Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารการผลิตและการดำเนินงาน

การบริหารการผลิตและการดำเนินงาน

Published by yuipothong, 2019-04-22 08:54:07

Description: พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2560
พิมพ์ครั้งที่ 2 มิถุนายน 2561

Keywords: Production and Operation Management

Search

Read the Text Version

79 การวางผังแบบใดแบบหนึ่งโดยเฉพาะ แต่มักจะเป็นรูปแบบท่ีใช้การผสมผสานเป็นส่วนใหญ่ ตัวอย่างเช่น สถานประกอบการส่วนใหญ่จะใช้ระบบการวางผังโรงงานแบบผสมกล่าวคือ ในแผนก ซ่อมบารุง (Maintenance Engineer) แผนกงานหล่อ งานเช่ือมทาแบบหล่อ (Mole Maintenance) จะวางผังเปน็ แบบตามกระบวนการผลิต (Process Layout) ส่วนแผนกผลิตช้ินงานหรือหล่อช้ินงานจะใช้ วิธกี ารวางผงั โรงงานแบบตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (Product Layout) ส่วนแผนกผลิตช้ินงานหรือหล่อ ชิ้นงานจะใช้วิธีการวางผังโรงงานแบบตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (Product Layout) การวางผังแบบ ผสมผสานนัน้ ยังแบง่ ยอ่ ยไดเ้ ป็นสามประเภทดังนี้ 1) การวางผังแบบเซลล์ (Cellular Layout) นักวิชาการ Russell & Taylor (2011) Choobineh (1998) และ Francis & White (1992) ได้กล่าวถึงการออกแบบผังชนิดน้ีว่าเป็น ลักษณะของสายการผลิตท่ียากและซับซ้อนกว่าการวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) และ การวางผังตามกระบวนการผลิต (Process Layout) หากจะเปรียบเทียบกับแบบ Process Layout จะเสมือนหนึ่งเซลล์ (Cell) เดียวของ Cellular เท่านั้น เป็นลักษณะการจัดวางแบบรังผึ้ง การวางผัง ในรูปแบบน้ีมีการใช้หลักการรวมกลุ่มเทคโนโลยีคล้ายคลึงกันเข้าไว้ด้วยกัน หรือที่เรียกว่า Similar parts are grouped into Family เชน่ ฝาุ ยโรงงานมีการผลิตชิ้นส่วนหลายแบบและช้ินส่วนงานหรือ อะไหล่บางส่วนที่คล้ายกัน แล้วนามาจัดวางเป็นกลุ่มเสียใหม่ลงในขอบเขตท่ีแบ่งสัดส่วนของพื้นท่ีไว้ หรือเรียกว่าเซลล์หรือ ส่วนเครื่องจักรขนาดใหญ่แยกลงเซลล์ไม่ได้ก็วางไว้ใกล้เซลล์น้ัน ของบางอย่าง รวมกนั ไม่ไดด้ ้วยเพราะมีขนาดทใ่ี หญห่ รือเล็กแตกต่างกันและเมื่อเข้าสู่กระบวนการผลิตต้องใช้ร่วมกัน เราก็วางไว้ใกล้กัน ข้อดีของการวางผงั แบบเซลล์ 1. ลดเวลาเคลือ่ นย้ายสินคา้ ระหวา่ งผลิต 2. ลดระยะทางระหว่างเครอื่ งจักร 3. ลดระยะเวลาการติดตงั้ เครอื่ งจงึ ง่ายต่อการพฒั นาใหเ้ ปน็ ไปในระบบอตั โนมตั ิ 4. ประหยดั เน้อื ท่ี ขอ้ เสยี ของการวางผังแบบเซลล์ 1. ถา้ หากมคี วามประสงค์จะร้ือระบบใหมจ่ าเป็นต้องลงทุนเพมิ่ 2. ค่าใช้จา่ ยดา้ นฝึกอบรมสูงเพราะฝกึ ฝนใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิการเกดิ ทักษะ 3. การจัดสายงานมคี วามยุ่งยากซบั ซ้อน 2) การวางผังแบบยืดหยุ่นกระบวนการทางาน (Flexible Manufacturing System) หรือเรียกย่อว่า FMS ซึ่งเป็นการช่วยให้มีการพัฒนาระบบการทางานท่ีดี เป็นการเพ่ิม ประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึนและก่อให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลในที่สดุ การวางผังแบบยืดหยุ่นกระบวนการทางานนี้ จะมีประโยชน์อย่างย่ิงเพราะจะช่วยให้การทางานท่ีด้อยให้ดีข้ึนสามารถขจัดปัญหาการรองาน ลด ความสญู เสียท้งั เจด็ ประการตามทไ่ี ดก้ ล่าวมาแล้วในตอนตน้ ของบทท่ี 3 น้ี เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนข้ึน ผเู้ ขียนได้ขอนาเสนอการอธบิ ายด้วยภาพเนื่องจากผู้เรียนหรือแม้แต่ผู้เขียนเองย่อมมีโอกาสน้อยมากที่ จะได้ขออนุญาตเขา้ เย่ียมชมฝาุ ยโรงงานของสถานประกอบการแต่ละแห่งได้ จึงขอนาเสนอไว้ในภาพที่

80 3.11 และภาพท่ี 3.12 ตามลาดับ สาหรับในภาพที่ 3.12 นั้น ด้านซ้ายจะเป็นการวางผังท่ีไม่ดี สว่ นภาพดา้ นขวาเปน็ การวางผงั ทดี่ ี ภาพที่ 3.11 ตัวอยา่ งวางผังแบบยืดหยนุ่ ทดี่ ี (Better) และไม่ดี (Bad) ทมี่ า : Chase, Aquilano & Jacobs (2001 : 187)

การวางสายการผลิตทไี่ มม่ ีประสิทธภิ าพ 81 การวางสายการผลติ มีประสิทธิภาพ ท่ีมา : http://vindaci.members.sonic.net, ท่มี า : http://www.quasar-eng.com [2559,กรกฎาคม 27] [2559, กรกฎาคม 23] ท่ีมา : http://www.tsuntattoy.com [2559, ท่ีมา : http://www.leg.state.nv.us [2559, กรกฎาคม 26] กรกฎาคม 24] ทม่ี า : http://www.pcstats.com [2559, ทม่ี า : http://www.wlline.com [2559, กรกฎาคม 20] กรกฎาคม 22] ภาพที่ 3.12 ภาพตัวอย่างการวางสายการผลติ ท่ีมปี ระสิทธภิ าพและไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ ที่มา : ดัดแปลงจาก Chase, Aquilano, Jacobs, 2001 : 187)

82 3) การวางผังแบบแบบจาลองสายการผลิตแบบผสม (Mixed-model Assembly Line) หรือเรียกว่า แบบจาลองสายการผลิตแบบผสมเป็นการจัดวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) รว่ มกบั การวางผังตามกระบวนการผลิต (Process Layout) เพื่อสะดวกในการไหลเวียนของ งานอกี ทงั้ ยังมีประสทิ ธภิ าพในการสื่อสารข้อมลู ตา่ ง ๆ เป็นต้น 3.4 หลกั เกณฑ์ในการวางผังของสถานประกอบการ มีปัจจัยสิบประการที่จะทาให้การวางผังโรงงานเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็น ลักษณะของผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต ลักษณะของงาน ซ่ึงแต่ละโรงงานอาจจะไม่เหมือนกัน แต่ เพ่อื ให้การวางผังโรงงานออกมาเหมาะสมกบั ธรุ กจิ และสามารถสรา้ งประสิทธิภาพให้กับการผลิตได้น้ัน ควรพิจารณาหลักเกณฑ์ คือ “ช่องทางคล่องตัวสูงสุด จุดประสานงานดี มีเนื้อที่คุ้มค่ากับการใช้งาน มองผ่านได้มากที่สุด จุดเข้าถึงทาได้ง่าย หยิบจับสบายเพราะระยะทางส้ัน สาหรับการเคล่ือนย้ายน้ัน นอ้ ยท่สี ุด หยุดไตรต่ รองเรอื่ งสภาพแวดล้อมในการทางาน ผสมผสานการรักษาความปลอดภัย และใส่ ใจการเคลื่อนย้ายวตั ถุทางเดยี ว” โดยทั้งสิบประการมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 3.4.1 ความคล่องตัวสูงสุด (Maximum flexibility) ผังของสถานประกอบท่ีดีควรให้ ความคล่องตัวท้ังในด้านกระบวนการผลิต การเคลื่อนย้าย ขนส่งวัตถุดิบหรือสินค้า ซึ่งการออกแบบ การทางานควรให้มคี วามคลอ่ งตวั ในการดาเนนิ งานและสามารถเข้าถึงไดง้ ่ายแสดงไว้ในภาพท่ี 3.13 ภาพท่ี 3.13 บรเิ วณอาคารทีอ่ อกแบบให้มีความคล่องตวั ในการดาเนนิ งาน ที่มา : เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.burohappold.com [2559, มถิ นุ ายน 23]

83 3.4.2 การประสานงานดีที่สุด (Maximum Coordination) การวางผังโรงงานต้อง คานึงถึงการประสานงานระหว่างแผนกหรือระหว่างหน้าท่ี ต้องสามารถประสานงานได้อย่างรวดเร็ว และคล่องตัวเพ่ือมใิ ห้เกิดความล่าช้าและเกิดข้อผิดพลาดในการประสานงาน ดังนั้นแผนกที่ต้องติดต่อ ประสานกนั บ่อยจงึ ควรจดั ให้อยู่ใกลก้ นั เพอ่ื ใหส้ ะดวกในการติดต่อประสานงานดงั ภาพที่ 3.14 ภาพท่ี 3.14 การวางผงั สานกั งานเป็นหมวดหม่เู พ่อื สะดวกในการประสานงาน ทมี่ า : เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.cdc.gov.tw [2559, มถิ นุ ายน 25] 3.4.3 ใช้เนื้อที่ให้เกิดประโยชน์มากท่ีสุด (Maximum Use of Volume) นักบริหาร การผลิตตลอดจนผู้ดาเนินงานด้านการปฏิบัติควรคานึงถึงประโยชน์ของพื้นท่ีใช้สอย ตลอดจนส่ิง อานวยความสะดวกที่ได้รับการออกแบบและจัดวางไว้ในบริเวณหรือในจุดบ่งชี้ท่ีเหมาะสมไม่คว รวาง ผังโรงงานโดยมีเน้ือท่ีปล่อยว่างที่ไม่เกิดประโยชน์โดยเฉพาะบริเวณมุมอาคารซึ่งเป็นจุดท่ีมักจะสูญ เปล่าไปโดยไม่เกิดประโยชน์ ผู้จัดการฝุายโรงงานอาจให้ฝุายวิศวกรออกแบบเป็นช้ันวางสาหรับ จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ ให้จัดวางได้ทั้งแนวนอนและแนวต้ังจึงจะถือได้ว่าเป็นการใช้พื้นท่ีได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพที่สุดหรืออาจแบ่งบรเิ วณโดยใช้ระดบั สีเป็นตัวแบ่งวัสดุอุปกรณ์ท่ีเป็นอันตรายไว้ในกลุ่มที่ แยกส่วนมิดชิดและจัดทาปูายบ่งช้ีระบุถึงโทษ อันตรายหรือวิธีการใช้หรือช่วงระยะเวลาที่หมดอายุ เป็นตน้

84 ภาพที่ 3.15 ผังโรงงานที่คานงึ ถึงประโยชนข์ องพ้นื ทใ่ี ชส้ อย ที่มา : เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.steveharoz.com [2559, มิถนุ ายน 13] จากภาพที่ 3.15 ผู้ดาเนินงานด้านการปฏิบัติควรคานึงถึงประโยชน์ของพื้นท่ีใช้สอยท้ังน้ีก็ เพอ่ื ให้มกี ารใชเ้ นอื้ ทีใ่ ห้เกดิ ประโยชนม์ ากทีส่ ุด 3.4.4 มองเห็นได้มากที่สุด (Maximum Visibility) ในโรงงานท่ีดีจะต้องสามารถมอง เหน็ ผปู้ ฏบิ ัตงิ านหรือเคร่ืองจักร เครื่องมือต่างๆ ได้ทุกจุดทุกขณะเวลา ไม่ควรมีจุดอับ หรือไม่สามารถ มองเห็นได้ชัดเจน เนื่องจากอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อการดาเนินงานได้ โดยเฉพาะทางเล้ียว ทางโค้ง บริเวณที่เปน็ กระจกใส เปน็ ตน้ 3.4.5 เข้าถึงได้ง่ายที่สุด (Maximum Accessibility) ตาแหน่งต่าง ๆ ภายในฝุายโรงงาน ของสถานประกอบการจะต้องสามารถเขา้ ถึงได้ง่ายและรวดเร็ว โดยเฉพาะในจุดที่จาเป็นต้องซ่อมบารุง บอ่ ย หรือแผงสวติ ซ์บอร์ดไฟฟูา 3.4.6 ระยะทางส้ันท่ีสุด (Minimum Distance) สาหรับการวางผังโรงงานที่ดีควร คานึงถึงระยะทางในการเคลื่อนย้ายควรสั้นท่ีสุด ซ่ึงจะเป็นการประหยัดท้ังในเร่ืองของเวลาการขนส่ง แรงงาน เครื่องจกั รรวมไปถงึ ตน้ ทนุ การขนสง่ 3.4.7 การเคลือ่ นย้ายน้อยที่สุด (Minimum Handling) ในการวางผังของโรงงานนั้นควรจัด ให้มีลักษณะต่อเนื่อง มีการเคลื่อนย้าย ขนส่งน้อยที่สุด โดยเฉพาะใช้แรงงานคน ควรหลีกเลี่ยงไปใช้ เคร่ืองจกั รหรอื อุปกรณใ์ นการเคล่อื นย้ายแทนเพ่ือประสทิ ธภิ าพในการผลิต 3.4.8 สภาพแวดล้อมการทางานท่ีดีที่สุด (Maximum Comfort) สาหรับสภาพแวดล้อม ในการทางานมีผลต่อประสิทธิภาพของงานโดยสภาพแวดล้อมการทางานท่ีดีจะต้องมีแสงสว่าง เพียงพอ ปราศจากฝุนละออง อากาศถ่ายเทสะดวก ปราศจากเสียงรบกวน อุณหภูมิพอเหมาะ ไม่มี กล่ินเหมน็ ปราศจากการส่ันสะเทือน 3.4.9 ความปลอดภัย (Maximum Safety) ในเรื่องของการวางผังโรงงานน้ันมีความจาเป็น ท่ีจะต้องคานึงถึงเร่ืองความปลอดภัยในการทางาน เช่น ตาแหน่งของเครื่องจักร ตาแหน่งของเครื่อง

85 กาเนิดความรอ้ น วัตถุไวไฟ วัตถุที่ติดไฟง่าย รวมไปถึงทางโรงงานจะต้องมีอุปกรณ์หรือสัญญาณเตือน อันตรายตา่ งๆ พร้อมอปุ กรณ์ดับไฟ 3.4.10 เคลื่อนย้ายวัสดุทางเดียว (Unidirectional Flow) ส่ิงที่ควรมีในการจัดระบบ จราจรในโรงงานไม่ให้เกิดการติดขัด โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายขนส่งวัตถุดิบและสินค้าสาเร็จรูป จึง ควรกาหนดให้เปน็ ทิศทางเดียว ดังภาพที่ 3.16 ภาพท่ี 3.16 การเคลื่อนย้ายวัตถทุ างเดียว ท่ีมา : เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.ielc-libya.com [ 2559, มถิ ุนายน 12] ในการวางผงั โรงงานเป็นข้ันตอนท่ผี บู้ ริหารโรงงานจะวางผังโรงงาน จากการสร้างโรงงานใหม่ หรือวาง ผังโรงงานอาคารท่ีสร้างไวแ้ ล้ว หรือเป็นการขยายโรงงาน นักบริหารการผลิตและดาเนินงานควรเลือก วิธีปฏบิ ตั ใิ หเ้ หมาะสมกับสถานการณแ์ ละประเดน็ ปัญหาแตล่ ะกรณี ดงั นี้ 3.5. ขัน้ ตอนการวางผังสถานประกอบการเบ้ืองตน้ Russell & Taylor (2011) และ Sule (1994) กล่าวถึงการออกแบบการวางผังโรงงาน เบ้ืองต้น จะต้องพิจารณาถึงการขนย้ายวัสดุและพื้นที่บริเวณท้ังภายในและภายนอกโรงงาน อุตสาหกรรม สาหรับบริเวณภายนอกจะต้องกาหนดบริเวณท่ีต้ังของโรงงาน สนามหญ้า ถนน ที่จอด รถ สถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ โกดังเก็บของหน่วยบริการอ่ืน ๆ และหน่วยขนส่งตลอดจนสิ่งอานวย ความสะดวกอ่ืน ๆ ส่วนสาหรับพื้นที่บริเวณภายในโรงงานก็จะต้องรู้ว่าจะแบ่งส่วนงานอย่างไร ติดต้ัง เครื่องมือบริเวณใด สว่ นไหนของตัวอาคารโรงงานจะทาอะไร การไหลเวียนของชิ้นงานเป็นอย่างไร ซึ่ง มีขอ้ ทีต่ อ้ งพิจารณา ดังน้ี 3.5.1 การขนย้ายวัสดุ (Material Handling) ในการวางผังควรออกแบบต้องวิธีท่ีจะทา ให้การขนย้ายวัสดุ (Material Handling) เป็นไปอย่างสะดวกท่ีสุดและการขนย้ายวัสดุที่ดีจะต้องให้

86 เป็นเส้นตรงสายการผลิตไม่ย้อนเส้นทางเดิม ปัจจุบันมีการประดิษฐ์เคร่ืองมือใหม่ ๆ สาหรับใช้ใน การขนย้ายวัสดุ ในการวางผงั การขนย้ายวัสดุ ผู้รับผิดชอบจะต้องเลือกเคร่ืองมือท่ีใช้ในการขนย้ายวัสดุ แบบใดและในอนาคตจะนาเคร่ืองมือแบบใดเข้ามาใช้ในการขนย้ายวัสดุ การวางผังเส้นทางการขนย้าย วสั ดุ จะต้องวางผงั ให้สอดคล้องกับเครื่องมือ เคร่ืองจักรในการขนย้ายวัสดุท่ีจะมาใช้ด้วย เช่น ลักษณะ เครอ่ื งขนยา้ ย ขนาดความกว้างและความสูง ทิศทางของการเคลื่อนท่ีดงั แสดงไว้ในภาพท่ี 3.17 ภาพท่ี 3.17 การใช้เครื่องจกั รช่วยในการเคลือ่ นย้ายขนสง่ วัตถุดิบ ท่มี า : เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.brownplanthire .com [2559, มิถนุ ายน 23] นอกจากนล้ี ักษณะของเครื่องมือเคร่ืองจักรทนี่ ามาใช้ในการขนย้ายนน้ั มดี ว้ ยกันหลายอยา่ ง คือ 1) ขนย้ายวัสดุเป็นหน่วย (A Unit Load System) เป็นการขนย้ายวัสดุเป็นหน่วย หรือเป็นชุดสาหรบั งานที่เส้นทางขนย้ายเปลี่ยนแปลงไปเร่ือย ๆ หรือเส้นทางขนย้ายวัสดุมีขนาดกว้าง ใหญ่พอ เครื่องมือที่นิยมใช้ขนย้ายวัสดุแบบเป็นหน่วย คือ รถยก (Froklift Truck) การขนย้ายวัสดุ โดยใช้รถยก (Forklift Truck) จะเปน็ การขนย้ายท่ีไม่ไกลเกนิ ไป เช่น อาจขนย้ายวัสดุจากโรงเก็บไปยัง แผนกต่างๆ ภายในโรงงาน แต่ถ้าเป็นการขนย้ายระยะทางไกลๆ ส่วนมากจะใช้รถบรรทุก รถไฟ รถ พ่วง ถ้าหากเป็นการขนย้ายไปต่างประเทศก็จะใช้ เรือขนส่งสินค้า ผ่านทางท่าเรือคลองเตย หรือไม่ก็ ใชเ้ คร่ืองบินลาเลยี ง 2) การขนย้ายโดยใช้สายพานลาเลียง (Conveyor Systems) การขนย้ายวัสดุ โดยใช้สายพานลาเลียงเป็นการขนย้ายชนิดหนึ่งท่ีนิยมกันมาก เน่ืองจากสามารถขนย้ายได้มากและขน ย้ายวัสดุเกือบตลอดเวลา โดยการขนย้ายแบบใช้สายพานลาเลียงนี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเส้นทาง ลาเลียง เช่น การลาเลียงกระป฻องอาหารท่ีบรรจุสาเร็จเรียบร้อย หรือสายพานลาเลียงในโรงงานผลิต รถยนต์ เปน็ ตน้ สาหรบั ตัวอย่างภาพสายพานลาเลียงคือภาพท่ี 3.18

87 ภาพท่ี 3.18 สายพานลาเลียงในโรงงาน ท่มี า : เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.igetweb.com [2559, มิถนุ ายน 24] 3) การขนยา้ ยวัสดุแบบแขวน (Overhead Handling Equipment) เปน็ ลักษณะ ของการขนย้ายวัสดุวิธีหนึ่งที่ใช้วิธีการขนย้ายวัสดุแบบธรรมดา ทาได้ไม่สะดวกเนื่องจากพื้นท่ีฝุาย โรงงานไม่เพียงพอ หรือวัสดุท่ีขนย้ายมีขนาดใหญ่จะเป็นการลาบากมากหรือทาไม่ได้ หากจะใช้วิธี การขนย้ายธรรมดา จึงจะต้องใช้วิธีขนย้ายวัสดุแบบแขวน (Overhead handling Equipment) เช่น การลาเลียงโครงข้างตัวถังรถยนต์ของโรงงานประกอบรถยนต์ ด้วยการลาเลียงโดยตู้บรรจุ (Containers) จากเรอื บรรทกุ ขึน้ ฝงั่ เป็นต้น เครื่องมือขนย้ายประเภทนี้นี้ ได้แก่ ป่ันจ่ันแขวน ดังภาพ ท่ี 3.19 ภาพท่ี 3.19 ป้นั จั่นแบบแขวน ทม่ี า : เข้าถึงไดจ้ าก http://www.rmutphysics.com [2559, มิถุนายน 25]

88 Meyers (2000) กล่าวถึงการเลือกใช้เคร่ืองมือขนย้ายวัสดุในฝุายโรงงานของสถาน ประกอบการนั้นจะต้องคานึงถึงลักษณะของเคร่ืองมือที่ออกแบบ ได้แก่ ชานชาลารับส่งของในโรงงาน กว้างขวางและสูงต่าแค่ไหน ความสูงของประตูโรงงาน เป็นอย่างไร คานสูงของเพดานโรงงาน ความ แขง็ แรงของตัวอาคารโรงงานในสถานประกอบการ ทั้งน้ีหมายรวมถึงการใช้กระแสไฟฟูาและลักษณะ ผังภายในโรงงานด้วย นอกจากนี้ยังมีจะมี ค่าใช้จ่ายในการขนย้ายวัสดุซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายท่ีสาคัญมาก ประการหนึง่ ซ่งึ จะตอ้ งพิจารณาหลักปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. เครอ่ื งมือดงั กล่าวจะต้องทาให้ค่าใชจ้ า่ ยในการขนย้ายวสั ดุต่าสดุ (Save Cost Transport) 2. เวลาในการขนยา้ ยวัสดลุ ดลง (Save Time) 3. ทาให้การขนสง่ เปน็ ไปด้วยความรวดเรว็ (Rapid Transport) 4. บริเวณโรงงานใช้ประโยชน์ดา้ นตา่ งๆ ได้มากขึน้ 5. ทาการขนย้ายไดง้ ่ายและมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ (Easy Transport) 6. ลดความเสียหายอนั เน่ืองมาจากการขนยา้ ย (Reduce Defect of Transportation) 7. การขนย้ายมคี วามปลอดภยั ต่อผู้ทีเ่ ก่ียวขอ้ งในการขนยา้ ยสงู (Safety) 3.5.2 การกาหนดพ้นื ท่ภี ายในโรงงาน 1) การกาหนดพื้นท่ีให้หน่วยการผลิตแต่ละหน่วย จะต้องพิจารณาถึงพ้ืนที่สาหรับ การติดต้ังเครื่องจักร จานวนเคร่ืองจักร ทางเดิน หน่วยซ่อมบารุง หน่วยบริการท่ีเก็บวัตถุดิบ สินค้า ระหว่างการดาเนินการผลิตและสินคา้ สาเรจ็ รปู แล้ว รวมทั้งพื้นที่สาหรับการติดต้ังอานวยความสะดวก ด้วย และการแสดงพ้นื ทีใ่ นแต่ละหน่วยควรเวน้ ช่องทางเดนิ ไว้ ดงั ภาพท่ี 3.20 อธบิ ายเพมิ่ ในขอ้ ตอ่ ไป ภาพที่ 3.20 การทางานกับเครือ่ งจักรและการเวน้ ชอ่ งทางเดนิ ทีม่ า : เข้าถงึ ได้จาก http://www.headlightmag.com [2559, มิถนุ ายน 22]

89 2) การกาหนดพน้ื ทีเ่ ปน็ ทางเดิน ทางเดินภายในโรงงาน (Plant Foot Bath) มีความสาคัญ มาก เน่ืองจากพนักงานระดับปฏิบัติการใช้ทางเดินเป็นเส้นทางการขนส่งวัสดุ การจัดทางเดินมีผลต่อ ประสิทธิภาพของโรงงาน ทั้งนี้เพราะการจัดพ้ืนทางเดินจะมีผลต่อเวลาในการขนย้ายวัสดุ ช่ัวโมงใช้ งานของเคร่ืองขนย้ายวัสดุ อายุของพนักงานระดับปฏิบัติการ ความปลอดภัยภายในโรงงานและ การเคล่ือนที่ของวัสดุ การกาหนดพ้ืนที่ไว้สาหรับเป็นทางเดิน จะทาให้เรามีพ้ืนท่ีท่ีสามารถใช้ใน การผลิตน้อยลง แต่ก็เป็นส่ิงที่จะต้องทาถ้าหากลดพ้ืนท่ีท่ีใช้เป็นทางเดินภายในลงจะทาให้เกิดปัญหา ในการขนย้ายวสั ดุ เพราะวสั ดบุ างอย่างเมือ่ บรรจุกล่องแล้ว อาจจะทาให้ไม่สะดวกในการขนย้าย และ จะเสียเวลามากในการเคล่ือนย้ายเส้นทางเดินแคบๆ แต่ถ้าใช้พื้นท่ีเป็นทางเดินมากเกินไปก็จะเสีย พื้นท่ีทใ่ี ชท้ างานและเม่ือมีทางเดินกวา้ งบางทีอาจจะปรับเป็นทเ่ี ก็บของได้ด้วย ดังรูป ประกอบทางเดิน แบ่งออกเป็นสองแบบ นั่นคือ ทางเดินหลักและทางเดินในแผนก สาหรับข้อมูลที่จาเป็นใน การพิจารณา กาหนดบริเวณทางเดินและความกว้างของทางเดิน ได้แก่ ระบบการขนย้ายวัสดุเป็น อยา่ งไร เคร่อื งจักรทใ่ี ช้ในการขนย้ายวสั ดแุ ละรัศมกี ารทางานมเี สน้ ทางเปน็ อย่างไร ประเภทของวัสดุท่ี จะใช้ขนย้าย จานวนวัสดุที่จะใช้ขนย้ายในแต่ละคร้ัง การขนย้ายจะขนย้ายแบบใด จะเป็นแบบทาง เดียวหรือแบบสวนทางกัน จานวนรอบของการขนย้ายมากน้อยอย่างไรในแต่ละวันและลักษณะของ การเคลอ่ื นที่ของวสั ดุ แนวต้งั แนวนอน เป็นต้น 3.6 การวางผงั สถานประกอบการอยา่ งละเอียด ประจวบ กล่อมจิตร (2555) กล่าวสรุปถึงการวางผังอย่างละเอียด ผู้วางแผนจะต้องกาหนด ปริมาณ สาหรับตดิ ตัง้ เครือ่ งจกั ร โต๊ะทางาน ช้ันวางเคร่ืองมือ ที่เก็บอุปกรณ์ช่วยในการผลิต ตลอดท้ัง จะต้องกาหนดบริเวณท่ีจะใช้เป็นทางเดินภายในโรงงานด้วย หลักการวางผังโรงงานอย่างละเอียดน้ัน ใช้หลักการเช่นเดียวกับ การวางผังโรงงานขั้นต้น เว้นแต่ในการวางผังโรงงานอย่างละเอียดโดยมุ่งถึง การวางผังในบรเิ วณย่อยๆ หรือในแผนกแตล่ ะแผนกเท่าน้ัน การวางผังโรงงานข้ันต้น ผู้วางผังจะวางผัง ก่อนลาดบั แรก เพื่อกาหนดกรอบขอบเขตภายในโรงงานทง้ั หมดอยา่ งครา่ วๆ ก่อน ต่อไปก็จะกาหนดลง ไปในรายละเอียดว่าในแต่ละแผนกน้ัน จะติดตั้งเครื่องจักรตรงไหน ทางเดินภายในแผนกจะผ่าน ตรงไหน กว้างใหญ่แค่ไหนซ่ึงท้ังหมดท่ีกล่าวมาน้ีเป็นการวางผังในแผนกหรือวางผังอย่างละเอียด เทคนิคการวางผังอย่างละเอียดนั้นนิยมใช้กันสามวิธีการ คือวิธีการวาดรูป และแบบแปลนโรงงาน (Drawing) วิธีสร้างแผ่นภาพจาลอง (Templates) และวิธีการสร้างหุ่นจาลอง (Models) โดยมี รายละเอยี ดดังน้ี 3.6.1. วิธีการวาดรูปหรือเขียนแบบแปลนโรงงาน (Drawing) รูปวาดหรือเขียนแบบ แปลนโรงงานเหมาะที่จะนามาใชก้ ับวางผังโรงงานแบบจัดตามกระบวนการผลิต (Process Layout) ซ่ึง ในการผลิตแบบนี้มักจะต้องใช้เคร่ืองจักรเคร่ืองมือจาเป็นจานวนมาก และบริเวณท่ีผลิตจะต้องมีพื้นที่ กวา้ งขวางเพียงพอ การวางผงั โรงงานโดยใช้วิธีการวาดรูปหรือเขียนแบบแปลนโรงงานซ่ึงจะใช้ได้ดีกับ การกาหนดพ้ืนที่ สาหรับวิธีการวางผังโรงงานโดยใช้วิธีวาดรูปหรือเขียนแบบแปลนน้ัน เร่ิมแรกผู้วางผัง จะต้องเตรียมผังซงึ่ วาดตามมาตราส่วนและกาหนดวา่ จะวางเครือ่ งจักรใดในบริเวณใดจนครบทุกเคร่ือง

90 ของแต่ละแผนก จากน้ันก็นาไปปรึกษากับบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ได้ข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะ แล้วนา กลับมาร่างผังโรงงานใหม่อีกคร้ังหน่ึงเท่านี้ก็จะทาให้ได้ผังโรงงานที่ดีได้ การใช้รูปวาดหรือเขียนแบบ แปลนโรงงานเพ่ือช่วยในการวางผังโรงงานน้ันเป็นวิธีเบื้องต้นที่นิยมมากที่สุด หากต้องการให้เห็นภาพ ชัดเจนข้ึนอาจจะสร้างรูปหุ่นจาลอง (Models) ตามขึ้นมาได้ ในบางคร้ังการวางผังโรงงานโดยใช้รูป วาด หรอื เขยี นแบบแปลนเป็นเพยี งวิธีเดียวเท่านนั้ ทจ่ี ะทาได้ โดยมีตัวอย่างแบบแปลนในภาพท่ี 3.21 ภาพท่ี 3.21 แบบแปลนสถานประกอบการ ท่มี า : เข้าถึงได้จาก http://thai.smefactory.com [2559, มถิ ุนายน 29] 3.6.2. วิธีการสร้างแผ่นภาพจาลอง (Templates) สาหรับวิธีการสร้างแผ่นภาพจาลอง ผู้สรา้ งแผน่ ภาพจาลอง ตดั แผน่ กระดาษแขง็ ท่สี ามารถมองเหน็ ชัดเจนสีของเคร่ืองจักรแต่ละเคร่ืองควร เป็นเครอ่ื งละสี ให้นามาตัดแล้วนาไปวางลงบนแผ่นกระดาษแข็งที่เป็นพื้นโรงงานซึ่งถูกย่อมาตราส่วน ใหเ้ ลก็ ลง หลังจากน้นั จะเปน็ การหาตาแหน่งและระยะห่างของเครื่องจักร ก็ให้วัดจากแผ่นภาพจาลอง ได้เลยเพราะย่อมาตราส่วนไวแ้ ลว้ 3.6.3 วิธีสร้างรูปหุ่นจาลอง (Models) สาหรับการวางแผนผังภายในโรงงานของสถาน ประกอบการระดบั อุตสาหกรรมนิยมใช้วิธีการสร้างหุ่นจาลองในการวางแผนผังโรงงาน เพราะสะดวก ในการเคลื่อนย้ายรูปหุ่นจาลองเครื่องมือและเคร่ืองจักรต่างๆ เม่ือต้องการปรับปรุงหรือเปล่ียนแปลง ผงั โรงงานใหมร่ ูปห่นุ จาลองนิยมทาดว้ ยไม้ซึง่ ทาสตี า่ งกันและลดขนาดลงมาตราส่วน (Scale) นาไปวาง ลงบนแผ่นพน้ื รูปโรงงานตามที่ลดสัดสว่ นตามมาตราส่วนเหมอื นกัน ดงั ภาพท่ี 3.22

91 ภาพท่ี 3.22 การวางผงั โรงงานโดยใชห้ ุน่ จาลอง ทีม่ า : เข้าถงึ ได้จาก http://plaza.212cafe.com [2560, มกราคม 2] บทสรุป การวางผังของสถานประกอบการ ก็คือการกาหนดแนวทางในการจัดทาผังโรงงานให้เป็น ระบบทาใหใ้ ชพ้ นื้ ท่ไี ดค้ ุม้ ค่า วัตถดุ บิ ไหลไปไดร้ วดเรว็ สะดวกโดยมีปัจจัยสิบประการท่ีจะทาให้การวาง ผังโรงงานเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด คือ ช่องทางคล่องตัวสูงสุด จุดประสานงานดี มีเนื้อท่ีคุ้มค่ากับ การใชง้ าน มองผา่ นได้มากที่สุด จุดเข้าถึงทาได้ง่าย หยิบจับสบายเพราะระยะทางส้ัน การเคลื่อนย้าย น้นั นอ้ ยท่ีสุด หยดุ ไตรต่ รองเรอ่ื งสภาพแวดล้อมในการทางาน ผสมผสานการรักษาความปลอดภัยและ ใหใ้ สใ่ จ การเคลอ่ื นยา้ ยวตั ถุทางเดียว ขั้นตอนการวางผังโรงงานในสถานประกอบการมีสามประการคือ ประการแรกการวางผัง โรงงานขั้นต้นซ่ึงเป็นการกาหนดพื้นที่แบบกว้าง พ้ืนท่ีตรงน้ีต้องอยู่ใกล้กับหน่วยงานใด เป็นต้น ประการที่สอง การวางผังโรงงานอยา่ งละเอียดก็ ทงั้ หมดที่กล่าวมาจะสร้างประโยชน์ให้กับโรงงานคือ การวางผังโรงงานที่ดีจะช่วยในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเนื่องจากมคี วามรวดเร็วในการ เคลื่อนยา้ ย ขนส่งและกระบวนการผลิตทาให้สามารถผลิตสินค้าหรือบริการได้ทันเวลา ช่วยในการเพิ่ม ผลผลติ ของโรงงาน ลดการสูญเสยี ระหวา่ งกระบวนการผลิต ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตท่ีลดลง ทาให้ทุก คนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบการผลิตมีบรรยากาศในการทางานที่ดีและช่วยลดปัญหาและอุปสรรคท่ี จะเกดิ ขึ้นในอนาคต

92 คาถามและกิจกรรมท้ายบทท่ี 3 1. ใหน้ กั ศกึ ษาบอกวตั ถปุ ระสงคข์ องการวางผังโรงงาน 2. ให้นกั ศกึ ษาอธบิ ายหลักเกณฑใ์ นการวางแผนผังโรงงานมาพอสงั เขป 3. อธิบายรปู แบบการวางผงั โรงงานว่ามกี ป่ี ระเภทแต่ละประเภทมขี ้อดีข้อเสยี อยา่ งไร 4. ให้นักศึกษาอธิบายขน้ั ตอนในการวางผังโรงงานมาพอสังเขป 5. ให้นักศกึ ษาดภู าพต่อไปนแี้ ลว้ วิเคราะหว์ ่าการจดั วางผังของโรงงานไม่ได้สร้างประสิทธิภาพใน การดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ข้อใด พร้อมบอกแนวทางการแกไ้ ขหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ตารางท่ี 3.3 ตารางเตมิ คาเพ่ือวเิ คราะห์ประสิทธิภาพการวางผังของสถานประกอบการ ปัญหา ขัดแยง้ กับวัตถปุ ระสงค์ข้อท่ี ระบุวา่ ข้อเสนอแนะ ภาพที่ 3.23 ชว่ งอัดประสานของการทาเฟอรน์ ิเจอร์ ท่มี า : กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่10 [2559, สิงหาคม 5] ขอ้ 6. ผู้เรยี นทารายงานรายบุคคลเลือกสถานประกอบการในทอ้ งถน่ิ ทนี่ ักศกึ ษาสบื ค้นมาหน่งึ แห่ง 6.1 วิเคราะหว์ า่ สถานประกอบการในท้องถน่ิ แห่งนั้นมหี ลักเกณฑ์ในการวางผังอย่างไร 6.2 เปรียบเทยี บและสรปุ ว่าในแต่ละสถานประกอบการใชห้ ลักเกณฑ์เหมอื นหรือแตกตา่ งกัน อยา่ งไร

93 ขอ้ 7. สบื ค้นสถานประกอบการระดบั อุตสาหกรรมในประเทศไทย 7.1 วิเคราะห์วา่ สถานประกอบการในประเทศไทยทผ่ี เู้ รยี นเลือกมานัน้ แหง่ นัน้ มีหลักเกณฑ์ ในการวางผังอย่างไร 7.2 เปรียบเทยี บและสรปุ วา่ ในแต่ละสถานประกอบการใชห้ ลกั เกณฑเ์ หมือนหรือแตกต่างกัน อยา่ งไร

94 เอกสารอา้ งอิงบทท่ี 3 กระบวนการผลติ นา้ อดั ลม. (2560). [Online]. เข้าถงึ ได้จาก http://www.foodnetwork solution.com /wiki/word/0095/carbonated-soft-drink [2560, มิถุนายน 1] การเคลื่อนยา้ ยวัตถทุ างเดียว. (2559). [Online]. เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.ielc-libya.com [2559,มถิ ุนายน 12] การวางผงั สานกั งานเป็นหมวดหมเู่ พอื่ สะดวกในการประสานงาน. (2559). [Online] เข้าถึงได้จาก http://www.cdc.gov.tw [2559, มิถุนายน 25] การใชเ้ ครื่องจักรช่วยในการเคล่อื นยา้ ยขนส่งวตั ถดุ ิบ. (2559). [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http:// www.brownplanthire .com [2559, มิถนุ ายน 23] การทางานกบั เครื่องจักรและการเวน้ ช่องทางเดนิ .(2559). [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.headlightmag.com [2559, มิถนุ ายน 22] การวางผงั โรงงานโดยใช้หุน่ จาลอง.(2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.plaza. 212 cafe.com [2560, มกราคม 2] การประกอบเครอ่ื งบนิ ซง่ึ เป็นตัวอย่างการวางผังแบบคงที่. (2559). [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.bloggang.com [2559, มถิ นุ ายน 22] กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10. (2550). โครงการสร้างและพฒั นาบรกิ รธรุ กจิ อุตสาหกรรม. จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี. กตญั ญู หิรญั ญสมบรู ณ.์ (2545). การบริหารอุตสาหกรรม. ฉบบั ปรบั ปรุงแก้ไข. กรงุ เทพฯ : เทก็ ซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น. ฉลวย ธรี ะเผ่าพงษ์และอุทยั วรรณ สวุ คนั ธกลุ . (2536). การวางแผนโรงงานอุตสาหกรรม. กรงุ เทพฯ : ภาควิชาพ้ืนฐานอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม สถาบนั ราชภฏั พระนคร. ชยั ยศ สนั ติวงษ.์ (2546). การบริหารการผลิต. (พมิ พ์ครั้งท่ี 1). กรุงเทพฯ : ประชุมชา่ ง. ณฐา คุปตษั เฐยี ร. (2558). การวางแผนและควบคมุ การผลิต. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ธรี วุฒิ บุณยโสภณ และวีรพงษ์ เฉลิมจิระวัฒน์. (2537). พ้ืนฐานงานอุตสาหกรรม. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช. บรเิ วณอาคารที่ออกแบบให้มีความคล่องตัวในการดาเนนิ งาน.(2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.burohappold.com [2559, มิถนุ ายน 23] แบบแปลนสถานประกอบการ. [Online]. (2559). เขา้ ถงึ ได้จาก : http://thai.smefactory.com [2559,มิถุนายน 29] ประจวบ กล่อมจติ ร. (2555). การออกแบบโรงงานอตุ สาหกรรมเพอ่ื เพม่ิ ผลผลิตและ ความปลอดภยั . กรุงเทพฯ : ซเี อ็ดยเู คชัน่ .

95 ปรยี าวดี ผลเอนก. (2557). การบริหารการผลติ . พมิ พ์ครัง้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ป้ันจ่ันแบบแขวน.(2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.rmutphysics.com [2559, มถิ นุ ายน 25] ผงั โรงงานที่คานึงถึงประโยชนข์ องพืน้ ท่ีใช้สอย. (2559). [Online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http:// www. steveharoz.com [2559, มิถนุ ายน 13] โรงงานผลิตซีเมนตอ์ ดั แรง. (2559). [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.cpac.go.th [2559, สิงหาคม 27] สายพานลาเลียงในข้ันตอนของการขนส่งในกระบวนการผลติ . (2559). [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://doi.eng.cmu.ac.th [2559 มกราคม 5] สายพานลาเลียงในโรงงาน. (2559). [Online]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.igetweb.com [2559 มิถุนายน 24] สปุ ญั ญา ไชยชาญ. (2548). การบริหารการผลติ . (พิมพค์ รั้งที่ 10). กรงุ เทพฯ : พี.เอ.ลฟี วง่ิ . สมุ น มาลาสิทธ.ิ์ (2548). การจัดการการผลติ และการดาเนนิ งาน. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Bollinger, S. (1998). Fundamentals of Plant Layout. Society of Manufacturing Engineers and Association with Richard Muther and Associates. Choobineh, F. (1998). A Framework for the Design of Cellular Manufacturing Systems. International Journal of Production Research. 26, 1151- 1152. [Online]. Avilable : http://www.tandfonline.com. [2016, May 26] Francis, R.L., & White J. A.. (1992). Facility Layout and Location: An Analytical Approach Englewood Cliffs, NJ : Prentice Hall. Meyers, J.F. (2000). Manufacturing Facilities Design and Material Handling, Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. One of several advantages of U-line is better access. (2016). [Online]. Available : http://www.wlline.com [2016, July 22] Operators caged no chance to trade elements of work between them. (2016). [Online]. Available : http://vindaci.members.sonic.net. [2016,July 27] Operation birdcaged no chace to increase output with a third operator. (2016). [Online]. Available : http://www.tsuntattoy.com [2016, July 26] Operator can help each othor. (2016). [Online]. Available : http://www.leg.state. nv.us. [2016, July 24] Quality of work life through productivity. (2016). [Online]. Available : http://www. ierit.rmuti.ac.th. [2009, May 16]

96 Quasar Engineering Ltd. (2016). [Online]. Available : http://www.quasar-eng.com. [2016,July 23] Chase R.B., Aquilano N.J. & Jacobs F.R. (2001). Operations management for competitive advantage. (9thed). Irwin : McGraw-Hill. Russell, R.S. & Taylor B.W. (2011). Operation Management. (7th ed.) NJ : John Wiley and Son (Asia). Straight line difficult to balance. [Online]. (2009). Available : http://www. pcstats.com [2009, July 20] Sule, D.R. (1994). Manufacturing Facilities: Location, Planning, and Design. Boston: PWS Publishing Company. Toyota Production System. [Online]. (2016). Available : http://www.ierit.rmuti.ac.th. [2016, May 18]

97 แผนการสอนประจาบทท่ี 4 ชอ่ื บทภาษาไทย การพยากรณ์เพ่อื การผลติ ชอื่ บทภาษาองั กฤษ Production Forecasting เวลาเรียน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวข้อเนอื้ หาประจาบท 4.1 ความหมายของการพยากรณ์ 4.2 ความสาคัญของการพยากรณก์ ารผลติ 4.3 ผลกระทบท่เี กิดข้ึนจากการพยากรณ์ผิดพลาด 4.4 ประเภทของการพยากรณ์ 4.5 เทคนิคการพยากรณ์ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพ่อื ตอ้ งการให้ผู้เรยี นไดท้ ราบความหมายของการพยากรณ์ในดา้ นการผลิตไดถ้ ูกต้อง 2. เพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถลาดบั ความสาคัญของการพยากรณ์การผลิตและสามารถปรับใช้ใน งานดา้ นธุรกิจได้ 3. เพื่อเรียนรู้รูปแบบประเภทของการพยากรณ์และเทคนิคการพยากรณ์ที่ใช้ในงานด้าน ธุรกิจ วิธกี ารสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. ผู้เรียนศึกษาจากเอกสารท่ีกาหนดให้โดยผู้สอนบรรยายสรุปในหวั ข้อเร่อื งความหมาย และความสาคญั ของการพยากรณ์การผลติ 2. แบง่ กลมุ่ ให้ผเู้ รียนได้วเิ คราะหก์ รณีศึกษาจากโจทย์การพยากรณ์ที่กาหนด 3. ใหผ้ ู้เรยี นทาแบบฝกึ หดั จากคาถามท้ายบทเป็นรายบุคคลโดยผู้สอนคอยให้คาช้ีแนะใน กรณีซกั ถาม 4. มอบงานการวิเคราะหก์ ารพยากรณ์ พรอ้ มมาเฉลยคาตอบหลังการบรรยาย ส่ือการเรียนการสอน 7. เอกสารใบงานประจาบท 8. เอกสารประกอบการสอน เน้ือหาประจาบท 9. เทคนิคนาเสนอด้วย Power point 10. ส่อื ประสม 11. เคร่อื งคานวณ

98 การวัดและประเมนิ ผล 1. ความสามารถในการการวิเคราะหค์ านวณการพยากรณ์เพ่ือการผลิตท่ีใช้กบั ธุรกจิ คิดเป็น รอ้ ยละ 80 ของโจทย์คานวณในใบงาน 2. ความสามารถในการตอบคาถามทา้ ยบทคดิ เป็นร้อยละ 70 ของจานวนข้อคาถามประจาบท

99 บทที่ 4 การพยากรณ์เพอ่ื การผลิต (Production Forecasting) การบริหารการผลิตและการดาเนินงานทีม่ ปี ระสิทธภิ าพย่อมมาจากการวางแผนการผลิตท่ีดี ผลิตภัณฑ์ท่ีดีย่อมเกิดจากการวางแผนการผลิตท่ีดีด้วย การวางแผนการผลิตที่ต้องใส่ใจรายละเอียด ตงั้ แต่ กรรมวิธีการผลิต จนได้มาซ่ึงสินค้าและบริการเม่ือผู้จัดการฝุายโรงงานในสถานประกอบการได้ ออกแบบติดต้ังระบบปฏิบัติงานการผลิตเพ่ือรองรับความต้องการจากลูกค้าน้ัน ภายใต้คาส่ังซื้อสินค้า นั้นมีผลมาจากการสารวจ ตลอดจนการรวบรวมแนวโน้มทางสถิติว่าในแต่ละช่วงระยะเวลา หรือใน ฤดูกาลหรือเทศกาลใดท่ีลูกค้าให้ความสาคัญกับปริมาณการใช้สินค้าน้ันๆ การพยากรณ์การผลิตจึง เป็นการคาดการณ์ความต้องการในอนาคตโดยนาข้อมูลในอดีตมาช่วยในการคานวณ และผลจาก การคานวณนีจ้ ะเป็นเคร่อื งมอื ให้แก่ผู้บรหิ ารได้ดาเนินการผลิตจรงิ ขอยกตวั อยา่ งแนวคดิ ของนกั วชิ าการ ไดแ้ ก่ ณฐา คปุ ตัษเฐยี ร (2558 : 11) พิภพ ลลิตาภรณ์ (2556 : 54) ได้กล่าวถึงเรื่องของการพยากรณ์เพื่อการผลิตไว้คล้ายคลึงกันว่าการพยากรณ์เป็นส่วน หน่ึง ท่ีส าคัญ ขอ งธุร กิจ เพ ราะ กา รพย าก รณ์เ ป็น ส่ ว นหนึ่ งข อ งก ระ บว น กา รว างแ ผ น แล ะ คว บคุ ม ครอบคลุมการตลาด สภาพเศรษฐกิจและปัจจัยอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง และท้ังสองท่านยังคงมีความเห็น เป็นทศิ ทางเดียวกันกับนักวิชาการทา่ นอ่นื ในอดตี ดังจะได้แจกแจงความหมายของแตล่ ะทา่ นได้ดังนี้ 4.1 ความหมายของการพยากรณ์ คาว่าพยากรณ์ในความหมายโดยทั่วไปเป็นการคาดคะเนหรือประมาณเหตุการณ์ในอนาคต ซึ่งตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า Forecasting การพยากรณ์จึงอาศัยหลักสถิติประกอบกับดุลยพินิจ วิจารณญาณ ความรู้ ความสามารถตลอดจนประสบการณข์ องผู้พยากรณ์ มาตีความหมายผลลัพธ์จาก การพยากรณ์ มีผู้ให้ความหมายไว้ รวบรวมได้ ดังนี้ พิภพ ลลิตาภรณ์ (2556 : 54-55) กล่าวถึงลักษณะของการพยากรณ์ว่าเป็นส่ิงที่ประมาณ การขึ้นโดยปกติอาจพบข้อผิดพลาด เน่ืองด้วยตัวเลขท่ีนามาใช้ประมาณการในการพยากรณ์นั้นมี มากกว่าหน่ึงค่าและยิ่งระยะเวลาของการพยากรณ์ย่ิงไกลออกไปย่อมส่งผลต่อความคลาดเคล่ือนท่ีจะ เกิดขึ้นด้วย ณฐา คปุ ตัษเฐยี ร (2558 : 11) ได้ให้ความหมายของการพยากรณ์ไว้ว่าเป็นกระบวนการคาด เดาเหตุการณ์ในอนาคตหรือเหตุการณ์ท่ียังไม่เกิดขึ้น สาหรับการพยากรณ์ท่ีเก่ียวกับการตัดสินใจใน เชงิ ธรุ กจิ มกั เชื่อมโยงกบั การผลิตสินค้าและบริการแบง่ เปน็ ระยะสนั้ ระยะปานกลางและระยะยาว ปรียาวดี ผลเอนก (2557 : 11) ได้อธิบายหลักการพยากรณ์โดยสรุปว่าค่าพยากรณ์สินค้า และบริการจะถูกต้องแม่นยา การพยากรณ์สินค้าจะต้องมีการเคล่ือนไหวแต่การพยากรณ์ยอดขาย

100 สินค้าบางอย่างไม่สามารถพยากรณ์ได้ในระยะยาวและสามารถพบข้อผิดพลาดได้จากการทานายหรือ คาดคะเนประมาณความต้องการของสนิ คา้ หรอื บริการสาหรับระยะเวลาหน่ึงในอนาคต Verma & Boyer (2008) กล่าวถึงความหมายของการพยากรณ์ไว้ว่าเป็นการคาดคะเน เหตุการณ์หรอื ปรากฏการณ์ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงที่ยังไม่เกิดขึ้น ด้วยการนาเอาข้อมูลหรือประสบการณ์ ในอดีตท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองน้ัน มาผ่านกระบวนการอันหน่ึง เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นค่าพยากรณ์ อกี ทงั้ หลกั การของการพยากรณ์นั้นไม่ได้มีหลักเกณฑ์ตายตัว แต่ใช้ปริมาณความต้องการมาเป็นข้อมูล ในการพยากรณ์ สรปุ ได้วา่ จาการรวบรวมนยิ ามความหมายของการพยากรณ์นักวิชาทุกท่านทั้งในปัจจุบันและ ในอดีต ได้แก่ ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) ปรียาวดี ผลเอนก (2557) และ Verma & Boyer (2008) มี ความเห็นสอดคล้องในเร่ืองความหมายการพยากรณ์สรุปได้ว่าเป็นกระบวนการคาดคะเนความ ต้องการของสินค้าและบริการในอนาคตในช่วงเวลาหน่ึง โดยอาศัยข้อมูลในอดีตเข้ามาช่วยในการ วิเคราะห์ เพ่ือให้ไดผ้ ลของการคาดคะเนนนั้ จากความหมายของการพยากรณ์ นามาเขียนเป็นแผนภูมิ ได้ ตามแผนภาพที่ 4.1 ข้อมูลพยากรณ์ เทคนคิ การพยากรณ์ ผลการพยากรณ์ (ประสบการณ์) (กระบวนการ) (ค่าพยากรณ์) อดีต ปจั จุบัน อนาคต แผนภาพที่ 4.1 แสดงความหมายของการพยากรณ์ ท่มี า : ณฐา คปุ ตษั เฐยี ร (2558) และ กยั วรรณ์ (2543) จากแผนภาพข้างต้นจะเห็นว่าข้อมูลหรือประสบการณ์ในอดีตนั้นหมายถึงข้อมูลต่าง ๆ ท่ีผู้ พยากรณ์ไดร้ บั รู้ตัง้ แตอ่ ดตี ที่ผ่านมา อาจจะมีการบันทึกอย่างมีระบบหรือเก็บไว้ในรูปของความจาก็ได้ เราเรียกว่าเป็นประสบการณ์ แล้วนาประสบการณ์เหล่าน้ันมาประมวลผลโดยใช้เทคนิคการพยากรณ์ (Forecasting Technique) หรือกระบวนการพยากรณ์ซ่ึงเป็นขั้นตอนหรือวิธีการต่าง ๆ หลากหลาย วิธีในการที่จะนาข้อมูลหรือประสบการณ์ในอดีตไปแปลงสภาพให้เป็นค่าพยากรณ์ซ่ึงเป็นผลลัพธ์ท่ีได้ จากการพยากรณ์ จากความหมายของการพยากรณ์สิ่งที่ผู้เรียนควรทราบและต้ังคาถามไว้ในความคิด คือ การพยากรณ์มีไว้เพ่อื วัตถปุ ระสงค์ใดซึ่งผูเ้ ขียนขอนาเสนอไวด้ งั น้ี

101 4.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการพยากรณ์ จากแผนภาพข้างต้นผู้เรียนได้ทราบความหมายของการพยากรณ์แล้วว่าเมื่อผู้พยากรณ์ได้ค่า พยากรณ์ออกมา ผลของการคานวณน้ีจะนาไปช่วยนักบริหารการผลิตใช้ประกอบการตัดสินใจใน การดาเนินงานในอุตสาหกรรมการผลิต ผลของค่าพยากรณ์ยังสามารถช่วยสนับสนุนงานด้าน ต่าง ๆ โดยรวบรวมจาก Donald (1985) ที่กลา่ วถงึ การดาเนนิ งานการผลิตในระบบอุตสาหกรรมท่ีนาเอาค่า พยากรณ์มาใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร และศึกษาจาก Verma & Kenneth (2008) Buffa & Sarinn (1987) ที่ได้อธิบายหลักการพยากรณ์และการตระหนักถึงข้อผิดพลาดท่ีอาจจะ เกิดขึ้น ที่สาคัญท่ีสุดได้นาเอาการผลิตและแสดงกรอบแนวคิดของ Norman (1994) โดยแสดง ภาพรวมไว้ในแผนภาพท่ี 4.2 ในแผนภาพดังกล่าวขออธิบายพอสังเขปว่า เมื่อนักบริหารการผลิตได้รับคาสั่งซ้ือจากฝุาย การตลาดถึงปริมาณความต้องการของสินค้าในแต่ละช่วงเวลาก็จะดาเนินการจัดเตรียมทรัพยากร การผลิตต้ังแต่ปูอนวัตถุดิบ จนกระทั้งได้ผลผลิตออกมาเป็นสินค้าและค่าพยากรณ์และเทคนิค การพยากรณ์จะเข้ามามีบทบาทและความสาคัญในทุกช่วงเวลาต้ังแต่ระยะส้ัน ระยะปานกลาง และ ระยะยาว ในการพยากรณ์ระยะส้ันน้ันจะเป็นการพยากรณ์ในรอบระยะเวลา 1 – 12 เดือน มักจะมี ความแม่นยามากท่ีสุด เป็นการพยากรณ์เพื่อนามาวางแผนปฏิบัติงานการผลิต วางแผนการผลิตรวม เช่น การพยากรณ์รายเดือน รายไตรมาส รายครึ่งปี รายปี เป็นต้น ส่วนการพยากรณ์ที่ใช้ระยะเวลา มากขึ้น คือ ระยะปานกลางเป็นการพยากรณ์ในรอบระยะเวลาประมาณ 2 – 3 ปี ใช้วิเคราะห์เพื่อ ทราบแนวโน้มในการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรต่าง ๆ เช่น การจัดหาแหล่งวัตถุดิบ เพื่อใช้ สาหรับการผลิตในครั้งต่อไป สาหรับการพยากรณ์ที่มีความแม่นยาน้อยที่สุด การพยากรณ์ระยะยาว นั้นเป็นการพยากรณ์ในรอบระยะเวลา 4 ปีขน้ึ ไป การพยากรณใ์ นลักษณะน้ีผูพ้ ยากรณจ์ ะคานงึ ถึงแนวโนม้ ของการเปลีย่ นแปลงของส่ิงแวดล้อม เช่น แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจโลก ภูมิภาคและประเทศ เป็นต้น การพยากรณ์ในลักษณะน้ีมีไว้เพ่ือ กาหนดวสิ ยั ทศั นท์ ว่ี างไวซ้ ่ึงจะกลา่ วถงึ ในรายละเอยี ดอีกคร้ังในหัวข้อที่ 4.5 ประเภทของการพยากรณ์ เพ่ือท่ีจะเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลประมาณการวัตถุดิบหลักและ ข้อมูลปริมาณยอดขาย เพราะฉะน้ันในแต่ละฝุายจะมีความเชื่อมโยงถึงกันหมด ผู้เขียนขอยกประเด็นอันเป็นสาระสาคัญไว้ เปน็ รายข้อดงั นี้

102 แผนภาพที่ 4.2 แสดงการพยากรณเ์ พ่ือการผลติ ที่มา: ดดั แปลงจาก ยุทธ กัยวรร (2543 : 285) และ Norman Gaither (1994: 70) แผนภาพท่ี 4.2 แสดงการพยากรณเ์ พอื่ การผลิต ทีม่ า : ดัดแปลงจาก ยุทธ กยั วรรณ์ (2543 : 285) และ Norman (1994 : 70)

103 1. ใช้ค่าพยากรณ์ในงานวิเคราะห์โครงการ เมื่อได้ข้อมูลและประสบการณ์ในอดีตก็จะ นามาการวิเคราะห์งานในการบริหารโครงการของระบบอุตสาหกรรมการผลิตให้มีความแม่นยาใน การปฏิบัติงานการงานผลิตมากข้ึน ดังน้ัน นักบริหารการผลิตและผู้ดาเนินงานตลอดจนมีส่วน เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์โครงการต่าง ๆ จะนาค่าพยากรณ์เหล่านี้มาวางแผนการผลิตรวม ได้แก่ กาหนดตารางการผลิต (Production Schedules) วางแผนการจัดซ้ือวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ (Raw Material Purchasing Plans) การกาหนดนโยบายสินค้าคงคลัง (Inventory Policies) การวางแผน ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ การวางแผนจัดหาเครือข่ายปัจจัยการผลิต การวางแผนกาลังการผลิต เป็นต้น ในเรื่องของการวางแผนกาลงั การผลิตนนั้ จะกล่าวถึงรายละเอียดในเรื่องน้ีในบทที่ 5 ตอ่ ไป 2. ใช้ค่าพยากรณ์ยอดขาย การพยากรณ์ยอดขายมีหลายระยะได้แก่ รายปี ราย ไตรมาส รายเดือนต่อจากน้ันจึงนาตัวเลขนั้นมาวางแผนการผลิต การวางแผนขยายฝุายโรงงานของสถาน ประกอบการ หมายรวมถึง การจัดทางบประมาณการขาย การวางแผนส่งเสริมการตลาด กาหนด นโยบายและวิธีการขายใหส้ อดคล้องกับความต้องการและทันต่อเหตุการณ์ จะเห็นว่าถ้าการพยากรณ์ ผดิ พลาดจะทาให้ต้นทุนสูงข้นึ 3. ใช้คา่ พยากรณ์ในงานด้านการเงนิ และบัญชี สาหรับงานด้านนี้ค่าพยากรณ์น้ันจะช่วยให้ สามารถจัดสรรงบประมาณเงินลงทุน จัดระบบบัญชี พยากรณ์ระบบกระแสเงินสด มักจะใช้ข้อมูล ยอดขายท่ีแท้จริงในอดีตมาพยากรณ์ยอดขายในอนาคตซ่ึงจะบ่งบอกแนวโน้มของยอดขายว่าจะ เพม่ิ ข้ึนหรอื ลดลง ช่วงฤดกู าลใดขายไดม้ ากขายไดน้ ้อย 4.3 ความสาคัญของการพยากรณ์การผลติ ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) กัย (2543) และBuffa & Sarinn (1987) และ Chiris (1985) ได้กล่าวในถึงการวางแผนการผลิตที่ถูกต้องจะต้องมีการพยากรณ์จานวนความต้องการได้ แม่นยาใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากท่ีสุดการพยากรณ์เพื่อการผลิตจึงมีความสาคัญต่ อการบริหาร การผลิตและดาเนินงานในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ชว่ ยใหม้ ีการวางแผนการผลติ ใหเ้ ปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ มกี ารไตรต่ รอง วเิ คราะห์ การวางแผนด้านกาลงั คน เครื่องจักร วตั ถดุ ิบ ฯลฯ 2. ช่วยลดตน้ ทุนการผลิต เช่น ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทนุ เก็บรกั ษา ต้นทุนค่าเสียโอกาส ฯลฯ 3. ชว่ ยเพมิ่ ยอดขาย 4. ช่วยสร้างความพงึ พอใจใหแ้ กล่ กู ค้า ทั้งทางดา้ นเวลาและจานวนในการสง่ มอบ 5. ช่วยลดความเสย่ี งในการผิดพลาด ในทางกลับกันหากผลของการพยากรณ์มีการผดิ พลาดการดาเนินงานก็จะได้รบั ผลกระทบ จากความผดิ พลาดในคร้ังนี้

104 ยอดขาย มากกวา่ ผลพยากรณ์ นอ้ ยกว่า ยอดขาย จรงิ จริง สนิ คา้ เกนิ ความสามารถ สนิ ค้าขาดมือ ในการการเกบ็ เขา้ คลังสินค้า ในคลงั สินค้า แผนภาพท่ี 4.3 แสดงผลกระทบจากการพยากรณผ์ ดิ พลาด ทีม่ า : ประสงค์ ประณตี พลกรัง และคณะ (2543) และปรยี าวดี ผลเอนก (2557) 4.4 ผลกระทบท่เี กิดข้ึนจากการพยากรณ์ผดิ พลาด ประสงค์ ประณีตพลกรงั และคณะ (2543) ปรยี าวดี ผลเอนก (2557) ได้อธิบายข้อผิดพลาด ที่เกิดจากการพยากรณ์ไว้ว่า นักบริหารการผลิตและการดาเนินงานควรตระหนักถึงข้อผิดพลาดท่ี เกิดข้ึนจากการพยากรณ์ไว้ด้วยเพราะข้อผิดพลาดดังกล่าวอาจจะนามาซ่ึงสถานการณ์การขาดทุนซ่ึง เป็นสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ดังนั้น ในแผนการผลิตรวมควรมีแผนสารองเพื่อปูองกันและทางเลือกใน การแกป้ ัญหาเหลา่ น้ีไว้กรณี โดยไดอ้ ธบิ ายไว้ในแผนภาพท่ี 4.3 แบ่งเป็นสองกรณี ดงั นี้ 4.4.1 กรณีผลพยากรณ์มากกวา่ ยอดขายท่เี กิดขึน้ จรงิ กรณนี ส้ี ่งผลใหเ้ กิดต้นทนุ สนิ คา้ จมใน คลังเก็บสินค้า ตัวอย่างเช่น พยากรณ์การขายไว้ 10 ล้านชิ้นแต่ขายได้จริง 8 ล้านช้ิน ทาให้มีสินค้า เหลือค้างในคลังสินค้า ซึ่งหากผลพยากรณ์มากกว่าความเป็นจริง จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมใน สถานประกอบการซึ่งสามารถปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เปล่ียนแปลงไปได้ และส่วนใหญ่จะเป็นในเร่ืองของต้นทุนการผลิตที่สูงข้ึนจากการผลิตจานวนมากเกินความต้องการที่ แท้จริง เช่น ต้นทุนการส่ังซ้ือ ต้นทุนการขนส่งวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้า คงคลงั คา่ แรงงาน ค่าเสือ่ มราคาเครอ่ื งจกั ร เปน็ ต้น 4.4.2 กรณีผลพยากรณน์ ้อยกว่ายอดขายท่ีเกดิ ขึ้นจรงิ สาหรับกรณนี จี้ ะส่งผลใหเ้ กดิ สินคา้ ขาดตลาด ตวั อย่างเชน่ พยากรณ์การขายไว้ 20 ล้านชนิ้ แตม่ ยี อดขายจรงิ 15 ล้านชนิ้ ในกรณนี ้จี ะ เกิดผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มภายนอก ได้แก่ ความพึงพอใจของลกู ค้า ไม่ว่าจะเป็นตวั แทนจัดจาหนา่ ย รวมไปถึงการสญู เสียโอกาสทางการตลาดและยอดขายสว่ นครองตลาดและอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยน ยหี่ ้อ (Switching Brand) ไปบริโภคตราสินคา้ ของคู่แขง่ ขันแทน

105 4.5 ประเภทของการพยากรณ์ พิภพ ลลิตาภรณ์ (2556) ประสงค์ ประณีตพลกรังและคณะ (2543) และ กัยวรร (2543) นักวิชาการทั้งสามท่านได้กล่าวถึงการแบ่งประเภทของการพยากรณ์ในการดาเนินงานธุรกิจ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน สรุปว่าประเภทของการพยากรณ์แบง่ ได้ 3 ประเภท คือ 4.5.1. การพยากรณ์ระยะส้ัน เป็นการพยากรณ์ในรอบระยะเวลา 1 ถึง 12 เดือน จะเน้น ความแม่นยามากท่ีสุด เป็นการพยากรณ์เพ่ือนามาวางแผนปฏิบัติงานการผลิต การวางแผนการผลิต เช่น การพยากรณ์รายเดือน การพยากรณ์รายไตรมาส การพยากรณ์รายครึ่งปี การพยากรณ์รายปี เป็นต้น การพยากรณร์ ะยะส้นั จะคานึงถงึ สภาพแวดลอ้ มระดบั จุลภาค ซึง่ มผี ลกระทบโดยตรงกับสถาน ประกอบการมากท่ีสุด เช่น พฤติกรรมผู้บริโภค ภูมิอากาศ ฤดูกาล ความนิยมตามยุคสมัย ความตอ้ งการสนิ ค้าเทศกาลรวมไปถงึ การจดั การสง่ เสรมิ การตลาด เปน็ ตน้ 4.5.2. การพยากรณ์ระยะปานกลาง เป็นการพยากรณ์ในรอบระยะเวลาประมาณ 2 ถึง 3 ปี เป็นการพยากรณ์ เพื่อที่จะได้ทราบแนวโน้มในการเตรียมความพร้อมในด้านทรัพยากรต่าง ๆ ของ สถานประกอบการ เชน่ การหาแหลง่ วัตถดุ ิบเพ่ือใช้สาหรบั การผลติ ในครั้งต่อไป เปน็ ตน้ 4.5.3 การพยากรณร์ ะยะยาว เป็นการพยากรณ์ในรอบระยะเวลาประมาณ 4 ถึง 5 ปี ข้ึนไป การพยากรณ์จะมีความแม่นยานอ้ ยทีส่ ดุ เป็นการพยากรณ์ท่กี าหนดทิศทางของให้เป็นไปตามแผนงาน ที่ได้วางไว้ การพยากรณ์ลักษณะนี้จะคานึงถึงแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม เช่น แนวโนม้ ภาวะเศรษฐกิจโลก ภมู ิภาคและประเทศ แนวโน้มการเมือง กฎหมาย ส่วนใหญ่การพยากรณ์ ระยะยาวจะนามาใช้เพื่อตัดสินใจทางด้านกาลังการผลิตของโรงงานให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมท่ีจะ เปลี่ยนแปลงในอนาคต เช่น ตัดสินใจขยายพ้ืนท่ีของฝุายโรงงานในสถานประกอบการหรือตัดสินใจ ยกเลิกการผลิต หรอื ขายโรงงานในกรณีประสบปญั หาขาดทนุ มากกวา่ หากยงั ดาเนินกิจการต่อไปซึ่งจะ ได้ทราบเทคนคิ การคานวณในบทท่ี 5 การวางแผนกาลังการผลิต 4.6 เทคนิคการพยากรณ์ (Forecasting Technique) พิภพ ลลิตาภรณ์ (2556) ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) Verma & Kenneth (2008) และ Engene & Richard (1980) กล่าวถึงเรื่องการพยากรณ์และเทคนิคการพยากรณ์ไว้ว่า การพยากรณ์ ทางธุรกิจหรือการทานายน้ันเป็นเร่ืองของอนาคต ดังนั้นการพยากรณ์กับความจริงน้ันอาจจะเหมือน หรือไม่เหมือนกันก็ได้ แต่สาหรับการพยากรณ์ที่ดีควรจะต้องให้ใกล้เคียงกับความจริงให้มากท่ีสุด เทคนิคการพยากรณ์ที่รวบรวมจากนักวิชาการหลายท่านสรุปได้สองรูปแบบ ได้แก่ แบบแรกเป็นการ พยากรณ์แบบไม่ใช้หลักการทางสถิติ (Informal Forecasting Technique) การคิดคานวณวิธีนี้เป็น การพยากรณโ์ ดยอาศัยประสบการณข์ องผูท้ าการพยากรณ์เพียงอย่างเดียว โดยไม่มีวิธีการหรือเทคนิค แตอ่ ย่างใดในเชงิ ปริมาณหรือไม่มีรูปแบบจาลองทางคณิตศาสตร์เข้ามาร่วมด้วย วิธีการพยากรณ์แบบ นี้จึงเหมาะกับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก นอกจากน้ียังมีอีกรูปแบบหนึ่ง คือ แบบท่ีสองเป็น การพยากรณ์แบบท่ีใช้หลักการทางสถิติ (Formal Forecasting Technique) รูปแบบการพยากรณ์

106 ในลักษณะนี้จะต้องอาศัยข้อมลู สนบั สนุนและใช้ความรทู้ างสถิติคณิตศาสตรเ์ ข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ ข้อมูลเทคนิคพยากรณ์สาหรับเอกสารประกอบการสอนเล่มน้ีขอนาเสนอท้ังสองรูปแบบแต่รูปแบบท่ี เหมาะสมกับการบริหารการผลิตและการดาเนินงานได้แก่การใช้สถิติและการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณ เพื่อการวางและควบคุมระบบอุตสาหกรรมการผลิต ดังที่ Engene & Richard (1980) ได้ให้แนวทาง และเทคนิคการพยากรณ์ไว้ 2 ลกั ษณะ คอื 4.6.1 การพยากรณเ์ ชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Forecasting) การพยากรณ์เชงิ คุณภาพ เป็นวิธกี ารพยากรณท์ ใ่ี ช้ความคดิ เห็นประสบการณ์จากฝุายบริหาร ฝุายขาย ฝุายซ้ือ แล้วนาข้อมูลน้ัน มารวบรวมสรปุ ซง่ึ การพยากรณ์แบบน้มี ีเทคนิควธิ ดี ว้ ยกนั 4 วธิ ีคือ 1) วิธีเดลฟาย (Delphi Technique) เป็นการพยากรณ์ของกลุ่มผู้เช่ียวชาญท่ี พยากรณ์ โดยแสดงความคิดเห็นในแบบสอบถาม หรือ แบบสัมภาษณ์ ซ่ึงอาจจะถามต่อเนื่อง ประมาณสองถงึ สามรอบ เพื่อให้ได้คาพยากรณ์ ทใ่ี กลเ้ คยี งกับความจริง 2) วิธีการวิจัยการตลาด (Marketing Research) เป็นการหาข้อมูลจากผู้ซ้ือเพื่อ พยากรณ์การซอ้ื หรืออาจจะสารวจโดยสง่ แบบสอบถามไปยังผซู้ ื้อถงึ แนวโนม้ การใช้สินค้า 3) วิธีสอบถามจากผู้บริหาร (Jury of Executive Opinion) วิธีสอบถามจาก ผู้บริหารน้ีเป็นการวิเคราะห์ความคิดเห็นจากผู้บริหารฝุายต่างๆ เช่น ฝุายบริหาร ฝุายวิศวกร ฝุาย ตลาด ฝาุ ยการผลิตฝาุ ยจัดซื้อ ฝุายการเงินและฝุายบัญชี เป็นต้น การวิเคราะห์ความคิดเห็นอาจจะใช้ วธิ กี ารทางสถิติเขา้ ช่วย 4) วิธีสอบถามจากฝ่ายขาย (Sale force Composite) วิธีการสอบถามจากฝุาย ขายเป็นวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากวิธีหนึ่ง เพราะพนักงานขายสินค้า คือผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้ามาก พนกั งานขายจะทราบถึงความต้องการของตลาดในเขตทรี่ บั ผดิ ชอบ 4.6.2 การพยากรณ์เชิงปรมิ าณ (Quantitative Forecasting) การพยากรณ์เชงิ ปรมิ าณ เป็นการใช้เทคนคิ ทางตวั เลข และใช้ข้อมูลในอดีตมาพยากรณ์ความต้องการ สาหรับข้อมูลท่ีได้มาช่วย ในการพยากรณ์ความตอ้ งการสาหรับขอ้ มูลทไี่ ด้มาชว่ ยในการพยากรณ์เชิงปริมาณ มีสองวิธี คือ 1) การพยากรณ์แบบอนกุ รมเวลา (Time Series Forecasting) เปน็ การศึกษา ขอ้ มูลที่เปน็ ตัวเลขในอดตี ถึงปัจจบุ นั โดยอาศัยความสัมพนั ธ์ของปัจจยั ตา่ งๆ 2) การพยากรณ์ด้วยวิธีวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงเสน้ ตรง (Linear Regression) เปน็ การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวแปร เช่น ราคาขายกับต้นทุนการผลิต งบประมาณ การสง่ เสริมการตลาดกับยอดขาย เพื่อนามาวิเคราะห์พยากรณ์แนวโน้ม ส่วนการพยากรณ์สหสัมพันธ์ พหคุ ณู เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่สองตัวแปรขึ้นไป เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลง ของยอดขายไม่ได้ข้ึนอยู่กับตัวแปรใดตัวแปรหน่ึง แต่จะมีตัวแปรหลายตัวแปรเข้ามามีอิทธิผลต่อ การเปลีย่ นแปลงของยอดขาย เช่น ทาเลทต่ี ง้ั การกระจายสินค้า ราคาและการโฆษณาคุณภาพสินค้า เปน็ ต้น ต่อไปน้ีเป็นวิธีการอธิบายถึงการพยากรณ์ในเชิงปริมาณทั้งสองวิธีพร้อมแสดงตัวอย่างของ เทคนิคการคานวณในแตล่ ะแบบ

107 วิธีท่ีหน่ึง การพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา เป็นการศึกษาความเคล่ือนไหวของ ขอ้ มูลตงั้ แตอ่ ดีตถึงปจั จุบนั การเปลีย่ นแปลงของข้อมูลน้ันย่อมทาให้ปัจจัยต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงตามไป ดว้ ย ซง่ึ มี 4 ลักษณะ คอื ก. รูปแบบพยากรณ์ระดับ (Horizontal Pattern) เป็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ท่เี กดิ ขนึ้ ในแตล่ ะสัปดาห์หรือในรอบเดอื น หรือรายปอี าจจะมีข้อมูลเปลี่ยนแปลงต่าบ้างสูงบ้าง วิธีการ พยากรณ์ น้ีเป็นการนาเอาค่าที่เกิดข้ึนจริงในอดีตของเร่ืองนั้นๆ จานวนหนึ่ง มาทาการเฉล่ียแล้ว กาหนดข้ึนเป็นการพยากรณ์ สาหรับช่วงเวลาถัดไป การพยากรณ์แบบน้ีจะเหมาะกับการพยากรณ์ ระยะส้นั สาหรบั ตวั แปรทีก่ ่อให้การเปลย่ี นแปลงไมม่ ากนกั โดยอธบิ ายไวใ้ นตัวอยา่ งตามตารางที่ 4.1 ตวั อย่างกรณศี ึกษา จากการสงั เกตความตอ้ งการสนิ คา้ ชนดิ หน่งึ มีการจดบนั ทกึ ข้อมลู รายปี ดังนี้ ตารางท่ี 4.1 การสงั เกตความตอ้ งการสินคา้ ชนดิ หนง่ึ (ลา้ นชน้ิ ) เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 ปี 1 2 3 4 5 หน่วยสนิ ค้า 40 42 45 50 55 ที่มา: ดดั แปลงจาก ณฐา คปุ ตษั เฐยี ร (2558 : 17) วิธีการคานวณหาความต้องการของสนิ คา้ รายปี = 42.33 ลา้ นช้นิ = 43 ลา้ นชน้ิ ค่าเฉล่ยี ของคาบเวลาปีที่ 1 – 3 = 43 ล้านชนิ้ = 40  42  45 3 ค่าพยากรณ์สาหรบั คาบเวลาปที ี่ 4 = 43 ลา้ นช้นิ คา่ เฉล่ยี ตอ่ ไปคาบปีท่ี 2 – 4 = 42  45  50 = 45.7 ลา้ นชิน้ = 46 ล้านชิน้ ค่าเฉล่ยี ต่อไปคาบปที ี่ คาบที่ 3 – 5 คา่ พยากรณ์สาหรับคาบเวลาปีที่ 5 3 = 45  50  55 = 50 ล้านชิน้ 3 = 50 ลา้ นชิ้น เมอื่ นาค่าพยากรณ์ทไ่ี ด้จากการคานวณไปเขยี นกราฟได้ดงั แผนภูมทิ ่ีปรากฏ ดงั นี้

108 แผนภูมทิ ่ี 4.1 แสดงคา่ พยากรณท์ ่ไี ดจ้ ากการคานวณความต้องการสินคา้ รายปี ท่มี า : ดดั แปลงจาก ณฐา คปุ ตษั เฐยี ร (2558 : 17) จากแผนภูมิการพยากรณ์ที่ใช้ข้อมูลนี้จะช่วยให้พยากรณ์ได้เร็วและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมได้ ข. รูปแบบการพยากรณ์แนวโน้ม (Trend Pattern) ลักษณะรูปแบบพยากรณ์ อนุกรมเวลาแบบนจี้ ะมแี นวโนม้ สงู ขน้ึ หรอื แนวโนม้ ต่าลงขึน้ อยู่กับการเปล่ียนแปลงของข้อมูล เป็นการ อาศัยข้อมูลทีเ่ ป็นตวั เลขจะต้องเป็นตัวเลขที่ต่อเน่ืองกันเป็นระยะเวลาหนึ่งและพยากรณ์โดยวิเคราะห์ แบบแนวโน้มของตัวเลขในอดตี ลักษณะการวิเคราะหแ์ นวโน้มแสดงไวใ้ นแผนภมู ิถดั ไป ยอดขาย (บาท) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เวลา (ปี) แผนภมู ทิ ี่ 4.2 แสดงพยากรณ์แบบแนวโน้มในลกั ษณะอนุกรมเวลา ท่มี า: ดดั แปลงจาก ณฐา คุปตษั เฐยี ร (2558 : 18) ค. รูปแบบการพยากรณต์ ามฤดกู าล (Seasonality) เป็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ข้ึนหรือต่าลง เป็นไปตามฤดูกาล เช่น ร้านขายอาหารจะขายได้ดี ยอดชมภาพยนตร์ในวันหยุด ฤดู หนาวจะทาให้ขายเส้ือกันหนาวได้มาก ในเทศกาลสงกรานต์น้าอบไทยจะมียอดขายที่สูงขึ้น การใช้

109 บริการทางด่วนช่วงชั่วโมงเร่งด่วน ยอดขายของโทรศัพท์มือถือแต่ละรุ่นท่ีออกวางตลาดโดยการ สง่ เสรมิ การตลาดอาจส่งผลต่อราคาและความนิยมที่สูงข้นึ เป็นต้น รูปแบบนี้แสดงไวใ้ นแผนภูมิถัดไป แผนภูมทิ ่ี 4.3 ลกั ษณะกราฟการพยากรณต์ ามฤดกู าล ท่มี า : เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.ucsbkk.com/wp-content/uploads/2015/07/1.3.png [2558, พฤษภาคม 12] รูปแบบการพยากรณ์แบบวงจรหรอื วัฏจักร (Cycles pattern) เป็นการเปลยี่ นแปลงทีอ่ ยู่ ในลักษณะเหมือนรูปแบบตามฤดูกาล แต่รูปแบบวัฏจักรจะกว้างไกลหรือยาวนานกว่าจึงจะเกิด รปู แบบวฏั จกั รขน้ึ เชน่ การเปลีย่ นแปลงรูปแบบเสอื้ ผ้าตามสมยั นยิ ม เปน็ ต้น แผนภูมทิ ่ี 4.4 ลกั ษณะกราฟการพยากรณ์แบบวงจรหรอื วฏั จกั ร ท่ีมา : เข้าถงึ ไดจ้ าก http://mba.sorrawut.com [2559, ธันวาคม 13] จากแผนภมู อิ นกุ รมเวลาท่ีผูเ้ รยี นได้ศกึ ษาก่อนหน้านี้เราจะสามารถเขียนเปน็ กราฟเชงิ เสน้ ได้ดังน้ี

110 แผนภูมิที่ 4.5 ลักษณะกราฟเชิงเส้น ทม่ี า : เขา้ ถึงได้จาก http://mba.sorrawut.com [2559, พฤษภาคม 9] กราฟเชิงเส้นน้เี องคือรูปแบบจาลองทางคณิตศาสตร์อีกรปู แบบหนึง่ ซึ่งใชเ้ ทคนิคการพยากรณ์ ท่ี Engene & Richard (1980) และปรยี าวดี ผลเอนก (2557) ได้แนะนาเทคนิคการพยากรณเ์ พ่ือ การผลติ ดว้ ยวิธวี ิเคราะหส์ มการถดถอยเชงิ เสน้ วิธีที่สอง การพยากรณ์ดว้ ยวธิ วี ิเคราะห์สมการถดถอยเชงิ เสน้ ตรง (Linear Regression) จากการศึกษาเทคนิคการพยากรณ์ด้วยวิธีน้ีของปรียาวดี ผลเอนก (2557 : 19-21) กล่าวว่า วิธีการนี้จะเป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวแปรซึ่งมีความสัมพันธ์กันในชิง เหตุการณ์ท่ีเกิดก่อนและเหตุการณท์ เ่ี กิดหลงั หรือจะกล่าวอีกนัยหน่ึงคือเป็นเหตุและผลกันฝุายบริหาร จะนาท้ังสอง ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกันมาเป็นข้อมูล เพื่อพยากรณ์ดูว่าปัจจัยหน่ึงที่เกิดขึ้นก่อนจะส่งผลต่อ อกี ปัจจยั หน่ึงอย่างไร บางทีอาจจะเรียกวา่ การพยากรณ์แนวโนม้ ก่อนอ่ืนผู้เขียนขอแนะนาสาหรับสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่นามาใช้แทนส่ิงท่ีเกิดก่อนหรือ ปัจจัยท่ีเป็นเหตุเราสมมติให้เป็นตัวแปร X ส่วนสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ท่ีนามาใช้แทนสิ่งท่ีเกิด ตามมาหรอื ปัจจยั ทีเ่ ปน็ ผลเราสมมตใิ ห้เปน็ Y ยกตวั อย่าง เชน่ ผลไม้สุกจึงตกสู่พ้ืน เมอ่ื เหตุการณข์ องผลไมส้ กุ เป็นส่งิ ท่เี กิดกอ่ นจึงกาหนดให้ เป็น X สาหรับเหตุการณ์ตกสูพ่ ื้นเป็นเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดตามมาภายหลังกาหนดใหเ้ ป็น Y สมมติว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการขายกับกาไร ผู้เรียนย่อมเข้าใจดีว่าว่าเหตุการณ์ท่ีเป็น การขายตอ้ งเป็นเหตุการณ์ท่ีเกิดก่อน (กาหนดให้เป็น X) เม่ือสถานประกอบการณ์มีมียอดขายย่อมมี รายได้และรายได้ท่ีมากกว่าต้นทุนนั่นคือกาไรเป็นเหตุการณ์สุดท้ายที่เกิดตามมา (กาหนดให้เป็น Y) เม่ือผู้เรียนวิเคราะหไ์ ดเ้ ชน่ น้ีย่อมสง่ ผลให้การตดั สินใจไม่ผิดพลาดในการคานวณข้นั ตอ่ ไป

111 ขอยกตัวอยา่ งความสมั พันธข์ องตวั แปรอีกกรณีหนงึ่ คือ ปริมาณการผลิตกับยอดขาย ในคร้ังนี้ ผู้เรียนน่าจะตอบได้โดยใช้หลักการที่กล่าวมาข้างต้น สาหรับเทคนิคในการพยากรณ์เพ่ือการผลิตด้วย วิธีวเิ คราะหส์ มการถดถอยเชิงเสน้ ตรงมเี ทคนิคการวเิ คราะห์กรณศี ึกษาดังนี้ 1. การวิเคราะห์ความสัมพนั ธข์ องท้งั สองตวั แปรว่าสง่ิ ใดเปน็ เหตสุ ่งิ ใดเป็นผล สาหรับ ตัวอย่างความสัมพันธ์ของปริมาณการผลิตกับยอดขายนั้นวิเคราะห์ได้ว่าเหตุการณ์ที่เกิดก่อน คือ การผลิตไม่เช่นน้ันจะเกิดยอดขายได้อย่างไร ปริมาณการผลิตจึงถูกกาหนดให้เป็น X ส่วนเหตุการณ์ ของยอดขายเป็นส่งิ ทเ่ี กดิ ตามมาหลังจากการขายจงึ ถกู กาหนดให้เปน็ Y 2. นิยมใหท้ ้งั สองปจั จยั เปน็ X กบั Y โดยให้ Y อย่ใู นแกนตง้ั และ X อย่ใู นแกนนอน ดงั แสดงไวใ้ นภาพประกอบถัดไป (ปจั จยั คาดคะเน) Y Y=a+bx y = ตัวแปรตาม (ผล) : เกิดหลงั x = ตวั แปรตน้ (เหต)ุ : เกดิ ก่อน b = ความลาดชันของเสน้ ตรง n = จานวนหนว่ ยของข้อมูล (ปี/ช้ิน/กล่อง) a = คา่ คงที่ 0 X (ปจั จยั คาดคะแนน) แผนภมู ิท่ี 4.6 การพยากรณ์เพอ่ื การผลติ ดว้ ยวิธีวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงเส้นตรง ทมี่ า: ดดั แปลงจากยุทธ กัยวรรณ์ (2543: 293) 3. สตู รทใี่ ชส้ าหรบั การคานวณน้คี อื Y=a+bx b  nxy  xy nx2  x2 a  y  bx n

112 เมื่อ n คือจานวนของสิ่งทท่ี าการสงั เกต ต่อไปน้ี เป็นตัวอย่างท่ีดัดแปลงจากปรียาวดี ผลเอนก (2557: 19) ได้เสนอเอาไว้ผู้เขียนเห็นว่าเป็น ตวั อยา่ งการคานวณแบบงา่ ย เสนอไว้ดังนี้ 4. คานวณการพยากรณ์ยอดขายและปรมิ าณการผลิต การพยากรณย์ อดขายและปริมาณการผลติ ฝาุ ยโรงงานในสถานประกอบการแห่งหนึง่ ผลิต และสง่ ออกน้าอัดลมต้องการพยากรณ์ยอดขายและปรมิ าณการผลิตสินค้าจากข้อมลู นี้ ตัวอย่างกรณศี ึกษา จงแสดงวธิ ที าและเติมคาอธบิ ายในช่องวา่ งให้ครบถว้ นจงคานวณหาคา่ พยากรณย์ อดขายในปี 2561 จะเป็นเทา่ ไร หากคาดวา่ ปริมาณการผลติ จะเทา่ กับ 8 ตันตอ่ วนั (ใหต้ อบทศนิยม 2 ตาแหนง่ ตวั เลขมากกวา่ 5 ให้ปดั ขึ้น) ตารางที่ 4.2 การพยากรณ์ยอดขาย ปริมาณการผลิต (ตนั ต่อวนั ) ปี ยอดขาย (พนั ล้านบาท) 4 3 2557 2 7 2558 4 8 2559 5 9 2560 6 2561 เทา่ ไร ทมี่ า : ดัดแปลงจากปรยี าวดี ผลเอนก (2557 : 19-21) ก่อนท่ีจะเริ่มคานวณให้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปริมาณการผลิตกับยอดขายน้ันวิเคราะห์ ได้ว่าเหตุการณ์ทเี่ กิดกอ่ น คอื ประการแรก เริ่มต้นวิเคราะห์เหตุการณ์จากโจทย์ สาหรับตัวอย่างกรณีศึกษานี้มีสอง เหตุการณ์ คอื ปริมาณการผลิต กบั ยอดขายขาย ประการทสี่ อง ให้พจิ ารณาวา่ เหตกุ ารณ์ใดเกิดกอ่ น เหตุการณ์ใดเกิดหลงั ประการทส่ี าม ข้อสมมติฐานเบือ้ งตน้ คือ เหตุการณใ์ ดเกิดกอ่ นกาหนดใหเ้ ป็น X สาหรบั เหตกุ ารณใ์ ดเกดิ หลัง กาหนดใหเ้ ปน็ Y ประการท่ีส่ี แทนค่า X และ แทนค่า Y ท่ีกาหนดในตารางการคานวณและแทนค่าในสูตร ตามลาดบั

113 สาหรับตัวอย่างนี้วิเคราะห์ได้ว่าถ้าหากการผลิตยังไม่เกิดขึ้นก่อน ยอดขายจะเกิดตามมาได้ อย่างไร ปริมาณการผลิตจึงถูกกาหนดให้เป็น X ส่วนเหตุการณ์ของยอดขายเป็นส่ิงท่ีเกิดตามมา หลงั จากการขายจึงถกู กาหนดให้เปน็ Y ขน้ั ท่ี 1 นาข้อมูลจากโจทย์ ไปหาค่าที่เก่ียวข้อง เพ่ือใช้ในการคานวณ ค่าสัมประสิทธ์ิของ a และ b ของสมการเส้นตรง Y = a + b x ไดเ้ ปน็ ตารางท่ี 4.3 การคานวณความสมั พันธ์ของปรมิ าณการผลติ กับยอดขายเพื่อใช้แทนคา่ ในสูตร     ปี ยอดขาย (ล้านบาท) ปริมาณการผลิต (ตันตอ่ วัน) XY X2 (Y) (X) 2 1 2557 2 1 12 9 35 49 2558 4 3 48 64 xy  97 2559 5 7 x2 123 2560 6 8 n=4 y  17 x  19 ทมี่ า: ดัดแปลงจากปรียาวดี ผลเอนก (2557 : 19-21) ข้ันที่ 2 คานวณความสัมพันธ์ของปริมาณการผลิตกับยอดขายเพ่ือใช้แทนค่าในสูตรโดย ข้อมูลรายปีในแต่ละบรรทัดมาคานวณ แล้วนาผลรวมของแต่ละบรรทัดมาแทนค่าในสูตรเพื่อหาค่า สมั ประสิทธ์ิ a และ b ต่อไป สาหรับกรณีศึกษานี้ให้นายอดขายคูณกับปริมาณการผลิตในแต่ละบรรทัดจนหมดข้อมูลใน อดีต เช่น บรรทัดแรก นายอดขาย 2 พันล้านบาทคูณกับปริมาณการผลิต 1 ตันต่อวันจะได้ค่า ความสัมพันธ์ XY เท่ากับ 2 (นาข้อมูลในสดมภ์ท่ี  คูณข้อมูลของสดมภ์ที่ ผลที่ได้คือ สดมภ์ที่ ) ส่วนสดมภ์สุดท้ายให้นาข้อมูลของสดมภ์ท่ี  มายกกาลังสอง) สาหรับสดมภ์ท่ี  ให้นับ จานวนข้อมูลในอดีตแล้วใส่ผลรวม หลังจากน้ันนาข้อมูลของบรรทัดผลรวมมาแทนค่าในสูตร เพื่อหา คา่ bไดแ้ ก่ข้อมูล ดงั น้ี n = 4 y  17 x  19 xy  97 x2 123 b  nxy  xy nx2  x2

114  497  1917  388  323  65 4123  192 492  203 (289) ดังนัน้ ค่า b  0.32 ข้นั ท่ี 3 แทนคา่ ในสตู รเพือ่ หาค่า a จากข้อมูลผลรวมที่คานวณได้ ดงั นี้ n = 4 x  19 y  17 b  0.32 a  y  bx n  17  0.3219  17  6.08  10.92 44 4 ดังนั้น คา่ a  2.73 ขั้นที่ 4 แทนคา่ ในสตู รของสมการเชงิ เสน้ y  a  bx เพือ่ หาค่าทตี่ ้องการทราบ จากข้อมลู ผลรวมท่คี านวณนาขอ้ มลู ค่าสัมประสิทธ์ิของ a และ b มาแทนคา่ ในสูตร ซง่ึ คา่ ที่คานวณได้มดี ังนี้ คา่ a  2.73 และ คา่ b  0.32 สมการเชิงเส้นอยา่ งง่ายท่ปี ระมาณขึน้ คือ y  2.73  0.32x จากข้อคาถามในกรณศี ึกษาท่ีตอ้ งการพยากรณ์เพอื่ การผลติ ซง่ึ ข้อมลู ทีต่ ้องการทราบคือ หาคา่ พยากรณย์ อดขายในปี 2561 จะเปน็ เท่าไร หากคาดวา่ ปรมิ าณการผลิตจะเทา่ กับ 8 ตันตอ่ วัน (ใหต้ อบทศนยิ ม 2 ตาแหน่ง ตัวเลขมากกว่า 5 ให้ปัดขน้ึ ) คานวณไดโ้ ดยปรมิ าณการผลติ คอื ค่า X เม่ือค่า X เท่ากบั 8 ค่า Y จะเปน็ เทา่ ไรนนั้ คานวณได้ ดังน้ี y  2.73  0.328  2.73  2.56 = 5.29 พนั ลา้ นบาท สรุป หากคาดว่าปริมาณการผลิตจะเท่ากับ 8 ตันต่อวันสามารถพยากรณ์ยอดขายในปี 2561 จะเป็น 5.29 ลา้ นบาท หรอื 5,290,000 บาท เปน็ คาตอบเพ่อื เป็นข้อมูลเสนอผ้บู รหิ ารการผลิตต่อไป

115 บทสรปุ ในการบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรมจะเริ่มที่การวางแผน แต่ก่อนท่ีจะมีการวางแผน นักบริหารอุตสาหกรรมจะต้องคาดการณ์ก่อนล่วงหน้าว่าจะผลิตอะไร แล้วนาผลจาก การคาดการณ์ ไปวางแผนในการผลติ ตอ่ ไป ในการที่จะทาให้ทราบว่าจะผลิตจานวนเท่าไร นี้ถือว่าเป็นการคาดการณ์ การผลิตในอนาคตหรอื ทเี่ รียกว่า การพยากรณเ์ พื่อการผลิต การพยากรณ์เพื่อการผลิตมีเทคนิคสองวิธี วิธีแรก คือ การพยากรณ์แบบไม่ใช้หลักการทาง สถิติซึ่งเป็นการพยากรณ์โดยอาศัยประสบการณ์ของผู้พยากรณ์ วธิ กี ารน้ีจะเหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง และขนาดเลก็ จะทราบได้ว่าจะนาสินค้าใดมาจาหน่าย และจะรู้ได้อีกว่าปริมาณที่จะนามาจาหน่ายน้ัน ควรจะมากน้อยเท่าใดจึงจะเพียงพอกับความต้องการ เป็นต้นวิธีท่ีสอง คือ การพยากรณ์ที่ใช้หลักการ ทางสถิติ สาหรับการพยากรณ์แบบน้ีอาศัยข้อมูลใช้ความรู้ทางสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล การพยากรณ์ในรูปแบบท่ีน้ีมีด้วยกันสองลักษณะได้แก่การพยากรณ์เชิงคุณภาพนั้นเป็นการรวบรวม ข้อมูลจากแนวความคิด ประสบการณ์จากฝุายต่าง ๆ แล้วนามาสรุปเป็นคาถามของการพยากรณ์ซึ่ง การพยากรณ์แบบนี้ยังแบ่งย่อยออกได้เป็นสี่วิธี ได้แก่ วิธีที่หน่ึง วิธีเดลฟายเป็นการพยากรณ์จาก การถามกลุ่มผเู้ ช่ียวชาญโดยใหผ้ ู้เช่ียวชาญแสดงความคิดเห็นซ่ึงวิธีการนี้ อาจจะถามได้สองถึงสามครั้ง จนได้ข้อค้นพบแล้วจึงสรุป วิธีที่สอง คือ วิธีวิจัยตลาด เป็นการหาข้อมูลจาก ผู้ซ้ือหรือผู้บริโภคว่า แนวโน้มการใชส้ นิ คา้ เปน็ อย่างไร วธิ ีทส่ี าม เป็นการวิธีถามจากผู้บริหารจากฝุายต่าง ๆ ของทางบริษัท เช่น ฝุายบริหาร ฝุายวิศวกร ฝุายการตลาด เป็นต้น วิธีที่สี่ คือ การสอบถามจากฝุายขาย ซึ่งวิธีน้ีจะ เป็นการสอบถามจากฝาุ ยขายโดยตรงเพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท่แี ทจ้ ริงจากลกู ค้า เน่ืองจากฝุายขายน้ันเป็นฝุาย ผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดลูกค้าน่าจะทราบถึงความต้องการของผู้บริโภคได้ดีที่สุด สาหรับสถานประกอบการที่ทา ธุรกิจผลิตหรืออยู่ในอุตสาหกรรมการผลิตมักนิยมใช้เทคนิควิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพ่ือนาข้อมูลที่ได้ เป็นเครอ่ื งมอื แก่ผบู้ ริหารสาหรบั การตดั สนิ ใจ สาหรับเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ได้นาเสนอตัวอย่างไว้เพียงสองวิธีจากหลากหลาย เทคนิควิธีที่ผู้เรียนสามารถสืบค้นเพ่ิมเติมและสามารถศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้ ส่วนเทคนิคสองวิธีใน เอกสารประกอบการสอนน้ี ท่ีปรากฏอยู่สองวิธีนี้ วิธีแรก คือ การพยากรณ์แบบอนุกรมเวลาเป็น การศึกษาทิศทางของข้อมูลจากอดีตจนถึงปัจจุบันและวิธีท่ีสอง คือ การพยากรณ์ด้วยวิธีวิเคราะห์ สมการถดถอยเชิงเส้นตรงเป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปร ยกตัวอย่าง เช่น ปริมาณ การผลติ กบั ยอดขาย ยอดขายกับกาไร หรอื ราคากับกาไร เปน็ ต้น

116 คาถามและกจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 4 1. จงอธบิ ายความหมายของการพยากรณ์เพ่ือการผลติ วา่ หมายถงึ อะไร 2. เทคนคิ การพยากรณม์ ดี ้วยกนั กีว่ ิธี อะไรบา้ ง จงอธบิ าย 3. การพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา เป็นอยา่ งไร มีกล่ี ักษณะ จงอธิบายพร้อมยกตวั อย่าง 4. ให้บอกถึงผลของการพยากรณ์การผลิตทผี่ ดิ พลาด พร้อมคาอธบิ าย 5. จงพยากรณ์ความต้องการของสนิ ค้าประเภทเครือ่ งดม่ื ชนิดหนงึ่ จากการบนั ทกึ ของผู้บรหิ าร เก่ยี วกับความต้องการสินค้าประเภทนี้ 3 ปี คือเดือน ปีที่หนึ่ง 320 ล้านขวด ปที ส่ี อง 400 ล้านขวด และปที ่สี าม 380 ล้านขวด จงพยากรณว์ า่ ในปีที่ 4 ควรจะผลิตจานวนเท่าไร 6. การสังเกตความตอ้ งการสินคา้ ชนดิ หน่งึ และเติมคาในชอ่ งวา่ งที่กาหนดให้ครบถ้วน ตารางท่ี 4.4 การสังเกตความต้องการปากกา (ลา้ นแทง่ ) เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 ปี 12 3 4 5 หนว่ ยสินค้า 250 300 350 400 450 ที่มา : ดดั แปลงจาก ณฐา คุปตัษเฐยี ร (2558 : 17) ค่าเฉลย่ี ของคาบเวลาปีที่ 1 – 3 = ………………… ลา้ นแท่ง แสดงการคานวณ ค่าพยากรณส์ าหรบั คาบเวลาปีท่ี 4 = ………………… ลา้ นแท่ง = ………………… ลา้ นแทง่ คา่ เฉลยี่ ตอ่ ไปคาบปที ี่ 2 – 4 แสดงการคานวณ ค่าเฉลยี่ ต่อไปคาบปที ่ี คาบที่ 3 – 5 = ………………… ลา้ นแทง่ แสดงการคานวณ คา่ พยากรณ์สาหรบั คาบเวลาปีที่ 5 = ………………… ลา้ นแทง่ 7. การสังเกตความต้องการสินคา้ ชนดิ หน่งึ และเติมคาในช่องว่างที่กาหนดให้ครบถ้วน

117 ตารางท่ี 4.5 การสงั เกตความตอ้ งการรองเทา้ (ลา้ นค)ู่ เดือน 2556 2557 2558 2559 2560 ปี 12 3 4 5 หนว่ ยสินคา้ 220 240 260 280 300 ทมี่ า : ดดั แปลงจาก ณฐา คปุ ตัษเฐยี ร (2558 : 17) ค่าเฉลยี่ ของคาบเวลาปที ี่ 1 – 3 = ………….... ลา้ นคู่ ค่าพยากรณ์สาหรับคาบเวลาปที ี่ 4 = ………….... ลา้ นคู่ คา่ เฉลี่ยตอ่ ไปคาบปีท่ี 2 – 4 = ………….... ล้านคู่ ค่าเฉลยี่ ตอ่ ไปคาบปที ่ี คาบท่ี 3 – 5 = ………….... ลา้ นคู่ คา่ พยากรณส์ าหรบั คาบเวลาปีที่ 5 = ………….... ลา้ นคู่ 7. สถานประกอบการแหง่ หน่ึงผลิตเสอ้ื ผ้าสาเรจ็ รปู เพื่อสง่ ขาย ต้องการพยากรณย์ อดขาย เพื่อนามาใช้ เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการวิเคราะห์โดยการขยายตลาดแหง่ ใหม่ ฝาุ ยวิเคราะห์โครงการทาการรวบรวม ข้อมลู ในอดตี ของยอดขายทส่ี ัมพันธ์กบั ปรมิ าณการผลติ ดงั น้ี ตารางท่ี 4.6 ข้อมลู ปริมาณผลติ และยอดขายปูนซีเมนต์ ปี พ.ศ. ยอดขาย (พนั ลา้ นบาท) ปรมิ าณการผลติ (ตนั /วัน) 2556 3 2 2557 2 3 2558 4 4 2559 5 5 2560 7 6 2561 เทา่ ไร 7 ทม่ี า : ดดั แปลงจากปรยี าวดี ผลเอนก (2557 ) และบุญเกียรติ ชวี ตระกลู กจิ (2534) จงคานวณหาคา่ พยากรณย์ อดขายในปี พ.ศ. 2560 ท่ีคาดว่าปรมิ าณการผลติ จะเทา่ กบั 7 ตนั /วัน (ให้ตอบทศนยิ ม 2 ตาแหนง่ ตวั เลขมากกว่า 5 ให้ปัดข้ึน) 8. ฝุายโรงงานในสถานประกอบการแห่งหนงึ่ ผลติ และส่งออกนา้ อดั ลมต้องการพยากรณ์ยอดขายและ ปริมาณการผลิตสนิ ค้าจากข้อมูลตอ่ ไปน้ีจงแสดงวิธีทาและเตมิ คาอธิบายในช่องว่างให้ครบถว้ น จงคานวณหาคา่ พยากรณย์ อดขายในปี 2561 จะเปน็ เท่าไร หากคาดว่าปริมาณการผลิต จะเท่ากับ 8 ตนั ตอ่ วัน (ให้ตอบทศนยิ ม 2 ตาแหนง่ ตัวเลขมากกว่า 5 ใหป้ ัดขน้ึ )

118 ตารางท่ี 4.7 ข้อมูลปริมาณผลติ และยอดขายนา้ อดั ลม ปี ยอดขาย (พันลา้ นบาท) ปริมาณการผลิต (ตันต่อวัน) 2557 3 3 2558 2 4 2559 4 2 2560 6 5 2561 เท่าไร 8 ท่มี า : ดดั แปลงจากปรยี าวดี ผลเอนก (2557 ) และบุญเกยี รติ ชวี ตระกลู กจิ (2534) สูตรคานวณ b  nxy xy a  y  bx y=a+bx nx2  x2 n จงแสดงการคานวณและเติมข้อมูลในช่องว่างในครบถ้วน วธิ ที า ข้ันที่ 1 ………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ปี x y ข้ันท่ี 2 ………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….………………………………………… ขน้ั ท่ี 3……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

119 ข้นั ท่ี 4 ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรปุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……Ans.

120 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 4 ณฐา คุปตษั เฐยี ร. (2558). การวางแผนและควบคมุ การผลิต. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ประสงค์ ประณีตพลกรังและคณะ. (2543). การบริหารการผลติ และการปฏบิ ัตกิ าร. กรงุ เทพฯ : ธนธัชการพิมพ์. ปรียาวดี ผลเอนก. (2557). การบรหิ ารการผลติ . (พมิ พค์ ร้ังท่ี 3). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. พิภพ ลลติ าภรณ.์ (2556). การวางแผนลคุ วบคุมการผลิต. กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยเู คช่นั . ยทุ ธ กยั วรรณ์. (2543). การบรหิ ารการผลิต. ศนู ย์สอ่ื เสริมกรงุ เทพ : พิมพ์ิดี จากัด. ลักษณะกราฟเชิงเสน้ . (2559). [Online]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://mba.sorrawut.com [2559,พฤษภาคม 9] ลักษณะกราฟการพยากรณต์ ามฤดูกาล. (2559). [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www. ucsbkk.com/wp-content/uploads/2015/07/1.3.png [2558, พฤษภาคม 12] ลักษณะกราฟการพยากรณแ์ บบวงจรหรือวัฏจกั ร. (2559). [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://mba.sorrawut.com [2559, ธนั วาคม 13] Buffa, Elwood & Sarinn, Rakesh. (1987). Modern Production and Operation Management. New York : John Wiley & Sons. Chiris Hughes. (1985). Production and Operation Management. London : Pan books Ltd. Engene L. Grant & Richard S. Leavenworth. (1980). Statistical Quality Control. (5thed.) : Tokyo. Mc.Graw – Hill. Donald Delmar .(1985). Operations and Industrial Management : Designing and Managing for productivity New York : McGraw – Hill, Inc. [Online]. Available : http://eresources.nlb.gov.sg/printheritage/detail/e379536f-2246-427e-83b7- 54597a79ab31.aspx. [2017, January 29] Norman Gaither. (1994). Production and operations management. (6thed.) : Orlando Florida : Harcourt Brace & company. [Online]. Available : https://www.abebooks.com/book-search/author/norman-gaither. [2016, January 3] Verma, Rohit, Boyer & Kenneth K. (2008). Operation and Supply Chain Management. Chaina : China Translation and Printing Service

121 แผนการสอนประจาบทท่ี 5 ชื่อบทภาษาไทย การวางแผนกาลงั การผลิต ช่ือบทภาษาอังกฤษ Capacity Planning เวลาเรียน 6 ชั่วโมง/สปั ดาห์ หัวข้อเนอ้ื หาประจาบท 5.1 ความหมายของกาลงั การผลิต 5.2 ประเภทของกาลงั การผลิต 5.3 การวดั กาลังการผลิต 5.4 ประเภทของแผนการผลติ 5.5 กลยุทธป์ รับการผลิต 5.6 รปู แบบจาลองทใ่ี ชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจวางแผนกาลงั การผลิต วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นได้ทราบความหมายของกาลงั การผลิต 2. เพอ่ื ศึกษาประเภทของกาลงั การผลติ ดว้ ยวิธีการยกตวั อย่างจากกรณีศึกษาทสี่ บื คน้ 3. เพ่ือศึกษาการวดั กาลงั การผลติ และวเิ คราะหพ์ รอ้ มการคดิ คานวณได้ 4. เพอ่ื วเิ คราะหก์ ลยทุ ธ์ท่ีใช้เพอื่ ปรบั การผลิตจากกรณีศึกษาทส่ี บื คน้ วิธีการสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. ผเู้ รยี นศึกษาจากเอกสารท่ีกาหนดใหโ้ ดยผสู้ อนบรรยายสรปุ ในหัวขอ้ เร่อื งการวางแผน กาลังการผลิต 2. แบง่ กลุม่ ใหผ้ ู้เรยี นไดว้ เิ คราะห์กรณีศึกษาทส่ี บื คน้ 3. ใหผ้ เู้ รียนทาแบบฝกึ หัดจากคาถามท้ายบทเป็นรายบคุ คลโดยผสู้ อนคอยให้คาช้ีแนะในกรณี ซักถาม 4. มอบงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาจากโจทย์ท่ีกาหนด พร้อมมาเฉลยคาตอบหลงั จากรบั ฟัง การบรรยาย สือ่ การเรยี นการสอน 10. เอกสารใบงานประจาบท 11. เอกสารประกอบการสอน เนื้อหาประจาบท 12. เทคนิคนาเสนอด้วย Power point 13. สอื่ ประสม 14. เครือ่ งคานวณ

122 การวดั และประเมินผล 1. ความสามารถในการการวิเคราะหแ์ ละคานวณกรณีศกึ ษาของโจทย์คานวณในใบงาน 2. ความสามารถในการตอบคาถามท้ายบทคดิ เปน็ รอ้ ยละ 70 ของขอ้ คาถามประจาบท

123 บทที่ 5 การวางแผนกาลังการผลิต (Capacity Planning) หลังจากที่ได้พยากรณ์ หรือ คาดหมายปริมาณความต้องการสินค้าในระยะเวลาข้างหน้าแล้ว ต่อมาก็ตอ้ งมาสรา้ งแผนการผลติ สาหรบั ชว่ งเวลาท่ไี ดพ้ ยากรณ์ แผนการผลิตท่ีทาขึ้นมานี้จะต้องสนอง ปริมาณความต้องการของลูกค้าได้ในช่วงเวลาท่ีเหมาะสมและได้คุณภาพของสินค้าตามความต้องการ ดังน้ันแผนการผลิตจึงเป็นตัวกาหนดงบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน จานวนแรงงาน จานวน ช่ัวโมงทางานซึ่งหมายรวมถึงเวลาทางานปกติและล่วงเวลา จานวนเคร่ืองจักรและระดับของสินค้า คงคลัง นักวิชาการหลายท่านได้แก่ กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์ (2545) ชุมพล ศฤงคารศิริ (2541) ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2542) พิภพ ลลิตาภรณ์ (2556) ยุทธ กัยวรรณ์ (2543) ทุกท่านล้วนกล่าวถึงความสาคัญของการวางแผนและควบคุมการผลิตทั้งส้ิน หน่ึงใน สาระสาคัญของการวางแผนและควบคุมประสิทธิภาพการผลิตด้วยเหตุผลท่ีว่าเม่ือมีการวางแผน การผลิตแล้วขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นขั้นตอนการดาเนินงานในกระบวนการผลิต (Process) เพื่อให้ได้ ผลผลิตออกมา สาหรับข้ันตอนการวางแผนการผลิตนี้เม่ือได้ศึกษางานวิชาการหลายเล่มพบว่าจะ เกีย่ วข้องกับเร่อื งของจานวนหรอื ปรมิ าณ (Quantity) มีความสัมพนั ธ์กับระยะเวลา (Timing) และมี สาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการวัดระดับของความสามารถในการใช้งานซ่ึงผู้เขียนขอเรียกว่า “กาลังการผลิต” ซึ่งกาลังการผลิตในที่น้ีมีนักวิชาการ ได้แก่ Heizer & Barry (2011) Jacobs, et al. (2011) Norman & Frazier (1999) Nahmaias (2009) Martin (1989) ได้กล่าวถึงความสาคัญของ การวางแผนและควบคุมการผลิตเพ่ือให้ระดับความต้องการในตลาดเกิดความสมดุลระหว่างความ ต้องการและกาลังการผลิตแต่ในภาษาอังกฤษจะใช้คาว่า “ Capacity” การควบคุมกาลังการผลิตให้ เหมาะสมไม่ให้ผลิตมากเกินความต้องการ การผลิตให้พอดีกับความต้องการของตลาดจะเป็นการลด ต้นทุนในการผลิตด้วย การวางแผนการผลิตนอกจากจะเป็น การจัดวางระบบในการผลิตแล้วหาก พบว่าพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภคเปล่ียนไป ผู้บริหารอาจจะนาข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจ เพมิ่ จานวนการผลิต หรือบางคร้ังอาจจะควบคุมผลผลิตให้น้อยลง ตลอดทั้งเวลาก็เข้ามามีบทบาทต่อ แผนกการผลิตบางช่วง เช่น ฤดูกาล หรือเม่ือมีการโฆษณาทาให้ยอดขายเพิ่มข้ึนก็จาเป็นจะต้องมี การปรับแผนการผลติ ใหมใ่ หเ้ หมาะสม ทั้งน้ีก็เพือ่ มุ่งไปสผู่ ลติ ภาพนน่ั เอง

124 5.1 ความหมายของกาลังการผลิต ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2542) และ Norman & Frazier (1999) ได้อธิบายความหมายของ คาวา่ กาลงั การผลิต หมายถงึ อตั ราการใช้ผลผลิตสงู สดุ ของเคร่อื งจักร อปุ กรณท์ ีม่ อี ยู่ในฝาุ ยโรงงานของ สถานประกอบการแห่งใดแห่งหนึ่งซึ่งอัตราการผลิตที่ใช้น้ันผู้ปฏิบัติงานในฝุายโรงงานจะทาหน้า ท่ี รับผิดชอบให้กาลังการผลิตมีเพียงพอตามความสามารถของสถานประกอบการท่ีประกอบธุรกิจนั้นๆ อย่เู สมอทัง้ น้ีก็เพอื่ เปูาหมายในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเปน็ สาคัญ ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) พิภพ ลลิตาภรณ์ (2556) ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) และ Jacobs, et al. (2011) ไดก้ ล่าวถึงความสาคญั ของการวางแผนและควบคุมการผลติ ไวแ้ ละส่วนหน่ึงของการวาง แผนการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพก็คือการวางแผนกาลังการผลิต และกาลังการผลิตในความหมายของ นักวิชากลุ่มนี้ลุ่มลึกไปถึงความสามารถในการจัดการกาลังการผลิตโดยใช้คาศัพท์เทคนิคว่า “Capacity Management” โดยทุกทา่ นไดอ้ ธบิ ายไปในทศิ ทางเดียวกนั วา่ กาลงั การผลิตมีสาระสาคัญ ที่น่าสนใจส่ีประการ คือ ประการแรกเป็นการวางแผนความต้องการของปัจจัยการผลิตอันเป็น ทรัพยากร สาคัญยิ่งที่จะเป็นตัวตั้งต้นเพ่ือนไปสู่ปลายทางคือผลผลิตที่ได้ ประการท่ีสองเป็น การวางแผนกาลงั การผลิตอย่างคร่าวๆ ประการที่สามเป็นการวางแผนความต้องการในกาลังการผลิต และประการสดุ ท้ายเปน็ การควบคุมปจั จัยการผลิตเทยี บวัดกบั ผลผลติ ปรียาวดี ผลเอนก (2557) Heizer & Barry (2011) Nahmaias (2009) Martin (1989) และ Krajewski & Ritzman (1996) ได้ให้ข้อสรุปไว้ว่าสาหรับการวางแผนและควบคุมการผลิตที่มี ประสทิ ธิภาพจะนาไปส่คู วามสาเร็จของผู้ผลิตที่จะตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคและเม่ือจะให้ คานิยามของคาว่ากาลังการผลิตถึงขั้นสูงสุดแล้วก็คือการนาอัตราผลลัพธ์เฉลี่ยมาเปรียบเทียบกับ อรรถประโยชน์ของการใช้งานในเครื่องมือเคร่ืองจักรพื้นท่ีและแรงงานแล้วสามารถประเมินได้และทา ให้เป็นร้อยละได้ดังน้ันกาลังการผลิตจึงเป็นส่ิงที่สามารถวัดได้เป็นตัวเลขในเชิงปริมาณแล้วกลยุทธ์ เหลา่ นี้เองท่จี ะนาพาใหส้ ถานประกอบการมีความไดเ้ ปรยี บทางการแข่งขนั ได้ จากแนวคดิ และทฤษฎีของนักวชิ าการทุกคนที่กล่าวมาข้างต้นสรุปความได้ว่า กาลังการผลิต หมายถงึ สรปุ วา่ อัตราการใช้ผลผลติ สูงสดุ ของเครอ่ื งจกั ร อุปกรณ์ พืน้ ท่ี แรงงาน ที่มอี ยู่ในฝุายโรงงาน ของสถานประกอบการแห่งใดแห่งหนึ่งซึ่งเป็นส่ิงที่สามารถวัดได้นาอัตราผลลัพธ์เฉลี่ยมาเปรียบเทียบ กับอรรถประโยชน์ของการใช้งานในเคร่ืองมือเครื่องจักรพื้นที่และแรงงานและถ้าหากนักบริหาร การผลิตสามารถวางแผนงานอย่างเป็นระบบ ผู้จัดการฝุายโรงงานสามารถประสานงานให้พนักงาน ระดับปฏิบัติการสามารถควบคุมอัตราการผลิตสูงสุดให้ใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพโดยควบคุมปัจจัย การผลิตเทยี บวดั กับผลผลิตได้เหมาะสมแล้วก็จะกอ่ ใหเ้ กิดผลิตภาพ ขอยกตัวอยา่ งเพือ่ ใหเ้ หน็ เป็นรูปธรรมมากย่ิงข้ึน ขอให้ผู้เรียนนึกถึงร่างกายของคนเรา เม่ือใด ท่ีเราเกดิ ความหวิ ก็ตอ้ งรับประทานอาหารไปจนกระทัง่ ไมส่ ามารถรบั ประทานอาหารไดอ้ ีกต่อไปแล้ว นั่นหมายถงึ วา่ ในกระเพาะอาหารของเราบรรจอุ าหารเตม็ แลว้ หรอื น้าทรี่ นิ ใส่ขวดเมื่อเต็มขวดแล้วน้าก็ จะล้นออกมา แสดงว่าขวดใบนั้นรับน้าได้ในปริมาณเท่ากับขนาดท่ีบรรจุซ่ึงเปรียบเสมือนกับกาลัง การผลิตของเครื่องจักรในระบบการผลิตขวดน้าเม่ือเกินกาลังท่ีจะรับปริมาณน้าได้ก็จะล้นออกมา

125 ความเสียหายก็เกิดข้ึนก็เป็นเพียงความเปรอะเป้ือนแต่ถ้าเป็นความเสียหายของเครื่องจักรท่ีผลิตเกิด กาลังน่ันหมายถึงพลังงานที่ต้องสูญไปอย่างเปล่าประโยชน์และไม่สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ หรือ จะเปรียบเทียบกับการระยะทางและความเร่งของเคร่ืองยนต์ของรถยนต์ในอัตราเร่งสูงสุดบนหน้าปัด อยู่ท่ี 260 กิโลเมตร/ช่ัวโมง นั่นคือเร่ืองของกาลังการผลิต แต่ในทุกวันการขับรถของคนส่วนใหญ่จะ เหยียบคันเร่งไม่เกิน 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง เปรียบเสมือนการผลิตจริง แต่ถ้าเป็นเครื่องจักรหากนัก บริหารการผลิต สั่งการให้ผู้ปฏิบัติการในโรงงานใช้เครื่องจักรเกินกาลังการผลิตแล้ว อันตรายย่อม เกิดข้ึน และอาจกลายเป็นความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินก็เป็นได้ องค์การอาจเสียโอกาสใน การทากาไรไดต้ ามเปูาหมายทว่ี างไว้ 5.2 ประเภทของกาลงั การผลติ ณฏั ฐพนั ธ์ เขจรนนั ทน์ (2542) และ Norman & Frazier (1999) ได้อธบิ ายได้ใกลเ้ คยี งกนั ว่า เรอ่ื งกาลงั การผลติ โดยท่ัวไปแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ 5.2.1 กาลังการผลิตท่ีเกิดข้ึนจริง (Effective Capacity) เป็นกาลังการผลิตซึ่งเกิดข้ึนจริง และ ยังคงรักษาระดับการประหยัดการเดินเคร่ืองของเคร่ืองจักรในโรงงาน เช่น เคร่ืองจักรใน โรงงานผลติ พื้นซเี มนต์อัดแรง แหง่ หนึง่ ถูกออกแบบใหม้ ีกาลงั การผลติ 30 ตันต่อวัน แต่มีการผลิตจริง เพยี ง 27 ตนั ตอ่ วัน ซ่ึงแตกตา่ งจากการผลติ ในแบบทสี่ อง 5.2.2 กาลังการผลิตสูงสุดตามที่ออกแบบ (Design Capacity) เป็นการออกแบบกาลัง การผลิตไว้โดยวางแผนและควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเป็นระบบและมีลาดับขั้นตอนการทางานท่ี ชัดเจนละมีการระบุ กิจกรรมการผลิต (Production Activity) เพ่ือรักษาระดับการทางาน คานึงถึง การประหยัดต้นทุน และสร้างความปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติงานได้ดาเนินการเป็นไปด้วยความราบร่ืน ยกตัวอยา่ งเช่น วศิ วกรผูอ้ อกแบบเคร่ืองจักรเพื่อใช้ในโรงงานซีเมนต์อัดแรงแห่งเดียวกันให้มีกาลังการ ผลิต 30 ตันตอ่ วนั ผู้จดั การฝาุ ยโรงงานจะสั่งใหค้ นงานเดินเคร่ืองจักรเท่ากับขนาดกาลังการผลิตเต็มที่ คือ 30 ตันตอ่ วนั เป็นต้น สาหรับกาลังการผลิตที่ได้วางแผนออกแบบไว้น้ันถูกแบ่งขอบข่ายของกิจกรรมตาม ระยะเวลากิจกรรมการผลิตเพื่อให้การผลิตดาเนินไปได้ด้วยดี และมีประสิทธิภาพ ตามการวาง แผนการผลติ ทีว่ างไว้ต้องกาหนดกิจกรรมใหเ้ อื้อต่อการผลติ จงึ แบ่งเป็นระยะต่างๆ ดงั นี้ดงั น้ี 1) กจิ กรรมก่อนการผลติ (Preproduction Activities) หรือ กิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีต้องทา กอ่ นที่จะมีการวางแผนในการผลติ เพ่อื ให้เกิดความแน่ใจและมั่นใจว่าการวางแผนน้ันจะดาเนินการไป ได้ไม่เกิดปัญหาตามมา หรือ เม่ือวางแผนแล้วดาเนินการไปได้ ในขั้นของการผลิต กิจกรรมก่อน การผลติ พอจะแบง่ ออกเป็นลาดบั ขน้ั ดงั นี้ ขนั้ ที่ 1 การขออนุมตั ิ และทาตารางการผลติ (Authorization and Master Scheduling) ข้นั ที่ 2 ความเห็นชอบของวศิ วกร (Engineering Release) ขน้ั ที่ 3 การวิเคราะห์ผลิตภณั ฑ์ การทาใบส่งั ซอื้ (Purchase Order)

126 ขน้ั ท่ี 4 การหาปจั จัยการผลติ (Procurement Cycle) ขั้นท่ี 5 การจัดจาหนา่ ยหรือแผนกในบรกิ ารต่างๆ (In – Plant Service) ข้ันที่ 6 การตรวจรับและตรวจสอบสุขภาพ (Inspection and Receiving) 2) กิจกรรมในขณะปฏิบัติการผลิต (Production Activities) เป็นกิจรรมที่ใช้ใน กระบวนการผลิตซึง่ จะเริ่มจากขน้ั ตอน ดงั นี้ ข้นั ท่ี 1 การออกแบบระบบการผลิต (Production System Design) ในขั้นตอนน้ี ลักษณะงานจะเป็นการออกแบบสายการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรมว่าจะออกแบบอย่างไรหรือจัด สายการผลิตอย่างไร จึงจะทาให้การผลิตดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพซ่ึงระบบ การผลติ ถ้าแบง่ ตามการวางผงั การผลติ ในโรงงานมดี ้วยกันสองลักษณะ ดงั น้ี ก. ระบบการผลิตต่อเน่อื ง (Continuous Production System) ข. ระบบการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง (Intermittent Production System) ขั้นท่ี 2 จัดจาหน่ายงานปฏิบัติตามสายงานกิจกรรมการผลิต (Production Activities) เป็นกิจกรรมท่ีมีความสาคัญในการผลิต ผลิตภัณฑ์จะออกมาดีหรือไม่ดี ทันต่อความ ต้องการของตลาดหรอื ไม่ สาเหตเุ บอ้ื งต้นจะอยทู่ กี่ ระบวนการผลิต ขั้นที่ 3 การวิจัยและพัฒนา (Research & Development) เป็นข้ันตอนของ การตดิ ตามการประเมนิ ผลประสิทธภิ าพการทางานวา่ เป็นอย่างไร เกิดปัญหาอะไรบ้างในกระบวนการ ผลิต มีผลกระทบใดทส่ี ่งผลต่อการเคล่อื นไหวของการทางานบ้าง ผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับการออกแบบไว้น้ัน เมื่อได้ผลผลิตออกมาได้มาตรฐานตามที่กาหนดไว้หรือไม่ ถ้าไม่ได้มาตรฐาน มีสาเหตุจากจุดใดหาก การวิจยั พบวา่ ปญั หาทเี่ กดิ ขึน้ มีสาเหตุมาจากจดุ ใด กจ็ ะได้ดาเนนิ การแก้ไขตอ่ ไป ดังจะเห็นได้จากแผนภาพที่จะอธิบายต่อไปนี้ดัดแปลงจากยุทธ กัยวรร (2543) และสบื คน้ คาอธบิ ายเพ่ิมเตมิ จากพภิ พ ลลิตาภรณ์ (2556) จะสามารถทาให้ผู้เรียนได้มองเห็นภาพรวม ของขั้นตอนและกิจกรรมการผลิตต้ังแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการได้ โดยเริ่มต้นจากเม่ือ ผ้ปู ฏบิ ัติงานไดร้ บั คาส่งั จากลูกค้าก็เร่ิมต้นออกแบบกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามสายงานการผลิตใน ระหว่างปูอนปัจจัยการผลิตเข้าสู่กระบวนการผลิตก็จะต้องมีระบบการควบคุมคุณภาพต่อเน่ืองตลอด สายงานซึง่ รายละเอียดของงานดา้ นควบคณุ ภาพนผี้ เู้ รียนจะได้ศึกษาอย่างละเอยี ดในบทที่ 9 ต่อไป สาหรับกระบวนการผลิตนั้นเม่ือมีการผลิตและออกผลิตภัณฑ์มาสู่ตลาดสักช่วง ระยะเวลาหน่ึงความนิยมและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอาจทาให้ความต้องการของลูกค้าเปล่ียน ตามจึงเป็นหน้าท่ีของฝุายวิจัยและพัฒนาจะได้ทาการออกแบบรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์เพ่ือสนองตอบ ความต้องการที่เปลี่ยนไปนั้น อีกทั้งยังจะต้องวางแผนออกแบบระบบปฏิบัติการใหม่บางช่วงของ สายการผลิตเพื่อประหยัดต้นทุน ส่งมอบรวดเร็วตรงเวลาและครบถ้วนตามจานวนภายใต้ความ ปลอดภัยและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในท้ายท่ีสุดผลผลิตที่ได้ก็จะมีประสิทธิผลเป็นที่พึงพอใจของ ลูกค้าในที่สุด ดังแสดงภาพรวมของคาอธบิ ายนีไ้ วใ้ นแผนภาพที่ 5.1

127 รับงานจากลกู ค้า สง่ สินคา้ ออกแบบกระบวนการผลติ จดั สายงานการผลิต การควบคุมการผลติ ผลผลติ ผลติ กระบวนการผลติ ปจั จยั การผลติ การวจิ ยั และพัฒนา แผนภาพที่ 5.1 แสดงกิจกรรมการผลติ ทีม่ า : ดัดแปลงจาก ยทุ ธ กยั วรร (2543 : 159) และพภิ พ ลลิตาภรณ์ (2556) 5.3 การวดั กาลังการผลติ ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2542) และ Russell & Taylor (2011) ความสามารถในการวัด กาลังการผลิตสามารถวดั ได้ 3 แบบ ดงั น้ี แบบที่ 1 สามารถวัดได้จากปัจจยั การผลติ (Input) แบบที่ 2 สามารถวดั ได้จากสนิ ค้าทีผ่ ลติ ได้ (Output) แบบท่ี 3 สามารถวัดได้วัดทั้งปัจจัยการผลิตและสินค้าท่ีผลิตได้ (Input และ Output) หมายความ ว่าสามารถวัดได้จากสัดส่วนของ Input และ Output ได้เท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตาม ความสามารถในการวัดกาลังการผลิตนั้น อาจจะมีสัดส่วนเท่ากันหรือต่างกันก็ได้ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ ประเภทของธุรกิจด้วย ดังน้ันเพ่ือความเข้าใจที่ชัดเจนย่ิงข้ึน ขอยกตัวอย่างและเปรียบเทียบให้เห็น ความแตกตา่ งโดยแสดงไว้ใน ตารางที่ 5.1

128 ตารางที่ 5.1 แสดงการวัดการผลิตรูปแบบต่าง ๆ การวดั การผลติ ตวั อย่างการวัดการผลติ 1. วดั จาก Input (ปจั จัยการผลิต) Input Process Outpu ธุรกิจบันเทงิ ต่าง ๆ เชน่ โรงภาพยนตร์ การจัด แสดงบนเวที สถานบันเทิงยามค่าคืน ธุรกิจ t เหล่าน้ีมุ่งหวังเพียงปริมาณผู้ชม สามารถ 2. วดั จาก Output (สินคา้ ที่ผลิตได้) สังเกตและวัดปริมาณปัจจัยนาเข้าได้จากบัตร ผา่ นประตู ฯลฯ Input Process Output ธุรกิจผลิตรถยนต์ เคร่ืองจักร เคร่ืองใช้ไฟฟูา 3. วัดท้ัง Input & Output เท่า ๆ กนั ธุรกิจเหล่านี้มักจะวัดจากจานวนสินค้าที่ผลิต Input Process Output ไดไ้ ม่ว่าวัตถุดิบจะเหลืออยู่เท่าไร ผู้จัดการฝุาย โรงงานจะนับจานวนผลผลิตสาเร็จรูปเป็นชิ้น เพอื่ รายงานต่อผบู้ รหิ าร และหากวัดจากปัจจัย การผลิตซึ่งประกอบไปด้วยชิ้นส่วนต่าง ๆ จะ วัดได้ไมช่ ดั เจน ธุรกิจจาพวกอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนท่ี มักเป็นสินค้า ท่ีต้องเพ่ิมมูลค่า (Value Added) ถ้าต่อเช่ือม แลว้ เกดิ ของเสยี ถือวา่ เกดิ ต้นทุน ตั้งแต่ขั้นตอน ปูอนปจั จยั การผลิตเลย ที่มา : ดดั แปลงจาก ณัฏฐพนั ธ์ เขจรนันทน์ (2542) และ Russell & Taylor (2011) ข้อสังเกต : สินค้าประเภทการบริการ (จับต้องไม่ได้) มักวัดกาลังการผลิตจาก Input ส่วน สินคา้ (จบั ตอ้ งได้) มกั วัดกาลงั การผลติ จาก Output ในการวางแผนกาลังการผลติ มีฝาุ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 3 ฝาุ ย คือ 1. ฝุายการตลาดและฝาุ ยขาย (Marking and Sale) จะกาหนดเปูาหมายของยอดขายในปี ถัดไปว่าจะกาหนดยอดขายที่เท่าไร ปัจจุบันการกาหนดยอดขายอาศัยการอ้างอิงข้อมูลจากข้อมูล ยอดขายของปีท่ีผ่านมาเปน็ หลักโดยระบุเป็นตัวเลขว่าในปีหน้าจะมีการผลิตสินค้าทั้งหมดประมาณกี่ตู้ ต่อเดอื น โดยมิไดแ้ ยกเปน็ รายผลติ ภัณฑ์ และมิได้กาหนดถึงปริมาณความต้องการในแต่ละเดือนเป็น การวางแผนท่ีเริ่มต้นจากปริมาณการผลิต จากน้ันฝุายการตลาดและฝุายขายจะใช้ กลยุทธ์ทาง การตลาดเพอื่ ให้บรรลุเปูาหมายทต่ี งั้ ไว้ 2. ฝุายผลิต (Production) ฝาุ ยผลติ รับผดิ ชอบเรอ่ื ง ความสามารถในการผลิตวา่ สามารถทา การผลติ ตามจานวนทฝี่ าุ ยการตลาดเสนอมาได้หรือไม่โดยจะมีการปรับค่าการผลิตอย่างต่อเนื่องเม่ือมี คาสัง่ ซ้ือเขา้ มา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook