Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-1

64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-1

Published by elibraryraja33, 2021-08-18 04:03:06

Description: 64-08-18-คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ม2-1

Search

Read the Text Version

คมู อื ครูและแผนการเรียนรู ม.๒ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน กลุม สาระการเรยี นรู ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๒ วิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ มูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ โดยความรว มมอื ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน



ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสำคัญ 4 ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ 1) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง 2) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง 3) มีอาชีพ มีงานทำ 4) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ใน การสบื สาน รกั ษา พัฒนาตอ่ ยอด โครงการในพระราชดำรขิ องพระราชบิดา จงึ ทรงพฒั นาการศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้านอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจำนวน 15 ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และ ผสู้ นใจทัว่ ประเทศ เพอื่ ให้ประเทศไทยเป็นสงั คมแห่งปญั ญามีจิตอาสาในการสรรคส์ ร้างและพัฒนาประเทศให้ม่ันคง การสอนออกอากาศทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 นี้ เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็ปไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนิธิ และมีคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงครบทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่ง ครูปลายทางสามารถปรบั กิจกรรมการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมกบั ชุมชน ทอ้ งถ่นิ วัฒนธรรมและบริบทของแตล่ ะโรงเรียน การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน ประกอบด้วย สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารเพื่อส่งเสริมการเรียน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เกิด ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในห้องเรียน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสและ โรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดเลก็ ตอ่ ไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นพัฒนายกระดับ คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคอื ความม่ันคงของประเทศ...” ขอพระองค์ทรงพระเจริญ มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์

ข บทนำ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก ครูสอนไม่ครบชั้น โดยจัดการเรียนการสอนของครูห้องเรียนต้นทางจากโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปยังห้องเรียนปลายทางในโรงเรียนพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ พื้นที่สูง ชายแดน เกาะแก่งและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เปน็ การลดความเหลอื่ มลำ้ ในการจัดการศึกษาให้ท่วั ถึง เท่าเทียมและมคี ุณภาพ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 – 3) ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ประกอบด้วยเอกสาร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์ 3) วิทยาศาสตร์ 4) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5) สุขศึกษาและพลศึกษา 6) ศิลปะ 7) การงานอาชีพ 8) ภาษาต่างประเทศ แต่ละระดับชั้นมีเอกสารรวม 8 เล่ม แต่ละเล่มมีรายละเอียด คำชี้แจงการจัดกระบวน การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ/ใบงาน/แบบฝึก แบบประเมิน ที่ตรงกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ของแต่ละสาระการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 – 3) เป็นการทำงาน ร่วมกันของหลายหน่วยงาน มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาวิชา คณาจารย์ จากมหาวิทยาลัย คณะศึกษานิเทศก์ คณะครูผู้สอนในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้มีส่วนร่วมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ช่วยให้คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสมบูรณ์และ เหมาะสมตอ่ การจัดการเรยี นการสอนเพ่อื เยาวชนไทยทัง้ ประเทศ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หวังว่าคู่มือครูและแผนการจัด การเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ คณะครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ในโรงเรียนขนาดเล็กและขยายโอกาสในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เพ่ือประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นการสอนใหส้ ูงข้ึนต่อไป

สารบัญ ฃ สารบัญ หนา้ คำนำ หน้า แแแแแแแบแคแแแแบแแสแสคคแแหแแแคคแแแแหแหแแแแแแแแแแแคแแคมโแโมแหแคคผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผาาำำำำำำำาาททนนนนรรรรนชชชอชอตตนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน่่ววว่ว่งงบบี้แ้ีีี้แแ้แธธรรำกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกสสยยยยำำฐฐบิบิัญญัจจจจาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาารรกกกกาางงงงาารรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรา้า้าาาานนรรกกยยจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจจงงรรรราากกาารรรรดดัดดััััััดดดดัดัััดดััััััดัััดดดดัดัดััดดดัดัดัััดััดดัดัดดัดัดดััดดดดัดัดัดัดดเเเเยยรราาาาาารรรรกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกววรรยยยยรรีียยยีียาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาัับบิิชชเเววววนนนนรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรราาิชิชชชชชิิเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเรรรรยยีี ววรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรราามมาาููทท้ท้ทูู้้นนทิิทีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีียยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยววววรร่ี่ี่่ีีรรนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนทิทิยยิทิทาาูู้้//2211รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรราายยยยยยตตททู้ท้ทููู้้ททู้้ทูทูู้้้ททู้ทููู้ทู้ท้ทู้ท้ทู้้ทูููู้้้ทู้ทู้ทููู้้ททู้ทููู้้ทู้ท้ทูทู้้ทู้ทู้ท้้ทููททูู้้ทู้ททททู้ทูทู้้ทศศกกาาาาวัวั าาศศ่่ี่ีี่ีี่่่่ี่ี่ี่่่ีี่ีี่ีีีีีีี่่ี่ี่ี่่ี่ี่ี่ีี่ี่ี่่ี่่ีี่่ีี่ีี่ี่ี่่่่ีี่ี่ศศาาเเเเชชรรรรสสรราาาา12467341211379115547275118161336581114629ว้ีว้ีอืืื่อ่ื่อ่อตตสสสสสส321102011ััดดงงงงออรรตตตต....เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ1212์์รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรนนรรรรเเเเเสสรรืื่ื่ือออ่ือออ่่ืือ่่่ืืออ่ืือ่อ่ือื่อ่ืืื่ออ่ือือ่่่ืื่่อื่ออ่อ่ือืืออ่่อ่ืืืืื่ืออื่อ่่ื่ออออ่รรรรร์์์์ออรราา่่เเเเืออืืื่อ่ื่่อ่องงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงาาออรรรรหหงงรรรรรรงงงงงกกอ่ืื่ออืื่อ่กกหหสสััหหลลรกรนรรรรรปรรรปสรรสสรรกรสรรรรรรรนอองงงงาาววะะะะะะะะะอ้ะะะ้ออะ้ะะะะอ้ะัสสัสสััะะรรรรราาาาาาำ้ำ้จััจาายยิชชิบบลลบบบบบบบบบบบบบบบบะะะะะรรรรรรยยยยววววโโจจกกรรรรซซมมาาลลลลลลบบบบบิชชิชิชิาาลลลลบบบบบบบบบบบบบบบบบบยยััะะะะาาดดนนะะะะะะยยาาาาะะะะบบบบบหหปหหขหขขหหหหหขหปหททศศบบบบวาาคคลลลลลลโโโโษุุษปสปสสััับบับบาาามามามมามมรร่ีี่มมบบบบดดดด2าาาา2าาววคคคคยยบบืบืืยยยยยยะะรรถถถถุุนุุนนุนุนนีผผีสสสส2ยยยยยยยยยย22222สสะะใใใใใใ์์พพพา่า่า่่าลลเเเเเเืบบืืบืบ1มมมมใใขข122จจจจจจ22ววววววสสาายยยยนนตตันนันั0ออววววพพพพ01111ียยียียีียียททาาชช่อ่อ1ลลลลธธธ1งง0000นนััันนันนนนนนททีวีวสสุ์ุ์์ุกกตต1111ธธธธเเเเเเ322รรชชิติตาาาาลลลลลลออ่่์ุ์์ุ์ุุอ้อ้นั้ัน้รรชชปปชชรรืืออือืือืออปป((((ยยใใลลมม้นัั้น้ันั้นรรเเเเดดดดดดรรนนลลพพพพะะะะััธธมมมมิมมิ ตตะะลลศศยยศศจจััธธธธััาาัววัโโาาำำมมหหยยยยตตดดททชชยยววศศมมมมญญรรยยาานนััำำกึกึศศศศปปยยงิิงลลษษกกึึึึกก))))รระะษษษษาามิมิลลปปาาาาาาาาปปทีทีปปตตยยรรทีีท่ีี่ีทที ตต่ีี่่ีี่22อ่อ่ 2222ปปภภรรภภาาภภิิมมคคาาาาาาเเคคคคตตรรเเเเยีียรรรรรรนนยีียีียยททนนนนททีี่่ทท11่ีี่่่ีี 1111 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 เรื่อง ระบบสบื พนั ธุ์ 3 ก ญญชชฃฃฆฆ2111222122122122111212112--------78827652361334234135327856874010875411167ฌฌททฅฅกข11ขฉฉจจ5278546158258634255625717765385874547999999งง 288

สารบญั (ต่อ) ค แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัทู้ กี่ า1ร4เรียเรนอ่ื รงู้ที่ ก1า4รตเกรไื่อขง่ กการามรตปี กรไะขจ่ ำกเาดรือมนปี ระจำเดอื น แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรัดทู้ ก่ี า1ร5เรียเรนอื่ รงู้ที่ ก1า5รปเฏรื่อิสงนธกิแาลระปกฏารสิ พนัฒธิแนลาะขกอางรไพซโัฒกนตาของไซโกต หน้า หน้า แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัทู้ กี่ า1ร6เรียเรนอ่ื รงทู้ ่ี ก1า6รคเุมรกอ่ื ำงเนกิดาแรลคะุมเกลำอื เกนวิดธิ แกี ลาะรเคลุมอื กกำวเิธนีกดิ าทรีเ่คหุมมกาำะเสนมดิ ทเ่ี หมาะสม 304 304 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรดัทู้ ก่ี า1ร7เรียเรน่ือรงู้ท่ี ต1ร7ะหเนร่ือักงถึงผตลระกหระนทักบถงึตผอ่ ลกการะตทงั้ คบรตรอ่ ภกก์ า่อรนตว้งั คยั อรรันภค์กวอ่รนวัยอนั ควร 316 316 หนว่ ยการเรหียนนว่ รย้ทู ก่ี า3รเรเียรนื่อรง้ทู ่ีกา3รเคเรลือ่ ่ืองนทกี่แารลเะคแลรอื่ งนทแี่ ละแรง 330 330 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรัดู้ทกี่ า1รเรเรียอ่ืนงรทู้ รี่ ะ1ยะเทราอื่ ง แรละะยกะาทรกางระแจลดั ะการกระจัด 349 349 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรดัู้ทก่ี า2รเรเรียือ่นงรทู้ ป่ี ร2มิ าเณรื่อเวงกเปตรอมิ รา์ ณแลเวะกปเรตมิ อารณ์ แสลเกะปลารรมิ ์ าณสเกลาร์ 359 359 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัู้ทก่ี า3รเรเรียื่อนงรทู้ อ่ี ัต3ราเรื่อว็ งแลอะัตครวาาเรม็วเรแว็ ละความเรว็ 365 365 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัทู้ ก่ี า4รเรเรียอ่ืนงรทู้ ก่ี า4รแเกร้โ่ือจงทยกป์ าญัรแหกา้โอจตัทรยา์ปเรญั ็วหแาลอะตั ครวาาเรมว็ เรแว็ ละความเร็ว 384 384 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรัด้ทู กี่ า5รเเรรีย่อื นงรแทู้ รี่ ง5ลพั เรธื่อ์ ง แรงลพั ธ์ 395 395 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัู้ทกี่ า6รเเรรียอ่ื นงรแทู้ รี่ ง6เสเียรดอ่ื ทงาแนรงเสียดทาน 404 404 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรัดู้ทก่ี า7รเรเรีย่ือนงรทู้ กี่ า7รทเดรลื่อองงแกรางรเทสดียลดอทงาแนรงเสยี ดทาน 424 424 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรดัู้ทก่ี า8รเรเรียอื่นงรทู้ ปี่ ระ8โยเชรื่อนง์ขอปงรแะรโงยเชสนีย์ขดอทงาแนรงเสียดทาน 439 439 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรัดทู้ ก่ี า9รเรเรียือ่นงรู้ทแี่ ร9งแเลระื่อคงวาแมรดงนัแลขะอคงขวอามงเดหันลขวองของเหลว 453 453 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัู้ทกี่ า1ร0เรียเรนื่อรงทู้ ่ี แ1ร0งพเยรุงื่อง แรงพยุง 461 461 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรดัทู้ ก่ี า1ร1เรียเรน่อื รงู้ที่ แ1ร1งกเรระอื่ ทงาตแ่อรวงตักถระใุ นทขาอตง่อเวหตั ลถวใุ นของเหลว 470 470 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัูท้ ก่ี า1ร2เรียเรนอื่ รงู้ที่ โ1ม2เมนเรตอ่ื ์ขงองโแมรเงมนตข์ องแรง 485 485 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรดัทู้ ก่ี า1ร3เรียเรนื่อรงู้ที่ ข1อ3งเลเรน่ อ่ื งโมเขมอนงตเลข์ น่องโแมรเงมนต์ของแรง 504 504 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรัดู้ทก่ี า1ร4เรียเรนอ่ื รงู้ท่ี ส1น4ามเโรนอ่ื ้มงถ่วสงนาแมลโะนส้มนถา่วมงแแมลเ่ หะลส็กนามแมเ่ หล็ก 514 514 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรัดู้ทก่ี า1ร5เรียเรนอ่ื รงู้ท่ี ส1น5ามเไรฟือ่ ฟง ้าแสลนะาคมวไฟามฟส้าัมแพละนั คธว์ราะมหสวัม่างพขันนธาร์ ดะขหอวงา่ แงรขงนาดของแรง 554 554 กบั ระยะห่างกจับารกะสยนะาหม่างจากสนาม 571 571 บรรณานกุ รบมรรณานกุ รม 590 590 ใบก้ันหนา้ สใบากระ้ันเหทนค้าโนสโาลรยะี เทคโนโลยี 610 610 คำช้ีแจงรายควำิชชาีแ้ วจทิ งยราาศยาวสิชตารวเท์ทิ คยรโาหนศสัโาลวสยิชตีาร2์ ครหร2ห2สั 1ัสว0ิชว3ิชาาวช2ั้นค2ม21ัธ20ย13ม0ศช3ึกนั้ ชษมนั้ าัธมปยัธีทมยี่ศมกึ2ศษึกภาษปาาคีทปเี่ ทีร2ยี่ ภน2าทค่ีภ1เรายีคนเรทยี ี่ น1ที่ 1 614 614 คำอธบิ ายราคยำวอชิ ธาบิ วาทิ ยยราาศยาวสชิ ตารวเท์ทิ คยรโาหนศัสโาลวสยชิ ตีาร2์คร2หร2หัส1สัว0ิชว3ิชาาวช2ค้นั 2ม12ธั 01ย30ม3ศชึก้ันชษมัน้ าธั มปยธัีทมย่ีศมกึ2ศษึกภาษปาาคีทปเี่ ทีร2ยี่ ภน2าทค่ีภ1เราียคนเรทียี่ น1ท่ี 1 615 615 มาตรฐานกามราเตรียรฐนารนู้/ตกวัาชรเวี้ รดั ียนรู้/ตวั ชีว้ ัด 616 616 โครงสรา้ งราโยควรชิงสาวรา้ทิ งยราาศยาวสิชตารวเท์ิทคยรโาหนศสัโาลวสยชิ ตีาร2์คร2หร2หสั 1สัว0ิชว3ชิาชาว้ัน2คม2ัธ12ย01ม30ศ3ชกึ นั้ชษัน้มามธัปยัธีทยม่ี มศ2ศกึ กึษภษาาปาคปที เีทร่ 2ีย่ น2ภทา่ีคภ1เารคยี เนรยีทนี่ 1ท่ี 1 617 617 หน่วยการเรหียนน่วรยทู้ กี่ า1รเรเยี รนือ่ รงูท้ ่ีเท1คโเนรโอ่ื ลงยีกเับทมคนโนษุ โยล์ยีกบั มนุษย์ 620 620 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรัดู้ทกี่ า1รเรเรียื่อนงรทู้ ก่ีาร1เปเลรย่ีอื นงแกปาลรเงปแลี่ยะนผแลปกรละงทแลบะขผอลงกเทรคะโทนบโขลอยีงเทคโนโลยี 629 629 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรดัทู้ ก่ี า2รเรเรียื่อนงรทู้ พ่ี ัฒ2นเารกอ่ื างรขพอฒังเนทาคกโนารโขลอยีกงเาทรคสโื่อนสโาลรยีการสื่อสาร 643 643 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัทู้ ก่ี า3รเรเรียอ่ืนงรู้ทกี่ า3รใชเร้เทื่องคโนกโาลรยใชอี เ้ยท่าคงโสนรโ้าลงยสีอรยรคา่ ง์ สรา้ งสรรค์ 663 663 แผนการจดั กแาผรนเกรียารนจรัดทู้ กี่ า4รเเรรีย่อื นงรทู้ กี่าร4สเรรา้ ือ่ งงแลกะาแรสสดรงา้ สงิทแลธิ์คะแวาสมดเงปสน็ ิทเธจิ์ค้าวขาอมงเผปล็นงเาจน้าของผลงาน 679 679 หนว่ ยการเรหียนนว่ รยู้ทก่ี า2รเรเียรน่อื รง้ทู ี่นกั2ออเรกื่อแงบบนรกั ะอบอบกแบบระบบ 706 706 แผนการจัดกแาผรนเกรียารนจรดัู้ทก่ี า5รเรเรียอ่ืนงรทู้ อ่ี ง5คป์ เระอ่ื กงอบองแคลป์ะรหะลกักอกบาแรทละำงหาลนกั ขกอางรคทอำมงพานิวขเตอองรค์ อมพิวเตอร์ 720 720

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 นักออกแบบระบบ 681 แผนการการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง แนวคดิ เชงิ นามธรรมในการแกป้ ัญหา 68ฅ8 แผนการการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เรื่อง สนุกกบั การเขยี นผงั งาน 705 แผนการการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง การเขียนอลั กอริทสมึ าเรพบอื่ ญั แก(้ปตัญอ่ )หา 716 736 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม หน้า 741 แผนการการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 740 754 763 775 แผแนผกนากรจารัดการจเรัดียกนารทู้เร่ี ีย6นรเู้ทร่ีือ2งเรกอ่ื างรอเคอรกื่อแงบมบอื อแัลกะอุปริทกมึรณใ์ นการสร้างสรรคเ์ ทคโนโลยี 779 793 แหผนนว่ กยากราจรัดเรกียานรเรรู้ทีย่ีน4รู้ทโป่ี ร7แกเรม่ืองเมอไพรน์ธอ้ นยเบอ้ื งตน้ 798 819 แผแนผกนากรจารดั การจเรัดียกนารู้ทเรี่ ยี 8นรเทู้ รี่ือ1งเรกื่อางรทกาำรซอ้ำอแกลแะตบดับสแนิลใะจเขียนโปรแกรมเบอ้ื งต้น 807 836 แผแนผกนากรจารดั การจเรัดียกนารู้ทเรี่ ยี 9นรเ้ทู ร่ีอื 2งเรนอ่ื ักงอรอจู้ กักแMบบicรrะoบ:bบit 823 851 แผแนผกนากรจารัดการจเรดั ียกนารทู้เร่ี ีย1น0รทู้ เ่ี ร3ือ่ เงรอ่ื กงาเรขคียดิ นเชโปิงครแำนกรวมณโดยใช้ Micro:bit 841 872 แผแนผกนากรจารดั การจเรดั ียกนารู้ทเรี่ ีย1น1รู้ทเ่ี ร4อ่ื เงรอ่ื รงจู้ รักจู้ไมกั โคAรrdบuิทino และ Thinkercad 852 895 แผแนผกนากรจารดั การจเรัดียกนารู้ทเร่ี ยี 1น2รู้ทเี่ ร5อ่ื เงรอ่ื รงะบคำบสองั่ ัตวโนนรมอัตบดิ ว้ ยไมโครบทิ 871 912 แผแนผกนากรจารดั การจเรัดียกนาร้ทูเร่ี ีย1น3รู้ทเ่ี ร6ือ่ เงรื่อองอรกูจ้ แกั บทบารงะเลบอื บกดว้ ย Tinkercad 889 932 แผแนผกนารกจาัดรการจเรดั ียกนารรทู้ เร่ี ีย1น4รู้ทเี่ร7่ืองเรอื่ กงารฟใังชกง้ ์ชาันใLนDTRinแkลeะrcเซaอdร์โวมอเตอรใ์ น Tinkercad 911 936 แหผนนว่ กยากราจรดั เรกียานรเรรู้ทียี่น5รทู้วิศี่ ว1ก5รนเรอ้ ่ือยง การใช้งานโมดลู Ultrasonic และTemp ใน Tinkercad 919 947 หนแว่ ผยนกกาารรเกรยีารนจรัด้ทู ก่ี า3รเรเียรน่ือรงทู้ ่ีว1ศิ เวรก่ือรงนล้อ้อยและเพลา 935 960 แผแนผกนากรจารัดการจเรดั ียกนารทู้เรี่ ีย1น6รู้ทเี่ ร2ือ่ เงร่ือสงาจรสำลนอเทงวศงกจับรกอาิเลรแก็ กทป้รอญั นหกิ าส์อย่างง่าย 963 978 แผแนผกนากรจารดั การจเรัดียกนารทู้เร่ี ีย1น7รู้ทเ่ี ร3่อื เงรอื่ ไงฟเฟรา้่อื แงลกะลอไเิ กลก็ ไทฟรฟอา้ นแกิลสะ์อเิ ล็กทรอนิกส์ 980 993 แผแนผกนากรจารดั การจเรดั ียกนารู้ทเร่ี ยี 1น8รู้ทเ่ี ร4่อื เงร่ือกงาปรอรอะยกุกแตบใ์บชชก้ น้ิ ลงไากนไฟฟา้ และอิเลคทรอนคิ ส์ 10081017 แผแนผกนากรจารดั การจเรัดียกนารู้ทเรี่ ีย1น9รู้ทเ่ี ร5อ่ื เงรื่อกงายรสานร้ายงนทตดแ์ สหอ่งบโลแกลอะนปารคะเตมนิ ชนิ้ งาน 10151023 แบผรนรณกาารนจกุ ดั รกมารเเทรคียโนนรโทู้ ล่ี ย2ี 10 เรื่อง การนำเสนอชิน้ งาน 10151023 บคณรระณจาัดนทุกำครมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรรู้ ะดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 10161024 เพื่อการเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) 10181026 มลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ คณะจดั คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 คณะปรบั ปรุงคมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 คณะตรวจปรฟู๊ และจัดทำรูปเล่มคู่มอื ครู และแผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1

ฆ การรับชมรายการ การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม มลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ให้บริการการจัดการเรยี นการสอน จากสถานวี ิทยโุ ทรทศั นก์ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม จำนวน 15 ชอ่ งรายการ ทง้ั รายการสด (Live) และรายการย้อนหลงั (On demand) สามารถรบั ชมผา่ น www.dltv.ac.th Application on mobile DLTV - Android เข้าท่ี Play Store/Google Play พิมพ์คำว่า DLTV - iOS เขา้ ท่ี App Store พิมพ์คำวา่ DLTV การเรียกหมายเลขช่องออกอากาศสถานวี ทิ ยุโทรทศั น์การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม 15 ชอ่ งรายการ DLTV 1 (ช่อง 186) เวลาเรียน / นอกเวลาเรียน DLTV 2 (ช่อง 187) รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 / สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ DLTV 3 (ชอ่ ง 188) รายการสอนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 / ความรู้รอบตวั DLTV 4 (ชอ่ ง 189) รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 / วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี DLTV 5 (ช่อง 190) รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 / ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม DLTV 6 (ชอ่ ง 191) รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 / ศลิ ปวัฒนธรรมไทย DLTV 7 (ช่อง 192) รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 / หน้าที่พลเมือง DLTV 8 (ชอ่ ง 193) รายการสอนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 / ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร DLTV 9 (ช่อง 194) รายการสอนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 / ภาษาตา่ งประเทศ DLTV 10 (ชอ่ ง 195) รายการสอนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 / การเกษตร DLTV 11 (ช่อง 196) รายการสอนชน้ั อนุบาลปีท่ี 1 / รายการสําหรบั เด็ก-การเล้ยี งดูลกู DLTV 12 (ช่อง 197) รายการสอนช้ันอนุบาลปีท่ี 2 / สุขภาพ การแพทย์ DLTV 13 (ช่อง 196) รายการสอนชั้นอนุบาลปที ่ี 3 / รายการสำหรบั ผสู้ งู วัย DLTV 14 (ชอ่ ง 199) รายการของการอาชพี วังไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล DLTV 15 (ช่อง 200) รายการของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช รายการพฒั นาวิชาชพี ครู

ง การติดตอ่ รบั ขอ้ มูลขา่ วสาร 1. มลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 214 ถนนนครสวรรค์ แขวงวดั โสมนสั เขตป้อมปราบศตั รูพา่ ย กรงุ เทพมหานคร 10100 โทร 0 2282 6734 โทรสาร 0 2282 6735 2. สถานีวิทยุโทรทศั นก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ซอยหวั หนิ 35 ถนนเพชรเกษม ตำบลหัวหนิ อำเภอหัวหนิ จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ 77110 โทร. 032 515457 - 8 โทรสาร 032 515951 [email protected] (ตดิ ตอ่ เรอ่ื งเวบ็ ไซต์) dltv@dltv,ac.th (ตดิ ต่อเร่ืองทั่วไป) 3. โรงเรียนวังไกลกงั วล ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ อำเภอหวั หิน จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ 77110 โทร 032 522 347 , 032 520 478 โทรสาร 032 520 478 Facebook : โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th 4. ช่องทางการติดตามข่าวสาร Facebook : ครูตู้ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

จ ค�ำ ช้ีแจง คำ�ชแ้ี จง ประกอบการใช้แผนการจดั การเรยี นรกู้ กลลมุ่ มุ่ สสาารระะกกาารรเเรรยียี นนรรวู้ ู้วทิ ทิ ยยาาศศาาสสตตร์ร์

ฉ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหสั วิชา ว221101 วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน 3 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ศึกษา วเิ คราะห์ ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธบิ ายผลของชนดิ ของตัวละลาย ชนิดตวั ทำละลาย อุณหภมู ิและความดันท่มี ตี ่อสภาพละลายไดข้ องสาร ระบปุ รมิ าณตัวละลายในสารละลาย ในหนว่ ยความเขม้ ข้น เปป็นน ร้อยละ ปริมาตรตอ่ ปริมาตร มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปรมิ าตร ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าทขี่ องอวัยวะทีเ่ กยี่ยววขขอ้ อ้ งง กบั ระบบหมุนเวียนเลอื ด ระบบหายใจ ระบบขบั ถา่ ย ระบบประสาทและระบบสืบพันธ์ุ ตตลอลดอจดนจออนกอแอบกบแกาบรบการ ทดลองและทดลอง การเปรียบเทยี บการเต้นของหวั ใจ และการใชแ้ บบจำลองในการอธิบายการทำำ�งงานานขอขงอระงบรบะบบ หมนุ เวยี นเลอื ด ระบบสบื พันธุ์ของมนุษย์ ตระหนักถงึ ความสำคัญของระบบตา่ ง ๆ โดยการบอกแนวทางในการรดดแู ูแลล รักษาอวยั วะในระบบนั้น ๆ ใหท้ ำงานเปน็ ปกติ รวมถงึ ตระหนักถงึ การเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายเม่ือเข้าสูว่ ยั หนมุ่ สาว โดยการดูแลรกั ษารา่ งกายและจิตใจของตนเองในชว่ งท่มี ีการเปลยี่ นแปลง รวรมวถมงึ กถาึงรกเลาอืรกเลวืิธอีกกาวริธคีกุมากรำเคนุมิดกทำ�่ี เนิดที่ เหมาะสมกบั สถานการณ์ ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของการตั้งครรภก์ ่อนวัยอนั ควร และสามารถอธบิ ายการตกไข่ การมี ประจำเดือน การปฏสิ นธิและการพัฒนาของไซโกต จนคลอดเปน็ ทารก อธิบายการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุท่ีเปน็ ผลของแรง ลพั ธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงท่กี ระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกนั แรงเสยี ดทานสถติ และแรงเสียดทานจลน์ และกกาารรลลออยย ของวตั ถุในของเหลวจากหลัก�านเชิงประจกั ษ์ ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ที ีเ่ หหมมาาะะสสมใมนใกนากรอาธรบิอาธยิบาย ป�จจัยทม่ี ผี ลตอ่ ความดันของของเหลว ปจ� จยั ทม่ี ผี ลต่อขนาดของแรงเสยี ดทาน และวธิ ีการทีเ่ หมาะสมในการอธธบิ ิบาายย โมเมนต์ของแรง เมื่อวัตถอุ ยูใ่ นสภาพสมดลุ ต่อการหมนุ และคำนวณโดยใชส้ มการ M = Fl คำำ�นนววณณออตั ัรตารเารว�เรแ็วลแะละ ความเรว� ของการเคลือ่ นที่ของวตั ถุ โดยใช้สมการ V = s/t และ v⃑ =s⃑/t จากจหาลกักห�าลนักเชฐงิ าปนระเชจกัิงษป์ ระจักษ์ นอกจากน้สี ามารถเขยี นแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ท่เี กิดจากแรงหลายแรงทกี่ ระทำต่อวัตถใุ นนแแนนวเวดเียดวกียันวกัน แผนภาพแสดงแรงท่ีกระทำต่อวตั ถใุ นของเหลวแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอืน่ ๆ ทก่ี ระทำต่อวตั ถุ แผนภาพ แสดงแรงแม่เหล�ก แรงไ��า� และแรงโนม้ ถ่วงทีก่ ระทำต่อวัตถุ และแผนภาพแสดงการกระจดั และความเรว� วิเคราะห์ ความสมั พันธ์ระหวา่ งขนาดของแรงแม่เหล�ก แรงไ���า และะแแรรงงโโนนม้ ้มถถ่วง่วทงก่ีทรี่กะรทะำทตอ่ำ�ตวัต่อถวทุ ัต่ีอถยุท่ใู นี่อสยนู่ใานมสนน้ันามๆนกั้นบั ๆ กับ ระยะหา่ งจากแหล่งของสนามถงึ วตั ถจุ ากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรูเ้ รือ่ งแรงเสยี ดทานและ การนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบคน้ ข้อมลู บันันททกึ ึก จดั กลมุ่ ข้อมลู และการอภปิ ราย การคดิ สร้างสรรค์ คิดวิเคราะหว์ ิจารณ์ คิดแก้ป�ญหาอย่างเปน็ ระบบ โดดยยใชใชข้ ้อขม้อลู มูล หลากหลายและประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสง่ิ ที่เรยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจนำความรู้ไไปปใใชชใ้ น้ใน ชีวิตประจำวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตวั ช้วี ดั ว 2.1 ม.2/4 – 6 ว 1.2 ม.2/1 – 17 ว 2.2 ม.2/1 – 15 รวมทง้ั หมด 35 ตัวช้วี ดั

ช มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั รหัสวิชา ว212101 รายวชิ า วิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 รวมเวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กาย�าพ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ควคามวสามั พสนั ัมธพ์ระันหธวา่์รงะสหมบวตั่าิขงอสงมบัติของ สสารกบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ียนแปปลลงสงถสาถนาะนขอะงขสอสงารสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ตัวชี้วัด 1. ว 2.1 ม.2/4 ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบาย ผลของชนดิ ตัวละลาย ชนดิดตตวั ัวททำ�ำ ลละะลลาายย อุณหภูมทิ ีม่ ตี อ่ สภาพละลายไดข้ องสาร รวมทง้ั อธบิ ายผลของความดันท่ีมตี อ่ สภาพละลาย 2. ว 2.1 ม.2/5 ระบปุ รมิ าณตวั ละลายในสารละลายในหนว่ ย ความเขม้ ข้นเปน็ รอ้ ยละปริมาตรตอ่ ปริมาตร มวลตอ่ มวล และมวลต่อปริมาตร 3. ว 2.1 ม.2/6 ตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรเู้ รอ่ื ง ความเข้มขน้ ของสารไปใช้ โดยยกตวั อย่าง การใชส้ ารละลายในชวี ิตประจำวนั อยา่ งถูกตอ้ ง และปลอดภยั สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีว�าพ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน วว 11..22 เเขขา้ ้าใใจจสสมมบบัตัตขิ ิขอองงสสิง่ ิ่งมมีชีชวีวิติตหหนน่วย่วพยพื้นื้น�าฐนาขนอขงอสงงิ่สมิ่งีชมีวีชิตีวกิตารกลาำรเลลำ�ยี เงลสียางรสเาขร้าเแขล้าะแอลอะกอจอากกจาก เซลล์ ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่ทำงานสัมพนั ธก์ ัน ควาามมสสมั มั พพันันธ์ธ์ ของโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องอวัยวะต่างๆ ของพืชท่ีทำงานสมั พนั ธ์กนั รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวชี้วัด ตัวชว้ี ดั 1. ว 1.2 ม.2/6 บรรยายโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องหวั ใจหลอดเลือด และเลอื ด 21. ว 1.2 ม.2/67 บอธรบิรยาายยกโาครรทง�ำสงราา้ นงขแอลงะรหะนบา้ บทหีข่ มอุนงหเววั ยี ในจเหลลืออดดโเลดอืยดใชแ้ ลบะบเจล�ำอื ลดอง 23. ว 1.2 ม.2/78 ออธอิบกาแยบกบารกทาำรงทาดนลขอองงแรละะบทบดหลมอนุ งเวใียนนกเาลรือเดปรโียดบยใเทช้แียบบอจัตำรลาอกงารเต้นของหัวใจ ขณะปกติ และหลังท3.ำ�กวิจก1ร.2รมม.2/8 ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทยี บอตั ราการเต้นของหวั ใจ ขณะปกติ และหลงั ท4.ำกวจิ ก1ร.2รมม.2/9 ตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบหมุนเวียนเลือดโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา อวยั วะใน4ร.ะบวบ1ห.2มุนมเ.ว2ีย/9นเตลรือะดหในหกัท้ ถ�ำ ึงคานวาเปมน็สำคญั ของระบบหมนุ เวียนเลอื ดโดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษา อวัยวะในระบบหมุนเวียนเลอื ดใหท้ ำงานเปน็

ซ 5. ว 1.2 ม.2/1 ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าทีข่ องอวยั วะที่ เกย่ี วข้องในระบบหายใจ 6. ว 1.2 ม.2/2 อธบิ ายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใชแ้ บบจำลอง รรวมวทมั้งทอั้ธงบิอาธยิบการะยบกวรนะกบารวนการ แลกเปลี่ยนแกส๊ 7. ว 1.2 ม.2/3 ตระหนกั ถึงความสำคัญของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักักษษาอาวอยั ววัยะวะ ในระบบหายใจใหท้ ำงานเป็นปกติ 8. ว 1.2 ม.2/4 ระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าทีข่ องอวัยวะในระบบขับถ่ายในการกำจดขั องเสยี ทางไต 9. ว 1.2 ม.2/5 ตระหนักถงึ ความสำคัญของระบบขบั ถา่ ยในการกำจดั ของเสียทางไต โดยการบอกแนวทาง ในการปฏบิ ตั ติ นที่ชว่ ยให้ระบบขับถา่ ย ทำหน้าที่ได้อยา่ งปกติ 10. ว 1.2 ม.2/10 ระบอุ วยั วะและบรรยายหน้าทข่ี องอวัยวะใน ระบบประสาทส่วนกลางในนกกาารครวคบวคบมุ คุม การทำงานต่างๆ ของรา่ งกาย 11. ว 1.2 ม.2/11 ตระหนักถึงความสำคญั ของระบบประสาทโดยการบอกแนวทางในการดแู ลรกั ษารวมถงึ การป้องกันการกระทบกระเทอื น และอันตราย ต่อสมองและไขสนั หลงั 12. ว 1.2 ม.2/12 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าทีข่ องอวัยวะใน ระบบสบื พนั ธข์ุ องเพศชายแลละะเพเพศหศญหงิญิง โดยใช้แบบจำลอง 13. ว 1.2 ม.2/13 อธบิ ายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงท่ี ควบคมุ การเปลี่ยนแปปลลงงขของอรง่ารงก่าางยกาย เมื่อเขา้ สูว่ ัยหน่มุ สาว 14. ว 1.2 ม.2/14 ตระหนักถึงการเปล่ยี นแปลงของร่างกายเม่ือ เขเข้าส้าู่วสยั ู่วหัยนหุ่มนสาุ่มวสโดายวกโดารยดกแู าลรดักษูแาลรักษา ร่างกาย และจิตใจของตนเองในชว่ งท่มี กี ารเปล่ียนแปลง 15. ว 1.2 ม.2/15 อธิบายการตกไข่ การมปี ระจำเดือน การปฏสิ นธิและการพฒั นาของไซโกต จจนนคลคอลดอด เปน็ ทารก 16. ว 1.2 ม.2/16 เลือกวิธกี ารคมุ กำเนิดทีเ่ หมาะสมกบั สถานการณ์ท่ีกำหนด 17. ว 1.2 ม.2/17 ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภก์ อ่ น่ วยั อัอนันคั คววรรโโดดยยกกาารรปปรระะพพฤฤตตตตนิ นใหใหเ้หเหมมาาะะสสมม

ฌ สาระท่ี 2 ว�ทยา�าสตรก� าย�า� สมารตะรทฐ่ีา2นกวท�ารยเาร�ยี านสรตู้ ร�กาย�า� มาตรมฐาตนรกฐาารนเรยีวน2ร.ู้2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงทก่ี ระทำตอ่ วัตถุ ลักษณะการเคลือ่ นท่ี มาตรฐาน ว 2.2 เแขบา้ บใจตธ่ารงรมๆชขาอตงิขวอัตงถแุรรงวใมนทชวีัง้ นิตปำครวะาจมำวรูไ้นั ปผใชลป้ขรอะงโแยรชงนท์่ีกระทำต่อวตั ถุ ลักษณะการเเคคลลอื่ ่ือนนทที่ ่ี แบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชวี้ ดั ตวั ชี้วดั 1. ว 2.2 ม.2/14 อธิบายและคำนวณอตั ราเรว� และความเรว� ของ การเคลอื่ นท่ขี องวัตถุ โดยใชส้สมมกกาารรแแลละะ จากหลัก1�.านวเช2งิ .ป2รมะ.จ2ัก/1ษ4์ อธบิ ายและคำนวณอัตราเรว� และความเร�วของ การเคลอ่ื นที่ของวตั ถุ โดยใชส้ มการ และ จากหลัก�2า. นวเช2ิง.ป2รมะ.จ2กั /ษ15์ เขียนแผนภาพแสดงการกระจัดและความเรว� 23.. วว 22..22 มม..22//115พเยขายี กนรแณผ์กนาภราเพคแลส่อื ดนงทกข่ี าอรงกวรตั ะถจุทดั ี่เแปล็นะผคลวขามอเงรว�แแรงรลงัพลธัพท์ ทีเ่ ก์ทิดจี่เากกิดแรแงรหงลหายลแารยงแทรี่กรงะกทรำะทำ� ต่อวัตถใุ น3แ. นววเ2ด.2ยี วมก.2ัน/จ1ากพหยลาักก�รณาน์กเาชริงเปครละอ่ื จนกั ทษีข่ ์ องวตั ถุทีเ่ ป็นผลของ แรงลพั ธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงท่กี ระทำ ต่อวตั ถุใน4แ. นววเ2ด.ยี2วมก.นั 2จ/2ากเหขลยี ักน�แาผนนเภชงิาปพรแะสจดักงษแ์รงและแรงลพั ธ์ทเี่ กดิ จาก แแรรงงหหลลายาแยรแงรทงกี่ ทรี่กะทรำะตท่อำ�วตัต่อถวุ ัตถุในแนว เใดนีแยนววกเันด4ีย.วกวัน2.2 ม.2/2 เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ทเ่ี กิดจาก แรงหลายแรงท่กี ระทำตอ่ วตั ถุ ในแนวเด5ีย.วกวัน2.2 ม.2/6 อธบิายแรงเสยีดทานสถติและแรงเสยดี ทานจลน์ จากหลัก�ฐานเชงิ ประจักษ์ 56.. วว 22..22 มม..22//67 ออธอบกิาแยบแบรกงเาสรยทีดดทลาอนงสแถลตะิแทลดะลแอรงงดเส้วยยวดี ธิทีทา่ีนเหจเหลมมนาาะ์ จะสาสมกมใหนใลนกักาก�ราอารนธอิบเธชาิบงิ ยปาปรย�จะปจจจั ยัักจทษัยม่ี ทีผมี่ลผีตลอ่ ตขนอ่ าขดนาด ของแรงเ6ส.ียดวท2า.น2 ม.2/7 ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีท่ี เหมาะสมในการอธิบายปจ� จัยทมี่ ีผลต่อขนาด ของแรงเส7ยี. ดวท2าน.2 ม.2/8 เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงอืน่ ๆ ท่กี ระทำต่อวตั ถุ 78.. วว 22..22 มม..22//89 เตขรยี ะนหแนผกนถั ภงาปึ พรแะสโยดชงแนรขง์อเสงคยี วดาทมารนเู้รแอลืง่ะแแรรงงเอสื่นยดี ๆททาน่กี รโะดทยำวตเิ ค่อรวาตั ะถหุ ส์ ถานการณ์ป��ัญหหาาแและละ เสนอแนะ8.วิธวกี 2า.ร2ลมด.ห2ร/อื9เตพร่มิ ะแหรนงเกสัถยี งดปึ ทราะนโยทชเี่ ปน็นข์อปงรคะวโยามชรนเ์ตรู้ ่ออืง่กแารรงทเำสกยจิดี กทรารนมใโนดยชวีวิเติ คปรราะะจหำส์ วถนั านการณ์ป�� หาและ เสนอแนะ9.วธิ วกี 2าร.2ลดมห.2ร/อื 3เพอม่ิอแกรแงบเสบียกดาทรทานดทลี่เอปง็นแปละระทโดยลชอนง์ตดอ่ ้วกยาวรธิ ทีทำี่เกหิจมการะรสมมใในนชกีวาติ รปอรธะิบจาำยวปันจ� จยั ทม่ี ีผลตอ่ ควาามมดดนั ัน ของของเ9ห.ลวว 2.2 ม.2/3 ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ีทีเ่ หมาะสมในการอธิบายป�จจัยท่ีมีผลต่อความดนั ของของเ1ห0ล.ว ว 2.2 ม.2/4 วิเคราะหแ์ รงพยงุ และการจม การลอยของวตั ถุ ในของเหลวจากหลัก�านเชงิ ประจักษ์ 1101.. วว 22..22 มม..22//45 วเขิเคียรนาแะผหน์แภรงาพพยแุงสแดลงะแกรางรทจกี่ มระกทาำรตล่ออวยตัขถอุใงนวัตขอถุงใเนหขลอวงเหลวจากหลกั �านเชิงประจกั ษ์ 1112.. วว 22..22 มม..22//510เขอยี อนกแแผบนบภกาาพรแทสดดลงอแงรแงลทะก่ี ทระดทลำอตงอ่ดวว้ ัตยถวธิุในีทขเี่ หอมงเาหะลสวมในการอธบิ ายโมเมนตข์ อองงแแรรงเงมเื่อมื่อ วัตถอุ ยใู่ น1ส2ภ. าวพ2ส.ม2ดมลุ .ต2่อ/1ก0ารอหอมกุนแแบลบะกคาำรนทวดณลโอดงยแใลชะ้สทมดกลาอรงMดว้ ย=วFธิ Lที ่ีเหมาะสมในการอธบิ ายโมเมนต์ของแรงเม่อื ทกวทกตัรรก่ีกี่ ะะถรรททุอะะยำทำทตตู่ใำำน่อ่อต111ต111สว453ว่อ453่อภตัตั......ววถาัตถัตววววววพุทุทถถส222อทีุ่222อท่ีุ ม...ย...ี่อย่ีอ222222ด่ใูยู่ใยนนมมมุลมมมใูู่ใ่ สนสน...ต...222222นแนอ่แ//////าต111าตก111มม่ล231าล่231นะรนะเวเเวเหสนั้ขปส้นัขปิเิเนมคยีนครยีรๆๆนุารียนารียนมาบมแาแกบแกะะลผเับผเจบัหจทหทะนรานราค์ยีค์คียะกภะกภวบำวบยขายขาานาแะพแ้อะมพอ้มหวหหมหแสมแสณล่าูลลสา่ัมลูสมัง่งโงทดง่พทดจขดพจขง่ีรางนัี่รอยานัอแวแกวงธกใรบงธรบชแส์รแสงร์รงหส้ะนรแหะนวแวหมลามหมลามมมกว่ง่เมวง่ไเ่หขไ่าแาดหขา่แดงอรลม้งอลมข้ งก�ข่เMง�ก่เนหสนหสแานลแานล=ดรก�าดรก�างขมสงFขมไสอไถน�Lอถน�งงึา�งึงแา�วมแวา�มรัต�าไรตั งไถ�แงถ�แแุจแล�จุมล�ามะา�า่เะก�าแ่เหกแหแขรลแขรลอ้ลงก�ล้องโะมก� โนะมสูลแนสลูม้แนรทม้ นรทถรงาร่ีถงาไว่รี่งมวไ่ว�มงวไโบ�งทฟ�โบนทร�น่กีม้�ารฟวกี่ม้า�รวถมแ้ราะถมว่แไะลท่วดไงลทะดงแำแ้ะแแำ้ตลลแตรลอ่ะระงอ่ะทวงโแทวัตนโิศรัตนิศถม้ทงถม้ทุถาโุถา่วงนว่งขง่มขงทอทอถี่ง่ีงแวแรงรงทงี่

ญ โครงสรา้ งรายวชิ า รหัสวิชา ว212101 รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน 23 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 �าคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 รวมเวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต หนว่ ยท่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาร�สำคั� เวลา นำ้ หนกั /ตวั ชว้ี ัด /ความคดิ รวบยอด (ชั่วโมง) ค��นน 1 สารละลาย ว 2.1 ม.2/4 - 6 สารละลายอาจมสี ถานะเป็น 13 10 ของแข�ง ของเหลวและแก๊ส สารละลายประกอบดว้ ยตวั ทำละลาย และตวั ละลาย กรณสี ารละลายเกดิ จากสารทม่ี สี ถานะเดียวกัน สารทม่ี ี ปริมาณมากทีส่ ุดจดั เปน็ ตวั ทำละลาย กรณีสารละลายเกดิ จากสารที่มี สถานะต่างกัน สารทม่ี ีสถานะ เดียวกนั กบั สารละลายจัดเปน็ ตัวทำ ลตะวั ลทาำ�ยละลาย สารละลายทตี่ ัวละลายไม่สามารถ ละลายในตวั ทำละลายได้อีกท่ี อณุ หภมู ิหน่งึ ๆ เรียกว่า สารละลาย อ่มิ ตวั สภาพละลายได้ของสารในตวั ทำละลาย เปน็ คา่ ทบี่ อกปริมาณของ สารทล่ี ะลายได้ในตวั ทำละลาย 100 กรัม จนได้สารละลายอ่ิมตวั ณ อุณหภมู แิ ละความดนั หน่ึง ๆ สภาพ ละลายไดข้ องสารบง่ บอก ความสามารถในการละลายได้ของตัว ลตะัวลาะยลใานยตในัวทตำัวลทะำ�ลลาะยลาซย่ึง ความสามารถในการละลาย ของสารข้นึ อยกู่ ับชนดิ ของตัวทำละลาย ลแะลละาตยวั แลละะลตาวัยลอะุณลาหยภอมู ณุ ิ แหลภะูมิ และ ความดนั สารชนดิ หน่งึ ๆ มสี ภาพ ละลายไดแ้ ตกตา่ งกนั ในตัวทำละลาย

ฎ หนว่ ยที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ �าร��ำค�ั เวลา นำ้ หนัก /ตวั ช้วี ดั /ความคิดรวบยอด (ช่วั โมง) ค��นน ท่แี ตกต่างกนั และสารตา่ งชนิดกัน มสี ภาพละลายไดใ้ นตวั ทำละลาย หนึง่ ๆ ไม่เท่ากัน เมื่ออุณหภูมสิ งู ขึน้ สารส่วนมาก สภาพละลายได้ ของ สารจะเพม่ิ ขึ้น ยกเวน้ แก๊สเมอื่ อุณหภมู สิ ูงข้นึ สภาพการละลาย ไสดภ้จาะพลกดารลลงะลสา่วยนไดคจ้ วะาลมดดลันงมสีผ่วลน คตว่อาแมกดส๊ นั มโีผดลยตเม่อ่ือแคกวส๊ าโมดดยันเมเพ่อื ่ิมคขว้นึาม ดสนัภเาพพิม่ ลขะึ้นลสาภยาไพดล้จะะลสาูงยขไึด้นจ้ ะสงู ข้ึน ความร้เู กย่ี วกับสภาพละลายไดข้ อง สาร เมื่อเปล่ยี นแปลงชนดิ ตัวละลาย ตวั ทำละลาย และอณุ หภูมิ สามารถ นำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน เชน่ การทำนำ้ เชื่อมเขม้ ขน้ การสกดั สารออกจากสมุนไพรใหไ้ ดป้ ริมาณ มากท่สี ดุ ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย เปน็ การระบุปรมิ าณตัวละลายใน สารละลาย หนว่ ยความเขม้ ข้น มหี ลายหน่วย ที่นิยมระบเุ ปน็ หนว่ ย เป็นร้อยละปรมิ าตรต่อปรมิ าตร มวล ต่อมวล และมวลต่อปรมิ าตร รอ้ ยละ โดยปริมาตรต่อปริมาตร เปน็ การระบุ ปริมาตรตัวละลายในสารละลาย 100 หน่วย ปรมิ าตรเดียวกนั นิยมใช้ กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรอื แกส๊ รอ้ ยละโดยมวลตอ่ มวล เปน็ การระบุมวลตัวละลายในสารละลาย 100 หน่วยมวลเดียวกนั นิยมใชก้ ับ สารละลายที่มีสถานะเป็นของแข�ง รอ้ ยละโดยมวลต่อปรมิ าตร เป็น

ฏ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำค�ั เวลา น้ำหนัก /ตัวช้วี ดั /ความคดิ รวบยอด (ช่ัวโมง) ค��นน การระบมุ วลตัวละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร นิยมใชก้ ับ สารละลายท่ีมีตวั ละลายเป็นของแข�ง ในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว การใชส้ ารละลาย ในชวี ติ ประจำวนั ควรพิจารณาจากความเขม้ ข้นของ สารละลาย ขึน้ อยู่กับจดุ ประสงคข์ อง การใชง้ าน และผลกระทบต่อส่ิงชีวิต และสิง่ แวดลอ้ ม 2 รา่ งกายมนษุ ย์ ว 1.2 ม.2/1 – 17 ระบบหายใจมอี วัยวะต่าง ๆ ท่ี 23 50 เก่ียวขอ้ ง ไดแ้ ก่ จมกู ทอ่ ลม ปอด กะบงั ลม และกระดูกซี่โครง มนุษย์ หายใจเขา้ เพ่อื นำแกส๊ ออกซิเจนเข้าสู่ รา่ งกายเพอื่ นำไปใชใ้ นเซลล์ และ หายใจออกเพ่ือกำจัดแก๊ส คาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจาก ร่างกาย อากาศเคลื่อนทีเ่ ขา้ และออก จากปอดได้เนอื่ งจากการเปล่ยี นแปลง ปริมาตรและความดันของอากาศ ภายในชอ่ งอกซึ่งเกย่ี วข้องกบั การทำงานของกะบังลม และกระดูก ซีโ่ ครง การแลกเปลย่ี นแก๊สออกซิเจน กออับกแซกิเ๊สจคนากรับ์บแอกน๊สไคดาอรอ์บกอไนซไดดใ์ อนอรก่างไซกดาย์ เใกนดิ รข่าง้นึ กบารยิเวเณกดิ ถขงุ น้ึลบมรในเิ วปณอถดงุ กลับมหในลอด เปลออื ดดกฝับอหยลทอ่ีถดุงเลลมือดแ�ลอะยรทะหีถ่ ุงวลา่ มงหแลลอะด เรละอื หดวฝา่ องหยลกอับดเนเล้ืออื เยดื่อ�อกยารกสับูบเนบื้อหุ เยรี่อื การ สกูดารอสาูบกบาศุหทร่ีมกสี าารรสปดู นอเาปกิอ้านศทแีม่ ลีสะารการ เปปน็นเโปร�อคนเกแีย่ ลวะกับระบบหายใจบางโรค อกาจรเทปำ�็นใโหร้เคกเดิกโีย่ รวคกถบั ุงรละมบโบปห่งพายอใงจบาง โรคอาจทำให้เกดิ โรคถุงลมโปง� พอง

ฐ หนว่ ยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำค�ั เวลา น้ำหนัก /ตวั ชีว้ ัด /ความคิดรวบยอด (ชว่ั โมง) ค��นน ซ่งึ มีผลให้ความจุอากาศของปอด ลดลง ดังนนั้ จึงควรดแู ลรักษา ระบบหายใจ ให้ทำหนา้ ที่เป็นปกติ ระบบขบั ถ่ายมอี วัยวะท่เี ก่ยี วขอ้ ง คือ ไต ทอ่ ไต กระเพาะปส� สาวะ และท่อ ปส� สาวะ โดยมีไตทำหนา้ ทีก่ ำจัดของ เสยี เชน่ ยูเรีย แอมโมเนีย กรดยรู ิก รวมทง้ั สารทรี่ า่ งกายไมต่ อ้ งการออก จากเลอื ด และควบคุมสารทมี่ ีมาก หรอื น้อยเกนิ ไป เช่น น้ำ โดยขับ ออกมาในรปู ของป�สสาวะ การเลอื กรบั ประทานอาหารท่ี เหมาะสม เชน่ รับประทานอาหารที่ ไม่มีรสเคม� จดั การดม่ื นำ้ สะอาดให้ เพียงพอ เปน็ แนวทางหน่ึงท่ีชว่ ยให้ ระบบขบั ถ่ายทำหน้าทไี่ ดอ้ ย่างปกติ ระบบหมนุ เวียนเลือดประกอบดว้ ย หวั ใจหลอดเลือด และเลอื ด หวั ใจของมนษุ ยแ์ บง่ เป็น 4 หอ้ ง ได้แก่ หัวใจห้องบน 2 หอ้ ง และห้อง ลา่ ง 2 ห้อง ระหวา่ งหัวใจห้องบนและ หวั ใจหอ้ งล่างมลี น้ิ หัวใจก้นั หลอด เลอื ด แบง่ เป็น หลอดเลอื ดอาร์เตอรี หลอดเลอื ดเวน หลอดเลอื ด�อย ซึง่ มี โครงสร้างตา่ งกัน เลอื ด ประกอบด้วย เซลลเ์ มด� เลอื ด เพลตเลตและพลาสมา พลกาาสรมบาีบและคลายตวั ของหัวใจ ทำ�ใกหาเ้ รลบือีบดแหลมะุนคเลวียายนตแวั ลขะอลงำ�หเลวั ใียจงทำ สใหาร้เลออืาดหหารมนุแกเวส๊ ยี นขอแงลเะสลยี ำแเลลยี ะงสารอน่ื ๆ สารอาหาร แกส๊ ของเสยี และสาร

ฑ หนว่ ยที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำคั� เวลา นำ้ หนัก /ตัวชี้วัด /ความคดิ รวบยอด (ชวั่ โมง) ค��นน ไอปน่ื ยๆังอไปวยัยังวอะวยัแวละะแเลซะลเซลล์ตล่าต์ งา่ งๆๆ ทวั่ รา่ งกาย เลอื ดทีม่ ปี ริมาณแก๊ส ออกซเิ จนสงู จะออกจากหัวใจไปยงั เซลล์ตา่ ง ๆ ทั่วร่างกาย ขณะเดียวกัน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จากเซลลจ์ ะ แพรเ่ ข้าสเู่ ลือดและลำเลียงกลบั เขา้ สู่ หัวใจและถกู สง่ ไปแลกเปลย่ี นแกส๊ ที่ ปอดชีพจรบอกถึงจังหวะการเต้นของ หวั ใจซงึ่ อัตรา การเตน้ ของหัวใจ ในขณะปกตแิ ละ หลงั จากทำกิจกรรม ตา่ ง ๆ จะแตกตา่ งกัน ส่วนความดัน เลอื ด ระบบหมนุ เวยี นเลือดเกิดจาก การทำงานของหวั ใจและหลอดเลอื ด อตั ราการเต้นของหัวใจมคี วามแตกต่าง แกตนั กในตแา่ งตกล่ ันะใบนุคแคตล่ ะคบนคุ ทคี่เลปน็คโนรทคีเ่หปัวน็ ใจ แโรลคะหหัวใลจอแลดะเหลลืออดดจเละือสด่งจผะสลง่ ทผำล�ทใหำ ้ หใหัว้หใจัวใสจูบสฉบู ีด�เีดลเลืออืดดไมไม่เเ่ปป็น็นปปกติ กกาารร ออกกำลังกาย การเลอื กรบั ประทาน อาหาร การพกั ผอ่ น และการรกั ษา ภาวะอารมณ์ใหเ้ ปน็ ปกติ จงึ เปน็ ทางเลอื กหนงึ่ ในการดูแลรักษาระบบ หมนุ เวียนเลอื ดให้เป็นปกติ ระบบ ประสาทส่วนกลาง ประกอบดว้ ย สมองและ ไขสันหลัง จะทำหนา้ ที่ ร่วมกับเสน้ ประสาท ซ่ึงเปน็ ระบบ ประสาทรอบนอก ในการควบคุมการ ทกำางราทนำ�ขงอานงอขวอัยงวอะวตัย่าวงะตๆ่ารงวๆมรถวงึ มกถารึง แกสาดรแงพสดฤงตพกิ ฤรรตมิกรเพรมอื่ กเพารื่อตกอาบรสตนออบง ตส่อนสอ่งิงเตร่อา้ สเงิ่ มเร่อื ้ามเสี ม่งิ ื่อเรม้าสี มิง่ าเกร้าระมตากนุ้ ระต้นุ หนว่ ยรับความรสู้ กึ จะเกดิ กระแส

ฒ หนว่ ยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำคั� เวลา นำ้ หนกั /ตวั ช้วี ัด /ความคดิ รวบยอด (ชัว่ โมง) ค��นน ประสาทสง่ ไปตามเซลลป์ ระสาทรับ ความร้สู ึก ไปยงั ระบบประสาท สว่ นกลาง แลว้ ส่งกระแสประสาทมา ตามเซลล์ประสาทสงั่ การ ไปยงั หน่วย ปฏบิ ัตงิ าน เชน่ กลา้ มเนื้อ ระบบประสาทเปน็ ระบบท่ีมีความ ซบั ซ้อนและมคี วามสมั พนั ธก์ ับทุก ระบบในร่างกาย ดงั น้ันจึงควรปอ้ งกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตุที่ระทบกระเทอื นตอ่ สมอง หลกี เล่ยี งการใช้สารเสพติด หลกี เลย่ี งภาวะเครยี ด และ รบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ เพอ่ื ดูแลรกั ษาระบบประสาทให้ ทำงานเปน็ ปกตมิ นุษย์มีระบบสบื พันธ์ุ ที่ประกอบดว้ ยออววัยยั ววะะตต่า่างงๆ ท่ที �ำำหนา้ ทหนี่เฉา้ ทพเ่ี า�ะพาโะดโยดรยังรไงั ขไข่ใ่ในนเเพพศหญญงิ ิง จะทำหนา้ ที่ผลิตเซลล์ไข่ ส่วนอัณ�ะ ในเพศชาย จะทำหน้าที่สรา้ งเซลล์ อสุจิ ฮอร์โมนเพศทำหน้าทค่ี วบคมุ การแสดงออกของลักษณะทางเพศท่ี แตกต่างกัน เมือ่ เขา้ ส่วู ยั หนุม่ สาว จะมกี ารสรา้ งเซลล์ไข่และเซลล์อสจุ ิ การตกไข่ การมีรอบเดอื น และถา้ มี การปฏสิ นธิของเซลลไ์ ข่ และเซลล์ อสจุ ิจะทำให้เกิดการต้งั ครรภก์ ารมี ประจำเดือน มคี วามสมั พนั ธก์ บั การ ตกไข่ โดยเป็นผลจากการปลีย่ นแปลง ของระดับฮอรโ์ มนเพศหญิง เมอ่ื เพศ หญงิ มกี ารตกไข่และเซลลไ์ ขไ่ ดร้ บั การปฏิสนธิกับเซลล์อสจุ ิจะทำให้ได้

ณ หน่วยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำคั� เวลา นำ้ หนกั /ตวั ชว้ี ัด /ความคิดรวบยอด (ชวั่ โมง) ค��นน ไซโกต ไซโกตจะเจริ�เปน็ เอม� บริโอ และ��ตัส จนกระทั่งคลอดเปน็ ทารก แต่ถ้าไมม่ กี ารปฏสิ นธิ เซลลไ์ ขจ่ ะ สลายตวั ผนงั ดา้ นในมดลกู รวมท้งั หลอดเลอื ดจะสลายตวั และหลดุ ลอก ออก เรียกวา่ ประจำเดือน การคมุ กำเนิดเปน็ วธิ ีปอ้ งกันไมใ่ ห้ เกดิ การตั้งครรภ์โดยปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กิด การปฏสิ นธิหรอื ไม่ใหม้ กี าร�ง� ตวั ของ เอม� บรโิ อ ซึง่ มหี ลายวิธี เช่น การใช้ ถุงยางอนามัย การกินยาคุมกำเนิด 3 การเคลอื่ นท่แี ละ ว 2.2 ม.2/1 – 15 แรงเปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ เม่อื มี 24 40 แรง แรงหลาย ๆ แรงกระทำตอ่ วตั ถุ แลว้ แรงลพั ธท์ ก่ี ระทำต่อวตั ถุมคี ่าเป็น ศูนย์ วัตถุจะไมเ่ ปลย่ี นแปลงการ เกคาลร่อืเคนลทอ่ื ่ี นแทต่ี ่ถแ้าตแถ่ รา้ งแลรัพงลธพั์ทธก่ี ท์รก่ีะทระำท�ำ ตอ่ วัตถุมีคา่ ไม่เป็นศนู ย์ วตั ถุจะ เปล่ียนแปลงการเคล่อื นท่ี เมอ่ื วตั ถุ อย่ใู นของเหลวจะมแี รงท่ขี องเหลว กระทำต่อวตั ถุในทกุ ทศิ ทาง โดยแรง ทีข่ องเหลว กระทำตงั้ �ากกบั ผวิ วัตถุ ตอ่ หน่งึ หน่วยพื้นที่ เรียกวา่ ความดนั ของของเหลว ความดันของของเหลวมี ความสัมพนั ธก์ บั ความลกึ จากระดับ ผวิ หนา้ ของของเหลว โดยบรเิ วณท่ี ลกึ ลงไปจากระดับผิวหนา้ ของ ของเหลวมากขน้ึ ความดนั ของ ของเหลวจะเพิ่มข้นึ เนอ่ื งจาก ของเหลวที่อยลู่ ึกกวา่ จะมีนำ้ หนัก

ด หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำคั� เวลา นำ้ หนกั /ตวั ชี้วัด ค��นน /ความคดิ รวบยอด (ช่ัวโมง) ของของเหลว ดา้ นบนกระทำ มากกวา่ เมอื่ วตั ถอุ ยู่ในของเหลว จะ มแี รงพยงุ เนือ่ งจาก ของเหลวกระทำ ต่อวตั ถุ โดยมีทศิ ข้นึ ในแนวด่ิง การจมหรือการลอยของวตั ถุขึ้นกับ นำ้ หนกั ของวัตถแุ ละแรงพยุง ถ้า นำ้ หนักของวตั ถแุ ละแรงพยงุ ของของเหลวมคี ่าเทา่ กัน วัตถจุ ะ ลอยน่งิ อยู่ใน ของเหลว แต่ถ้า นำ้ หนกั ของวตั ถุมีคา่ มากกวา่ แรง พยงุ ของของเหลววตั ถุจะจม แรง เสียดทานเปน็ แรงทีเ่ กดิ ขึ้นระหวา่ ง ผวิ สัมผสั ของวัตถุ เพอ่ื ต้านการ เคลอ่ื นท่ขี องวตั ถนุ ั้น โดยถา้ ออกแรง กระทำต่อวตั ถทุ ี่อย่นู ง่ิ บนพืน้ ผวิ ให้ เคลอื่ นที่ แรงเสียดทานกจ� ะต้าน การเคล่ือนท่ีของวัตถุ แรงเสยี ดทาน ทเี่ กดิ ขนึ้ ในขณะทว่ี ตั ถุยังไม่เคล่ือนท่ี เรยี ก แรงเสียดทานสถติ แตถ่ ้าวตั ถุ กำลงั เคลื่อนท่ี แรงเสียดทานกจ� ะท�ำ ำให้ วใหัตว้ถัตุนถั้นนุ ้ันเคเลคื่อลนอื่ ทนี่ชท้า่ีชล้าลงหงหรรืออื หหยยุดดุ น่ิง เรียก แรงเสียดทานจลน์ ขนาด ของแรงเสียดทานระหว่างผวิ สมั ผสั ของวตั ถุขนึ้ กบั ลักษณะผวิ สมั ผสั และ ขนาดของแรงป�ิกิริยาต้งั �าก ระหวา่ งผิวสัมผสั กจิ กรรมใน ชีวิตประจำวันบางกิจกรรมตอ้ งการ แรงเสยี ดทาน เชน่ การเปด� �าเกลยี ว ขวดนำ้ การใช้แผ่นกันลน่ื ในห้องนำ้ บางกิจกรรมไมต่ อ้ งการ

ต หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำคั� เวลา นำ้ หนัก /ตัวชว้ี ัด /ความคิดรวบยอด (ช่ัวโมง) ค��นน แแรรงงเสเสียียดดททาานนเเชช่นน่ กกาารรลลาากกวัตถบุ น พพ้นื ้ืนกกาารรใชใช้นน้ํา้ ม้ำมันันหหลอ่ลลอ่ น่ืลใืน่ นในเครื่องยนต์ คเวคารมื่อรงู้เยรน่ือตง์แรงเสียดทานสามารถ นคาํ วไาปมใชร้เูป้ รร่อื ะงโแยรชงเนส์ใยี นดชทวี าติ นปสราะมจาาํ รวถัน ไนดำ้ เไมปือ่ ใชมป้ีแรรงะทโยกี่ ชรนะใ์ทนําชตวี ่อติ วปัตรถะุโจดำยวไันม่ ผไา่ดน้ เศมูน่ือยมก์ีแลรางทงมกี่ วรละขทอำตงว่อัตวถตั ุถจโุ ะดเยกไดิ ม่ โผม่าเมนนศตูนข์ยอก์ งลแารงงมวทลําขใอหง้ววัตตั ถถหุ ุ จมะุนเรกอดิ บ ศขตตโวโเขเหแสขลสโขเวแเหหตโขตศดมัตรออาอง้ัู่นขลลมมตั็มรออา่น้งั่อูนยลมเงฉมถงงว�ม่นายเเม�มงถนงงวาโหยุนมมแแาาุจัตยนคก์หมนแแาาุจตัยา์กกครรรนนละสถกลวารลรรเโะตสถฬงงถลกวาอตตมดวุ่ก�ถางงกาาอใเ่วุก์ขานายกิับ์ขข์ในยเมปนยบันงนยบั�กนยมปบัองนชาาํมแออ่ใูโรทช็นตำทรามแ่ใูทรงน็นจรไมทนเู้นงงวนไจะนข์ีใ่ผปนวแเู้ศิระใ่ีะปเผแแสชศิลดิระยวสอลิดมช่ือลรวยตใมลรรอื่ภให้ตขปแมชะภงข้หปงนแงคะชางงขีคงาาอรมลทอ้แีขรโาอรมมทลณูรตอ้โนมมณูพงทะงกัรีคพนองมาะงกัีคเข์อาวเาเขงขกสวำกงา่กาเกขเสขงมกอา่กเตใดมมจอใตัม็อเดมมจาอแอมเ�มนางนแปหัเปอ่ืนางถรนบเาือ่ดงบบแรทดถนทบทต้วน็กแโผกตน็ุนแโผาุลดรุนลุดบ่าามัตบศิ์ขรา่มจศลจข์รฬศน้ังลตว้�กตว้นั้แกงเถอทุดแเงในุดรอนูมรยิกอ่ยมทบัอ่นก�ลบัหุทงโลวหวหวงูยอนโยอากมนก่ีกโาแะทมโมกี่แะนมมม์มม์ปุปุมตาาเรตรขิศุนรรขเขขมนุนรเรงกเข์กะม์ขงะอทมอรมออนหไุไทอรรอนทองปงปนวงงนตมณณงงําตำบนตต์นุ ์์์ ์์ ปปรระะดดษิ �ิ ฐ�ข์ ์ขอองงเเลลน่ น่ ไไดด้้ ววตััตถถทุทุ ม่ีมี่ ีมีมววลลจจะะมมีี สสนนาามมโโนนม้ ้มถถว่ ว่ งงออยยู่โูโ่ ดดยยรรออบบ แแรรงงโโนน้ม้มถถ่ว่วงงทท่ีกี่กรระะททําำตต่ออ่ ววัตัตถถุททุ ี่อี่อยยู่ใู่ในน สสนนาามมโโนน้มม้ ถถว่ ว่ งงจจะะมมทีที ศิิศพพงุุ่ง่ เเขข้า้าหหาาววัตัตถถุุ ททีเ่ ่เีปป็นน็ แแหหลลง่ ง่ ขขอองงสสนนาามมโโนน้มม้ ถถ่ว่วงง ววัตัตถถทุุท่ี่ี มมีปปี รระะจจไุ ุไฟ�ฟ�า้ า� จจะะมมสี ีสนนาามมไไฟ�ฟ�้าา� ออยยูู่่ โโดดยยรรออบบแแรรงงไไฟ�ฟ�า้ า� ทท่กี ่ีกรระะททําำตตอ่อ่ ววตััตถถทุุท่ี่ี มมปี ปี รระะจจจุ ุจะะมมที ที ศิ ิศพพุ่งงุ่ เเขข้าา้ หหาาหหรรอือื ออออกก จจาากกววตั ัตถถุทุทมี่ ีม่ ปี ีปรระะจจุทุที่เปน็ แหลง่ ข่ อง

ถ หนว่ ยที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำค�ั เวลา นำ้ หนกั /ตัวชว้ี ดั /ความคิดรวบยอด (ชวั่ โมง) ค��นน สนามไ���า วตั ถุท่ีเป็นแม่เหลก� จะมี สนามแมเ่ หล�กอยู่โดยรอบ แรงแมเ่ หล�กทกี่ ระทำต่อขัว้ แมเ่ หลก� จะมที ศิ พงุ่ เขา้ หาหรอื ออกจาก ขั้วแมเ่ หล�กท่เี ปน็ แหล่งของ สนามแม่เหลก� ขนาดของแรงโน้ม ถว่ ง แรงไ��า� และแรงแม่เหลก� ที่ กระทำต่อวัตถทุ อี่ ยูใ่ นสนามนนั้ ๆ จะมีคา่ ลดลง เมื่อวตั ถอุ ยหู่ า่ งจาก แหลง่ ของสนามน้นั ๆ มากข้ึน การ เกคาลร่อืเคนลทอ่ื ขี่ นอทงข่ีวอัตงถวเุ ปตั ถ็นเุกปาน็ รกเปารลเ่ียปนลย่ี น ตำแหน่งของวตั ถเุ ทียบกับตำแหนง่ อา้ งองิ โดยมีปริมาณทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การเคลื่อนทีซ่ ่ึงมีทั้งปริมาณสเกลาร์ และปริมาณเวกเตอร์ เชน่ ระยะทาง อัตราเรว� การกระจดั ความเรว� ปรมิ าณสเกลาร์ เปน็ ปรมิ าณที่มี ขนาด เชน่ ระยะทาง อตั ราเร�ว ปริมาณเวกเตอรเ์ ปน็ ปริมาณท่มี ีทง้ั ขนาดและทิศทาง เช่น การกระจดั ความเรว� เขยี นแผนภาพแทน ปริมาณเวกเตอร์ได้ด้วยลูกศร โดยความยาวของลูกศรแสดงขนาด และหวั ลูกศรแสดงทิศทางของ เวกเตอรน์ นั้ ๆ ระยะทางเป็น ปรมิ าณสเกลาร์ โดยระยะทาง เปน็ ความยาวของเสน้ ทางที่เคลือ่ นที่ ได้ การกระจดั เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ โดยการกระจดั มที ิศชี้จากตำแหนง่ เร่มิ ตน้ ไปยงั ตำแหน่งสดุ ท้ายและมี

ท หนว่ ยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ �าร��ำคั� เวลา นำ้ หนกั /ตัวชว้ี ัด /ความคิดรวบยอด (ช่วั โมง) ค��นน ขนาดเทา่ กับระยะท่ีสน้ั ทส่ี ุดระหว่าง รวม สองตำแหนง่ นัน้ อตั ราเรว� เปน็ 60 100 ปรมิ าณสเกลาร์ โดยอัตราเรว� เป็น อัตราส่วนของระยะทางต่อเวลา �วามเร�วปริมาณเวกเตอรม์ ีทิศ เดยี วกบั ทศิ ของการกระจดั โดย �วามเรว� เปน็ อัตราส่วนของการ กระจดั ตอ่ เวลา

1 ว22101 สารละลายประกอบด้วยตัวทำ�ละลายและ สารที่มีปริมาณมากที่สุดจัดเป็นตัวทำ�ละลาย กรณี สารละลายที่ สภาพละลายได้ของ ณ ความสามารถในการละลายได้ของตัวละลายใน อุณหภูมิ และ และสารต่างชนิดันมีสภาพ ของสารจะเพิ่มขึ้น โดยเมื่อความดันเพิ่มขี้น

2 100 หน่วยปริมาตรเดียวกันนิยมใช้กับ 100 หน่วย เปน็ การระบมุ วลตวั ละลายใน ละลายที่เป็นของเหลว ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของ ตวั ท�ำ ละลาย สารท่ีมปี ริมาณ สารท่ีมสี ถานะ ละลายเป็นกรัมใน

3

4

นำ้� น้�ำ 5

6

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 สารละลาย แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1 เวลา 2 ชว่ั โมง กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เรอื่ ง สารละลาย รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ จากการทดลอง นำ�้ เชอ่ื มจะมี ตะกอนสนี �ำ้ ตาลออ่ นเหลืออยู่ และน้ำ� อัดลมมีตะกอนละเอยี ดสี ขาวเหลอื อยู่ แต่ยงั ไม่ไดต้ รวจสอบวา่ ตวั ท�ำละลายหรอื นำ�้ ท่รี ะเหยไปมีอะไรปนอยดู่ ว้ ยหรือไม่ หรอื ตะกอนท่ีเหลอื อาจจะมีสารมากกว่า 1 ชนดิ ) - ในกรณีที่น�ำสารตวั อยา่ งมาระเหยแห้งบนจานหลุมโลหะแลว้ พบว่าไม่เหลอื สารใดๆ จะ สรุปว่า สารตัวอยา่ งมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียวได้หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ( ถา้ สารตัวอยา่ ง ระเหยแห้งบนจานหลุมโลหะหมดโดยไม่มีสารใดๆ เหลอื อย่เู ลย ยังสรปุ ไมไ่ ด้ว่ามี องคป์ ระกอบเพียงชนิดเดยี ว เพราะสารตัวอย่างนน้ั อาจประกอบดว้ ยสารชนิดเดยี ว หรอื หลาย ชนิดท่ีระเหยงา่ ยเม่ือไดร้ ับความรอ้ น เช่น แก็สหรอื ของเหลว เม่อื น�ำไประเหยแห้ง จะไม่มสี าร ใดๆ เหลือเลย) - ถา้ น�ำดนิ มาผสมกบั นำ�้ จะเป็นสารผสมประเภทใด เพราะเหตุใด ( ถา้ น�้ำดินมาผสมกบั น�ำ้ จะ เปน็ สารผสมประเภทสารเนอื้ ผสมทไ่ี มเ่ ป็นเนอ้ื เดียวกัน เพราะ ดินไมล่ ะลายน้ำ� หรอื ละลายได้ น้อยมาก ซึง่ เมือ่ ผสมกันจะไดข้ องเหลวขุ่นหรือนำ้� โคลน เมอื่ ทิ้งไวจ้ ะ ตกตะกอนนอนกนั และ สามารถแยกดนิ ออกจากน�้ำได้โดยการกรอง) - สมบัติของตัวท�ำละลายและตัวละลายมีผลต่อการละลายของสารหรือไม่ อย่างไร ( สมบัติของ ตวั ท�ำละลายและตัวละลายมีผลต่อการละลายของสาร สารบางอยา่ งไม่ละลาย ในน้ำ� เย็น แต่ ละลายในน�ำ้ รอ้ น เช่น เครื่องดม่ื ซองหรอื ชากาแฟบางชนดิ ทตี่ ้องผสมน้ำ� ร้อนในการ ดม่ื สาร 7

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 สารละลาย แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เวลา 2 ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 เรื่อง สารละลาย รายวิชา วิทยาศาสตร์ บางอยา่ งละลายในนำ�้ แต่ไม่ละลายในน้ามัน เช่น น้ำ� ตาลทราย สมบตั ิเหลา่ นีจ้ งึ นาไปใช้ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน) ขั้นสรปุ จากผลการท�ำกิจกรรม แสดงวา่ น�ำ้ เชอื่ ม นำ้� เกลอื น�้ำอดั ลม มอี งค์ประกอบมากกวา่ หนึง่ ชนิด ประกอบด้วย ตวั ท�ำละลายซึ่งเป็นน�ำ้ ระเหยไป และตวั ละลายเป็นของแข็งอย่างนอ้ ย หน่งึ ชนดิ สรุปไดว้ า่ สารละลายเปน็ สารผสม ประกอบดว้ ย 2 ส่วนคือ ตวั ท�ำละลายที่มีปรมิ าณ มากที่สุดในของผสม และตัวละลายท่ีอาจมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก็สได้ เช่น สารละลายน�้ำเกลือ มีน�้ำ (มปี รมิ าณมาก) เปน็ ตวั ทาละลาย และเกลอื มสี ถานะของแขง็ (มปี ริมาณนอ้ ย) เป็นตัวละลายน้�ำอดั ลมมีน�ำ้ (มปี รมิ าณมาก) เปน็ ตวั ท�ำละลาย และแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ (มีปริมาณน้อย) เป็นตัวละลาย ทองเหลืองมีทองแดงมีสถานะของแข็ง (มปี ริมาณมาก) เปน็ ตัวท�ำละลาย และสงั กะสีมีสถานะของแข็ง (มปี รมิ าณน้อย) เปน็ ตัวละลาย ครูอธิบายเพิ่มเติมวา่ การให้ความรอ้ นแกส่ ารละลายจนของเหลวระเหยกลายเป็นไอแห้งหมด ใช้ตรวจสอบ องค์ประกอบของสารละลายได้ เป็นวิธีแยกสารโดยให้ความร้อน เรียกว่า การ ระเหยแห้ง เป็นวิธีที่ใช้ตรวจสอบ ได้ดีกับตัวละลายที่เป็นของแข็ง 8

9 การวดั และประเมนิ ผล สิ่งท่ีต้องการวัด/ประเมนิ วธิ กี าร เคร่ืองมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ - ประเมินการตอบคาถาม - ใบงานท่ี 1.1 นกั เรยี นทาถูก 1. เขา้ ใจชนดิ ตวั ละลาย ในใบงานที่ 1.1 - ใบกิจกรรมท่ี 1.1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ชนดิ ตวั ทาละลายอณุ หภูมิที่ - ประเมนิ จากการตอบ ขนึ้ ไป มตี อ่ สภาพละลายได้ของสาร คาถามในใบกิจกรรมท่ี 1.1 นักเรยี นตอบคาถาม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป 1. ทักษะการลงความเห็น - ประเมินการแสดงความ - แบบสงั เกต ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ 2 ข้อมลู คิดเหน็ - แบบประเมนิ ทุกรายการข้ึนไป คณุ ลกั ษณะ ถอื วา่ ผ่าน 2. ทกั ษะการจาแนกประเภท 3. ทกั ษะการต้ังสมมตฐิ าน ด้านคณุ ลกั ษณะ 1. มีวนิ ยั - สังเกตพฤตกิ รรม 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

10

11 ใบกจิ กรรมท่ี 1.1 องคป์ ระกอบของสารละลาย หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง สารละลาย รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว22101 ภาคเรียนที่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 วนั ............เดือน..................................พ.ศ................... กลุ่มท.ี่ ...............................................ชนั้ ..................... ชอ่ื สมาชกิ กลมุ่ ............................................................ .................................................................................... ..................................................................................... จุดประสงค์การทาการทดลอง 1. ทดลองและอธิบายองค์ประกอบของสารละลาย 2. อธบิ ายวิธีตรวจสอบองค์ประกอบของสารละลาย คาถามก่อนทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… …………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………… สมมติฐาน ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… …………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………… ตวั แปรต้น(ตัวแปรอสิ ระ) ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… …………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………… ตวั แปรตาม ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… …………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………… ตวั แปรควบคุม ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… …………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………

12 อุปกรณแ์ ละสารเคมี สารเคมี 1. นา้ 2. นา้ เชือ่ ม 3. น้าเกลอื 4. นา้ โซดา 5. นา้ อดั ลมที่ไม่เจอสี 3. คมี คบี โลหะ 6. น้าสม้ สายชู อปุ กรณ์ 1. จานหลุมโลหะ 2. ตะเกยี งแอลกอฮอล์พรอ้ มท่ีกน้ั ลม 4. หลอดหยดสาร ข้นั ตอนการทาการทดลอง 1. สังเกตลักษณะและระบุองคป์ ระกอบของ น้า น้าเกลอื นา้ เช่อื ม นา้ โซดา น้าอดั ลมท่ีไม่เจือสี น้าสม้ สายชู แลว้ บันทึกผลลงในตารางผลการทดลอง 2. นาของเหลวทัง้ 5 ชนดิ ชนดิ ละ 1 cm3 (20 หยด) ใสล่ งในหลมุ โลหะ ชนดิ ละหลมุ 3. นาจากหลุมไปตง้ั บนตะเกยี งแอลกอฮอล์ 4. ใหค้ วามรอ้ นจนของเหลวระเหยแห้งไปหมด สงั เกตและบันทกึ ผลการเปลีย่ นแปลง ตารางบันทึกผลการทดลอง สาร องค์ประกอบ ลักษณะของเหลวที่สังเกตได้ ลกั ษณะท่ีสังเกตได้เมอ่ื ให้ ก่อนให้ความร้อนจนแหง้ ความร้อนจนแหง้ นา้ น้าเกลอื น้าเชื่อม นา้ โซดา น้าอัดลม นา้ ส้มสายชู อภปิ รายผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ สรปุ ผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. .................................................

13 คาถามท้ายการทดลอง 1. สิ่งท่ีเหลอื อยู่บนจานหลุมโลหะแต่ละหลมุ เหมอื นหรือต่างกันอยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. มสี ารอยูใ่ นหลุมทุกหลมุ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด .................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3. เราจะมีวธิ กี ารตรวจสอบองคป์ ระกอบของสารเหลา่ น้ไี ด้อย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ 4. ในกรณที น่ี าสารตัวอย่างมาระเหยแห้งบนจานหลมุ โลหะแล้วพบวา่ ไมเ่ หลือสารใดๆ จะสรุปวา่ สาร ตวั อย่างมีองค์ประกอบเพยี งชนดิ เดียวได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ 5.ถ้านาดนิ มาผสมกับนา้ จะเป็นสารผสมประเภทใด เพราะเหตุใด ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 6.สมบัตขิ องตัวทาละลายและตัวละลายมีผลตอ่ การละลายของสารหรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................... ........................

14 ใบงาน องค์ประกอบของสารละลาย สารบรสิ ุทธ์ิ (pure substance) จัดเปน็ สารเนอ้ื เดยี วท่ีมีองค์ประกอบเพยี งชนดิ เดยี วเทา่ นนั้ และมี องค์ประกอบทางเคมีที่แน่นอน สารบริสทุ ธจ์ิ ะมีสมบัตทิ างเคมีและทางกายภาพเฉพาะตวั สารละลาย(solution) จัดเป็นของผสมเนื้อเดยี ว มีองค์ประกอบต้งั แต่สองชนิดข้ึนไปมาผสมกัน ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งสารบริสุทธ์ิกบั สารละลาย ส่งิ เปรยี บเทียบ สารบริสทุ ธ์ิ สารละลาย 1. จานวนชนิดของสาร มีสารเพียงชนดิ เดยี ว มีสารมากกว่าหนง่ึ ชนิด 2. จดุ เดือด 3. จุดหลอมเหลว คงที่ ไม่คงท่ี 4. จุดเยอื กแขง็ คงท่ี ไม่คงที่ 5. ความหนาแน่น คงท่ี ไมค่ งท่ี คงที่ แปรเปลีย่ นไดข้ น้ึ อยูก่ บั ความ เขม้ ข้นสารละลาย แบบทดสอบ องคป์ ระกอบของสารละลาย จงพิจารณาว่าสารใดต่อไปน้เี ป็นสารละลาย หรือสารบริสุทธ์ิ ลาดบั สารเน้อื เดียว สารบรสิ ุทธ์ิ สารละลาย ลาดบั สารเนื้อเดยี ว สารบรสิ ทุ ธิ์ สารละลาย 1 นา้ อดั ลม 11 นาก 2 นา้ มนั พืช 12 ดีบกุ 3 น้ากลน่ั 13 สงั กะสี 4 น้าเกลือ 14 กามะถัน 5 โซเดยี มคลอไรด์ 15 สารหนู 6 นา้ เช่อื ม 16 นา้ มันเบนซนิ 7 นา้ ตาลทราย 17 น้ามนั ดีเซล 8 ทองเหลือง 18 แก๊สหุงต้ม 9 ทองแดง 19 น้าสม้ สายชู 10 เหรยี ญบาท 20 ฟิวส์

15

16

ครกู ระตนุ้ ให้นกั เรียนสนใจอยากเรียนรู้ตอ่ ว่า สารละลายแตล่ ะชนดิ มสี ภาพการ ละลายไดด้ ีเหมือนกันหรือไมอ่ ย่างไร 17

18

ตวั ท�ำ ละายตา่ งชนดิ กนั ใชใ้ นการออกแบบการทดลองและน�ำ เสนอการออกแบบ การทดลองน้ัน 19

20

21

22 รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว22101 ภาคเรยี นที่ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

23

24

ตวั ทำ�ละลายและตัวลลาย อุณหภูมิ และความดัน 25


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook