Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารการผลิตและการดำเนินงาน

การบริหารการผลิตและการดำเนินงาน

Published by yuipothong, 2019-04-22 08:54:07

Description: พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2560
พิมพ์ครั้งที่ 2 มิถุนายน 2561

Keywords: Production and Operation Management

Search

Read the Text Version

1

(2) เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน เบญจมาส เปาะทอง บธ.ม.(บรหิ ารธรุ กิจ) คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี 2561

(3) การบริหารการผลิตและการดาเนินงาน ผเู้ ขียน : เบญจมาส เปาะทอง พิมพ์คร้ังที่ 1 : สงิ หาคม 2560 พิมพ์ครงั้ ที่ 2 : มิถนุ ายน 2561 จานวนหน้า : 340 หนา้ จานวน : 600 เล่ม จดั พิมพโ์ ดย ศูนยเ์ อกสารตารา สานักทรัพยส์ ินและสทิ ธปิ ระโยชน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เลขท่ี 272 ถนนสรุ าษฎร์-นาสาร ตาบลขนุ ทะเล อาเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี 84000 โทร. 077-913333 โทรสาร. 077-919948 http://www.sru.ac.th

1 คานา เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน รหัสวิชา MGM 0508 น้ี ได้มีการปรับปรุงอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ปี 2557 จวบจนปัจจุบัน ปี 2560 ได้ปรับปรุงให้ดีย่ิงข้ึน และใช้ประกอบการเรียนการสอนสาหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขา บริหารธุรกิจ อีกท้ังยังเป็นประโยชน์กับผู้สนใจศึกษาในด้านบริหารธุรกิจโดยทั่วไป โดยแบ่งเนื้อหา ของ การเรียนการสอนไว้ 11 บท ใช้เวลาในการเรียนการสอน 15 สัปดาห์ มุ่งเน้นให้ผู้สนใจศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจและอธิบายถึงการวางแผนการผลิตสินค้าและบริการและสามารถบอกแนวทาง การควบคุม การผลิตสินค้าและบริการได้ ในเอกสารประกอบการสอนนี้มีเน้ือหาประกอบด้วย บทท่ี 1 บทนาการ บรหิ ารการผลติ และการดาเนนิ งาน บทที่ 2 การเลอื กทาเลที่ต้ังของสถานประกอบการ บทที่ 3 การวางผัง ของสถานประกอบการ บทท่ี 4 การพยากรณ์เพื่อการผลิต บทที่ 5 การวางแผนกาลังการผลิต บทที่ 6 การวางแผนและพฒั นาผลิตภัณฑ์ บทที่ 7 การบริหารสินค้าคงคลัง บทที่ 8 การจัดการโลจิสติกส์ บทท่ี 9 การควบคุมคุณภาพ บทท่ี 10 การบารุงรักษาและความปลอดภัยในสถานประกอบการ นอกจากน้ี ยังมี ตัวอย่างแนวทางการจดั ทารายงานและการนาเสนอกรณศี กึ ษาในบทที่ 11 กรณีศึกษาการบริหารการผลิต และการดาเนนิ งานเพื่อชว่ ยให้นักศึกษาไดส้ มารถวิเคราะห์ปจั จยั ความสามารถในการแขง่ ขนั ได้ ผู้สนใจศึกษาควรศึกษาจากแหล่งสืบค้นปฐมภูมิได้แก่ทาหนังสือขออนุญาตจากมหาวิทยาลัย เพอ่ื เขา้ เยยี่ มชมสถานประกอบการหรอื สืบค้นจากแหลง่ ทุติยภูมิ เช่น จากห้องสมุดหรือเว็บไซด์ โดยแหล่ง สืบค้นเบ้ืองต้นสามารถศึกษาได้จากเอกสารอ้างอิงประจาบทหรือบรรณานุกรมแนบท้ายเอกสาร ประกอบการสอนนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ให้กับนักศึกษาในหลักสูตร และผู้สนใจตามสมควรและยินดีน้อมรับข้อเสนอแนะจากทุกความคิดเห็นเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาใน โอกาสต่อไป เบญจมาส เปาะทอง สิงหาคม 2560

(2) กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณคุณพ่อ ร.ต.ท.จรัส ช่วยนุ้ย คุณแม่นางเสงี่ยม ช่วยนุ้ย กราบพระคุณครูบา อาจารย์ทุกท่าน ขอบคุณท่านผู้บริหาร ขอแสดงความนับถือต่อเพื่อนคณาจารย์ ขอบใจลูกศิษย์ทุกคน ตลอดจนความอนุเคราะห์ของสถานประกอบการที่อนุญาตให้เผยแพร่องค์ความรู้เพ่ือก่อประโยชน์ทาง การศกึ ษา ขอขอบคณุ คุณภาสกร ช่วยนุ้ยประธานบริษทั พี.ซเี อช.ทีม เอ็นจิเนียร่ิง จากัด และบริษัทอ่ืน ๆ ท่ีได้อนุเคราะห์ข้อมลู อันเป็นประโยชน์ต่อเอกสารประกอบการสอนฉบบั นี้ ขอขอบคุณกาลังใจจาก พ.ต.ท. ดร.คมณ์เดช เปาะทอง สามีผู้อยู่เคียงข้างกันเสมอมา ขอบคุณทุกแหล่งเผยแพร่ข้อมูลท่ีทาให้เอกสาร ประกอบการสอนฉบับนี้เข้าถึงผู้อ่านได้อย่างแท้จริงและหากมีโอกาสจะพัฒนางานเขียนเพ่ือเรียงร้อย เรอื่ งราวและเรียบเรยี งให้เป็นประโยชน์ตามสมควรต่อไป เบญจมาส เปาะทอง มถิ นุ ายน 2561

(3) สารบัญ หนา้ (1) คานา…………………………………………………………………………………………………………………………… สารบัญ........................................................................................................................... ............. (3) สารบัญตาราง....................................................................................................................... ...... สารบญั แผนภาพ......................................................................................................................... (7) สารบญั ภาพ....................................................................................................................... ......... สารบัญแผนภมู .ิ .......................................................................................................................... (9) สารบญั แผนที่............................................................................................................................. . แผนบริหารการสอนประจาวิชา................................................................................................ (10) แผนการสอนประจาบทท่ี 1…………………………………………………………………………………………… บทที่ 1 บทนาเกย่ี วกบั การบริหารการผลติ และการดาเนนิ งาน.......................................... (13) ความหมายของการบริหารงานผลติ และการดาเนนิ งาน............................................ (14) ลักษณะและความสาคญั ของการบริหารการผลติ และการดาเนินงาน........................ แนวคดิ และวธิ ีการตดั สินใจเลือกกลยทุ ธก์ ารผลิตและการดาเนนิ งาน........................ (15) ขอบเขต หนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบของการบรหิ ารการผลติ และการดาเนนิ งาน..... บทสรปุ ...................................................................................................................... 1 คาถามและกิจกรรมท้ายบท....................................................................................... 3 เอกสารอ้างอิง............................................................................................................ 4 แผนการสอนประจาบทท่ี 2……………………………………………………………………………………………. 9 บทท่ี 2 การเลือกทาเลทต่ี ้งั ของสถานประกอบการ.............................................................. 18 ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ การเลือกทาเลทีต่ ้ัง............................................................................ 23 การตัดสินใจในการเลอื กทาเลทต่ี ้งั ............................................................................ 26 การประยุกตใ์ ชก้ ารวางแผนเลือกทาเลทต่ี ้ังของสถานประกอบการ.......................... 27 บทสรุป.................................................................................... ................................. 29 คาถามและกิจกรรมท้ายบท...................................................................................... 31 เอกสารอ้างอิง........................................................................................... ................ 33 แผนการสอนประจาบทท่ี 3…………………………………………………………………………………………… 35 บทท่ี 3 การวางผงั ของสถานประกอบการ......................................................................... 46 วัตถุประสงค์ในการวางผงั ของสถานประกอบการ..................................................... 50 ประโยชน์ในการวางผังของสถานประกอบการ.......................................................... 55 รูปแบบในการวางผงั ของสถานประกอบการ............................................................. 56 ขน้ั ตอนในการวางผงั ของสถานประกอบการเบ้ืองต้น................................................. 59 ขน้ั ตอนในการวางผงั ของสถานประกอบการอย่างละเอียด......................................... 61 บทสรปุ ........................................................................................................................ 63 66 69 70 85 89 91

(4) สารบญั (ตอ่ ) คาถามและกิจกรรมทา้ ยบท........................................................................................ 92 เอกสารอ้างองิ ............................................................................................................. 94 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 4………………………………………………………………………………….. 97 บทที่ 4 การพยากรณเ์ พ่อื การผลิต...................................................................................... 99 ความหมายของการพยากรณ์...................................................................................... 99 วัตถุประสงค์ของการพยากรณ์.................................................................................... 101 ความสาคัญของการพยากรณ์การผลิต........................................................................ 103 ผลกระทบที่เกดิ ขึ้นจากการพยากรณ์ทผ่ี ดิ พลาด......................................................... 104 ประเภทของการพยากรณ์........................................................................................... 105 เทคนิคการพยากรณ์.................................................................................................... 105 บทสรุป.................................................................................................... .................... 115 คาถามและกิจกรรมท้ายบท........................................................................................ 116 เอกสารอ้างอิง.................................................................................................... ......... 120 แผนการสอนประจาบทที่ 5……………………………………………………………………………………………. 121 บทท่ี 5 การวางแผนกาลังการผลิต..................................................................................... 123 ความหมายของกาลังการผลิต..................................................................................... 124 ประเภทของกาลังการผลิต.......................................................................................... 125 การวดั กาลงั การผลิต................................................................................................... 127 ประเภทของแผนการผลติ ........................................................................................... 129 กลยุทธป์ รับการผลติ ................................................................................................... 131 รูปแบบจาลองท่ีใช้ประกอบการตัดสนิ ใจวางแผนกาลังการผลติ ................................ 134 บทสรุป....................................................................................................................... 146 คาถามและกจิ กรรมท้ายบท........................................................................................ 147 เอกสารอ้างอิง............................................................................................................. 149 แผนการสอนประจาบทท่ี 6……………………………………………………………………………………………. 151 บทที่ 6 การวางแผนและพฒั นาผลติ ภัณฑ์......................................................................... 153 ความสาคญั ของการวางแผนและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์...................................................... 153 กระบวนการออกแบบและวางแผนผลิตภณั ฑ์............................................................. 154 ความสมั พันธข์ องวงจรชีวติ ผลิตภณั ฑก์ บั ฝาุ ยบริหารการผลติ และการดาเนนิ งาน....... 159 การประยุกต์การวางแผนพฒั นาผลติ ภณั ฑ์.................................................................. 168 บทสรุป........................................................................................................................ 171 คาถามและกิจกรรมท้ายบท........................................................................................ 172

(5) สารบัญ (ตอ่ ) เอกสารอา้ งอิง............................................................................................................. 175 แผนการสอนประจาบทที่ 7……………………………………………………………………………………………. 177 บทท่ี 7 การบริหารสินค้าคงคลัง......................................................................................... 179 ความหมายและความสาคญั ของสนิ ค้าคงคลัง............................................................. 180 ประเภทของสินค้าคงคลัง............................................................................................ 180 ความหมายของคลังสนิ คา้ และการบริหารคลงั สนิ ค้า................................................... 182 วัตถุประสงค์ของการบรหิ ารสินค้าคงคลงั .................................................................... 183 ประโยชนข์ องการบริหารสนิ ค้าคงคลัง........................................................................ 184 วธิ ีบริหารและควบคุมสินคา้ คงคลงั .............................................................................. 185 ระบบการบรหิ ารและการควบคมุ สินคา้ คงคลัง............................................................ 189 บทสรุป........................................................................................................................ 197 คาถามและกจิ กรรมท้ายบท........................................................................................ 199 เอกสารอ้างอิง............................................................................................................. 201 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 8…………………………………………………………………………………. 203 บทท่ี 8 การจดั การโลจิสตกิ ส์............................................................................................. 205 ความเปน็ มาของการจดั การโลจสิ ตกิ ส์........................................................................ 206 ความหมายของการจัดการโลจสิ ติกส์.......................................................................... 208 ประโยชนข์ องการจัดการโลจิสตกิ ส์............................................................................. 208 องคป์ ระกอบของการจดั การโลจสิ ติกส์........................................................................ 208 กิจกรรมและต้นทนุ ของการจัดการโลจิสตกิ ส์.............................................................. 209 บทบาทของโลจิสติกส์ตอ่ ระบบเศรษฐกิจ.................................................................... 214 บทสรปุ ........................................................................................................................ 216 คาถามและกจิ กรรมท้ายบท........................................................................................ 217 เอกสารอ้างองิ ............................................................................................................. 218 แผนการสอนประจาบทท่ี 9………………………………………………………………………………….. 220 บทที่ 9 การควบคมุ คุณภาพการผลิต.................................................................................. 221 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ........................................................................... 221 ประโยชนข์ องการควบคุมคณุ ภาพ.............................................................................. 222 ความเปน็ มาของการควบคุมคุณภาพ.......................................................................... 223 หลักการและกฎของการควบคมุ คุณภาพ.................................................................... 225 เครือ่ งมอื ท่ีใช้การควบคุมคุณภาพ............................................................................... 226 ระบบการควบคุมคณุ ภาพ........................................................................................... 232 บทสรุป....................................................................................................................... 247

(6) สารบญั (ตอ่ ) คาถามและกิจกรรมท้ายบท........................................................................................ 248 เอกสารอา้ งอิง............................................................................................................. 250 แผนการสอนประจาบทที่ 10………………………………………………………………………………………….. 253 บทท่ี 10 การบารุงรกั ษาและความปลอดภัยในสถานประกอบการ...................................... 255 หน้าทข่ี องงานบารงุ รักษาและความปลอดภยั ............................................................ 258 โครงสรา้ งของการบารงุ รักษาและความปลอดภัย...................................................... 259 ปจั จัยทสี่ ่งผลใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในสถานประกอบการ.......................................... 262 ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการบารุงรักษาและความปลอดภยั ................................................. 266 การพฒั นางานบารุงรกั ษาและความปลอดภยั ............................................................. 267 บทสรุป........................................................................................................................ 269 คาถามและกจิ กรรมทา้ ยบท........................................................................................ 271 เอกสารอา้ งอิง............................................................................................................. 275 แผนการสอนประจาบทที่ 11..................................................................................................... 277 บทท่ี 11 กรณีศกึ ษาการบริหารผลิตและการดาเนนิ งาน..................................................... 279 คาแนะนาสาหรับการวิเคราะหก์ รณศี ึกษา.................................................................. 280 ตวั อย่างกรณีศกึ ษา...................................................................................................... 284 บทสรปุ ........................................................................................................................ 315 คาถามและกิจกรรมท้ายบท........................................................................................ 316 เอกสารอา้ งอิง............................................................................................................. 322 บรรณานกุ รม.............................................................................................................................. 323 ภาคผนวก............................................................................................................................. ...... 339 ประวตั ผิ เู้ ขยี น............................................................................................................. 339

(7) สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า 1.1 เปรียบเทียบแนวคิดเกยี่ วกบั การผลติ และการบริการ……………………………………………………… 5 1.2 เปรียบเทียบการลดต้นทุนการผลติ สามารถกอ่ กาไรได้มากกวา่ การลดตน้ ทุนทางการตลาด.. 13 1.3 เปรยี บเทยี บสนิ คา้ ท่ผี ลติ ตามมาตรฐานและสนิ คา้ ทผ่ี ลิตตามคาสั่งซื้อ..................................... 15 1.4 ตารางนักวชิ าการทสี่ นับสนุนแนวคดิ ความสาคัญของการผลติ และการดาเนินงาน................. 17 1.5 การใหค้ วามหมายของคาวา่ กลยทุ ธ์ในหลากหลายแงม่ ุม........................................................ 20 1.6 เปรียบเทียบกลยทุ ธ์การบริหารการผลิตและดาเนนิ งาน........................................................ 22 1.7 ตารางเติมคาอธบิ ายระบบการผลิต........................................................................................ 27 2.1 การเปรียบเทียบกลยุทธใ์ นการเลอื กทาเลทตี่ ้ังระหว่างอุตสาหกรรมการผลิตสินคา้ กับ อตุ สาหกรรมบรกิ าร…………………………………………………………………………………………………… 35 2.2 แสดงการเรยี งลาดบั ความสาคญั ของปจั จัยในการเลอื กทาเลท่ตี ้งั ......................................... 47 2.3 แสดงการให้คะแนนของปัจจยั ในการเลอื กทาเลท่ีต้งั ............................................................ 48 2.4 ตารางปัญหาข้อพจิ ารณาในทาเลต่าง ๆ ทเี่ ป็นทางเลือก...................................................... 57 2.5 ตารางปญั หาข้อพิจารณาในทาเลตา่ งๆ ที่เปน็ ทางเลือกพรอ้ มการให้เหตุผล........................ 57 3.1 การจดั วางผังทไ่ี ม่มปี ระสิทธภิ าพการดาเนนิ งานตามวัตถปุ ระสงค์....................................... 67 3.2 ข้อเปรียบเทียบระหวา่ งการวางผงั ตามผลติ ภัณฑก์ ับการวางผังตามกระบวนการผลติ ......... 77 3.3 ตารางเตมิ คาเพอ่ื วเิ คราะหป์ ระสิทธภิ าพการวางผังของสถานประกอบการ......................... 92 4.1 การสงั เกตความต้องการสินค้าชนิดหน่งึ (ลา้ นชนิ้ )............................................................... 107 4.2 การพยากรณย์ อดขาย.......................................................................................................... 112 4.3 การคานวณความสัมพันธ์ของปริมาณการผลิตกับยอดขายเพ่ือใชแ้ ทนค่าในสูตร................. 113 4.4 การสงั เกตความต้องการปากกา........................................................................................... 116 4.5 การสังเกตความตอ้ งการรองเท้า (ล้านค)ู่ ............................................................................. 117 4.6 ข้อมูลปรมิ าณผลติ และยอดขายปนู ซเี มนต์…………………………………………………………………… 117 4.7 ขอ้ มูลปรมิ าณผลติ และยอดขายน้าอัดลม……………………………………………………………………… 118 5.1 แสดงการวดั การผลติ รูปแบบต่าง ๆ……………………………………………………………………………… 128 5.2 แสดงผลการผลติ รวม ระยะเวลา 1 ปี.................................................................................... 129 5.3 แสดงการกาหนดตารางการผลติ ของนา้ ผลไมร้ วม เดอื นมกราคม ปี 2559 (หน่วย : กล่อง).. 130 5.4 แสดงการกาหนดตารางการผลิตน้าผลไมร้ วม เดือนมกราคม ปี 2559 (หน่วย : กลอ่ ง)........ 130 5.5 แสดงการจดั ตารางการผลติ น้าส้มและน้าผลไม้รวม สัปดาหท์ ่ี 1 เดือนมกราคม ปี 2559..... 130 5.6 แสดงการเปรียบเทยี บกลยทุ ธไ์ ลต่ ามและกลยทุ ธ์รกั ษาระดบั ………………………………………… 132 5.7 การคานวณหาจานวนชว่ั โมงทางาน..................................................................................... 135 5.8 ตารางทางเลือกการตดั สินใจสาหรับการขยายโรงงาน (โจทย์กาหนด)................................. 144

(8) สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางท่ี หนา้ 5.9 สรา้ งการตัดสินใจแบบตารางทางเลือกในการขยายโรงงาน.......................................................... 145 5.10 เติมข้อมูลการคานวณแขนงการตัดสินใจ.................................................................................... 147 5.11 เตมิ ข้อมูลคานวณและการตดั สนิ ใจเลอื กนโยบาย...................................................................... 148 6.1 สรปุ การพฒั นากลยุทธก์ ารดาเนนิ งานตามวงจรชีวิตผลติ ภณั ฑ์.................................................... 163 6.2 แสดงรปู ลกั ษณส์ นิ คา้ ทีผ่ ่านกระบวนการวางแผนและพัฒนาผลิตภณั ฑ.์ ...................................... 164 6.3 การวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑโ์ ดยใช้ CPS (Critical Path Schedule)…………………………………. 170 7.1 รายการสินคา้ ราคาต่อหน่วยและการใชง้ านประจาปี…………………………………………………………. 187 7.2 การจดั ลาดับสินค้าคงคลังตามมูลคา่ การใช้………………………………………………………………………… 188 7.3 การจัดลาดับสินค้าคงคลงั ตามมูลค่าการใช้สะสม......................................................................... 188 7.4 ผลการจัดลาดับสินค้าคงคลงั ดว้ ยระบบ ABC…………………………………………………………………….. 188 7.5 เปรยี บเทยี บการใช้ระบบการบรหิ ารสนิ ค้าคงคลัง………………………………………………………………. 196 9.1 กระบวนทัศน์วิธกี ารทางคณุ ภาพ.................................................................................................. 223 9.2 ใบตรวจสอบรายการ.................................................................................................................... 229 10.1 คาอธบิ ายแบบของการบารงุ รักษา............................................................................................. 270 10.2 อธิบายงานทางดา้ นซ่อมบารงุ และรักษาความปลอดภัย............................................................. 274 11.1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานประกอบการ......................................................................................... 281 11.2 ปญั หาและขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................. 283 11.3 ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานประกอบการกรณีศึกษา : บรษิ ทั NBC จากัด………………………………… 285 11.4 ข้อมลู พ้ืนฐานของสถานประกอบการกรณีศึกษา : บรษิ ทั MM จากดั …………………………………. 297 11.5 แนวทางการตอบข้อมลู พน้ื ฐานของสถานประกอบการ……………………………………………………… 316

(9) สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ หน้า 1.1 แสดงการอธบิ ายความหมายของคาว่าประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล.................................... 10 1.2 ภาพรวมการบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน................................................................... 11 1.3 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งฝุายผลติ กบั หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง......................................................... 23 1.4 เตมิ คาความสัมพันธร์ ะหวา่ งฝุายผลิตกบั หน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง.............................................. 28 2.1 กรอบแนวคิดปจั จยั ในการเลอื กทาเลทต่ี ัง้ .............................................................................. 42 2.2 กลยทุ ธ์การเลือกทาเลที่ต้งั ของกรณีศึกษา บริษัทไอศกรมี MM จากัด.................................. 51 3.1 ตัวอย่างการวางผังโรงงานตามผลติ ภัณฑ์ (Product Layout)………………………………………. 71 3.2 การวางผงั โรงงานตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) คล้ายตวั S ........................................ 73 3.3 ตวั อย่างการวางผังโรงงานตามกระบวนการ (Process Layout)…………………………………… 74 4.1 แสดงความหมายของการพยากรณ์........................................................................................ 100 4.2 แสดงการพยากรณ์เพ่ือการผลิต…………………………………………………………………………………. 102 4.3 แสดงผลกระทบจากการพยากรณ์ผดิ พลาด…………………………………………………………………. 104 5.1 แสดงกิจกรรมการผลติ ……………………………………………………………………………………………… 127 5.2 ปจั จยั นาเข้าในการวางแผนการผลติ รวม……………………………………………………………………… 133 5.3 การสรา้ งแขนงการตัดสินใจแบบเขียนแผนภาพทางเลือกในการขยายโรงงาน………………… 145 6.1 กระบวนการออกแบบและวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์…………………………………………………….. 156 7.1 องค์ประกอบของระบบ MRP…………………………………………………………………………………….. 193 8.1 องคป์ ระกอบของการจัดการโลจสิ ตกิ ส์……………………………………………………………………….. 209 8.2 การขับเคล่อื นการลดตน้ ทุนในกิจกรรมโลจิสติกส์.................................................................. 213 9.1 ผงั ก้างปลา............................................................................................................................. 228 9.2 เขยี นระบสุ าเหตขุ องปัญหาโครงสรา้ งผงั ก้างปลา................................................................... 248 11.1 ตัวอย่างแผนผงั กระบวนการผลติ ......................................................................................... 282 11.2 กระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากปาลม์ นา้ มัน....................................................................... 291 11.3 ขัน้ ตอนการสกดั น้ามนั ไบโอดเี ซลจากปาลม์ น้ามัน............................................................... 291 11.3 แสดงการวางผงั ตามผลติ ภณั ฑท์ ่ีมีลักษณะเปน็ ตวั เอส…………………………………………………. 301 11.4 ขน้ั ตอนการผสม (Mixing) และพาสเจอร์ไรส์ (Pasteurize)………………………………………… 304 11.5 ขนั้ ตอนการผลิตไอศครีมประเภทแท่ง………………………………………………………………………. 306 11.6 อธบิ ายการรา่ งแผนผงั กระบวนการผลิตในกรณศี ึกษา…………………………………………………. 307

(10) สารบญั ภาพ หนา้ ภาพท่ี 5 1.1 เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของรปู ลักษณ์ผลิตภณั ฑ์ของโทรศัพท์มอื ถอื 6 6 ในยุคอดตี และปัจจุบนั ...................................................................................................... 24 1.2 การให้บริการทางการพยาบาล......................................................................................... 25 1.3 การผลิตลูกฟุตบอลในโรงงานแห่งหน่งึ .............................................................................. 33 1.4 ระบบใบสง่ั ซ้ือสนิ ค้า………………………………………………………………………………………………. 34 1.5 การส่ังซ้ือสนิ ค้าผ่านระบบพาณชิ ยอ์ ิเลคทรอนิกส์……………………………………………………… 63 2.1 ลกู จนั ทนเ์ ทศ..................................................................................................................... 64 2.2 ตน้ กล้าปาล์มนา้ มัน……………………………………………………………………………………………….. 67 3.1 ตัวอย่างภาพการวางผังโรงงานแห่งหน่ึง…………………………………………………………………… 68 3.2 สายพานลาเลยี งในข้นั ตอนของการขนส่งในกระบวนการผลิต.......................................... 68 3.3 การวางเศษวสั ดุทเ่ี หลือจากการผลติ ................................................................................. 69 3.4 การวางเศษชิน้ ส่วนวสั ดทุ เี่ หลือจากการผลติ ..................................................................... 69 3.5 การไม่มีการจัดแผนงานท่ีชดั เจนใหเ้ อื้อต่อกระบวนการผลิตและง่ายต่อการควบคุม………….. 75 3.6 ความเสยี่ งตอ่ ปัญหาสขุ ภาพและเกิดความไม่ปลอดภยั ให้กับพนักงานระดับปฏบิ ตั กิ าร…. 76 3.7 การมพี ้นื ทีว่ า่ งเปลา่ มากเกนิ ไป.......................................................................................... 78 3.8 โรงงานซีเมนตอ์ ัดแรง......................................................................................................... 80 3.9 แสดงให้เหน็ ว่าหน่งึ สายผลิตภัณฑจ์ ะไดม้ าซง่ึ ผลติ ภัณฑม์ ากกวา่ หน่ึงประเภท……………… 81 3.10 การประกอบเครอื่ งบนิ ซ่ึงเปน็ ตวั อยา่ งการวางผงั แบบคงท่ี……………………………………….. 82 3.11 ตวั อย่างวางผงั แบบยืดหย่นุ ท่ีดี (Better) และไม่ดี (Bad)………………………………………….. 83 3.12 ภาพตัวอย่างการวางสายการผลิตท่ีมีประสทิ ธิภาพและไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ…………………. 84 3.13 บริเวณอาคารท่ีออกแบบให้มีความคลอ่ งตวั ในการดาเนินงาน........................................ 85 3.14 การวางผังสานกั งานเป็นหมวดหมเู่ พื่อสะดวกในการประสานงาน.................................. 86 3.15 ผังโรงงานที่ควรคานงึ ถงึ ประโยชนข์ องพนื้ ทีใ่ ช้สอย......................................................... 87 3.16 เคลือ่ นย้ายขนสง่ วัตถุทางเดยี ว........................................................................................ 87 3.17 การใชเ้ คร่ืองจกั รช่วยในการเคล่อื นย้ายขนส่งวตั ถุดบิ ...................................................... 88 3.18 สายพานลาเลยี งโรงงาน……………………………………………………………………………………….. 90 3.19 ปั้นจ่นั แบบแขวน............................................................................................................ 91 3.20 การทางานกับเครอ่ื งจักรและการเว้นชอ่ งทางเดิน.......................................................... 3.21 แบบแปลนสถานประกอบการ........................................................................................ 3.22 การวางผงั โรงงานโดยใชห้ ุ่นจาลอง…………………………………………………………………………

(11) สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หน้า 3.23 ชว่ งอัดประสานของการทาเฟอร์นเิ จอร์……………………………………………………………………. 93 7.1 ลักษณะการบริหารสนิ ค้าคงคลงั ......................................................................................... 184 7.2 ตัวอยา่ ง Barcode ในปัจจุบนั ………………………………………………………………………………….. 185 9.1 กระบวนการผลิตที่เปน็ ไปตามหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารท่ีดีในการผลติ อาหาร............................... 239 9.2 สญั ลกั ษณข์ องหลักเกณฑ์วิธกี ารที่ดใี นการผลิตอาหารประเภท GMP……………………………. 241 9.3 สัญลักษณ์ของการวเิ คราะห์อนั ตรายจากจุดวิกฤติทีเ่ รียกว่า HACCP…………………………….. 242 10.1 ความสูญเสยี เนอ่ื งจากการรอคอย..................................................................................... 256 10.2 เปรยี บเทียบระหวา่ งการได้รับและไม่ไดร้ บั การปูองกันความปลอดภัย.............................. 262 10.3 จุดบกพร่องเร่ืองความปลอดภัยในฝาุ ยโรงงานของสถานประกอบการ.............................. 264 10.4 การไม่รกั ษาความปลอดภัยของพนักงานระดบั ปฏิบตั ิ……………………………………………….. 265 10.5 การบารุงรักษาวัสดอุ ุปกรณ์ในช่วงการไหลของงาน........................................................... 271 10.6 การบารงุ รกั ษาเครือ่ งจักรอุปกรณ์ระหว่างการทางาน....................................................... 272 10.7 การบารุงรกั ษาอปุ กรณ์ปูองกันความปลอดภัยในระหว่างการทางาน…………………………… 272 10.8 การบารงุ รักษาตลอดจนการรกั ษาความปลอดภัยในอุปกรณก์ ารจัดเก็บ........................... 273 11.1 เมล็ดปาลม์ และผลปาล์ม................................................................................................... 286 11.2 ตวั อยา่ งผลติ ภัณฑ์ไบโอดเี ซล………………………………………………………………………………….. 287 11.3 ท่าเรือ............................................................................................................................... 289 11.4 เครื่องต้นแบบผลิตไบโอดเี ซล........................................................................................... 291 11.5 ความหลากหลายของผลติ ภณั ฑ์ไอศกรีม.......................................................................... 299 11.6 โรงงานและเครื่องจกั รสาหรบั การผลติ สนิ ค้าประเภทแทง่ ………………………………………… 307 11.7 จัดเตรยี มวัตถดุ ิบเพ่ือเป็นสว่ นผสมในไอศกรมี .................................................................. 307 11.8 ใส่ถังบม่ ………………………………………………………………………………………………………………. 308 11.9 ขน้ั ตอนการผสม............................................................................................................... 308 11.10 หยอดเนื้อไอศกรมี ………………………………………………………………………………………………. 309 11.11 ดูดเพื่อทาตวั เคลือบ……………………………………………………………………………………………. 309 11.12 ไอศกรีมเขา้ สกู่ ารปักไม้……………………………………………………………………………………….. 310 11.13 กระบวนการปักไม้………………………………………………………………………………………………. 310 11.14 ฉดี น้ารอ้ นและหนบี …………………………………………………………………………………………….. 311 11.15 ขั้นตอนการจุ่มเคลอื บ...................................................................................................... 311 11.16 ข้นั ตอนการลาเลียง…………………………………………………………………………………………….. 312

(12) สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หน้า 11.17 ขัน้ ตอนการบรรจุซอง...................................................................................................... 312 11.18 ข้ันตอนการบรรจุลงกลอ่ ง............................................................................................... 313 11.19 ข้ันตอนการขนยา้ ยและจดั เก็บ……………………………………………………………………………… 313

(13) สารบญั แผนภูมิ หนา้ แผนภมู ิท่ี 108 4.1 แสดงคา่ พยากรณ์ท่ไี ดจ้ ากการคานวณความต้องการสินค้ารายป.ี .......................................... 108 4.2 แสดงพยากรณ์แบบแนวโนม้ ในลกั ษณะอนุกรมเวลา............................................................. 109 4.3 ลกั ษณะกราฟการพยากรณ์ตามฤดกู าล................................................................................. 109 4.4 ลักษณะกราฟการพยากรณแ์ บบวงจรหรือวฏั จักร................................................................. 110 4.5 ลักษณะกราฟเชงิ เส้น............................................................................................................ 111 4.6 การพยากรณ์เพอ่ื การผลิตดว้ ยวธิ วี ิเคราะห์สมการถดถอยเชิงเส้นตรง................................... 138 5.1 การวางแผนการผลติ โดยใชจ้ ุดคมุ้ ทุน.................................................................................... 141 5.2 แผนภมู ขิ องแกนต์.................................................................................................................. 159 6.1 วงจรชวี ิตผลิตภัณฑ.์ .............................................................................................................. 165 6.2 วงจรชีวิตผลิตภณั ฑน์ มพร้อมด่ืมภายใตต้ ราสนิ ค้าโฟโมสต.์ .................................................... 174 6.3 วงจรชวี ติ ผลิตภัณฑ์นมพร้อมด่ืมภายใตต้ ราสินค้านมไทย-เดนมาร์ค...................................... 187 7.1 การบรหิ ารสินคา้ คงคลงั แบบ ABC …………………………………………………………………………….. 277 9.1 แผนภมู ิพาราโต...................................................................................................................... 228 9.2 ลักษณะกราฟแท่ง................................................................................................................. 230 9.3 ฮิสโตแกรม............................................................................................................................ 230 9.4 ผังแสดงการกระจาย............................................................................................................. 231 9.5 แผนภูมิควบคุม...................................................................................................................... 298 11.1 แสดงจานวนโรงงานผลติ ไอศครมี ในประเทศไทย………………………………………………………..

(14) สารบัญแผนที่ หน้า แผนท่ี 37 2.1 การเลอื กทาเลที่ตง้ั อุตสาหกรรมผลิตระดบั ประเทศ………………………………………………………………. 39 2.2 การเลอื กทาเลที่ตั้งอุตสาหกรรมผลิตระดบั เขต……………………………………………………………… 40 2.3 การเลือกทาเลที่ตง้ั อตุ สาหกรรมผลิตระดับพ้ืนท่ี…………………………………………………………… 41 2.4 แผนที่บริษทั ฮามาโมโต้เกมส์.................................................................................................. 53 2.5 ทาเลที่ต้งั ธรุ กิจผลติ ของ บรษิ ทั VV จากดั ...............................................................................

(15) แผนบริหารการสอนประจาวชิ า รายวชิ า การบริหารการผลิตและการดาเนนิ งาน รหัส MGM 0508 จานวนหน่วยกติ (ช่ัวโมง) 3(3-0-6) เวลาเรียน 45 ชั่วโมง/ภาคเรียน คาอธิบายรายวิชา ความหมาย ลักษณะและความสาคัญของการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน ภายใต้ สถานการณ์ปัจจุบันท่ีต้องอาศัยการเลือกทาเลที่ตั้ง การวางผังสถานประกอบการ การใช้เทคนิครูปแบบ การพยากรณ์การผลิต การวางแผนกาลังการผลิต การวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การบริหาร สินคา้ คงคลงั การจัดการโลจสิ ติกส์ การควบคมุ คณุ ภาพการผลติ การบารุงรกั ษาและ ความปลอดภัยใน สถานประกอบการ เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการดาเนินงานและขดี ความสามารถทาง การแขง่ ขันได้ วตั ถุประสงค์ทั่วไป 1. เพอื่ ใหน้ กั ศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจและอธบิ ายถงึ การวางแผนการผลิตสินค้าและ บริการได้ 2. เพือ่ ใหน้ ักศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจและอธบิ ายถึงการดาเนนิ งานการผลติ สินค้าและ บริการได้ 3. เพอื่ ให้นักศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมการผลิตสนิ ค้าและบริการและ สามารถบอกแนวทางการควบคุมการผลิตสนิ ค้าและบริการได้ 4. เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาสามารถวิเคราะหถ์ งึ ปัจจยั ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันได้ เนอ้ื หา บทท่ี 1 บทนาเก่ียวกับการบรหิ ารการผลติ และการดาเนินงาน 1.1 ความหมายของการบรหิ ารงานผลติ และการดาเนินงาน 1.2 ลักษณะและความสาคญั ของการบริหารการผลติ และการดาเนินงาน 1.3 แนวคิดและวิธีการตดั สนิ ใจเลอื กกลยุทธ์การผลิตและการดาเนนิ งาน 1.4 ขอบเขต หน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของการการบริหารการผลติ และการดาเนินงาน บทท่ี 2 การเลือกทาเลทีต่ ้งั ของสถานประกอบการ 2.1 ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อการเลอื กทาเลท่ตี งั้ 2.2 การตัดสินใจในการเลือกทาเลที่ต้ัง 2.3 การประยุกต์ใชก้ ารวางแผนเลือกทาเลท่ีตั้งของสถานประกอบการ บทท่ี 3 การวางผังของสถานประกอบการ 3.1 วัตถปุ ระสงค์ในการวางผังของสถานประกอบการ 3.2 ประโยชน์ของการวางผงั ของสถานประกอบการ

(16) 3.3 รปู แบบของการวางผงั ของสถานประกอบการ 3.4 หลกั เกณฑ์และขน้ั ตอนในการวางผงั ของสถานประกอบการ บทท่ี 4 การพยากรณเ์ พ่ือการผลิต 4.1 ความหมายของการพยากรณ์ 4.2 วัตถปุ ระสงค์ของการพยากรณ์ 4.3 ความสาคัญของการพยากรณก์ ารผลิต 4.4 ผลกระทบทเี่ กิดขนึ้ จากการพยากรณ์ทผ่ี ิดพลาด 4.5 ประเภทของการพยากรณ์ 4.6 เทคนิคการพยากรณ์ บทท่ี 5 การวางแผนกาลังการผลิต 5.1 ความหมายของกาลังการผลิต 5.2 ประเภทของกาลงั การผลิต 5.3 การวัดกาลังการผลิต 5.4 ประเภทของแผนการผลติ 5.5 กลยุทธ์ปรับการผลิต 5.6 รปู แบบจาลองท่ีใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจวางแผนกาลงั การผลติ บทท่ี 6 การวางแผนและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ 6.1 ความสาคัญของการวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 6.2 กระบวนการออกแบบและวางแผนพัฒนาผลติ ภัณฑ์ 6.3 ความสัมพนั ธข์ องวงจรชวี ิตผลติ ภณั ฑ์กบั ฝุายบริหารการผลติ และการดาเนินงาน 6.4 ปัจจยั ที่ใชใ้ นการพิจารณาออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 6. 5 การวางแผนพัฒนาผลติ ภัณฑ์ บทที่ 7 การบรหิ ารสนิ คา้ คงคลงั 7.1 ความหมายและความสาคัญของสนิ คา้ คงคลัง 7.2 ประเภทของสินคา้ คงคลัง 7.3 ความหมายของคลงั สนิ ค้าและการบรหิ ารสนิ คา้ คงคลงั 7.4 วัตถปุ ระสงค์ของการบริหารสนิ ค้าคงคลัง 7.5 ประโยชนข์ องการบริหารสนิ ค้าคงคลงั 7.6 วิธีบริหารและการควบคมุ สนิ คา้ คงคลัง 7.7 ระบบการบรหิ ารสินค้าคงคลงั บทท่ี 8 การจัดการโลจิสตกิ ส์ 8.1 ความเป็นมาของการจดั การโลจสิ ติกส์ 8.2 ความหมายของการจดั การดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ 8.3 ประโยชน์ของการจดั การโลจิสติกส์ 8.4 องคป์ ระกอบของการจัดการโลจิสติกส์

(17) 8.5 กจิ กรรมและตน้ ทุนดา้ นโลจิสตกิ ส์ 8.6 บทบาทของโลจิสติกสต์ ่อระบบเศรษฐกิจ บทที่ 9 การควบคมุ คุณภาพ 9.1 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ 9.2 ประโยชนข์ องการควบคุมคุณภาพ 9.3 ความเป็นมาของการควบคมุ คุณภาพ 9.4 หลกั การ และกฎของการควบคุมคุณภาพ 9.5 เครอื่ งมือท่ีใช้การควบคุมคุณภาพ 9.6 ระบบการควบคมุ คุณภาพ บทที่ 10 การบารุงรักษาและความปลอดภัยในสถานประกอบการ 10.1 หน้าทีข่ องงานบารุงรักษาและความปลอดภัย 10.2 โครงสรา้ งของการบารุงรกั ษาและความปลอดภัย 10.3 ปัจจยั ทสี่ ่งผลใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในสถานประกอบการ 10.4 ประโยชน์ท่ีไดจ้ ากการบารงุ รักษาและความปลอดภยั 10.5 การพฒั นางานบารงุ รักษาและความปลอดภยั บทที่ 11 กรณศี ึกษาเพือ่ การจัดการงานผลิตและการดาเนนิ งาน 11.1 คาแนะนาสาหรับการวเิ คราะหก์ รณศี ึกษา 11.2 ตัวอย่างกรณศี ึกษา วิธสี อนและกจิ กรรม 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การบริหารการผลติ และการดาเนนิ งาน 2. เทคนคิ การนาเสนอประกอบคาบรรยาย 3. กรณศี ึกษาจริงของสถานประกอบการทง้ั ในรูปแบบทสี่ บื ค้นจากแหล่งปฐมภมู แิ ละทตุ ิยภูมิ การวดั และประเมินผล 1. การวัดผล คะแนนรวมท้ังสิ้นร้อยละ 100 1.1 คะแนนระหว่างภาครวมมีคะแนนรวมร้อยละ 60 ประกอบดว้ ย 1.1.1 คะแนนจาการเข้าชัน้ เรียน รอ้ ยละ 10 1.1.2 คะแนนจากการทากิจกรรมที่กาหนด ร้อยละ 30 ประกอบดว้ ยการแบ่งคะแนนเป็นส่วนย่อย คือ 1) คะแนนรายงานรายบคุ คล (รอ้ ยละ 20) 2) คะแนนคาถามท้ายบท (ร้อยละ 10) 1.3 คะแนนสอบกลางภาคเรยี น รอ้ ยละ 20 1.2 คะแนนสอบปลายภาค รวม รอ้ ยละ 40

(18) 2. การประเมนิ ผล คา่ ระดบั คะแนน ค่ารอ้ ยละ ระดบั คะแนน ความหมายของผลการเรยี น 4.0 80-100 3.5 75-79 A ดีเยี่ยม 3.0 70-74 B+ ดีมาก 2.5 65-69 B ดี 2.0 60-64 C+ พอใช้คอ่ นขา้ งดี 1.5 55-59 C พอใช้ 1.0 50-54 D+ ออ่ น 0.0 0-49 D อ่อนมาก E ตก เอกสารอา่ นประกอบ คานาย อภปิ รัชยาสกุล. (2557). การบรหิ ารการผลติ . (พมิ พ์คร้งั ที่ 1.) กรงุ เทพฯ : ดวงกมลสมัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ณฐา คุปตัษเฐยี ร. (2558). การวางแผนและควบคมุ การผลิต. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ปรียาวดี ผลเอนก. (2557). การบริหารการผลิต. (พิมพค์ รั้งท่ี 3). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิภพ ลลติ าภรณ์. (2556). การวางแผนควบคุมการผลติ . กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยเู คชัน่ . Heizer, J.& Berry, R. (2011). Production and Operation Management. (10thed). New Jersey Prentice : Hall. Inc. Stevenson, W. J. (2001). Operations Management. (7thed.). Irwin : McGraw-Hill. กาหนดการสอน สัปดาห์ท่ี เนือ้ หา จานวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 ทาความเข้าใจวธิ กี ารเรียนการสอน 1 บทนาบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน 30 2 การเลอื กทาเลทตี่ ้ังของสถานประกอบการ 30 3-4 การวางผงั ของสถานประกอบการ 30 5 การพยากรณเ์ พอ่ื การผลติ 60 6-7 การวางแผนกาลงั ผลิต 30 8 การวางแผนและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ 60 กาหนดการสอน (ตอ่ ) 30

(19) สัปดาห์ท่ี เน้ือหา จานวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 9 การจดั การสนิ ค้าคงคลงั 10 การจดั การโลจสิ ตกิ ส์ 30 11 การควบคมุ คุณภาพ 30 12 การบารงุ รกั ษาและความปลอดภยั ในสถานประกอบการ 30 13 กรณีศึกษาการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน 30 14-15 นกั ศกึ ษานาเสนอรายงาน (อภปิ รายกล่มุ ) 30 30 รวม 45

1 ช่ือบทภาษาไทย บทนาการบริหารการผลิตและการดาเนนิ งาน ชอ่ื บทภาษาอังกฤษ Introduction of Production Management and Operation เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ หวั ข้อเนอื้ หาประจาบท 1.1 ความหมายของการบริหารงานผลติ และการดาเนินงาน 1.2 ลกั ษณะและความสาคัญของการบริหารการผลิตและการดาเนนิ งาน 1.3 แนวคิดและวิธกี ารตดั สนิ ใจเลือกกลยุทธก์ ารผลติ และการดาเนนิ งาน 1.4 ขอบเขต หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของการการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. เพื่อใหผ้ เู้ รยี นได้ทราบความหมายของการบริหารการผลิตและการดาเนนิ งาน 2. เพ่ือให้ผู้เรยี นเขา้ ใจลักษณะและความสาคัญของการบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน 3. เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาแนวคิดและเรียนรู้วิธีการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์การผลิตและ การดาเนนิ งาน 4. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนได้ทราบขอบเขต หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบของการบริหารการผลิตและ การดาเนินงานเพ่ือนาไปประยุกต์ใชก้ ับการปฏบิ ตั ิงานจริงไดต้ ามสมควร วธิ กี ารสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. แนะนารายวิชาและการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน แนะนาตัวหรือกิจกรรมกลมุ่ สมั พันธ์และแบ่งกลุ่มความรบั ผดิ ชอบ 2. การทดสอบก่อนเรยี นเพ่ือใช้พัฒนาการสอน 3. ผู้เรยี นศึกษาจากเอกสารทกี่ าหนดใหโ้ ดยผสู้ อนบรรยายสรุปเรอ่ื งลกั ษณะและ ความสาคัญของการบรหิ ารการผลิต กลยทุ ธก์ ารผลิตขอบเขต หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบของฝาุ ยผลิต 4. ใหผ้ ูเ้ รียนได้อภิปรายหลังการบรรยายถงึ ความสาคัญของการบรหิ ารการผลติ 5. ผู้สอนแนะนาตัวอย่างกรณีศึกษาที่จะต้องทารายงานและนาเสนอให้ผเู้ รียนไดว้ างแผน ระยะเวลาการทางาน 6. ผูเ้ รยี นทาแบบฝกึ หดั จากคาถามทา้ ยบทโดยผู้สอนคอยใหค้ าชี้แนะในกรณีซกั ถาม สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารใบงานประจาบท 2. เอกสารประกอบการสอน เนอื้ หาประจาบท 3. ตวั อยา่ งรายงานกรณศี ึกษาที่ไดร้ บั ผลประเมินในระดับดีมาก หรือระดบั ดเี ย่ียม

2 4. วีดที ศั นก์ รณศี ึกษาตวั อย่างจากสถานประกอบการสบื ค้นจากแหล่งทตุ ิยภูมิ 5. เทคนคิ นาเสนอดว้ ย Power point 6. สือ่ ประสม การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการตอบสนองในระหวา่ งการอภิปราย 2. ความสามารถในการตอบคาถามทา้ ยบทคดิ เป็นร้อยละ 70 ของจานวนขอ้ คาถามประจาบท ไดผ้ ลคะแนนที่สงู กว่าการทดสอบก่อนเรียน

3 บทท่ี 1 บทนาการบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน (Introduction of Production Management and Operation) โลกของเราในปัจจุบันเป็นยุคของการเปลี่ยนแปลงแข่งขัน (Change Agent) ไม่เว้นแม้แต่ การแข่งขันกันในภาคธุรกิจซ่ึงเป็นการจัดหาสินค้ามาเพ่ือจาหน่าย หรือการผลิตหรือบริการเพื่อ จาหน่าย โดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนการผลิตสินค้าเพ่ือจาหน่ายน้ัน นักบริหารการผลิตและ ผู้ดาเนินงานการปฏิบัติตลอดจนผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในองค์การธุรกิจหรือสถานประกอบการต้องหา โอกาสและทางเลือกให้สถานประกอบการของตนหยัดยืนอยู่ได้ (On Going) และในอนาคตของ ทศวรรษหน้า สงิ่ ทน่ี ักบรหิ ารการผลิตในสถานประกอบการต้องเพ่ิมศักยภาพด้วยการปรับปรุงวัตถุดิบ (Input) กระบวนการผลิต (Process) ตลอดจนคุณภาพการผลิต ก่อนท่ีจะได้มาซึ่งสินค้าและบริการ (Output) ภายใต้แนวความคิดท่ีว่า “ต้นทุนต่าและทาแตกต่าง” เพื่อให้มีชัยชนะเหนือคู่แข่งขัน (Competitive Advantage) ในอุตสาหกรรมเดยี วกนั ให้ได้ สาหรับคาศัพท์ที่นักวิชาการเรียกว่า“ต้นทุนต่า” (Lowest Cost) ในท่ีน้ีขออธิบายว่า หมายถึง นักบริหารการผลิตต้องมีความระมัดระวังรอบคอบและมีความใส่ใจในการผลิตสินค้าตั้งแต่ ขน้ั ตอนของการปูอนวัตถุดิบ ข้ันตอนของกระบวนการผลิต ข้ันตอนของการได้มาซ่ึงสินค้าหรือบริการ ต่อเนอื่ งไปยงั การดแู ลในเร่อื งของการก่อให้เกดิ ความสูญเสียนอ้ ยที่สุดในขณะเดียวกันก็มีประสิทธิภาพ ท่ีสุด (Lean Manufacturing) ระบบส่งบารุงกาลังหรือใช้คาว่าระบบโลจิสติกส์ (Logistics) ในทุก กระบวนการไหลของวัตถุดิบ เครือข่ายปัจจัยการผลิตหรือการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ซ่ึงไม่เว้นแม้แต่การใส่ใจในการควบคุมการผลิต (Production Control) ที่ให้ ความสาคัญกับการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ของลูกค้า ท้ังหมดท่ีกล่าวมาต้องมีการผลิตที่ มตี น้ ทุนภายใตค้ ณุ ภาพท่ยี อมรบั ไดซ้ งึ่ เป็นแนวคิดรวบยอดที่ผู้เขียนได้ข้อสรุปภาพรวมจากเอกสารทาง วิชาการท่ีตีพิมพ์และเผยแพร่ของนักวิชาการหลายท่าน ได้แก่ พิภพ ลลิตาภรณ์ (2556) คานาย อภิปรัชยาสกุล (2557) ปรียาวดี ผลเอนก (2557) ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) ศากุน บุญอิต (2558) และ Stevenson (2002) ซึง่ แนวความคดิ รวบยอดดังกลา่ วเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกันท้งั ส้นิ ในขณะเดียวกันการท่ีนักบริหารการผลิตจะตระหนักเฉพาะเร่ืองต้นทุนต่าแต่เพียงประการ เดียวน้ันไม่ได้ เพราะด้วยเหตุที่โลกของธุรกิจเป็นยุคของการเปลี่ยนแปลงแข่งขัน ดังนั้น การพัฒนา ผลิตภัณฑ์จึงต้องอยู่ภายใต้อีกคาหน่ึง คือคาว่า “ทาแตกต่าง” (Product Differentiation) คาว่า ทาแตกต่างน้ันสอดคล้องของแนวคิดโดยสรุปของ Porter (2002) ซ่ึงคาว่าแตกต่างในท่ีนี้ก็คือผลิต สินค้าให้มีความแปลกใหม่ มีรูปลักษณ์โดดเด่นเหนือกว่าคู่แข่งขัน แต่ในขณะที่มีต้นทุนและคุณภาพที่ เทา่ กันซึง่ ในเบอื้ งต้นผเู้ รียน ควรเข้าใจในความหมายของการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน โดยมี รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

4 1.1 ความหมายของการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน ก่อนอ่ืนขอทาความเข้าใจวา่ การผลติ หรือการบริการเป็นเร่ืองเดียวกันหากแต่การผลิตน้ันเป็น สิ่งท่ีจับต้องได้เพราะเมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จะได้ออกมาเป็นสินค้า (Goods) ส่วน บริการ (Service) ก็ถือได้ว่าเป็นงานการผลิตเช่นเดียวกันเพียงแต่มีลักษณะเป็นนามธรรมจึงจับต้อง ไมไ่ ด้ แตส่ ัมผสั ได้ถึงความพงึ พอใจในการใช้ ดงั นน้ั เม่อื กลา่ วถงึ การผลิตกห็ มายรวมถึงการบริการด้วย ดงั แสดงไว้ในตารางที่ 1.1 ตารางท่ี 1.1 เปรยี บเทียบแนวคิดเก่ยี วกับการผลิตและการบริการ รูปแบบการตัดสินใจในการดาเนนิ การ สินค้า (Goods) บรกิ าร (Service) ลูกค้าหรอื ผใู้ ช้ 1. คุณภาพ (Quality) ทม่ี ุ่งเน้น ตัวสนิ คา้ ไม่มีตวั ตน ลูกค้ามีส่วนร่วม 2. การออกแบบ (Design) มีตวั ตน ใกลล้ กู ค้า 3. กระบวนการและความสามารถ ลกู ค้าไม่มสี ว่ นรว่ ม ลูกค้าอยอู่ ยู่ใน (Process and Capacity) กระบวนการ ขึน้ อยกู่ ับลูกค้า 4. ปจั จัยในการเลอื กทาเลท่ีตงั้ ใกล้แหล่งวัตถดุ ิบ สาคญั นอ้ ยกว่า (Production Site Selection) และแรงงาน เชงิ แกไ้ ข 5. การวางผังสถานประกอบการ ลกู คา้ ไม่อยู่ในกระบวนการ (Production Site Layout) 6. ทรัพยากรมนษุ ย์ ขน้ึ อยูก่ บั การจ่ายคา่ แรง (Human Resource Management) 7. เครอื ขา่ ยปจั จัยการผลติ มุ่งเนน้ ผลิตภณั ฑข์ น้ั สดุ ทา้ ย (Supply Chain Management) 8. การบารุงรักษาและความปลอดภัย เชิงปอู งกัน (Maintenance and Safety) ทมี่ า : ดัดแปลงจาก ณฎั ฐพันธ์ เขจรนนั ทน์ (2542 : 2-5) จากตารางที่ 1.1 จะเห็นได้ว่ารูปแบบที่นักบริหารการผลิตและการดาเนินงานควรทาความ เข้าใจในเบื้องต้นว่าสินค้าและบริการแม้มีความต่างกันบ้างในรายละเอียด แต่เมื่อไรท่ีเอกสาร ประกอบการสอนฉบับน้ีไดก้ ลา่ วถึงการผลิตขอให้ผู้เรยี นได้เข้าใจวา่ หมายรวมถงึ งานบรกิ ารด้วยในเรื่อง การผลิตทีม่ ีต้นทนุ ต่าและทาแตกตา่ ง นักบริหารการผลิตจะต้องตระหนักถึงเร่ืองคุณภาพ ไว้เสมอและ เม่ือกล่าวถึงคุณภาพ มุมมองของงานดา้ นการผลติ จะมุ่งเนน้ ท่ตี ัวสนิ ค้าหรือว่าผลติ ภณั ฑ์ หากกล่าวถึงงานบริการส่วนของคุณภาพจะมุ่งเน้นไปท่ีความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหรือ ลูกค้าเป็นสาคัญ เม่ือกล่าวถึงการออกแบบ (Design) ของสินค้า (Goods) น้ันมีลักษณะเป็นรูปธรรม คอื สามารถจบั ต้องได้ สมั ผัสได้ เช่น ในยุคหนึ่งของการผลิตโทรศัพท์มือถือรุ่นใด ๆ ก็ตามในตราสินค้า ต่างๆ ออกสู่ตลาดพบว่ารูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ในยุคแรกจะมีขนาดใหญ่กว่าในยุคปัจจุบันซ่ึงมี การพัฒนาให้มีรูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กลง มีการพัฒนาให้มีความเหมาะสมกับการใช้งาน

5 ของลูกค้ามากยงิ่ ขึน้ นอกจากนยี้ ังพยายามออกแบบให้มลี ักษณะโค้งมน มากกวา่ รปู แบบเหลี่ยมเพื่อให้ ผใู้ ชจ้ ับต้องไดเ้ หมาะมอื และตอบสนองสรรี ะโดยธรรมชาตขิ องมือมนุษย์ท่ีมีลักษณะโค้งมากกว่าเหลี่ยม ดังแสดงไว้ภาพที่ 1.1 โทรศัพทม์ ือถอื ในยคุ อดีต โทรศัพทม์ อื ถือในยคุ ปัจจุบัน ภาพที่ 1.1 เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของรูปลักษณข์ องโทรศพั ท์มือถือในยคุ อดีตและปจั จุบัน ทม่ี า : เข้าถงึ ได้จาก http://www. aiv-thai.com [2549, พฤษภาคม 7] ในส่วนของงานบริการน้ันมีความแตกต่างจากงานด้านการผลิตในประเด็นที่มีความเป็น นามธรรมมากกว่ารูปธรรม อธิบายได้ว่างส่ิงที่เกิดจากระบวนการผลิตนั้นสามารถท่ีจะจับต้องได้แต่ส่ิง ที่เกิดจากงานด้านการให้บริการน้ันไม่สามารถจับต้องได้แต่สามารถสัมผัสได้ด้วยความรู้สึก รสนิยม เป็นต้น นอกจากนี้ยังช้ีวัดได้ด้วยทัศนคติของผู้ใช้ในส่วนของข้ันตอนของกระบวนการผลิตและ ความสามารถ (Process and Capacity) น้ัน ลูกค้าไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการ แต่ลูกค้าจะมีส่วน ร่วมในกระบวนการสาหรับงานบริการ เช่น สุภาพสตรีจะเข้าร้านเสริมสวยในกระบวนการจัดแต่ง ทรงผม ลูกค้าเป็นผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตในงานบริการท่ีเกิดขึ้นด้วย หรือตัวอย่างของ การให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลโดยท่ัวไป เริ่มตั้งแต่แรกรับคนไข้เข้ามาในสถานพยาบาล ขั้นตอนการทาการรกั ษา การจา่ ยยาจนกระทงั่ คนไข้หรือผ้มู ารบั บริการกลับไปพักฟื้นที่บ้าน คนไข้จะมี ส่วนร่วมในกระบวนการ ในบางครั้งก็มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อของกระบวนการผลิต เกอื บทุกขั้นตอน ดงั แสดงไวใ้ นภาพท่ี 1.2

6 ภาพท่ี 1.2 การใหบ้ ริการทางการพยาบาล ทีม่ า : เข้าถึงได้จาก http://www.jobnorththailand.com [2559, กุมภาพันธ์ 9] ในทางตรงกนั ข้ามงานผลิตสนิ คา้ ซงึ่ จบั ตอ้ งได้ ผู้รบั บริการไม่มสี ่วนในกระบวนการผลิตจะมีแต่ นักบริหารการผลิต พนักงานระดับปฏิบัติการและผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องในโรงงานหรือสถานประกอบการ เท่านั้นที่มีส่วนร่วมในการผลิต ผู้รับบริการจะมีส่วนร่วมในการควบคุมคุณภาพ หรือจะเป็นการแสดง ความคิดเห็นในด้านความพงึ พอใจในสนิ คา้ หรอื ผลิตภัณฑ์เท่าน้ัน ดังแสดงไว้ในภาพท่ี 1.3 การผลิตลูก ฟุตบอลซ่ึงผู้จัดการโรงงานและพนักงานผู้มีส่วนเก่ียวข้องในกระบวนการผลิตเท่านั้นมีส่วนร่วมใน การผลิตสนิ ค้าออกสู่ตลาด ภาพที่ 1.3 การผลติ ลกู ฟตุ บอลในโรงงานแหง่ หนง่ึ ทีม่ า : เข้าถึงได้จาก http://annkomnaun.blogspot.com [2559, มกราคม 16]

7 ในส่วนของการวางผังของสถานประกอบการ (Production Site Layout) หรือโรงงานหรือ ธุรกิจที่ผลิตสินค้ามักจะผลิตใกล้แหล่งวัตถุดิบและแรงงาน แต่ส่วนงานธุรกิจบริการมักจะเลือกทาเล ที่ต้ังของสถานประกอบการให้อยู่ใกล้กับลูกค้าเพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการท่ีลูกค้าจะมาใช้บริการ และเมื่อมองทางด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) สถาน ประกอบการหรือโรงงานหรือธุรกิจท่ีผลิตสินค้า การให้ค่าตอบแทนหรือค่าจ้างแก่พนักงาน (Wage) ข้ึนอยู่กับการจ่ายค่าแรง หากแต่งานบริการข้ึนอยู่กับลูกค้า ในเรื่องของเครือข่ายปัจจัยการผลิต (Supply Chain Management) สถานประกอบการหรือโรงงานหรือธุรกิจท่ีผลิตสินค้าเพ่ือจาหน่าย จะเน้นผลิตภัณฑ์ข้ันสุดท้ายเป็นสาคัญมากกว่าธุรกิจบริการซ่ึงให้ความสาคัญในเร่ืองน้ีน้อยกว่า เมื่อ มองในด้านการบารุงรักษาและความปลอดภัยในสถานประกอบการ (Maintenance and Safety) ใน เชิงปูองกันนั้นการผลิตสินค้ายึดหลักของสุภาษิตไทยท่ีว่า “กันไว้ดีกว่าแก้สายแล้วจะแก้ไม่ทัน” หรือ เรียกว่า Preventive Maintenance แต่งานบริการเน้นเชิงแก้ไขปัญหาหรือสถานการณ์เฉพาะหน้า ซึ่งรายละเอียดจะได้นาเสนอต่อไปในบทท่ี 10 เป็นเรื่องของการบารุงรักษาและความปลอดภัยใน สถานประกอบการ เมือ่ ไดท้ าข้อตกลงในเร่ืองของความหมายของการผลิตและบริการในเบ้ืองต้นแล้ว ผู้เขียนจะ ขอนาไปสู่ความเข้าใจในความหมายของการผลิตและการดาเนินงานซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ ความหมายไวด้ งั น้ี ปรียาวดี ผลเอนก (2557 : 1) กล่าวถงึ ความหมายของการบรหิ ารการผลิตและปฏิบัติการไว้ ว่าหมายถึงหน้าท่ีหรือระบบท่ีทาการแปลงสภาพข้อมูลนาเข้าไป เช่น วัตถุดิบ เงินทุน เครื่องจักรสู่ ผลผลติ อยา่ งมีคณุ คา่ ณฐา คุปตัษเฐียร (2558 : 3) กล่าวถึงคานิยามความหมายของการวางแผนและควบคุม การผลิต คอื การจดั การปัจจัยตา่ ง ๆ ได้แก่ คน เครือ่ งจักร วัตถุดิบและชิ้นส่วน วิธีการทางานโดยผ่าน กระบวนการผลติ หรือแปลงสภาพ พิภพ ลลิตานนท์ (2556 : 13-16) กล่าวถึงการวางแผนและควบคุมการผลิตไว้ว่าเก่ียวข้อง กบั การควบคุมทรัพยากร ได้แก่ คน วัสดุ เครื่องจักรและสารสนเทศรวมท้ังประสานงานส่งมอบลูกค้า โดยใชก้ ลยุทธ์การแข่งขนั ภายใต้ทุกระบวนการของหว่ งโซอ่ ปุ ทาน ณัฎฐพนั ธ์ เขจรนนั ทน์ (2542 : 6-7) กล่าวถึงความหมายของการผลิตและการดาเนินงานว่า เป็นการศึกษา วิเคราะห์ กาหนดแนวทางปฏิบัติและควบคุมกระบวนการ (Process) แปรรูปปัจจัย นาเข้า (Input) หรือทรัพยากรการดาเนินงานให้เป็นผลผลิต (Output) ในรูปสินค้าและบริการอย่าง เปน็ ระบบมีประสทิ ธภิ าพและสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ ององค์การ ยุทธ กัยวรรณ์ (2543 : 31-45) ได้กล่าวถึงความหมายของการผลิตและการดาเนินงาน (Production and Operation) ไว้ว่าการผลิต คือ การมีปัจจัยนาเข้า อันประกอบด้วยแรงงาน การจัดการ เครื่องจักร วัตถุดิบ อาคาร และพลังงาน เป็นต้น มาจัดทาหรือดาเนินการ การประกอบ หรอื การสรา้ งข้นึ มาหรือแปรรูปซ่งึ สินคา้ หรอื ผลิตภัณฑ์ โดยผ่านกระบวนการแปรสภาพจากวัตถุดิบให้ ไดม้ าซึง่ ผลลพั ธ์ไดแ้ กส่ ินค้าและบริการ โดยลกู ค้าหรอื ผู้มาใช้บรกิ ารมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ผ้ดู าเนินการผลิตเพ่ือปรับปรงุ ผลการผลติ ในโอกาสตอ่ ไป

8 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2559) ได้สรุปภาพรวมของ การผลิตไว้ว่า การผลิตเป็นการนาปัจจัยการผลิตมาสร้างเป็นสินค้าและบริการโดยแบ่งประเภทของ การผลิตได้ดังน้ี ประเภทแรก การแปรรูป เช่น ข้าวเปลือกมาสีเป็นข้าวสาร ประเภทท่ีสองการเล่ือน เวลาใช้สอย เช่น นาผลไม้สดมาผลิตเป็นผลไม้กระป฻องเพ่ือถนอมไว้ใช้บริโภคนอกฤดูกาล ประเภทท่ี สาม การเปลี่ยนสถานที่ เช่น พ่อค้าขายส่งสินค้าไปยังร้านค้าปลีก ประเภทที่ส่ีการเปลี่ยนกรรมสิทธ์ิ เช่น การซื้อขาย หรือนายหน้าขายสินค้า ส่วนประการสุดท้ายเป็นประเภทการให้บริการ เช่น แพทย์ ทนายความ บริการขนส่ง การประกันภัย โดยการนาปัจจัยการผลิตซ่ึงเป็นทรัพยากรที่นามาใช้เป็น การผลติ สนิ คา้ บริการ อันได้แก่ท่ีดนิ และทรัพยากรธรรมชาติ ทุนหรือสินค้าทุน คือ สิ่งท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เพือ่ ใช้ในการผลิต เช่น เคร่อื งมือ เครือ่ งจกั ร เป็นต้น Krajewski & Ritzman (1996) Chase, Aquilano & Jacobs (2001) Hanna & Newman (2001) Stevenson (2002) และ Heizer & Barry (2004) ทุกท่านได้กล่าวโดยสรุปถึงความหมาย ของ การบรหิ ารการผลิตไว้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั วา่ โดยทวั่ ไปแล้วองค์การทางธุรกิจถือว่าเป็นสถาน ประกอบการท่ีแสวงหาผลกาไร ดังนั้นเปูาหมายพ้ืนฐานของทุกองค์การทางธุรกิจ คือการทากาไรจาก การผลติ สนิ ค้าและบริการแลว้ นาเสนอขายตอ่ ลกู ค้า การบรหิ ารการผลิตจึงเกี่ยวข้องกับการแปรสภาพ ปัจจัยการผลิต เพ่ือได้มาซ่ึงสิ่งท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ ซึ่งทาให้สามารถมอง การปฏบิ ตั ิการเปน็ ระบบ (System) อยา่ งง่ายๆ ไดโ้ ดยอาศัยปจั จัยนาเข้า (Input) หมายถึง ทรัพยากร ทีจ่ ะตอ้ งนาเข้าส่รู ะบบเพ่ือใช้ในการแปรรูปซึ่งโดยท่ัวไปจะประกอบไปด้วย แรงงาน (Man) เงินลงทุน (Money) วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักร (Machine) วัสดุอุปกรณ์ (Material) ที่ดิน (Land) และ ข้อมูลข่าวสาร (Information) เป็นต้น ขั้นตอนต่อมา คือ การแปรสภาพ (Transform) หมายถึง การเปล่ียนปัจจัยนาเข้าให้กลายเป็นส่ิงส่งออก โดยอาศัยกระบวนการทางฟิสิกส์ เคมี ชีวภาพ หรือ การให้บริการ เป็นต้น แล้วได้มาซ่ึงสิ่งส่งออก (Output) อันหมายถึง สินค้าและบริการท่ีสถาน ประกอบการต้องการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าซ่ึงมีเรื่องของการบริหารจัดการ ภายใตจ้ รยิ ธรรมและความรับผิดชอบต่อสงั คมด้วย ชลิต มธุรสมนตรีและคณะ (2544 : 1-3) ได้กล่าวถึงความหมายของคาว่าการผลิตรวมถึง กระบวนการผลติ ว่าเป็นการเปลี่ยนวัตถุดิบให้กลายมาเป็นผลิตภัณฑ์โดยผ่านการออกแบบที่ใช้วีธีการ และเทคนิคท่ีทันสมยั มาทาการผลิต โดยชลิต มธุรสมนตรีและคณะ (2544) ยุทธ กัยวรรณ์ (2543) และ พิภพ ลลิตานนท์ (2556) ได้ใช้คาว่ากระบวนการผลิตว่า Manufacturing ในงานด้านการจัดการ อุตสาหกรรม ซึ่งแตกต่างจาก Krajewski & Ritzman (1996) Chase, Aquilano & Jacobs (2001) Hanna & Newman (2001) Stevenson (2002) Heizer & Barry (2004) ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2542) และสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2559) ปรียาวดี ผลเอนก (2557) ณฐา คุปตัษเฐียร (2558) ที่ได้ใช้คาว่า Process แทนคาว่ากระบวนการ อย่างไรก็ตามทั้งสอง ความหมายน้ันมีความคล้ายคลึงกันและอาจจะใช้แทนกันได้เน่ืองจากเม่ือตีความในภาษาไทยก็มี ความหมาย คอื กระบวนการหากแตม่ ีรายละเอียดและวัตถปุ ระสงค์ในการนิยามแตกต่างกันไปบา้ ง

9 จากการศกึ ษานกั วิชาการหลายทา่ นที่ไดใ้ ห้ความหมายของการผลิตไว้สรุปได้ว่า การผลิตและ การดาเนินงาน หมายถึง กระบวนการแปลงสภาพปัจจัยการผลิตซ่ึงเป็นการใช้ทรัพยากรการผลิตซึ่ง หมายรวมถึง คน เงิน เคร่ืองจักร วัสดุ ที่ดิน การบริหารจัดการ ข้อมูลข่าวสาร การตลาดและการ แข่งขันไดร้ ับผลตอบกลับจากลูกค้าเพ่ือมาสร้างหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือสินค้า เม่ือนาวัตถุดิบเหล่าน้ี เข้าสู่กระบวนการผลิต ทาการตัดแต่ง เสริม เชื่อม ต่อ ผสม บรรจุ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการแปร รปู แล้วไดม้ าซ่งึ สินคา้ และบรกิ าร ภายใตก้ ารมจี รยิ ธรรมทางธรุ กิจและมคี วามรับผิดชอบตอ่ สงั คม 1.2 ลกั ษณะและความสาคัญของการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน นักบริหารการผลิตต้องตระหนักว่าการผลิตเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับปัจจัยหรือทรัพยากร การผลิตท่ีเน้นถึงกระบวนการแปลงสภาพปัจจัยการผลิต เม่ือนาวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการผลิต แล้ว ได้มาซ่ึงสินค้าและบริการ แต่ในสภาพเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน อุตสาหกรรมการผลิตประเภทต่าง ๆ จาเปน็ ตอ้ งปรับปรงุ กระบวนการผลิตมีการนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการผลิต เพื่อความอยู่รอด และ เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันกับคู่แข่งในท้องตลาด การปฏิบัติการในการผลิต กิจกรรมหรือ การดาเนินงานต่างๆ ต้องไหลไปอย่างรวดเร็ว ราบรื่น และคุ้มค่ากับการลงทุน เพ่ือให้เกิด ความก้าวหนา้ และการเตบิ โตในอนาคตอย่างตอ่ เน่ืองและยั่งยืน สิ่งสาคัญประการหนึ่ง ที่จะให้ความต้องการดังกล่าวเป็นไปตามเปูาหมายก็คือการบริหาร การผลิตและการดาเนินงานท่ีจะทาให้การผลิตดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้ได้ปริมาณตามความต้องการอย่างมีคุณภาพ โดยมีค่าใช้จ่ายต่าสุดและสร้าง ความสามารถในการทากาไร (Profitability) ให้มากที่สุด ผลประกอบการท่ีจะเกิดข้ึนตามท่ีกล่าวมา จะเป็นจริงได้ก็ด้วยการท่ีสถานประกอบการแต่ละแห่งต้องใช้กลยุทธ์ในการผสมผสานปัจจัยการผลิต เข้าสู่กระบวนการอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ การบริหารงานการผลิตจึงจะมีประสิทธิผล (Effectiveness) มีความสามารถในการสร้างกาไรและมี ความพร้อมในการท่ีจะรับทราบข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เพ่ือนาไปปรับปรุงและควบคุม (Control) กระบวนการผลิตใหม้ ปี ระสิทธภิ าพต่อไป ในการศึกษาเร่ือง การบริหารการผลิตและการดาเนินงาน ผู้เรียนจะต้องเข้าใจถึงคาว่า ประสทิ ธิภาพ และคาว่าประสทิ ธผิ ลได้อย่างถ่องแท้เสียก่อน โดยจะขออธิบายว่าสองคานี้มีความหมาย แตกต่างกัน เพียงแต่ผู้ใช้คาศัพท์สองคานี้ควบคู่กันอยู่อย่างสม่าเสมอจึงใช้ปะปนกัน โดยมิได้แยกแยะ ประเด็นในส่วนทเ่ี ปน็ รายละเอียดอันควรทราบดังจะแสดงไวใ้ นแผนภาพท่ี 1.1 ดังน้ี

10 Mean End ประสิทธภิ าพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) ปจั จยั นาเข้า กระบวนการแปลงสภาพ ผลติ ภณั ฑ์ INPUT PROCESS OUTPUT CONTROL การควบคุม แผนภาพท่ี 1.1 แสดงการอธิบายความหมายของคาว่าประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล ท่ีมา : ดดั แปลงจากปรยี าวดี ผลเอนก (2557) พิภพ ลลิตานนท์ (2556) และณฐา คปุ ตัษเฐยี ร (2558) ในกระบวนการผลิตสินค้านั้นมีขั้นตอนอย่างง่ายอยู่สามขั้นตอน ข้ันตอนแรก คือ การปูอน ปัจจัยการผลติ เรยี กว่า Input ข้นั ตอนทส่ี องคือกระบวนการผลิตเรียกว่า Process และข้ันตอนที่สาม คือ การได้มาซ่ึงผลิตภัณฑ์เรียกว่า Output ซึ่งในการบริหารการผลิตให้มีศักยภาพต้ังแต่ขั้นตอนของ การปูอนปัจจัยการผลิตและในขั้นตอนของกระบวนการผลิต การบริหารการผลิตและการดาเนินงาน เราจะเรยี กขนั้ ตอนในทนี่ ี้วา่ เป็นการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ หรือมี Efficiency กล่าวเปรียบเทียบ ระยะน้ีเป็นช่วงวิธีการ (Mean) เม่ือฝุายโรงงานหรือสถานประกอบการผ่านกระบวนการผลิตแล้วจะ ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเสร็จหรือสินค้าสาเร็จรูปออกมาเพื่อรอจัดจาหน่ายต่อไป การได้สินค้าที่มี คุณภาพตรงตามความต้องการของลูกค้า พัฒนาจนเป็นที่นิยมของตลาด ข้อมูลย้อนกลับการตอบรับ ผลิตภัณฑ์ทาให้บริษัทหรือโรงงานหรือสถานประกอบการมีกาไรและมีการดาเนินการงานผลิตและ บริการอย่างต่อเน่ือง ส่ิงท่ีดีน้ีเรียกว่า งานการควบคุมการผลิตเกิดประสิทธิผล หรือมี Effectiveness น่ันเอง โดยกล่าวเปรียบเทียบระยะน้ีเป็นสิ้นสุดการทางาน (End) แต่ข้อบ่งชี้ผลการดาเนินงาน การผลติ ท่มี ปี ระสิทธิภาพน้ันจะต้องมาจากการควบคุมคุณภาพซ่ึงเป็นกลไกให้นักบริหารการผลิตและ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องเฝูาระวังในมาตรฐานของสินค้าและบริการโดยอาจรับข้อมูลจากผลตอบรับของ ลูกค้านามาควบคุมคุณภาพการผลิตในรอบถัดไป เช่น การพยากรณ์ยอดขาย การศึกษาวิจัยตลาด การพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ การรับคาร้องเรียนจากลูกค้า เป็นต้น สาหรับภาพรวมของการผลิต อธบิ ายได้ตามแผนภาพ 1.2 ดังน้ี

11 External Factors: ปัจจัยภายนอก การเมอื ง ทาการผลิต Direct Indirect กฎหมาย พ.ร.บ. โรงงาน ระเบยี บ เศรษฐกจิ ถูกสขุ อนามัย  Goods  Tax (ภาษ)ี ลกู ค้าเทคโนโลยี ข้อมลู ข่าวสาร ภาวะตลาด เกบ็ รักษา  Services  Wage (คา่ จ้าง) การแข่งขนั มปี ระกนั ภัย  R&D (วิจัยพัฒนา) Resource: ทรพั ยากร 4M บรหิ ารทรัพยากร  Environment  Material (วสั ดุ)  Man (กาลงั คน) การส่อื สาร  Money (เงินทนุ )  Machine ระบบขนส่งมอบ (สงิ่ แวดลอ้ ม) สินคา้ ครบถว้ น (เคร่ืองจักร) ตรงเวลา รวดเร็ว  Labor (แรงงาน)  Social (สังคม) ปจั จยั นาเขา้ กระบวนการแปลงสภาพ ผลติ ภัณฑ์ INPUT PROCESS OUTPUT Planning การควบคุม Organizing เชงิ กลยุทธ์ (ระยะยาว) ดว้ ย CONTROL การดาเนินงานระยะ (ปานกลาง & ส้ัน) Efficiency+Effectiveness = Value Efficiency = O / I (ประสิทธิภาพ)= Output/Input (ประสิทธิภาพ) (ประสทิ ธผิ ล) Quality สรา้ งมลู คา่ มากสุด วตั ถปุ ระสงค์การผลติ ลดต้นทุนนอ้ ยสุด ก่อนกระบวนการผลิต  Product (สนิ คา้ )  Quality Control (ควบคุมคุณภาพ) ทาเลทีต่ ง้ั กาลงั การผลติ ลาดับผลติ  Cost (ตน้ ทนุ )  Work Measurement (การวดั งาน) แผนผงั สถานประกอบการ  Timing (เวลา)  Operation Standard (มาตรฐานผลติ ) หลงั กระบวนการผลิต  Flexibility (ยดื หยุน่ )  Just in Time (ทนั เวลาพอดี) วางแผนการผลิตรวม  Service (บริการ)  Lean (สญู เสยี น้อยสุด) การจัดการวสั ดุ/สินค้า  Logistic (ระบบส่งบารุงกาลงั ) แผนภาพท่ี 1.2 ภาพรวมการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน ที่มา : ดดั แปลงจาก Hanna & Newman (2001) และ พิภพ ลลิตานนท์ (2556)

12 จากแผนภาพขา้ งต้นอธิบายได้ว่าระบบการผลิตมีองค์ประกอบอยู่ส่ีประการ เร่ิมจากประการ แรกปจั จัยนาเข้า ประการท่ีสอง คือ กระบวนการแปลงสภาพ ประการที่สาม คือ ผลิตภัณฑ์ ประการ ทส่ี ่ี คอื การควบคุมซ่ึงหมายรวมถึงมาตรฐานของการควบคุมคุณภาพ ย่อมมีผลตอบรับจากลูกค้าเป็น อย่างดี ในทางกลับกันเมื่อมีผลย้อนกลับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างไร โรงงานหรือสถาน ประกอบการก็จะได้นาไปปรับปรุงโดยควบคุมคุณภาพให้ได้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ดีก่อนวางจาหน่าย ในตลาด ในการบริหารการผลิตและการดาเนินงานมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือ บรกิ ารโดยคานึงถึงตน้ ทุนอยู่เสมอ หมายความวา่ ราคา ที่ผูผ้ ลติ สินค้าและบรกิ ารจะใช้ไปเพื่อการจัดซื้อ จัดหา จัดจ้าง จ้างเหมา ฯลฯ จะต้องยอมรับได้ หรือครอบคลุมราคาขายเพ่ือให้ได้มาซ่ึงกาไรจาก การประกอบการ ในขณะเดียวกันการคานึงถึงต้นทุนยังครอบคลุมไปในส่วนของความตระหนักว่า ราคาท่ผี ู้ซื้อสนิ คา้ จะมีเพียงพอท่ีจะซ้ือไดด้ ้วย นอกจากนี้ในข้ันตอนของการผลิตที่อยู่ภายใต้ต้นทุนและ คุณภาพตามท่ีได้กล่าวมาแล้วนั้น สิ่งหนึ่งท่ีจะขาดไม่ได้คือความทันต่อเวลา หากงานของสถาน ประกอบการหรือโรงงานที่ผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหน่ึงได้อย่างดีมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ออกมาเป็นชิ้นงาน รูปลักษณ์ทันสมัยเป็นที่ต้องการของตลาด อีกทั้งยังมีต้นทุนท่ียอมรับได้ครอบคลุม ค่าใช้จ่ายในการขายได้หักลบต้นทุนแล้วสถานประกอบการหรือโรงงานคาดหมายว่าจะมีกาไรอย่าง แน่นอนและเม่ือนาออกจาหน่ายจริงก็เป็นไปตามความคาดหมาย แต่ด้วยปัจจัยต่าง ๆ ท่ีกล่าวมา ทุกสถานประกอบการหรือโรงงานต่างกค็ านึงถงึ อยู่แลว้ แทบท้ังส้ิน ดงั นั้น ในยุคของการเปล่ียนแปลงและแข่งขันเพื่อให้เกิดความได้เปรียบในเรื่องความสามารถ ในการแขง่ ขันกนั ทางการคา้ และอตุ สาหกรรมไดน้ ัน้ ย่อมขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถในการบริหารการผลิต ของโรงงงานหรือสถานประกอบการ สินค้าท่ีส่งมอบให้ลูกค้าหรือตลาดจะเป็นที่ยอมรับและมี ความเช่ือมั่นในสินค้าได้น้ันย่อมขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านต่างๆ หลายประการ ปัจจัยที่จะเป็นตัวท่ีตัดสิน ได้แก่ ระยะเวลา (Timing) เพราะเม่ือคุณภาพทุกด้านเท่ากันหมด สถานประกอบการหรือโรงงานใด สามารถนาเสนอสินค้าได้รวดเร็วกว่าก็ย่อมที่จะเป็นตัวเลือกแรกของลูกค้าเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการผลิต ท้ังในและต่างประเทศก็ตามก็มีหลักการเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของการลดต้นทุนและ เร่ืองประสิทธภิ าพต้งั แตก่ ารปอู นวัตถดุ ิบ กระบวนการผลิต ตลอดจนการไหลและการลาเลียงของสาย ผลติ ภณั ฑ์ (Product Line) รวมทัง้ เร่ืองของการขนส่ง (Transportation) ไปยังลูกค้า ทุกขั้นตอนน้ัน ทุกฝุายต่างหันมาสนใจในเรื่องการลดต้นทุนด้วยระบบลีน (Lean) ระบบบารุงกาลังหรือการจัดการ โลจิสติกส์และการขนส่ง ซึ่งกาลังเป็นเร่ืองที่น่าสนใจในประเทศไทยอยู่ในขณะน้ี เพราะนักวิชาการ หรือนักบริหารการผลิตต่างเช่ือว่าหากสามารถลดต้นทุนได้ต้ังแต่ขั้นตอนการผลิตย่อมเป็นการสร้าง กาไรได้อย่างแท้จริงมากกว่าการไปเพ่ิมค่าส่งเสริมการตลาดแล้วส่งผลให้เกิดราคาขายท่ีมากข้ึน ย่อม ไม่ดีต่อโรงงานเป็นแน่เพราะลูกค้าทุกคนต่างก็มีความประสงค์ท่ีจะได้สินค้าท่ีมีคุณภาพแต่ ราคา เหมาะสมซงึ่ จะแสดงไว้ดงั ตารางดงั ตารางที่ 1.2

13 ตารางที่ 1.2 เปรียบเทียบการลดตน้ ทุนการผลติ ท่กี อ่ กาไรได้มากกว่าการลดต้นทุนทางการตลาด นโยบายของบริษัท นโยบายการผลิต นโยบายทางการตลาด (หนว่ ย: ล้านบาท) ลดต้นทุนรอ้ ยละ 10 เพม่ิ ยอดขายร้อยละ 10 ขาย (Sales) 100 100 110 หัก ต้นทุนขาย (Cost of Goods 60 54 (60*90%) 66 (66*110%) Sold) กาไรขั้นตน้ (Gross Profit) 40 46 44 หกั คา่ ขายและบรหิ าร (Operating ) 20 18 (20*90%) 22 (20*110%) กาไรสุทธิ (Net Profit) 20 28 22 ที่มา : ดดั แปลงจากพภิ พ ลลติ านนท์ (2556) และ Chase, Aquilano & Jacobs (2001) จากตารางข้างต้นได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าการลดต้นทุนด้านการผลิตจะสามารถก่อกาไรได้ มากกว่าการเพ่ิมยอดขายของฝุายการตลาด จึงเป็นต้นเหตุให้นักบริหารการผลิตและผู้ปฏิบัติงาน การผลติ หนั กลับมามองกระบวนการจัดการระบบผลิตให้มีต้นทุนต่าที่สุดเพื่อทาให้สถานประกอบการ หรือโรงงานหรือธรุ กจิ ได้กาไรมากทีส่ ุด อย่างไรกต็ ามการท่ีนักบริหารการผลิตและการดาเนินงานคานึงถึงความพยายามในการลด ต้นทุนมากจนเกินไปก็ไม่เป็นผลดีเน่ืองจากว่าการผลิตนี้มีกลไกสาคัญคือคนหรือทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) ซงึ่ จัดไดว้ า่ เป็นปัจจัยการผลิตชน้ั ยอดท่เี ปน็ กลไกสาคญั ทาให้ทกุ ปจั จยั การผลิต ขับเคลื่อนไปได้ ดังน้ันความยืดหยุ่น (Flexibility) ย่อมต้องนามาปรับใช้ในสถานประกอบการหรือ โรงงาน ยกตัวอย่างเช่น ผู้จัดการฝุายโรงงานยอมจ่ายเพ่ิมขึ้นเพ่ือจัดซื้อจัดหาหมวกและหน้ากากมา ปูองกันอันตรายที่อาจจะเกิดจากสารเคมีในสถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรม หรือจะเป็น เร่ืองของการยินดีจ่ายเพ่ือจัดหาอุปกรณ์ดับเพลิงมาเพ่ือรักษามาตรฐานความปลอดภัยในสถาน ประกอบการ ทุกประการท่ีกล่าวมาล้วนแล้วแต่ควรกระทาแม้จะเพ่ิมทุน แต่ท้ายที่สุดจะก่อ ประสทิ ธิภาพการผลิตในระยะยาว ลดปัญหาความสูญเสีย ลดภาวะทุพลภาพจากอุบัติเหตุการทางาน ได้อกี ด้วย นอกจากนี้ยังมีประเด็นท่ีผู้จัดการของสถานประกอบการอนุญาตให้พนักงานเพศหญิงใน ฝุายโรงงานสามารถลาคลอดได้ตามข้อกฎหมายท่ีกาหนดหรือไม่ ท้ังหมดน้ีล้วนเป็นตัวอย่าง ความยืดหยุ่น ผ่อนปรนท่ีอาจมองเป็นรูปธรรมไม่เห็นเพราะเป็นเร่ืองของขวัญและกาลังใจ (Morale) ในบางโอกาสนักบริหารการผลิตและการดาเนินงานควรคานึงถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อ สงั คม (Ethic and Social Responsibility) ด้วยถึงแม้ว่าจะมีกาไรลดลงไปบา้ ง เม่ือกล่าวถงึ ปจั จยั การผลิตนอกจากจะมีคนซึ่งเป็นกลไกขับเคล่ือนแล้ว สถานประกอบการ หรือ โรงงานต้องมีเงินทุน (Money) เพียงพอต่อการลงทุน การกาหนดคาสั่งซ้ือ เพื่อนาไปวางแผน กาลังการผลิตสืบเนื่องไปยังการใช้ในข้ันตอนการผลิต จนกระทั่งจัดจาหน่ายหรือแม้แต่การวิจัย ผลติ ภัณฑ์หรือการวิจยั ตลาด นอกจากเงินงบประมาณท่ไี ว้ใช้สอยแล้วเงินงบประมาณเหลา่ นย้ี ังจะต้อง

14 นาไปสั่งซื้อเคร่ืองจักรจากทั้งในและต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงศักยภาพการสร้างและผลิต เครื่องจักรของประเทศไทยมีข้อจากัด ในเรื่องของเคร่ืองจักรขนาดใหญ่หลายชนิดจาเป็นต้องส่ังซ้ือ หรือนาเข้าจากตา่ งประเทศ ยิ่งสภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ามากเท่าไร ค่าเงินบาทอ่อนตัว เราจะต้องสูญเสีย ปริมาณเม็ดเงินมากมายกว่าที่จะสามารถซ้ือเครื่องจักรมาใช้ได้อีกทั้งยังต้องศึกษาคู่มือการใช้และค่า บารุงรกั ษาเคร่ืองจกั รโรงงานตลอดจนการใช้งานในแตล่ ะปีท่ีผา่ นไปก็จะมีค่าเส่ือมราคาเครื่องจักรมาก ข้ึนทุก ๆ ปี นอกจากนี้ วัสดุและอุปกรณ์ท่ีเคล่ือนย้ายได้ หรือเรียกว่า Material ก็ต้องมีการสารองอยู่ ตลอดเวลาเพราะถา้ ไม่บริหารจัดการวัสดหุ รอื ไมใ่ หค้ วามสาคัญกบั เรือ่ ง การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP : Material Requirement Planning) อาจสร้างความเสียหายให้เกิดกับสถานประกอบการ หรอื โรงงานได้ นี่คอื สง่ิ สาคญั ที่นกั บรหิ ารการผลิตตอ้ งคานงึ ถึงอยู่ตลอดเวลา อย่างไรกต็ ามสาหรับสถานประกอบการจริงมกั ประสบปญั หาอื่นๆ มากกว่าการประสบปัญหา เฉพาะปัจจัยการผลิต เพราะปัญหาในเร่ืองปัจจัยการผลิตไม่ว่าจะเป็น คน (Man) เงินทุน (Money) เครื่องจักร (Machine) วัสดุ (Material) การบริหารจัดการ (Management) หรือแม้แต่ขวัญกาลังใจ (Morale) ของพนักงานก็ตาม ต่างก็เป็นเพียงองค์ประกอบท่ีอยู่ภายในองค์การธุรกิจซ่ึงในโลกของ ธุรกิจจริงองค์การธุรกิจหรือสถานประกอบการต้องเผชิญกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่ภายนอก (External Factors)โรงงานหรือสถานประกอบการน้ันๆ เช่น กฎหมาย (Law) หรือพระราชบัญญัติของโรงงาน อุตสาหกรรมท่ีจะละเว้นการปฏิบัติไม่ได้ สภาพการเมือง (Political) ของประเทศ สภาพเศรษฐกิจ (Economic) ในขณะนั้น หรือแม้แต่พัฒนาการของเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ ท่ีเกิดข้ึนมากมาย นอกจากน้ียังให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมภายนอกท่ีอยู่ใกล้ชิดกับสถานประกอบการให้มากข้ึน เช่น สภาพการแข่งขันของสถานประกอบการประเภทเดียวกัน หรือบริษัทท่ีอยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน การรับรู้ของข้อมูลข่าวสาร (Information) ตลอดจนทัศคติ รสนิยม หรือความต้องการของลูกค้า เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา สถานประกอบการจึงควรต้องปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่อย่าง สมา่ เสมอ การปูอนปัจจัยการผลิตเป็นการวางแผนกลยุทธ์การผลิตในระยะยาวก็ว่าได้เพราะคาว่า ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นนั้นในโลกของธุรกิจ ควรได้มีการผสมผสานหรือใช้ ควบคู่กันเพ่ือสร้างผลิตภัณฑ์ออกมาให้ได้คุณภาพหรือเรียกว่า การสร้างมูลค่า (Value) หากจะเขียน เป็นสูตรสาเร็จได้ว่า ประสิทธิภาพบวกประสิทธิผลจะได้มาซ่ึงการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพน่นั เอง และการสร้างมูลค่าให้กบั ผลิตภณั ฑน์ ้ันควรได้คุณคา่ ออกมาให้ไดม้ ากที่สุด เช่น เงาะซึ่ง เป็นผลไม้ของประเทศไทยหากจาหน่ายผลผลิตหลังเก็บเก่ียวโดยท่ียังไม่ได้แปรรูปก็จะมีราคาต่า แต่ เมอื่ โรงงานผลติ ผ่านการแปรรูปเป็นเงาะกระป฻อง สามารถรกั ษารสชาติและยืดอายุการใช้งานเก็บไว้ได้ นานและสามารถส่งออกไปต่างประเทศได้อีกด้วยก็จะสามารถทากาไรและเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิม ให้กับสนิ คา้ ซง่ึ เราเรียกสง่ิ น้ีว่าการสร้างมลู ค่าเพ่มิ นักบริหารการผลติ มีความคาดหวังในการสร้างมลู ค่าเพม่ิ ให้ได้มากท่ีสุดเรียกว่า Most Value ดว้ ยเหตทุ นี่ ักบริหารการผลิตและบรกิ ารมคี วามมุ่งมัน่ ทีจ่ ะพฒั นาการผลิตให้ได้ดีท่ีสุด ดังนั้นในขั้นตอน ของการปูอนวัตถุดิบนี้มีสิ่งที่จะต้องคานึงถึงได้แก่ข้ันตอนของกระบวนการก่อนการผลิตนักบริหาร การผลติ ควรศึกษาลักษณะและให้ความสาคัญของการเลือกทาเลที่ตั้ง กาลังการผลิตตลอดจนการวาง

15 ผังโรงงาน เป็นต้น เม่ือผ่านกระบวนการผลิตแล้วควรมีการวางแผนการผลิตรวม การจัดการวัสดุ ตลอดจนการทบทวนลาดบั การผลติ ขน้ั ตอนถดั จากการปอู นวตั ถดุ บิ จะเป็นข้ันตอนของกระบวนการแปลงสภาพในข้ันตอนนี้จะมี การตัด แต่ง เสริม เชื่อมต่อ หรือผสมผสานให้วัตถุดิบเปล่ียนแปลงรูปร่าง รูปลักษณ์ หรือได้ออกมา เป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นใหม่ท่ีดีข้ึนกว่าเดิมและสร้างมูลค่าให้เพ่ิมข้ึน สาหรับในขั้นตอนน้ีนักบริหารการผลิต และผปู้ ฏิบัตกิ ารต้องให้ความสนใจในเรือ่ งการจัดการโลจิสติกส์เพราะเกี่ยวข้องกับการลดต้นทุน (Low Cost) โดยตรง สิ่งท่ีฝุายผลิตจะต้องให้ความสาคัญคือการผลิตที่ทันเวลา (Just in time) ตลอดจน การควบคุมคุณภาพซ่งึ จะไดก้ ลา่ วถึงอย่างละเอียดต่อไปในบทท่ี 9 เมื่อเสร็จส้นิ กระบวนการผลติ โรงงานหรือสถานประกอบการก็จะได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการซึ่ง ตามหลักการบรหิ ารการผลติ ไดแ้ บง่ ออกเปน็ สองประเภทด้วยกันคอื เร่มิ จากประเภทแรก สินค้าท่ีผลิต ตามมาตรฐาน (Standard Product) ซึ่งนักบริหารการตลาดมักจะเรียกสินค้าประเภทน้ีว่า Mass Production หรอื สินค้าทผี่ ลิตครั้งละมากๆ มสี ัดสว่ นปริมาณหรือมาตรฐานเดียวกันไม่ว่าจะผลิตอยู่ท่ี ใด หากใช้สูตรสาเร็จแบบเดียวกันซึ่งเป็นลักษณะสินค้าที่จัดจาหน่ายตามห้างสรรพสินค้าโดยท่ัวไป เช่น เส้ือผ้าสาเร็จรูป บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป เป็นต้น โดยสินค้าเหล่านี้มักผลิตโดยสถานประกอบการหรือ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เพ่ือให้มีการประหยัดต้นทุนจากขนาดการผลิต ส่วนสินค้า อีกประเภท หนึ่ง เรียกวา่ สนิ คา้ ท่ผี ลิตตามคาส่ังซื้อ (Custom Production) ซึ่งมีชื่อที่นักบริหารการตลาดเรียกว่า Niche Production ซึ่งเป็นการผลิตทม่ี ีคุณลักษณะเฉพาะและรูปแบบเฉพาะเจาะจง และมักผลิตน้อย ชิ้น หรือผลิตตามค่าส่ังซื้อจากลูกค้าหรือผู้มารับบริการโดยส่วนใหญ่จะมีปริมาณน้อยกว่าสินค้า ประเภท Mass Production แต่กลบั มีราคาคอ่ นขา้ งสูงกวา่ Mass Production ดังแสดงไว้ในตารางที่ 1.3 ตารางท่ี 1.3 เปรียบเทยี บสนิ คา้ ทีผ่ ลติ ตามมาตรฐานและสนิ คา้ ท่ผี ลิตตามคาสั่งซอื้ นยิ ามศพั ท์ สินคา้ ผลติ ตามมาตรฐาน สนิ คา้ ผลิตตามคาส่ังซอ้ื (Standard Product) (Custom Product) การตอบสนองลกู ค้า เพอ่ื ลดตน้ ทุน มงุ่ เนน้ ความแตกตา่ ง ผลผลติ ที่ได้ ปรมิ าณมาก ปรมิ าณน้อย การดาเนนิ งาน รปู แบบตายตัว ยดื หยนุ่ ในการออกแบบ ระยะเวลาผลติ เน้นรวดเรว็ และมคี ุณภาพ เน้นตามต้องการและมคี ณุ ภาพ ราคาจัดจาหน่าย มกั ถกู กวา่ มักแพงกว่า ตวั อยา่ งสนิ คา้ บะหม่ีกงึ่ สาเร็จรูป ปลากระปอ฻ ง ช้างไม้แกะสลัก เส้ือผ้าที่มีการสั่งตัด เฉพาะบุคคล ท่มี า : ดดั แปลงจาก ปรยี าวดี ผลเอนก (2557) และณฐั พันธ์ เขจรพนั ธ์ (2542) เม่อื มีการผลติ เสรจ็ ก็จะมเี รื่องการขนส่งสินค้าทั้งค้าปลีกและค้าส่งเร่ืองราวของระบบส่งบารุง กาลังหรือการจัดการด้านโลจิสติกส์ก็ยังคงเข้ามาเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ฝุายผลิตไม่ควรละเลยในเร่ือง ของการเก็บรักษาสินค้าไว้ที่โกดังหรือคลังสินค้าก่อนถึงมือผู้บริโภคหรือยังคงรักษาคุณภาพและ

16 มาตรฐานงานบริการไว้อย่างสม่าเสมอกับผู้มารับบริการทุกคน สาหรับสินค้าสาเร็จรูปที่เตรียมไว้เพ่ือ รอการจัดจาหน่ายนน้ั เป็นผลท่มี าจากการวัดประสิทธิภาพที่เกิดจากการเปรียบเทียบผลผลิตกับปัจจัย การผลติ ซง่ึ ครอบคลุม การดาเนนิ งานการผลติ ทง้ั ในระยะส้ันและระยะยาวโดยใช้หลักการท่ีดาเนินงาน ให้มีต้นทุนการผลิตท่ีต่าที่สุดเท่าท่ีจะทาได้ภายได้คุณภาพที่ยอมรับได้ผ่านการรับรองมาตรฐ านด้วย เช่นกัน ในข้ันตอนของการได้มาซ่ึงสินค้าหรือบริการน้ี นักบริหารการผลิตควรให้ความสาคัญกับทุก เรื่องไม่ว่าจะเป็นเร่ืองการควบคุมคุณภาพควบคู่ไปกับการวัดประสิทธิภาพการทางาน ( Work Measurement) การมมี าตรฐานการดาเนินงานการผลิต (Operating Standard) การทางานทันเวลา (Just in Time) ตลอดจนเร่อื งของการจัดระบบสง่ บารุงกาลงั หรอื การจัดการโลจิสตกิ ส์ เป็นต้น สาหรับความใส่ใจทุกเร่ืองน้ันจะเป็นผลดีต่อผลผลิตทั้งทางตรงและทางอ้อมในทางตรงน้ัน ผลผลิตที่ได้มาคือสินค้าและบริการส่วนทางอ้อมน้ันได้แก่ ภาษีอากร (Taxation) การบริหารค่าจ้าง (Wage) และการจัดการด้านแรงงาน (Labor) การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Research and Development) ตลอดจนการคานึงถึงเร่ืองความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมธุรกิจ (Environment) ในเรื่องของความสาคัญของการบริหารการผลิตมีนักวิชาการหลายท่านทั้งนักวิชาก ารใน ประเทศและในต่างประเทศ ได้แก่ Krajewski & Ritzman (1996) Chase, Aquilano & Jacobs (2001) Hanna & Newman (2001) Stevenson (2002) Heizer & Barry (2004) ณัฎฐพันธ์ เขจร นันทน์ (2542) ยุทธ กัยวรรณ์ (2543) ชลิต มธุรสมนตรีและคณะ (2544) และศากุน บุญอิต (2558) นักวชิ าการทุกท่านได้ใหค้ วามสาคัญของการบรหิ ารการผลิตไว้วา่ ควรให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อม ของธุรกิจท่ีมีความเก่ียวข้องกับกระบวนการผลิตท้ังระบบตั้งแต่การปูอนวัตถุดิบการดาเนินงาน ตลอดจนการได้มาซ่ึงผลิตภัณฑ์และเม่ือผลิตต้องมีการวางแผนกาลังการผลิต ใส่ใจในทุกขั้นตอนของ กระบวนการผลติ โดยรกั ษาความปลอดภัยของพนักงานในสถานประกอบการหรือโรงงานรวมท้ังหมั่น ตรวจสอบความปลอดภัยของเครื่องจกั รโรงงานวา่ มกี ารจดั วางไวอ้ ย่างเหมาะสมกับผงั โรงงานต้ังแต่เริ่ม ก่อต้ังโรงงานหรอื ไม่ สาหรับด้านของความปลอดภัยมักจะมาควบคู่กับเร่ืองของการจัดการคุณภาพและคาว่า คุณภาพ นักบริหารการผลิตและผู้ปฏิบัติงานในฝุายโรงงานจะต้องใส่ใจในรายละเอียดตลอดจน เรือ่ งของการจดั หาหรือจัดซื้อวัสดุอุปกรณท์ ่ีมีขนาดเล็กจนถึงเคร่ืองจักรที่มีขนาดใหญ่ ด้วยการติดตาม ข่าวสารข้อมูลสารสนเทศ (Information) ทางด้านการผลิตอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้รอบรู้เท่าทัน เทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา และเท่าท่ีผู้เขียนได้พิจารณาแล้วเห็นว่า แนวคิดของนักวิชาการตั้งแต่จากปีคริสตศักราช 2000 หรือปีพุทธศักราช 2543 จวบจนปัจจุบัน เร่ิม ให้ความสาคัญในเรื่องของการจัดการสารสนเทศและเรื่องของจริยธรรมธุรกิจและความรับผิดชอบต่อ สังคมมากข้ึน โดยทั้งหมดที่กล่าวมาได้สรุปไว้ในตารางท่ี 1.4 ในตารางนักวิชาการท่ีสนับสนุนแนวคิด ความสาคญั ของการผลิตและการดาเนินงาน ไว้ดังนี้

17 ตารางที่ 1.4 ตารางนักวชิ าการท่สี นับสนนุ แนวคดิ ความสาคญั ของการผลิตและการดาเนินงาน นักวิชาการ แนวคิด Krajewski & Ritzman Chase, Aquilano & Jacobs Hanna & Newman Stevenson Heizer & Barry ณัฎฐ ัพน ์ธ เขจร ันนทน์ ุยทธ ักยวรรณ์ ชลิต มธุรสมนตรีและคณะ ป ีรยาวดี ผลเอนก ศากุน บุญอิต ปี ค.ศ. 1996 ค.ศ. 2001 ค.ศ. 2001 ค.ศ. 2001 ค.ศ. 2004 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 1. คานงึ ถงึ สภาพแวดล้อมธรุ กิจ         2. คดิ ว่าตอ้ งร้เู รื่องการผลิต         3. เม่ือผลติ ตอ้ งเตม็ กาลังและวางแผนไว้           4. ใส่ใจกระบวนการห่วงโซ่อปุ าทาน           5. ผสานเร่อื งทาเลท่ีตง้ั         6.ไม่หยดุ ยง้ั การควบคมุ คณุ ภาพ         7. ตราบนานเท่านานถ้าบารงุ รักษา           8. อยา่ รอชา้ เรง่ จัดซ้อื         9. ปรกึ ษาหารือฝาุ ยสารสนเทศ        10. จดั ธรุ กจิ โปรง่ ใสใสใ่ จจรยิ ธรรม        ทีม่ า : ดดั แปลงจาก ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2542) และศากนุ บุญอิต (2558) เมอ่ื นักบริหารการผลิตได้ตระหนักในความสาคัญของการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน แล้ว ต่อไปควรได้ศึกษาแนวคิดและวิธีการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์การผลิตและการดาเนินงานดัง รายละเอียดในหวั ขอ้ ตอ่ ไป

18 1.3 แนวคดิ และวธิ ีการตดั สินใจเลือกกลยุทธ์การผลติ และการดาเนนิ งาน คาว่ากลยุทธใ์ ช้คาในภาษาองั กฤษว่า Strategy มีรากศัพท์มาจากคาว่า “Strategos” ซ่ึงเป็น คาที่มาจากภาษากรีกโบราณท่ีใช้ในยุทธศาสตร์ทางทหาร Strategos น้ันมาจาก Stratos หมายถึง กองทัพ ผสมกับคาว่า Agein ซ่ึงหมายถึง นาหน้า และเม่ือนามาใช้กับวิชาทางการบริหาร หมายถึง การนาทางให้องค์การโดยรวม (Leading the Total Organization) ซึ่งมุ่งในเชิงจุดหมายและวิธีการ ว่าจะทา “อะไร” ให้สาเร็จได้ “อย่างไร” ภายหลังได้มีการนามาปรับใช้กับวงการธุรกิจและ ภาครฐั บาล Earl (1974 : 161) กลา่ วไวว้ ่ากลยทุ ธ์เป็นเร่อื งของการวางแผน เป็นสิ่งที่จะนาความอยู่รอด มาสู่ธุรกิจ ภายใต้สภาพการแข่งขันในปัจจุบันและมีการตัดสินใจท่ีถูกต้องด้วยมุมมองท่ีกว้างไกลให้ บรรลุวัตถปุ ระสงค์และเปาู หมายของธุรกิจ Andrew (1980 : 18) กลา่ วถึงกลยุทธ์ทางด้านเครือข่ายผู้ปูอนปัจจัยการผลิตเอาไว้ว่า คือ การที่นักบริหารกาหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย และแผนงานต่างๆ ให้ดาเนินไปพร้อมกัน กาหนด ขอบเขตงานขององค์การในอนาคต ตลอดจนการสร้างคุณประโยชน์แก่เศรษฐกิจและอื่นๆ แก่ผู้มีส่วน เกีย่ วข้อง ลูกค้า พนักงาน และชมุ ชน Samuel (1983 : 57) กล่าวไว้ว่ากลยุทธ์และการบริหารเชิงกลยุทธ์ได้นามาปรับใช้กับ ภาครัฐบาลไดใ้ ห้คานิยามไว้ว่าเป็นชุดของทางเลือกในระยะยาวอันเกี่ยวกับเปูาประสงค์เชิงปฏิบัติการ และนโยบายรวมทั้งแผนปฏิบัติการและแผนของรัฐบาลซ่ึงองค์การของรัฐเป็นผู้กาหนด โดยคานึงถึง ปัจจัยท่ีสาคัญคือวัตถุประสงค์ของแผนงานที่รัฐบาลกาหนดไว้ประการหน่ึงและอีกประการหนึ่งคือ สิง่ แวดล้อมท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ การดาเนินงานของแผนงาน Campbell & Yeung (1991 : 10-20) กล่าวไว้ว่ากลยุทธ์ คือสิ่งที่องค์การสามารถทาให้ บรรลุจุดมงุ่ หมายเมื่อเปรียบเทียบกับองค์การอ่ืนซึ่งกลยุทธ์จะแสดงถึงความเป็นเลิศของจุดมุ่งหมายท่ี องค์การต้องดาเนินการให้บรรลุความสาเร็จ กลยุทธ์จะระบุถึงการสร้างความม่ันคงขององค์การเม่ือ เปรียบเทียบกับองค์การอื่น กลยุทธ์จะระบุถึงธุรกิจหรือ การดาเนินการขององค์การอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนแผนขององคก์ ารเพอื่ การสรา้ งผลประโยชน์และศักยภาพขององค์การ Mintzberg (1994 : 23-32) กล่าวไว้ว่ากลยุทธ์ คือ แผน (Strategy is Plan) ที่ใช้กาหนด ทศิ ทางการดาเนนิ งาน กลยุทธ์ คอื รปู แบบ (Strategy is a Pattern) ด้านพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน ท่ีเป็นไปไดแ้ ละตอ่ เนอ่ื งในแตล่ ะชว่ งเวลา โดยมาจากสง่ิ ท่ีผ้บู ริหารต้ังใจจะทาภายใต้ความคาดหวังของ ผู้ปฏิบัติงาน กลยุทธ์ ยังหมายถึง การกาหนดตาแหน่งทางการแข่งขัน (Strategy is a Position) ใน สนามแข่งขันสินค้าหรือบริการต้องเหมาะสมในแต่ละตลาดหรือสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า หรืออาจกล่าวได้ว่ากลยุทธ์ คือภาพ (Strategy is a Perspective) ที่แท้จริง หรือแนวคิดที่คนใน องค์การยึดถือร่วมกันและกลยุทธ์ คือกลวิธี (Strategy is a Pattern) ไม่ว่าจะเป็นการต่อรองระหว่าง กลุม่ ผลประโยชน์ทางการค้าหรือสงครามจะตอ้ งใช้อบุ ายในการดาเนินงาน สุนี ประจวบเหมาะ (2539 : 15) ได้กล่าวถึงความหมายของคาวา่ กลยุทธ์ คือ กุญแจที่เปิด ประตูไปสคู่ วามอยู่รอดของธุรกิจ ความสามารถในการทากาไรให้ธุรกิจในสภาพการแข่งขันในปัจจุบัน

19 ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่จะเกิดข้ึนได้ เป็นการมองภาพไกลเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และ เปาู หมายธรุ กิจ ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2541 : 1) และปรียาวดี ผลเอนก (2557) มีแนวคิดตรงกันว่า กลยุทธ์ เป็นวิธีการ (Mean) ที่องค์การจะเลือกเพื่อท่ีจะดาเนินจากจุดที่เป็นอยู่ในปัจจุบันไปยัง จุดหมายปลายทางหากสามารถบรหิ ารกลยทุ ธไ์ ดด้ ังคาดหวังก็จะยังประโยชนใ์ หเ้ กดิ แกเ่ ศรษฐกจิ สมชาย ภคภาควิวัฒน์ (2545 : 5) ได้กล่าวถึงความหมายของกลยุทธ์ ไว้ว่าเกี่ยวข้องกับ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจเพื่อพิจารณาหาโอกาส (Opportunities) และภัยคุกคาม (Threats) ตลอดจนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในเพื่อหาจุดอ่อน (Weaknesses) และจุดแข็ง (Strengths) กลยุทธ์โดยภาพรวมตามแนวคิดของ Porter (2002) กล่าวไว้ว่าวิถีทางหรือแนวทางที่ถูก กาหนดข้ึนเพื่อระดมและจัดสรรการใช้ทรัพยากรของประเทศในการช่วยให้บรรลุถึ งเปูาหมายทาง เศรษฐกิจซ่ึงเน้นเร่ืองกลยุทธ์มุ่งความแตกต่างซ่ึงเน้นการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ (Differentiation) และมุ่งไปที่ต้นทนุ ท่ตี ่าทีส่ ุด (Low Cost Strategy) สรุปว่านักวิชาการทุกคนท้ังในอดีตและปัจจุบันท้ังชาวไทยและต่างประเทศ ได้แก่ Earl (1974) Andrew (1980) Samuel (1983) Campbell & Yeung (1991) Mintzberg (1994) Porter (2002) สุนี ประจวบเหมาะ (2539) ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2541) และสมชาย ภคภาควิวัฒน์ (2545) และปรียาวดี ผลเอนก (2557) มีแนวคิดเป็นไปในทิศทางเดียวกันแต่มีจุดเน้นต่างกันดังแสดงไว้ใน ตารางแสดงการให้ความหมายของคาว่า กลยุทธ์ในหลากหลายแง่มุม โดยนักวิชาการแต่ละท่านมี จุดเน้นที่แตกต่างกัน คือ Earl (1974) Andrew (1980) Samuel (1983) Campbell & Yeung (1991) Mintzberg (1994) และสุนี ประจวบเหมาะ (2539) ให้ความหมายของกลยุทธ์ว่าคือการ วางแผน Earl F. (1974) และสนุ ี ประจวบเหมาะ (2539) กลา่ วถงึ กลยุทธ์ว่าจะต้องนาพาให้องค์การ อยู่รอดได้อย่างม่ันคง ส่วนเรื่องของกลยุทธ์เป็นเร่ืองของการตัดสินใจเป็นความคิดเห็นของ Earl (1974) Samuel (1983) ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2541) ในด้านกลยุทธ์คืองานที่จะต้อง ดาเนินไปให้บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายขององค์การ ผู้ท่ีเห็นด้วยกับด้านนี้ ได้แก่ Earl (1974) Samuel (1983) Campbell & Yeung (1991) Mintzberg (1994) Porter (2002) สุนี ประจวบ เหมาะ (2539) ศิริวรรณ เสรีรตั น์และคณะ ส่วน Andrew (1980) Samuel (1983) กล่าวว่า กลยุทธ์ คอื การกาหนดขอบเขตงานผู้ท่ีให้ความสาคัญในเรื่องกลยุทธ์ที่ครอบคลุมไปถึงการสร้างคุณประโยชน์ ทางเศรษฐกิจตลอดจน การจัดสรรทรัพยากรให้คุ้มค่าได้แก่ Andrew (1980) Campbell & Yeung (1991) Mintzberg (1994) Porter (2002) สาหรับความหมายของ กลยุทธ์ คือ การวางแผนในระยะ ยาวของภาครฐั บาลทคี่ านึงถงึ ลูกค้า หรอื ประชาชน พนักงานตลอดจนชุมชนน้ัน สอดคล้องกับแนวคิด ของ Andrew (1980) Samuel (1983) Mintzberg (1994) และสุนี ประจวบเหมาะ (2539) ในเร่ือง ของ กลยุทธ์เป็นชุดทางเลือกในการตัดสินใจเป็นแนวความคิดของ Samuel (1983) และตรงกับ ศิริวรรณ เสรีรตั น์และคณะ (2541) และนกั วชิ าการสว่ นใหญ่จะเน้นความสาคัญกับเรื่องการใช้กลยุทธ์ เพ่อื การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ของปัญหาและสภาพแวดล้อมในขณะน้ันท่ีองค์การเผชิญอยู่โดย

20 ไม่ละเลยท่จี ะกาหนดตาแหน่งทางการแขง่ ขนั เพอื่ ปูองกันตลาดในการเข้ามาแย่งชิงกาไรอีกทั้งกล่าวถึง การวิเคราะหจ์ ุดอ่อนจุดแข็งโอกาสและอปุ สรรค ในเรื่องน้ี Porter (2002) และสมชาย ภคภาควิวัฒน์ (2545) จะกล่าวเน้นถึงแนวคิดเร่ือง ของการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ การให้มีการกระจายอานาจเพ่ือให้เกิดความคล่องตัวสูงในการ บริหารงานซ่ึงจากความหมายของคาว่า กลยุทธ์ สรุปว่า คือ การวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ด้วยกลวิธีการทางานท่ีมีการกาหนดขอบเขตงาน โดยการเปรียบเทียบกับองค์การอ่ืน เพื่อกาหนด ตาแหน่งแข่งขัน เพื่อเน้นความเป็นเลิศและศักยภาพ ส่งผลต่อลูกค้าพนักงานและชุมชน สามารถ ปรับตัวตามสถานการณ์แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและเมื่อนาก ลยุทธ์ไปรวมกับคาว่าการบริหาร การผลิตได้ความหมายโดยสรุปว่ากลยุทธ์การผลิตหมายถึงการวางแผนการบริหารการผลิต เพ่ือให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ด้วยกลวิธีการทางานที่มีการกาหนดขอบเขตงาน โดยเปรียบเทียบกับองค์การอื่น กาหนดตาแหน่งแขง่ ขัน เพอื่ เน้นความเปน็ เลิศ ส่งผลตอ่ ลูกค้าพนกั งานและชุมชน สามารถปรับตัวตาม ตามสถานการณ์ท่ีเปลีย่ นแปลงไป ดงั แสดงไวใ้ นตารางท่ี 1.5 ตารางท่ี 1.5 การให้ความหมายของคาวา่ กลยทุ ธ์ในหลากหลายแง่มุม ผู้นยิ าม การใหค้ วามหมาย Earl Andrew Samuel Campbell & Yeung Mintzberg Porter สุนี ประจวบเหมาะ ิศริวรรณ เสรีรัตน์ สมชาย ภคภาค ิววัฒน์ ปรียาวดี ผลเอนก ปี (ค.ศ.)/ปี (พ.ศ.) 1974 1980 1983 1991 1994 2002 2539 2541 2545 2557 1. การวางแผน   2. ความอยู่รอด มัน่ คง 3. การตดั สนิ ใจ  4. บรรลเุ ปูาหมาย 5. กาหนดขอบเขตงาน   6. ประโยชน์แกเ่ ศรษฐกจิ 7. ลูกคา้ พนักงาน ชุมชน    8. เน้นการจดั สรรทรัพยากร 9. เป็นเร่ืองระยะยาว  10. ชดุ ทางเลือก 11. ปฏบิ ัตไิ ด้    12. ปรบั สถานการณแ์ วดลอ้ ม 13. เปรียบกบั องค์การอ่ืน   กาหนดตาแหน่งแข่งขนั 14. เน้นศักยภาพผู้นา        

21 ตารางท่ี 1.5 การใหค้ วามหมายของคาว่ากลยทุ ธ์ในหลากหลายแง่มมุ (ตอ่ ) ผูน้ ยิ าม การใหค้ วามหมาย Earl Andrew Samuel Campbell & Yeung Mintzberg Porter สุนี ประจวบเหมาะ ิศริวรรณ เสรีรัตน์ สมชาย ภคภาค ิววัฒน์ ปรียาวดี ผลเอนก ปี (ค.ศ.)/ปี (พ.ศ.) 1974 1980 1983 1991 1994 2002 2539 2541 2545 2557 15. เปน็ งานท่ีตอ่ เนือ่ ง   16. มกี ารทบทวน  17. รูปแบบปฏิบตั งิ าน  18. บริหารความคาดหวงั 19. ผู้ปฏิบัติคาดหวัง   20. ภาพแนวคิดที่ยดึ รว่ มกัน 21. มีกลวธิ ีดาเนินงาน  22. คดิ ค้นนวัตกรรมใหม่ 23. กระจายอานาจ คล่องตัว  24. ปูองกันตลาดแยง่ กาไร 25. วเิ คราะห์จุดอ่อนจดุ แขง็   โอกาสและอปุ สรรค   ท่ีมา : ดดั แปลงจาก ปรียาวดี ผลเอนก (2557) และศริ ิวรรณ เสรรี ัตน์และคณะ (2541) จากการได้ศึกษาโดยภาพรวมขอสรุปแนวคิดของ Porter (2002) ซึ่งกล่าวไว้ว่ากลยุทธ์มุ่ง ความแตกต่างน้ันเน้นการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ (Differentiation) และมุ่งไปท่ีต้นทุนที่ต่าที่สุด (Low Cost Strategy) น้ันสามารถนามาปรับใช้กับการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน ซึ่งผู้เขียน ได้กลา่ วไวใ้ นเบอ้ื งต้นแลว้ วา่ กลยทุ ธ์ทไ่ี ด้ทบทวนมาจากนักวิชาการหลายท่านได้สรุปประเด็นตรงที่งาน บรหิ ารการผลิตควรมีแนวกรอบแนวความคิดที่เน้นให้มี “ต้นทุนต่าและทาแตกต่าง” ซึ่งสอดคล้องกับ แนวความคดิ ของ Porter (2002) นน่ั เอง โดยจะอธิบายเพ่มิ เตมิ ดังน้ี 1.3.1 กลยุทธ์มุ่งความแตกตา่ ง (Differentiation) กลยุทธ์มุ่งเน้นความแตกต่างเป็นกลยุทธ์ที่เน้นการพัฒนาปรับปรุงสินค้าหรือบริการ ไปสูส่ ่ิงใหม่อยา่ งไม่หยุดนิ่ง การใช้กลยุทธ์ลักษณะน้ีจะเหมาะสมกับสินค้าที่มีภาพลักษณ์ (Image) ท่ีดี ตาแหน่งทางผลิตภัณฑ์สูงหมายความว่าจัดวางอยู่ในตาแหน่งแข่งขันของลูกค้าระดับกลาง (Middle- Class) ถงึ ระดับบน (Upper-Class) ยกตัวอยา่ งเช่น สถานประกอบการที่ผลิตสินค้าชนิดตามคาส่ังซ้ือ (Custom Product) หรือเป็นงานส่ังทา (Made to Order) เช่น ลูกค้าส่ังทางานแกะสลักช้างไม้สัก เพ่ือเป็นของท่ีระลึกราคาสินค้าประเภทน้ีมักจะมีราคาค่อนข้างแพง เน้นการจัดจาหน่ายที่มีคุณภาพ เพราะต้องอาศัยความประณีต ละเอียดอ่อนในการประดิษฐ์ แต่มีความแตกต่างจากสินค้าท่ีผลิตแบบ

22 ปริมาณมาก (Standard Product) อย่างแน่นอนเนื่องจากมีลักษณะเฉพาะและสั่งทาข้ึนเป็นพิเศษ ลักษณะตัวอย่างนี้จึงเป็นกลยุทธ์ที่เน้นทางด้านความแตกต่างหรือเรียกอีกอย่างว่า Differentiation นน่ั เอง แตใ่ นบางธรุ กิจหรือสถานประกอบการบางแห่งอาจเนน้ การใช้กลยุทธท์ เี่ นน้ ตน้ ทุนต่ากเ็ ป็นได้ 1.3.2 กลยทุ ธ์มงุ่ เน้นการลดต้นทนุ (Low Cost Strategy) กลยุทธม์ ุ่งเน้นตน้ ทุนต่าเปน็ กลยุทธ์ท่ีมุ่งการลดต้นทุนในกระบวนการผลิตเพื่อสร้าง ความได้เปรียบทางการแข่งขนั ด้านต้นทนุ ท่ีต่ากว่า เกดิ การประหยัดจากขนาดการผลิต (Economy of Scale) ม่งุ เนน้ การเปน็ ผู้นาทางด้านต้นทนุ ทีต่ ่ากวา่ (Cost Leadership) คู่แข่งขันเหมาะสาหรับสินค้า ท่ีผลิตแบบมาก (Standard Product หรือ Mass Production) กลยุทธ์ประเภทนี้จะเน้นกลยุทธ์ ทางดา้ นราคาคือ ราคาสนิ คา้ ตอ่ หนว่ ยจะค่อนขา้ งถกู หลังจากได้ศึกษาเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางด้านการบริหารการผลิตและการดาเนินงานท่ี กล่าวมาแล้วน้ัน เพอื่ ง่ายสาหรับความเข้าใจจึงได้แสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างในตารางท่ี 1.6 ตารางท่ี 1.6 เปรยี บเทียบกลยุทธ์การบริหารการผลิตและการดาเนินงาน กลยทุ ธ์ Low Cost Strategy Differentiation ปัจจัย “ต้นทุนต่า” “ทาแตกต่าง” เป้าหมาย มงุ่ เนน้ การลดต้นทุน มงุ่ วจิ ัยและพฒั นา ปรับปรุงสินค้าและ ในกระบวนการผลิต บริการอย่างต่อเนื่องเพอื่ เป็นผู้นาด้าน นวัตกรรมหรอื การคิดผลติ สง่ิ ใหมโ่ ดยท่ี ยงั ไม่มผี ใู้ ดคดิ คน้ มากอ่ น ลักษณะของสนิ คา้ เป็นการผลิตแบบมาตรฐาน มีความแตกต่าง หมายถงึ มรี ูปลักษณ์ ปริมาณ มรี ูปลักษณ์เฉพาะตัว สัดส่วนเหมอื นกันในทุกการ มีภาพลกั ษณใ์ นตัวสินคา้ ดี ผลติ ไมว่ ่าจะผลิตในพ้นื ทใ่ี ด เปน็ ทีต่ อ้ งการของกลมุ่ ลกู ค้า ระดับกลางถึงระดบั บน ลกั ษณะระบบ Standard Products หรือ Custom Product หรอื การผลิต Mass Production Niche Production หรือ Made to Order ต้นทุนสนิ คา้ ต่อ ตา่ กว่า สงู กวา่ หนว่ ย ราคาสินค้า/บรกิ าร ราคาสินคา้ ต่อหนว่ ยตา่ กว่า ราคาสินค้าต่อหนว่ ยสงู กว่า ท่ีมา : ดัดแปลงจาก Stevenson (2002) และ Porter (2002) ในการบริหารการผลิตและบริการของสถานประกอบการหนึ่งแห่งอาจจะมีการใช้กลยุทธ์ แบบผสมผสานหมายความว่าในหนึ่งโรงงานอาจจะมีหลายผลิตภัณฑ์ มีหลายสายการผลิต (Product

23 Line) และอาจมสี นิ คา้ ท่ีมีลักษณะระบบการผลิตแบบ Standard Products และ Custom Product ดงั นนั้ นกั บรหิ ารการผลติ จะต้องรูจ้ กั ปรบั เปลีย่ นกลยทุ ธ์การผลิตใหม้ คี วามสอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด นอกจากน้ียังจะต้องการเฝูาสังเกตทิศทางของเศรษฐกิจ ฤดูกาลหรือแม้แต่เทศกาลต่าง ๆ ที่จะคิดผลิตสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในท้องถ่ินน้ันๆ ในบางครั้งอาจใช้กลวิธี รักษาระดบั ในสินค้าประเภททีผ่ ลิตตามมาตรฐาน แตใ่ ช้กลวธิ ีไล่ตามในสินค้าที่เกิดข้ึนตามเทศกาลและ ฤดูกาล เพื่อสร้างกาไรให้แก่สถานประกอบการหรือโรงงานให้ได้มากที่สุดภายใต้จริยธรรมและ ความรับผิดชอบต่อสังคม เม่ือนักบริหารการผลิตและผู้ปฏิบัติงานทราบแล้วว่าจะมีกลยุทธ์และกลวิธี มากมายและหลากหลายรูปแบบในการดาเนินการผลิตสินค้าและบริการ หัวข้อต่อไปจะเป็น การกล่าวถึงขอบเขต หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของการจัดการงานผลติ และการดาเนนิ งานมีดงั นี้ 1.4 ขอบเขต หน้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบของการบรหิ ารการผลิตและการดาเนินงาน จากความสาคัญของการผลิตซ่ึงได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น ว่าการให้ความสาคัญของการบริหาร การผลิตและการดาเนินงานคือการคานึงถึงสภาพแวดล้อมธุรกิจ (Environment) คิดว่าจะต้องรู้เร่ือง ระบบการผลิต (Production System) เม่ือผลิตต้องเต็มกาลังและวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไว้ (Production Planning and Product Development) ใส่ใจกระบวนการ (Production Process) ผสมผสานงานด้านคุณภาพเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ จะอยู่ได้ตราบนานเท่านานถ้าหากมี การ บารุงรักษา (Maintenance and Safety) อย่ารอช้าเร่งจัดซื้อ (Material Requirement Planning) ปรึกษาหารือฝุายสารสนเทศ (Management Information System ) จัดประเภทของธุรกิจให้เป็น ธุรกิจโปร่งใส ใส่ใจจริยธรรม (Ethic and Social Responsibility) ท้ังหมดน้ีเป็นหน้าท่ีของ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานทกุ คนควรประสานงานใหบ้ รรลุประสิทธผิ ล ดังแผนภาพที่ 1.3 ดงั น้ี ฝา่ ยตลาด ฝา่ ยจัดซอ้ื ฝา่ ยวิจยั ฝ่ายบรหิ าร และพัฒนา ทรพั ยากรมนุษย์ ฝ่ายการเงนิ และ ฝ่ายผลิต บญั ชี ฝา่ ยควบคุม ฝ่ายคลังสินค้า คุณภาพการผลิต แผนภาพท่ี 1.3 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างฝาุ ยผลติ กบั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ท่ีมา : ดดั แปลงจาก ปรยี าวดี ผลเอนก (2557)

24 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างฝาุ ยผลิตกับหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งในแตล่ ะแผนกมีหน้าท่ีดงั นี้ 1. ฝา่ ยตลาด (Marketing Department) มหี นา้ ทใี่ นการติดตอ่ ลกู คา้ เพอื่ ขายสินค้า ดังน้ันฝุายการตลาดจะส่งคาสั่งซ้ือ (Order) ของลูกค้าไปยังฝุายผลิตโดยในคาส่ังซื้อจะต้องมีท้ัง ลักษณะของสินค้าหรือบริการมีขนาด จานวน ปริมาณ ท่ีลูกค้าต้องการรวมไปถึง ระยะเวลาการส่ง มอบ สถานท่จี ดั จาหน่าย ดงั ภาพท่ี 1.4 ภาพท่ี 1.4 ระบบใบสั่งซอ้ื สนิ ค้า ที่มา : เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.prosoftwinspeed.com [2559, กุมภาพันธ์ 14]

25 หรืออาจเป็นคาสงั่ ซอ้ื ทางเว็บไซด์หรือเป็นธรุ กรรมผ่านทางระบบพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ หรือเรียกว่า E-commerceกไ็ ด้โดยแสดงไวใ้ นภาพที่ 1.5 ภาพท่ี 1.5 การสงั่ ซอื้ สินค้าผ่านระบบพาณชิ ย์อเิ ลคทรอนิกส์ ท่ีมา : เขา้ ถึงได้จาก http://www.teeneemarket.com [2552, มกราคม 31] นอกจากนี้ในบางสถานประกอบการฝุายการตลาดจะมีหน้าท่ีในการตลาดจัดทาพยากรณ์ ยอดขาย (Sale Forecast) ใหก้ ับฝาุ ยผลติ และหนว่ ยงานอนื่ ท่เี กีย่ วขอ้ งดว้ ย 2. ฝา่ ยบัญชีและการเงิน (Accounting and Financial Department) ฝุายการเงินมี หน้าท่ีสนับสนุนฝุายการผลิตในด้านต่างๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดหาเครื่องจักรอุปกรณ์โรงงาน ตามความต้องการของฝุายโรงงานในสถานประกอบการ การซ่อมเคร่ืองจักรโรงงาน ค่าแรงงาน มี หน้าท่ีจัดหาจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สานักงานให้กับแผนกอื่นที่เก่ียวข้องด้วย ส่วนฝุายบัญชีมีหน้าที่เก็บ บันทึกรายการต้นทุนต่างๆ ที่เกิดขึ้นในฝุายผลิต เช่น ค่าโสหุ้ยการผลิต ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าแรงงานล่วงเวลา ค่าความสูญเสียท่ีเกิดจากการทางาน เป็นต้น ข้อมูลเหล่าน้ีจะนามาเป็นข้อมูล ประกอบในการตัดสินในการบริหารการผลิต 3. ฝ่ายจัดซ้ือ (Purchasing Department) ฝุายจัดซ้ือทาหน้าท่ีในการสรรหา จัดซื้อ ปจั จยั การผลติ ทใ่ี ชใ้ นการผลิต เช่น วัตถุดิบ เครื่องจักร เครื่องมือ อะไหล่ วัสดุสานักงาน เป็นต้น เพื่อ ทาให้การผลิตเป็นไปอย่างเป็นระบบและเกิดประสิทธิภาพในการทางาน โดยคานึงถึงความถูกต้องใน ด้านคุณภาพและความเที่ยงตรงในเรอ่ื งของเวลา (Right Quality Right Time)

26 4. ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Research & Development Department) ในนี้ จะทาหน้าท่ีคิดค้น ปรับปรุง พัฒนารูปแบบสินค้าหรือบริการ โดยจะคิดค้นสูตรการผลิต ตลอดจน ขั้นตอนกระบวนการแปรสภาพให้กับฝุายผลิต เพ่ือให้ผลิตสินค้าตรงกับลักษณะที่ลูกค้าต้องการ ใน ปัจจุบันฝุายน้ีเป็นฝุายที่สาคัญค่อนข้างมากในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันโดยเฉพาะ องค์การทใ่ี ชก้ ลยุทธ์ความแตกตา่ ง 5. ฝ่ายควบคุมคุณภาพการผลิต (Quality Control Department) ฝุายน้ีจะทาหน้าท่ี ในการควบคมุ การผลิตตงั้ แตก่ ระบวนการสรรหาปัจจัยการผลิต ตลอดจนกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน เพ่ือใหไ้ ด้สินค้าและบรกิ ารมีคณุ ภาพ ลกั ษณะใกล้เคยี งตรงกบั ความต้องการของลกู ค้ามากที่สดุ 6. ฝา่ ยบริหารทรพั ยากรมนุษย์ (Human Resource Department) ฝุายนีจ้ ะทาหนา้ ท่ี ในการสนับสนนุ ด้านทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นการผลิต ต้งั แต่กระบวนการสรรหา คัดเลอื ก พัฒนาฝกึ อบรม รวมไปถงึ ค่าตอบแทน สวสั ดกิ าร และการสรา้ งขวญั กาลงั ใจในการทางานใหก้ บั บุคลากรฝุายผลิต 7. ฝ่ายคลงั สินค้า (Warehouse Department) ทาหน้าที่ในการจัดเก็บรักษาสินค้า เช่น วัตถุดิบ วัสดุสานักงาน สินค้าระหว่างการผลิต สินค้าสาเร็จรูป เป็นต้น ให้กับฝุายผลิต โดยรักษา สภาพเดิมของสินค้าคงคลังให้ได้มากท่ีสุดในจานวนท่ีฝุายผลิตต้องการและทันเวลากับสินค้า ทั้งนี้ จะต้องคานงึ ถงึ ตน้ ทุนและหลกั เข้ากอ่ นออกก่อน (First In First Out) ในการเบิกจ่ายสินค้าโดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ สินค้าที่มอี ายกุ ารใช้งาน บทสรปุ ในยุคของการเปล่ียนแปลงแข่งขันน้ัน นักบริหารการผลิตและการดาเนินงานตลอดจนผู้ที่มี ส่วนเก่ียวข้องในสถานประกอบการต้องหาโอกาสและทางเลือกให้ธุรกิจอยู่รอดได้อย่างยั่งยืนในระยะ ยาวได้ ดงั นนั้ ในอนาคตนกั บริหารการผลติ ต้องเพ่ิมศกั ยภาพด้วยการปรับปรุงวัตถุดิบกระบวนการผลิต ตลอดจนคณุ ภาพการผลติ ก่อนทจี่ ะไดม้ าซ่ึงสินค้าและบริการ ภายใต้คาว่า“ต้นทุนต่าและทาแตกต่าง” เพื่อให้มีชัยชนะเหนือคู่แข่งขันในอุตสาหกรรมเดียวกันให้ได้ด้วยการใช้กลยุทธ์หลากหลายต้อง ตระหนักถึงความสาคัญของการบริหารการผลิตเพื่อรักษาคุณภาพต้ังแต่การปูอนวัตถุดิบกระบวน การผลิตท่ีผ่านกรรมวิธีท่ีได้มาตรฐานและได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นไปตามความต้องการของลูกค้า ภายใต้การประสานงานกับหน่วยงานทุกแผนกที่เกี่ยวข้องอย่างมีจริยธรรมและมีความรับผิดชอบต่อ สงั คม

27 คาถามและกจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 1. อธบิ ายลักษณะของระบบการผลิตพรอ้ มวาดแผนภาพประกอบคาอธิบาย 2. อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปัจจัยการผลิตกระบวนการผลติ ผลผลิตและสิ่งแวดล้อมธุรกิจ ตารางท่ี 1.7 ตารางเติมคาอธิบายระบบการผลติ องคก์ ารธุรกจิ ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต การควบคุม ส่ิงแวดล้อธุรกจิ (Output) (Control) (Environmen (Organization) (Input) (Process) ใบส่งั ยา t) โรงพยาบาล ยา การดแู ลรกั ษา การหายปวุ ย กฎกระทรวง โทรศัพท์มอื ถือ คนไข้ การทดสอบ การไดร้ ับ สาธารณสขุ สมาคมแพทย์ เครอื่ งมือแพทย์ การเอกซเรย์ การปลูกถ่าย สภา เตยี ง การตรวจเลือด อวยั วะ องคก์ ารอาหาร อุปกรณ์ผา่ ตัด และยา โรงงานแปรรปู ไม้ ยางพาราเปน็ เก้าอ้ี โรงงานผลติ ปลาแมกคาเรล ในซอสมะเขอื เทศ กงุ้ ทะเลแชแ่ ข็ง

28 3. องคก์ ารธรุ กิจต่อไปน้ใี ช้กลยุทธก์ ารบรหิ ารการผลิตอย่างไร อธบิ าย 3.1 บริษทั ปลอดภยั จากดั ผลิตและจดั จาหน่ายโทรศัพทม์ ือถือใหค้ วามสาคญั กับการปรบั ปรงุ พัฒนาสนิ ค้าอย่างต่อเนอื่ งโดยเนน้ การมีสนิ ค้าทมี่ คี ุณภาพทเี่ หนือกวา่ และแตกตา่ งกบั คู่แข่งขัน 3.2 บรษิ ทั ผลิตปลากระป฻องสามซา่ เนน้ การลดค่าใชจ้ ่าย ตั้งแตค่ ดั เลือกวัตถดุ ิบท่ีมรี าคาถกู ประหยดั การใช้นา้ ใชก้ ระดาษ 4. ใหว้ เิ คราะหส์ ินค้าต่อไปนี้ควรใช้ระบบการผลติ แบบมาตรฐาน (Standard Product) หรือการผลิต ตามคาสง่ั ซื้อ (Custom Product) พรอ้ มให้เหตุผลประกอบคาอธิบาย 4.1 บะหมีก่ ึ่งสาเรจ็ รปู 4.2 บรกิ ารซักรดี 4.3 ปลากระป฻อง 4.4 โรงพยาบาล 5. บอกความสาคญั ของการบริหารการผลิตท้งั สิบประการ พรอ้ มคาอธิบาย 6. ให้อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างฝุายการผลิตกบั หน่วยงานอื่นๆในองค์การโดยยกตัวอย่างสถาน ประกอบการมาหน่ึงแห่งแล้วอธบิ ายว่าสถานประกอบการแหง่ นั้นมีแผนกงานใดบา้ ง 6.1บอกช่อื สถานประกอบการ 6.2 ระบชุ ื่อแผนกตา่ ง ๆ และวาดแผนภาพตามแผนกคน้ พบในข้อมูลจากแหล่งสืบค้น ฝา่ ยผลติ แผนภาพท่ี 1.5 เตมิ คาความสัมพันธ์ระหว่างฝุายผลิตกบั หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง ทม่ี า : ดดั แปลงจาก ปรียาวดี ผลเอนก (2557)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook