คอศิสยงัยิติดาา่าค.ว่าสนวจ1งิมงเกกนตตาคศาากิกาชึกรรมมมปษาชดาทด.าแานะรี่ก2เกบะนหศา/เตหรินว/า์บแเ่ือัวสนัชต6รองลอนีวด่ือิสยิตยะางา่าแว่าวงลิงเกกรกนขะตค่วิจ้ันกัาวามชกรเรฒันม1รก๑ราดาายีน.ทันร.ดานะธมอ่ีกคเกรรกภนรหา่วรร/าเูิปูหมเินมป์รปแรเกนิดเชรำิดรนัลภยีวด่ือียภอำหิตนะงาภพำพริปคพู้พร�ำรขกนารตะยะจิอนั้กัมหมบหกเน1าหรำรคดาียาช.รางัชนนมนตนคกรอี้กกใ่วรบหามูมเน้รปาดก1(เกัเังริดปรันนเูจ้.รรียิภด1้ีอกัียาในา)ภยนหนพรวช้นิปักู้ิชมพักรเาเรารโรดียสยะียยงันหมนใคชราหมู้จป้คมาศัรกาชึกโะบตดษนเุดอยคากน็ใบคชมคล้ป�ำาดใถร1(เนังระำปนูจ้ภม.เิด1ด้ีใักา็หนใพ)หน้คนกั้านหักถเักรราเยีือเมรนรีไใยียหมนน่้ รชร321สู้จมาอ่ื...โัก/ชภภวโวบแดีดาาาหพพุิทยคทลพกัชศชใคง่งชรานั้นเจละดร้ปม์ักมยีกเใัธรรรหนนยื่แอะารมลงภเชู้ ดมะศนาดิึกต็นกพอษตคกาวาบปินหถัวทีทรา่ีุกือ2มชไใาหมด่้ กแส1ร32ลาอ่ืะ...โ/ชภภววแีดาาาหพพิททลพกัศชง่ งรานเจะดร์ กัมียกเรรหนื่ ไสใขดหาอ้แส้รบนังะกเคสวขามทารตสคศาเนงงญัึกบกอื้ษาสไสใหารดหขุ าาเปร้แส้รรื่อนงัะกะงคสพวารมาทาฤรวตสคศาททิงงญัึกาบ่ีเกษหงาสศมารขุาาเปสะรนสรื่อมาะงพรทสา่ฤงาผวใตหลทิท้ าี่เหงชศามตาาิเสะปทน็นสีม่ พมา11า๑๑๑ร..45:ทะ...ส๑๒๓ม่งาhนเหนบพผรใtอ่ือาtหักุครลกpชงะเค้จรรsนมล:าียา/กหใวกน/ชนบำใgเรานรภชาoู้จื่อตเทอนำoพักงพดม่ีิเก.บญ็gปตีำคเพทlุคปบ/น็ชือร:คWม่ีน็าาใะพhล1ครตเามQรtใมรริข.tห่อืนP4:pะดีอ(งาภ8พ้าsม1(1งรชเำh:นXพเำรร/.หน.พร2/คtว3Dะ่ือรก่ือgาtขะมวงหopบชงรอาพหพแรoคุมารsนงุทลำอืร.ว:คใาเชgว้/กธพคไะใลวlนมน/เน/รบยีมจใใgW่กักอนรนา้(หา(o)รเ)ดเภQรเอรูจ้าoีตพยีา่ือยีPักชด.พชนง็ญกg8)นีตราควlXตำบ/ู้จกชอืา่DวWิขกัอใเาาใคปอเะนรตรQร็งไนมอ่ืิขรพP(ดงเีดอพรร(ใีต8ช้าดะื่(11งรอชเานพXะอพรง.ำด.ม2กีุทคร3D่ือรตกหาธะิขวง)บาเวอราพพจชขุคงมา้านทุ รอวทคเกธพะงใ่ีเล)สเนใยีมจใควอนร้าหยร)ดเภราีตายีชภ-พชกานาคใวรบตกะือา่ งงิขอใเาาคปอนะนรท็งไน/รพี่ช(5เพ้ินรร(ชงเะื่รอราาพะือ่ งนดมงุทรกหชาธ)าาเวดจชขก้านอทกง่ีเ)สใควยร ภาระงาน/ช้นิ ง - ใบงานท่ี 5 เร่ื ชาดก ขอบเขตเนื้อหา จรพ(าะยชรเกระ2ตพีย๒พ.ัวนร.ทุ อะใคคธยนม๑๑รเรำ่วจโเููเ..งหปนั๔๕ปำ้ เสทนชิด(ิดยเนถน่ภ่เี้ีภรสเอกอ่ืำกาเวพกพปงต่ยีพยรจรน็ักววกชะำำองตรงำอวเกจะวจ้นตาใเยักไสนรักชิเ)ร่ปรา่สอือรกแงน็ันงแพดับลเพลดีตพชรภะะรรช่ระดานดะำ1ะพพมอมตอมกทะ.พโหิขก5หหสบั้งอบำรำสวุัวสชง(ัวะชนรอใพยนถในหรเงอหรกวณก้นกะ้นเบสกัสปตพแจักำ�สเำทุล็นัเรเาวัมพนรีย้วธกตียอญ็นนเดพเจน้นักรดยบรร้ำด)เ่อืูะำ่เราแูรพเรงยีแนลียงมนละะกมพเีดะรใสชวริ้ำหร้จูใำ่ำุนว่หนะกั้นอชคร้นเมะักรวพรักไเหพือ่ำรรณรเงมยีราะร(ใีเยสนชชมดพะนำคโานอียหดคเิดมีกกรวสกิดว)ถ)่ำวสพแช่าเสรลำชปดะั้วานน็ กดเนตนทดกกั้นท่ีมร)เิ่ีรียพนะรสู้จุกัวเรรรื่อณงใดสอากี ม พ ระเน มิ - รมาิตโตชววนิาททชุกาชด-ชากดามกดติ กตวินทกุ ชาดก จะเรยี นในวนั นี้ เกีย่ วอะไร2กับ. ภคำพรูทเปัง้ สิดอภงาพกงจักรและดอกบัวให้นักเรียนดู และให้นักเรียนคิดว่าชาดกที่ - - ราโชวาทชาดก จะเรียนในวันน้ี เกี่ยวอะไรกบั ภาพทงั้ สอง 10992
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 13 เรอ่ื ง ชาดก ๑๑๐ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง พุทธประวัติ พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ศาสนกิ ชนตวั อย่างและชาดก เวลา 1 ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ า สังคมศกึ ษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ 1. นักเรียนอธิบายเร่ืองราวของมิตต วินทุกชาดกและราโชวาทชาดกได้ถูกต้อง ครอบคลมุ สาระสาคญั ท่ีมา: https://goo.gl/dY6ULN ทีม่ า: https://goo.gl/bw8X8c ข้นั สอน ด้านทกั ษะและกระบวนการ 1. ครใู หน้ ักเรียนชมวดี ทิ ัศน์ เรอื่ ง มติ ตวนิ ทกุ ชาดกและราโชวาทชาดก 2. นักเรียนวิเคราะห์ข้อคิดและ 2. ครูให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อคิด หรือคุณธรรมท่ีแฝงอยู่ในเร่ืองมิตตวินทุก คุณธรรมที่แฝงอยู่ในมิตตวินทุกชาดกและ ชาดกและราโชวาทชาดก โดยมปี ระเดน็ คาถามดังนี้ ราโชวาทชาดกไดถ้ ูกต้องมีเหตุผล 2.1 มิตตวนิ ทุกชาดก เป็นเร่ืองเกย่ี วกบั อะไร และมขี อ้ คิดอย่างไร (ความโลภ ความปรารถนา และความอยาก นามาสู่ความทุกข์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ทรมานท่ีไมส่ นิ้ สดุ ) 3. นักเรียนเสนอแนะแนวทางการ 2.2 ราโชวาทชาดก เป็นเร่อื งเกีย่ วกบั อะไร และมขี ้อคดิ อยา่ งไร ประยุกต์ใช้ข้อคิดและคุณธรรมท่ีได้จาก (ผู้เป็นกษัตริย์หากดารงม่ันอยู่ในทศพิธราชธรรม ปกครองบ้านเมือง การศึกษามิตตวินทุกชาดกและราโชวาท โดยธรรม จะทาใหบ้ ้านเมืองสงบสุข) ชาดกในชวี ิตประจาวันได้อยา่ งเหมาะสม 2.3 ข้อคิดจากชาดกทั้งสองเรื่อง สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน 19130
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 เรือ่ ง ชาดก ๑๑๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่อื ง พทุ ธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า ศาสนกิ ชนตัวอย่างและชาดก เวลา 1 ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศกึ ษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 อย่างไรได้บา้ ง (การอยู่อย่างพอเพียง พอใจในสิ่งท่ีตนเองมีและการปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรม) 3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายข้อคิด หรือแนวทางที่ควรยึดถือปฏิบัติ จากการศึกษาเร่ืองพุทธสาวก พทุ ธสาวกา พทุ ธศาสนกิ ชนตัวอย่างและชาดก 4. ครแู จกใบงานท่ี 5 เรื่อง ชาดก ให้นักเรียนทุกคนเพ่ือเร่ิมกิจกรรม “นิทาน สอนธรรม” โดยให้นักเรียนแต่งนิทาน โดยใช้ข้อคิด หรือแนวทางท่ีควรยึดถือ ปฏิบัติ จากเรื่องท่ีเรียนมาเป็นองค์ประกอบในการแต่งนิทาน โดยใช้เวลา 20 นาที มีหวั ขอ้ ใหเ้ ลอื กดังนี้ 4.1 ความเพียร 4.2 มีจิตสานึกที่ดี 4.3 ความใฝร่ ๔ู้ใฝ.๓่เรียคนวำมใฝ่รู้ใฝ่เรยี น ๔.๔ ควำมรกั และซ่ือตรง ๔4.๕4 ควำามกรตักญัแลญะกูซตื่อเตวรทงี 4.5๔.ค๖วตาม้ังมกัน่ตญัในญทูกศตพเธิวรทำี ชธรรม 4๔.6๗ ตคัง้วมำนั่มพในอทเพศียพงิธรไามช่อธยรำรกมได4อ้ ย.7ำกคมวี ามพอเพยี ง ไมอ่ ยากได้อยากมี 5. ครูสุ่มนักเรียน 2 คน ออกมาเล่านิทานประกอบท่าทางของตนพร้อมทั้ง บอกข้อคดิ ท่ีได้จากนทิ าน ขั้นสรปุ 1. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายสรุปบทเรยี น เร่ือง ชาดก โดยใชค้ ำ� ถำมดงั น้ี 11941
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 13 เรอื่ ง ชาดก ๑๑๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง พทุ ธประวตั ิ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า ศาสนิกชนตวั อย่างและชาดก เวลา 1 ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ๑.๑ ชำด(คกืคออื เอระ่ือไงรราวต่างๆ ในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าเม่ือครั้งยังเป็นพระ โพธิสัตว์บ(คาือเพเร็ญอื่ งบราำรวมตี่ำทงี่ทๆรงในอามดาีตตชรำัสตเขิ ลอ่างใพหร้พะุทพธุทบธรเจิษ้ำัทเมฟ่อื ังคเรปัง้ ็นยงักเาปร็นยพกรตะัวอย่าง ปโพรธะิสกัตอวบ์บก�ำาเรพเ็ญทศบนำรามธรี ทรมี่ททเนรงื้อนเร�ำื่อมงำขตอรงสั ชเลา่ำดใกหมพ้ ีททุ ้ังธคบวราษิมัทเพฟลงั ิดเปพ็นลกินำแรลยะกแตฝัวงอขย้อำ่ คงิด คปตริเะตกอื อนบใกจำแรกเ่ผทศู้ ึกนษำธา)รรม เนอ้ื เรือ่ งของชำดกมีทง้ั ควำมเพลิดเพลินและแฝงข้อคดิ คตเิ ต2ือ.นคใจรแูกกรผ่ะศู้ตึกุ้นษคำวามคิดนักเรียน โดยใช้แนวคาถามดังน้ี “จากเรื่องราว พุทธ ปเคนเ๑พปุณรัก.อื่๒็นะเคเรแวปจา่ยีนัตอ็นำนวิกยแค(พท(ชเา่นชดิรุำทงาำวื่อวงไดธดทรใ่ำงสกนบกรมาาเำกเงา้คีปปววใงำุณน็นพก็น”รกคพเเทุ รรพาำ่ัฒธ่ือื่อรอุทปงงพนยธรรรำัฒ่ำสะำาคงวววนาไวัตวราำหหบิกิคมพรร้ำาวคือือุทงาดิเศเมธรรแาสือ่ค่ือลสำงดิงะวเนเแลปลกิกล่ำ่ราะชทพะทปนี่เยทุ่ีเกรกกุตธยี่ะ่ียตสัววยวำอใ์ ขุกชขวยอ้ตใ้ิก้อ่านง์ใำงงกชชกแับศใ้ีวับนลำศิตศชะสำปาวีชนสรสิตานกิะนปดชำจารกน�ำมะวตมขีนจนั วัีขอ้าัก)อ้อวคเยนัคริดำ่ีย)ิดแงนทฝแคงลี่แอิะดฝยชงวู่เอำ่าพดยมอื่ กู่ี 3. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปสาระสาคัญ เรื่อง ชาดก (การศึกษาเร่ืองราวทางศาสนา ทาให้ได้แนวทางการประพฤติท่ีเหมาะสม ส่งผลให้สงั คมสงบสุข) 11925
113 11936 การวดั และประเมินผล ส่งิ ท่ตี ้องการวัด/ ประเมนิ วิธกี าร เครื่องมือท่ีใช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ การอธิบายเรื่องราวของ - การตอบคาถาม - คาถาม - ตอบคาถามได้ถกู ต้อง มิ ต ต วิ น ทุ ก ช า ด ก แ ล ะ - การอธบิ าย - วีดิทัศน์ เร่ือง มิตตวินทุก- มากกวา่ ร้อยละ 80 ราโชวาทชาดก - การศึกษาค้นคว้า ชาดกและราโชวาทชาดก ด้วยตนเอง ด้านทกั ษะ/กระบวนการ การวิเคราะห์ข้อคิดและ - การตอบคาถาม - คาถาม - ตอบคาถามได้ถูกตอ้ ง คุ ณ ธ ร ร ม ที่ แ ฝ ง อ ยู่ ใ น - การวเิ คราะห์ - วีดิทัศน์ เรื่อง มิตตวินทุก- สมเหตุสมผลมากกว่า มิ ต ต วิ น ทุ ก ช า ด ก แ ล ะ - การอภปิ ราย ชาดกและราโชวาทชาดก ร้อยละ 80 ราโชวาทชาดก - การแต่งนทิ าน - กจิ กรรม “นทิ านสอนธรรม” - ใบงานท่ี 5 เร่ือง ชาดก ดา้ นคณุ ลักษณะ - คาถาม - ตอบคาถามได้ถกู ตอ้ ง นั กเรียน เสน อแน ะแน ว - การตอบคาถาม ทางการประยุกต์ใช้ข้อคิด - การวเิ คราะห์ - วีดิทัศน์ เร่ือง มิตตวินทุก- สมเหตุสมผลมากกว่า แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม ที่ ได้ จ า ก - การอภปิ ราย การศึกษามิตตวินทุกชาดก - การแตง่ นทิ าน ชาดกและราโชวาทชาดก ร้อยละ 80 แ ล ะ ร าโช ว า ท ช าด ก ใน - การสงั เกต - กิจกรรม “นทิ านสอนธรรม” - พฤติกรรมการปฏิบัติ ชี วิต ป ระจ าวัน ได้ อ ย่ าง พฤติกรรม เหมาะสม - ใบงานที่ 5 เรอื่ ง ชาดก กิจกรรมในช้ันเรียน ผ่าน - แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์ร้อยละ 80
114 11974 บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .......................................... ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ... ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ....................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ......................................ผู้สอน (........................................................) วันท.่ี .......เดอื น..............พ.ศ.............. ความคดิ เห็น/ ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผ้ทู ไ่ี ด้รับมอบหมาย ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ......................................ผตู้ รวจ (...........................................................) วนั ที.่ .........เดอื น................พ.ศ.............
115 11985 ช่อื - สกลุ ............................................ช้นั .............เลขที.่ ........... ใบงานท่ี 5 เรื่อง ชาดก หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 พุทธประวัติ พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ศาสนกิ ชนตวั อย่าง และชาดก รายวชิ า สังคมศึกษา รหัสวิชา ส 22101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 กจิ กรรม “นิทานสอนธรรม” คาชี้แจง ให้นกั เรยี นแต่งนทิ านและเขียนข้อคดิ ท่ีได้จากนิทาน โดยใช้หัวข้อคุณธรรมตามทีก่ าหนดให้ พร้อมวาดภาพประกอบ นิทานเรือ่ ง..................................................................................... เน้ือเรื่องของนทิ าน ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................................... ......... ......................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ข้อคิดที่ได้ ............................................................................................................................................ .................................. ................................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................. .............................................
11996 3 67 1 .7 4 1.1 .2/8 2. 3.1 1) 2) 3) 5 4) 1๑0๐ และ อบำยมขุ 6๖ 5) 2( ) 6) 7) 3.2 1) 2) 3)
4) 111070 6 และอบำยมขุ ๖ 10 2 3 35 10 6 2 4 ควำมสำมำรถในกำรสอื่ สำร ควำมสำมำรถในกำรคดิ ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชีวิต ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 5 ๕.๑ รกั ชำติ ศำสน์ กษตั รยิ ์ ๕5.๒2 มีวินัย ๕5.๓3 ใฝเ่ รียนรู้ ๕.๔ มุง่ ม่ันในกำรทำ� งำน 6
101 118 เกณฑก์ ารประเมินช้นิ ผลงานหรือภาระงาน - รูปแบบกำรเขียน - - - - เรยี งควำมกระทธู้ รรม จำกพทุ ธศำสนสภุ ำษิต 80 % 70%-79% 60%-69% 59% --- - - เน้อื หำ 80% 70-79% 50-69 % 50% 5 :
๑๑๙ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 14 เร่ือง พระไตรปิฎก เวลา 1 ชั่วโมง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศึกษา ตวั ชี้วดั กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื / แหลง่ เรยี นรู้ ส 1.1 ม.2/7 อธิบายโครงสร้างและสาระ ขั้นนา 1. ภาพ ตะกร้า 3 ใบ 1. ครูใช้ประเด็นคาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเป็นการนาเข้าสู่ 2. วีดิทัศน์ “ประวัติความเปน็ มา โดยสังเขปของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ บทเรียน ดังน้ี ของพระไตรปิฎก” ตนนบั ถอื 1.1 คาสอนของศาสนาถกู บันทึกลงวัตถใุ ดบา้ ง (คัมภรี ์, จารึก) 3. วีดิทัศน์ “ประวตั ิพุทธศาสนา ท่ีมาท่ีไปพระไตรปฎิ ก” สาระสาคญั 1.2 นักเรียนรู้จักคัมภีร์ของศาสนาใดบ้าง (ไบเบิล, อัลกุรอาน, 4. แผนผงั โครงสร้างพระไตรปฎิ ก คัมภีร์ หรือตาราทางศาสนาเป็นส่วนหนึ่งท่ีบันทึก พระไตรปิฎก, ฯลฯ) 5. หนงั สอื เรียนพระพุทธศาสนา 1.3 เพราะเหตุใดคาสอนของศาสนาต่าง ๆ จึงต้องมีการบันทึกลง หลักคาสอน ระเบียบ พิธีกรรมของศาสนาน้ัน ๆ ไว้ให้ ในสิ่งต่าง ๆ (เพ่ือสืบทอดคาสอนอย่างถูกต้องด้วยลายลักษณ์อักษร ไม่ ม.2 เป็นหมวดหมู่เพื่อให้ทุกคนได้ศึกษาและปฏิบัติตาม ผิดเพ้ียนไดง้ า่ ย) ๖5. ใบความรู้ เรอ่ื ง โครงสรา้ ง 2. ครูเชื่อมโยงสู่บทเรียนว่า พระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์ของพุทธศาสนา พระไตรปฎิ ก อย่างถกู ต้อง อนั จะนามาซง่ึ สันตสิ ขุ ของโลก บันทึกคาสอนของพระศาสดา แต่กว่าจะมาเป็นคัมภีร์ที่มีลายลักษณ์อักษร ขอบเขตเนือ้ หา ได้นัน้ มที ไ่ี ปท่ีมาอย่างไร จะต้องมาเรียนรู้เร่อื ง “พระไตรปิฎก” ในวนั น้ี ภาระงาน/ ช้นิ งาน พระไตรปิฎก ข้ันสอน - ใบงานที่ 1 เร่อื ง โครงสรา้ ง 1. ความหมายพระไตรปฎิ ก 1. ครูใหน้ ักเรยี นดภู าพ ตะกรา้ 3 ใบ แลว้ ใชป้ ระเดน็ คาถามตอ่ ไปนี้ พระไตรปฎิ ก 2. ความสาคัญของพระไตรปิฎก 3. โครงสร้างพระไตรปิฎก 3.1 พระวินัยปฎิ ก 3.2 พระสตุ ตนั ตปิฎก 3.3 พระอภธิ รรมปิฎก 10129
๑๒๐ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 เรือ่ ง พระไตรปฎิ ก เวลา 1 ชั่วโมง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศกึ ษา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.1 จากภาพตะกรา้ 3 ใบ มคี วามเชื่อมโยงอยา่ งไรกบั พระไตรปฎิ ก ด้านความรู้ (ไตร แปลวา่ สาม ส่วนปฎิ ก แปลว่า ตะกรา้ คัมภรี ์ หมวด หมู่) 1. นักเรียนอธบิ ายความหมายของพระไตรปิฎกได้ 1.2 นักเรยี นคิดวา่ พระไตรปฎิ กแทจ้ ริงนั้นมคี วามหมายว่าอยา่ งไร ถูกตอ้ ง (พระไตรปิฎก แปลว่า คัมภีร์ หมวด หมู่ หรือตะกร้าท่ีบรรจุพระธรรม ด้านทักษะและกระบวนการ คาสอนของพุทธเจ้าไว้เป็นหมวดหมู่) 2. นักเรียนจาแนกองค์ประกอบของพระไตรปิฎก 2. ครูเปิดวีดิทัศน์ “ประวัติความเป็นมาของพระไตรปิฎก ” ไดถ้ ูกต้อง (https://www.youtube.com/watch?v=JoieKq09Qmk) ประมำณ ดา้ นคุณลกั ษณะ w๑aนtcำhท?ีแvล=ว้ Jใoชi้คe�ำKถqำ0ม9ตQอ่ ไmปkน)้ี ประมาณ 1 นาทีแลว้ ใชค้ าถามต่อไปน้ี 3. นักเรียนยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ประโยชน์ 2.1 พระไตรปฎิ กมที ีม่ าการบันทึกอยา่ งไร ของพระไตรปฎิ กได้อยา่ งเหมาะสม (เดิมเป็นการสอนแบบปากต่อปาก ต่อมามีการบันทึกด้วย ตัวอักษรลงวัตถุต่าง ๆ แยกเป็นหมวดหมู่จึงเรียกพระไตรปิฎก ต่อมา เทคโนโลยเี จริญข้ึนจงึ มกี ารจดั พมิ พ์เปน็ หนังสือ) 2.2 ครูเปิดวีดิทัศน์ “ประวัติพุทธศาสนา ท่ีมาท่ีไปพระไตรปิฎก” (ประมาณ 5 นาท)ี 1) ผลของการไม่ได้บันทึกแต่แรกเร่ิม (เกิดการผิดเพ้ียนของ พระธรรมคาสอน) 2) หากไม่มีการบันทึกพระธรรมคาสอนไว้ต่อไปจะเกิดอะไร ขน้ึ (มกี ำรสอนแบบผิดเพยี้ นไปจำกเดมิ มำกข้ึน) (มกี ารสอนแบบผดิ เพี้ยนไปจากเดิมมากขึ้น) 3) การบนั ทึกเป็นพระไตรปิฎกมีความสาคัญอยา่ งไร (เ ป็ น ท่ี ร ว บ ร ว ม พ ร ะ ธ ร ร ม ค า ส อ น ท่ี ถู ก ต้ อ ง ข อ ง พระพุทธเจ้า) 12030
๑๒๑ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 14 เร่ือง พระไตรปิฎก เวลา 1 ช่ัวโมง ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา สังคมศึกษา 3. นักเรียนร่วมกันดูแผนผังโครงสร้างพระไตรปิฎกหลังร่วมกัน วิเคราะห์ลักษณะสาคัญของพระไตรปิฎกทั้ง 3 หมวดหมู่ โดยครูอธิบาย เพิม่ เติมใหส้ มบรู ณ์ 4. นกั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรม “พระไตรปฎิ กกับคัมภีร์ท่ีหายไป” ครแู บง่ นกั เรียนเป็น 8 กลมุ่ เทา่ ๆ กัน โดยครูจะเปดิ แผน่ ป้ายลักษณะสาคัญจาก ส่วนใดส่วนหนง่ึ จากพระไตรปิฎก และให้แต่ละกลมุ่ แข่งขันยกมอื เพ่ือตอบ คาถามว่าอยู่ในหมวดใด กลุ่มใดชนะจะได้รบั คะแนนตามหมวดนน้ั และ หากครบสามหมวดกอ่ นกล่มุ นน้ั จะเป็นผู้ชนะ 112041
๑๒๒ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 14 เรอื่ ง พระไตรปฎิ ก เวลา 1 ช่ัวโมง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศึกษา ขั้นสรปุ ค รู ใ ห้ นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น ส รุ ป ส า ร ะ ส า คั ญ ข อ ง เ น้ื อ ห า โ ด ย ใ ช้ ค า ถ า ม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. นกั เรียนคดิ วา่ พระไตรปฎิ กมีประโยชน์และมีความสาคญั ใน พระพทุ ธศาสนาหรือไม่ เพราะเหตใุ ด (มีความสาคัญเพราะเป็นคัมภีรท์ ี่รวบรวมหลกั ธรรมคาสอนของ พระพุทธศาสนา) 2. เหตุใดทุกศาสนาจึงมกี ารรวมรวมคาสอนไว้เป็นตารา หรือคมั ภีร์ (เพอื่ รวบรวมคาสอนไว้สาหรับศกึ ษาและปฏิบตั ิตามคาสอน) 3. ถ้าทุกคนสามารถปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาท่ีตนนับถือได้ จะสง่ ผลอย่างไร (นามาซงึ่ ความความสงบสุข/ สนั ตสิ ขุ ของโลก) 4. นักเรียนประยุกต์ใช้การเรียนเรื่อง พระไตรปิฎก ไปปรับใช้ให้ เกิดผลอยา่ งไรต่อตนเองและส่วนรวม (ต่อตนเองชีวิตจะมีความสุขประสบผลสาเร็จในส่ิงที่ดีงามและ ส่งผลต่อสว่ นรวม คือ สงั คมมีความสงบสขุ ปญั หาต่าง ๆ ลดลง และสงั คมมี ความเจรญิ รุ่งเรอื ง) 112025
111220336 การวัดและประเมินผล สิ่งทต่ี ้องการวัด/ วธิ กี าร เครอ่ื งมือที่ใช้ เกณฑ์ ประเมนิ ด้านความรู้ การอธบิ ายความหมาย - การตอบคาถาม - คาถาม - ตอบคาถามได้ถูกต้อง ของพระไตรปิฎก - การอธบิ าย - การศึกษาค้นคว้าดว้ ย - วีดิทัศน์ “ประวัติความ มากกว่า รอ้ ยละ 80 ตนเอง เปน็ มาของพระไตรปิฎก” - ใบความรู้ เรื่อง โครงสรา้ งพระไตรปฎิ ก - หนังสอื เรยี น พระพุทธศาสนา ม.2 ดา้ นทักษะ/ กระบวนการ - การตอบคาถาม - คาถาม - ตอบตาถามได้ตาม จาแนกองค์ประกอบ - การอธบิ าย จุดประสงค์ผ่านเกณฑ์ ของพระไตรปฎิ ก - การวเิ คราะห์ - แผนผงั โครงสรา้ ง รอ้ ยละ 80 - การทากิจกรรมกลมุ่ - ตรวจใบงานที่ 1 เรอื่ ง พระไตรปิฎก โครงสร้างพระไตรปฎิ ก - กิจกรรม “พระไตรปิฎก กบั คมั ภรี ์ทห่ี ายไป” - ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง โครงสรา้ งพระไตรปฎิ ก ด้านคณุ ลกั ษณะ ยกตวั อย่างการ - การตอบคาถาม -วดี ทิ ศั น์ “ประวัติพทุ ธ - พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ ประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชน์ - การอธบิ าย ศาสนา ทีม่ าท่ีไป กิจกรรมในชัน้ เรียน ของพระไตรปิฎก - การอภปิ ราย พระไตรปิฎก” ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 - การสังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
112124074 บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ........................................................................................................................... ............................................ ปัญหาและอุปสรรค ....................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ................................................................................................................................................................ ....... ลงช่อื ......................................ผสู้ อน (........................................................) วนั ท่.ี .......เดือน..............พ.ศ.............. ความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................ .................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................ผตู้ รวจ (...........................................................) วันที่..........เดอื น................พ.ศ.............
111220585 ใบความรู้ เรื่อง พระไตรปิฎก หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 หลกั ธรรรรมมททาางงพพรระะพพทุ ทุ ธธศศาาสสนนาา รายวชิ า สังคมศึกษาา รหัสวชิ า ส 2๒2๒1๑0๐1๑ ภาคเรียนที่ ๑1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๒2 พระไตรปิฎก แปลตามศพั ท์ ว่า กระจาด หรือตะกร้า เป็นคัมภีรข์ องพระพทุ ธศาสนาที่รวบรวมพระพธรรระมธรรม คาสอนของพระพทุ ธเจ้า โครงสรา้ งพระไตรปิฎก พระไตรปิฎก 45 เล่มดังกล่าวมามีสาระสาคัญ โดยเรียงลาดับเล่มดังต่อไปน้ี (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โต) : 2543 : 75-93) ดังแผนผังมโนทัศน์ตอ่ ไปน้ี พระไตรปิฎก (๔๕ เล่ม) พระวินัย (๘ เล่ม) พระวิสูตร (๒๕ เลม่ ) พระอภธิ ธรรม (๑๒ เล่ม) ภกิ ขวุ ิภังค์ ๑ - ๒ ทฆี นกิ าย ๙ - ๑๑ สังคณี ๓๔ ภิกขนุ วี ิภงั ค์ ๓ มชั ฌิมนิกาย ๑๒ - ๑๔ วิภังค์ ๓๕ มหาวรรค ๔ - ๕ สังยตุ ตนกิ าย ๑๕ - ๑๙ ธาตุกถา ๓๖ จลุ วรรค ๖ - ๗ องั คตุ ตรนิกาย ๒๐ - ๒๔ ปคุ คลบญั ญัติ ๓๖ ปริวาร ๘ ขุททกนิกาย ๒๕ - ๓๓ กถาวตั ถุ ๓๗ ยมก ๓๘ - ๓๙ ปัฏฐาน ๔๐ - ๔๕ แผนผงั มโนทัศน์แสดงโครงสรา้ งพระไตรปิฎก 1. พระวินัยปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระวนิ ัย คือพุทธบญั ญัติเกี่ยวกับ ความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนยี มและ การดาเนินกิจการต่าง ๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ แบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า อา ปา ม จุ ป)* จานวน 8 เล่ม 2. พระสุตตนั ตปิฎก ประมวลพทุ ธพจน์หมวดพระสูตร คือ พระธรรมเทศนา คาบรรยายหรืออธิบายธรรมต่าง ๆ ที่ตรัสยกั เย้ืองให้ เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเร่ืองราวท้ังหลายที่เป็นช้ันเดิมในพระพุทธศาสนา แบง่ เป็น 5 นิกาย (เรียกย่อหรอื หวั ใจวา่ ที. ม. สงั . องั . ขุ.) 25 เล่ม 3. พระอภธิ รรมปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรม คือหลกั ธรรมและคาอธิบายท่ีเป็นเน้ือหาวิชาล้วน ๆ ไมเ่ กี่ยวด้วยบุคคล หรอื เหตุการณ์ แบง่ เป็น 7 คมั ภรี ์ (เรียกยอ่ หรอื หวั ใจวา่ ส วิ ธา ปุ ก ย ป) 12 เลม่
112126096 ความสาคญั ของพระไตรปิฎก พระไตรปิฎกมีความสาคัญและคุณค่าสาคัญหลายประการ (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตโฺ ต), 2543: 68-71) ไดแ้ ก่ ดงั นี้ 1. พระไตรปิฎกเป็นท่ีรวมไว้ซึ่งพระพุทธพจน์ อันเป็นคาส่ังสอนของพระพุทธเจ้าที่พระองคไ์ ด้ตรัสไว้เอง ซึ่ง ตกทอดมาถงึ สมัยพวกเรา ทาใหเ้ รารู้จักคาสอนของพระพทุ ธเจ้าจากพระไตรปิฎกเป็นสาคญั 2. พระไตรปิฎกเป็นที่สถิตของพระศาสดาของพุทธศาสนิกชน เพราะเป็นท่ีบรรจุพระธรรมวินัยที่ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ให้เป็นศาสดาแทนพระองค์ เราจะเฝ้าหรือรู้จักพระพุทธเจ้าได้จากพระดารัสของพระองค์ที่ท่าน รกั ษากนั ไวใ้ นพระไตรปิฎก 3. พระไตรปิฎกเป็นแหล่งต้นเดิมของคาสอนในพระพุทธศาสนา คาสอน คาอธิบาย คมั ภีร์ หนังสอื ตารา ที่ อาจารย์และนักปราชญ์ท้ังหลายพูด กลา่ วหรอื เรียบเรยี งไวท้ ี่จดั ว่าเป็นของในพระพทุ ธศาสนา จะตอ้ งสืบขยายออกมา และเป็นไปตามคาสอนแม่บทในพระไตรปฎิ ก ที่เป็นฐานหรือเปน็ แหลง่ ตน้ เดมิ 4. พระไตรปฎิ กเปน็ หลักฐานอ้างองิ ในการแสดงหรือยนื ยันหลกั การท่กี ล่าวว่า เปน็ พระพทุ ธศาสนา จะเป็นท่ี น่าเชื่อถอื หรอื ยอมรบั ได้ด้วยดี เมอื่ อ้างอิงหลกั ฐานในพระไตรปิฎก ซงึ่ ถือว่าเป็นหลักฐานอา้ งองิ ขั้นสดุ ทา้ ยสงู สุด 5. พระไตรปฎิ กเปน็ มาตรฐานตรวจสอบคาสอนในพระพุทธศาสนา คาสอนหรอื คากล่าวใด ๆ ที่จะถือว่าเป็น คาสอนในพระพุทธศาสนาได้ จะต้องสอดคล้องกับพระธรรมวินัยซ่ึงมีมาในพระไตรปิฎก (แม้แต่คาหรือข้อความใน พระไตรปิฎกเอง ถา้ สว่ นใดถกู สงสัยว่าจะแปลกปลอม ก็ตรวจสอบด้วยคาสอนทั่วไปในพระไตรปฎิ ก) 6. พระไตรปิฎกเป็นมาตรฐานตรวจสอบความเช่ือถือและข้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนา ความเชื่อถือหรือข้อ ปฏิบัติตลอดจนพฤติกรรมใด ๆ จะวินิจฉัยว่าถูกต้องหรือผิดพลาดเป็นพระพุทธศาสนาหรือไม่ ก็โดยอาศัยพระธรรม วินยั ทม่ี มี าในพระไตรปฎิ กเป็นเครอื่ งตดั ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ วมาน้ี การศกึ ษาคน้ คว้าพระไตรปฎิ กจึงเปน็ กจิ สาคญั ยิ่งของชาวพุทธ ถือวา่ เปน็ การสบื ต่ออายุ พระพุทธศาสนา หรือเป็นความดารงอยู่ของพระพุทธศาสนากล่าวคือ ถ้ายังมีการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกเพื่อ นาไปใช้ปฏิบัติ พระพทุ ธศาสนาก็ยงั ดารงอยู่ แตถ่ ้าไมม่ ีการศกึ ษาคน้ ควา้ พระไตรปิฎก แม้จะมีการปฏิบัติก็จะไม่เป็นไป ตามหลักการของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาก็จะไม่ดารงอยู่คือจะเสื่อมสูญไปนอกจากความสาคัญในทาง พระพทุ ธศาสนาโดยตรงแลว้ พระไตรปิฎกยงั มีคุณค่าท่ีสาคัญในด้านอนื่ ๆ อีกมาก โดยเฉพาะ 1. เป็นที่บันทึกหลักฐานเก่ียวกับลัทธิ ความเชื่อถือ ศาสนา ปรัชญา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม เร่ืองราว เหตกุ ารณ์ และถนิ่ ฐาน เชน่ แว่นแคว้นต่าง ๆ ในยุคอดีตไว้เป็นอันมาก 2. เป็นแหลง่ ทจ่ี ะสืบค้นแนวความคิดท่สี ัมพันธ์กับวิชาการต่าง ๆ เน่อื งจากคาสอนในพระธรรมวินัยมีเนือ้ หา สาระเกยี่ วโยง หรือครอบคลุมถึงวชิ าการหลายอย่าง เช่น จติ วทิ ยา กฎหมาย การปกครอง เศรษฐกิจ เปน็ ตน้ 3. เป็นแหล่งเดิมของคาศัพท์บาลที ีน่ ามาใช้ในภาษาไทย เน่ืองจากภาษาบาลเี ป็นรากฐานสาคัญส่วนหนงึ่ ของ ภาษาไทย การศกึ ษาค้นคว้าพระไตรปฎิ กจงึ มีอุปการะพิเศษแกก่ ารศกึ ษาภาษาไทย
111221770 ช่อื - สกลุ ............................................ชน้ั .............เลขท่ี............ ใบงานที่ 1 เร่อื ง พระไตรปฎิ ก หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา รายวิชา สงั คมศกึ ษา รหัสวชิ า ส 22101 ภาคเรยี นท่ี 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นนาตวั เลขหน้าขอ้ ความดา้ นล่างมาใส่ในชอ่ งว่างใตโ้ ครงสรา้ งพระไตรปิฎกใหส้ มั พนั ธก์ นั พระวนิ ยั ปิฎก พระอภธิ รรมปิฎก พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ………………………………. ……………………………..…. ………………………………… ………………………………. ………………………..………. ………………………………… 1. ชาวบา้ นเฝา้ ติดตามพฤติกรรมเจ้าอาวาส ทราบว่าเอาผู้หญิงข้นึ ไปนอนบนกฏุ ใิ นตอนกลางคนื 2. วไิ ลตอ้ งการทารายงานเกย่ี วประวตั คิ วามเปน็ มาของกฐนิ และพิธีถวายกฐนิ ท่ีถกู ต้อง 3. กานันแสงทองเขา้ ร่วมโครงการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษเุ ฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั 4. เสาวลกั ษณต์ อ้ งการศกึ ษาพทุ ธศาสนสุภาษิตเพื่อนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน 5. สทิ ธชิ ยั ตอ้ งการศึกษาเร่ืองของอริยสจั 4 เพ่ือเตรียมสอบปลายภาค 6. นิพนธต์ อ้ งการคน้ หาพระสูตรที่เกีย่ วขอ้ งกับบุคคล สถานที่ และขอ้ ธรรมที่เรียกว่า “สังยุตต์” 7. คมั ภีร์ที่รวบรวมคาสงั่ สอนของพระพทุ ธเจ้าในสว่ นท่ีเปน็ พระธรรมเทศนาทพ่ี ระองค์ตรสั ไว้กับบุคคลต่าง ๆ 8. ชาญชยั สงสัยการบวชเป็นพระฤาษีของเณรทองคา 9. สนุ ียม์ ขี ้อสงสัยทาไมในปจั จุบันไม่มีภิกษณุ ี จึงทาให้ต้องศึกษาประวัตคิ วามเป็นมาของภิกษุณี 10. ข้อสงสยั ของครูชาตชิ ายทาไมจึงจัดหมวดธรรมเปน็ ธรรมที่ควรรู้ ธรรมท่คี วรละ ธรรมทีค่ วรบรรลุ ธรรมท่คี วรเจรญิ 11. ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ อนิ ทรยี ์ เกี่ยวกบั บคุ คล 12. คาถามคาตอบในหลักธรรม 500 ข้อ เกี่ยวกับความเห็นในนกิ ายตา่ ง ๆ ของพระพุทธศาสนา 18 นิกายเพ่ือเป็น ตัดสินพระธรรม 13. หมวดรวบรวมข้อหลักธรรมเบด็ เตล็ด 14. เรอื่ งการทาสังคายนาครัง้ ที่ 1 และการทาสงั คายนาครงั้ ที่ 2 15. ว่าดว้ ยการจาพรรษา อุโบสถและปวารณา
๑๒๘ แผนการจัดการเรยี นรทู. ่ี ๑๕ เรอ่ื ง ธรรมคุณ ๖ หนว> ยการเรียนรทู. ี่ ๓ เร่ืองหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา เวลา ๑ ช่วั โมง กลุ>มสาระการเรยี นรู. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา สงั คมศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปNท่ี ๒ ตวั ช้วี ดั กิจกรรมการเรยี นรู. ส่อื / แหล>งเรียนรู. ส ๑.๑ ม.๒/๘ อธิบายธรรมคุณ และข1อ ขัน้ นำ ๑. ภาพองคปO ระกอบของตน1 ไม1 ธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือ ๑. ครใู ห1นักเรยี นดูภาพองคOประกอบของต1นไม1 (ลำตัน ราก ใบ) แล1วใชค1 ำถาม ๒. หนงั สอื พระพทุ ธศาสนาม.๒ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ ตอG ไปนี้ กำหนด เห็นคุณคGาและนำไปพัฒนา แกป1 Lญหาของชุมชนและสังคม ส ๑.๑ ม.๒/๑๑ วิเคราะหOการปฏิบัติ ภาระงาน/ ชิ้นงาน - ใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง ธรรมคุณ ๖ ตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดำรงตนอยGางเหมาะสมในกระแส ความเปลี่ยนแปลงของโลกและการอยGู รGวมกนั อยาG งสันติสขุ ๑.๑ จากภาพ ลำตน1 ราก ใบ รวมกันเปนZ องคOประกอบทีส่ ำคญั ของอะไร (ต1นไม1) ๑.๒ การเรียนการสอนมีองคOประกอบอะไรบา1 ง (ครู นักเรียน เนื้อหาท่เี รียน) สาระสำคัญ ๑.๓ องคปO ระกอบที่สำคญั พุทธศาสนา เปZนสง่ิ ที่ควรเคารพสงู สดุ ของชาวพทุ ธ เมือ่ มนุษยปO ฏบิ ตั ติ ามคำสอนของศาสนา เรยี กวGาอะไร ประกอบด1วยอะไรบ1าง (พระรตั นตรยั ประกอบดว1 ย พระพทุ ธ พระธรรม ยGอมทำใหส1 งั คมสงบสขุ พระสงฆO) ธรรม) ๑.๔ คำสอนของพระพุทธเจา1 อยใGู นองคปO ระกอบใดของพระรตั นตรัย (พระ 112181
แผนการจดั การเรยี นรท.ู ่ี ๑๕ เร่อื ง ธรรมคณุ ๖ ๑๒๙ หน>วยการเรียนร.ทู ่ี ๓ เร่อื งหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เวลา ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปทN ่ี ๒ กลม>ุ สาระการเรยี นรู. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศึกษา ขอบเขตเนอื้ หา ๒. ครูอธิบายเก่ียวกบั พระรตั นตรัยเพิม่ เตมิ และเช่อื มโยงคำตอบของนกั เรยี นเขา1 สGู หลกั ธรรมคุณ ๖ จดุ ประสงคYการเรียนรู. บทเรียน เรอ่ื ง ธรรมคณุ ๖ (คุณความดีงามของพระธรรม) ดา. นความรู. ขั้นสอน ๑. ครใู หน1 กั เรียนสวดมนตO บทสรรเสริญพระธรรมคณุ ๖ ประการ โดยใหน1 กั เรียน ๑. นักเรียนอธิบายข1อธรรมสำคัญของ ดูหนังสือเรยี นพระพุทธ- ศาสนา ม.๒ ควบคกูG ารสวดมนตO ธรรมคุณ ๖ ไดถ1อูกยตำ่ ง1อถงกู ต้อง บทสรรเสริญพระธรรมคณุ ๖ ด.านทกั ษะและกระบวนการ (สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สนั ทิฏฐิโฏ อะกาลโิ ก เอหปิ Lสสิโก โอปะนะยิโก ๒. นักเรยี นวเิ คราะหOประโยชนขO 1อธรรม ปจL จตั ตัง เวทติ พั โพ วิญbูหตี )ิ สำคญั ของธรรมคณุ ๖ ไดอ1 ยาG งสมเหตุสมผล ๒. ครใู หน1 กั เรียนศกึ ษาคน1 ควา1 เรื่อง ธรรมคุณ ๖ ในหนังสอื เรียน พระพทุ ธศาสนา ม.๒ และทำใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง ธรรมคณุ ๖ จากน้นั กันสนทนาใน ประเดน็ ตGอไปนี้ ด.านคุณลกั ษณะ ๒.๑ บทสรรเสรญิ พระธรรมคณุ ๖ ประการ แปลความหมายได1อยGางไร (คุณ ๓. นักเรียนเสนอแนวทางการ ประยุกตOใช1ธรรมคุณ ๖ ในชีวิตประจำวันได1 ของพระธรรมมี ๖ ประการ เปZนบทสวดสำหรบั นอ1 มนาG ระลึกไวใ1 นใจ) อยาG งเหมาะสม ๒.๒ ครยู กตัวอยGางบทสวดสรรเสรญิ พระธรรมคุณ และสGมุ นกั เรยี นอธิบาย ความหมาย ๓. ครูให1นกั เรยี นรGวมกนั วิเคราะหOประโยชนบO ทสรรเสรญิ พระธรรมคณุ ๖ ๔. ครูใหน1 กั เรยี นรวG มกันอภปิ รายการนำประโยชนOบทสรรเสริญพระธรรมคณุ ๖ ไปประยกุ ตOใชใ1 นชวี ิตประจำวัน 11229
แผนการจดั การเรียนรูท. ่ี ๑๕ เรอ่ื ง ธรรมคณุ ๖ ๑๓๐ หน>วยการเรยี นรท.ู ี่ ๓ เร่ืองหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เวลา ๑ ชว่ั โมง ชั้นมธั ยมศึกษาปทN ี่ ๒ กลุ>มสาระการเรียนร.ู สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศึกษา ๕. ครูให1นักเรียนสวดบทสรรเสรญิ พระธรรมคณุ ๖ พรอ1 มคำแปล บทสรรเสรญิ พระธรรมคุณ ๖ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม (พระธรรม เปนZ สงิ่ ท่พี ระผมู1 พี ระภาคเจา1 ตรสั ตไวร1ดสั ีแไวล้ด1วแี) ลว้ ) สันทิฏฐโิ ฏ (เปZนสงิ่ ที่ผศู1 กึ ษาและปฏบิ ตั พิ งึ เหน็ ไดด1 1วยตนเอง) อะกาลโิ ก (เปZนสงิ่ ท่ีปฏบิ ัติได1 และให1ผลได1ไมGจำกัดกาล) เอหิปLสสโิ ก (เปนZ สง่ิ ทค่ี วรกลGาวกบั ผอู1 ่ืนวGา ทGานจงมาดูเถิด) โอปะนะยโิ ก (เปนZ สงิ่ ที่ควรนอ1 มเขา1 มาใสตG ัว) ปLจจตั ตัง เวทิตัพโพ วญิ bหู ีติ* (เปนZ ส่งิ ที่ผรู1 ก1ู ร็ ูไ1 ดเ1 ฉพาะตน) ขั้นสรปุ ครูใช1คำถามให1นักเรียนรวG มกันแสดงความคดิ เหน็ ดงั นี้ ๑. ธรรมคุณ ๖ มีความสำคัญอยGางไร (เปZนพระธรรมอันพระผู1มีพระภาคเจ1าทรง แสดงไว1ดีแล1ว ผู1ปฏิบัติจะพึงเห็นได1เอง ไมGขึ้นอยูGกับกาลเวลา ควรเรียกให1มาดูได1 ควร นอ1 มนำประพฤตปิ ฏิบัติ เปZนธรรมทวี่ ญิ bชู นจะพงึ รไ1ู ด1เฉพาะตน) ๒. นักเรียนได1รับประโยชนOจากการสวดมนตOบทสรรเสริญพระธรรมคุณ ๖ ประการอยาG งไรบ1าง ๓. นกั เรยี นจะนำความร1ูจากการศกึ ษาขอ1 ธรรมสำคัญไปปรบั ใช1ใหเ1 กิดประโยชนO ตอG ชีวิตประจำวันของตนเองได1อยGางไร 11330
๑๓๑ 13141 การวัดและประเมินผล ส่ิงท่ีต7องการวัด/ประเมิน วธิ ีการ เคร่อื งมือทใี่ ช7 เกณฑA ด7านความร7ู การอธิบายข-อธรรมสำคญั - การตอบคำถาม - คำถาม - ตอบคำถามครบตาม ของธรรมคุณ ๖ - การอธิบาย - บทสรรเสรญิ พระ กำหนดผาK นเกณฑM - การศึกษาค-นควา- ธรรมคณุ ๖ ดา7 นทักษะ/กระบวนการ ดว- ยตนเอง - ใบงาน เรอื่ ง ธรรมคณุ การวเิ คราะหMประโยชนขMจำ-อก - ตรวจใบงานเรือ่ ง ๖ ธขธรร้อรรธมมรคสรมำุณคสญั�ำ๖คขัญอขงธอรงรมคณุ ๖ ธรรมคณุ ๖ - คำถาม - ตอบคำถามครบตาม - การตอบคำถาม - บทสรรเสรญิ พระ กำหนดผาK นเกณฑM - การวิเคราะหM ธรรมคุณ ๖ - การอภิปราย - ใบงานเรื่อง ธรรมคุณ - ตรวจใบงานเรือ่ ง ๖ ธรรมคุณ ๖ ด7านคณุ ลักษณะ - การตอบคำถาม - คำถาม - มีพฤตกิ รรมการ การเสนอแนวทางการ - การอภปิ ราย - บทสรรเสริญพระ ปฏบิ ตั งิ านครบถ-วนผาK น ประยกุ ตใM ชธ- รรมคุณ ๖ ใน - สังเกตพฤตกิ รรม ธรรมคณุ ๖ เกณฑM ชีวติ ประจำวนั การปฏิบตั ิกิจกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ในชั้นเรยี น
๑๓๒ 113125 บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการเรียนรู/ ....................................................................................................................................................................... ป2ญหาและอปุ สรรค ....................................................................................................................................................................... ข/อเสนอแนะและแนวทางแกไ/ ข ....................................................................................................................................................................... ลงช่อื ......................................ผู/สอน (........................................................) วันที.่ .......เดอื น..............พ.ศ.............. ความคดิ เหน็ / ข8อเสนอแนะของผ8บู ริหารหรอื ผ8ูทไ่ี ด8รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................ผูต/ รวจ (...........................................................) วันที.่ .........เดือน................พ.ศ.............
๑๓๓ 113136 ชอ่ื - สกลุ ............................................ชั้น.............เลขท่.ี ........... ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง ธรรมคณุ ๖ หนว6 ยการเรยี นรท;ู ่ี ๓ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา รายวชิ า สังคมศึกษา รหสั วชิ า ส ๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปทG ี่ ๒ คำชีแ้ จง ใหน: ักเรยี นตอบคำถามตอC ไปนี้ ๑. ธรรมคุณ หมายถงึ ......................................................................................................................................... ๒. บทสรรเสรญิ พระธรรมคุณ ๖ สวากขาโตต ภภะะคคะะววะะตตาาธธมั มั โโมมหมายหถมงึ ำย...ถ..ึง.......................................................................................................... สนั ทฏิ ฐิโฏก หมายถหึงมำ..ย...ถ..งึ...................................................................................................................................... อะกาลโิ ก หมายถหงึ ม..ำ..ย..ถ..ึง...................................................................................................................................... เอหปิ สัR สโิ ก หมายหถมงึ ำ.ย...ถ..งึ...................................................................................................................................... โอปะนะยโิ ก หมาหยมถำงึ ย.ถ...ึง...................................................................................................................................... ปัจR จตั ตงั เววททิติตัพพั โโพพววญิ ิญTญหู ูหีตตีิ หิ มายหถมึงำ.ย...ถ..ึง.......................................................................................................... ๓. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ ๖ มีประโยชนอW ยCางไรบา: ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ๔. นกั เรยี นมีแนวทางการนำประโยชนWจากบทสรรเสริญพระธรรมคณุ ๖ ไปประยุกตใW ช:ในชีวติ ไดอ: ยCางไรบา: ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
๑๓๔ แผนการจดั การเรียนรท.ู ี่ ๑๖ เรื่อง ทุกข9 (ธรรมท่คี วรรู.) ขนั ธ9 ๕ และอายตนะ หนวE ยการเรยี นร.ูที่ ๓ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุEมสาระการเรยี นรู. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปRท่ี ๒ ตัวช้วี ัด กิจกรรมการเรียนร.ู ส่ือ/ แหลEงเรยี นรู. ส ๑.๑ ม.๒/๘ อธิบายธรรมคุณ ข้ันนำ ๑. สื่อ PowerPoint เร่อื งขันธT ๕ และข7อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ ๑. ครูให7นักเรียนลองเคาะโต]ะคนละ ๓ ครั้ง แล7วใช7คำถามวLารู7สึกอยLางไร เปaนทุก ๒. สือ่ PowerPoint เรื่อง อายตนะ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ หรอื ไมL (เจบ็ มือ เปนa ทกุ ข)T ๓. กระดาน ตามที่กำหนด เห็นคุณคLาและนำไป ๒. ครูใช7คำถามวLา ทำไมนักเรียนจึงรู7สึกเจ็บมือ (รLางกายมีประสาทสัมผัสรับรู7 พัฒนา แกป7 Qญหาของชมุ ชนและสงั คม ความร7สู ึก) ภาระงาน/ชน้ิ งาน ๓. ครูนำเข7าสูLบทเรียนวLา “การเจ็บมือก็คือความไมLสบายกายนั้นก็คือทุกขTแบบ - การสรุปสาระสำคัญของขันธT ๕ และ สาระสำคญั หนึ่ง ซึ่งเรารับรู7จากกายสัมผัส ยังมีทุกขTรูปแบบอื่น ๆ ที่นักเรียนควรรู7ไว7เพื่อเปaน อายตนะ กำรทีศ่ ำคสำนสกิ อชนขมอคี วงแำมตรLลู้ เะขศ้ำาใจสในนาหลเมกั ื่อ หลักคดิ ในชีวิตประจำวนั ” ธมรนรุษมยคTป�ำสฏอิบนัตกิต็จาะมชคว่ ำยสใหอศ้นำแสลน7วกิยชLอนมผทู้นำน้ัใหม7ี ขน้ั สอน แสนงั ควมทมำงีคใวนากมำสรงดบ�ำสรขุงชวี ิตเพ่ือชีวิตทม่ี ีสุข ๑. ครูสุLมนักเรียนอธิบายความหมายของคำวLา“ททุกกุ ขขTต์”ามตคำมวคามวำคมิดคขิดอขงอนงักนเกั รเียรยีนน จากนน้ั ครูสรปุ ความหมายเพม่ิ เตมิ ใหส7 มบูรณT ๒. ครูให7นักเรียนรLวมกันศึกษาสื่อ Power Point เรื่อง ขันธT ๕ และครูถามคำถาม ขอบเขตเนอื้ หา นกั เรียนดังนี้ ทุกขT (ธรรมทีค่ วรร7ู) - ขนั ธT ๕ ๑) ขันธT ๕ ประกอบด7วยอะไรบ7าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) - อายตนะ ๓. ครูทบทวนความเข7าใจของนักเรียนโดยให7นักเรียนทำกิจกรรม “จับคูLขันธT ๕” โดยมีข7อความกำหนดให7 และนักเรยี นจบั คูวL าL ตรงกบั ขันธT ๕ ข้อใด ๑) ราL งกาย (รปู ) ๒) ความสุข ความทกุ ขT (เวทนา) 13174
แผนการจัดการเรยี นรูท. ่ี ๑๖ เร่ือง ทุกข9 (ธรรมที่ควรร)ู. ขันธ9 ๕ และอายตนะ ๑๓๕ หนEวยการเรียนรท.ู ี่ ๓ หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เวลา ๑ ชวั่ โมง ชั้นมัธยมศึกษาปRที่ ๒ กลมEุ สาระการเรียนร.ู สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา สงั คมศึกษา ๓) กำหนดรู7 จำได7 (สัญญา) จุดประสงคก9 ารเรยี นร.ู ๔) คดิ ดี คิดชัว่ คดิ เปaนกลาง (สงั ขาร) ดา. นความรู. ๕) ประสาทสมั ผสั ท้งั ๕ (วญิ ญาณ) ๔. ครูและนักเรียนรLวมกันสรุปสาระสำคัญของขันธT ๕ จากนั้นนักเรียนบันทึกลงใน ๑. นักเรียนอธิบายความหมายของ ขันธT สมุด ๕ และอายตนะไดอ7 ยาL งถกู ตอ7 ง ดา. นทักษะและกระบวนการ ๕. นักเรียนรLวมกันศึกษาสื่อ PowerPoint เรื่อง อายตนะ และครูถามคำถาม ๒. นักเรียนระบุความสัมพันธTของขันธT นักเรียนดงั น้ี ๕ และอายตนะได7อยาL งมีเหตผุ ล ๑) อายตนะแบLงออกเปaนกี่สLวน ได7แกLอะไรบ7าง (๒ สLวน ได7แกL อายตนะ ภายในและอายตนะภายนอก) จากคำตอบของนักเรียนครูอธบิ ายองคปT ระกอบของ อายตนะภายในและอายตนะภายนอก ๖. ครูให7นักเรียนทำกิจกรรม “อาตยนะสัมพันธT” โดยมีข7อความกำหนดให7และ ดา. นคณุ ลกั ษณะ ๓. นักเรียนเห็นความสำคัญของการ นักเรียนจับคูLตรงกับอายตนะภายในและอายตนะภายนอกข7อไหน จากจำนวน ๖ ขอ7 ดงั น้ี เรียนรู7ขันธT ๕ และอายตนะไปปรับใช7ใน ๑) ผ7ชู ายคนน้หี น7าตาหลLอจัง (ตา รูป) ชวี ิตได7อยLางมเี หตุผล ๒) น้ำหอมย่หี 7อนมี้ กี ลน่ิ เหมน็ ชวนเวียนหัว (จมูก กลิ่น) ๓) เสียงเพลงที่พี่เบริ ดT รอ7 งชLางไพเราะจงั (หู กลิน่ ) ๔) ต7มยำกุง7 ชามนมี้ รี สชาตทิ ี่เผ็ดและเปรีย้ วมาก (ลน้ิ รส) ๕) มอื ของเธอจับแลว7 น่ิมมาก (กาย สมั ผสั ) ๖) ฉนั อยากจะเปaนแฟนกบั พี่คนนัน้ จัง (ใจ อารมณ)T 13185
แผนการจดั การเรียนรทู. ี่ ๑๖ เร่ือง ทุกข9 (ธรรมที่ควรรู.) ขนั ธ9 ๕ และอายตนะ ๑๓๖ หนEวยการเรียนรท.ู ่ี ๓ หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา เวลา ๑ ชั่วโมง ช้ันมัธยมศกึ ษาปRท่ี ๒ กลEุมสาระการเรยี นรู. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ๗. ครูและนักเรียนสรุปสาระสำคัญของอายตนะ จากนั้นให7นักเรียนจดบันทึกเพื่อ ใช7ในการวิเคราะหปT ระโยชนT ๘. ครูวาดรูปมนุษยTที่กระดาน ๑ รูป แล7วสุLมนักเรียนออกมาวิเคราะหTประโยชนT ขันธT ๕ และอายตนะ และอธิบายลักษณะที่ดีที่ผLานประสาทรับรู7ด7าน ตา หู จมูก ลน้ิ กาย และใจ ขั้นสรุป ครใู หน7 กั เรียนรLวมกนั อภิปรายในประเด็นดงั ตLอไปน้ี - นักเรียนมีวิธีการนำหลักธรรมขันธT ๕ และอายตนะไปปรับใช7ใน ชีวิตประจำวันได7อยLางไร และถ7านักเรียนนำไปปฏิบัติแล7วจะสLงผลตLอตนเองและ สังคมอยLางไร (ชLวยทำให7เกิดความเข7าใจในทุกขTที่เกิดขึ้น รู7วLาสาเหตุเกิดจากสิ่งใด และหาทาง แก7ไขตลอดจนฝuกให7ตนเองรับและซึมซับแตLสิ่งดี ๆ ซึ่งจะสLงผลให7ตนเองมีความสุข ไมLหลงมัวเมาและไมยL ึดตดิ กบั ส่ิงตาL งๆ สงั คมก็จะสงบสขุ ปญQ หาสงั คมก็จะน7อยลง) 13169
๑๓๗ 13270 การวดั และประเมนิ ผล สง่ิ ที่ต7องการวดั /ประเมิน วิธกี าร เครอ่ื งมอื ที่ใช7 เกณฑA ดา7 นความรู7 การอธิบายความหมายของ - ตอบคำถาม - คำถาม - ตอบคำถามได@ร@อยละ ขนั ธ5 ๕ และอายตนะ - การอธิบาย ๘๐ ผาD นเกณฑ5 ดา7 นทกั ษะ/กระบวนการ การระบุความสัมพันธ5ของ - การสังเกต - สมดุ จดบันทกึ - ตอบคำถามผDานเกณฑ5 ขนั ธ5 ๕ และอายตนะ - การตอบคำถาม - กิจกรรม“จับคูDขันธ5 ร@อยละ ๘๐ - การอธบิ าย ๕” - การวิเคราะห5 - กิจกรรม “อาตยนะ สมั พนั ธ5” ดา7 นคณุ ลกั ษณะ การเสนอแนวทางประยุกต5 - การตอบคำถาม - คำถาม - ตอบคำถามผDานเกณฑ5 การเรียนรู@ขันธ5 ๕ และ - สังเกตพฤติกรรมการ - การมีสDวนรDวมของ ร@อยละ ๘๐ อายตนะไปปรบั ใช@ในชวี ิต ปฏิบัติกิจกรรมในช้ัน นักเรียน - มีพฤติกรรมการปฏิบัติ เรียน ตนตามจดุ ประสงค5 บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................... ปYญหาและอปุ สรรค ........................................................................................................................................................... ข@อเสนอแนะและแนวทางแก@ไข ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ ......................................ผู@สอน (.......................................................) วันท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ............. ความคิดเหน็ / ขอ@ เสนอแนะของผบู@ รหิ ารหรือผ@ทู ไ่ี ดร@ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ......................................ผูต@ รวจ (.......................................................) วนั ท่ี..........เดอื น..........พ.ศ.............
๑๓๘ แผนการจดั การเรยี นรู.ที่ ๑๗ เรื่อง สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) หลักกรรม อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ และอบายมขุ ๖ หนHวยการเรยี นร.ูที่ ๓ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เวลา ๑ ชั่วโมง กลHุมสาระการเรยี นรู. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา สงั คมศกึ ษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปSท่ี ๒ ตัวชี้วดั กจิ กรรมการเรยี นรู. สื่อ/แหลHงเรยี นรู. ส ๑.๑ ม.๒/๘ อธิบายธรรมคุณ และข1อ ขั้นนำ ๑.วดี วิทดี ศัิทนัศYนเร์ เือ่ รงือ่ งชวชนวกนนิ กเินหเลหา1 ลำ้==เเชแGงช่ง๓๐ วนิ าที ธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรม ๒. วีดิทัศนY เรื่อง ชีวิตเปลี่ยน ชายเรGรGอนเก็บ ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด เห็นคุณคGา ๑. ครใู หน1 ักเรยี นชมวีดิทศั นY เรอื่ ง ชวนกนิ เหล1า = เเชGง ๓๐ วินาที เงนิ ๒ หมน่ื คืนเจา1 ของ และนำไปพฒั นา แกป1 Lญหาของชุมชนและสงั คม ๓. สื่อ PowerPoint เรอ่ื ง สมุทัย ๔. วีดิทัศนY เรื่อง สาวหัวร1อน ชนเอง-เจ็บเอง- สาระสำคญั อาละวาดเอง กำรทหบ่ี าคุกคบลุครคู้วล่ำใสน่ิงสใดังคบมำ้ งปเฏปิน็บสัต่งิตทนีก่ ห่อลใีกหเ้ ลกี่ยดิ งทาง ๕. วีดทิ ัศนY เรอื่ ง ชายเลGนพนันหมดตัวกระหน่ำ คแวหำGงมคเสวอ่ื าม เกสำื่อรหมลยีกGอเลมย่ี ทงไำมใ่ไหป1ชยีว่งุ ิยตอ่แมลนะ�ำสคังวคำมมี ยงิ ๒ ศพในคาสโิ น สคขุวมามำใสหงใ้บนสชขุ ีวิต (ท่ีมา : https://www.youtube.com/watch?v=2ec7Ql4hihI&list=PLd Y1qQ1QCr7CsQAcxgCS0dJloMwmixEA&index=2) ภาระงาน/ชน้ิ งาน จำกน้ันใหน้ กั เรยี นบรรยำยสิง่ ทีพ่ บเห็นจำกวดี ิทศั นน์ ี้ - ใบงาน เรื่อง สมทุ ยั (ธรรมที่ควรละ) หลกั กรรม อกุศลกรรมบถ ๑๐ และอบายมขุ ๖ ขอบเขตเนือ้ หา ๒. ครูชี้ให1เห็นวGา การดื่มสุราเปáนอบายมุขอยGางหนึ่ง พระพุทธองคY สมทุ ยั (ธรรมท่คี วรละ) กลGาววGาเปáนทางแหGงความเสื่อมนำมาซึ่งบั่นทอนกำลัง สติปLญญา จึง ๑) หลักกรรม ทำให1เกิดเหตุการณYเชGนนี้ขึ้น ดังนั้นวันนี้เราจะเรียนเรื่องสมุทัยซ่ึง ๒) อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ เปนá ธรรมท่คี วรละ เชนG อบายมุขทงั้ หลาย เปáนต1น ๓) อบายมขุ ๖ 13281
๑๓๙ แผนการจดั การเรียนรท.ู ่ี ๑๗ เร่อื ง สมทุ ยั (ธรรมท่คี วรละ) หลักกรรม อกุศลกรรมบถ ๑๐ และอบายมขุ ๖ หนวH ยการเรียนร.ูท่ี ๓ หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เวลา ๑ ช่วั โมง กลุมH สาระการเรียนร.ู สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษาปทS ่ี ๒ จดุ ประสงค\\การเรยี นร.ู ขัน้ สอน ด.านความรู. ๑. ครูเปçดวีดิทัศนY เรื่อง ชีวิตเปลี่ยน ชายเรGรGอนเก็บเงิน ๒ หมื่น คืน ๑. นักเรียนอธิบายความหมายของหลักกรรม เจา1 ของ อกุศลกรรมบถ ๑๐ และอบายมุข ๖ ได1อยGาง (https://www.youtube.com/watch?v=35zZeh-BzhU) ถกู ต1อง แล1วตั้งคำถามจากวีดิทัศนYกรณีตัวอยGางวGาตรงกับสำนวนไทยวGา อยาG งไร (ทำดีได1ดี ทำชั่วได1ชว่ั /หวGานพืชเชนG ไร ยอG มไดผ1 ลเชนG น้นั ) ด.านทักษะและกระบวนการ ๒. ครูใช1สื่อ PowerPoint เรื่อง สมุทัย อธิบายเรื่องหลักกรรม (วิบัติ ๒. นักเรียนวิเคราะหYความสำคัญหลักธรรม ๔) ทจี่ ะสGงผลกรรมใหเ1 กิดขึ้น ของหลักกรรม อกุศลกรรมบถ ๑๐ และ ๓. ครูเปดç วดี ิทัศนY เรื่อง สาวหัวรอ1 น ชนเอง-เจ็บเอง-อาละวาดเอง อบายมุข ๖ ไดอ1 ยาG งมีเหตุผล (https://www.youtube.com/watch?v=In3_b2KqYzI) แล1วใช1 ด.านคุณลกั ษณะ คำถาม หากพูดคุยกนั แตโG ดยดีจะเกิดเหตกุ ารณดY งั กลGาวหรอื ไมG ทำไม จึงเกิดเหตุการณYนี้ขึ้น (ไมGเกิด แตGคูGกรณีใช1วาจาไมGสุภาพ และปฏิบัติ ๓. นักเรียนเสนอแนวทางในการแก1ปLญหา ตนตGอคนอื่นไมดG ีจึงเกดิ เหน็ การณนY ี้ขน้ึ ) สังคมโดยใช1หลักธรรมของ หลักกรรม ๔. ครูใช1สื่อ PowerPoint เรื่อง สมุทัย อธิบายเรื่องอกุศลกรรมบถ อกุศลกรรมบถ ๑๐ และอบายมุข ๖ ได1อยGาง ๑๐ ท่ีกลGาวถึงความชวั่ เกิดข้ึนจากทางด1านกาย วาจา และใจ เหมาะสม ๕. ครูเปçดวีดิทัศนY เรื่อง ชายเลGนพนันหมดตัวกระหน่ำยิง ๒ ศพใน คาสโิ น ( https://www.youtube.com/watch?v=3kDi6VgiIbA) 112329
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305