Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-15-คู่มือและแผนการเรียนรู้เทคโนโลยี ม.1-2

64-08-15-คู่มือและแผนการเรียนรู้เทคโนโลยี ม.1-2

Published by elibraryraja33, 2021-08-15 05:58:39

Description: 64-08-15-คู่มือและแผนการเรียนรู้เทคโนโลยี ม.1-2

Search

Read the Text Version

775 762 762 การวัดและประเมนิ ผล ส่ิงทต่ี ้องการวัด/ประเมิน วธิ กี าร เครื่องมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ตรวจใบงานที่ 3.1 - นักเรียนทุกคนผ่าน 1. อธิบายขน้ั ตอนการ - ใบงานท่ี 1เร่ือง เกณฑ์ไมต่ ่าํ กว่าร้อย แก้ปัญหาดว้ ยกระบวนการ สังเกตพฤติกรรมการ รลอ้ะย8ล0ะ 80 ออกแบบเชงิ วิศวกรรม เรียนรู้ของนักเรียน กระบวนการออกแบบเชงิ 2. วิเคราะห์และแก้ไข เวชิศงิ ววกิศรวรกมรรม ปัญหาโดยใช้กระบวนการ สงั เกตพฤติกรรมของ ออกแบบเชิงวศิ วกรรม นักเรียน - แบบบนั ทกึ การประเมนิ ด้านทักษะและ ผู้เรียน ด้านความรู้เทยี บกบั กระบวนการ เกทณยี บฑก์ ับเกณฑ์ 1. ทักษะการแก้ปญั หา 2. ทักษะการนาเสนอ แบบบนั ทกึ การประเมนิ - นักเรียนทุกคนผา่ น 3. ทักษะการคิดวิเคราะห์ ผเู้ รยี น ด้านทักษะและ เกณฑ์ไมต่ ่าํ กวา่ รอ้ ย งานและวางแผนการ กระบวนการเทียบกับเกณฑ์ รลอ้ะย8ล0ะ 80 ทางาน เทียบกบั เกณฑ์ ดา้ นคุณลักษณะ แบบบนั ทึกการประเมนิ - นกั เรยี นทุกคนผ่าน 1. มีวินยั ผู้เรยี น ด้านคณุ ลักษณะ เกณฑ์ไมต่ ่าํ กวา่ ร้อย 2. ใฝเ่ รียนรู้ เทียบกับเกณฑ์ รลอ้ะย8ล0ะ 80 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน

763 776 763 8. บนั ทึกผลหลงั สอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่ี..........เดือน..........พ.ศ............. 9. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอื่ ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วันที่..........เดอื น..........พ.ศ.........

764 777 764 ใบความรูท้ ่ี 1 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เร่ืองเล่าจากโซเชียล เรื่องท่ี 1 โรงงานผลิตสบู่แห่งหนึ่ง มียอดส่ังซื้อจานวนมาก ปัญหาที่พบคือ ในข้ันตอนการบรรจุสบู่ใส่ กล่องพบวา่ สบู่จานวนหนึ่งมเี ฉพาะกล่องเปล่าไม่มีสบู่บรรจุเข้าไปดว้ ย เน่ืองจากเครื่องจักร ไมก่ ้าวหนา้ พอ ทาให้ เกิดปัญหากับลูกค้าเป็นอย่างมาก CEO จึงจ้างบริษัทท่ีปรึกษาหลายล้านดอลล่า มาแก้ปัญหา ส่ิงที่บริษัทท่ี ปรึกษาแนะนาคือให้ติดเครื่องชั่ง ไว้ที่สายพาน หากกล่องเปล่าท่ีหนักไม่พอไหลออกมาจากสายพานผ่านตาช่ัง ตาชั่งจะสง่ั ให้สายพานหยดุ เมื่อเคร่ืองหยุดให้พนักงานหยิบกลอ่ งเปลา่ ท่ีเครอ่ื งช่งั ออก แล้วให้พนักงานเปิดเครอ่ื ง ใหม่ เช่นน้ี ปรากฏวา่ CEO พอใจกับการแกป้ ัญหามากและไมม่ ีปญั หาดงั กล่าวอีกเลย ต่อมาทาง CEO ได้มาเยี่ยมโรงงาน ขณะตรวจเยี่ยมสายพาน พบพนักงานคนหน่ึงน่ังเฝ้าสายพาน แต่ท่ี แปลกก็คือมีพัดลมตัวใหญ่ ๆ ตงั้ อยู่ CEO จจึงึงถถาามมพพนนกั ักงงาานนคคนนนน้ัน้ันววา่ ่าเเออาาพพัดัดลลมมมมาาตตั้งั้งททำ� าไไมมพพนนักักงงาานนตตออบบวว่า่า“อ้อ ผมขเ้ี กียจไปเปิดเครื่องใหม่ เลยเปิดพัดลมพดั กลอ่ งเปล่าก่อนท่มี ันจะถึงเคร่ืองช่ังครับ จะได้มีเวลาไปทาอยา่ งอื่น ไมต่ ้องมวั มาเฝ้าเครื่อง” เรื่องท่ี 2 ท่ีร้านขายไก่ทอดแห่งหน่ึง มียอดขายดีมาก ๆ ในร้านมีการอบรมพนักงานว่า หากมีการเปิด ห้องเย็นเพื่อเอาไก่มาลงทอดต้องปิดประตูห้องเย็นเสมอเพ่ือรักษาอุณภูมิสินค้า แต่เนื่องจากพนักงานต้องทางาน แข่งกับเวลา จึงทาให้พนักงานปิดประตูไม่สนิทเพราะต้องรีบ ทาให้อุณภูมิเสีย และไก่ก็เสียเร็ว ทางผู้จัดการร้าน จึงนาป้ายขนาดใหญ่ มาติดเพื่อบอกให้ปิดให้สนิทแต่ก็ยังแก้ปัญหาไม่ได้ จึงนาเร่ืองไปปรึกษาผู้จัดการเขต ผู้จัดการเขตแนะนาให้มีพนักงานหนึ่งคนมาคอยเปิด-ปิดประตู แต่เนื่องจากลูกค้าเยอะจึงต้องดึงคนไปช่วยฝ่าย อ่ืนปัญหาเลยไม่ถูกแก้ไข จนกระทั่งผู้จัดการภาคมาตรวจเยี่ยม ทางผู้จัดการร้านจึงแจ้งถึงปัญหาท่ีเกิดขึ้น ผู้จัดการภาคก็ยืนครุ่นคิดอยู่บริเวณหน้าประตูห้องเย็น แล้วก็มีเสียงมาจากผู้จัดการท่านหน่ึงท่ีมาเย่ียมร้านด้วย กล่าวขนึ้ วา่ “ถา้ ข้เี กยี จปดิ ประตู กใ็ ห้ประตมู นั ปดิ เองสิ” เรือ่ งที่ 3 ผูผ้ ลิตยาสีฟันแบบหลอดยี่ห้อหน่ึง กาลังวางแผนเพ่ิมยอดขายยาสฟี ันของตนระหว่างที่ประชุม เคร่งเครียด จะเพิ่มยอดขายด้วยวิธีใดได้บ้าง โดย วางแผนทาโฆษณา วางแผน promotion ลด แลก แจก แถม เพ่มิ หนว่ ยขายตรง เขา้ ถึงตัวผู้บริโภคให้มากข้ึน และอกี อน่ื ๆ อกี มากมาย แผนการเหล่านี้ ทุกหัวข้อที่เสนอมา ใช้ ทรัพยากร ท้ัง เงินทุน บุคลากร เวลา ความรู้ความชานาญ เป็นเร่ืองใหญ่มาก อยู่ๆ ก็มีฝ่ายผลิตคนหน่ึง ซึ่งไม่มี ความรู้ความชานาญในดา้ นการตลาดเทา่ คนท่กี าลังถกเถียงกันอยา่ งเมามนั เสนอข้ึนมาเบา ๆ วา่ \"กระแม้ว่า เรา ลองเพิ่มขนาดปากหลอดท่ีบบี ยาสฟี ันออก ใหก้ ว้างขึ้นสักหน่อย บบี ทีนงึ ยามันก็ออกมากข้นึ หน่อย มันหมดเร็ว ข้นึ เด๋ียวลกู คา้ ก็ตอ้ งกลบั มาซ้ือใหมเ่ องแหละ\" จากความคิดนี้ทาให้ยอดขายพุง่ เพิ่มขึน้ มากกวา่ 20% ในปนี นั้ สรุป จากเร่ืองเล่าท้ังสาม จะเห็นว่าแต่ละปัญหาสามารถแก้ปัญหาได้อย่างหลากหลายวิธี แต่การ แก้ปัญหาบางวิธีอาจส่งผลให้เกิดปัญหาอย่างอ่ืนตามมาอีก ซึ่งต้องใช้งบประมาณในการดาเนินการอยา่ งมมาากก ส่งผลต่อต้นทุนการผลิต ดังน้ันในการแก้ปัญหาต่างๆ จึงจาเป็นต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบ โดยใช้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

765 778 กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม 765 ใในนกกาารรดดา�ำเนเนนิ ินชชวี ีวติ ิตปปรระะจจาว�ำนัวันออาจาปจประรสะบสกบับกปับญัปหัญาหตาา่ ตง่าๆง บๆางบปาญั งปหัญามหคี าวมาีคมวซาับมซซ้อับนซก้อานรแกกาป้ รญัแกห้ปาจัญงึ หาจึง จ�ำาเปน็ ตอ้ งอาศยั ความรู้ ทักษะะ ททรรพั พั ยยาากกรรแแลละะกกาารรววาางงแแผผนนกกาารรททา�ำงางานนออยยา่ ง่าเงปเปน็ น็ขน้ัข้นัตอตนอนเปเป็นร็นะรบะบบเพเื่อพใอ่ื หใ้ไหดไ้ ้ ดว้ ธิ ี กวาิธรีกแากรแป้ กัญ้ปหัญาหทาี่ดทีท่ีด่ีสีทุดี่สใดุ นใบนทบเทรียเรนยี นนี้นนกั นี้ เกัรียเรนียจนะจไะดไเ้ ดร้เียรนียรนู้เรก้เู ย่ีกวี่ยกวบักับกรกะรบะบวนวนกการารอออกกแแบบบบเชเชงิ ิงววิศิศววกกรรรรมมซงึ่ ประกอบ ดซว้่งึ ยปร6ะกขอนั้ บตดอ้วนย 6ดังขนั้น้ี ตอน ดงั น้ี 1. ระบปุ ัญหา (Problem Identification) เป็นการทาความเข้าใจสถานการณ์ของปัญหา โดยวิเคราะห์เงื่อนไขหรือข้อจากัดของสถานการณ์ เพ่ือ ตดั สินใจเลือกปัญหาหรือความต้องการท่ีจะดาเนินการแก้ไข และกาหนดขอบเขตของปัญหา ซ่ึงจะนาไปสู่การหา แนวทางในการแก้ปัญหาต่อไป โดยการนาเทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ มาช่วยในการวิเคราะห์ปัญหา เช่น การ วิเคราะห์ด้วย 5W1H หรอื ผงั กา้ งปลา (Fishbone Diagram) 2. รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ที่เกยี่ วข้องกบั ปัญหา (Related Information Search) เม่ือระบุและกาหนดขอบเขตของปัญหาที่ต้องการแก้ไขได้แล้ว การดาเนินการต่อไปคือการรวบรวม ข้อมูลและความรู้ทุกด้านท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการ เช่น ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ในข้ันนีค้ วรมีการจดบนั ทกึ ผลการรวบรวมขอ้ มลู ท่ีเก่ยี วข้องทงั้ หมดเพ่ือพัฒนาแนวทางในการแก้ปญั หา ซ่ึงก่อนการรวบรวมข้อมูลควรมกี ารกาหนดประเดน็ ในการสบื ค้น ซ่งึ อาจเร่มิ จากการตัง้ คาถามเก่ียวกับสิง่ ทีจ่ าเป็น ต่อการแกป้ ญั หาภายใตข้ อบเขตของปัญหาทร่ี ะบไุ ว้ โดยใช้เทคนคิ ทเ่ี รียกวา่ การระดมสมอง (brainstorming) 3. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหา (Solution Design) เม่ือได้ข้อมูลองค์ประกอบพื้นฐานท่ีจาเป็นต่อการพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อมาคือ การออกแบบแนวทางแก้ปัญหาให้มีรายละเอียดที่ชัดเจนขึ้นและอาจออกแบบไว้หลายแนวทาง จากนั้นจึง ตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับเง่ือนไขและขอบเขตของปัญหามากท่ีสุด โดยพิจารณาจากปัจจัย ดา้ นต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เช่น ข้อดี ข้อเสีย ความสอดคล้องกบั ทรพั ยากรทางเทคโนโลยีท่ีมีอยู่ ปัจจยั ท่ีขดั ขวางหรือ

766 779 766 ข้อจากัด ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม การนาไปใช้งานเพ่ือแก้ปัญหา ความประหยัด ความปลอดภัย การ บารุงรักษา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของวิธีการหรือแนวทางการแก้ปัญหา ในการตัดสินใจเลือกแนวทางในการ แก้ปัญหาเราสามารถใช้ตารางชว่ ยประเมินเพ่ือตัดสนิ ใจเลือก สาหรบั ประเด็นในการตดั สินใจสามารถปรบั เปล่ียน ไดต้ ามความเหมาะสม 4. วางแผนและดาเนนิ การแก้ปญั หา (Planning and Development) กอ่ นการลงมือสร้างชิ้นงานควรมีการวางแผนโดยกาหนดลาดบั ขั้นตอนของการสรา้ งชน้ิ งานหรอื พัฒนา วิธีการตามท่ไี ด้ออกแบบไว้ มีการกาหนดเป้าหมายและเวลาในการดาเนนิ งาน รวมท้งั ผรู้ ับผิดชอบงานในแตล่ ะ ขนั้ ตอนอย่างชัดเจน จากนน้ั จึงลงมือสรา้ งช้นิ งานหรือพฒั นาวธิ กี ารตามท่ไี ดอ้ อกแบบไว้ หลังจากวางแผนการทางานเรียบรอ้ ยแลว้ ขั้นต่อไปเป็นการลงมือสรา้ งชน้ิ งานตามแผนงานที่ไดก้ าหนดไว้ ในการสร้างชน้ิ งานควรเลอื กใชว้ สั ดุให้เหมาะสมกับประเภทของงาน และอปุ กรณ์ที่ใช้ในการทางานก็ต้องใช้ให้ ถูกต้องและคานึงถงึ ความปลอดภัยในการใชง้ าน 5.ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แก้ไขวิธกี ารแก้ปัญหาหรอื ชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) ในการทดสอบการทางานของช้ินงานหรอื วิธกี ารควรมีการกาหนดประเดน็ ในการทดสอบ ใหส้ อดคล้อง กับจุดประสงค์ของชิน้ งานหรือวิธีการทส่ี ร้างขึน้ ซ่ึงจะชว่ ยลดเวลาและทาใหก้ ารปฏบิ ัติงานง่ายย่ิงขึ้น โดยอาจทา ไดใ้ นรปู แบบของแบบประเมินรายการ หรอื การเขียนบันทกึ ผลการทดสอบในแตล่ ะประเดน็ จากนน้ั วิเคราะห์ผล การทดสอบเพ่ือหาแนวทางปรบั ปรงุ แกไ้ ขชิน้ งานหรือวธิ กี าร ใหม้ ปี ระสิทธิภาพยิง่ ขนึ้ 6.นาเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา ผลการแก้ปญั หาหรือชนิ้ งาน (Presentation) การนา�ำเเสสนนออขขอ้ ้อมมูลูลใใหหผ้ ้ผอู้ ู้อน่ื ื่นเขเข้า้าใจใจเกเกย่ี ่ียวกวกบั ับภภาพาพรวรมวขมอขงอกงรกะรบะวบนวกนากราทราทงำา� นงาตน้งั แตต้ังแ่ นตว่แคนิดวใคนิดแใกน้ปแัญก้ปหาัญหา ข้ันตอนการแก้ปญั หา รรววมมทท้งั ้ังผผลลขขอองงกกาารรแแกก้ป้ปัญัญหหาแาและลแะนแวนทวาทงากงากราปรรปับรปับรปุงรแุงกแ้ไกข้ไใขหใ้มหีป้มรีปะรสะทิ สธิทิภธาิภพามพากมขาก้ึนขซึ้นึง่ ซ่ึง สามารถทำ�าได้หลายวิธี เชน่ กาารรเเขขยี ียนนรราายยงงาานนกกาารรททาำ�แแผผ่นน่ นนาำ�เสเสนนออผผลลงางนาน ททัง้ งั้ นน้ี ี้ในกกาารรททาำ� งงาานนตตาามมกกรระะบบววนนกกาารรออออกกแแบบบบเชเชงิ งิววิศศิ ววกกรรรมมนน้ันนั้ ออาาจจตตอ้ อ้ งงยย้ออ้ นนกกลลบั บั ไปไปททางำ� างนานซซ้าใำ้� นในบบางางขน้ั ตขอัน้ นตอเนช่นเชกน่ ลับกลไปับรไวปบรวรบวมรวขม้อขม้อลู มเพูล่ือเพพ่อื ัฒพนัฒานหารหอื รปือรปับรปับรปุงรผงุ ลผงลางนาในหใด้หขีด้ ้นึีขน้ึ

767 780 767 ตวั อยา่ งการแก้ปญั หาด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จาก เร่อื งที่ 1 เร่ืองท่ี 1 โรงงานผลิตสบู่แห่งหนึ่ง มียอดส่ังซื้อจานวนมาก ปัญหาที่พบคือ ในข้ันตอนการบรรจุสบู่ใส่ กลอ่ งพบว่า สบู่จานวนหนึ่งมเี ฉพาะกล่องเปล่าไม่มีสบู่บรรจุเข้าไปดว้ ย เนื่องจากเคร่ืองจักร ไม่ก้าวหน้าพอ ทาให้ เกิดปัญหากับลูกค้าเป็นอย่างมาก CEO จึงจ้างบริษัทท่ีปรึกษาหลายล้านดอลล่า มาแก้ปัญหา สิ่งที่บริษัทที่ ปรึกษาแนะนาคือให้ติดเครื่องชั่ง ไว้ที่สายพาน หากกล่องเปล่าที่หนักไม่พอไหลออกมาจากสายพานผ่านตาช่ัง ตาช่ังจะสั่งให้สายพานหยดุ เม่ือเครอื่ งหยุดใหพ้ นกั งานหยิบกลอ่ งเปลา่ ท่ีเคร่อื งชง่ั ออก แลว้ ให้พนักงานเปิดเครอ่ื ง ใหม่ เช่นนี้ ปรากฏวา่ CEO พอใจกบั การแก้ปญั หามากและไมม่ ีปญั หาดังกลา่ วอีกเลย ต่อมาทาง CEO ได้มาเยี่ยมโรงงาน ขณะตรวจเยี่ยมสายพาน พบพนักงานคนหนึ่งนั่งเฝ้าสายพาน แต่ท่ี แปลกก็คือมีพัดลลมมตตัวัวใใหหญญ่ ่ๆๆต้ังตอั้งยอู่ ยCู่ ECOEOจึงจถึงาถมาพมนพักนงักางนาคนนคนน้ันนว้ัน่าวเอ่าาเอพาัดพลัดมลมมาตม้ังาทตา้ังไทม�ำไพมนักพงนานักตงาอนบตวอ่า“บอว้อ่า “ผอมอ้ขเี้ผกมียขจเ้ีไกปยี เปจไิดปเคเปรดิื่อเงคใหรอ่ืมง่ ใเหลมย่ เปลิดยเพปดั ดิ ลพมดั พลดั มกพลดั อ่ กงลเปอ่ ลง่าเปกล่อา่นกทอ่ มี่ นันทจมี่ ะนัถจึงเะคถรงึ ื่อเงคชรัง่อื คงรชับง่ั ครจบั ะไจดะ้มไเีดวม้ ลเีาวไลปาทไปาอทยำ� า่องยอา่ ื่นง อไม่ืน่ตไ้อมงต่ม้อวั งมมาัวเฝมา้ าเเคฝรา้ อื่ เคง”ร่อื ง” 1. ระบปุ ญั หา กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 6 ข้ันตอน สบู่จานวนหน่ึงมเี ฉพาะกล่องเปลา่ ไม่มีสบ่บู รรจเุ ข้าไปดว้ ย 2. รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดท่เี กี่ยวข้อง ไม่มีการตรวจสอบภายในกล่องสบู่ เช่น ตรวจสอบโดยมนษุ ย์ กับปญั หา หรอื เครื่องจักร 3. ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหา ตรวจสอบนา้ หนักกล่องสบู่ 4. วางแผนและดาเนินการแก้ปญั หา เมื่อสบูว่ ่ิงผ่านสายพานมายงั จุดตรวจ สามารถใช้วธิ ีการชง่ั น้าหนกั ดงั น้ี 5.ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แก้ไข - ใชต้ ราช่ัง แล้วใหส้ ายพานหยุด วธิ ีการแกป้ ญั หาหรือช้นิ งาน - ใชพ้ ัดลมเป่า 6.นาเสนอวิธกี ารแกป้ ญั หา ผลการแกป้ ัญหา ทดสอบการใช้งานตราชั่ง และการใชง้ านพัดลมเป่า หรอื ชิน้ งาน กล่องสบู่เปล่า ถูกคัดแยกไดจ้ ากทง้ั สองวธิ ี แตก่ ารใชพ้ ัดเปา่ ประหยดั ต้นทนุ ไดม้ ากกวา่

768 781 768 ใบงานท่ี 1 กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม คาสงั่ ใหน้ ักเรียนยกสถานการณ์ท่ีเปน็ ปัญหาหรอื เหตุการณต์ า่ งๆ ทีเ่ กิดขึ้นใกล้ตวั ของนักเรียน แลว้ ดาเนินการ แก้ปัญหาด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม …………………………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..…………… ……………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..………………………… …………………………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..…………… ……………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..………………………… …………………………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..…………… ……………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..………………………… …………………………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..…………… ……………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..………………………… …………………………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..…………… ……………………..…………………………………..…………………………………..…………………………………..………………………… กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 6 ขั้นตอน 1. ระบุปัญหา 2. รวบรวมข้อมลู และแนวคิดทเ่ี กีย่ วข้อง กับปัญหา 3. ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา 4. วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา 5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแก้ไข วิธีการแกป้ ญั หาหรอื ช้ินงาน 6. นาเสนอวิธีการแกป้ ัญหา ผลการแก้ปัญหา หรอื ช้นิ งาน ชอื่ ................................................................ช้นั ......................เลขท.ี่ ...................

782 769 769 แบบบนั ทึกการประเมินผูเ้ รยี น ด้านความรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เร่อื ง กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 รายการประเมนิ เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ ออธธบิ ายขน้ั ตตออนนกกาารร ววเิ ิเคครราะห์และะแแกก้ไไ้ขข แแก้ปัญหหาาดด้ว้วยย ปปัญหาโโดดยยใใชช้ ้ กกรระะบวนกกาารรออออกกแแบบบบ กกรระะบบววนการรออออกกแแบบบบ เชงิ วศิิศววกกรรรรมม เเชชิงวศิ ววกกรรรรมม 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ 4 คะแนน ระดับ ดีมาก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ ดี ครูผสู้ อน 2 คะแนน ระดับ พอใช้ 1 คะแนน ระดับ ปรบั ปรุง *เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ข้นึ ไป

770 783 770 แบบบนั ทึกการประเมนิ ผู้เรยี น ด้านทักษะและกระบวนการ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอื่ ง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เลขท่ี ชื่อ-สกลุ .ททักกั ษษะะกกาารร รายการประเมิน แก้ปญั หา 1 ทักษะการ ทักษะการคิด 2 นาเสนอ วเิ คราะห์งาน 3 4 และวาง 5 แผนการทางาน เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่อื ...................................................ผู้ประเมนิ 4 คะแนน ระดับ ดีมาก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ ดี ครผู ู้สอน 2 คะแนน ระดับ พอใช้ 1 คะแนน ระดับ ปรับปรุง *เกณฑ์การผ่าน ระดับ 2 ขน้ึ ไป

771 784 771 แบบบันทกึ การประเมนิ ผเู้ รียน ด้านคุณลกั ษณะ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่ือง กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรอ่ื ง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เลขที่ ชือ่ -สกลุ รายการประเมิน 1 มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ ม่ันในการ 2 ทางาน 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผ้ปู ระเมิน 4 คะแนน ระดับ ดีมาก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ ดี ครูผสู้ อน 2 คะแนน ระดับ พอใช้ 1 คะแนน ระดับ ปรบั ปรุง *เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ขน้ึ ไป

772 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เร่อื ง เครอ่ื งมอื และอปุ กรณใ์ นการสร้างสรรค์เทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.... เร่อื ง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เวลา.....2... ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้.......วิทยาศาสตร์........ รายวิชา.....เทคโนโลยี 1...... ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ก กเกขบาั ลบัรอลือเบลกัลกปักษเือใขรษชกณะตว้ใณปะเชเสัภรนขะ้วดะทอข้ือสั แุเแงภอดหลงลุแงทาาะงะลแนเาสคะลแนมเระลคแอ่ืบสะรลงมตัคอื่ ะมบิขวงคือมาอตั วชมอืงิขา่าปวชอมงัส่าลงปทงดวอล่ีเทสัุดหอเ่ีดภกหมด ุ ยัาม าภระายั สะสมม กจิ กรรมการเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ ขัน้ นา เวบ็ ไซต์สาหรบั สืบค้น ครทู บทวนความร้เู ดมิ เร่ืองนักออกแบบน้อยดว้ ยการใชค้ าถามนา ให้ - วสั ดุและสมบัตขิ องวสั ดุ www.youtube.com/watch?v=Te ผใหเู้ รผ้ ยี เู้ รนยี สนังสเกงั เตกแตลแะลศะกึ ศษึกาษสา่ิงสข่ิงอขงอใงกใกลล้ต้ตัวัวเกเก่ยี ีย่ววกกับับสสมมบบัตตั ิแแิ ลละะลลักักษษณะการใช้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ งาน Wcjmks6sQ ดา้ นความรู้ ข้นั สอน - เคร่อื งมือชา่ งพืน้ ฐาน 1. บอกประเภทและอธิบายสมบตั ิของ https://realmartonline.com 1. นกั เรยี นแบ่งกลุม่ ตามความเหมาะสม เพ่ือศึกษาใบความรู้ที่ 2.1 สอ่ื วัสดุ เรื่อง วสั ดุในชวี ิตประจาวัน ในประเด็นผิวสมั ผสั ความยืดหย่นุ ความแขง็ - ใบความรู้ที่ 2.1 วสั ดุในชีวติ ประจ�ำวนั และความเหนยี ว การนาความร้อน การนาไฟฟา้ และลักษณะการใช้งาน 2. อธบิ ายการเลือกใช้วัสดุและเคร่อื งมือ -- ใใบบคคววาามมรรูท้ ทู้ ี่ ่ี22.2.1เควัสรือ่ดงุใมนือช่างพ้นื ฐาน ช่างที่เหมาะสมกับลักษณะของงานและ 2. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทาใบงานที่ 2.1 เคร่อื งมือและอุปกรณใ์ นการ ภชาีวริตะปงราะนจ/าชว้นิ ันงาน สรา้ งสรรคเ์ ทคโนโลยี ตอนที่ 1 วิเคราะหป์ ระเภทและสมบัตขิ องวัสดุ - ใบงานท่ี 2.1 วเิ คราะหป์ ระเภทและ ความปลอดภัย โดยระบุว่า สิ่งของเครอ่ื งใช้นน้ั ทามาจากวัสดุใด เหตผุ ลใด ส-ภ-มใาใบบบรงะตัคางิขวนาาอทนมงี่ว/ร2ชัสู้ท.2ด้ิน่ี 2ุงว.าเิ2คนรเคาะรื่หอง์วมสั ือดชุแลา่ งะพกื้นารฐาน ด้านทกั ษะและกระบวนการ 3. ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ และร่วมกันอภิปรายและสรปุ การวิเคราะห์และวางแผนการทางาน 4. ครยู กตัวอย่าง สิ่งของเครอื่ งใช้ในชีวิตประจาวัน ทีท่ ามาจากวัสดุ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ หลากหลายชนิด ครกู ระตุ้นด้วยคาถาม ว่า แต่ละส่วนทามาจากวัสดอุ ะไร ใ-ชใ้เบคงราื่อนงมทอืี่ 2อ.ย1า่ งวสเิ ครรา้ างสะรหรป์ คร์ ะเภทและ 1. มีวินัย เพราะเหตุใดจึงเลือกใชว้ สั ดุชนดิ นั้น สมบัติของวสั ดุ 2. ใฝ่เรียนรู้ 5.ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรทู้ ่ี 2.2 เรอ่ื ง เครอื่ งมือชา่ งพืน้ ฐาน - ใบงานท่ี 2.2 วเิ คราะห์วสั ดุและการ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน 6. ครยู กตวั อยา่ ง สิ่งของเครือ่ งใช้ในชีวิตประจาวนั ท่ที ามาจากวสั ดุ ใชเ้ ครื่องมืออยา่ งสรา้ งสรรค์ 785 772

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง เครอื่ งมือและอุปกรณใ์ นการสรา้ งสรรค์เทคโนโลยี 773 773 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3.... แผนการจดั การเรยี นรเรทู้ อ่ื ี่ ง2 กเรระ่อื บงวเนคกรา่อื รงอมออื กแแลบะบอุปเชกงิ รวณศิ ์ใวนกกรารรมสร้างสรรคเ์ ทคโนโลยี เวลา.....2... ชว่ั โมง กหลนมุ่วสยากราะรกเรายี รนเรรยี ู้ทน่ี ร3ู้.......วทิ ยาศาสตร์........ เรอ่ื ง กรราะยบววิชนาก...า..รเอทอคกโนแโบลบยเีช1งิ ..ว..ิศ..วกรรม ชัน้ เมวธั ลยาม..ศ..ึก.2ษ..า.ปชีทว่ั ่ีโม1ง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้.......วทิ ยาศาสตร์........ หลากหลายชนดิ ครกู ระรตานุ้ ยดว้วิชยาค.า..ถ..าเทมควโา่นโแลตย่ลี ะ1ส..ว่..น..ทามาจากวัสดอุ ะไร เหพลราากะหเหลตายุใดชจนึงิดเลือคกรใกู ชร้วะัสตด้นุ ชุ ดน้วดิ ยนค้นัาถาแมละวใา่ ชแ้เคตรล่ อื่ ะงสม่วือนชทนาดิ มใาดจาใกนวกสั าดรอุแะปไร สเพภราาพะเพห่ือตสุใดรจา้ งึ ชเล้นิ อื งกาในช้วสั ดชุ นิดนนั้ และใชเ้ ครื่องมือชนดิ ใด ในการแปร สภา7พ.เพค่อืรแูสลระ้างนชักิน้ เรงยีาน สนทนา ซักถาม เพ่ือทบทวนความรู้ เก่ยี วกับ ส งิ่ ข อ7.งเคครรแู ่ือลงะะในชนท้กั ักเ่ีผเรรู้เียรยี นียนนสสวนนเิ ทคทนรนาาะซหซกั จ์ ักถาถากามใมบเพงเพา่ือนื่อททบี่บท2ทว.1นวคนตวคอาวนมาทรมู้่ี รเ2กู้ เ่ียวกวเิ ่ียคกวรับกาสะบั ิง่ หข์ อง สวเคสัิง่ รขดือ่ อุแงงลใเชะค้ทกรีผ่าอื รู้เงรใียชน้เทคว่ีผรเิ คู้เ่ือรรงียามนะือหวิเโ์จคดารยกาใะหบหเ้งหจ์านตากุผทใล่ี บ2ใ.นง1ากนตาทอรนเี่ ล2ทือ.1ี่ ก2ใตวชอเิ้ คนรทา่ี ะ2หว์ ิเสั คดรุแาละะหก์ าร แวใชสัลเ้ดะคุแเรนลอ่ื ้นะงถมกงึือาครโวใดชายเ้มคใปหรลเ้่ือหองตมดุผืภอลัยใโนดยทกใา้งั หรนเ้ผีลหสู้อื ตอกผุ นใลชอใ้ นาแจลกกะารเนะเลน้ตอืถ้นุ กึงคคใวชวา้ามมสปนลใอจดดภว้ ยั ค ทาถั้งนาม้ี วแผ่าล้สู ะองเนานนอ้นแาถจตึงกล่ คระวะชาติ้นมุ้นมปคีกลวาอารมดสสภรนยั้าใงจหทดร้วังอื นยปคผ้ี ร�ำ้สู ะถอกานมออบวาเ่าจปกงน็ ารชนะ้นิ ตแงุ้นตา่ลคนะวไชาด้นิม้อมสยนีก่าางใจรไรสดรว้ ้าทยงาคหไารมถือจาึงม เวปปา่ ร็นะงชกาิน้อบงแาเตปน่ล็นมะชาชในิ้ ้ินหงม้เารกีนาาไใดรชส้อไดรยา้อ่ งยหไ่ารรง อื นทป้ี ำ� รไะมกจอึงเบปเน็ปชน็ น้ิ ชงน้ิ างนามนาไใดห้อเ้ รยาา่ ใงชไไ้รดอ้ ทยา่ ไงมนจ ี้ ึง เป็นช8น้ิ.นงกั าเนรมยี านใศหึก้เรษาาใเชกไ้ ่ยี ดวอ้ กยับ่างานนี้ แต่ละชิน้ ถึงการสรา้ งหรอื ประกอบ เปน็ ช8้ิน.นงกั าเนรไยี ดน้ตศ้อึกงษใชา้กเกร่ยีะวบกวับนงกาานรแใดตบ่ล้าะงชนิ้คถรูยึงกาตรัวสอรย้า่างงหวรสั อื ดปุทรีเ่ ะปก็นอเหบลก็ เปชน่็ ชก้ินางราแนปไรดร้ตปู ้อเงหใลช็ก้ ระโดบยวกนากราตรดั ใดทบ่อา้เหงลค็กรตูยากมตขัวนอายด่าทงว่ีอัสอดกทุ แ่ีเบปบ็นไเวห้ ลก็การ เทกชาน่ รเกทกลำ� าียเรกวแลปกยี าวรรกขปู าึ้นเรหรขลปู นึ้ ็กเรหูปลโเด็กหยลโก็ดายโรดกตยาดั รกทอา่อรอเกหอแลกรก็แงตอรงาัดอมแัดขรนแงารดดงึงดทแึง่ีอรอแงรกเงฉแเอืบฉนือบนไว้ การ ทาเกลียววัสกดารทุ ขีเ่ ปึ้น็นรปูพเลหาลส็กตกิโดกยากราขรน้ึอรอูปกพแลรงาอสัดตกิ แรโดงดยึงกาแรรองัดเฉขอื น้ึ นรูป พลาสตกิ วแสับดบุทรเี่้อปนน็ พเชล่นาสกตาิกรตกีขาึ้นรรขปู ้ึนรกูปาพรรลีดารส้อตนิก กโดารยดกงึาแรลอะัดกขด้ึนขรึ้นูปรูป กพาลราเสชต่ือิกมแตบ่อบทร่อ้อกนาเรชแ่นทงกขาน้ึรตรูปีขนึ้ กราปู รเกคาลรือ่ รนีดไรห้อลนข้ึนกรารูปดกึงแารลหะมกุนดข้นึ รูป การเขชนึ้ ือ่ รมปู ตแ่อบทบ่อเยก็นารเชแน่ทงกขาน้ึ รรดูปัดงกอารกเาครลรือ่ ีดนเยไหน็ ลกขาน้ึ รรอปู ัดรกดีารกหามรุนบขดิ ้ึนงอรปู การรขดีน้ึ ขรึนู้ปกแาบรบตเัดยยน็ ดึ เชก่นารกงาอรตดรัดงงกอากรตารีขรนึ้ ีดกเายรน็ ข้ึนการรูปอพัดิมรพดี ล์ กึ ารกบาดิ รงกอระแทก การรีดขึ้นการตัดยดึ การงอตรง การตขี ้นึ การขนึ้ รูปพิมพ์ลึก การกระแทก 786 773 773

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่อง เครื่องมือและอุปกรณใ์ นการสร้างสรรคเ์ ทคโนโลยี 774 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3.... เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เวลา.....2... ชว่ั โมง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้.......วทิ ยาศาสตร์........ รายวิชา.....เทคโนโลยี 1...... ขน้ึ รูปและการแทงขึ้นรูป เปน็ ตน้ 9. นักเรยี นนาเสนอ ใบงานท่ี 2.1 ว่า ใช้วัสดชุ นดิ ใดบ้างเป็น องค์ประกอบ ใช้เคร่ืองมือชนิดใดในการสรา้ งและมีกระบวนการใดท่ีทาให้ วัสดเุ ปลี่ยนรปู ร่างได้ ขน้ั สรุป 1.คครรูแูแลละะนนกั กั เเรรยี ยี นนรร่วว่ มมกกนั นั สรุปเน้ือหา 2.นนักกั เรเรยี ยี นนสสรรุปุปแแลละะบบันันททึกึกเน้ือหาการเรียนรู้ทส่ี �ำาคญั ลงในสมมุดุดเเรรียียนน 787 774

788 775 775 การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือที่ใช้ เกณฑ์ สิ่งทต่ี ้องการวดั /ประเมนิ ตรวจใบงานท่ี 2.1 นกั เรยี นทุกคนผา่ น ด้านความรู้ 1. ใบงานที่ 2.1 เกณฑ์ไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 1. บอกประเภทและ สงั เกตพฤติกรรมการ 2. แบบบันทกึ การประเมนิ 80 กเรายี รนเรรียขู้ นอรงู้ขนอักงเนรกัยี เนรียน ผู้เรยี น ดา้ นความรู้ อธิบายสมบัติของวัสดุ 2. อธบิ ายการเลอื กใช้วัสดุ แบบบนั ทกึ การประเมิน นกั เรียนทกุ คนผ่าน ผู้เรียน ด้านทักษะและ เกณฑ์ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ และเคร่ืองมือช่างท่ี กระบวนการ 80 เหมาะสมกบั ลักษณะของ งานและความปลอดภยั ดา้ นทักษะและ กระบวนการ การวเิ คราะห์และวาง แผนการทางาน ดา้ นคณุ ลกั ษณะ แบบบันทึกการประเมิน นักเรยี นทุกคนผ่าน 1. มวี นิ ยั ผ้เู รียน ด้านคุณลักษณะ เกณฑ์ไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 80 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน

789 776 776 8. บันทึกผลหลงั สอน ผลการเรียนรู้ .................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ ……………..............................................ผู้สอน (.............................................................) วันที.่ .........เดอื น..........พ.ศ............... 9. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ...................................................................................................... .............................................................................. ลงชอ่ื ……………..............................................ผ้ตู รวจ (.............................................................) วนั ท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ.............

790 777 777 ใบความรทู้ ี่ 2.1 วัสดใุ นชีวิตประจาวนั วัสดุในชีวิตประจาวัน ในชีวติ ประจาวนั ของเรา สง่ิ ของเครือ่ งใช้ต่างๆ สรา้ งขึ้นจากวัสดุหลากหลายประเภท วัสดุแต่ละประเภทมี สมบัติและลักษณะที่แตกต่างกนั ดงั น้ันการเลือกใช้วสั ดุใหถ้ ูกต้องและเหมาะสมมมีคีคววาามมสาำ� คัญต่อการออกกแแบบบบแแลละะ สร้างส่ิงของเครื่องใช้ ตัวอย่างเช่น เก้าอ้ีที่เราใช้กันในปัจจุบันมีทั้งท่ีผลิตจากไม้ พลาสติก โลหะ และวัสดุอ่ืนๆ ซ่ึงมีสมบัติและ ลักษณะการใช้งาน รวมท้ังการเก็บรักษาที่แตกต่างกันออกไปตามวัสดุที่ใช้ดังตารางเปรียบเทียบสมบัติและการใช้ งานเกา้ อ้ีทีผ่ ลิตมาจากวสั ดุ ที่แตกตา่ งกนั ดังนั้น การเลือกใช้วัสดใุ นการสร้างสงิ่ ของเคร่ืองใช้จะต้องคานงึ ถึงสมบัติ ของวสั ดุให้มคี วามเหมาะสมกับลักษณะการใชง้ าน การใช้งานเก้าอ้ี ที่ผลิตมาจากวัสดุที่แตกต่างกัน วัสดุท่ีนามาทาส่ิงของเครื่องใช้ในชีวิตประจาวันส่วน ใหญ่ไดแ้ กว่ สั ดุประเภท ไม้ โลหะ พลาสตกิ ยาง ซึ่งแตล่ ะประเภทมสี มบตั ิและการนาไปใช้งานท่แี ตกต่างกนั ดังน้ี ประเภทของวัสดุ ไม้ พลาสตกิ โลหะ (สเตนเลส) ความแข็งแรง มีความแขง็ แรง มคี วามแขง็ แรง มคี วามแข็งแรง นา้ หนัก หนกั เบา เบา อายุการใชง้ าน, ไม่ทนต่อความช้นื เกิดเช้อื ทนตอ่ สภาพอากาศ ทนต่อสภาพอากาศ ความคงทนต่อ เรกาิดไดเช้งอื้า่ รยาได้ง่าย ทั้งความช้ืนแต่ไมท่ น ทงั้ ความชืน้ และแสงแดด สภาพอากาศ แตสไ่งมแท่ ดนดแสงแดด การทาความสะอาด ทาความสะอาดยาก ทาความสะอาดงา่ ย ทาความสะอาดงา่ ย การใช้งาน ใชง้ านภายในอาคาร ใชง้ านได้ท้ังภายในและ ใช้งานภายนอกอาคาร ภายนอกอาคาร สะดวกใน การเคลือ่ นย้ายและจดั เกบ็

791 778 778 วัสดุธรรมชาติที่ได้มาจากลาต้นของต้นไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ หลากหลาย เพราะมีความแข็งแรง ทนทาน ต้านทานไฟฟ้า ไม่เป็นสนิม มีรูปร่างคงตัว มีผิวเรียบ มีกล่ินและ ลวดลายท่เี ป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั แตถ่ ้าได้รบั ความชื้นนานๆ จะผไุ ด้ ไม้เนอ้ื แข็ง (Hardwood) เป็นไม้ที่ได้จากต้นไม้ที่มีใบกว้าง ซ่ึงเป็นไม้ส่วนใหญ่ที่มีอยู่ในป่า ของประเทศไทย ต้นไม้ต้องมีอายุหลายสิบปีจึงจะนามาใช้งานได้ เนื่องจาก เจริญเติบโตช้า จึงเป็นไม้ที่มีวงปีแคบและมากกว่าไม้เน้ืออ่อน ไม้เน้ือแข็ง จะมีเนื้อมัน ลายเนื้อไม้ละเอียด น้าหนักมาก เนื้อแน่น สีเข้ม (แดงถึงดา) แขง็ แรงทนทาน เช่น ไม้เตง็ ไมแ้ ดง ไม้ประดู่ ไม้มะคา่ ไมต้ ะเคียน การใชง้ าน : คาน โครงหลังคาบา้ น พน้ื ฝาบา้ น ประตู หนา้ ต่าง เฟอรน์ ิเจอร์ ของใช้ในครวั เรือน เครอ่ื งดนตรีไทย ไม้เนอ้ื อ่อน (Softwood) เปน็ ไมท้ ่ีไดจ้ ากตน้ ไมพ้ วกสนท่ีมใี บเรียวเลก็ เปน็ ไมท้ ม่ี วี งปกี ว้าง เน่ืองจากเจริญเตบิ โตเร็ว ลาต้นใหญ่ เนอื้ ไมค้ ่อนขา้ งเหนยี ว น้าหนักเบา ใช้งานง่าย แตเ่ น้อื ไม้ไมแ่ ขง็ แรงมากจึงรบั น้าหนกั ได้ไม่ดี เนอื้ ไม้ มีต้ังแตส่ ีจางออ่ นไปถึงสีเข้ม เชน่ ไมส้ กั ไมย้ าง ไมฉ้ าฉา ไม้จาปา ไมข้ นนุ ไม้มะมว่ ง การใชง้ าน : ประตู หนา้ ต่าง เฟอรน์ ิเจอร์ ของใชต้ า่ งๆ กล่องใส่วสั ดุ งานตกแตง่ เคร่ืองดนตรีไทย ไม้อัด (Plywood) เเกกิดิดจจาากกการานร�ำนแาผแน่ ผไ่นม้บไมา้งบๆา ง ทๆ่ไี ดท้จา่ีไดกท้จ่อากนทซุง่อชนนซิดุงเดชยีนวิดกเันดียวกันหรือ หรลอื าหยลชานยิดชมนาิดอมัดาอตัดิ ตกิดันกโันดโยดใยชใ้กชา้กวาวเปเป็นน็ ตตัวัวปปรระสานโดดยยใใหหแ้ ้แตตล่ ่ละะแผแน่ผ่นมีแนว เมสแี ีย้ นนวตเสั้ง้ยีฉนากตกัง้ ฉันากแกลันะนแาลไะปนอ�ำบไแปหอ้งบแไหมง้ อ้ ไัดมจ้อึงดั มจคี ึงวมาีคมวแาขมง็แแขร็งงแรไงมไย่มืดย่ หืดรหือรือ หดตัวเมื่อคคววาามมชชื้นน้ื เเปปลล่ียีย่ นนไปไป การใชง้ านน :: ผผนนงั ังบบ้าา้ นนเฟเฟออรรน์ ์นิเจิเจออรรป์ ์ประรเะภเภททโตโ๊ะต๊ะเกเา้กอา้ ้ี อต้ี เู้ ตกเู้บ็ กข็บอขงอง

792 779 779 ตารางสรุป สมบตั ิและการใช้งานของไม้แต่ละประเภท ประเภทของไม้ สมบัติ การใชง้ าน ไมเ้ น้ือแขง็ แขง็ แรงทนทานมีน้าหนักมากเน้ือแน่นและ คาน โครงหลังคาบา้ น พืน้ ฝาบา้ น (Hardwood) มัน ลายเนื้อไม้ละเอียด สีเขม้ (แดงถึงดา) ประตู หน้าตา่ ง เฟอรน์ เิ จอร์ ของใช้ใน ครวั เรือน เครื่องดนตรไี ทย ไมเ้ นื้ออ่อน เน้ือไมค้ ่อนขา้ งเหนยี ว นา้ หนักเบา ใชง้ าน (Softwood) ง่าย แต่ไม่แข็งแรงมากจึงรับน้าหนักได้ ประตู หน้าต่าง เฟอร์นิเจอร์ ของใช้ ไมด่ ี มตี ้งั แต่สีจางออ่ นไปถงึ สีเข้ม ต่างๆ กล่องใสว่ ัสดงุ านตกแตง่ เครื่อง ไมอ้ ัด แขง็ แรง ไม่ยืดหรือหดตวั เมื่อความช้ืน ดนตรไี ทย (Plywood) เปลี่ยนไป ผนังบา้ นเฟอรน์ ิเจอรป์ ระเภทโตะ๊ เกา้ อี้ ตเู้ ก็บของ โลหะ (Metals) คือ วสั ดุทไ่ี ดจ้ ากการถลงุ สินแร่ต่างๆ โลหะที่นามาใชง้ านสว่ นใหญ่ จะผา่ นการปรบั ปรุงสมบัตใิ หด้ ขี น้ึ กอ่ น นามาใช้งาน โลหะเป็นวสั ดุที่นามาใช้ประโยชน์อย่างกวา้ งขวาง เนื่องจากมีสมบตั ทิ ดี่ ีมากมาย เชน่ เป็นตวั นาความ รอ้ นและนาไฟฟา้ ได้ดมี ีความแข็งแรงสูง มีความคงงททนนถถาาววรรไมไเ่ มส่เอื สมื่อสมลสายลหายรือหเปรลือ่ียเปนลแี่ยปนลงแสปภลางพสงภ่าายพเงป่า็นยวัสเปดทุ็นบึวัสดุ ทแึบสแงสสงาสมาามราถรปถ้อปงอ้ กงนักันไมไม่ใหใ่ ห้แแ้สสงงผผ่าา่ นนทนทานตอ่ การกดั กร่อน มคี วามสวยงาม ผวิ ของโลหะสามารถขดั ใหเ้ ป็นเงาวาว สามารถตีเป็นแผ่นบางหรือดงึ ใหเ้ ปน็ เสน้ ลวดได้ ตารางสรปุ สมบัติและการใช้งานของโลหะแต่ละประเภท ประเภทของโลหะ สมบตั ิ การใชง้ าน เหลก็ กลา้ (Steel) มีความแขง็ แรงสูง สามารถนามา ของใช้ในครวั เรือน กระป๋องบรรจุ เหลก็ หล่อ เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ง่ายเกดิ สนิมได้งา่ ย บภรณั รฑจุภ์ ชัณนิ้ ฑส์ ว่ ชน้นิ อสะ่วไนหอละ่ ไอหุปลก่ รณ์ (Cast Iron) อเคุปรก่อื รงณม์ือเคตรา่ อ่ืงๆงมือต่างๆ ลวดลวด อะลมู เิ นยี ม (Aluminum) กรรไกรร ใใบบมมีดีดโโกกนน มีความแขง็ มากแตเ่ ปราะ มีความเหนียว ของใช้ในครวั ชิ้นส่วนเครื่องจักร นอ้ ย เกิดสนิมไดง้ ่าย ฝาทอ่ ระบายน้า รัว้ ชนิ้ สว่ นรถยนต์ มคี วามหนาแน่นน้อย นา้ หนกั เบา ง่ายใน กรอบประตูหรือหนา้ ต่าง ฟอยลห์ ่อ การเปล่ยี นรปู ร่าง มสี ีเทาเงนิ สะทอ้ นแสงได้ อาหาร ส่วนประกอบของเคร่ืองบิน ดี นาไฟฟ้าและความร้อนได้ดี กระป๋องน้าอัดลม

793 780 780 ประเภทของโลหะ สมบตั ิ การใช้งาน ทองแดง นาความรอ้ นและไฟฟ้าได้ดี มีสนี า้ ตาลแดง สายไฟ เคเบลิ อุปกรณใ์ นเครื่อง (Copper) ทนทานต่อการกัดกร่อน กาเนิดไฟฟา้ อุปกรณ์สาหรบั สง่ น้า เคร่ืองประดับตกแต่ง เหรียญ สังกะสี มีความแขง็ แตเ่ ปราะมสี เี งิน มันวาว ทนต่อ เกหษราียปญณกษ์ าปณ์ (Zinc) การกัดกร่อน ทองเหลือง มีความแขง็ แกร่งมีสีเหลืองทอง นาไฟฟ้า เคลอื บโลหะเพอื่ ป้องกนั สนมิ และการ (Brass และความร้อนได้ดี กแลัดะกกรา่อรนกัดกรอ่ น พาน แจกัน ก๊อกนา้ ทีจ่ ับประตู ข้อต่อเคร่ืองจกั รเคเครรือ่ ื่องงดดนนตตรรี ี พลาสติก (Plastic) คือ วัสดุสังเคราะห์ที่มนุษย์สร้างขึ้น ส่วนใหญ่เป็นผลผลิตท่ีได้จากการกลั่นน้ามันดิบ ปัจจุบันพลาสติก นามาใช้สร้างสิ่งของเครอ่ื งใช้มากมายและมีบทบาทอยา่ งย่ิงต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของทุกคน พลาสติกแบ่ง ได้เปน็ 2 ประเภท คือ เทอรโ์ มพลาสติก (Thermoplastic) และเทอรโ์ มเซตติง้ (Thermosetting) ตารางสรุป สมบัตแิ ละการใช้งานของพลาสติกแต่ละประเภท ประเภทของพลาสตกิ สมบตั ิ การใชง้ าน เทอร์โมพลาสติก ทนตอ่ แรงดึงได้สูงสามารถหลอมให้อ่อนตัว ถงุ ใส่ของ ขวดน้า จาน ชอ้ นส้อม ขน (Thermoplastic) และแข็งตัวเม่ือเย็นลงไดห้ ลายครงั้ จึงนา แขนปแรปงสรีฟงสนั ฟี ันสาสยายยายงางเชเอืชือกกกกรระะเปเปา๋ า๋ กลับมาผา่ นกระบวนการผลิตเพ่อื ใช้งาน รองเทา้ ไม้บรรทดั ถงั ขยะ ของเล่น เทอร์โมเซตต้ิง ใหม่ได้ เด็ก บรรจุภัณฑ์ วัสดุตกแต่งบ้าน (Thermosetting) มีความแขง็ แรง ทนทานต่อการ จาน ชาม แก้วน้า ของใชใ้ นครัวเรอื น เปล่ียนแปลงอุณหภูมิและปฏิกริ ยิ าเคมีได้ดี กระดุม กระดานขาวลบได้ เครือ่ งเด็ก โดนความร้อนแล้วไม่อ่อนตวั ไมส่ ามารถ เลน่ อปุ กรณ์ตกแต่งสวน ถงั ขนาด หลอมและนากลบั มาขนึ้ รปู ใหมไ่ ด้ ใหญ่ ลาเรือ ยาง (Rubber)

เทอร์โมเซตต้ิง มคี วามแข็งแรง ทนทานต่อการ จาน ชาม แกว้ น้า ของใชใ้ นครวั เรอื น (Thermosetting) เปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิและปฏิกิรยิ าเคมีได้ดี กระดมุ กระดานขาวลบได้ เครอ่ื งเดก็ โดนความรอ้ นแลว้ ไม่อ่อนตวั ไม่สามารถ เล่น อุปกรณ์ตกแต่งสวน ถังขนาด หลอมและนากลับมาขึ้นรปู ใหม่ได้ ใหญ่ ลาเรือ 794 781 781 ยาง (Rubber) คคือือวัสดุที่มีคคววาามมยยืดืดหหยยุ่นุน่ เเมม่อื ่อื ออออกกแแรรงงดดึงึงหหรรอื อื กกดดยยางาจงจะะยยดื ดืหหรือรยือุบยุบแลแะลกะลกับลสับู่สสภ่สู าภพาเพดเิมดไิมดไ้เดมเ้ื่อมป่ือลป่อลยอ่ ใยหใ้ยหาย้ งาง เป็นอิสระ ยางถูกนาไปแปรรูปเพ่ือใช้ประโยชน์ในการสร้างสิ่งของเคร่ืองใช้มากมายสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื ยางธรรมชาติ (Natural rubber) และยางสงั เคราะห์ (Synthetic rubber) ยางธรรมชาติ (Natural rubber) คือ ผผลลผผลลิติตที่ได้จากต้นยางเช่นต้นยางพาราเม่ือยางอยู่ในสภาวะอุณณหหภภูมูมิติต่�ำ่าจจะะแแขข็ง็งกกรระะดด้า้างงเเมมื่อื่อออยยู่ใู่ในน สภาวะที่อุณหภูมิสูงจะอ่อนน่ิมท�ำาให้ยางใช้งานได้ในช่วงอุณหภูมิทที่จจ�ำากกัดดยยาางงมมีคีคววาามมยยืดืดหหยยุ่นุ่นสสูงูงททนนตต่อ่อกกาารรฉฉีกีกขขาาดด และการสึกหรอแต่ไม่ทนต่อตัวท�ำาละลายพวกน�้ำามันปิโตรเลียมและมักเสื่อมมสสภภาาพพเเรร็ว็วภภาายยใใตต้แ้แสสงงแแดดดดคคววาามมรร้อ้อนน ออกซเิ จนและโอโซน การใชง้ าน : น นน้า้ำ�ย้่าํ ยยาางงดดิบบิ จจะะถถูกูกแแปปรรสสภภาาพพเเปป็นน็ 222ลลลักักษกั ษษณณณะะะคคอื คือือในในใรนปูรรูปขูปอขขงอนอง้าํงนยน้าา้�ำยงยาขาง้นงขข้ซนน้ งึ่ เซปซึ่งน็่ึงเปเวป็ตัน็นถววุดัตัตบิถถใุดนดุ ิบกิบใาในรนกผกาลาริตรผขผลอลิตงิตใขขชออ้ งงใใชช้ ้ ตา่ งๆ เช่น ถถุงุงมมือือยยาางง ยยาางงรรัดดั ขขอองงลลูกูกโโปป่งง่ ชช้ิน้นิ สส่ว่วนนออิเิเลล็ก็กททรรออนนิกกิ สส์เ์เคครร่ืออื่ งงมมืออื ททางการแพทย์และอกี ลักษณะ คือ ใในนรรูปปู ยางแห้ง ยางแผน่ รมควนั ยยาางงแแผผ่น่นผผง่ึ ึ่งแแหหง้ ้งยางแแทท่ง่งซซซึ่งงึ่ ง่ึใชใช้เป้เป็นน็ ววัตตั ถถดุ ุดบิบิบใในในนกกกาารารผรผลผลิตลิตริตรอรององเงทเเทา้ท้าย้ายายงาารงงถรรจถถักจจรักักยรรายยนาานยนายงยารางถงรยรถนถยยตนน์ ตต์ ์ สสาายยพพาานนลล�ำาเเลลยียี งง เเปปน็็นตต้น้น ยยาางงสสงัังเเคครราาะะหห์์ ((SSyynntthheettiicc rruubbbbeerr)) คคือือ ยยาางงทท่ีไี่ไดด้จ้จาากกกกาารรสสังังเเคครราาะะหห์ท์ทาางงเเคคมมีเีเพพื่่ืออเเลลีียยนนแแบบบบยยาางงธธรรรรมมชชาาตติ ิขข้อ้อดดีคีคือือสสาามมาารรถถปปรรับับปปรรุงุงสสมมบบัตัติิ เเชช่น่น คคววาามมยยืดืดหหยยุ่นุ่น คคววาามมททนนททาานนตต่อ่อแแรรงงดดึงึงแแลละะกกาารรฉฉีกีกขขาาดด คคววาามมททนนตต่่ออเเปปลลววไไฟฟ สสภภาาพพออาากกาาศศ แแสสงงแแดดดด สสาารรเเคคมมีแีแลละะ อนกรสกนสอรตถถงัีากังีก้�าาำ้าเเยยรรมรทมทคคในานใันัน้ังั้งรรชชงตตยยาาไไส้ง้งด์์ดะาะาาฉฉรางงหห้้ตตนปุนนนสส์ไไ์าาววังัดดงมมส::เนนเร้้รคคตตมจบัับจร้ร้หออหบุกุกคคาางงุ้มุม้ัตนนววะะกกสสิแามามหหาาาลามม์ม์มรรยยขะนนขยยีีคคไไอกยิยิอฟฟาาววางมมงงงาาเรเทสมทสลมมมใลัชัาง่อง่อ่นาทท่นเกเก้งยยคคนนากสากาสรรนททงว่ิงงวาา่ิงขข่าาา่ากขะะกยนนออยาอหหาางาตงตววง์งม์ยมเง่อ่อยเยคธธีาหีคหกากรารรงรลงลรางาื่อแรื่อมารารมตยงยงยใยใชใชาล่ าใชชชปปางชางะ้ง้ง้ตขสรตสร้ขปาาิอาะะาิอนนรยงเยเงะแแภภพปพปเลลทภทราราะะนะทะนเเมดมสดสยีสยับ่ืีอสับื่อามาตมมมตงงบกกสบกสกัตันแภแภัตันิทกตตาิทากรพ่่ีงแ่งพร่ีแะตะไไตพพแดดแกก้ืนท้ชื้น้ชทตตรก้าร้าก่า่อากอกงยงงวยงวกกาเ่เาา่าันททงันยงยข้ไา้าขาไาปอปงองอบตอธตธบุปุปราหราหกรมกรนมนมรมครา้คณา้ชณชตววตาาาา่์ทา์ทา่ตมงตมางาิ ิเงเสงหสหกก่งม่งามผาผารราลละแแะใสใพพหสหมท้ใทม้ในใยในยนปน์์ ปกถัจกถัจาุงจุงาจรมมรุบใุบือใือัชนชัน้งยย้งยยาาาาาานงงนงง ประเภทของยาง สมบตั ิ การใชง้ าน ยางธรรมชาติ(N(Naattuurarall มีความยืดหยนุ่ สูงทนต่อการฉีกขาดและ ถุงมือยาง ยางรดั ของลูกโปง่ rubber) การสึกหรอแต่ไมท่ นต่อตัวทาละลายพวก ชิ้นสว่ นอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เครื่องมอื ทาง นา้ มันปิโตรเลยี มเสื่อมสภาพเรว็ ภายใต้ การแพทย์ ยางรถจักรยาน ยางรถยนต์ แสงแดดความร้อนออกซิเจนและโอโซน รองเท้าสายพานลาเลยี ง ยางสงั เคราะห์ ปรบั ปรงุ สมบตั ิไดต้ ามที่ต้องการ ทนทานต่อ จกุ นม ของเล่น สิง่ ของเคร่ืองใช้ ของ (Synthetic rubber) การใช้งานและเสื่อมสภาพชา้ ขปอรงะปดรบั ะตดกบั แตตก่งแอตุปง่ กอรปุ ณก์ทราณงท์การงกแาพรทแยพ์ ทย์ ยางรถยนต์ ฉนวนหุม้ สายไฟ กาวยาง ยาง สายพาน ยางกันกระแทก

795 782 782 วัสดุมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติบางประการท่ีเหมือนกัน และบางประการแตกต่างกัน การเลือกวสั ดุและส่ิงของต่างๆ มาใช้งานหรือสร้างสิ่งของเครอ่ื งใชต้ ้องพิจารณาจากสมบตั ขิ องวัสดุเพอื่ ให้เหมาะสม กับการใช้งานและเพ่ือความปลอดภยั

796 783 783 ใบความรูท้ ่ี 2.2 เครอื่ งมือช่างพื้นฐาน เครอื่ งมือช่างพ้ืนฐานเป็นสิง่ จาเป็นในการสร้างช้ินงานเนือ่ งจากเป็นสง่ิ ที่ช่วยในการทางานในหลายๆ ด้าน เช่น ช่วยในการผ่อนแรงทางานได้เร็วขึ้น ละเอียด แม่นยามากขึ้น ปรับแต่งช้ินงานให้ได้รูปร่างลักษณะที่ ต้องการและเรียบร้อยสวยงาม การรู้จักเลือกใช้เคร่ืองมือให้เหมาะสมกับงาน ใช้อย่างถูกต้องและปลอดภัยจึงมี ความสาคัญท้งั ตอ่ ผู้ปฏบิ ัตงิ านเองและความสาเรจ็ ของงาน ภาพ ประเภทอปุ กรณ์ ช่อื อุปกรณ์ เคร่ืองมอื สาหรับตอก ค้อน อุปกรณส์ าหรับตดั และผา่ มีด เล่อื ย อุปกรณ์สาหรบั ขันและไข ประแจ เครอ่ื งมอื สาหรบั วัด ไขควง ฉาก ไมบ้ รรทดั ตลับเมตร

797 784 784 ภาพ ประเภทอปุ กรณ์ ช่ืออุปกรณ์ เคร่อื งมอื ประเภทเจาะ สว่านข้อเสือ สวา่ นไฟฟา้ ประเภทจบั ยึด คีม ประเภทใสตกแต่ง ตะไใบ กบใสไม้ ขอ้ ควรระวัง วัสดุและเครื่องมือช่างพ้ืนฐานมีมากมายหลายประเภท แต่ละประเภทมีจุดประสงค์ ในการนาไปใช้งานท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันในการสร้างช้ินงานจาเป็นต้องพิจารณาสมบัติของวัสดุให้ เหมาะสมกับการนาไปใช้งาน รวมถึงควรเลือกใช้เครอ่ื งมือช่างพื้นฐานให้เหมาะสมกับประเภทของงาน ใชใ้ ห้ถูกต้องและคานงึ ถงึ ความปลอดภยั

798 785 785 ใบความรเู้ พิม่ เติม สาหรับครู เรื่อง การแปรรปู และการขึ้นรูปวสั ดุ การแปรรปู และการข้นึ รปู วัสดุประเภทไม้ การแปรรูปไม้ เชน่ การไสไม้ การตดั ไม้ การขดั ประสาน การเหลาไม้ การข้นึ รปู ไม้ เชน่ การเซาะร่อง การเจาะรู ออกแรงเฉอื น การขัดกระดาษทราย การแปรรูปไม้ http://www.otoptoday.com/wisdom การขึ้นรปู ไม้ การแปรรปู และการข้นึ รูปวัสดุจากโลหะ การแปรรูปโลหะ เชน่ แท่งเหลก็ โดยการตดั การทาเกลียว การข้นึ รปู โลหะ เชน่ แทง่ เหลก็ โดยการออกแรงอดั แรงดงึ แรงเฉือน การแปรรปู โลหะ http://www.otoptoday.com/wisdom การขึ้นรปู โลหะ การแปรรปู และการขึ้นรูปวสั ดุจากพลาสติก การแปรรูปพลาสติก - การขึ้นรูปพลาสติก โดยการอัดขึ้นรูปแบบร้อน เช่น การตีข้ึนรูป การรีดร้อน การดึงและกดข้ึนรูป การเช่ือมต่อท่อ การแทงข้ึนรูป การเคล่ือนไหลขึ้นรูป และการหมุนขึ้นรูป และการขึ้นรูปแบบเย็น เช่น การดัดงอ การรีดเย็น การอัดรีด การบิดงอ การรดี ขึ้นการตัดยึด การงอตรง การตีข้ึนการข้ึนรูปพิมพ์ลึก การกระแทกข้ึนรูป และการแทงข้นึ รูป

799 786 786 ใบงานท่ี 2.1 วเิ คราะห์ประเภทและสมบัติของวัสดุ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งของเคร่ืองใช้ในชีวิตประจาวัน 1 ชนิด ที่มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น เก้าอี้ไม้ เก้าอี้ พลาสติก และเก้าอี้ผ้า และระบุว่า ส่ิงของเครื่องใช้นั้นทามาจากวัสดุใดบ้าง และเพราะเหตุใดจึ งเลือกวัสดุนั้น เครื่องใช้นัน้ วาดภาพสงิ่ ของ วาดภาพส่ิงของ วาดภาพสง่ิ ของ ประเภทวัสดุ ประเภทวสั ดุ ประเภทวสั ดุ ............................................. ......................................................... ........................................................ อธิบายคณุ สมบัติของวสั ดุ อธิบายคุณสมบัติของวสั ดุ อธิบายคณุ สมบัติของวัสดุ ชอื่ ......................................................ช้ัน....................เลขท่.ี ....................

800 787 787 ใบงานที่ 2.2 วิเคราะห์วสั ดุและการใช้เครอ่ื งมืออยา่ งสร้างสรรค์ คาชีแ้ จง เลือกสิง่ ของทีใ่ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ท่นี ักเรยี นสนใจมาหนึ่งชนดิ แลว้ ทาการวิเคราะห์ว่า ส่งิ ของนี้มีวัสดุ ใดบา้ งเป็นส่วนประกอบ พร้อมบอกคณุ สมบัตขิ องวสั ดุนั้นๆ แล้วบอกเคร่ืองมือทใี่ ช้ผลิตและข้อควรระวังในการใช้ เคร่อื งมอื 1. วาดภาพส่ิงของท่นี กั เรียนสนใจศกึ ษา ชอื่ สงิ่ ของ................................................ 2. บอกวัสดุท่เี ปน็ ประกอบและบอกคณุ สมบตั ิของวัสดุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการผลิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ขอ้ ควรระวังในการใช้เคร่อื งมือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช่อื ......................................................ช้นั ....................เลขที่.....................

801 788 788 ตัวอย่างคาตอบใบงานที่ 2.1 วิเคราะหป์ ระเภทและสมบัติของวสั ดุ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งของเคร่ืองใช้ในชีวิตประจาวัน 1 ชนิด ที่มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น เก้าอ้ีไม้ เก้าอ้ี พลาสติก และเก้าอี้ผ้า และระบุว่า สิ่งของเคร่ืองใช้น้ันทามาจากวัสดุใดบ้าง และเพราะเหตุใดจึงเลือกวัสดุนั้น เคร่อื งใชน้ ัน้ ตัวอย่าง เกา้ อ้ีพลาสตกิ เก้าอ้ีไม้ เกา้ อเ้ี หล็ก ช่อื วสั ดุ : พลาสติก ชอ่ื วสั ดุ : เหลก็ ชือ่ วสั ดุ : ไม้ สมบตั ิของไม้มคี วามแข็งแรง ไม่เปน็ สมบัติของพลาสติกมีความแข็งแรง สมบัตขิ องเหล็ก มีความแข็งแรงสงู สนิม ทนทาน ผวิ เรยี บ มลี วดลาย ทนทานต่อการเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิ คงทนถาวร ไม่เสื่อมสลายหรอื และปฏกิ ิรยิ าเคมีได้ดี โดนความรอ้ น เปล่ียนแปลงสภาพงา่ ย ตีเป็นแผ่น แลว้ ไม่อ่อนตัว ไม่สามารถหลอมและ บางหรือดึงใหเ้ ป็นเส้นลวดได้ นากลบั มาขนึ้ รปู ใหม่ได้ แนวคาตอบอืน่ ๆ ของผ้เู รียน พลาสตกิ มีสมบตั ิท่ีทนต่อแรงดงึ ไดส้ งู สามารถหลอมให้อ่อนตวั และแขง็ ตวั นากลบั มาผลิตใหม่ได้ ยาง มสี มบตั ิ ดา้ น ความเหนียว ความยืดหยนุ่ ทนต่อการฉีกขาด

802 789 789 ตวั อย่างคาตอบใบงานที่ 2.2 วิเคราะหว์ ัสดแุ ละการใช้เครอ่ื งมืออย่างสรา้ งสรรค์ คาชี้แจง เลือกสิ่งของที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ท่ีนักเรียนสนใจมาหนึ่งชนิด แล้วทาการวิเคราะห์ว่า ส่ิงของน้ีมีวัสดุ ใดบ้างเป็นส่วนประกอบ พร้อมบอกคุณสมบัติของวัสดุน้ันๆ แล้วบอกเคร่ืองมือท่ีใช้ผลิตและข้อควรระวังในการใช้ เคร่อื งมือ ตวั อย่างแนวคาตอบ 1. วาดภาพส่ิงของท่ีนักเรียนสนใจศึกษา โซฟา 2. บอกวสั ดุที่เป็นประกอบและบอกคณุ สมบตั ิของวสั ดุ - ไม้เน้ืออ่อน เนือ้ ไม้ค่อนข้างเหนียว น้าหนักเบา ใชง้ านง่าย แต่ไม่แข็งแรงมากจึงรบั นา้ หนักได้ไมด่ ี มีตง้ั แต่สีจางอ่อนไปถึงสีเข้ม - ไมเ้ นอ้ื แข็ง แข็งแรงทนทานมนี ้าหนักมากเนื้อแน่นและมนั ลายเนอ้ื ไมล้ ะเอียด สีเข้ม (แดงถึงดา) ฯลฯ 3. เครื่องมือทใ่ี ช้ในการผลิต ฆค้อน, เล่อื ย, กรรไกร, เขม็ เย็บผา้ , ตะป,ู กาว ฯลฯ 4. ขอ้ ควรระวังในการใชเ้ คร่ืองมอื - ขณะใช้เลอ่ื ย ควรสวมถงุ มือหนัง และวางมือให้ถกู วิธี - ขณะใช้ ฆอ้ น ควรสวมใส่แว่นตา ชนิดป้องกันดวงตา ชอื่ ......................................................ชนั้ ....................เลขที.่ ....................

803 790 790 แบบบนั ทึกการประเมินผู้เรยี น ดา้ นความรู้ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 รายการประเมิน บอกประเภท อธิบายการเลอื กใช้วสั ดุและ เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ และอธิบาย เครื่องมอื ชา่ งท่ีเหมาะสมกบั สมบตั ิของวสั ดุ ลกั ษณะของงานและความ ปลอดภยั 1 2 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ..............................................ผ้ปู ระเมิน 4 คะแนน ระดับ ดีมาก (………….…………………………………….) 3 คะแนน ระดับ ดี ครูผูส้ อน 2 คะแนน ระดับ พอใช้ 1 คะแนน ระดับ ปรับปรงุ *เกณฑ์การผ่าน ระดบั 2 ข้นึ ไป

804 791 791 แบบบันทกึ การประเมินผเู้ รยี น ดา้ นทักษะและกระบวนการ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เร่อื ง กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 รายการประเมิน เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ . การวิเคราะห์และ วางแผนการทางาน 1 2 3 4 5 เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชื่อ...............................................ผ้ปู ระเมนิ 4 คะแนน ระดับ ดีมาก (………….……………………………….) 3 คะแนน ระดับ ดี ครผู ู้สอน 2 คะแนน ระดับ พอใช้ 1 คะแนน ระดับ ปรบั ปรุง *เกณฑ์การผา่ น ระดบั 2 ขนึ้ ไป

805 792 792 แบบบนั ทกึ การประเมินผเู้ รยี น ดา้ นคุณลักษณะ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 เลขที่ ชือ่ -สกลุ รายการประเมิน มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการ 1 2 ทางาน 3 4 5 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...............................................ผปู้ ระเมิน 4 คะแนน ระดับ ดีมาก (………….…………………………….) 3 คะแนน ระดับ ดี ครูผ้สู อน 2 คะแนน ระดับ พอใช้ 1 คะแนน ระดับ ปรบั ปรุง *เกณฑ์การผ่าน ระดบั 2 ขนึ้ ไป

793 806 793 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ โปรแกรมเมอร์น้อย หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 รหสั วิชา ว21103 รายวิชา เทคโนโลยี11 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา 14 ชั่วโมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด สาระ ท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทนั และมีจริยธรรม ตวั ชว้ี ดั ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.1/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและ แนวคดิ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับปัญหา 2.สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การออกแบบโปรแกรมที่มกี ารใชต้ ัวแปร เง่ือนไข วนซา้ การออกแบบอัลกอริทึม เพ่อื แแกก้ป้ปัญัหญาหาทาง คทณางิตคศณาิตสศตารส์ วติทร์ยวาิทศยาาสศตารส์อตยร่าอ์ งยง่างยงา่อยาจอใาชจแ้ ในชแ้วคนดิวคเชิดิงเนชาิงนมธามรรธมรรในมกในากราอรออกอแกบแบบเบพเื่อพแ่ือกใ้ปหัญก้ าหราแมกีป้ไขรปะัญสทิ หธาิภาพ มีประสทิ ธกิภาารพแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน จะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ชใ้ นการเขยี น โปรแกรมกเชารน่ แSกc้ปrัญatหcาhอ, ยc่าoงdเปe็.นoขrgั้น,ตmอนicจroะชb่วitย, ใbหl้แoกck้ปlัญy,หpาyไดth้อoยn่า,งมjaีปvรaะแสลิทะธิภcาเพขยี ซนอโฟปแรวแรก์ทร่ีใมชท้ใานงกเาลรอื เกขแียลนะ คโำ� ปสร่งั วแนกซร้ำ�ม เช่น Scratch,code.org, microbit, blockly, python, java และ c เขียนโปรแกรมทางเลือก และคาสต่งั วั นอซยา้่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมสมาการเคลอ่ื นท่ี โปรแกรมค�ำนวณหาพ้นื ที่ ตวั อยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมสมาการเคลือ่ นท่ี โปรแกรมคานวณหาพืน้ ที่ โปรแกรม 3. สาระการเรียนรู้ ความรู้ 1. อธบิ ายยคคววาามมหหมมาายยขขอองงหหลลักักกกาารรออออกกแแบบบบแแลละะเขเขยี ยีนนโปโปรแรกแรกมรม 2. เขเขา้ ใ้าจใหจลหกัลกักากราทราทง�าำนงาขนอขงอMงicMroi:cbriot:แbลitะเแขลียะนเโขปียรนแกโปรมรแเพก่ือรแมกเพป้ ัญ่ือแหกา้ทปาัญงหคณาทติ าศงาคสณตริต์ ศาสตร์และ วแิทลยะาวศิทายสาตศรา์ สตร์ 3. เขา้ ใจหหลลักักกกาารรททา�ำงงาานนขขอองงAArdrduuininooแแลละะกการาเรขเขียยีนนโปโปรแรกแรกมรม 44.. ออธธิบิบาายยคคววาามมหหมมาายยขขอองงตตัวัวแแปปรรหหลลักักกกาารรปปรระะเภเภททขขอองตงตัวแัวปแปรรรปู รแปู บแบบกบากราปรรปะรกะากศาศตัวตแวั ปแรปรใน AใrนduAirndouino 55.. บบออกกคคววาามมหหมมาายยรรปููปแแบบบบเเขขยีียนนโโปปรรแแกกรรมมกกาารรใใชช้ทท้ าางงเเลลืออื กกแแลละะคคาำ� สสง่ัง่ั รรปูปู แแบบบบววนนซซา้ำ�้ ดดว้ว้ ยยคคำ�าสสงั่่งั iiff,,if-else, wifh-eillesed, ow,hwilehildeoแ, ลwะhifloerแเลพะอ่ื ใfชo้แr กเพป้ อื่ญั ใหชแ้ากท้ปางญั คหณาิตทศางาคสณตรติ ์แศลาะสวตทิ รยแ์ าลศะาวสิทตยรา์ศาสตร์

807 794 794 ทกั ษะ/กระบวนการ 1. ทกั ษะในการทางานร่วมกัน 2. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ทกั ษะการสอ่ื สาร 4. ทกั ษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ 5. ทกั ษะความคิดสรา้ งสรรค์ เจตคติ 1. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ 2. มีวินัย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 4. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ซือ่ สตั ย์สจุ ริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. ม่งุ ม่นั ในการทางาน 6. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้นิ งานหรอื ภาระงาน 1. ใบความรู้ที่ 1.1 เรอื่ ง หลักการออกแบบและเขยี นโปรแกรม 2. ใบความร้ทู ่ี 2.1 เร่ือง รู้จกั Micro:bit 3. ใบความรทู้ ่ี 3.1 เรือ่ ง การแกป้ ญั หาดว้ ยโปรแกรม Micro:bit 4. ใบความรทู้ ี่ 4.1 เรือ่ ง รจู้ ัก Arduino และ TinkerCAD 5. ใบความรู้ท่ี 5.1 เร่ือง รจู้ กั ทางเลือก 6. ใบความร้ทู ่ี 6.1 เรอื่ ง ทางเลอื กในภาษาซี

795 808 795 7. ใบงานทา้ ยแผนท่ี 1 - ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การใชโ้ ปรแกรมจาลอง “มารู้จักโปรแกรม Scratch, Kodu, Code.org กัน เถอะ” - ใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง การใชโ้ ปรแกรม Micro:bit - ใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง การเขยี นโปรแกรม Micro:bit - ใบงานท่ี 3.1 เรื่อง การแกป้ ัญหาด้วยโปรแกรม Micro:bit - ใบงานท่ี 3.2 เร่ือง การนาเสนอด้วย ผังงาน (Flowchart) - ใบงานที่ 4.1 เรอื่ ง การคิดและการแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรโ์ ดยใชภ้ าษาซเี บือ้ งต้น - ใบงานท่ี 4.2 เร่ือง การนาเสนอ ผังงาน(Flowchart) และโปรแกรม - ใบงานท่ี 5.1 เรอ่ื ง การใช้คาสัง่ วนซา้ เบื้องต้น - ใบงานที่ 5.2 เร่อื ง การนาเสนอผังงาน (Flowchart) และโปรแกรมในการใชท้ างเลอื ก - ใบงานที่ 6.1 เร่ือง การใชท้ างเลือกเพ่ือใชใ้ นการแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ - ใบงานท่ี 6.2 เรื่อง การนาเสนอผังงาน (Flowchart) และโปรแกรมในการใชท้ างเลือก เกณฑ์การประเมนิ ผลชิน้ งานหรือภาระงาน ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ดี) 2 (พอใช้) เกณฑก์ ารประเมนิ ด้านความรู้ 1.การวิเคราะห์งาน วเิ คราะห์งานไดต้ รง วเิ คราะห์งานไดต้ รง วิเคราะหง์ านไดต้ รง วิเคราะห์งานได้ และวางแผนการ ประเดน็ ตามท่ี ประเด็นตามท่ี ประเด็นตามที่ ตามประเดน็ ทางาน ตกามหทน่กีดำ� หนด ตกามหทนีก่ด�ำหนด ตกามหทนี่กดำ� หนด วางแผนและเขยี น มคี วามถูกต้อง มีความถูกต้อง มคี วามถูกตอ้ ง เแขผียนนงแาผนนยงั าไมน่ วางแผนและเขยี น วางแผนและเขยี น วางแผนและเขยี น ยชงัดไเมจช่นดัทเจ่ีจะนนาไปสู่ แผนงานเปน็ เแขผยี นนงแาผนนเปงน็านเป็น เแขผยี นนงแาผนนยังไามน่ ทกีจ่าระปนฏ�ำิบไปตั สิไดูก่ ้าร ปฏบิ ตั ไิ ด้ ข้นั ตอนได้ชัดเจน ขั้นตอนนา�ำไปสู่การ ยชงัดไเมจช่นัดเจน ละเอียด เข้าใจง่าย กปาฏรบิ ปตั ฏิไบิด้ตั ิได้ สามารถนาไปสู่การ กปาฏรบิ ปตั ฏิแบิ ลัตะิ แบลรระลุ บเปร้ารหลมเุ ปาย้าหไดม้ ายได้

796 809 796 ประเด็นการประเมิน 4 (ดมี าก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 2. การตอบคาถาม คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ คาถามดา้ นความรู้ คาถามด้านความรู้ คาถามด้านความรู้ คาถามด้านความรู้ ไดเ้ ทา่ กับ เทา่ กบั 7-8 คะแนน ได้เทา่ กับ 5-6 ต่ากวา่ 5 คะแนน 9-10 คะแนน คะแนน 3. การตอบคาถาม ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถามไม่ตรง เขียนสรปุ องค์ความรู้ ประเดน็ มเี หตผุ ล ประเดน็ มเี หตุผล ประเด็นบางสว่ น ปตรงะปเดร็นะเดน็ ประกอบอยา่ ง ประกอบอย่าง มีเหตุผลประกอบ เขียนอธบิ ายไม่มี เหมาะสมใชภ้ าษา เหมาะสมเปน็ ส่วน ไม่ครบประเดน็ ใช้ เหตุผลใชภ้ าษาใน ในการเขยี นได้ ใหญใ่ ชภ้ าษาในการ ภาษาในการเขียน การเขียนไม่ เหมาะสม ถูกต้อง เขยี นไดเ้ หมาะสม มี เหมาะสมเป็น ไเหมม่เหามะาสะมสม ลายมอื สวย อ่าน มคีควาวมามคคิดสิดรส้ารงา้ สงรสรรคร์ค์ บางส่วน งอา่ ่ายนงมา่ ยคี วมาคีมวคาดิ มคดิ เขียนลาดับ สรา้ งสรรค์ เขยี น เหตกุ ารณย์ ังขาด ลาดับเหตกุ ารณ์ การตตอ่ อ่ เนเนื่อ่ืองง ตอ่ เน่ือง และ เชอ่ื มโยงได้ดี 4. สรุปและเขยี น สรุปการศึกษาและ สรุปการศึกษาและ สรปุ การศึกษาและ สรปุ การศกึ ษาและ แผนภาพความคิด สบื คน้ ได้ตรง สบื ค้นได้ตรง สบื ค้นได้ตรง สืบค้นได้ไม่ตรง ประเดน็ แล้วนาสู่ ประเด็นแลว้ นาสู่ ประเดน็ การเขียน ประเดน็ การเขียน การเขยี นแผนภาพ การเขยี นแผนภาพ แผนภาพความคิด แผนภาพความคิด ความคดิ ได้ถูกต้อง ความคดิ ได้ถูกต้อง ไดต้ รงกบั เน้อื หา ได้ ผลงานไม่ ตรงเนือ้ หา ผลงาน ตรงเน้ือหา ผลงานไม่สวยงาม สวยงาม สวยงาม มี ผลงานสวยงาม ความคิดสรา้ งสรรค์

779977 810 779977 ปปรระะเเดดน็น็ กกาารรปปรระะเเมมินิน 44 ((ดดมีมี าากก)) รระะดดับับคคณุุณภภาาพพ 11 ((ปปรรับับปปรรงุุง)) 33 ((ดดี)ี) 22 ((พพออใใชช้้)) 55.. กกาารรออธธิบบิ าายยคคววาามมรรูู้้ พภเถเแคเศชมมชเเคเชเเคเเชศคเถเแสสชกใชเเใกปขหหรขขรขปหหฉฉชชาดูกกูกกูัดดั้นใี้ในีดััารกึวึวกรขขีี อืื่อ่ียียียียพพภ้้ภหหตต็นมม็นษกกบบาาป้ต้ปตเเษเเษ้ออ้ชับบั งงนนนนจจจจุผุผาาาามมลเ้เ้ลาาววาถถ้้ออมมดััญัญททาาสสหหนนนนะะะะษษขออขลลมมาาสสทว้ว้มมงงลูลูเนนี่ี่ศศ็นน็สเสเหหดดัน้น้ัธธภภจททาาาาตตนน่ีใจจาาททพพึกกึุนุนมมบบิิสสาาชคคบับันตตาาี่่หหีาาไไาาแแ่ี่ีษษรรขขไไดดอื่ือ่ษษาาไ้ัญญัมมชอชอะะนนลลดดพพ้อ้อม้้ออยยาา้อ้อสสจจขขาาดันันดะะขขัักก้้มมดดููก่เเสสททาายยงง้นัั้นเเกกรรออแแใใจจรร�ำรราา่่ใ่ี่ใีื่ื่ตตออาาหหงงนนไไกนนปปุุชชงงรรงงออดด้้นน่่วไไ้้ ททนน้้มมม่ีี่่่ เใเคศเชสเมศใมสชเเชเเเชเคหฉรรหขฉหหขชชนน้ีดดัีใั้ใกววกึึีขีขอ่ือ่ืพพยียีภ้ภ้หหมตมตาาเเ้ษอ้ษอบบัั งงนนจจผุผุาาาามมเเ้้าามมททาาสสหหนนะะะะษษออลลสสมมลูลูนนีี่่ศศน็็นเเสสธธททาาาาจจาาททพพกึึกนนุุมมิบิบไไคคีหห่่ีไไาาดด่ีี่ษษรรขขดดาาญััญะะนน้อ้อ้้้้ออยยาาอ้้อจจขขกักัมมเเสสยยงงรรออแแใใรร่่าาืื่่ออหหงงนนปุปุงงงง้้่นน่ ทท่่ีี เสเสเชมชเเชเศมศคชเคเฉฉรหขรขหนนี้ัดดี้ใัใกววกึึีขขี ืื่่ออพพยียีหหตตาาเเ้อษษ้อบับั งงนนจจุุผผาามมเเ้้ มมททาาสสหหนนะะออลลสสมมลลููนนีี่่ศศ็็นนเเธธททาาจจาาททพพกึึกนนุุบิิบคค่ีี่หหไไาาี่่ีษษรรขขดดาาญญััะะนนอ้อ้้ออ้ยยาา้ออ้จจขขกกััมมเเสสยยงงรรออแแใใรรา่่าื่่ืออหหงงนนุปุปงงงง้้่น่นทที่่ี ทแขแเไคเศเเเเไขศเขเคหฉรฉขขหรมมตล้อไี่้อ้อึวึกกวอ่ืือ่มพพยยีีตตส่ส่ะสม่าามมษษงงนน่เไผุผุนนาารมมขีููลลฉททาามะะปุออลลบบััสสอ้ททพ่ีี่ศศ่สเเพพธธาามสสจจ่่ีีไไชชากึกึนบบิิคครรมมนนูลาาะีใ้ใี้ษษบั้ออ้าาััญญะะ่่หหนุนุเยยาามมจสจขข้เเ้ขขเเหหาใใงงนรรออ้้ออหหแแแแะ็น็น่ื่ืออนุงงสส้้ตตลลจงงรระะงม่่มททปุปุ ีีีี่่ 6แ6แ..กกขข้ปป้ ัน้ั้นัญญั ตตหหออาานนกกาารร เคถแคถเแขขกกกููกรรยีียบบตป้ต้ปนนถถ้้ออัญญั ขข้วว้งงหหน้ัน้ัตตนนาาตตาาแแไไมมออลลดดขขนนะะ้้ ั้น้นักกตตาารรออนน เแเเเแขปขปกกียีย็น็นป้้ปนนไไัญัญปปขขหหตต้นัน้ั าาาาตตมมไไออดดขขนนแ้้แ้ันน้ั กกตตตตาา่่ไไออรรมมนน่่ ขไแขขแขไมมกก้ัั้นน้นั้นั ส่่สป้้ปตตตตาาญัญัออออมมนนนนหหาากไกไรราาดดถถาาตต้้รรเเาาขขมมยียี นน ข77กกข..ออาากกหหงงาาปปนนรรญััญดดววเิเิรรหหคคาาาารรยยาาลละะะะหหเเออ์แแ์ ลลียยี ดดะะ ปไแสอสสสอปจปจเชเกกชถถดงงลาารกกููง่ิ่ิางาะดดััะาาัญญัืออ่ื่ถ้ททกกมมหหะะไไตตเเนนหหกูจจรรสสเชาาต่่ีตีนน้้ออดไไนนตาารรถถัดอ้้อขขงงขขดดน็ททถถทท้อาาททเงง้อ้อคคใใจววีก่ก่ีนนงกกหหกุุก้ัง้ัมมืืออิิเเนทาาหหกกาาปป้คค้คคูลูลออหหรรทง้ัาามมืืรรออรรททะะคคหนนรรกุะะาาดดออไไีี่่ณณืืออมดดเเะะรรแแะะดดหหดใใ์์ไไลลไไน็็นหหรร์์ดดะะ้้ ้้ สสจสสปอจปอกถกถเเงงาาูกูกิาา่ง่ิงะะาาญััญอือ่่ื ททกกมมหหไไตตนนหหรรสสาาี่ีต่ตนน้้ออไไาารรถถ้้ออขขงงขขดดททถถาางงอ้้อคคใใวว่ี่กกีนนกกหหมมืืออิิเเาากกาา้ค้คคคลููลออหหครราาืืออรรททะะคคนนรรอืาาออไไี่ี่ณณืืออดดอะะรระะหหใใะ์์ไไไไหหรรไ์์ดดร้้ ้้ อสสอสปสจปจเเกกยยงงาางังังางิ่าิ่ะะาาญญััื่ื่ออไไททกกมมหหไไนนมมหหรรสสาาีีตต่่นนไไ่่ชชาารรถถ้้ออขขขขดดททัดดัถถาางง้อ้อคคใใเเววกก่่ีีนนกกหหจจมมืืออิิเเาากกาา้้คคคคนนูลลูออหหครราาืืออรรททะะคคือนนรราาออไไ่ีี่ณณืือออดดะะรระะะหหใใ์์ไไแแหหรรไ์์ ตตร้้ ่่ ปปไจตวอไจตควอคขขมมเิเิาาอ้อ้ะะอ้้ออือืัญัญคคส่่สกกไไมมงงออรรหหรราากกสสูลูละะาามมาาถถาาไไไไททะะททาาดดรรรราาหห่่ีีกกรรคคกี่ก่ีนน้้ เเ์์าาถถืออืาางงกกสสหห่ือ่ือหหออาาง่ง่ิิ นนนนททนนรระะดดณณไไไไดด่ีี่ ขขรรใใใใ์์หหคคหห้้อืือ้้

798 811 798 ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 8.สัญลกั ษณท์ ่ีใชใ้ น ใช้สัญลกั ษณต์ ่างๆ ใช้สญั ลกั ษณ์ต่างๆ ใช้สญั ลักษณ์ตา่ งๆ ไม่สามารถเขียนผงั การเขียนผังงาน ผงางั นงาไดน้ได้ ทใ่ี ชใ้ นการเขยี นผัง ทใ่ี ชใ้ นการเขียนผัง ทีใ่ ช้ในการเขยี นผัง ผงางั นงาไดน้ถไดูก้ถตกู้อตง้อง ผงงัางนาไนดไ้ถดูก้ถตกู ้อตงอ้สง่วสนว่ น ผงาังนงาไดน้ถไดูก้ถตูก้อตง้อง ทงั้ หมด ใหญ่ บางส่วน 9.คาสงั่ โปรแกรม เขียนคาสั่ง เขยี นคาส่งั เขียนคาสงั่ ไมส่ ามารถเขยี น โปรแกรม ที่ใช้ใน โปรแกรม ที่ใชใ้ น โปรแกรม ทใี่ ชใ้ น การวาดรปู ตามท่ี การวาดรปู ตามท่ี การวาดรปู ตามท่ี คาสงั่ โปรแกรม ท่ี กาหนดได้ถกู ต้อง กาหนดได้ถกู ต้อง กาหนดได้ถกู ต้อง ทใชีใ่ ช้ใน้ในกการาวราวดารดปู รูป ท้ังหมด เปน็ สว่ นใหญ่ บางส่วน ตามที่กาหนดได้ 10.อธิบายการ อธบิ ายการ อธบิ ายการ อธบิ ายการ ไมส่ ามารถอธิบาย พัฒนาการของการ การพัฒนาการของ ส่อื สาร พฒั นาการของการ พฒั นาการของการ พฒั นาการของการ การส่อื สารได้ ส่ือสารได้ตามลาดบั สื่อสารได้ตามลาดับ สอ่ื สารไดแ้ ต่ยังไม่ ครบถ้วนชัดเจน ถูกต้อง เปน็ ลาดับ และถูกตอ้ ง 11. บอกวธิ ีการ สามารถบอกวธิ กี าร สามารถบอกวิธีการ สามารถบอกวธิ กี าร ไมส่ ามารถบอก แลกเปลี่ยนขอ้ มูล แลกเปลย่ี นขอ้ มูล แลกเปล่ียนข้อมูล แลกเปล่ียนข้อมูล วธิ กี ารแลกเปลีย่ น- ข่าวสารจากผ้สู ง่ ผา่ น ขา่ วสารจจาากกผผู้ ู้ ขา่ วสารจจาากกผผู้ ู้ ขา่ วสารจจาากกผผู้ ู้ ขอ้ มูลขา่ วสารจจาากก สือ่ กลางไปยงั ผ้รู ับ ส่งผา่ นส่อื กลางไป สง่ ผ่านสือ่ กลางไป สง่ ผ่านสื่อกลางไป ผ้สู ่งผ่านส่ือกลางไป ยังผรู้ บั ไดอ้ ย่าง ยงั ผูร้ บั ได้อย่าง ยังผูร้ บั ได้อย่าง ไยปงั ยผัง้รู ผบั ู้รไดับ้ได้ ถูกต้อง 3 วิธี ถูกต้อง 2 วธิ ี ถกู ต้อง 1 วธิ ี 12. การจาแนกเน้ือหา - จาแนกกลมุ่ - จาแนกกลุ่ม - จาแนกกลุ่ม - ไมจ่ าแนกกลุม่ ความคดิ ไดช้ ดั เจน ความคิดได้ชดั เจน ความคิดได้ ความคิดได้ชัดเจน - เห็นภาพรวม - เหน็ ภาพรวม - เนอ้ื หาไม่กระชับ - เนอ้ื หาไม่กระชบั กว้างๆของหัวข้อ กวา้ งๆของหวั ขอ้ สน้ั ไม่ได้ใจความ ไมไ่ ด้ใจความ ใหญ่ ใหญ่ - ขาดความสัมพนั ธ์ - ไม่มคี วามสัมพันธ์ - เนื้อหากระชับสนั้ - เน้อื หากระชบั ส้ัน ของเน้ือหา ของเนื้อหา ไดใ้ จความ ได้ใจความ - มีความสมั พนั ธ์

799 799 871929 ระดับคณุ ภาพ 799 ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดมี าก) 3 (ดี) ระดบั คุณภาพ2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรุง) ประเดน็ การประเมิน ของเ4นื้อ(หดามี าก) - มคี วา3มส(ัมดพ)ี นั ธ์ 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) ข--ชช- อดัดัจเจขงเเับบั จจา้เปปนในนจรรื้องะะห่าเเาดดยนน็็ ไไดด้้ ข- อมงีคเวนา้ือมหสามั พันธ์ ของเนื้อหา 13. อธิบายลกั ษณะ - เสขา้ มใจางรา่ถยอธบิ าย สามารถอธบิ าย สามารถอธิบาย ไม่สามารถอธิบาย ขรเรข1คัับบ3ออร.สสงงือเเองง่่ ททขขขธ่าคคออ้้ิบยโโมมานนคยลลูู โโอลภภลลมกัยยาาพยยษกกีี ิวใใาาณนนเรรตะอร์ สเเลขคทเเอ้กัาททเเรคคคมมษสถคคอื โรรขขาลูลลูกณโโนขอือืรนนอ้อ้มกกััภตโา่ถขขะมมโโาษษล้อายลลข่่อาารูลลูยยงณณไยยยยถอธภภดใีกไไกีีก3บิองะะน้าาดดาาาขขธอายยรแ้้ รริบยออยออใใรบรรนนงงา่ายยบั บับับยง่าา่สสสงง่ง่ง เลเขสเเทคทท้อาักเเรคถมคคสมษคคือโขขกูารรลลโโูลณนขนนอ้้อมตรอืือกัักภ่าโถะมม้ขขอโโาษษลายลลขรอ่่าาลูลูงยณณยไยยถยยอธภภดใีกกีอะะบิไไง2นาา้าดดาธขขอายยรแร้้ออบิออยยใใรรบยยนนางงา่บัับ่าา่ยบงสสงงง่ง่ เลสเขเเคทเเอ้ักาททคครคมสมษคครรือโขขาลลลูโโณืออืนขรนนอ้อ้มกักัภขข่าโถะมม1โโาษษล่่าาายลลขอรลูลูยยยยณณแไยยถอธภภดไไใกีบกกีีอบิะะงดดนาา้าบาาธขขอ้้ถถายยรรริบออยยูกกูใใรรนนางงา่ตตับบั ยง้้ออสสงง่ง่ง เลรไทมับรรักไค่สมัับบสษเเาโส่ททสสลลง่ ณนมาข่ง่งคคักักเโคมขขาะอ้ โโษษลรรนนขอ้้อามณณยถือรมมอโโูลีกลลถอขะะลููลงภายยอ่ธาขขภภรายีกกีบิธออาายบิ าาางงยยใรรยานใใยนน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครอื ขเ่าคยรือข่าย 14. นาเสนอเนอื้ หาใน ถเูกนตอื้ถ้อหูกงตาส้อ3างรแ3ะบถแบกู บตบ้อง ถเนกู ถตอื้ กู หอ้ ตงา้อส2งารแะ2บถบแกู บตบ้อง ถเูกนต้ืออ้หงา1ส1าแรแบะบบถบกู ต้อง เนอ้ื หาสาระถูกต้อง 1ผ4ล.งานนาไเดสนถ้ กูอตเน้ออ้ื งหาใน คครสคคเครนาารรอรรรื้อยยบอออบดหลลบถบบถคะะวา้คว้คคลเเนสลนนลล้อออามุ ุุมมงียยีรราดดะสยถอลูกดะตคเอล้อยีอ้งดง รคเรนาารย้ือยอลหลลบะะะาคเเเสอลออยาี ุมีียยรดดดะคถรอูกบตค้อลงมุ รสครคเนาา่วรรอื้ยยออนหลลบบมะะาคคาเเสกลลออาุุมมีียยรเเดดะปปถ็นน็ ูกต้อง รครเนาารื้อยยอหลลบะะาคเเสลออาุมยยีี รดดะไไถมมกู ่่ ต้อง ผลงานได้ถูกต้อง ครอบคลุม สว่ นมาก ไคมร่คอรบอคบลคุมลมุ 15. การนาเสนอมี นสอาเดสคนลอ้อง นาเสนอ นาเสนอ นาเสนอ 1ค5ว.ามกนารา่ นสานเใสจนอมี ตทกขแแทกนาลล้ันรราเี่่ีเลลมะะเะะตสอือืบบขคคอนกกั้นววรรนอไไนบนบตดดกกถถอ้ถถ้ า้ววา้นููกกรรนนตตทท้้ออตตาางงาางงาามมนน แกททกนลรราเ่ีี่เลละะเะสืออืบบคนกกววรอไไบนนดดกกถ้ถถ้ ้วาาููกกรรนตตทท้้ออาางงงงาานน กนกทรราีเ่ ละะเสือบบนกววอไนนดกกถ้ าาูกรรตทท้อาางงงาานน ทกกนรราาะะเงสาบบนนววอทนนเี่กกลาาือรรกไม่ได้ ความน่าสนใจ และครบถ้วน ทเ่ี ลอื กไดถ้ ูกต้อง ทางานทีเ่ ลือกไมไ่ ด้ ขั้นตอนเกณฑ์การประเมินดา้ นทกั ษะและกระบวนการ 1.ทักษะในการ เขียนสรเกุปณฑ์การประเเมขินยี ดน้าสนรุปทกั ษะและกระเบขวียนนสกราปุร เขียนสรปุ เแแ1ข.สสทยี ววกันงงษสหหระาาุปใคคนสววกาาามมารระรรสูู้้ //าคกกญัาารร แเปสเเแสปเขขขหลลาารรีียยียมรระะะะนนนะะากกตตะสสมมสออรรสาารเีเีงงบบหหคคมปุปปออตตััญญรรยยุผผุะะไไา่า่ ลลเเดดงงดดค้ค้ ็นน็ รรบบ เแปสเสแปเเขขหขลลาารรียียียมรระะะะนนนะะากกตตะสสมมสออรรสาารเีีเงงบบหหคคมุปปปออตตัญัญรรยยผผุุะะไไ่าา่ ลลดดเเงงดด้คค้ ็็นนรรบบ ปปสเเปเเปสหขขขาารรรรียยีียมรระะะะนนนะะากเกเดดะสสมสมออสน็น็าารีเเี บบหหคคมปุ ออตตญัญั ยยผผุุ ไไา่า่ ลลดดงงต้ต้ รรงง เสเสตตใใขขชชาารรยีียภ้้ภรรงงนนปปะะาาษษสสไสรรมาาระะาาเ่ คคุปเเใใหดดนนััญญมนน็็ กกไไาาาดดะรรไไ้้ สมมม่่ เขียนสรปุ สาระสาคัญ เขียนไม่เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

800 813 800 ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรุง) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) ใช้ภาษาในการ ใชภ้ าษาในการ ใชภ้ าษาในการ เขียนถูกบ้าง ผดิ เขียนไดเ้ หมาะสม เขียนได้เหมาะสม เขยี นคาถูกต้อง เขยี นคาถูกต้อง เขียนได้เหมาะสม บผิดา้ งบเปา้ ง็นบเปาน็งคบาางคำ� ลายมือสวย อา่ น เขยี นผดิ เป็นบางคา ง่าย มีความคดิ สรา้ งสรรค์ 2. ทกั ษะการคิด วเิ คราะหข์ น้ั ตอน วิเคราะห์ขน้ั ตอน วเิ คราะหข์ น้ั ตอน วเิ คราะห์ข้ันตอน วเิ คราะห์ กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการ ทเ่ี ลือกไดถ้ ูกต้อง ที่เลอื กได้ถูกต้องแต่ ทีเ่ ลือกได้ถูกต้อง ทางานทเี่ ลือกไม่ และครบถ้วน ตาม แไมต่เไปม็นเ่ ปล็นาดลบัำ� ดบั บางส่วน ตขาั้นมตขอน้ั ตอน ไถมูกถ่ ตกู ้อตงอ้ ง 3. ทักษะกระบวนการ การแบ่งหนา้ ท่ี การแบง่ หนา้ ที่ การแบ่งหน้าท่ี การแบง่ หน้าที่ ทางานร่วมกัน ความรับผดิ ชอบ ความรบั ผดิ ชอบ ความรบั ผดิ ชอบ ความรับผดิ ชอบ ชัดเจน รว่ มคิด รว่ ม ชดั เจน รว่ มคิด ชัดเจน ร่วมคดิ รว่ ม ชัดเจน วางแผน วางแผน ร่วมมอื ร่วมวางแผน วางแผน ร่วมมอื ร่วมมือทางาน แต่ ทางาน ช่วยเหลือ รว่ มมือทางาน ทางาน ชว่ ยเหลอื ขาดความ เอ้ืออาทรในการ ช่วยเหลือเออื้ อาทร เอ้อื อาทรในการ รบั ผดิ ชอบ ไม่ตรง ทางานมีความ ในการทางาน มี ทางาน มคี วาม ต่อเวลา รบั ผดิ ชอบ ตรงต่อ ความรับผดิ ชอบ รบั ผดิ ชอบ ตรงตอ่ เวลา รับฟงั ความ ตรงต่อเวลา รับฟัง เวลา คิดเหน็ ซงึ่ กันและ ความคดิ เห็นซึง่ กนั กัน และร่วมภมู ใิ จ และกนั ในผลงาน 4. ทักษะการนาเสนอ นาเสนอ นาเสนอ นาเสนอ นาเสนอ กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการ ทเี่ ลอื กได้ถูกต้อง ท่เี ลือกไดถ้ ูกต้อง ทเี่ ลอื กได้ถูกต้อง ทางานท่เี ลือกไม่ และครบถว้ น ตาม และครบถว้ น แตข่ าดบางประเดน็ ถกู ต้อง ขนั้ ตอน เข้าใจงา่ ย

814 801 801 ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรงุ ) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 5. การศึกษาและ ศกึ ษาและสืบคน้ ศึกษาและสบื คน้ ศึกษาและสบื ค้น ศกึ ษาและสืบคน้ สบื คน้ ขอ้ มูล ขอ้ มูลได้ตรง ข้อมูลไดต้ รง ข้อมูลได้ตรง ข้อมูลไม่ตรงประเด็น ประเดน็ ท่ีกาหนด ประเด็นที่กาหนด ประเด็นตามที่ เน้ือหา ไม่ถูกต้อง เนือ้ หาถูกต้องและ เนอ้ื หาถูกต้องและ กาหนดบางส่วน และไมค่ รบถว้ น ไม่ ครบถว้ น มกี าร ครบถว้ น ไมม่ ีการ เนือ้ หาถูกตอ้ งแต่ไม่ ไรมะ่รบะแุ บหุแลห่งลอง่้าองอา้ ิงอิง กาหนดแหล่งอ้างอิง กาหนดแหลง่ อ้างอิง ครบถ้วน ขาด ได้ชัดเจน ทช่ี ัดเจน เนอ้ื หาบางส่วน ไม่ ไรมะ่รบะุแบหุแลห่งลอง่้าองอา้ งิ องิ 6. การนาเสนอ เนอ้ื หานาเสนอ เนอื้ หานาเสนอ เนอ้ื หานาเสนอ เน้ือหานาเสนอไม่ หน้าชั้นเรยี น ครอบคลุมทกุ ครอบคลุมทกุ ครอบคลุมทุก ครอบคลุม ตาม ประเดน็ ถกู ตอ้ ง ประเดน็ ถูกตอ้ ง ประเด็น ถูกตอ้ ง ตหาลมกั หวลชิ กัากวาชิ รากตาอรบ ตามหลักวิชาการ ตามหลักวชิ าการ ตามหลกั วชิ าการ ตขอ้ บคาคถำ� าถมาไมดไ้ไดม้ ่ครบ น่าเชอ่ื ถอื นา่ เชอื่ ถอื พูด นา่ เชอ่ื ถอื ตอบข้อ ไทมุกค่ ปรรบะทเดุก็นประเด็น ใชค้ าพดู นาเสนอได้ นาเสนอได้ คาถามได้ทุก นาเสนอได้ไมต่ รง เหมาะสม เหมาะสม ตอบข้อ ประเด็น ตรงเวลาท่ี เวลาที่กาหนด บคุ ลิกภาพดี ตอบ คาถามไดท้ ุก กาหนด ขอ้ คาถามได้ทุก ประเดน็ เสนอได้ ประเด็น นาเสนอได้ เหมาะสม ตรงเวลา เหมาะสม ตรงเวลา ทกี่ าหนด ท่กี าหนด 7. ทกั ษะกระบวนการ รู้จักบทบาทหน้าที่ รจู้ ักบทบาทหน้าที่ รจู้ ักบทบาทหนา้ ท่ี รจู้ ักบทบาทหนา้ ท่ี ทางานเป็นกลุ่ม ภายในกล่มุ ปฏิบัติ ภายในกลมุ่ ปฏิบตั ิ ภายในกลุ่ม ปฏบิ ัติ ภายในกลุ่ม ปฏบิ ตั ิ ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ เหมาะสมทุกคน มี เหมาะสมเป็นสว่ น เหมาะสมเปน็ รบั ผดิ ชอบรว่ มกนั มกีกาารรททาง�ำางนานเปเปน็ ็นททีมีมที่ ใหญ่ มีการทางาน บางครง้ั รบั ผิดชอบ ได้เปน็ บางคร้ัง ทดด่ีรบัรี บัผผิดิดชชออบบร่วรมว่ กมันกัน เป็นทมี ทด่ี ี รร่วมกันเป็นผพู้ ดู และ ไม่ค่อยมีคณุ ธรรม เเปปน็ ็นผดู้พูแูดลแแลละะผผู้ฟ้ฟู งั ทงั ท่ี ี่ รับผดิ ชอบร่วมกัน ผเปูฟ้ น็ งั ทผ้พู่ดี ดูี และผู้ฟงั ที่ ในการทางาน เปน็ ผู้พดู และผู้ฟังที่ ดี

815 6 ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ 8. การปฏบิ ตั ิงานจริง โดยใช้คอมพิวเตอร์ 4 (ดมี าก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรุง) ในการทำแผน่ พบั ดว้ ย โปรแกรมประมวลคำ ดี มคี ุณธรรมใน ดี มีคุณธรรมในการ ดี มคี ณุ ธรรมในการ การทำงาน ทำงาน ทำงาน 9.วางแผนการ แก้ปัญหาโดยใชร้ หัส การปฏบิ ตั งิ านจริง การปฏบิ ตั งิ านจรงิ การปฏิบตั ิงานจริง การปฏบิ ตั ิงานจริง จำลองและผงั งาน โดยใช้คอมพวิ เตอร์ โดยใช้คอมพวิ เตอร์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ 10.วางแผนการ ในการทำแผ่นพับ ในการทำแผน่ พับ ในการทำแผ่นพับ ในการทำแผ่นพับ แก้ปัญหาแบบลำดับ ด้วยโปรแกรม ดว้ ยโปรแกรม ด้วยโปรแกรม ด้วยโปรแกรม ประมวลคำได้ ประมวลคำได้ ประมวลคำได้ ประมวลคำได้ช้า ผลงานเสร็จตาม ผลงานเสรจ็ ตาม ผลงานเสรจ็ ตาม ผลงานไม่เสร็จตาม เวลา การจัดรูป เวลา การจัดรูป เวลา การจดั รูป เวลา การจดั รูป แบบถกู ต้อง แบบถูกต้อง แบบยังไม่ถกู ต้อง แบบยงั ไม่ถกู ตอ้ ง เหมาะสม สวยงาม เหมาะสม มกี ารใส่ เหมาะสม เหมาะสม มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ เอกสารอา้ งอิง วางแผนการ ไม่สามารถวาง และมกี ารใส่ แก้ปญั หา แผนการแก้ปญั หา เอกสารอ้างองิ โดยการเขียนรหสั โดยการเขยี นรหสั วางแผนการ วางแผนการ จำลองและใช้ จำลองและผังงานได้ แก้ปญั หา แกป้ ญั หา สัญลักษณ์ตา่ งๆ ไมส่ ามารถวางแผน โดยการเขียนรหสั โดยการเขียนรหสั ที่ใช้ในการเขียนผัง การแก้ปัญหา จำลองและใช้ จำลองและใช้ งานได้ถูกตอ้ ง แบบลำดบั โดยการ สญั ลกั ษณ์ต่างๆ สญั ลักษณ์ต่างๆ บางสว่ น เขียนรหสั จำลอง ทใี่ ช้ในการเขยี นผัง ที่ใช้ในการเขยี นผัง วางแผนการ และผงั งานได้ งานได้ถูกต้อง งานได้ถกู ต้องสว่ น แก้ปญั หาแบบ ทัง้ หมด ใหญ่ ลำดบั โดยการเขยี น วางแผนการ วางแผนการ รหัสจำลองและผัง แก้ปัญหาแบบ แกป้ ญั หาแบบ งานได้ได้ถูกต้อง ลำดับโดยการเขียน ลำดบั โดยการเขียน บางสว่ น รหสั จำลองและผงั รหัสจำลองและผงั งานได้ถูกตอ้ ง งานได้ถกู ต้องสว่ น ทั้งหมด ใหญ่

816 7 ประเด็นการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 11.วางแผนการ แก้ปัญหาแบบ 4 (ดมี าก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรุง) ทางเลือก ไม่สามารถวาง วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ แผนการแกป้ ัญหา 12.วางแผนการ แกป้ ญั หาแบบ แกป้ ัญหาแบบ แกป้ ญั หาแบบ แบบทางเลือก โดย แกป้ ัญหาแบบทาง ทางเลือก โดยการ ทางเลอื ก โดยการ ทางเลือก โดยการ การเขียนรหสั วนซำ้ เขียนรหสั จำลอง เขียนรหสั จำลอง เขียนรหสั จำลอง จำลองและผงั งาน และผังงานได้ และผงั งานได้ และผังงานได้ได้ ได้ 13. การใช้โปรแกรม ถูกตอ้ งทง้ั หมด ถกู ตอ้ งส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน ไม่สามารถวาง 14.แก้ปญั หาอยา่ งเปน็ วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ แผนการแก้ปัญหา ขั้นตอนโดยใช้ แกป้ ญั หาแบบวน แกป้ ัญหาแบบทาง แก้ปญั หาแบบวน แบบวนซ้ำ โดยการ โปรแกรมภาษาหรอื ซ้ำ โดยการเขยี น วนซำ้ โดยการเขียน ซ้ำ โดยการเขยี น เขียนรหสั จำลอง โปรแกรมประยกุ ต์ เป็น รหัสจำลองและผงั รหัสจำลองและผัง รหสั จำลองและผงั และผังงานได้ เครอื่ งมอื ช่วย ในการ งานได้ถกู ต้อง งานได้ถูกตอ้ งสว่ น งานได้ถไดกู ้ถตกู อ้ ตง้อง ดำเนินการแก้ปัญหา ทงั้ หมด ใหญ่ บางส่วน ไมส่ ามารถใช้ ใชโ้ ปรแกรม ตามที่ ใชโ้ ปรแกรม ตามท่ี ใช้โปรแกรม ตามที่ โปรแกรม ตามที่ กำหนดไดถ้ กู ตอ้ ง กำหนดได้ถกู ต้อง กำหนดได้ถูกต้อง กำหนดได้ ท้งั หมด เป็นสว่ นใหญ่ บางส่วน ดำเนินการ ดำเนินการ ดำเนนิ การ ดำเนินการ แกป้ ัญหาดว้ ย แกป้ ญั หาด้วย แกป้ ญั หาด้วย แกป้ ัญหาดว้ ย โปรแกรมภาษาหรอื โปรแกรมภาษาหรอื โปรแกรมภาษาหรือ โปรแกรมภาษาหรอื โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมประยกุ ต์ โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมประยุกต์ ไดไ้ ม่สำเรจ็ ได้สำเร็จ ตามที่ ไดส้ ำเรจ็ โดยมีการ ได้สำเรจ็ โดยมกี าร วางแผนในการ ปรบั ปรงุ ตามท่ี ปรบั ปรุงตามที่ แกป้ ัญหาไว้ วางแผนในการ วางแผนในการ แกป้ ญั หาไว้ แก้ปญั หาไว้เป็นสว่ น เล็กนอ้ ย ใหญ่

804 817 804 ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรุง) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 15. ทักษะการเลือกใช้ เลอื กใชว้ สั ดุ เลอื กใช้วัสดุ เลือกใช้วสั ดุ เลือกใช้วัสดุ วสั ดุ อปุ กรณ์ อปุ กรณ์ ได้ถูกต้อง อุปกรณ์ ไดถ้ ูกต้อง อปุ กรณ์ ไดถ้ ูกต้อง อปุ กรณ์ ไม่ถูกต้อง ครบถว้ นตามลาดบั ครบถว้ นตามลาดับ ครบถ้วนตามลาดับ 16. การมสี ่วนรว่ มของ ขน้ั ตอน ข้นั ตอน ขนั้ ตอน ร้จู ักบทบาทหน้าที่ สมาชกิ ในกลุ่ม ถกู ต้อง 3 ชนิด ถูกต้อง 2 ชนิด ถกู ต้อง 1 ชนิด ภายในกลมุ่ ปฏิบตั ิ ตามบทบาทได้ รู้จกั บทบาทหนา้ ท่ี รู้จกั บทบาทหน้าที่ ร้จู กั บทบาทหนา้ ที่ รับผดิ ชอบร่วมกัน ภายในกลมุ่ ปฏบิ ตั ิ ภายในกลุ่ม ปฏิบัติ ภายในกลมุ่ ปฏบิ ัติ ได้เปน็ บางครง้ั ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ ไมค่ ่อยมีคณุ ธรรม เหมาะสมทกุ คน มี เหมาะสมเป็นสว่ น เหมาะสมเปน็ ในการทางาน การทางานเป็นทีมท่ี ใหญ่ มกี ารทางาน บางคร้ัง รบั ผดิ ชอบ ดีรบั ผิดชอบร่วมกนั เป็นทีมทีด่ ี ร่วมกนั เป็นผู้พดู เป็นผู้พูดและผู้ฟังท่ี รบั ผดิ ชอบร่วมกนั และผูฟ้ ังท่ีดี มี ดี มีคณุ ธรรมในการ เป็นผพู้ ูดและผู้ฟงั ที่ คณุ ธรรมในการ ทางาน ดี มคี ณุ ธรรมในการ ทางาน ทางาน 17. การนาเสนอ มคี วามพร้อมในการ มีการเตรียมสื่อการ มกี ารเตรยี มสื่อการ มกี ารเตรียมส่ือการ ผลงาน นาเสนอผลงาน แต่ นาเสนอผลงาน แต่ นาเสนอผลงานโดย นาเสนอผลงานดี ลาดับการนาเสนอ ขาดลาดบั ขน้ั ตอน งานมี ขอ้ ผดิ พลาด ในการนาเสนองาน มีการเตรยี มส่ือมา แต่ลาดบั การ บ่อยครั้ง เนื้อหาที่ นาเสนอตรงกบั อย่างดี มกี าร นาเสนองานมีการ วตั ถุประสงคบ์ างข้อ จัดลาดับการ ตดิ ขดั บางครั้ง การ นาเสนอชัดเจน มงุ่ นาเสนอยงั มงุ่ เน้น นาเสนอเน้อื หาท่ี เนอ้ื หาท่ีตรงกบั ตรงกบั วตั ถุประสงค์ วัตถุประสงค์ 18. ทักษะในการ ศึกษาและสบื ค้น ศึกษาและสืบค้น ศึกษาและสบื ค้น ศกึ ษาและสบื คน้ แสวงหาความรู้ / ขอ้ มลู ได้ตรง ขอ้ มูลไดต้ รง ขอ้ มลู ไดต้ รง ข้อมลู ไม่ตรง การศึกษาและสืบคน้ ประเดน็ ตามที่ ประเด็นตามที่ ประเดน็ ตามท่ี ประเดน็ ไม่ถกู ต้อง ข้อมูล กาหนด เน้ือหา กาหนด เนอื้ หา กาหนด เน้ือหา และไมค่ รบถ้วน ถูกต้องและ ถูกต้องและ ถกู ต้องแต่ไม่ มรี ะบุแหลง่ อ้างองิ

805 818 1 (ปรบั ปรงุ ) 805 ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ ครบถ้วน มีแหล่ง 3 (ด)ี 2 (พอใช้) อา้ งอิง 3 แหลง่ ครบถ้วน มแี หลง่ ครบถว้ น มีแหล่ง อา้ งอิง 2 แหลง่ อา้ งองิ 1 แหล่ง 19. ทักษะในการ สรุปสาระสาคญั ได้ สรุปสาระสาคญั ได้ สรุปสาระสาคัญได้ สรุปสาระสาคัญได้ แสวงหาความรู้ / สรุป ครบและตรง และตรงประเดน็ มี ตรงประเดน็ มี ไมต่ รงประเด็น ใช้ สาระสาคัญ ประเด็นมเี หตุผล เหตุผลประกอบ เหตุผลประกอบใช้ ภาษาไม่เหมาะสม ประกอบอยา่ ง ใใชช้ภ้ภาาษษาไดเ้ หมาะสม ภาษาได้ เหมาะสม สะกดคาถูกบ้าง ผดิ เหมาะสม ใช้ภาษา สเหะกมดาะคสำ� มถกู สตะ้อกงดคา สะกดคาถกู เปน็ ผบิดา้ บง ้าง ไดเ้ หมาะสม สะกด ถกู ต้อง สว่ นใหญ่ คาถูกตอ้ ง เกณฑก์ ารประเมินดา้ นเจตคติ 1.เหน็ คุณค่าของการ นากระบวนการ นากระบวนการ นากระบวนการ ไมน่ ากระบวนการ เทคโนโลยีมาใชใ้ น กนาารกนรำ�ะกบรวะนบกวานรการ เทคโนโลยมี าใชใ้ น เทคโนโลยมี าใชใ้ น เทคโนโลยีมาใชใ้ น ชวี ิตประจาวนั ได้ เทคโนโลยมี าใชใ้ น ชวี ติ ประจาวนั ได้ ชีวติ ประจาวันได้ ชวี ิตประจาวันได้ นากระบวนการ ใชนวี ชติ ีวปติ รปะรจะาจวนั�ำวอันย่าง อย่างถูกต้อง ตาม อย่างถูกต้องตาม บางโอกาส แก้ปัญหาสรา้ งชั้น ตหาลมกั หกลารักการ งาน แตไ่ มส่ มบูรณ์ อสยรา้่ งสรร้าคงส์ รรค์ ตหาลมักหกลารกั การ ขาดความคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการ กระบวนการ เลือกใชว้ สั ดุ ไมม่ ี ผลกระบทต่อ เทคโนโลยี เทคโนโลยี สิง่ แวดลอ้ มมาสรา้ ง ช้ินงาน สามารถเป็น ตวั อย่างได้ 2. เหน็ ความสาคญั นากระบวนการ นากระบวนการ นากระบวนการ ของแกป้ ญั หาหรือ แก้ปัญหาสร้าง แก้ปญั หาสรา้ ง แกป้ ัญหาสรา้ งช้ัน สนองความต้องการใน ชิ้นงานที่มีความคิด ช้ินงานทม่ี คี วามคดิ งานแต่ไมไ่ ด้ใช้ งานทีผ่ ลิตโดยใช้ สร้างสรรค์และ สร้างสรรค์แตไ่ ม่ ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ แปลกใหม่ 3. ลดการใชท้ รพั ยากร เลอื กใช้วัสดุ ทม่ี ี เลอื กใช้วสั ดุ ทมี่ ี เลือกใชว้ สั ดุ ที่มี หรอื เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี ความคมุ้ ค่า มี ความคุ้มค่า มี ความคุ้มคา่ ไมม่ ีผล ทไี่ ม่มผี ลกระทบต่อ ประโยชนใ์ ชส้ อย ประโยชน์ใชส้ อย กระบทต่อ สิ่งแวดล้อม และสามารถ ไมม่ ีผลกระบทต่อ

806 819 806 ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) นาไปใช้ประโยชน์ สง่ิ แวดลอ้ ม มา สง่ิ แวดลอ้ มมมาาสสรรา้ า้งง ได้จรงิ ไม่มีผลกระ สรา้ งช้นิ งาน ช้นิ งาน บทต่อสงิ่ แวดล้อม มาสร้างชิ้นงาน 4. เห็นประโยชน์ใน เห็นประโยชนใ์ น เหน็ ประโยชน์ใน เห็นประโยชน์ใน ไม่เห็นประโยชนใ์ น การนาซอฟต์แวร์มาใช้ การนาซอฟตแ์ วร์ การนาซอฟต์แวรม์ า การนาซอฟตแ์ วร์มา การนาซอฟตแ์ วร์ ในการทางาน โดย มาใช้ในการทางาน ใชใ้ นการทางาน ใช้ในการทางาน มี มาใชใ้ นการทางาน อย่างมีความสขุ และ โดยอย่างมีความสขุ ตั้งใจทางานทกุ คร้ัง ความต้ังใจในการ ไมม่ ีความตงั้ ใจใน ภาคภูมิใจในผลงาน และแสดงออกถงึ ทางานอย่างมี ทางานในบางเวลา การทางาน ทางาน ความภาคภูมิใจใน ความสขุ ทางานอย่างมี อย่างไมม่ ีความสุข ผลงาน ความสขุ ในบางคร้งั 5.เห็นคณุ ค่าของการ นาหลกั การ และ นาหลกั การ และ นาหลกั การ และ ไม่นาหลกั การ และ แก้ปัญหาอย่างเปน็ วธิ ีการของการ วิธกี ารของการ วธิ ีการของการ วธิ กี ารของการ ขน้ั ตอนไปประยุกตใ์ ช้ แก้ปญั หาอย่างเปน็ แก้ปญั หาอยา่ งเปน็ แกป้ ัญหาอยา่ งเป็น แก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ในชวี ิตประจาวัน ข้ันตอนไป ขนั้ ตอนไป ขั้นตอนไป ข้นั ตอนไป ประยกุ ต์ใชใ้ น ประยกุ ต์ใชใ้ น ประยกุ ตใ์ ชใ้ น ประยกุ ต์ใชใ้ น ชวี ติ ประจาวนั อยา่ ง ชวี ิตประจาวันอย่าง ชีวติ ประจาวนั อยา่ ง ชีวิตประจาวันอยา่ ง ถูกต้องท้งั หมด ถูกต้องเปน็ สว่ น ถูกต้องบางส่วน ถกู ต้อง ใหญ่ 6.ตระหนักถึง บอกถงึ ประโยชน์ บอกประโยชน์ของ บอกประโยชน์ของ ไม่สามารถบอก ประโยชน์ของ ของระบบเครือขา่ ย ระบบเครือขา่ ย ระบบเครือข่าย ประโยชนข์ อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์และ คอมพวิ เตอร์ได้ ระบบเครือข่าย สามารถถ่ายทอด สามารถถา่ ยทอดให้ คอมพวิ เตอร์ได้ ให้เพื่อนได้ครบถว้ น เพ่ือนไดค้ รบถ้วน ทกุ ข้ันตอน ทุกขัน้ ตอน สามารถนาไปใชใ้ น ชวี ิตประจาวนั ได้

807 820 807 ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดมี าก) ระดบั คณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรุง) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 7. คุณธรรมจรยิ ธรรม ใช้เครอื ขา่ ย ใช้เครือข่าย ใช้เครือขา่ ย ใชเ้ ครือข่าย ในการสอ่ื สารผ่าน อินเทอร์เน็ตในการ อนิ เทอร์เน็ตในการ อนิ เทอร์เนต็ ในการ อินเทอร์เนต็ ในการ เครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ ใสน่อื กสาารรสดอ่ื ้วสยาครวดา้วมย สในอื่ กสารสดอื่้วยสคารวดามว้ ย ใสน่ือกสาารรสดอ่ื ้วสยาครวดา้วมย ใสนือ่ กสาารรส่ือไมสส่าุภรดาพ้วย คสวภุ าามพสภุ ไามพล่ ะไมเมล่ ดิะเมดิ สควุภาามพสภุไมาพล่ ะไเมมล่ ิดะเมดิ คสวุภาามพสภุ ไามพ่ละไมเมล่ ดิ ะเมดิ คลวะาเมมสิดภุ แาลพะไมล่ ะเมดิ กอ่ นกวน หรอื ก่อนกวน หรือ หรอื ก่อใหเ้ กิดความ แกลอ่ ะใกหอ่เ้ กใหดิ คเ้ กวดิ าม กอ่ ให้เกิดความ กอ่ ให้เกดิ ความ เสียหายแก่ผู้อืน่ คเสวาียมหเาสยยี แหกาผ่ ยอู้ ่ืน แก่ผูอ้ นื่ เสยี หายแกผ่ อู้ ่นื เสียหายแก่ผอู้ นื่ เป็นแบบอย่างท่ดี ี แกผ่ ู้อื่นได้ เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นสมรรถนะ 1.ความสามารถใในนกกาารร พดู และเขยี น พดู และเขยี น พดู และเขยี น พดู และเขียน สื่อสาร ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ถ่ายทอดความรสู้ ึก ถ่ายทอดความรสู้ ึก และทัศนะจากสาร และทศั นะจากสาร และทศั นะจากสาร และทัศนะจากสาร ที่ไดร้ บั ได้อยา่ ง ท่ไี ดร้ ับได้อยา่ ง ที่ไดร้ บั ไดอ้ ย่าง ท่ีได้รบั ได้ไม่ สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล และ คล่องแคล่วชัดเจน คลอ่ งแคลว่ ชดั เจน คล่องแคล่วชัดเจน เลอื กรับข้อมลู ถกู ต้องตามหลัก ถูกต้องตามหลัก และเลอื กรับข้อมลู ขา่ วสารโดยใช้ ภาษา จนทาใหผ้ ู้อนื่ ภาษา และเลือกรับ ข่าวสารโดยใช้ วิธกี ารสอ่ื สารไดไ้ ม่ คล้อยตามและเลือก ข้อมูลข่าวสารโดย วธิ ีการสอ่ื สารได้ ไถมกู ่ถตกู ้อตง้อไงม่ รับขอ้ มูลขา่ วสาร ใชว้ ธิ กี ารสือ่ สารได้ อยา่ งถูกต้อง ไเหมม่เหามะสาะมสม โดยใช้วธิ กี ารสือ่ สาร อย่างถูกต้อง เหมาะสมครบถ้วน ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมครบถว้ น เหมาะสมครบถว้ น อย่างมีจติ สานึกต่อ อยา่ งมจี ิตสานึกต่อ ตนเองและสังคม ตนเองและสงั คม ทกุ ครัง้ 2.ความสามารรถถใในนการ เขียนแผนภาพ เเขขียนแผนภาพ เเขียนแผนภาพ เเขียนแผนภาพ คกดิารคดิ ความคดิ การปฏบิ ัติ คคววามคดิ การปฏบิ ัติ คความคดิ กกาารรปฏบิ ตั ิ คความคิดกกาารรปฏบิ ตั ิ งปาฏนบิ ทตั เี่ งิลาือนกทไดเี่ ล้ ือกได้ งปาฏนบิทัตเ่ี ลงิ าือนกทได่เี ล้ ือกได้ งานท่เี ลือกได้ งานทเ่ี ลือก

808 882018 808 808 ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ ประเด็นการประเมิน 4 (ดมี าก) 3 (ดี) ระดับคณุ ภาพ2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรุง) ถกู ต้อ4ง(คดรมี บาถก้ว)น ถูกต้อง3แล(ะดี) ปฏิบ2ตั ิง(าพนอทใ่ีเชล้)อื กได้ ปฏ1บิ ัต(ปิงารนับทปีเ่ รลุงือ)ก ถตกูามตข้อั้นงตคอรนบทถุก้วน ถคูกรบตถ้อว้งแนละ ถถปูกกูฏตติบอ้้อตั งงิงบบาาานงงทปป่เี รรละะือเเกดดไน็น็ ด้ ไปไมมฏถ่ ถ่ บิูกูกตั ตอ้ิงอ้ างงนที่เลอื ก ตปารมะเขดนั้ ็นตอนทุก ครบถว้ น ถกู ต้องบางประเดน็ ไมถ่ ูกต้อง 3.ความสามารถในการ ปแกระ้ปเญั ด็นหาใน แกป้ ัญหาใน แกป้ ัญหาใน ไมส่ ามารถ แ3.กค้ปวญัามหสาามารถใในนกกาารร แระกหป้ วญั า่ หงกาาในร แระกห้ปวัญ่าหงกาาในร รแะกหป้ วญั ่าหงกาาในร ไแมกส่ ้ปาัญมหาราถระหวา่ ง รปะฏหบิ วัตา่ งิงากนาไรดต้ าม รปะฏหบิ วตั า่ ิงงากนาไรดต้ าม ประฏหิบวัต่าิงงากนาไรด้ตาม แกการป้ ปัญฏหบิ าตั รงิะาหนวไ่าดง้ แกป้ ัญหา ปสถฏาบิ นตั กงิ าารนณได์ เต้ กาดิ ม ปสถฏาิบนัตกงิ าารนณได์ เ้ตกาิดม ปสถฏาิบนัตกิงาารนณได์ ต้ ามม การปฏบิ ตั ิงานได้ สผถลาดนีตกอ่ ากราณร ์ เกิด สผถลาดนตี กอ่ ากราณร ์ เกิด สถานการณ์ ผปลฏดบิ ตี ัตอ่ ิงกานารได้รบั เผปกลฏิดดิบผตี ตัล่อิงดกาตี นา่อรการ ปกาฏรบิ ยัตอิงมารนับไจดาร้กับ ปฏิบตั งิ าน กเพา่ือรยนอรว่มมรบังาจนาก 4.ความสามารถในการ เเพลืออ่ื กนใรช่วว้ มสั งดาุน เลอื กใชว้ สั ดุ เลือกใช้วัสดุ ไม่สามารถเลอื กใช้ 4ใช.ค้ทวกั าษมะสชาวีมิตารถใในนกกาารร เอลปุ อื กกรใณช้ว์แัสลดะุ เอลุปือกกรใณชว้์แสั ลดะุ อเลปุ ือกกรใณชว้์แสั ลดะุ ไวมัส่สดาุอมุปากรรถณเล์แอื ลกะใช้ อปุปฏกิบรตั ณิงา์แนลไะดต้ าม ปอปุฏกบิ รัตณงิ า์แนลไะดต้ าม ปอุปฏกบิ รัตณิงา์แนลไะดต้ าม วปัสฏดบิ ุอตั ุปงิ กานรณได์แ้ตลาะม ใชท้ กั ษะชวี ติ ปกรฏะิบบตั วิงนากนาไรดทต้ าางมาน กปรฏะบิ บัตวงิ นากนาไรดทต้ าางมาน กปรฏะบิ บตั วิงนากนาไรดทต้ าางมาน ปกรฏะิบบตั วิงนากนาไรด้ตาม กในรแะตบ่ลวะนปกราะรทเภาทงาน กในรแะตบ่ลวะนปกราะรทเภาทงาน ใกนรแะตบ่ลวะนปกราะรทเภาทงาน กทราะงาบนวในนกแาตร่ละ ใขนอแงตงาล่ นะประเภท ขในอแงตงา่ลนะประเภท ขในอแงตงา่ลนะแปตรย่ะงัเภมที ทปรางะาเภนทในขแอตงล่งาะน ขไดออ้ งยงา่านงถไกูดต้อ้อยงา่ ง ขไดอ้องยงาา่ นงถไกูดต้อ้อยง่าง ผขอิดงพงลาานดแตย่ งั มี ประเภทของงาน ถไเพดกู ้อ่อืตยนอ้ ่ารงง่วเถมพูกงอื่ ตานนอ้ รใงว่ หม้ งาน ถไดูกอ้ ตย้อา่ งงถกู ตอ้ ง ผดิ พลาด ใเกพหาอ่ืก้รยนาอรย่วมมอรบังมารนบั ให้ 5.ความสามารถใในนกกาารร เกลาือรกยใอชมเ้ ทรบั คโนโลยี เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใช้เทคโนโลยี เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี 5ใช.ค้เทวาคมโนสโาลมยาีรถในการ เไลดือ้อกยใ่าชง้เถทูกคตโอ้นงโลยี เไลดอื้อกยใ่าชง้เถทกู คตโ้อนงโลใยนี ไเลดอื้อกยใา่ ชง้เถทกู คตโอ้นงโลใยนี ไเลดือ้ไมกถ่ใชกู เ้ตทอ้ คงโนไมโล่ ยี หไดลอ้ ายกา่ หงลถากู ยตใอ้นงการ กไดา้อรยล่าดงขถั้นกู ตตอ้อนงเวในลา ไกดาอ้รยล่าดงขถัน้ กู ตตอ้อนงเวในลา สไดา้ไมมา่ถรูกถตล้อดงขน้ัไมต่ อน ใชเ้ ทคโนโลยี หลดลขากั้นหตลอานยเวในลกาาร กทารรัพลยดาขก้นัรตใอนนกเาวรลา กแตารใ่ ชลท้ดขรพั้นั ยตาอกนรเใวนลา เสวาลมาารทถรลพั ดยขาัน้กตรอในน ทลดรัพขน้ัยาตกอรนเใวนลกาาร ททรางัพายนากโดรยใไนมก่มาี ร แกตารใ่ ชทท้างราัพนยสา้ินกเรปในลอื ง เกวาลราทาทงราพั นยไาดก้ ร ใน ททรางัพายนากโดรยใไนมก่มาี ร ผทลางการนะทโดบยกไับมผ่มู้อี ื่น สกน้ิารเปทลางือางน ทผลางการนะทโดบยกไับมผ่มอู้ ี ่ืน การทางานได้ ผลกระทบกับผู้อ่ืน ส้ินเปลอื ง ผลกระทบกับผู้อ่ืน

809 822 809 809 809 ระดบั คุณภาพ ประเดน็ การประเมิน 3 (ด)ี ระดบั คุณภาพ2 (พอใช้) ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) และเ4ปน็ (ดแีมบาบกอ)ยา่ ง 1 (ปรับปรุง) แทล่ดี ะีไดเป้ น็ แบบอยา่ ง ท่ดี ไี ดเ้ กณฑก์ ารประเมินด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มีควาเมกซณื่อฑสตัก์ ยาต์รปอ่ ระเมคนิ วดา้ามนซคอ่ื ุณสตัลยัก์ตษ่อณะอนั พคึงวปามระซส่ืองสคตั ์ ย์ต่อ ความซอ่ื สตั ย์ต่อ 1. ซื่อสัตย์สุจริต มกาคี รวทามางซาื่อนสไไัตมมย่ ่ ์ต่อ กคาวราทมซางือ่ าสนตั ไยไมม์ต่ ่อ กคาวราทมซางือ่ าสนตั ไยไมมต์่ ่อ คกาวราทมซางอ่ื าสนัตดยผู ์ตล่องาน 1. ซื่อสัตย์สจุ ริต กคาัดรลทอากงผาลนงไามน่ ของ กคาัดรลทอากงผาลนงไามน่ ของ กคาัดรลทอากงผาลนงไามน่ ของ ขกอารงทผู้อางืน่ าเนปด็นูผลงาน ไคผมู้อดั ค่ นื่ลดั อลแกอลผกะลผมงลีางนาขนอขงอง ไคผมูอ้ดั ค่ ่นืลดั อลแกอลผกะลผมงลีางนานขอของง ไคผมู้อัดค่ ่ืนลดั อลกอผกลผงลางนาขนอขงอง ขตอวั องผยู้อา่ งน่ื เปน็ ผคูอ้วาน่ื มแคลิดะสมรีา้ งสรรค์ ผคู้อวาน่ื มแคลิดะสมรีา้ งสรรค์ ผอู้ ืน่ ตวั อยา่ ง ทควาาชมนิ้ คงดิานสสรา้วงยสงรารมค์ ความคดิ สร้างสรรค์ ปทฏาชิบิ้นัตงติ าานมสวยงาม ปฏบิ ตั ติ าม 2. การมวี ินัย ปฏิบัตติ าม ไม่ค่อยปฏิบตั ิตาม 2. การมวี นิ ัย กปฎฏริบะตั เติบาียมบ กติกา กปฎฏริบะตั เติบาียมบ กติกา ปกฎฏรบิ ะตั เติบาียมบ กติกา กไมฎ่คร่อะยเบปยี ฏบิบัตกิตาิกมา กขอฎงรโะรเงบเรียยีบนกขตอิกงา ขกอฎงรโะรเงบเรียียบนกขตอิกงา ขกอฎงรโะรเงบเรยี ียบนกขตอิกงา กขอฎงรโะรเงบเรียยีบนกขตอิกงา ขหอ้ งโเรงยี เนรียขนองขกอลงุ่ม หขอ้ งโเรงียเนรียขนองขกอลงุม่ ขหอ้ งโเรงยี เนรียขนองขกอลง่มุ ขหอ้ งโเรงยี เนรยี ขนองขกอลงมุ่ หดว้อยงคเรวยี านมเขตอม็ งใกจลไมุ่ ม่ ไหม้อก่ ง่อเรกียวนนคขวอางมกลมุ่ ไหด้อเ้ งปเน็รียสนว่ นขใอหงญก่ลุม่ หก่อ้ กงเวรนยี คนวาขมอรงากคลาุ่มญ ดก่อว้ ยกควนวาคมวเาตม็มใจ ไม่ ไรมาค่ก่อาญกวใหน้ครวูแามละ ไดมเ้่กป่อ็นกสวว่นนคใวหาญม่ ใกหอ่ ค้ กรวูแนลคะวเาพม่ือรนาใคนาญ กรา่อคกาวญนใคหวค้ ารมูและ เรพาคอื่ นาญในให้คอรงเูแรลยี ะน รไมาค่ก่อาญกวใหน้ครวูแามละ ใหหอ้ ้คงรเรแู ียลนะเพอ่ื นใน รเพาคือ่ นาญในใหค้อรงเูแรลยี ะน เพ่อื นในหอ้ งเรียน เรพาค่อื นาญในใหค้อรงเูแรลียะน หเปอ้ ็นงบเราียงนครงั้ มเพีคื่อวนามในห้องเรียน มคี วาม มเพีคือ่ วนามในห้องเรียน เไปมน็ม่ ีคบวาางมครั้ง 3. การใฝเ่ รยี นรู้ มกคีระวตามือรกือรระ้นตอื รือรน้ มมกคี รีควะวาตามมือกรรอื ะรต้นือรอื ร้น มมกคี รคี วะวาตามือกรรอื ะรตน้ ือรือรน้ ไกมรม่ะีคตวือารมอื รน้ ขาด 3. ใกฝา่เรรใยี ฝน่เรรยี ู้ นรู้ อกดระทตนือเรเพพอื ยี ียรร้นพยาพยาม กอดระทตนือรรือ้จู รกั น้ กอดระทตนือรใอื นรบน้ างคร้งั กขคารวดะามตคอืวดารมอืทรอน้นดทขนาด มพอด่งุยมทา่ันยนารมเพ้จู กัยี แรสวงหา แอสดวทงนหารคูจ้ วักามรจู้ าก รอบจู้ ดากังทคแนรสัง้วใงนรหูจ้ ากั ขคอาดวดาทมคนอวดาไมทมอน่รดจู้ ทักน คพมวงุ่ยมาม่ันยรารจู้ม้จูาักแสหวลง่งหา แสหวลง่ หเราียคนวราอู้ม่ืนรจู้ๆาก คบแวสาางวมคงหรัง้จูาคากรวจู้ากัมรจู้ าก ไอแมสดร่ วทู้จงนักหแาไสคมววร่ งาู้จหมักราู้จาก เมครวงุ่ ยี มานมั่นรรู้อรจู้ ืน่้จูากัๆแอสหยวลู่งง่ หา แอหยเู่ลสง่ มเรอยี ๆนรอู้ ่ืนๆ แสหวลง่ หเรายี คนวรา้อูมน่ืรจู้ๆาก เคแแรวสหหยี าวลลนมงง่่ รหรเเอู้รรู้าจียยี่นืคนนาๆวกรราแููอ้อ้มหื่นื่นรจู้ลๆๆาง่ ก เคเสรวยีมานอมรๆรู้อู้จน่ื ากๆแอหยลู่ ่ง อยู่เสมอๆ แหลง่ เรยี นร้อู ่ืนๆ เสรยีมนอรๆู้อ่นื ๆ อยู่ 4.มุ่งม่ันในการทางาน ทเส�ำมงทาอานๆงทานี่ไดท้รี่ไับด้รบั ทำ� งทาานงทานีไ่ ดท้ร่ีไบั ด้รับ ท�ำงทาานงทานี่ไดทร้ ่ีไับดร้ บั ทำ� งทาานงทาไ่ีนดทร้ ี่ไบั ดร้ ับ 4.มงุ่ มั่นในการทางาน มมออบทบหางมาานยทเสี่ไดรจ็ร้ ับตาม มมออบทบหาหงมาานยทเสี่ไดรจ็ร้ บัตาม มมออบทบหาหงมาานยทเสี่ไดร็จร้ ับตาม มมออบทบหาหงมามานยาทยไมี่ไดมเ่ สร้เ่ สรับร็จจ็ กม�ำอหบกนหาดมหเาวนยลดเาเสวรลจ็ าตาม กม�ำอหบกนหาดมหเาวนยลดเาเสวรลจ็ าตาม กมำ� อหบกนหาดมหเาวนยลดเาเสวรล็จาตาม ตมาตมอากบม�ำหกหมานหาดยนเไดวมเล่เวสาลราจ็ กาหนดเวลา กาหนดเวลา กาหนดเวลา ตามกาหนดเวลา

810 823 810 ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรงุ ) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) ผลงผาลนงมาีคนวมาีคมวาม ผลงผาลนงมาีคนวมาีคมวาม ผลงผาลนงมาีคนวมาีคมวาม ผลผงลางนาไนมไม่ มคี ่มวีคาวมาม ถกู ถตูก้อตง้อลงะลเอะยีเอดียด ถกูถตกู ้อตง้องเรเียรบยี บรอ้ร้อยย ถูกถตูกอ้ ตง้อแงตแ่ยตัง่ยไมังไ่ ม่ เรยี บรเอ้รียบรอ้ ย ปรปะรณะณตี ีตเรเียรียบบร้อร้อยย เรียบรเอ้รยี บรอ้ ย เกณฑ์คุณภาพ คะแนน 10 -12 หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก คะแนน 7-9 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ดี คะแนน 4-6 หมายถงึ ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 0-3 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง เกณฑก์ ารตดั สนิ ตงั้ แต่ระดับ........ด.ี ...............

811 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง การออกแบบและเขียนโปรแกรมเบื้องตน้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 เร่อื ง โปรแกรมเมอร์นอ้ ย เวลา 2 ชวั่ โมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชา เทคโนโลยี 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ 1. ความหมายของการเขยี นโปรแกรม ขั้นนา 1. ใบความรู้ท่ี 1.1 หลกั การออกแบบและเขียน 2. หลกั การเขียนโปรแกรมเบื้องตน้ 1. ครูทบทวนความรู้เร่ือง กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม โปรแกรม 3. เขา้ ใจและสามารถใช้โปรแกรมจาลองเพื่อแก้ปญั หา เดมิ ในชวั่ โมงที่แลว้ 2. โปรแกรม Scratch, Kodu, Code.org ทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (Scratch, Kodu, 2. ครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3. สื่อ PowerPoint เรอื่ ง หลกั การออกแบบ Code.org) แบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์ 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใช้คาถามดงั ต่อไปน้ี “นกั เรียนคดิ วา่ และเขียนโปรแกรม จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมมคี วามสาคัญอยา่ งไร ในชวี ติ ประจาวนั ” 4.ออนิ ินเทเทออรร์เนเ์ น็ตต็ ดา้ นความรู้ โดยใหน้ กั เรยี น “ลองจาลองเหตกุ ารณ์ในการแกป้ ญั หา” 11..อธบิ ายยคคววาามมหหมมาายยขขอองงหหลลกั กั กกาารรออออกกแแบบบบแแลละะเขเขียยีนน 4. ครยู กตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในชีวติ ประจาวัน เช่น การให้ ภาระงาน/ช้ินงาน โโปปรรแแกกรรมม 22..รแู้ ละอธธบิ ิบาายยขขน้ั น้ั ตตออนนกกาารรออออกกแแบบบบแแลละะกกาารรเขเขียยีนน อาหารสัตว์ สร้างจาก Scratch ใหน้ ักเรยี นดู ใบงานที่ 1.1 การใชโ้ ปรแกรมจาลอง “มารจู้ ัก โโปปรรแแกกรรมมจจ�ำาลองเพ่อื แก้ปญั หาทางคณติ ศาสสตตรร์แ์แลละะ ขนั้ สอน โปรแกรม Scratch, Kodu, Code.org กันเถอะ” ววิทิทยยาาศศาาสสตตรร์ (Scratch, Kodu, Code.org) แแบบบบ 1. นกั เรยี นศกึ ษาเรอ่ื งหลักการออกแบบและเขียนโปรแกรม ออออนนไไลลนน์แ์แลละะออฟไลน์ เบื้องต้นใน ส่ือ PowerPoint เรอ่ื ง หลักการออกแบบและ เขียนโปรแกรมที่ครนู าเสนอประมาณ 5-10 นาที แล้วครูและ นกั เรียนรว่ มอภปิ ราย ดา้ นทักษะและกระบวนการ 2. นกั เรียนจบั คู่ ศกึ ษาใบความรู้ท่ี 1.1 เร่อื ง หลกั การออกแบบ 1. เขียนโปรแกรมจำ� ลองเพอ่ื แกป้ ญั หาทาง และเขียนโปรแกรม คณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Scratch, Kodu, 824 811


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook