Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารการผลิตและการดำเนินงาน

การบริหารการผลิตและการดำเนินงาน

Published by yuipothong, 2019-04-22 08:54:07

Description: พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2560
พิมพ์ครั้งที่ 2 มิถุนายน 2561

Keywords: Production and Operation Management

Search

Read the Text Version

278 3. ความสามารถกลุ่มและการทางานเป็นทีมสืบค้นสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิตอย่าง นอ้ ยหนึ่งแห่ง 4. ความสามารถในการจดั ทารายงานฉบับสมบรู ณ์แล้วเสรจ็ ในเวลาที่กาหนด

279 บทที่ 11 กรณีศกึ ษาการบริหารการผลติ และการดาเนินงาน (Case Study of Production and Operation Management) หลังจากที่ได้ศึกษาระบบการผลิตครบถ้วนทุกกระบวนการแล้วต้ังแต่บทที่ 1 บทนา การบริหารการผลิตและการดาเนินงานซึ่งผู้ศึกษาได้ศึกษาต้ังแต่ความหมายของการบริหารงานผลิต และการดาเนินงาน ลักษณะและความสาคัญของการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน แนวคิดและ วิธีการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์การผลิตและการดาเนินงาน ขอบเขต หน้าท่ีและความรับผิดชอบของ การบริหารการผลิตและดาเนินงาน ในส่วนของบทท่ี 2 เรื่อง การเลือกทาเลท่ีตั้งของสถาน ประกอบการ ประกอบดว้ ยหัวขอ้ เรอื่ งปจั จัยท่มี ีผลต่อการเลอื กทาเลท่ีตั้งการตัดสินใจในการเลือกทาเล ท่ีต้ังตลอดจนการประยุกต์ใช้ การวางแผนเลือกทาเลที่ต้ังของสถานประกอบการ ในบทท่ี 3 เรื่อง การวางผังของสถานประกอบการ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ รูปแบบ หลักเกณฑ์และ ข้ันตอนในการวางผังของสถานประกอบการ ในบทที่ 4 การพยากรณ์เพื่อการผลิต โดยมีหัวข้อ การศึกษาต้ังแต่เรื่องของความหมาย ความสาคัญ ประเภทและเทคนิคของการพยากรณ์เพ่ือการผลิต ในบทที่ 5 เรื่อง การวางแผนกาลังการผลิต ได้ทราบความหมายของกาลังการผลิต ประเภทของกาลัง การผลติ การวัดกาลังการผลติ ประเภทของแผนการผลิต กลยุทธ์ปรับการผลิต อีกท้ังรูปแบบจาลองที่ ใช้ประกอบการตัดสินใจวางแผนกาลังการผลิต ในบทท่ี 6 ได้ศึกษาเร่ืองการวางแผนและพัฒนา ผลิตภณั ฑ์ ประกอบดว้ ยเรอื่ งของความสาคัญของการวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ความสัมพันธ์ของ วงจรชวี ติ ผลติ ภัณฑก์ บั การผลิต กระบวนการออกแบบและวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปัจจัยที่ใช้ในการ พจิ ารณาออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของสถานประกอบการ สาหรับ ในบทท่ี 7 การบริหารสินค้าคงคลัง โดยเริ่มศึกษาต้ังแต่ความหมายและความสาคัญของการจัดการ สินค้าคงคลัง วัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง ประโยชน์ของการจัดการสินค้าคงคลัง ระบบ การบริหารสินค้าคงคลัง และเรื่องต้นทุนในการบริหารสินค้าคงคลัง ในบทท่ี 8 เรื่องการจัดการ โลจิสติกส์ ประกอบด้วย ความหมายของการจัดการด้านโลจิสติกส์ ความเป็นมาของโลจิสติกส์ ประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์ กิจกรรมหลักและต้นทุนด้านโลจิสติกส์รวมท้ังได้ศึกษาบทบาท ของโลจิสติกส์ต่อระบบเศรษฐกิจ ในบทท่ี 9 เป็นเร่ืองของการควบคุมคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อ เรื่อง ความหมายและความสาคัญของการควบคุมคุณภาพ การจัดทาระบบคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ใน การควบคุมคุณภาพ และระบบบริหารคุณภาพในการผลิต บทที่ 10 การบารุงรักษาและความ ปลอดภยั ในสถานประกอบการ ซ่ึงประกอบด้วยเร่ืองของหน้าที่ของงานบารุงรักษาและความปลอดภัย งานดา้ นโครงสรา้ งของการบารุงรกั ษาและความปลอดภัย ปัจจัยท่ีส่งผลให้เกิดความปลอดภัยในสถาน ประกอบการ ประโยชน์ที่ได้จากการบารุงรักษาและความปลอดภัย และการพัฒนางานบารุงรักษา ความปลอดภยั สาหรบั บทสดุ ทา้ ยจะนาเอาทกุ หวั เรื่องที่กลา่ วมาข้างต้นมาประยุกต์ใช้ในทุกระบบสาหรับงาน จะเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางการศึกษาไปไม่ได้หากปราศจากการศึกษาอาจจะเป็นกรณีศึกษาสมมติหรือ จากสถานประกอบการจริงก็ได้ การเรียนแบบใช้กรณีศึกษาจะเป็นบทเรียนทางธุรกิจท่ีมีความสาคัญ

280 กับนักบริหารการผลิตและการดาเนินงาน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาอย่างแท้จริง ผู้เขียนขอขอบพระคุณ สาหรับกรณีศึกษาท่ีได้อนุญาตให้ผู้เรียนรุ่นต่อรุ่นได้เข้าเยี่ยมชมทั้งนี้ก็เพ่ือประโยชน์สาหรับการศึกษา เท่านั้น ขอขอบพระคุณคณะทางานและผู้บริหารสถานประกอบการทุกท่านที่ได้กรุณาสละเวลาอันมี ค่าในการประกอบธุรกิจให้คาช้ีแนะและอนุญาตให้นากรณีศึกษามาเผยแพร่เพ่ือเป็นประโยชน์ในทาง วิชาการและถือเป็นความอนุเคราะห์องค์ความรู้ให้แก่ผู้เรียนทุกคนซึ่งผู้เขียนขอเรียกแหล่งสืบค้นน้ีว่า แหล่งสืบค้นปฐมภูมิ แม้แต่กรณีศึกษาที่สืบค้นจากแหล่งทุติยภูมิ เช่น จากเว็บไซด์หรือสื่ อ อิเลคทรอนิกส์อื่น ผู้เขียนตระหนักดีว่าเป็นการยากท่ีจะนาข้อมูลของสถานประกอบการแต่ละแห่งมา เปิดเผยเพราะหมายถึงข้อมูลสาคัญของธุรกิจ ท่ีสาคัญที่สุดขออนุญาตชี้แจงว่าทุกกรณีศึกษาที่นามา บรรจุไว้ในเอกสารประกอบการสอนฉบับน้ีเป็นไปเพ่ือประโยชน์ทางการศึกษาและใช้เพื่อประกอบ การศึกษาเท่านั้นและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกข้อมูลจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้เรี ยนและผู้สนใจตาม สมควร จงึ ได้มเี กิดหัวข้อประจาบทนี้ โดยมีแนวทางการศึกษาสาหรับการศึกษาแบบใช้กรณีศึกษาเพ่ือ ใชเ้ พ่ือเปน็ เคร่ืองมอื ในการสร้าง ความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับหัวขอ้ หรือประเดน็ ทก่ี าลังอยู่ในความสนใจ ขณะที่ผู้เรียนและสมาชิกกลุ่มจะได้ใช้กรณีศึกษาเพ่ือท่ีจะทาการตรวจสอบ ประเมิน วิเคราะห์และ แลกเปล่ียนเรียนรู้กันภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มผลที่ตามมาคือความสามารถในการทางานเป็นทีม เกิดความรักและสามัคคีกันเป็นแนวทางในการสร้างความสามารถในปฏิบัติงานจริงได้ในอนาคต ผเู้ ขยี นขอแนะนาวธิ ีวเิ คราะหก์ รณศี ึกษาสาหรับการบริหารการผลติ และการดาเนนิ งาน ดังน้ี 11.1 คาแนะนาสาหรบั วธิ ีการวิเคราะห์กรณศี ึกษา ให้ผู้เรียนศึกษาภาพรวมโดยท่ัวไปของสถานประกอบการแบ่งการสืบค้นเป็นสองแนวทางคือ สบื คน้ จากแหลง่ ปฐมภูมหิ รือทตุ ยิ ภมู ิและแนะนาขน้ั ตอนการทางานดงั นี้ 11.1.1 การสบื คน้ ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ คือ การสืบค้นข้อมูลโดยการลงพ้ืนท่ีเก็บข้อมูลกับ สถานประกอบการจริงในพน้ื ท่ีใกล้เคยี งหรือในท้องถน่ิ ด้วยแนวทางดงั ตอ่ ไปนี้ 1) แจ้งข้อมลู ของสถานประกอบการที่นกั ศกึ ษาให้ความสนใจว่าเปน็ ประเภทธรุ กิจ ผลติ หรือบรกิ ารทีจ่ ัดอยู่ในประเภทใด 2) ทาหนงั สอื ขออนุญาตจากมหาวิทยาลัยหรอื คณะหรอื หลักสตู รที่สงั กัด 3) เสนอหนงั สือขออนุญาตเข้าเยย่ี มชมโรงงานแจ้งไปยังสถานประกอบการ 4) ได้รับหนังสือตอบรับการเข้าเย่ียมชมฝุายโรงงานของสถานประกอบการและ ศึกษารายละเอยี ดในขอ้ ตกลงตลอดจนเงื่อนไปและกฎระเบยี บในการเข้าเยยี่ มชมโรงงานโดยเครง่ ครัด 5) ลงพนื้ ทเ่ี ข้าเยยี่ มชมฝุายโรงงานของสถานประกอบการอย่างระมดั ระวงั และตรง ต่อเวลา 6) หลังจากได้ข้อมูลที่เพยี งพอต่อความตอ้ งการแลว้ ใหส้ มาชิกกลุ่มประชุมระดม สมองเพ่ือทบทวนข้อมูลพ้ืนฐานในกรณศี ึกษาของสถานประกอบการ 7) วิเคราะห์กรณีศึกษาของสถานประกอบการแห่งน้ันว่ามีความสอดคล้องหรือ แตกต่างไปจากทฤษฎีที่ได้ศึกษามากน้อยเพียงใด หลังจากน้ันให้นักศึกษาให้ข้อเสนอแนะทางเลือก ของกลยุทธ์ในการบรหิ ารการผลติ และบริการรวมทง้ั ขอ้ เสนอแนะ

281 8) หากมีโอกาสติดต่อประสานงานเพื่อส่งข้อมูลย้อนกลับให้แก่สถานประกอบการ แห่งนั้นจะเป็นการจัดส่งด้วยตนเองหรือจัดส่งทางไปรษณีย์ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับข้อตกลงและความสะดวก ของทงั้ สองฝุายไดแ้ กฝ่ าุ ยสถานประกอบการและนักศึกษา 11.1.2 การสืบคน้ ข้อมลู จากแหล่งข้อมูลทตุ ิยภมู ิ ไดแ้ ก่ สบื คน้ จากห้องสมุด หรือเวบ็ ไซด์ หรอื สือ่ อิเลคทรอนิกสป์ ระเภทอนื่ ๆ เป็นตน้ 11.2.3 นาเสนอเปน็ รูปเล่มรายงานฉบับสมบรู ณ์ 11.2.4 นาเสนออภปิ รายและให้ข้อเสนอแนะหนา้ ชนั้ เรยี น อาจด้วยรูปแบบ Power point หรอื วดี ิทศั น์ หรือส่ือประสมอ่ืน ๆ 11.2.5 ขอ้ ตกลงสาหรบั รายละเอียดของการศึกษานักศึกษาสามารถเพ่มิ เติมหวั ขอ้ ย่อยได้ ตามต้องการสว่ นข้อมลู ที่ไดน้ ามาเสนอนเี้ ป็นเพียงข้อมลู พนื้ ฐานท่คี วรมเี ท่าน้ัน เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาได้รายละเอียดการสืบคน้ มีมาตรฐานเดยี วกันในการศึกษาจึงได้นาเสนอ โครงสรา้ งของข้อคาถามและประเดน็ ที่จะเขยี นรายงานและนาเสนอเปน็ รายงานฉบับสมบรู ณ์ โดยมแี นวทางการเขยี นรายงานแบ่งออกเป็น 4 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู พนื้ ฐานและกระบวนการผลิตของสถานประกอบการ 1.1 ข้อมูลพน้ื ฐานของ............ (ระบุชอื่ สถานประกอบการ) ในการทารายงานฉบับสมบูรณ์ผ้เู รียนไม่จาเปน็ ต้องใส่ตารางลงไปในเลม่ รายงานเพยี งแต่ตอบหัวข้อที่ มอบหมายให้ครบถว้ นตามลาดบั ดังแสดงไวใ้ นตารางที่ 11.1 ตารางที่ 11.1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสถานประกอบการ หวั ข้อ รายละเอยี ด ท่ีอยู่ ต้งั อย่ทู ี่ใด อาจจะมแี ผนที่ประกอบ ประเภทธรุ กจิ ธรุ กิจจัดอยใู่ นอตุ สาหกรรมประเภทใด ตราสนิ คา้ ทใ่ี ช้ หากสถานประกอบการมผี ลิตภณั ฑห์ ลากหลายใหเ้ ลอื กมาเพยี ง หนงึ่ ชนิด กระบวนการผลิต มขี ้นั ตอนการผลิตอย่างไร ควรบอกเป็นลาดับข้ันตอนและควร แสดงแผนผังเพ่ือประกอบคาอธิบาย วัตถุดบิ และแหลง่ วตั ถดุ บิ มีองคป์ ระกอบอะไรบ้าง แหล่งวตั ถุดบิ มาจากแหลง่ ใด ใครเปน็ ผปู้ อู นปจั จยั การผลิต ภาพรวมของสถานการณใ์ น ปรมิ าณและโอกาสการขยายตวั ทางการตลาด เป็นต้น ปจั จบุ นั และแนวโนม้ ทางการตลาด ลกั ษณะการออกแบบ อาจจะมีภาพประกอบจะชว่ ยให้เกิดความเขา้ ใจท่งี า่ ยขนึ้ ผลิตภัณฑ์ การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ วิเคราะห์วงจรชีวิตผลติ ภัณฑแ์ ละนาเสนอการออกแบบ

282 ตารางที่ 11.1 ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานประกอบการ (ต่อ) หัวข้อ รายละเอยี ด ระบบการจาหน่าย ราคาขายต่อหนว่ ย ตน้ ทนุ ต่อหนว่ ย หรอื ข้อมูลจดุ คมุ้ ทุน เปน็ ต้น หมายเหตุ : หากเปน็ สินค้าในธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มโดย สว่ นใหญ่มักมขี ้อมลู จากดั หรือองค์การธุรกิจนั้น ๆ มิได้มี การจดั ทาไว้ นักศกึ ษาสามารถค้นหาข้อมลู จากการสอบถาม สมั ภาษณแ์ ละนามาคานวณเองได้ การเลือกทาเลทตี่ ั้ง การเลือกทาเลที่ตั้งใชห้ ลกั การใดมีความเหมาะสมหรอื ไมอ่ ย่างไร การวางผงั โรงงาน สถานประกอบการมรี ะบบการวางผงั โรงงานแบบใดมีข้อดีข้อเสีย อย่างไร กาลังการผลิต เชน่ เครอื่ งจักรหลักบอกถงึ กาลังการผลิตและอายกุ ารใช้งาน การพยากรณ์การผลติ สถานประกอบการมีการพยากรณ์การผลติ ไวว้ า่ อยา่ งไร การบริหารสนิ ค้าคงคลงั สถานประกอบการมวี ิธกี ารบริหารสนิ ค้าคงคลังอยา่ งไร การจดั การโลจสิ ตกิ ส์ สถานประกอบการสามารถลดต้นทุน สรา้ งความรวดเรว็ และ มีการจดั การสารสนเทศอย่างไร การควบคุมคณุ ภาพ สถานประกอบการมรี ะบบการจัดการคณุ ภาพอย่างไรบา้ ง หรอื ควรพฒั นาให้มีระบบคุณภาพดา้ นใดบ้าง หรือได้รบั รางวลั คุณภาพ ประเภทใดที่สรา้ งชื่อเสยี งแก่สถานประกอบการและสรา้ งความ เช่ือมั่นและการยอมรบั จากลูกค้า การบารุงรกั ษาเคร่ืองจกั ร สถานประกอบการใชโ้ ครงสร้างของงานบารงุ รักษาประเภทใดและมี และความปลอดภัย ระบบรกั ษาความปลอดภยั อย่างไรบ้าง ทม่ี า : ดัดแปลงจาก http://www.oae.go.th [2559, มกราคม 2] 1.2 แผนภาพกระบวนการผลติ ใหผ้ ูเ้ รียนวาดแผนภาพกระบวนการผลติ ลงในรายงานฉบับสมบรู ณ์ โดยมแี นวทางใน การเขียน ดงั แผนภาพที่ 11.1 การป้อนปัจจัย กระบวนการผลติ สนิ คา้ การผลติ การควบคมุ คณุ ภาพ แผนภาพที่ 11.1 ตวั อยา่ งแผนผงั กระบวนการผลติ ทมี่ า : ดดั แปลงจาก http://www.oae.go.th [2559, มกราคม 2]

283 ตอนท่ี 2 สภาพปญั หาของการบริหารการผลิตและการดาเนนิ งาน ข้อมูลท่ผี ้เู รยี นจะสามารถใชเ้ ป็นแนวทางประกอบสามารถสืบค้นให้เน้ือหาให้มีความสมบูรณ์ มากกว่านี้และสามารถแบ่งแยกประเด็นออกเป็นหัวข้อย่อยได้อีกมาก ส่วนท่ีนามาเป็นตัวอย่างนี้เป็น เพียงส่วนหนง่ึ ซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู ทจ่ี ะนาเสนอพอสงั เขป ดงั น้ี สภาพปัญหาของการบริหารการผลติ และการดาเนนิ งานสาหรบั วเิ คราะห์กรณศี ึกษานี้ เช่น 2.1 มีปัญหาเกี่ยวกับการลดต้นทุนทรัพยากรหรือพลังงาน เช่น มีความสูญเสียจากการใช้ทรัพยากร หรอื การใชพ้ ลังงานไม่เตม็ ทอี่ ย่างไร พนกั งานขาดทักษะหรอื ขาดความรู้ เปน็ ตน้ 2.2 ยังไม่มีการยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑห์ รอื ระบบมาตรฐานสูส่ ากล 2.3 มีคา่ ใช้จา่ ยเครื่องจักรสูง เชน่ ค่าซอ่ มบารุงเคร่ืองจักรค่อนข้างสูงหรือมีการหยุด เพ่ือ ซอ่ มแซมบ่อยคร้ัง ทาใหเ้ กดิ ความสญู เปลา่ ดา้ นเวลาของเคร่ืองจกั รรวมทั้งข้อมูลเก่ียวกับการไม่มีระบบ การควบคมุ บารงุ รักษาเชงิ ปูองกัน 2.4 การด้อยประสิทธภิ าพการผลิต เช่น ใช้ประสิทธภิ าพเครื่องจักรท่มี ีอยู่ไม่เต็มกาลัง การผลิต การใช้ประสิทธิภาพด้านทรัพยากรแรงงานไม่เต็มศักยภาพ การเกิดความสูญเสียจากระบบ จัดเกบ็ วตั ถุดบิ 2.5 มีปัญหาด้านการบรหิ ารจัดการวตั ถดุ ิบและการจัดการโลจสิ ติกส์ เช่น ราคาน้ามันสูงสง่ ผลให้ ต้นทุน การขนส่งสงู ขึ้นเรือ่ ยๆ 2.6 ไมม่ กี ารรับรองมาตรฐานด้านบรรจภุ ณั ฑ์ สาหรับสภาพปัญหาของการบรหิ ารการผลติ และการดาเนินงานให้นามาเขียนไว้ในตารางท่ี 11.2 หมายเหตุ : ผเู้ รียนสามารถใช้แผนภาพแสดงการอธบิ ายขัน้ ตอนของกระบวนการผลติ ควรมี ภาพประกอบเพอ่ื แสดงขน้ั ตอนของการผลติ จรงิ หากมรี ายละเอยี ดของปัญหาควรมีการเสนอแนะ แนวทางควบคู่กัน ตารางที่ 11.2 ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ ความสาคัญลาดบั ที่ ปัญหาการผลิตและการดาเนนิ งาน ข้อเสนอแนะ 1. ด้าน……….. 2. ด้าน……….. 3. ดา้ น……….. ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.oae.go.th [2559, มกราคม 2]

284 ตอนท่ี 3 แนวทางการพัฒนาสถานประกอบการในดา้ นการบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตนั้นควรมีข้อค้นพบแนวทางการพัฒนาอย่างน้อย 3-5 ประการ เช่น ข้อค้นพบและการแก้ปัญหาด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากคนเป็นหนึ่งใน ปัจจัยท่ีก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงานด้านการบริหารการผลิตและ การดาเนนิ งาน มีกระบวนการบริหารจัดการภายในด้านอ่ืน ๆ ท่ีสามารถท่ีจะลดการสูญเสียต่าง ๆ ได้ เปน็ อยา่ งดี และมคี วามชัดเจนในการทางาน ทาใหก้ ารทางานเป็นไปอย่างมีคุณภาพและเป็นมาตรฐาน ข้อค้นพบและการแก้ปัญหาด้านเทคโนโลยีในการทางานจาเป็นต้องมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับ อตุ สาหกรรมประเภทใด เพ่ือทาใหเ้ กิดผลผลิตท่ถี กู ตอ้ งตามความต้องการและความพึงพอใจจากลูกค้า และท่ีสาคญั ทีส่ ุดด้านการยกระดับมาตรฐานผลติ ภัณฑ์หรือระบบมาตรฐานสากล ตอนที่ 4 ขอ้ เสนอแนะและปัจจัยแห่งความสาเรจ็ ในการบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน มีแนวทางอ่ืนใดที่จะเป็นประโยชน์กับสถานประกอบการบ้าง ในส่วนของเนื้อหานี้ผู้เรียน สามารถใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ไปยังสถานประกอบการเพอ่ื พัฒนาทเี่ กิดประโยชนอ์ ย่างแท้จริงต่อไปให้ตอบ เป็นรายข้อ และควรนาขอ้ เสนอแนะมาพัฒนาตอ่ ให้สามารถเปน็ จรงิ ได้ในทางปฏบิ ัติ 11.2 ตัวอย่างกรณีศึกษา สาหรบั กรณศี กึ ษาทจ่ี ะนาเสนอเปน็ ตัวอย่างนมี้ ิใช่กรณีศึกษาท่ีดีท่ีสุดและมิได้มีรายละเอียดที่ ดีที่สุด หากเป็นเพียงแผนที่นาทางให้ผู้เรียน ได้มองเห็นหนทางปฏิบัติเพ่ือให้หัวข้อรายงานเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันเท่านั้น อีกท้ังยังมีความคาดหวังว่าผู้เรียนจะใช้เป็นเพียงแนวปฏิบัติเบ้ืองต้นเท่านั้น การบรรจุรายละเอียดในรายงานขอให้ผู้เรียนมีความมุ่งม่ันและต้ังใจในการทางานให้เต็มกาลัง ความสามารถและใช้ศักยภาพให้เต็มท่ี และต่อจากน้ีไปจะเป็นตัวอย่างกรณีศึกษาที่นามาให้มีจานวน สองกรณีศึกษา กรณีศึกษาที่ 1 สถานประกอบการประเภทอุปโภคโดยเลือกกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตไบโอ ดเี ซล กรณศี กึ ษาที่ 2 สถานประกอบการประเภทบรโิ ภคโดยเลอื กกลมุ่ อตุ สาหกรรมผลติ ไอศครีม ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

285 กรณีศกึ ษาที่ 1 บริษทั NBC จากดั ตอนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานและกระบวนการผลิตของสถานประกอบการ 1.1 ขอ้ มูลพืน้ ฐานของสถานประกอบการ ตารางที่ 11.3 ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษา : บรษิ ทั NBC จากัด หัวข้อ รายละเอยี ด ที่อยู่ อาเภอท่าฉาง จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ประเภทธุรกจิ ผลิตน้ามันไบโอดีเซลจากปาล์มนา้ มนั ในเชงิ การพาณชิ ย์ นอกจากนี้บริษัทใน เครอื ยงั มีกิจการซ้ือขายปาล์มน้ามันและมีคลงั เกบ็ นา้ มนั ขนาดใหญ่อยู่แล้ว ซึ่ง จะเอ้ือประโยชนใ์ ห้กับโครงการไบโอดีเซลมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือ 1. เพอ่ื ผลิตไบโอดีเซลเปน็ พลังงานทดแทน ลดการนาเขา้ น้ามนั เชื้อเพลิงจาก ตา่ งประเทศ 2. เพื่อเพิ่มเสถียรภาพด้านราคาใหแ้ ก่เกษตรกรผ้ปู ลกู ปาล์มน้ามัน 3. ส่งเสริมใหเ้ กษตรกรมีอาชพี เพิ่มขนึ้ 4. ลดมลพิษตอ่ ส่ิงแวดล้อม 5. เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของรัฐบาล กระบวนการ 1. การสกัดยางเหนยี ว ส่งิ สกปรก และนา้ ออกจากน้ามันปาล์มดบิ เรยี กวา่ ผลติ Pre-treatment เป็น Reaction Step เปน็ กระบวนการทาปฏิกิริยา 2. การเตมิ เมทานอลหรือเอทานอล พร้อมท้ังสารเร่งปฏิกริ ิยา เชน่ โซเดยี มไฮ ดรอกไซด์ ภายใต้อุณหภูมสิ งู ได้เป็น เมทิลเอสเตอร์ หรือ เอทิวเอสเตอร์ พร้อม ทั้งได้ กลีเซอลีนในสัดสว่ นประมาณร้อยละ 10 ซึง่ จะถูกแยกออกจากไบโอดเี ซล หลงั จากท่ีปลอ่ ยให้เกิดการแยกชน้ั เรียกว่า Transesterification 3. การนาเอาไบโอดเี ซลทไ่ี ดจ้ ากการทาปฏกิ ริ ยิ า Transesterification ไปล้าง นา้ เพอื่ กาจัดกลีเซอลีน และสารปนเป้อื นอ่ืนๆ ทส่ี ามารถละลายน้าได้ เรียกว่า Washing 4. กระบวนการกลัน่ เพื่อดึงเมทานอลที่เหลอื จากปฏกิ ิรยิ ากลบั มาใช้ใหม่ เรียกวา่ Methanol Recovery 5. การกาจัดน้าออกจากไบโอดเี ซลเรียกว่า Drying 6. เป็นกระบวนการทากลเี ซอลีนใหบ้ ริสทุ ธทิ์ ่ีร้อยละ 80 เรยี กว่า Glycerin Evaporation Unit หรือ Technical Grade 7. กระบวนการทากลเี ซอลนี ใหบ้ รสิ ุทธท์ิ ร่ี อ้ ยละ 99.7 เรียกว่า Glycerin Distillation Unit หรอื Pharmaceutical Grade

286 ตารางที่ 11.3 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษา : บรษิ ัท NBC จากัด (ตอ่ ) หัวข้อ รายละเอียด วัตถดุ ิบและแหลง่ เมลด็ ปาล์มและน้ามันปาล์มเปน็ หน่ึงในวตั ถดุ บิ ในการผลติ วตั ถุดิบ ภาพที่ 11.1 เมล็ดปาลม์ และผลปาลม์ ท่ีมา : เข้าถงึ ได้จาก http://www.kasetcity.com [2558, พฤศจกิ ายน 9] ภาพรวมสถานการณ์ แหลง่ วัตถดุ ิบเปน็ โรงงานสกัดนา้ มันปาลม์ ที่ใช้ Technology และ Know How ในปจั จุบันและ จากบริษัทแห่งหนึ่งในประเทศมาเลเซีย แนวโน้มทาง การตลาด นรินทร์ ตันไพบูลย์ (2559) สรุปว่าการใช้ไบโอดีเซล (B100) ประเทศไทย เปน็ ผู้ผลิตไบโอดีเซลอันดับ 7 ของโลก ส่วนใหญ่ผลิตจากน้ามันปาล์ม โดยท่ีผ่าน มารัฐบาลมีการส่งเสริมให้เกษตรกรขยายพ้ืนที่เพาะปลูกปาล์มน้ามันในช่วงปี 2551-2555 รองรับความตอ้ งการที่เพิ่มข้นึ ในการผลติ ไบโอดเี ซล ในปี 2558 ประเทศไทยมีพื้นท่ีเพาะปลูกปาล์มน้ามัน 4.7 ล้านไร่ ได้ ผลผลิตปาล์มน้ามัน 11.01 ล้านตัน และมีผลผลิตน้ามันปาล์มดิบ 2.07 ล้านตัน ในส่วนน้ีนามาใช้ในอุตสาหกรรมไบโอดีเซลประมาณ 8 แสนตันข้อมูล ขณะท่ี ปัจจบุ นั มโี รงงานผลติ ไบโอดีเซลในเชงิ พาณิชยท์ ่ขี น้ึ ทะเบียนกับกรมธุรกิจพลังงาน 12 ราย มกี าลงั การผลติ ติดต้งั รวม 6.2 ลา้ นลิตร/วัน และมกี ารผลิตจริงเฉล่ียอยู่ท่ี 3.4 ล้านลิตร/วัน สาหรับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่ มาจากน้ามันมันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil : CPO) แต่มีการผลิตจากน้ามัน ปาล์มกึ่งบริสุทธิ์ (Refined Bleached and Deodorized Palm Oil : RBDPO) ไขนา้ มนั ปาล์ม (Palm Stearine) และน้ามันพืชใช้แล้วร่วมด้วย (ส่วนหน่ึงเพ่ือลด ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของวัตถุดิบ) นอกจากน้ี ยังมีการผลิตไบโอดีเซล เพือ่ ใชเ้ องในชมุ ชนซ่งึ ส่วนใหญใ่ ช้ในอุตสาหกรรมและภาคเกษตรในต่างจงั หวดั (เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.krungsri.com 2559, สิงหาคม 31)

287 ตารางท่ี 11.3 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษา : บรษิ ทั NBC จากดั (ต่อ) หวั ข้อ รายละเอียด ลักษณะการออกแบบและ การพฒั นาของผลติ ภณั ฑ์ ระบบการจาหนา่ ย ภาพท่ี 11.2 ตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑไ์ บโอดเี ซล ที่มา : ดดั แปลงจาก http://www.oae.go.th [2559, มกราคม 2] ผลิ ตภัณฑ์ขั้นสุ ดท้ายจะได้น้ามันปาล์มท่ีมาจากการใช้ เทคโนโล ยีแล ะ องค์ความรู้ใหม่ หรือ Know How จากบริษัทแห่งหนึ่งในประเทศ มาเลเซียซึ่งได้รับการสนับสนุนและรับรองจากรัฐบาลมาเลเซียว่าจะ สามารถออกแบบและสร้างโรงงานจนไดม้ าตรฐานของการผลติ ไบโอดีเซล ตามลิขสิทธ์ิของทางประเทศมาเลเซียที่ได้มีการค้นคว้าเรื่องการนาน้ามัน ปาล์มมาผลิตเป็นน้ามันไบโอดีเซลมานานกว่า 10 ปี ขยายการลงทุนใน ธรุ กิจไบโอดีเซล 1. ไบโอดีเซลเชงิ พาณิชย์ โดยมีกลุม่ ทนุ เข้าร่วมลงนามข้อตกลง รว่ มกับบรษิ ัทคาดว่าจะมกี าลังการผลิต 100,000 ลติ รต่อวัน ประเมนิ เงิน ลงทุนเบื้องตน้ 1,000-2,000 ล้านบาท 2. ไบโอดีเซลชุมชนโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานคัดเลือกชุมชนที่มีศักยภาพทั้งในด้านวัตถุดิบและคน เม่ือได้มี การคัดเลือกได้แล้วก็จะสนับสนุนระบบผลิตไบโอดีเซลขนาด 1,000 ลิตร ต่อวนั ราคาขายต่อหน่วย ต้นทนุ ตอ่ หนว่ ย หรอื ขอ้ มลู จดุ คุ้มทนุ เป็นตน้ หมายเหตุ : หากเป็นสินคา้ ในธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมโดยส่วนใหญ่ มักมีข้อมูลจากัด หรือองค์การธุรกิจน้ันๆ มิได้มีการจัดทาไว้ นักศึกษา สามารถคน้ หาขอ้ มูลจากการสอบถาม สมั ภาษณ์ แล้วนามาคานวณเองได้ จากตน้ ทุนของราคาของเคร่ืองจักรและโรงงานน้ันถ้าเป็นแบบถังสเตนเลส มีราคาเคร่ืองละ 500,000 บาท แต่ถ้าเป็นถังพลาสติกราคาเคร่ืองละ 300,000 บาท สามารถผลิตน้ามันไบโอดีเซล (B100) ได้วันละ 300 ลิตร มีต้นทุนการผลิตลิตรละ 27 บาท มีราคาถูกกว่าน้ามันดีเซลทั่วไปถึงลิตร ละ 15 บาท โดยประมาณ

288 ตารางที่ 11.3 ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษา : บรษิ ทั NBC จากัด (ต่อ) หัวข้อ รายละเอยี ด การเลือกทาเลที่ตั้ง ตั้งอยู่บนพื้นท่ีรวม 50 ไร่ ในอาเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นกลยุทธ์ในการตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งระดับพื้นท่ีเฉพาะหรือเรียกอีก ประการหน่ึงว่า Site Decision ซ่ึงใช้ปัจจัยการมีทาเลอยู่ใกล้ผลปาล์มดิบ ซึง่ เป็นแหลง่ วตั ถุดบิ การวางผงั โรงงาน การวางผังเป็นรูปแบบการวางผังตามกระบวนการ (Process Layout) การวางผังสาหรับงานทผ่ี ลิตสนิ คา้ แตล่ ะแบบต้องใช้ชิน้ สว่ นต่างๆ มากและหลากหลายมักจะใช้การผลิตตามกระบวนการซึ่งการผลิตแบบไม่ ต่อเนื่อง กาลังการผลติ มีกาลังการผลิตประมาณ 200 ตันต่อวัน หรือ 220,000 ลิตรต่อ วัน อีกท้ังยังมีความสามารถในการจัดเก็บน้ามันปาล์มได้กว่า 100,000 ตัน มีท่าเรือสาหรับขนถ่ายและโกดังเก็บสินค้าอย่างครบครัน ในปัจจุบัน ปริมาณน้ามันปาล์มที่ใช้สาหรับการบริโภคภายในประเทศมีเพียง 8 แสน ตันตอ่ ปี จากผลผลติ ทงั้ หมด คิดเป็น 1 ล้านตันต่อปี ดังนั้นจึงมีส่วนเหลือ จากการบริโภคอยู่อีก 2 แสน ตันต่อปี โดยปกติน้ามันส่วนนี้จะถูกส่งออก ไปยังต่างประเทศซ่ึงจะเห็นว่าน้ามันส่วนน้ีน่าจะนามาเพ่ิมมูลค่าโดย การแปรรูปให้เป็นผลผลิตน้ามันปาล์มประมาณ 1,000,000 ตัน/ปี ในขณะท่ีมีความต้องการสาหรับการใช้อุปโภคและบริโภคในประเทศมีอยู่ โดยประมาณ 800,000 ตัน/ปี ทาให้มีปริมาณน้ามันปาล์มท่ีเกิน ความต้องการในประเทศประมาณ 200,000-300,000 ตันต่อปี จึงน่าจะ เปน็ โอกาสท่ดี ีต่อเกษตรกรและประเทศชาติทจี่ ะนานา้ มนั สว่ นทเี่ กิน การพยากรณ์การผลิต ความต้องการมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนตามแผนการพัฒนา และส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลของกระทรวงพลังงานที่ต้องการส่งเสริมให้มี การจัดการโลจสิ ตกิ ส์และ การจาหน่ายไบโอดีเซล 5% ในปี 2550 ในบางพื้นท่ี และขยายทั่วทั้ง การบรหิ ารสนิ คา้ คงคลงั ประเทศในปี 2554 มีการใช้พ้ืนท่ีประมาณ 50 ไร่ ใช้เงินทุนก่อสร้าง โรงงานและเครื่องจักรพร้อมเทคโนโลยีจากต่างประเทศประมาณ 500 ล้านบาทเศษ รวมถึงเงินทุนหมุนเวียนประมาณ 500 ล้านบาทเศษ รวม ท้งั สิ้น 1,000 ลา้ นบาทเศษ ดา้ นคลังจดั เกบ็ น้ามนั ปาลม์ และทา่ เรือขนถา่ ยสนิ คา้ ซ่งึ สามารถ จัดเกบ็ น้ามันปาล์มได้กว่า 100,000 ตนั มที ่าเรือสาหรับขนถา่ ยและโกดัง เก็บสนิ ค้าอยา่ งครบครัน

289 ตารางท่ี 11.3 ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษา : บรษิ ัท NBC จากดั (ต่อ) หัวข้อ รายละเอียด การจัดการโลจิสตกิ สแ์ ละ การบริหารสนิ คา้ คงคลัง (ตอ่ ) ภาพท่ี 11.3 ท่าเรือ ท่ีมา : ดดั แปลงจาก http://www.thai.logistics-manager.com [2560, พฤษภาคม 31] การควบคมุ คุณภาพ มีการจดั ส่งผลิตภัณฑป์ โิ ตรเลยี มนา้ มันภายใตร้ ะบบการขนส่งต่าง ๆ การบารุงรกั ษาเคร่อื งจกั ร อาทิ การขนส่งทางท่อ ทางรถไฟ ทางเรือ และทางรถบรรทุกโดยคานึงถึง และความปลอดภัย มาตรฐาน ความรวดเร็วและความปลอดภัยในการขนส่ง รวมถึงคุณภาพ ของน้ามันที่ส่งตรงจากคลังถึงผู้บริโภค จึงมีการพัฒนานาระบบควบคุม การขนส่งรถบรรทุกน้ามันด้วยดาวเทียม (Global Positioning System: GPS) มาใช้ เพื่อช่วยในการตรวจสอบ ติดตาม และช่วยเหลือรถบรรทุก น้ามันเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน จึงเป็นการรับประกันท้ังในด้านความปลอดภัย และความรวดเร็ว สามารถผลิตน้ามันไบโอดีเซลได้ตามมาตรฐานโลกอย่าง EN 14214 ในระดับ B100 ส่วนการควบคุมคุณสมบัติของไบโอดีเซลให้เป็นไปตาม ข้อกาหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซล ประเภทเมทิลเอสเตอร์ ของกรดไขมัน พ.ศ. 2548 ของกรมธุรกจิ พลงั งานซ่ึงกาหนดตามมาตรฐาน EN14214 ของสหภาพยุโรป ส่วนสหรัฐอเมริกาใช้ข้อกาหนดตาม มาตรฐาน ASTM D 6751 ไม่ว่าข้อกาหนดของประเทศใดก็ตามจะ พิจารณาถึงการนาไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดความ เสียหายในการใช้งาน มีความปลอดภัย และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดลอ้ ม

290 ตารางที่ 11.3 ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานประกอบการกรณีศึกษา : บรษิ ทั NBC จากัด (ต่อ) หัวข้อ รายละเอยี ด ดังน้ันในข้อกาหนดนั้นจึงแบ่งวิธีทดสอบออกเป็นสองประเภท คือ ประเภทแรก เป็นการทดสอบคุณสมบัติทางเคมี และกายภาพเช่นการหา ค่าความเป็นกรด ปริมาณกากคาร์บอน ปริมาณกามะถัน ค่าจุดวาบไฟ ค่าความหนืด เป็นต้น ประเภทท่ีสอง เป็นการทดสอบในการทางาน เช่น การหาค่าซีเทนนัมเบอร์ เป็นต้น นอกจากนี้ในข้อกาหนดคุณภาพ ไบโอดีเซลจะบอกถึงวิธีทดสอบมาตรฐานที่ใช้ทุกข้อกาหนด วิธีทดสอบ ส่วนใหญ่ท่ีใช้ได้แก่ American Society for Testing and Material (ASTM) หรือ The European Standard (EN) ซึ่งในวิธีทดสอบจะ กาหนดเครื่องมือท่ีใช้ ทั้งขนาดรูปร่างข้ันตอนการทดสอบอย่างละเอียด วธิ ีรายงานผลรวมถึงความแตกตา่ งระหว่างผลการทดสอบที่ยอมรับได้ เพ่ือให้ค่าที่ทดสอบได้มีความละเอียดน่าเชื่อถือโครงการเคมีกรม วทิ ยาศาสตร์บริการ เป็นหนว่ ยงานหนึง่ ทีใ่ ห้บรกิ ารการทดสอบ ไบโอดีเซล ตามข้อกาหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ ของกรดไขมันของกรมธุรกิจพลังงาน แก่หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามได้เพิ่มเติมท่ีกลุ่มงาน ทดสอบเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมในเวลาราชการ หรือสามารถดู รายการทดสอบและราคาได้ท่ีเว็บไซต์ http://www.dss.go.th ภาพที่ 11.4 เครอ่ื งต้นแบบผลิตไบโอดเี ซล ท่มี า : ดดั แปลงจาก http://www.korattreat.net/node/29 [2560, เมษายน 29] ทมี่ า : ดัดแปลงจาก http://www.oae.go.th [2559, มกราคม 2]

291 1.2 แผนผงั กระบวนการผลิต แผนภาพท่ี 11.2 กระบวนการผลติ ไบโอดีเซลจากปาล์มน้ามัน ท่มี า : ดัดแปลงจาก http://www.siambioenergy.com [2560, มกราคม 30] Methanal Oil & & Fats Catalyst Pretreatment Transesterification Glycerin Separation Washing Drying Biodiesel แผนภาพท่ี 11.3 ขน้ั ตอนการสกัดน้ามันไบโอดเี ซลจากปาลม์ นา้ มัน ท่ีมา : ดัดแปลงจาก http://www.internetdict.com/mt/andwers/what-is-biodiesel-made- of.gtml [2560, มกราคม 29]

292 กระบวนการผลติ ไบโอดีเซลจากปาลม์ นา้ มัน มีดังนี้ 1. ขั้นตอนแรกน้ีเรียกว่า Pre-treatment เป็นการสกัดยางเหนียว สิ่งสกปรก และน้า ออกจากนา้ มันปาล์มดบิ 2. ขั้นตอนที่เรียก Reaction Step เป็นกระบวนการทาปฏิกิริยา Transesterification โดยการเติมเมทานอลหรือเอทานอล พร้อมทั้งสารเร่งปฏิกิริยา เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ ภายใต้ อุณหภูมิสูง ได้เป็น เมทิลเอสเตอร์ หรือ เอทิวเอสเตอร์ พร้อมทั้งได้ กลีเซอลีนในสัดส่วนประมาณ รอ้ ยละ 10 ซ่ึงจะถกู แยกออกจาก ไบโอดเี ซล หลังจากท่ีปลอ่ ยใหเ้ กิดการแยกชัน้ 3. ข้ันตอนทเ่ี รียกวา่ Washing เป็นการนาเอาไบโอดีเซลทไ่ี ดจ้ ากการทาปฏกิ ิรยิ า Transesterification ไปล้างนา้ เพื่อกาจดั กลเี ซอลีน และสารปนเป้ือนอ่ืนๆ ท่สี ามารถละลายนา้ ได้ 4. ขัน้ ตอนท่เี รียกวา่ Methanol Recovery เป็นกระบวนการกลนั่ เพ่ือดงึ เมทานอล ท่ีเหลือจาก ปฏิกิริยากลับมาใช้ใหม่ 5. ขั้นตอนทเี่ รียกวา่ Drying เป็นการกาจัดน้าออกจากไบโอดีเซล 6. ข้ันตอนท่ีเรียกว่า Glycerin Evaporation Unit หรือเรียกว่า Technical Grade เป็น กระบวนการทากลเี ซอลีน ให้บริสุทธิ์ท่ีรอ้ ยละ 80 หรือ 7. ข้นั ตอนสดุ ท้ายนเี้ รียกว่า Glycerin Distillation Unit หรอื เรียกว่า Pharmaceutical Grade เปน็ กระบวนการทากลเี ซอลีนบรสิ ทุ ธิท์ ่ีร้อยละ 99.7 ตอนท่ี 2 สภาพปัญหาและสถานการณ์ปจั จุบนั ด้านบริหารการผลติ และการดาเนนิ งาน 1. ปัญหาด้านการผลติ น้ามันไบโอดีเซล 1.1 ปัญหาในด้านการจัดหาวัตถุดิบ ทั้งนี้เน่ืองจากการขยายพ้ืนที่ปลูกปาล์มน้ามันไม่ เป็นไปตามเปูาหมายท้ังนเี้ นื่องจากปัญหาดงั น้ี 1.1.1 ราคาปาล์มน้ามันตกต่า เกษตรกรไม่สนใจขยายพื้นท่ีปลูก นโยบายปลูก ปาล์มน้ามันเพื่อทดแทนพลังงาน โดยรัฐบาลมีแผนการสนับสนุนให้เกษตรกรหันมาปลูกปาล์มน้ามัน โดยให้เงินสนับสนุนไร่ละ 7,000 บาท จานวน 15 ไร่ข้ึนไป คืนเงินในระยะ 6 ปี และรัฐจะรับประกัน ราคาปาล์ม(ทั้งทะลาย) 3.50 บาท/กิโลกรัม แต่ขณะน้ีรัฐบาลยังไม่ได้ประกาศประกันราคา และราคา ปาล์ม(ท้ังทะลาย) ลดลงเหลือ 1.60-1.80 บาท/กิโลกรัม ชาวสวนปาล์มอยู่ในภาวะท่ีขาดทุนเนื่องจาก ต้นทุนเฉล่ียอยู่ในระดับกิโลกรัมละ 2.00 บาท นโยบายสนับสนุนการปลูกปาล์มเพื่อทดแทนพลังงาน จึงไม่เกิดแรงจูงใจ เกษตรกรสนใจหันมาปลูกปาล์มน้ามันไม่มากนักในขณะนี้ โดยจะสนใจหันไปปลูก ยางพารากันมากกว่า ทาใหค้ าดหมายว่าการขยายพนื้ ทีป่ ลูกปาล์มน้ามันอาจจะไม่เป็นไปตามเปูาหมาย นอกจากน้ีประเด็นที่ต้องพิจารณาประกอบกันไปด้วยคือ นโยบายรัฐบาลเร่งขยายพื้นที่พืชเศรษฐกิจ โดยเฉพาะยางพารา และพืชพลังงานทดแทนเพ่ือการผลิตเอธานอลและไบโอดีเซล ดังนั้นทาให้ เกษตรกรต้องพิจารณาเลอื กว่าจะหันมาปลูกพืชใดท่ีให้ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจมากท่ีสุดซ่ึงอาจกล่าว ได้ว่าปัจจุบันไทยมีเนื้อที่จากัดในการขยายพื้นที่ปลูกเพื่อรองรับนโยบายของรัฐบาล ส่วนการที่จะเข้า ไปลงทนุ เพาะปลูกในประเทศเพือ่ นบ้านก็ต้องพิจารณาความเสี่ยงในด้านอื่นๆ เพ่ิมข้ึนโดยเฉพาะความ ไมแ่ น่นอนทางการเมือง

293 1.1.2 พื้นท่ีที่เหมาะสมในการขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน้ามัน ความไม่ม่ันใจในผลผลิต ปาล์มน้ามันวา่ จะไดผ้ ลผลิตตามท่ีคาดการณห์ รือไม่ เนอื่ งจากไมม่ น่ั ใจว่าพื้นท่ีท่ีจะลงทุนขยายการปลูก ปาล์มน้ามันน้ันเป็นพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมหรือไม่ โดยเฉพาะพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีกาหนดจะ ขยายพ้ืนที่ปลูก 500,000 ไร่ แม้ว่ากรมวิชาการเกษตรใช้ระบบแผนท่ีทางอากาศ คานวณ หาพ้ืนที่ท่ี เหมาะสมและยนื ยันว่าพนื้ ท่ีท่ีจะขยายพื้นท่ีปลูกปาล์มน้ามันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือน้ันเหมาะสม แต่ก็ยังมีความเห็นขัดแย้งกับนักวิชาการและผู้ประกอบการในธุรกิจปาล์มน้ามัน เนื่องจากการปลูก ปาล์มน้ามันนั้น นอกจากพื้นท่ีเหมาะสมแล้วที่สาคัญพันธ์ุต้องดี ปริมาณน้าเพียงพอกับความต้องการ จากปจั จัยดังกล่าวถือเป็นอุปสรรคของพนื้ ที่ปลกู ปาล์มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1.1.3 การขยายพ้ืนที่ปลูกปาล์มน้ามันในประเทศเพื่อนบ้าน ในนโยบายส่งเสริม การขยายพืน้ ทีป่ ลูกปาล์มน้ามันนั้นรวมถึงการขยายพื้นท่ีปลูกปาล์มไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว กัมพูชา พม่า ประมาณ 1 ล้านไร่ ในลักษณะการส่งเสริมการปลูกแบบมีข้อตกลง ความเส่ียงใน การลงทุนคือ การไม่ปฏิบัติตามสัญญาเม่ือเก็บเก่ียวผลผลิตโดยไม่ยอมขายผลผลิตให้ตามสัญญา ความเสยี่ งกบั ความไมแ่ น่นอนทางการเมือง ซ่ึงมีผลต่อนโยบายสนับสนุนการลงทุน รวมไปถึงนโยบาย ของประเทศเพอ่ื นบ้านท่ีหันมาใหค้ วามสาคัญกับการปลูกพืชพลังงานเพื่อใช้ผลิตไบโอดีเซลในประเทศ เช่นเดยี วกนั นอกจากนี้ ประเดน็ ที่ต้องพิจารณาควบคู่กนั ไปคอื การต้งั โรงงานผลิตน้ามันปาล์มดิบหรือ โรงงานหบี นา้ มนั ปาลม์ เนอื่ งจากข้อจากดั ของปาล์มน้ามันเมื่อตัดจากต้นแล้วต้องส่งเข้าโรงงานภายใน 24 ช่วั โมง เพอ่ื ท่ีจะรักษาคุณภาพของน้ามันปาล์มดิบที่ผลิตได้ ดังน้ันจะต้องมีการลงทุนตั้งโรงงานหีบ น้ามันปาลม์ ตามแหล่งเพาะปลูกปาล์มน้ามันด้วย ซงึ่ ปัญหานีจ้ ะเกดิ ข้นึ เมื่อมีการลงทุนขยายพ้ืนท่ีปลูก ปาล์มน้ามันในพ้ืนทนี่ อกเขตโรงงานผลิตน้ามนั ปาลม์ ดบิ แหง่ เดิม 1.1.4 ปัญหาเรื่องสายพันธุ์ปาล์มน้ามัน การส่งเสริมให้มีการขยายพื้นที่ปลูกปาล์ม นา้ มนั ตามแผนพัฒนาและสง่ เสริมการใช้ไบโอดีเซลน้ี ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์/ต้น กล้าปาล์มน้ามัน ซึ่งเมล็ดพันธ์ุ/ต้นกล้าปาล์มน้ามันนั้นกรมวิชาการเกษตรกาหนดให้เอกชนที่นาเข้า พันธ์ุปาล์มข้ึนทะเบียน และกรณีที่เกษตรกรซื้อเมล็ดพันธ์ุ/ต้นกล้าจากเอกชนที่ข้ึนทะเบียนจะได้รับ การประกัน ถ้าผลผลิตต่ากว่าเปูาหลังปลูกไปแล้ว 4 ปี เอกชนต้องจ่ายเงินชดเชย 363 บาทต่อต้น ปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนี้คือการส่งเสริมปลูกปาล์มน้ามันโดยงบผู้ว่าราชจังหวัดซีอีโอที่ขึ้นอยู่กับแต่ละ จงั หวัดจะตัง้ เกณฑ์มาตรฐานของต้นกล้าและคุณสมบัติของผู้ประกอบการ รวมทั้งมีข้อขัดแย้งระหว่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับกรมวิชาการเกษตรในเร่ืองคุณสมบัติของผู้ประกอบการเพาะกล้า ปาล์มน้ามัน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพิ่งจะประกาศรายช่ือในเดือนสิงหาคมน้ี เท่ากับว่า เกษตรกรท่ีซ้ือต้นกล้าปาล์มน้ามันนอกเหนือจากบริษัทดังกล่าวก่อนหน้าน้ีจะไม่ได้รับเงินชดเชยใน กรณที ผ่ี ลผลิตต่ากว่าเปูาหมายทีก่ าหนดไว้ 1.2 การต้ังโรงงานผลิตไบโอดีเซล เป็นตัวเชื่อมสาคัญของแผนพัฒนาและส่งเสริม การใช้ไบโอดีเซล ปัญหาในขณะน้ีคือ ความชัดเจนของผู้ที่จะลงทุนผลิตไบโอดีเซลเพื่อการพาณิชย์ นั้นมีเพียงบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และบริษัท บางจากปิโตรเลียม จากัด(มหาชน) เท่าน้ันซึ่ง ผู้ลงทุนท่ีส่งไบโอดีเซลให้กับท้ังสองบริษัทน้ีนับว่ามีความเส่ียงลดลง เนื่องจากมีการตั้งโรงงานผลิต ไบโอดีเซลและปั๊มน้ามันรองรับการจาหน่ายท่ีแน่นอน ในขณะที่การลงทุนผลิตไบโอดีเซลชุมชนนั้นมี

294 ความเป็นไปได้มากกว่า เน่ืองจากการผลิตเป็นไปตามความต้องการของชุมชนแต่ละแห่ง นอกจากน้ี ความเส่ยี งท่จี ะตอ้ งพจิ ารณาของผ้ทู จ่ี ะลงทุนตง้ั โรงงานผลิตไบโอดเี ซลเพอ่ื การพาณิชย์ ซึ่งมีแนวโน้มว่า จะเกิดปัญหาเช่นเดียวกับผู้ที่ลงทุนตั้งโรงงานผลิตเอธานอล เน่ืองจากยังมีความไม่แน่นอนในเร่ือง ผลตอบแทนของการลงทุนอนั เป็นผลมาจากหลากหลายปัจจยั ได้แก่ 1.2.1 ความผันผวนของราคาน้ามันในตลาดโลก ซ่ึงมีผลต่อการคานวณต้นทุนและ กาไรของราคาจาหน่ายปลีกไบโอดีเซล ส่งผลต่อเนื่องในการคานวณจุดคุ้มทุนของการต้ังโรงงานผลิต ไบโอดเี ซล 1.2.2 ในเรือ่ งของความชัดเจนของนโยบายรัฐบาลน้ัน รัฐบาลมนี โนยบายการส่งเสริม ในด้านการใช้ไบโอดีเซลด้วยการอุดหนุนหรือยกเว้นภาษีเช่นเดียวกับก๊าซโซฮอล์โดยเฉพาะภาษีเก็บ เข้ากองทุนอนุรักษ์พลังงาน ภาษีกองทุนน้ามัน ภาษีเทศบาล และภาษีสรรพสามิต ทั้งน้ีเพื่อให้ราคา จาหน่ายปลกี ไบโอดเี ซลต่ากวา่ นา้ มนั ดีเซล (ปัจจุบันยังไม่มีการกาหนดว่าจะต้องต่ากว่าเท่าใด ในขณะ ที่ราคาจาหน่ายน้ามันก๊าซโซฮอล์ต้องต่ากว่าน้ามันเบนซินในราคา 1.50 บาทต่อลิตร) ซึ่งตามแผนน้ัน รัฐบาลจะประกาศลดหย่อนภาษีสรรพสามิต 50 สตางค์ต่อลิตรและได้รับ การยกเว้นภาษีกองทุน นา้ มัน 50 สตางคต์ อ่ ลิตร การเปล่ยี นแปลงนโยบายของรัฐบาลก็จะมีผลต่อความเสี่ยงในการลงทุนต้ัง โรงงานผลติ ไบโอดีเซล 1.2.3 ความเส่ียงอันเกิดจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ เนื่องจากมีความเป็นไป ไดว้ ่าถา้ การขยายพืน้ ทปี่ าลม์ น้ามนั ไมเ่ ปน็ ตามเปาู หมายหรือภาวะอากาศไม่เอื้ออานวยทาให้ผลผลิต ปาล์มนา้ มันไมเ่ ปน็ ไปตามทม่ี ีการคาดการณ์ไว้ ส่งผลให้ราคาน้ามันปาล์มดิบมีแนวโน้มสูงขึ้นซ่ึงเท่ากับ ว่าต้นทุนการผลิตไบโอดีเซลมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนด้วยอาจจะทาให้ราคาน้ามันผสมไบโอดีเซลขยับเข้าไป ใกล้กับราคาจาหน่ายน้ามันดีเซลมากจนไม่น่าจะลงทุน เป็นต้น นอกจากน้ีประเด็นท่ีต้องพิจารณา ประกอบด้วยคือ ถ้าโรงงานผลิตไบโอดีเซลนาเข้าน้ามันปาล์มดิบซ่ึงราคาต่ากว่าน้ามันปาล์มดิบท่ีผลิต ในประเทศ และมีแนวโน้มว่าจะเป็นไปได้เนื่องจากแหล่งผลิตน้ามันปาล์มดิบที่สาคัญของโลกคือ มาเลเซียและอินโดนีเซีย รวมไปถึงมีโอกาสที่จะนาเข้าน้ามันไบโอดีเซลจากประเทศทั้งสองน้ี ซึ่งก็ สง่ เสริมการผลติ ไบโอดีเซลเช่นกัน โดยมีความได้เปรียบไทยในเรื่องต้นทุนการผลิตน้ามันปาล์มดิบ ทา ให้ต้นทุนการผลิตไบโอดีเซลจะต่ากว่าไทย ไม่ว่ากรณีการนาเข้าน้ามันปาล์มดิบหรือนาเข้าไบโอดีเซล จะส่งผลกระทบทาให้น้ามันปาล์มดิบในประเทศล้นตลาด ส่งผลต่อเนื่องถึงธุรกิจโรงหีบน้ามันปาล์ม และเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ามัน รวมท้ังในปัจจุบันยังไม่มี การประกาศใช้มาตรฐานไบโอดีเซลเชิง พาณิชย์ มีเพียงประกาศมาตรฐานไบโอดีเซลชุมชนเท่าน้ันซึ่งอาจจะส่งผลต่อความม่ันใจของผู้บริโภค ต่อคุณภาพของน้ามันดีเซลผสมไบโอดีเซล ทาให้ความต้องการใช้ไบโอดีเซลอาจจะไม่มากเท่ากับท่ีมี การคาดการณไ์ ว้ 2. สถานการณ์ปัจจบุ ันของความคาดหวงั และต้องการไบโอดีเซล ตามแผนการกาหนดให้ใช้น้ามันดีเซลที่มีส่วนผสมไบโอดีเซล 5% หรือ B5 ทั่วประเทศในปี 2554 และใชน้ า้ มนั ดีเซลทม่ี ีส่วนผสมไบโอดเี ซล 10% หรือ B10 ในปี 2555 ความเป็นไปได้นั้นขึ้นอยู่กับการ จัดหาวัตถุดิบ ซึ่งหมายถึงการขยายพ้ืนที่ปลูกปาล์มน้ามันให้เป็นไปตามเปูาหมาย และมีการตั้ง โรงงานผลิตไบโอดีเซลรองรับปริมาณผลผลิตปาล์มน้ามันที่เพ่ิมขึ้นด้วย รวมไปถึงการยอมรับของ

295 ผู้บริโภค ซ่ึงปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อความเช่ือมั่นของผู้บริโภค โดยเฉพาะผลกระทบต่อเคร่ืองยนต์ กล่าวคือ ต้องมีการประกาศมาตรฐานน้ามันดีเซลท่ีมีส่วนผสมไบโอดีเซล เพ่ือการพาณิชย์ของรัฐบาล และการยอมรับของบริษัทผู้ผลิตยานยนต์ โดยมีผลการทดสอบและประกาศยอมรับน้ามันดีเซลที่มี ส่วนผสมของไบโอดีเซลท้ัง B5 และ B10 นอกจากนี้ความต่ืนตัวในการจะหันมาใช้น้ามันดีเซลท่ีมี ส่วนผสมของไบโอดีเซล นอกจากราคาจาหน่ายแล้ว การประกาศกาหนดยกเลิกการจาหน่ายน้ามัน ดเี ซลบรสิ ุทธ์หิ รือนา้ มันดเี ซลที่ไม่ได้ผสมไบโอดเี ซล เชน่ เดียวกับการประกาศยกเลิกการจาหน่ายน้ามัน เบนซิน 95 ซึ่งทาให้ผู้บริโภคตื่นตัวหันมาใช้ก๊าซโซฮอล์มากขึ้น ทาให้นโยบายส่งเสริมการผลิต เอธานอลเพอ่ื นามาผลิตก๊าซโซฮอล์น้ันประสบความสาเร็จ ตอนที่ 3 แนวทางการพฒั นาและยกระดบั สถานประกอบการ น้ามันไบโอดีเซลเหมาะที่จะเป็นเช้ือเพลิงทางเลือกเนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศ เกษตรกรรมและมักจะประสบปัญหาเรื่องราคาผลผลติ ตกต่า ประเทศไทยเป็นแหล่งวัตถุดิบท่ีใช้ในการ ทาไบโอดีเซล เช่น มะพร้าว ปาล์ม เมล็ดทานตะวัน หากนาผลผลิตเหล่านี้มาแปรรูปเป็นน้ามัน ไบโอดีเซล เพ่ือใช้ทดแทนน้ามันดีเซลในภาคเกษตร อย่างน้อยก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายของรัฐบาลใน เรื่อง การนาเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ อีกทั้งยังช่วยเหลือพืชผลทางการเกษตรให้มีราคา สมา่ เสมออกี ดว้ ย นอกจากเร่ืองการลดการนาเข้าน้ามันจากต่างประเทศ แล้วไบโอดีเซลยังช่วยในเร่ืองของ ส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ นา้ มนั ปรงุ อาหารทใี่ ช้แล้วนับล้านลิตรต่อวันนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกไม่ต้องเททิ้ง ให้เป็นปญั หาต่อแม่นา้ ลาคลองและสงิ่ แวดล้อม ข้อดขี องไบโอดีเซล คอื ช่วยในเร่อื งมลภาวะของอากาศ ซ่ึงไบโอดเี ซลถือเปน็ เช้ือเพลงิ ทดี่ ีที่สุดทจี่ ะช่วยบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อนหรือเรียกว่า Greenhouse Effect นอกจากน้ีน้ามันไบโอดีเซลยังสามารถช่วยลดมลพิษได้ แม้จะผสมเข้ากับเช้ือเพลิงปิโตรเลียม ไบโอดีเซล นับเป็นหน่ึงในเชื้อเพลิงไม่กี่ชนิดที่สามารถทางานร่วมกับดีเซลธรรมดาได้ ซ่ึงนับเป็นข้อดี เน่ืองจากยานพาหนะท่ีใช้น้ามันดีเซลน้ันอยู่ได้นานถึง 25 ปี หรือมากกว่าน้ัน ถ้าผู้บริโภคหันมาใช้ ไบโอดีเซล อากาศจะบริสุทธิ์ข้ึนและยังช่วยในด้านพลังงานของประเทศอีกด้วย หากมองในภาพรวม ทง้ั ประเทศเราจะเห็นว่าแนวโน้มการใช้พลังงานที่มากข้ึน ราคาน้ามันท่ีสูงขึ้น แม้กระทั่งมลภาวะที่แย่ ลงทุกวันถ้าเราหันมาใช้พลังงานทดแทนจากภาคเกษตรแล้วผลท่ีได้คือ ประการแรก การลดการ นาเขา้ เชื้อเพลงิ จากต่างประเทศน้นั หมายถงึ ลดเงินตราออกนอกประเทศ ประการที่สอง การส่งเสริม รายไดใ้ หก้ บั ภาคเกษตรให้เกษตรกรมีรายได้สม่าเสมอ ประการที่สาม ช่วยภาวะโลกร้อนและลดภาวะ มลพิษในอากาศตัวการให้เกิดปัญหาต่าง ๆ และประการท่ีสี่ด้านภาวะสิ่งแวดล้อม เช่น น้ามันท่ีปรุง อาหารแล้วจานวนมาก ได้กลับมาใช้ได้อีกโดยไม่ต้องเททิ้งให้เป็นปัญหาต่อแม่น้าลาคล องและ สิ่งแวดล้อม สาหรับคุณสมบัติของไบโอดีเซลนั้นมีคุณสมบัติทางกายภาพคล้ายกับดีเซลปกติมาก แต่ ให้ การเผาไหม้ที่สะอาดกว่า ไอเสียมีคุณภาพที่ดีกว่า ท้ังนี้เพราะออกซิเจนในไบโอดีเซลให้การ สนั ดาปท่ีสมบูรณก์ วา่ ดเี ซลปกติ จึงมีคาร์บอนมอน๊อกไซด์น้อยกว่า และเน่ืองจากไม่มีกามะถันในไบโอ ดีเซล จงึ ไมม่ ปี ญั หาสารซัลเฟต และยังมีเขม่าของคาร์บอนน้อย จึงไม่ทาให้เกิดการอุดตันของระบบไอ เสยี ได้งา่ ย ชว่ ยยดื อายุการทางานของเครื่องยนต์เป็นอยา่ งดี

296 ในประเทศไทยมคี วามต้องการใช้น้ามันดีเซลสูงสุดในบรรดาผลิตภัณฑ์น้ามันชนิดต่าง ๆ และมีอัตรา การขยายตัวสูงมากในแต่ละปี ผลจากราคาน้ามันดีเซลที่แพงขึ้นส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาคการขนส่ง และภาคการเกษตร ซึ่งเก่ียวข้องกับประชาชนส่วนใหญ่ของ ประเทศและเป็นผู้ที่มีรายได้น้อยท่ีต้องเผชิญกับค่าครองชีพ และต้นทุนด้านการเกษตรที่สูงข้ึน ดังน้ัน ประโยชนจ์ ากการผลติ ไบโอดีเซลเพือ่ นามาใชท้ ดแทนนา้ มนั ดีเซล สรปุ ได้ดงั น้ี 3.1 ลดการสูญเสยี เงินตราต่างประเทศในการนาเขา้ น้ามนั แก้ไขปญั หาความยากจนใน ระดับรากหญ้าทาให้เกษตรกรมีรายได้ดีข้ึน เผาไหม้ได้สมบูรณ์ทาให้ลดควันดา จึงช่วยลดการปล่อย ก๊าซท่ีก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) โดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพ่ือ แก้ปัญหาโลกร้อนไอเสียยังมีมลพิษต่ากว่าการใช้น้ามันดีเซล คือ ไม่มีกามะถันและสารก่อมะเร็งเป็น องคป์ ระกอบ 3.2 เพ่ิมความม่ันคงดา้ นพลงั งานของประเทศ เนอ่ื งจากคณุ สมบตั ิของน้ามันไบโอดีเซล ท่ีใช้งานกบั เครอื่ งยนต์ดีเซลได้ดี เช่นเดยี วกบั นา้ มันดเี ซล และยงั สามารถสลบั กนั ใชไ้ ด้โดยไม่จาเปน็ ต้องปรับแต่งเครื่องยนต์ 3.3 การนาน้ามันท่ใี ชแ้ ล้วมาเป็นวตั ถดุ ิบในการผลิตไบโอดเี ซล ยังชว่ ยลดปริมาณน้ามัน ทอดซา้ ซ่งึ อาจเปน็ อนั ตรายต่อรา่ งกาย กอ่ ใหเ้ กิดมะเรง็ ในเม็ดเลอื ดขาว หรือเนือ้ งอกในอวัยวะตา่ งๆ ตอ่ ผบู้ รโิ ภคได้ดว้ ย ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะและปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ ในการบริหารการผลติ และการดาเนนิ งาน 4.1 แนวทางการลดต้นทุนการผลิต Methyl Soyate หรือ Soy Diesel ซึ่งเป็นคาที่ใช้แทนไบโอ ดเี ซลในสหรฐั อเมรกิ า เน่ืองจากไบโอดีเซลส่วนใหญ่ ผลิตมาจากน้ามันถั่วเหลือง ปัจจุบันมีต้นทุนอยู่ที่ กว่า 0.66 ดอลลาร์ต่อลิตร (2.5 ดอลลาร์ต่อแกลลอน ดีเซลปกติมีต้นทุน 0.65 ถึง 0.70 ดอลลาร์ต่อ แกลลอน) มากกว่าร้อยละ 90 ของต้นทุนผลิตโดยตรงเป็นค่าวัตุดิบ ตัวอย่างเช่น ไบโอดีเซล 1 แกลลอน ต้องใชน้ า้ มันถ่ัวเหลืองประมาณ 7.3 ปอนด์ น้ามันถั่วเหลืองปอนด์ละ 0.20 ดอลลาร์ เฉพาะ ต้นทุนวัตถุดิบไม่น้อยกว่า 1.50 ดอลลาร์ จึงได้มีความพยายามพัฒนาสายพันธุ์ ถ่ัวเหลืองให้มี เปอร์เซ็นต์น้ามันมากข้ึน (ปกติถั่วเหลืองมีค่าน้ามันร้อยละ 20) สาหรับในยุโรปใช้น้ามันจากเมล็ดเรพ (ไม้ชนิดหนง่ึ ปลกู ใหแ้ กะกนิ ) ใหค้ ่าน้ามันถึงร้อยละ 40 อย่างไรก็ตามจากการวิจัย ตลาด หากการผลิต ในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ต้นทุนสามารถลดลงเหลือเพียง 0.40 ถึง 0.45 ดอลลาร์ต่อลิตร กับ ดีเซลจากปิโตรเลยี ม DOE ตั้งเปูาหมายจะพัฒนาไบโอดีเซลจากสาหร่ายขนาดเล็กด้วยต้นทุนการผลิต 0.26 ดอลลารต์ อ่ ลิตร 4.2 ในอนาคตการใชไ้ บโอดีเซลจะไดร้ บั ความนิยมมากข้นึ ตามลาดับ 4.3 การผลิตน้ามันไบโอดีเซลในประเทศถือได้ว่าเป็นการพัฒนาเพื่อการพ่ึงพาตนเองตามแนวคิด เศรษฐกจิ พอเพียงของรชั กาลที่ 9 กรณีศกึ ษาที่ 2 บรษิ ัท MM จากัด ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานและกระบวนการผลิตของสถานประกอบการ

297 1.1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานประกอบการ ตารางที่ 11.4 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษาบริษัท MM จากัด หวั ข้อ รายละเอียด ทีอ่ ยู่ อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎรธ์ านี ประเภทธรุ กจิ ธรุ กจิ ผลติ และจัดจาหนา่ ยไอศครมี กระบวนการผลติ กระยวนการผลิตเป็นระบบกึ่งอัตโนมัติ คือ ในกระบวนการผลิตน้ัน ใช้ทงั้ เครอื่ งจักรและใชค้ นในการผลิต โดยมสี องข้ันตอนหลกั คือ 1. การเตรยี มการผลติ 2. การผลิต ในขัน้ ตอนของการผลติ จะแบ่งการผลิตเปน็ สอง ประเภทตามประเภทสนิ ค้า คือสนิ ค้าประเภทแท่ง และสินคา้ ประเภท ถว้ ย โคน หลอด วตั ถุดบิ และแหลง่ วัตถดุ บิ วัตถุดิบหลกั ที่ใชใ้ นกระบวนการผลติ ในปจั จบุ ัน 1. น้าตาล เป็นวัตถุดิบที่มีความจาเป็นในระดับต้น ๆ ของการผลิต ไอศครมี ทางบริษัท ซอื้ ผา่ นตัวแทนจาหน่ายจากกรงุ เทพฯ 2. นม ซอื้ ผ่านตัวแทนจาหนา่ ยท่ีนาเข้าจากประเทศออสเตรเลีย 3. มะพร้าว สงั่ ซอ้ื โดยตรงจากตาบลบางใบไม้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซ่ึงขึน้ ชือ่ ในเรื่องของความมัน ความหอม และรสชาติที่เข้มข้นเลือก จากแหลง่ เลือกวตั ถดุ บิ ในพน้ื ที่สามารถลดตน้ ทนุ ในการขนส่ง 4. กลิ่นและสี ต่าง ๆ ท่ีใช้ในกระบวนการของรสชาติและสีสันของ รูปแบบผลิตภัณฑ์ ซ้อื ผา่ นตัวแทนจาหนา่ ยจากกรงุ เทพฯ 5. ธัญพชื ไดแ้ ก่ ถัว่ ดา ถว่ั เขียว ขา้ วโพด ส่ังซื้อโดยตรงจากไรธ่ ัญพชื 6. บรรจุภณั ฑ์ รูปแบบต่าง ๆ จัดซือ้ จาก บริษทั สยามบรรจภุ ณั ฑ์ สงขลา จากัด ในการจัดซ้ือวัตถุดิบหลัก ๆ ท้ังหมด นักบริหาร การผลิตให้ความสาคัญกับแหล่งผลิตท่ีมีคุณภาพ ความเหมาะสม ดา้ นราคา ได้รบั การยอมรบั และผา่ นการตรวจสอบคณุ ภาพ ภาพรวมของสถานการณ์ ไอศครีมที่ผลิตในประเทศไทยมีคุณภาพ รสชาติ ราคา รวมทั้ง ในปจั จุบันและแนวโน้ม ชอ่ งทางการจาหน่ายท่ีแตกต่างกนั ไปตามกล่มุ เปาู หมาย โดยทั่วไปมี ทางการตลาด ลักษณะดงั น้ี 1. ไอศครมี พรีเม่ียม ซึง่ ผู้ประกอบการไทยสรา้ ง Brand ของตนเอง เป็นไอศครีมคุณภาพสงู และมเี อกลักษณ์เฉพาะตวั เพือ่ เรียก ความสนใจของผู้บริโภคเป็นผบู้ รโิ ภคทัว่ ไป

298 ตารางท่ี 11.4 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษาบริษัท MM จากัด (ต่อ) หวั ข้อ รายละเอยี ด ภาพรวมของ 2. ไอศครีมแมส เป็นไอศครมี ท่ีผลิตในโรงงานขนาดใหญม่ ี สถานการณใ์ น ผลิตภณั ฑ์หลากหลายและใช้วัตถดุ ิบในประเทศเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันและแนวโนม้ ทาให้ราคาไม่สงู มาก ซงึ่ สอดคล้องกับกล่มุ เปูาหมายของไอศกรมี ที่ ทางการตลาด (ต่อ) 3. ไอศครีมระดบั ลา่ ง เป็นไอศครีมท่ีส่วนใหญ่ผลิตโดยผู้ประกอบการขนาด กลางและขนาดย่อมและอยู่ในต่างจังหวัด ใช้วัตถุดิบในประเทศและมี รสชาติแบบไทย ๆ เช่น รสกะทิ ลอดช่อง ทาให้ราคาไม่สูง สอดคล้องกับ กลุ่มเปูาหมายซึ่งเป็นผู้บริโภคในพื้นท่ี นอกจากน้ียังมีการนาเสนอเทคนิค การผลิตหรอื รสชาติทแ่ี ปลกใหม่ เชน่ ไอศครีมป่ัน เป็นตน้ ปัจจุบันจานวนโรงงานผู้ผลิตไอศครีมในประเทศไทยท่ีจด ทะเบียนกบั กรมโรงงานกระทรวงอตุ สาหกรรมมจี านวน 247 โรงงาน แผนภมู ิ 11.1 จานวนโรงงานผลิตไอศครีมในประเทศไทย ท่ีมา : ดดั แปลงจาก www.i-creamsolutions.com/page [2559, มกราคม 2] จากการท่ีตลาดส่งออกไอศครีมของไทยมีแนวโน้มการขยายตัวเพ่ิมขึ้นจาก ปกี อ่ นทั้งจากการท่มี ีผูป้ ระกอบการตา่ งประเทศเข้ามาลงทุนต้ังโรงงานผลิต ไอศครีมในประเทศไทย เพื่อขยายตลาดในเอเชียและจากผู้ประกอบการ ไทยท่ีรุกขยายตลาดไดก้ ว้างขึ้น โดยมีเหตุปัจจัยสาคัญท่ีช่วยผลักดันให้ไทย กา้ วสกู่ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางการสง่ ออกไอศครมี ในภมู ิภาค ดังน้ี 1. ผูป้ ระกอบการไทยได้ขยายตลาดใน16ประเทศในตะวันออกกลาง 2. กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวงฯ เพ่ือปรับปรงุ มาตรฐาน การผลิตไอศครมี ทาให้การผลิตไอศครมี ของไทยได้มาตรฐานสากล

299 ตารางท่ี 11.4 ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษาบรษิ ัท MM จากดั (ต่อ) หัวข้อ รายละเอียด ภาพรวมของ 3. ประเทศไทยมีวัตถุดิบผักผลไม้เมืองร้อนจานวนมากที่มีความพร้อมต่อ สถานการณ์ในปัจจุบัน การนามาผลิตไอศกรีมและทาให้รสชาติมีเอกลักษณ์เฉพาะและมีความ และแนวโนม้ ทาง ได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิตซ่ึงต่ากว่าประเทศอื่นในภูมิภาค ทาให้ การตลาด (ต่อ) ผู้ประกอบการจากต่างประเทศสนใจเข้ามาลงทุนใช้ไทยเป็นฐานการผลิต เพื่อส่งออกและยังยังมีโอกาสขยายตัวได้อีกในตลาดภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ 4. สาหรับต้นทุนการผลติ เนือ่ งจากราคาวัตถุดิบมีแนวโน้มลดลง รวมท้ังมี ปริมาณเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ ลกั ษณะการออกแบบ ผลิตภณั ฑข์ องไอศครมี มาร์ช มี 6 ประเภท 33 รายการ ประกอบดว้ ย และการพฒั นา 1. ไอศครมี ประเภทแทง่ ผลติ ภัณฑ์ 2. ไอศครีมประเภทถ้วยและหลอด 3. ไอศครมี ประเภทโคนและขนมปงั 4. ไอศครีมประเภทโอเรยี ลทอล 5. ไอศครีมประเภทถัง 6. ไอศครีมประเภทแทง่ สอดไส้ ไอศครีมประเภทแทง่ ไอศครีมประเภทถ้วย ไอศครีมประเภทหลอด ไอศครมี ประเภทขนมปัง ไอศครีมประเภทโคน ไอศครีมประเภทถัง ภาพที่ 11.5 ความหลากหลายของผลิตภณั ฑไ์ อศกรมี ท่มี า : บรษิ ทั ฟรซี แลนด์ โปรดักส์ จากัด. (2559). เข้าถึงไดจ้ าก http://www.bkkicecream .com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29]

300 ตารางท่ี 11.4 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษาบริษัท MM จากัด (ต่อ) หวั ข้อ รายละเอยี ด ระบบการจาหนา่ ย ผปู้ ระกอบการเปน็ ผู้ผลติ และจาหน่ายไอศครีมภายใต้เครอ่ื งหมาย การคา้ “ไอศกรมี MM” ในพื้นที่ 14 จังหวดั ภาคใต้และบางจังหวดั ในภาค กลางและภาคตะวันออกรวมประมาณ 30 จงั หวดั ปัจจบุ ันมียอดขายรวม ต่อปีประมาณ 144 ลา้ นบาท คดิ เป็นสว่ นแบ่งทางการตลาดอยู่ประมาณ ร้อยละ 2 ของตลาดโดยรวมและมกี ารแบง่ เขตการขายดงั น้ี 1. ตัวแทนหลกั ได้แก่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช กระบี่ พังงา สงขลา ปตั ตานี จนั ทบุรี 2. ตวั แทนรอง ได้แก่ จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ชุมพร พัทลุง นครปฐม ระบบการขายในปจั จบุ นั แบง่ เป็น 3 รปู แบบคือ 2.1 ผลิตเพื่อจัดส่งไปยังตัวแทนหลักทาหน้าท่ีกระจายสินค้าไปยังตู้ แชท่ ว่ี างอยใู่ นรา้ นค้าแต่ละจังหวัด เพ่อื จาหนา่ ยให้กบั ผบู้ รโิ ภค 2.2 ผลติ และเคล่อื นยา้ ยไปยงั คลงั สนิ ค้าของสถานประกอบการทเ่ี ป็น ตัวแทนรองของแต่ละจังหวดั 2.3 ผลิตแล้วสง่ ไปยงั ผ้บู ริโภคซึ่งเป็นรปู แบบการขายเดิม 3. ราคาและกลุ่มผลิตภณั ฑ์ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ราคา 5 บาท ได้แก่ ผลติ ภัณฑ์ ไช น่าบว๊ ย ช๊อกโกมลิ ท์ รสส้ม ทีปอฺ ป ฟรุตพน้ั ต์ โคล่าจุบ๊ ดาร์กก้ากัมม่ี กลุ่ม ราคา 7 บาท ได้แก่ ผลิตภัณฑ์โอเรยี นทอลแบล๊คบนี โอเรียนทอลกรนี ที โอ เรียนทอลคอรน์ โอเรยี นทอลทาโร่ บับเบ้ิลกะทิ บับเบลิ้ ช็อก กลมุ่ ราคา 10 บาท ได้แก่ ผลติ ภณั ฑบ์ กิ๊ องุน่ บิก๊ ส้ม ราคา 8 บาท ผลิตภณั ฑ์ดิพชพิ วนิ ลาชพิ โบกัสชอ็ ก ผลิตภัณฑ์อินเดยี น่าซุพรมี ช็อก อินเดียน่าซพุ รีมสตอ เบอรร์ ่ี อนิ เดียน่าซุพรมี กะทิ ฯลฯ การเลอื กทาเลที่ต้ัง ด้วยสภาพพ้ืนท่ีเป็นโรงงานท่ีเปิดมาแล้ว 25 ปี มีการปรับปรุงต่อเติม และขยายขนาดของโรงงานมาตลอดด้วยพื้นที่มีขนาดจากัด รวมทั้งการ ขยายความเจริญของเขตเมือง ทาให้สภาพของบริษัทในปัจจุบันมีความไม่ สะดวกในดา้ นการคมนาคม เข้า-ออก เนอื่ งจากบริษัทอยูล่ กึ เข้าไปในซอยซึ่ง ค่อนข้างคับแคบ

301 ตารางท่ี 11.4 ข้อมลู พ้นื ฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษาบรษิ ัท MM จากดั (ตอ่ ) หวั ข้อ รายละเอียด การวางผังโรงงาน กาลังการผลิต แผนภาพท่ี 11.4 แสดงการวางผังตามผลติ ภัณฑ์ท่มี ลี กั ษณะเปน็ ตวั เอส ทม่ี า : บริษทั ฟรซี แลนด์ โปรดักส์ จากัด (2559) เขา้ ถึงได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29] มีการวางผังตามผลิตภณั ฑ์ (Product Layout) ซงึ่ เป็นการจัดวาง เครื่องจักรตามลาดบั ความต้องการใชเ้ ครอ่ื งจักรเพื่อใช้ในการผลติ หรอื การ ใหบ้ รกิ ารสินค้าหรือผลติ ภัณฑ์แต่ละชนดิ สามารถใช้เครื่องจักรเฉพาะหรือ กล่าวไดว้ า่ การผลติ สนิ ค้าแต่ละชนดิ จะไม่ใช้เครื่องจกั รในการผลิตรว่ มกนั ดังภาพท่แี สดงผังตามผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงเหมาะสาหรับการผลิตประเภทตอ่ เนื่อง ที่มีลักษณะเป็นตงั เอส (S-shape) กาลังการผลิตของบริษัท MM จากดั มดี ังน้ี 1. เคร่อื งจกั รผลิตสินค้าประเภทแท่งจานวน 3 เคร่อื ง 2. เคร่อื งจกั รผลิตสินคา้ ประเภท ถ้วย โคน หลอด จานวน 3 เคร่ือง กาลงั การผลิต ของเคร่ืองจักรรวมทุกประเภทไดป้ ระมาณ 3,500 ตันตอ่ ปี ปัจจุบนั ผลติ อยทู่ ี่ 2,000 ตนั ต่อปี เครอื่ งจักรมีกาลังผลิตเพียงพอสาหรับ รองรบั การเจริญเติบโตของยอดขายในอนาคต มีกาลังการผลติ คิดเปน็ รอ้ ย ละ 57 ซึ่งมกี าลงั การผลติ เพยี งพอท่ีจะรองรบั การเตบิ โตของยอดขายใน อนาคต โดยสามารถรองรบั การเตบิ โตของยอดขายได้ถึงร้อยละ 43

302 ตารางท่ี 11.4 ข้อมลู พ้ืนฐานของสถานประกอบการกรณศี ึกษาบรษิ ัท MM จากัด (ต่อ) หัวข้อ รายละเอยี ด การพยากรณ์ ยอดขายไอศรีมข้ึนอยู่กับฤดูกาลและกลุ่มลูกค้า วิธีการพยากรณ์เริ่ม การผลิต จากการคานวณยอดขายแต่ละเดือนโดยนาข้อมูลจากฝุายตลาดเพ่ือ วางแผนและมกี ารปรบั แผนการผลติ หากยอดขายลดลง การจัดการ ใช้วิธีการขนส่งทางรถยนต์ซึ่งมีข้อจากัดในเรื่องของรถท่ีต้องเป็นรถ โลจิสติกส์ ห้องเย็นเท่านั้น การบริหารการขนส่งโดยสถานประกอบการแห่งนี้เลือกใช้ สามรปู แบบ คอื 1. การมีหนว่ ยจดั ส่งเป็นของตนเองซึ่งมีการลงทนุ ในดา้ นยานพาหนะ พนักงานฝาุ ยปฏิบัติการขนสง่ รวมไปถงึ ฝุายซ่อมบารุง 2. การจัดให้มีคู่สญั ญาทางดา้ นการขนส่งเป็นการจดั จา้ งผู้รบั เหมา ด้านการขนส่งในรปู แบบเฉพาะตามทีต่ อ้ งการใช้ การจดั จา้ งจะดาเนนิ การ ในลักษณะของการทาสัญญาวา่ จา้ งรายปี 3. การจัดหาผู้ขนส่งท่ัวไปเป็นการจัดจ้างผู้รับเหมาในด้านการขนส่ง ท่มี คี วามสามารถในการใหบ้ ริการขนส่งในหลายรูปแบบตามต้องการ การบรหิ าร สถานประกอบการมีคลังสินคา้ เปน็ ของตนเองและดาเนินการบริหาร สินคา้ คงคลงั คลังสนิ คา้ ดว้ ยตนเองประกอบด้วยคลังเก็บวัตถุดิบและสินค้าสาเร็จรูป โดย ลงทุนทงั้ ในดา้ นสถานทแี่ ละอุปกรณ์เครือ่ งมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในคลงั สินค้า การควบคมุ คุณภาพ 1. ไดร้ ับรองคุณภาพในเร่ืองหลกั เกณฑ์ที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Product : GMP) 2. ไดร้ บั การรับรองให้จดั จาหน่ายแกก่ ล่มุ ลูกค้ามุสลมิ (Halal) 3. ผา่ นการรับรองการวเิ คราะห์อนั ตรายจุดควบคุมวิกฤต (Hazard Analysis and Critical Control Point : HACCP) 4. สถานประกอบการมีการทากจิ กรรม 5 ส อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดมา การบารงุ รักษา เครอ่ื งจกั รหลักทใี่ ชอ้ ยู่มี 2 ส่วน คือ เครือ่ งจักรและ 1. เครอ่ื งจกั รทใ่ี ช้สาหรับผลิตสินค้าประเภทแทง่ ความปลอดภยั ใน 2. เคร่ืองจักรท่ีใช้สาหรับผลิตไอศรีมประเภทถ้วย โคน และหลอดมี สถานประกอบการ อายุ การใช้งานมาแล้ว13 ปี แต่มีการทางานบารุงรักษาเชิงปูองกันใน โรงงานเพ่อื ลดการหยดุ การผลติ ระหวา่ งการทางาน (Break Down) ท่ีมา : บริษัท ฟรีซแลนด์ โปรดักส์ จากดั . (2559). เข้าถึงได้จาก :http://www.bkkicecream .com /about_us.html [2559, ธนั วาคม 29]

303 1.2 แผนผังกระบวนการผลิต การวางผังตามผลิตภัณฑ์นั้นมีจัดวางสายการผลิตให้มีกาลังการผลิตเพียงพอกับความต้องการโดยมี การเตรียมการผลิตและการผลติ ดังน้ี 1. การเตรียมการผลิต มขี ้นั ตอน ดังนี้ 1.1 การคานวณสูตร เม่ือได้แผนการผลิต ว่าจะมกี ารผลิตสนิ ค้าประเภทใดแล้ว ก็จะเข้าสู่ การคานวณสตู รในการผลิตกลา่ วคือ ตอ้ งการผลติ สนิ ค้าประเภทใด ปริมาณเทา่ ไร ในโปรแกรมคานวณ สูตรก็จะคานวณออกมาว่าตอ้ งการใช้วัตถุดิบชนดิ ใดบา้ ง และ ใช้ในปริมาณเท่าไร โดยเจ้าหน้าท่ีแผนก ผสมก็จะไปเบิกวัตถุดิบ เช่น น้าตาล นม ถั่ว ฯลฯ มาจากคลังสินค้าเตรียมไว้ ในส่วนของเจ้าหน้าท่ี ฝาุ ยวิจัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑจ์ ะเตรียมในสว่ นของ สารทีใ่ ช้สาหรับตกแต่ง กลนิ่ และ สี เตรียมไว้ 1.2 ขั้นตอนการผสม จะทาการผสมวตั ถุดบิ ท่ใี ช้ในการผลิตทั้งหมดไว้ด้วยกัน โดยวัตถุดิบ บางส่วนก่อนมีการผสม อาจจะต้องมีการต้มก่อนที่จะนามาผสม โดยขั้นตอนในการผสมจะใส่ในถัง สาหรับการผสม และให้ความร้อนท่ีอุณหภูมิ 60 0C เป็นเวลา 30 นาที ในขณะท่ีมีการต้มนี้ก็จะมี ใบพัดกวน เพอื่ การตี และ กวน วตั ถุดิบ ใหผ้ สมเข้าเป็นเนอ้ื เดียวกัน 1.3 พลาสเจอร์ไรส์ ครั้งท่ี 1 ในข้ันตอนพลาสเจอร์ไรส์ ทาเพ่ือฆ่าเช้ือ โดยวิธีการผ่าน ความร้อนที่ อณุ หภูมิ 72-74 0C 1.4 โฮโมจไี นซ์ (Homogenize) ท่ี 170 - 220 Kp/cm2 1.5 พาสเจอร์ไรสค์ ร้ังท่ี 2 โดยการผ่านความรอ้ น เพ่อื การฆ่าเช้อื ทีอ่ ณุ หภมู ิ 85 0C 40 วินาที 1.6 ทาให้เย็น (Cooling) ให้เย็นลงในเวลาอันรวดเร็วที่อุณหภูมิ 4 0C เพื่อเป็นการ ช็อคเชื้อ ให้ สว่ นผสมดงั กล่าวสะอาด ปลอดภัย และไดต้ ามมาตรฐานในการผลิตสนิ คา้ ประเภทอาหาร 1.7 บ่ม (Aging) 0 - 4 0C 1 คืน (อย่างน้อย 4 ชั่วโมง) และเติมกล่ินและสีที่ทางแผนกวิจัยและ พัฒนาได้เตรียมไว้ หลังจากน้ันก็จะส่งน้าท่ีได้จากการผลิตไปตามท่อเพื่อเข้าสู่กระบวนการผลิตต่อไป หลังจากท่ีได้น้าไอศครีมท่ีเตรียมไว้สาหรับการผลิตแล้ว ก็จะเข้าสู่กระบวนการผลิต โดยขึ้นอยู่กับว่า สนิ คา้ ดังกล่าวเป็นสินคา้ ประเภทแท่งหรอื เป็นประเภท ถว้ ย โคน หลอด กจ็ ะส่งน้าไอศครีมดงั กล่าวเข้า สเู่ คร่อื งจักรท่ใี ชส้ าหรบั การผลติ ต่อไป 2. ข้ันตอนการผลติ ขั้นตอนการผลิตหลักคือ การผสม (Mixing) และพาสเจอร์ไรส์ (Pasteurize) หลังจาก นั้นจะแบ่งออกเป็นสายการผลิต ซ่ึงถูกจัดให้เป็นการวางผังโรงงานเป็นการกาหนดผังการทางานและ การใช้ทรัพยากรตามลาดับการผลิต เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าที่มีปริมาณมาก ( Standard Product) และมีการดาเนินงานซ้าๆ กันใช้กับการผลิตต่อเน่ืองเป็นการวางเคร่ืองจักรตามชนิดของ ผลติ ภณั ฑท์ ่ีผลิต โดยในแต่ละสายการผลิต (Production Line) หรือสายการประกอบ (Assembly Line) เครื่องจักรจะวางเรียงตามลาดับตามแต่ความเหมาะสมของงานแต่ละอย่าง ลักษณะของผังโรงงาน ประเภทนจี้ ะเป็นการผลิตสินค้าชนิดเดียวหรือสินค้าหลายชนิดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันแบบต่อเนื่องซ่ึง เป็นการผลิตมีสายของผลติ ภัณฑแ์ บง่ ออกเปน็ สายการผลิต (Product line) ต่างๆ ได้แก่ สายการผลิต ที่ 1 กระบวนการผลิตสินค้าประเภทแท่งและสายการผลิตที่ 2 กระบวนการผลิตสินค้า ถ้วย โคน หลอด เปน็ ตน้ ซึ่งแสดงไวใ้ นแผนภาพท่ี 11.5 พร้อมรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

304 แผนภาพท่ี 11.5 ข้ันตอนการผสม (Mixing) และพาสเจอร์ไรส์ (Pasteurize) ท่ีมา : ดดั แปลงจากบรษิ ัท ฟรีซแลนด์ โปรดักส์ จากัด (2559) เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29] สาหรับตวั อย่างกรณีศึกษาในครงั้ นข้ี อนาเสนอเฉพาะ กระบวนการผลิตสนิ ค้าของสายการผลติ สนิ ค้า ไอศครมี ประเภทแท่ง ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้

305 1. การส่งน้าไอศครีมเข้าสู่เคร่ืองจักรท่ีใช้สาหรับผลิตสินค้าประเภทแท่ง โดยน้าไอศครีมที่ใช้ สาหรบั การผลติ จะเป็นท้งั ตวั เนอื้ และตวั เคลือบ 2. เนื้อไอศครมี จะผ่านการป่ันด้วยเคร่ืองเจลมาร์ค เพื่อให้ส่วนผสมละเอียดและเข้ากันทาให้ เน้อื ไอศครมี นมุ่ และละเอียด ฟู เปน็ เนอ้ื เดยี วกัน 3. สนิ ค้าบางประเภท ทีม่ ีการเติมเนื้อผลไมแ้ ละธัญญาพชื กจ็ ะมีการเติมเน้ือโดยใช้เคร่ืองฟรุต ฟรีดเดอร์เพื่อการเพ่ิมช้ินเนื้อผลไม้และเนื้อธัญญาพืชเพ่ือการเพิ่มความเข้มข้นและความอร่อยให้กับ สินคา้ มากขึ้น 4. ในส่วนของตวั เคลอื บ กจ็ ะผา่ นมาทางท่อเช่นเดียวกัน โดยตัวเคลือบก็จะเป็นตัวท่ีหยอดลง ในโมลด์ ก่อนและจะมีตวั ดดู นา้ ออกจากโมลด์ก็จะได้ตัวเคลือบตามท่ีต้องการ หลงั จากนั้นจะหยอดเนื้อ ไอศครมี ลงไป 5. หยอดไอศครมี ดว้ ยสถานีหยอด ตรงสถานนี ้กี จ็ ะทาการหยอดไอศครีมท้ังเน้ือและตัวเคลือบ ลงไป 6. ทาการ Freezing ที่อณุ หภูมิ - 30 0C เพ่ือให้เนอื้ ไอศครีมแขง็ ตัวทีร่ ะดบั หน่งึ 7. ทาการปักไม้ ที่สถานีปักไม้ โดยเคร่ืองนี้มีหน้าท่ีในการปักไม้ลงไปในไอศครีมและไอศครีม ได้ผ่าน เครื่องจักรไปเรื่อยๆ โดยการให้โมลด์ไอศครีมผ่านท่ีอุณหภูมิที่ - 30 0C จนกระท่ังไอศครีมจับ ตวั 8. สถานีฉีดน้าร้อนใต้โมลด์ สถานีนี้มีหน้าท่ีฉีดน้าร้อนเข้าใต้โมลด์ เพื่อให้ไอศครีมท่ีติดกับ โมลด์ละลาย เพ่ือง่ายตอ่ การถอดไอศครมี ออกจากโมลด์ 9. สถานีดึงไอศครีม เม่ือผ่านกระบวนการฉีดน้าร้อนแล้ว เครื่องจักรก็จะหนีบท่ีไม้ไอศครีม เพอ่ื ดงึ ไอศครมี ออกจากโมลด์ 10. สถานเี คลือบถ่ัวและช็อคโกแลต ไอศครีมบางประเภทที่มีการเคลือบช็อคโกแล็ตและถ่ัว ก็ จะมีการจ่มุ เพือ่ เคลอื บช็อคโกแลตและถัว่ ในกระบวนการน้ี 11. หลังจากได้เป็นไอศครีมแล้วก็เข้าสู่กระบวนการบรรจุซอง โดยที่สินค้านั้นจะไหลไปตาม รางแล้วทาการบรรจซุ อง จนไดเ้ ป็นไอศครมี ท่ีสมบูรณ์ 12. ไอศครีมท่บี รรจุซองเรยี บรอ้ ยแลว้ ก็จะถกู บรรจุกล่อง และทาการแพ็คกลอ่ ง 13. ไอศครีมท่ีได้บรรจุกล่องเรียบร้อยแล้วก็จะถูกส่งไปตามราง เพ่ือส่งต่อไปยังคลังสินค้าท่ี อณุ หภูมติ ่ากว่า -18 0C เพ่ือการเกบ็ รักษาสนิ ค้า และ ส่งตอ่ เพ่ือการขายต่อไป

306 แผนภาพที่ 11.6 ขั้นตอนการผลิตไอศกรมี ประเภทแทง่ ทม่ี า : ดัดแปลงจากบริษัท ฟรีซแลนด์ โปรดกั ส์ จากดั (2559) เขา้ ถึงได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29]

307 ภาพตวั อยา่ งกระบวนการผลิตไอศครมี ประเภทแท่ง ภาพที่ 11.6 โรงงานและเคร่ืองจักรสาหรบั การผลิตสินคา้ ประเภทแท่ง ท่ีมา : ดดั แปลงจากบรษิ ัท ฟรซี แลนด์ โปรดักส์ จากัด (2559) เขา้ ถึงได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29] ภาพท่ี 11.7 จดั เตรียมวัตถุดิบเพือ่ เป็นส่วนผสมในไอศกรีม ทม่ี า : ดดั แปลงจากบรษิ ัท ฟรซี แลนด์ โปรดกั ส์ จากัด (2559) เข้าถงึ ได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29]

308 ภาพท่ี 11.8 ใสถ่ งั บ่ม ทม่ี า : ดดั แปลงจากบริษัท ฟรซี แลนด์ โปรดกั ส์ จากดั (2559) เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29] ภาพที่ 11.9 ข้ันตอนการผสม ท่ีมา : ดัดแปลงจากบริษัท ฟรซี แลนด์ โปรดักส์ จากดั (2559) เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29]

309 ภาพท่ี 11.10 หยอดเนื้อไอศครมี ที่มา : ดัดแปลงจากบริษัท ฟรีซแลนด์ โปรดกั ส์ จากัด (2559) เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29] ภาพท่ี 11.11ดดู เพือ่ ทาตวั เคลอื บ ทม่ี า : ดัดแปลงจากบรษิ ัท ฟรีซแลนด์ โปรดักส์ จากัด (2559) เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29]

310 ภาพท่ี 11.12 ไอศกรมี เข้าสกู่ ารปักไม้ ทม่ี า : ดดั แปลงจากบริษัท ฟรีซแลนด์ โปรดักส์ จากดั (2559) เข้าถงึ ได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29] ภาพที่ 11.13 กระบวนการปักไม้ ที่มา : ดัดแปลงจากบรษิ ัท ฟรซี แลนด์ โปรดักส์ จากัด (2559) เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29]

311 ภาพท่ี 11.14 ฉดี น้าร้อนและหนีบ ทีม่ า : ดัดแปลงจากบริษัท ฟรีซแลนด์ โปรดกั ส์ จากัด (2559) เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29] ภาพท่ี 11.15 ขนั้ ตอนการจุม่ เคลอื บ ทม่ี า : ดัดแปลงจากบรษิ ัท ฟรีซแลนด์ โปรดักส์ จากัด (2559) เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29]

312 ภาพที่ 11.16 ขน้ั ตอนการลาเลียง ทม่ี า : ดดั แปลงจากบริษัท ฟรซี แลนด์ โปรดกั ส์ จากัด (2559) เข้าถึงไดจ้ าก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธันวาคม 29] ภาพที่ 11.17 ขน้ั ตอนการบรรจุซอง ที่มา : ดดั แปลงจากบรษิ ัท ฟรซี แลนด์ โปรดกั ส์ จากัด (2559) เข้าถงึ ไดจ้ าก

313 http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29] ภาพที่ 11.18 ขั้นตอนการบรรจลุ งกล่อง ท่มี า : ดดั แปลงจากบรษิ ัท ฟรซี แลนด์ โปรดกั ส์ จากัด (2559) เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29] ภาพท่ี 11.19 ขน้ั ตอนการขนยา้ ยและจดั เกบ็ ท่ีมา : ดดั แปลงจากบรษิ ัท ฟรซี แลนด์ โปรดักส์ จากดั (2559) เข้าถึงไดจ้ าก

314 http://www.bkkicecream.com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29] ตอนท่ี 2 สภาพปญั หาและสถานการณ์ปัจจุบนั ในกระบวนการผลติ นัน้ สถานประกอบการแห่งนี้มสี ภาพปัญหา ดังนี้ 1. เกิดการสูญเสียในด้านต้นทุนการผลิตลง ยังไม่ได้มีการจัดทาระบบการซ่อมบารุงเคร่ืองจักรที่มี ประสทิ ธิภาพโดยการกาหนดโปรแกรมการซ่อมบารุงเครื่องจักรและการตรวจติดตามที่มีประสิทธิภาพ รวมถงึ การกาหนดจุดวกิ ฤติท่ีพบว่าเกดิ การสูญเสียบอ่ ยคร้งั และเปน็ จานวนมาก 2. ยังไม่มีการทาการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับรอบการขายสินค้าและควบคุมระดับสินค้าให้ เหมาะสม ด้วยการวิเคราะห์รอบการขายสินค้าและการคานวณหาปริมาณการผลิตสินค้าที่เหมาะสม จัดทามาตรฐานและวธิ ีการควบคุมสนิ คา้ คงคลงั ท้ังวตั ถุดิบคงคลังและสนิ ค้าสาเร็จรูปท่เี หมาะสม 3. ไดต้ ระหนกั ถงึ ความรนุ แรงของราคาวัตถดุ ิบท่มี ีการปรบั ตัวสูงข้ึน และพยามยามหาทางแก้ไขปัญหา น้ี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในตอนนี้คือ การจัดซื้อวัตถุดิบในคราวละมาก ๆ มาเก็บเป็นสต็อกสินค้า แต่ก็เป็นการแก้ไขปัญหาระยะสั้นเท่าน้ันและในอนาคตอาจจะต้องมีการปรับราคาสินค้าบางตัวเพ่ือ รกั ษาฐานกาไร ตอนที่ 3 แนวทางการพฒั นาและยกระดบั สถานประกอบการ 1. ลดการสูญเสียในด้านต้นทุนการผลิตลง สถานประกอบการควรจัดทาระบบการซ่อมบารุง เครอื่ งจกั รท่ีมปี ระสทิ ธิภาพโดยการกาหนดโปรแกรมการซ่อมบารุงเครื่องจักรและการตรวจติดตามที่มี ประสทิ ธิภาพ รวมถึงการกาหนดจุดวกิ ฤติทพี่ บว่าเกดิ การสญู เสียบอ่ ยครงั้ และเปน็ จานวนมาก 2. ทาการวางแผนการผลิตใหส้ อดคลอ้ งกับรอบการขายสินค้าและควบคุมระดับการบริหารคลังสินค้า ให้เหมาะสม ด้วยการวิเคราะห์รอบการขายสินค้าและการคานวณหาปริมาณการผลิตสินค้าท่ี เหมาะสมจัดทามาตรฐานและวิธีการควบคุมสินค้าคงคลังท้ังวัตถุดิบคงคลังและสินค้าสาเร็จรูป ที่ เหมาะสม ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสาเรจ็ ในการบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน 1. หากมองถึงภาพรวมของสถานประกอบการ พบว่ากระบวนการผลิตขึ้นอยู่กับเคร่ืองจักร และการตรวจสอบคุณภาพตั้งแต่ขั้นตอนการรับวัตถุดิบจนกระท่ังผลิตเสร็จพร้อมจัดส่งท้ังน้ีทาง สถานประกอบควรมีแผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ คอยตรวจสอบคุณภาพในทุกข้ันตอนเพื่อให้ สนิ คา้ สะอาด ปลอดภยั กบั ผู้บรโิ ภคเนื่องจากเปน็ สนิ คา้ ประเภทอาหาร 2. สร้างเครอื ข่ายผ้ปู อู นปัจจยั การผลติ ทใี่ ห้ต้นทุนการผลติ ตา่ แตม่ สี นิ ค้าทไี่ ด้คุณภาพ 3. ธุรกิจไอศครมี เปน็ ธุรกิจทีม่ ที ศิ ทางในการเตบิ โตอย่างตอ่ เนอื่ ง 4. สรา้ งขอ้ ได้เปรยี บทางการแข่งขันในตวั ตราสนิ คา้ ยังให้เปน็ ท่รี จู้ ัก ส่งเสริมการขายให้มากข้นึ

315 บทสรปุ หลังจากที่นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษาทั้งจาการฝึกฝนวิเคราะห์กรณีศึกษาหรือจะเป็น การ ได้รับประสบการณ์จากการเข้าศึกษาในสถานประกอบการจริงก็ตาม ต่างก็เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ ทางด้านการบริหารการผลิตและการดาเนินงาน อีกท้ังยังสามารถนาไปปรับใช้กับการปฏิบัติงาน รวมทั้งนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย นอกจากนี้ประโยชน์ทางอ้อมยังมีหลากหลาย เช่น ฝึกฝน การปฏิบัติงานแบบมีสว่ นรว่ มและความสามัคคใี นหมคู่ ณะ สาหรับแนวทางการศึกษาสาหรับการศึกษาแบบใช้กรณีศึกษาน้ันจึงเป็นเป็นเครื่องมือสาคัญในการ สร้าง ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหัวข้อหรือประเด็นท่ีกาลังอยู่ในความสนใจขณะท่ีผู้เรียนรวมทั้ง สมาชิกกลุ่มจะได้ใช้ กรณีศึกษาเพื่อท่ีจะทาการตรวจสอบ ประเมิน วิเคราะห์และสนทนา กันภายใน กล่มุ ซึง่ จะนามาสู่การระบุถึงปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบันท่ีแท้จริงในสถานประกอบการซึ่งเป็นส่วน หน่งึ ของปญั หาธุรกิจของประเทศ ดงั นัน้ ขอให้นกั ศกึ ษาได้ภูมใิ จในการเป็นส่วนหนึ่งของการรับรู้ปัญหา และเป็นการจุดประกายให้มีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาระดับประเทศได้อย่างมีประสิทธิผล ต่อไป

316 คาถามและกิจกรรมทา้ ยบทที่ 11 ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มสืบคน้ จากแหล่งทุติยภมู หิ รือแหล่งปฐมภมู โิ ดยทาหนงั สือขออนุญาตเขา้ ศกึ ษา สถานประกอบการ และทารายงานฉบับสมบรู ณ์พร้อมนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี นโดยตอบคาถามตามหวั ข้อ ตอ่ ไปนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐานและกระบวนการผลติ ของสถานประกอบการ 1.1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานประกอบการ ตารางที่ 11.5 แนวทางการตอบข้อมูลพืน้ ฐานของสถานประกอบการ หวั ข้อ รายละเอยี ด ท่อี ยู่ ตัง้ อยูท่ ่ีใด อาจจะมีแผนที่ประกอบ ประเภทธรุ กจิ ธุรกจิ จดั อย่ใู นอุตสาหกรรมประเภทใด กระบวนการผลติ มขี น้ั ตอนการผลิตอย่างไร ควรบอกเป็นลาดบั ขน้ั ตอนและควร แสดงแผนผงั เพื่อประกบคาอธบิ าย วตั ถุดิบและแหล่งวตั ถดุ บิ มอี งค์ประกอบอะไรบ้าง แหล่งวัตถุดบิ มาจากแหลง่ ใด ใครบ้างเป็น ปอู นปัจจัยการผลิต ภาพรวมของสถานการณ์ใน ปรมิ าณและโอกาสการขยายตัวทางการตลาด เป็นตน้ ปจั จบุ ันและแนวโนม้ ทางการตลาด ลกั ษณะ การออกแบบและ อาจจะมีภาพประกอบจะชว่ ยใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจท่ีงา่ ยขน้ึ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระบบการจาหนา่ ย ราคาขายต่อหนว่ ย ตน้ ทนุ ต่อหน่วย หรอื ข้อมลู จดุ คุ้มทนุ เป็นตน้ หมายเหตุ : หากเปน็ สนิ ค้าในธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมโดย ส่วนใหญ่มักมขี ้อมูลจากัด หรือองค์การธุรกจิ นัน้ ๆ มิได้มกี ารจัดทา ไว้ นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถามสมั ภาษณ์และ นามาคานวณเองได้ การเลอื กทาเลที่ตั้ง การเลือกทาเลท่ีต้ังใช้หลกั การใดมคี วามเหมาะสมหรอื ไม่อย่างไร การวางผงั โรงงาน สถานประกอบการมีระบบการวางผังโรงงานแบบใด กาลงั การผลติ เช่น เคร่ืองจกั รหลักบอกถึงกาลงั การผลิตและอายกุ ารใช้งาน การพยากรณ์การผลิต สถานประกอบการมีการพยากรณ์การผลติ ไวว้ า่ อย่างไร การจดั การโลจสิ ตกิ ส์ สถานประกอบการสามารถลดตน้ ทุน สร้างความรวดเร็วและมี การจดั การสารสนเทศอย่างไร การบรหิ ารสินค้าคงคลงั สถานประกอบการมีวิธีการบริหารสินคา้ คงคลงั อยา่ งไร

317 ตารางท่ี 11.5 แนวทางการตอบข้อมูลพ้ืนฐานของสถานประกอบการ (ตอ่ ) หัวข้อ รายละเอียด การควบคุมคุณภาพ สถานประกอบการมรี ะบบการจัดการคุณภาพอย่างไรบา้ งหรอื ควรพัฒนาให้มีระบบคุณภาพดา้ นใดบา้ ง การบารุงรักษาเครื่องจกั ร สถานประกอบการมรี ะบบการบารุงรกั ษาเครอ่ื งจักรและความ และความปลอดภัย ปลอดภยั อย่างไรบา้ ง ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.oae.go.th [2552, มกราคม 20] 1.2 แผนผงั กระบวนการผลติ ให้ผเู้ รยี นบอก บอกขนั้ ตอนการผลิต สนิ ค้า รายละเอยี ด แสดงลาดบั ข้อ การเตรียม โดยระบหุ มายเลข ปจั จัยการผลิต การควบคุม คุณภาพ แผนภาพท่ี 11.7 อธิบายการร่างแผนผงั กระบวนการผลติ ในกรณศี ึกษา ทม่ี า : ดดั แปลงจาก http://www.oae.go.th [2559, มกราคม 2] ตอนท่ี 2 สภาพปัญหาและสถานการณ์ปัจจบุ ันของการบรหิ ารการผลิตและการดาเนนิ งาน นาปญั หาอธบิ ายเป็นรายขอ้ 1.ปัญหาดา้ นปจั จยั การผลติ …………………………………………………………………………………………………. 1.1 วัสดุ ……………………………………………………………………………………………………………………….. 1.2 เคร่อื งจกั ร…………………………………………………………………………………………………………………. 1.3 คน……………………………………………………………………………………………………………………………. 1.4 ทุน………………………………………………………………………..…………………....................................... 2. ปัญหาด้านกระบวนการผลติ ………………………………………………….………………………………………….... 3. ปญั หาดา้ นผลติ ภณั ฑ์……………………………………………………………………….………………………………… 4. ความสญู เสียทัง้ เจด็ ประการ 4.1 ความสญู เสียเน่อื งจากการผลติ มากเกนิ ไป (Overproduction) อธบิ ายไดว้ า่ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..

318 4.2 ความสูญเสยี เนื่องจากการขนสง่ (Transportation) อธิบายไดว้ า่ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.3 ความสญู เสยี เน่อื งจากการจดั การสินคา้ คงคลงั (Inventory Control) อธิบายได้ว่า…………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.4 ความสูญเสียเน่อื งจากการเคลื่อนไหว (Motion) อธบิ ายไดว้ า่ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.5 ความสญู เสยี เนื่องจากกระบวนการผลิต (Processing) อธบิ ายได้ว่า…………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.6 ความสญู เสียเนื่องจากการรอคอย (Delay) อธิบายได้วา่ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.7 ความสญู เสยี เนอ่ื งจากการผลิตของเสยี (Defect) อธบิ ายไดว้ ่า…………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. หมายเหตุ : ผู้เรียนสามารถอธิบายโดยใช้ภาพประกอบ : ในสถานการณ์จริงสถานประกอบการไมไ่ ด้มปี ัญหาครบถว้ นทุกข้อ (ใหเ้ รียงปญั หา ตามลาดับจากมากไปหาน้อย) ตอนที่ 3 แนวทางการพฒั นาและยกระดบั สถานประกอบการ นาปัญหาของตอนที่สองมาอธิบายเปน็ รายขอ้ 1.ปัญหาดา้ นปจั จัยการผลติ ……………………………………………………………………………………………………… 1.1 วสั ดุ …………………………………………………………………………………………………………………………….. แนวทางการแกป้ ัญหา……………………………………………………………………….................................. 1.2 เครือ่ งจักร…………………………………………………………………………………………………………………….. แนวทางการแก้ปัญหา…………………………………………………………………………............................ 1.3 คน………………………………………………………………………………………………………………………………. แนวทางการแกป้ ัญหา…………………………………………………………………………............................. 1.4 ทุน………………………………………………………………………..…………………....................................... แนวทางการแกป้ ญั หา………………………………………………………………………….............................

319 2. ปญั หาด้านกระบวนการผลติ ………………………………………………….…………………………………………...... แนวทางการแก้ปญั หา……………………………………………………………………………......................... 3. ปัญหาดา้ นผลติ ภณั ฑ์……………………………………………………………………….………………………………….. แนวทางการแกป้ ญั หา……………………………………………………………………………......................... 4. ปจั จัยความสาเร็จทส่ี ถานประกอบการสามารถลดความสูญเสยี ทั้งเจด็ ประการ 4.1 การลดความสญู เสยี เนื่องจากการผลิตมากเกินไป (Overproduction) แกไ้ ขได้ว่า……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.2 การลดความสูญเสียเน่อื งจากการขนส่ง (Transportation) แก้ไขได้วา่ ……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.3 การลดความสูญเสียเน่อื งจากการจดั การสินคา้ คงคลัง (Inventory Control) แกไ้ ขได้ว่า……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.4 ความสญู เสยี เนื่องจากการเคลอ่ื นไหว (Motion) แก้ไขได้ว่า……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.8 การลดความสญู เสยี เนื่องจากกระบวนการผลติ (Processing) แก้ไขไดว้ ่า……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.9 การลดความสญู เสยี เนื่องจากการรอคอย (Delay) แก้ไขไดว้ ่า……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.10 การลดความสูญเสยี เน่ืองจากการผลิตของเสีย (Defect) แกไ้ ขไดว้ า่ ……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….. หมายเหตุ : ผูเ้ รยี นสามารถอธบิ ายโดยใช้ภาพประกอบ : ในสถานการณ์จริงสถานประกอบการไมไ่ ด้มีปัญหาครบถว้ นทุกข้อ (ใหเ้ รยี งการแกป้ ัญหา ตามลาดบั จากมากไปหาน้อย)

320 ตอนที่ 4 ขอ้ เสนอแนะและปัจจัยแห่งความสาเร็จในการจัดการงานผลิตและการดาเนนิ งาน นาทางแก้ของตอนที่สาม มาอธบิ ายเปน็ รายข้อ โดยมแี นวทางดังนี้ (ไม่ได้มีปญั หาทกุ ขอ้ ) 1. ปัญหาด้านปัจจัยการผลิต…………………………………………………………………………………………………….. 1.1 วัสดุ ……………………………………………………………………………………………………………………………. แนวทางการแก้ปญั หา……………………………………………………………………….............................. ขอ้ เสนอแนะ............................……………………………………………………………………………………… 1.2 เครือ่ งจกั ร…………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางการแก้ปัญหา……………………………………………………………………….............................. ขอ้ เสนอแนะ............................……………………………………………………………………………………… 1.3 คน…………………………………………………………………………………………………………………………….. แนวทางการแกป้ ญั หา……………………………………………………………………….............................. ขอ้ เสนอแนะ............................……………………………………………………………………………………… 1.4 ทุน………………………………………………………………………..…………………................................... แนวทางการแก้ปญั หา……………………………………………………………………….............................. ข้อเสนอแนะ............................……………………………………………………………………………………… 2. ปญั หาดา้ นกระบวนการผลิต………………………………………………….…………………………………………...... แนวทางการแกป้ ัญหา………………………………………………………………………..................................... ขอ้ เสนอแนะ............................…………………………………………………………………………………………….. 3. ปญั หาดา้ นผลติ ภณั ฑ์……………………………………………………………………….…………………………………. แนวทางการแก้ปญั หา………………………………………………………………………..................................... ขอ้ เสนอแนะ............................……………………………………………………………………………………………. 4. ปจั จัยความสาเรจ็ ท่ีสถานประกอบการสามารถลดความสูญเสียทงั้ เจ็ดประการ 4.2 การลดความสูญเสยี เนื่องจากการผลติ มากเกินไป (Overproduction) จะสาเรจ็ ไดด้ ้วยวิธีการ ดงั นี้ …………………………………………………………………………………………. 4.2 การลดความสญู เสยี เน่อื งจากการขนสง่ (Transportation) จะสาเรจ็ ไดด้ ว้ ยวธิ กี าร ดงั นี้ ……………………………..……………………………………………………………. 4.3 การลดความสญู เสียเน่ืองจากการจัดการสนิ คา้ คงคลัง (Inventory Control) จะสาเรจ็ ได้ดว้ ยวธิ ีการ ดงั น้ี ……………………………………………………………………………………………. 4.4 การลดความสูญเสียเนอ่ื งจากการเคล่ือนไหว (Motion) จะสาเรจ็ ไดด้ ้วยวธิ ีการ ดังน้ี ……………………………………………………………………………………………. 4.5 การลดความสูญเสียเนอ่ื งจากกระบวนการผลติ (Processing) จะสาเรจ็ ได้ด้วยวิธกี าร ดังน้ี ………………………………………………………………………………………….. 4.6 การลดความสญู เสยี เนือ่ งจากการรอคอย (Delay) จะสาเร็จได้ด้วยวธิ ีการ ดงั น้ี ………………………………………………………………………………………….

321 4.7 การลดความสูญเสียเน่ืองจากการผลติ ของเสีย (Defect) จะสาเร็จได้ดว้ ยวธิ ีการ ดงั นี้ ……………………………………………………………………………………………. หมายเหตุ : ผ้เู รียนสามารถอธบิ ายโดยใชภ้ าพประกอบ : ในสถานการณ์จริงสถานประกอบการไม่ได้มีปัญหาครบถว้ นทุกข้อ (ใหเ้ รยี งข้อเสนอแนะ ตามลาดับจากควรลงมือปฏบิ ัติก่อนหลัง)

322 เอกสารอ้างอิงบทที่ 11 การจัดการโลจิสติกส์และการบริหารสนิ ค้าคงคลงั บริเวณทา่ เรือ. [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.thai.logistics-manager.com [2560, พฤษภาคม 31] กระบวนการผลติ ไบโอดเี ซลจากปาลม์ นา้ มนั . [Online]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.siam bioenergy .com [2560, พฤษภาคม 30] ขัน้ ตอนการสกัดนา้ มนั ไบโอดีเซลจากปาลม์ นา้ มัน. (2560). [Online]. http://www.internetdict .com/mt/andwers/what-is-biodiesel-made-of.gtml [2560, มกราคม 29] เครอ่ื งต้นแบบผลติ ไบโอดเี ซล. [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.korattreat.net/node/29 [2560, เมษายน 29] จานวนโรงงานผลิตไอศกรมี ในประเทศไทย. [Online]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : www.i-cream solutions. com/page [2559, มกราคม 2] ตัวอย่างผลิตภัณฑไ์ บโอดีเซล. [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.oae.go.th [2559, มกราคม 2] นรินทร์ ตนั ไพบลู ย์. (2559). แนวโนม้ อตุ สาหกรรมไบโอดเี ซลปี 2559-2561. [Online]. เขา้ ถึงได้จากhttps://www.krungsri.com/bank/getmedia/0f148fc7-482a- 43fb-8437- e028fcf5d779/IO_Biodiesel_2016_TH.aspx [2559, สงิ หาคม 31] บรษิ ัท ฟรีซแลนด์ โปรดักส์ จากัด. (2559). [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.bkkicecream .com/about_us.html [2559, ธนั วาคม 29] เมลด็ ปาล์มและผลปาล์ม. (2558). [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.kasetcity.com [2558, พฤศจกิ ายน 9] สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2559). ข้อมูลพนื้ ฐานและ กระบวนการผลิตของสถานประกอบการ. [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://www. oae.go.th. [2559, มกราคม 2]

323 บรรณานุกรม

324

325 บรรณานกุ รม กระบวนการผลติ ทีเ่ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์วิธกี ารทีด่ ีในการผลิตอาหาร. [Online]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0352/good-manufacturing- practice-gmp [2560, พฤษภาคม 25] กระบวนการผลิตน้าอดั ลม. (2560). [Online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.foodnetwork solution.com /wiki/word/0095/carbonated-soft-drink [2560, มิถุนายน 1] กระบวนการผลิตไบโอดเี ซลจากปาลม์ น้ามัน. [Online]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.siam bioenergy .com [2560, พฤษภาคม 30] การเคลือ่ นย้ายวัตถุทางเดยี ว. (2559). [Online] เข้าถึงได้จาก http://www.ielc-libya.com [2559, มิถุนายน 12] การจดั การคลงั สนิ ค้าคงคลัง. (2560). [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.logisticsorner.com [2560, พฤษภาคม 16] การจดั การโลจสิ ติกส์และการบริหารสนิ คา้ คงคลังบรเิ วณทา่ เรอื . [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://www.thai.logistics-manager.com [2560, พฤษภาคม 31] การบารุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณร์ ะหว่างการทางาน. [Online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://doi.eng. cmu.ac.th [2560, มกราคม 27] การบารุงรักษาวัสดุอุปกรณใ์ นช่วงการไหลของงาน. [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก :http://doi.eng.cmu.ac.th [2560, มกราคม 25] การบารุงรักษาอุปกรณป์ อ้ งกันความปลอดภัยในระหวา่ งการทางาน. [Online]. เขา้ ถึงได้จาก http://doi.eng.cmu.ac.th, [2560, มกราคม 27] การใช้เคร่อื งจักรช่วยในการเคลือ่ นยา้ ยขนส่งวัตถุดิบ. (2559). [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.brownplanthire .com [2559, มิถนุ ายน 23] การทางานกับเครือ่ งจกั รและการเวน้ ช่องทางเดิน. (2559). [Online] เขา้ ถึงได้จาก http://www .headlightmag.com [2559, มถิ ุนายน 22] การบรหิ ารงานผลติ ในงานอุตสาหกรรม. (2559). [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.nsru. ac.th [2559, เมษายน 9] การบริหารสินคา้ คงคลงั . (2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://e- learning.mfu.ac.th [2559, กรกฎาคม 13] การประกอบเคร่อื งบินซึง่ เป็นตวั อย่างการวางผงั แบบคงท่ี. (2559). [Online]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.bloggang.com [2559, มิถนุ ายน 22] การผลิตลูกฟตุ บอล. (2559). [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก http://annkomnaun.blogspot.com [2559, มกราคม 16] การเลือกทาเลทตี่ งั้ ธรุ กิจผลิตระดบั เขต. (2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.Konbaan

326 .com [2559, กมุ ภาพันธ์ 11] การเลือกทาเลท่ตี ้ังอุตสาหกรรมผลิตระดับประเทศ. (2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.amata.com [2559, กมุ ภาพนั ธ์ 11] การเลอื กทาเลท่ีตัง้ ธรุ กจิ ผลิตระดับพ้ืนที่. (2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thai techno. net [2559, กุมภาพนั ธ์ 11] การวางผงั โรงงานโดยใช้หุน่ จาลอง. (2559). [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://plaza.212café .com [2560, มกราคม 2] การวางแผนความตอ้ งการวัสดุ. (2559). [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.pimtraining .com, [2559, กุมภาพันธ์ 19] การสัง่ ซอ้ื สนิ ค้าผ่านระบบพาณชิ ยอ์ เิ ลคทรอนิกส์. (2552). [Online]. เข้าถึงได้จาก http://www. teeneemarket.com [2552, มกราคม 31] การวางผังสานักงานเป็นหมวดหมูเ่ พอ่ื สะดวกในการประสานงาน. (2559). [Online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.cdc.gov.tw [2559, มถิ นุ ายน 25] การใหบ้ รกิ ารทางการพยาบาล. (2559). [Online]. เขา้ ถึงได้จาก http://www.jobnorth thailand.com [2559, กมุ ภาพันธ์ 9] กตัญญู หริ ัญญสมบรู ณ.์ (2545). การบริหารอตุ สาหกรรม. ฉบับปรบั ปรุงแก้ไข. กรุงเทพฯ : เท็กซ์ แอนด์ เจอรน์ ัล พับลิเคชน่ั . กมลชนก สทุ ธิวาทนฤพุฒแิ ละคณะ. (2547). การจดั การโซ่อุปทานและโลจิสติกส์. กรุงเทพฯ : ท้อปแมคกรอฮิล. กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 10. (2550). โครงการสร้างและพฒั นาบริกรธุรกิจอุตสาหกรรม. สุราษฎรธ์ านี. กฤช ชาวดอน. (2544). การพยากรณอ์ ปุ สงค์ในหว่ งโซ่อุปทานสาหรบั การจดั การสนิ คา้ คงคลงั ท่ี เหมาะสม. มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.กรุงเทพฯ กิติศักด์ิ พลอยพานิชเจริญ. (2553). หลกั การควบคมุ คณุ ภาพ. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 5). กรุงเทพฯ : สมาคม สง่ เสริมเทคโนโลยีไทย-ญ่ีปุน. เกษม พิพฒั น์บัญญานุกลู และธีรวัฒน์ สมสริ ิกาญจนคณุ . (2535). การวางแผนและควบคุม การผลติ . คณะวิศวกรรมเทคโนโลยี เทเวศ สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล. (พมิ พค์ รัง้ ที่ 4). กรุงเทพฯ : ประกอบเมไตร. โกศล ดศี ลี ธรรม. (2551). Modern Business Logistic & Supply Chain Management: how to make companies globally competitive โลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน สาหรบั การแขง่ ขันยคุ ใหม่. กรงุ เทพฯ : ฐานบ๊คุ ส์. ข่าวสารเกย่ี วกบั ปาล์มน้ามนั เกษตรซิตด้ี อทคอม. (2559). [Online] เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www. kasetcity.com [2559, พฤศจกิ ายน 13] ข้นั ตอนการสกัดน้ามันไบโอดีเซลจากปาลม์ นา้ มนั . (2560). [Online]. http://www.internetdict .com/mt/andwers/what-is-biodiesel-made-of.gtml [2560, มกราคม 29]

327 ความสาคัญของการจัดการโลจิสตกิ ส์. (2559). [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.jb- mhg .com//logistic System [2559, มิถุนายน 30] ความสูญเสียเน่อื งจากการรอคอย. [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://doi.eng.cmu.ac.th [2560, มกราคม 25] ความหมายการจดั การสินค้าคงคลัง. (2552). [Online] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.luckydrag onlogistics [2552, กรกฎาคม 16] คานาย อภิปรชั ยาสกุล. (2557). การบรหิ ารการผลิต. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรงุ เทพฯ : ดวงกมล สมัย. ______. (2559). ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อมการขนสง่ . (พิมพ์ครัง้ ที่1). กรงุ เทพฯ : โฟกัสมเี ดีย แอนด์ พบั ลชิ ง่ิ จากดั . ______. (2550). โลจสิ ตกิ ส์และการจดั การซัพพลายเชน : กลยุทธ์สาหรบั ลดตน้ ทุน และเพิ่มกาไร. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ : กัสมเี ดยี แอนด์ พบั ลชิ ช่งิ จากดั . เครอ่ื งต้นแบบผลติ ไบโอดเี ซล. [Online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.korattreat.net/node/29 [2560, เมษายน 29] จฑุ า เทียนไทย. (2543). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ : รเี อ็นจิเนียรง่ิ กบั สงั คมไทย. คณะ บริหารธุรกิจ. (พมิ พ์ครง้ั ท่3ี ). กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. จานวนโรงงานผลิตไอศกรีมในประเทศไทย. [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก : www.i-cream solutions. com/page [2559, มกราคม 2] ชลิต มธรุ สมนตรีและคณะ. (2544). กระบวนการผลติ . ภาควชิ าวศิ วกรรมอตุ สาหการ คณะ วทิ ยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. นนทบุรี : เจริญร่งุ เรอื งการพมิ พ์. ชยั ยศ สนั ติวงษ.์ (2546). การบริหารการผลิต. (พมิ พ์คร้งั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : ประชุมช่าง. สถาบันราชภฏั พระนคร. ชุมพล ศฤงคารศิริ. (2541). การวางแผนและควบคมุ การผลิต. (พมิ พ์ครัง้ ที่ 12). กรงุ เทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยไี ทย-ญ่ปี ุน. ไชยยศ ไชยมั่นคงและมยุขพนั ธ์ุ ไชยมั่นคง. (2550). Logistics and Supply Chain Strategy Competing in the global market กลยทุ ธโ์ ลจิสตกิ ส์และซพั พลายเชนเพ่อื แขง่ ขันใน ตลาดโลก. กรุงเทพฯ : ซี.วาย. ซสิ เท็มพร้ินต้ิง จากัด. ฐาปนา บุญหล้า. (2549). โลจิสตกิ ส์ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญ่ปี นุ . . และและนงลักษณ์ นมิ ิตภูวดล. (2555). การจัดการโลจิสติกส์มิตซิ พั พลายเชน. กรงุ เทพฯ : ซีเอด็ ยเู คช่นั . ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2542). การจัดการผลิตและการดาเนินงาน. (พิมพ์ครั้งท่ี 1). กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . และคณะ. (2545). TQM กลยุทธส์ ร้างองค์การคุณภาพ. กรงุ เทพฯ : เอก็ เปอร์เนต็ . ณฐา คุปตษั เฐียร. (2558). การวางแผนและควบคมุ การผลิต. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ หง่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook