Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน is1

หนังสือเรียน is1

Published by pepsilovelovelove, 2020-07-16 23:24:06

Description: หนังสือเรียน is1

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานเก่ียวกับการวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์ การวิจยั เปน็ การหาความรู้ความจริงอยา่ งมีระบบ เป็นความพยายามในการทีจ่ ะตอบ คาถามอยา่ งมรี ะบบ วิธีการหาความรู้ทางสังคมศาสตร์ที่น่าเชื่อถอื ไดใ้ นปัจจุบันจงึ ใช้วธิ ีการ ทางวทิ ยาศาสตร์ การวิจยั เป็นศาสตร์ทีไ่ ด้พัฒนาใหเ้ จริญก้าวหน้ามาเปน็ ลาดบั จากอดีตสูป่ ัจจุบัน ผลการวจิ ยั ชว่ ยให้มนุษย์มคี วามรคู้ วามเข้าใจ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านตา่ ง ๆ มากมาย เพือ่ ที่จะไดม้ ีความร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับการวิจัยใหล้ ะเอยี ดและกว้างขวางย่ิงข้ึน ในบทนี้จะกลา่ วถงึ ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการวิจัยทางสงั คมศาสตร์ที่สาคญั เป็นลาดับดังนี้ - ความหมายของการวจิ ยั - ศาสตรก์ ับการวิจยั - ลกั ษณะขอบขา่ ยและข้อจากัดของการวจิ ัยทางสังคมศาสตร์ - ประเภทของการวจิ ัย - วตั ถุประสงค์ของการวิจัย - คณุ ลกั ษณะของการวิจัยท่ีดี - ข้ันตอนการทาวิจยั - ประโยชน์ของการวจิ ัย - จรรยาบรรณนักวจิ ยั 1.1 ความหมายของการวจิ ัย การวิจัย มาจากคาภาษาอังกฤษว่า research ซ่ึงแปลว่า careful study or investigation (Oxford Advanced’s Dictionary. 1994 : 1073) น่ันคอื เป็นการศกึ ษา อยา่ งรอบคอบหรอื เป็นการสืบคน้ คว้าหาความรู้ความจรงิ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ซึ่งในพจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 (2538 : 765) ไดใ้ ห้ความหมายของการวจิ ยั ว่า หมายถึง การสะสม การรวบรวม การค้นควา้ เพอ่ื หาข้อมลู อยา่ งถี่ถ้วนตามหลกั วิชา นอกจากความหมายดังกล่าวข้างต้นแล้ว ไดม้ นี ักการศกึ ษาหลายท่านใหค้ วามหมายของ การวิจัยไวด้ งั น้ี สชุ าติ ประสิทธร์ิ ฐั สนิ ธุ์ (2540 : 1) กล่าวไวว้ า่ การวจิ ยั หมายถึง กระบวนการ แสวงหาความร้คู วามเข้าใจท่ีถูกตอ้ งในสิ่งทต่ี ้องการศึกษา มีการเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระเบยี บ ขอ้ มูล การวิเคราะห์และการตีความหมายผลทไี่ ด้จากการวเิ คราะห์ ทั้งนี้เพ่อื ให้ไดม้ าซึ่งคาตอบ อันถูกต้อง นงลักษณ์ วิรชั ชยั (2543 : 47) กลา่ วไว้วา่ การวจิ ยั หมายถึง การแสวงหาความรู้ ความจริงด้วยวิธกี ารท่ีมรี ะบบ มีความเช่ือถือได้ โดยอาศยั ระเบียบวิธที างวิทยาศาสตร์ เพื่อใหไ้ ด้ ความรใู้ หม่ทเ่ี ปน็ คาตอบปญั หาตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ีกาหนดไว้อยา่ งชดั เจน

2 สุวิมล ตริ กานนั ท์ (2549 : 6) กล่าวไว้ว่า การวิจัย หมายถงึ กระบวนการแสวงหา ความรู้ ขอ้ เท็จจรงิ ดว้ ยวิธีการทเ่ี ป็นระบบมีแบบแผนตามแนวทางของวธิ กี ารวิทยาศาสตร์เพอ่ื ให้ได้ ความรู้ หรือข้อเท็จจรงิ ท่ีเปน็ คาตอบท่ถี ูกตอ้ งของประเดน็ ปัญหาทตี่ ้องการศึกษา กาสกั เต๊ะขันหมาก (2553 : 22) กลา่ วไวว้ า่ การวิจัย หมายถึง การคน้ หาความรู้ ความจริงโดยใชก้ ระบวนการที่มีระบบเช่ือถือได้ ซ่ึงอาจเป็นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื กระบวนการอ่นื ใดทศี่ าสตร์ในสาขานัน้ ๆ ยอมรับ วัลลภ รฐั ฉตั รานนท์ (2554 : 3) กลา่ วไว้ว่า การวจิ ัย หมายถงึ กระบวนการ แสวงหาความรู้อย่างมรี ะบบ และมจี ดุ มุ่งหมายที่แนน่ อน ภายใต้ขอบเขตท่ีกาหนดไว้ โดยใช้วิธีการ ทางวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือใหไ้ ด้มาซึ่งความรูค้ วามจริงในสิง่ ทีว่ ิจัยนน้ั ชไมพร กาญจนกจิ สกุล (2555 : 5) กล่าวไวว้ า่ การวจิ ัย หมายถงึ กระบวนการ ในการคน้ หาคาตอบใหแ้ ก่ปัญหาหรอื คาถามของงานวจิ ยั โดยอาศัยวิธกี าร (procedure) ท่ีมรี ะบบ ระเบียบแบบแผน (systematic) เพือ่ ให้ผลการศึกษาหรือคาตอบที่ได้มีความถูกต้องและเชอ่ื ถือได้ เบสท์ และ คาหน์ (Best and Kahn. 1986 : 18) กล่าวไว้ว่า การวิจัย หมายถึง วิธกี ารเชงิ ระบบท่ีมีการบันทึกและวิเคราะห์ขอ้ มูลอย่างเปน็ ปรนยั จากผลการสงั เกตท่ีไดร้ ับการควบคมุ ซ่ึงนาไปสขู่ ้อสรุปทวั่ ไป หลกั การหรือทฤษฎีต่าง ๆ เพ่ือใชใ้ นการทานายและควบคุมเหตุการณ์ ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ที่อาจจะเกิดขน้ึ เคอรล์ งิ เจอร์ (Kerlinger. 1986 : 10) กลา่ วไว้วา่ การวิจยั หมายถึง การศึกษา ค้นคว้าอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวแปรของเหตุการณ์ ปรากฏการณท์ าง ธรรมชาติ โดยใช้วธิ ีการเชงิ ระบบ (systematic) มีการควบคมุ (control) และเป็นเชงิ ประจักษ์ (empirical) ซง่ึ คาวา่ เชงิ ระบบและมีการควบคุม หมายถึง การมีข้นั ตอนเป็นระเบียบแบบแผน สามารถตรวจสอบได้ ส่วนคาวา่ เชงิ ประจักษ์ หมายถงึ ผลทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาสามารถพิสจู นไ์ ด้ โดยใชว้ ิธกี ารอืน่ ๆ จงึ จะไดผ้ ลเชน่ เดิม เมคมิลแลน และ ชเู มกเกอร์ (McMillan and Schumacher. 1989 : 8) กล่าวไว้ว่า การวิจัย หมายถงึ กระบวนการเชงิ ระบบในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพือ่ จุดมุ่งหมายบางประการ จากความหมายขา้ งตน้ สรปุ ได้วา่ การวจิ ัย หมายถึง การศึกษาค้นคว้าหาความจริง อย่างมีระบบและระเบียบแบบแผนตามหลกั วชิ า อาศยั หลักเหตุผลที่รอบคอบ รดั กุม เช่อื ถอื ได้ เพื่อให้ไดท้ ราบถึงความรแู้ ละความจรงิ ทถ่ี ูกต้องและเช่อื ถือเพือ่ นามาแกป้ ัญหาของสงั คม หรือ เพ่ือก่อใหเ้ กิดความร้ใู หม่ 1.2 ศาสตรก์ ับการวจิ ัย นักการศึกษาได้กลา่ วถึงความหมายของศาสตร์กับการวจิ ัยดังน้ี ธรี วฒุ ิ เอกะกลุ (2552 : 4 – 6) กล่าวไว้ว่า ศาสตร์ คอื ความรู้อันประกอบด้วย แนวคดิ หรอื ตัวแปร ทฤษฎีเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแนวคดิ และวธิ ีการทใ่ี ช้การศึกษา ท่ีใชท้ ดสอบทางทฤษฎีหรอื ข้อสมมติฐาน โดยอาศัยข้อเท็จจริงทางวตั ถมุ ากกว่าจิตพสิ ยั ของผ้ศู ึกษา

3 ในด้านแนวคดิ ความแตกต่างระหวา่ งศาสตรต์ ่าง ๆ สว่ นหนงึ่ ขึน้ อยู่กบั ปรากฏการณ์ทีเ่ ป็นเป้าหมายสาคญั ของการศึกษา และอีกสว่ นหนึง่ ข้นึ อยูก่ ับแนวคิด แนวคดิ เมอื่ นามาใช้ในการวจิ ยั สามารถแยกออกเป็นตัวแปรอสิ ระและตวั แปรตาม โดยท่ตี วั แปรตามเปน็ แนวคิด ทเี่ ป็นเปา้ หมายของการวิจยั หรือปรากฏการณ์ทตี่ ้องการคาอธบิ าย ตัวแปรอิสระคอื ปจั จัย (สาเหตุ) ท่ีนาเอามาอธิบายการเปล่ียนแปลงของตวั แปรตาม ทฤษฎี หมายถงึ คาอธบิ ายปรากฏการณ์ทมี่ ีเหตมุ ผี ล ท่ีผา่ นการทดสอบ มาบา้ งแลว้ ในคาอธบิ ายนน้ั มกี ารจัดลาดับความสมั พันธเ์ ชงิ สาเหตุ (Causal Ordering) ระหว่างแนวคิดหรือตวั แปร รปู แบบความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปรไดผ้ ่านการทดสอบ และยังสามารถ ทดสอบไดใ้ นระดับใดระดบั หนึ่ง การจดั ลาดบั แนวคิดทาได้หลายรูปแบบ เช่น ในรปู แบบของ แบบจาลอง (Model) ที่ระบคุ วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรอิสระหลายตัวทีม่ ตี ่อตัวแปรตาม ศาสตรแ์ ตล่ ะศาสตร์แตกตา่ งกันในดา้ นแนวคดิ และการลาดบั ความสมั พันธ์ระหวา่ งแนวคดิ ในการวจิ ัยจะมีการเสนอแบบจาลองทีป่ ระกอบดว้ ยข้อสมมตฐิ านตา่ ง ๆ ซ่ึงได้มาจาก ทฤษฎแี ละการทบทวนวรรณกรรม หรือผลงานในอดีตรวมกันมาสร้างเป็นกรอบทฤษฎี (Theoretical Framework) หรอื กรอบแนวคดิ (Conceptual Framework) ในด้านวิธีการศึกษา นอกจากศาสตร์แตล่ ะศาสตร์จะแตกตา่ งในตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และรูปแบบของการจดั ลาดบั เชงิ เหตผุ ลระหว่างตัวแปรแลว้ ยังแตกตา่ งกันในด้าน วิธีการทีใ่ ชท้ ดสอบ เพื่อยอมรบั หรอื ปฏเิ สธข้อเสนอ หรือข้อค้นพบต่าง ๆ วิธีการทคี่ ้นหาข้อมลู และวธิ ีการทดสอบเรยี กรวม ๆ ว่า ระเบียบวธิ วี ิจัย ซง่ึ ประกอบด้วยวธิ ีการต่าง ๆ รวมทั้งการทดลอง และเครื่องมือในการเกบ็ รวบรวม การวดั และดาเนนิ งานกับขอ้ มูล การวิเคราะหแ์ ละการเขยี น รายงานการวิจยั ข้อความทกี่ ล่าวมาข้างต้น สามารถนามาใช้อธบิ ายลักษณะของสงั คมศาสตร์ หรือพฤตกิ รรมศาสตร์ หรือศาสตรใ์ นสาขาตา่ ง ๆ ท่ีศึกษามนุษย์ในสังคม ดว้ ยเหตทุ ี่ไม่มีผ้ใู ดจะศึกษา และเรียนรู้ทุกส่งิ ทกุ อยา่ งเก่ียวกับมนุษย์ในสังคมได้ จงึ ไดม้ ีการแบง่ การศกึ ษาพฤติกรรมของมนุษย์ สงั คมออกเปน็ สาขาวิชาตา่ ง ๆ คือ สังคมวทิ ยา เศรษฐศาสตร์ รฐั ศาสตร์ จิตวทิ ยาสงั คม มานษุ ยวิทยา พฤตกิ รรมศาสตร์ รฐั ประศาสนศาสตร์ และนิติศาสตร์ แตล่ ะสาขาวิชามปี ระวตั ิ ความเปน็ มาของตนเอง มีความนา่ สนใจและมีเนอื้ หาเฉพาะดา้ น มวี ิธกี ารศึกษาและการคน้ คว้า ทเี่ ปน็ ลกั ษณะเด่นของวิชา แต่เนือ่ งจากพื้นฐานของวิชาตา่ ง ๆ เหล่านี้เกยี่ วข้องกบั มนษุ ย์ในสงั คม จึงไม่สามารถแบ่งแยกออกจากกนั ได้อย่างเดด็ ขาด นอกจากนี้ในชวี ิตจริงของมนุษย์เร่ืองต่าง ๆ ไม่ได้มกี ารแบ่งแยกออกจากกันเป็นหมวดหมอู่ ย่างมรี ะเบียบ ตามการแบ่งแยกสาขาวชิ าการทีเ่ ปน็ อยู่ ในปัจจุบนั การศึกษาระหวา่ งสาขาหรอื แบบสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) จึงเปน็ สงิ่ ทเ่ี กิดขนึ้ อย่เู สมอและควรเป็นสิ่งท่ีเกดิ ขึน้ การวจิ ัยทางสังคมศาสตร์มจี ุดม่งุ หมายท่ีจะแสวงหาคาอธบิ ายปรากฏการณ์ทาง สงั คมทสี่ ามารถนาไปใช้อธบิ ายได้ท่วั ไปโดยอาศัยหลักวชิ าการท่ีว่า แมว้ ่าพฤติกรรมและความรู้สึก นกึ คิดของมนษุ ยแ์ ตล่ ะคนจะแตกต่างกนั สงั คมแต่ละสังคมจะไมเ่ หมือนกนั แต่พฤติกรรมของมนษุ ย์ เปน็ พฤติกรรมท่ีมีแบบแผนสามารถศึกษาได้

4 แบบแผนและโครงสร้างของพฤติกรรม เปน็ สงิ่ ทีจ่ าเปน็ ตอ่ การดารงชีวิตของมนุษย์ มฉิ ะนนั้ แล้วมนุษย์แต่ละคนจะมชี ีวติ อยรู่ ว่ มกันในสังคมไม่ได้ นกั สงั คมศาสตร์จึงสามารถศึกษา พฤติกรรมของมนุษย์ของกลุ่มบคุ คล และขององค์กรไดโ้ ดยอาศัยการมรี ะเบียบวธิ ีการวจิ ัยที่เหมาะสม ทาการสงั เกต วัดการเกดิ ขึน้ ของปรากฏการณ์นนั้ ๆ และหาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ กับสิง่ อ่ืน ๆ เพื่อนามาใชอ้ ธิบายการเกดิ ขึน้ ของปรากฏการณ์ ความก้าวหนา้ และความเชอ่ื ถือได้ของวชิ าทางพฤตกิ รรมศาสตร์ ท่เี ป็นอยู่ทุกวันน้ี สว่ นหนงึ่ ขน้ึ อยกู่ ับความสามารถของนักสังคมศาสตร์ ในดา้ นระเบียบวิธีการศึกษาท่ีไดร้ ับการพฒั นา อยตู่ ลอดเวลา ทาให้เกิดความร้คู วามเข้าใจในปรากฏการณ์ สามารถนาความรูน้ ั้นมาทานาย ปรากฏการณ์ในสังคมมนษุ ย์ภายใต้เงอื่ นไขต่าง ๆ ได้ดีขน้ึ ตามลาดบั เวลา วัลลภ รฐั ฉัตรานนท์ (2554 : 23) ไดใ้ หค้ วามหมายคาวา่ ศาสตร์ หมายถึง ความร้ทู เ่ี ปน็ ระบบของธรรมชาตแิ ละโลก เป็นความรู้ทเี่ ป็นระบบอาศยั การสรา้ งและการจัด ระบบของข้อเท็จจริง มีการทดลอง ทดสอบสมมตฐิ าน และยังหมายรวมถึงความชานาญ เทคนิค หรือความสามารถที่ไดม้ าโดยการฝึกฝนและประสบการณ์ จากความหมายของศาสตร์กับการวจิ ัยข้างตน้ สรปุ ได้ว่า ศาสตร์กับการวจิ ยั จึงเป็น กระบวนการหรือวิธกี ารที่จะต้องยดึ และปฏบิ ตั ิตามในการแกป้ ญั หา เพ่ือใหไ้ ด้มาซงึ่ คาตอบหรอื คาอธบิ ายท่ีมีความถูกต้องเชือ่ ถอื ได้ ระดบั ของความถูกต้องและเช่ือถือได้ของความรู้อาจพิจารณาได้ จากวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งความรนู้ ้ัน ซง่ึ วธิ กี ารดังกล่าวได้แก่ 1.2.1 ความเชอื่ ถือ 1.2.2 การหยัง่ รหู้ รอื การทานายโดยปราศจากเหตผุ ล 1.2.3 ผ้มู อี านาจ 1.2.4 การสรุปใหเ้ หตุผลดว้ ยการอนมุ าน 1.2.5 การสรุปให้เหตุผลเชิงอปุ มาน 1.2.6 วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 1.3 ลักษณะขอบขา่ ยและข้อจากดั ของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ในปัจจบุ ันการวจิ ยั เป็นศาสตร์ทไ่ี ด้รับการยอมรับจากนักการศกึ ษาและบุคคลทัว่ ไป ในนานาอารยประเทศว่าเปน็ วธิ กี ารท่ีมีประสทิ ธิภาพในการนามาใช้ดาเนนิ การแสวงหาข้อมูล หรอื องคค์ วามร้ตู ามจดุ มงุ่ หมายไดอ้ ย่างถูกต้องแมน่ ยาและมคี วามนา่ เช่อื ถือ และสามารถท่ีจะ นาผลการวิจัยทไ่ี ด้ไปใช้ในการแก้ปญั หาและพัฒนาได้อย่างสอดคล้องความต้องการอย่างแทจ้ ริง โดยเฉพาะในวงการศึกษาได้กาหนดลกั ษณะขอบข่ายและข้อจากัดของการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ ไว้ดังน้ี (พิชติ ฤทธ์จิ รูญ. 2551 : 14 - 15) 1.3.1 ลักษณะขอบข่ายการวิจัยทางสงั คมศาสตร์ ศาสตร์ หรอื วชิ าการแขนงต่าง ๆ เปน็ องค์ความรทู้ ่ปี ระกอบดว้ ยเน้อื หาวชิ า (Content) และวธิ ีการแสวงหาความร้ใู นเน้อื หานน้ั ๆ (Method) สามารถแบ่งได้เป็น 2 สาขาใหญ่ ๆ คอื

5 1.3.1.1 วทิ ยาศาสตร์ (Natural Science) เปน็ ศาสตรท์ ่เี ก่ยี วกับธรรมชาติ และส่งิ ทมี่ ชี วี ิตทั้งท่เี ป็นวิทยาศาสตร์กายภาพ และวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ มีจุดมงุ่ หมายเพื่อให้เขา้ ใจ ความจริงของธรรมชาติ โดยมุ่งจะอธบิ าย ทานาย และควบคุมธรรมชาติ 1.3.1.2 สังคมศาสตร์ (Social Science) เป็นศาสตรท์ ีว่ า่ ด้วยพฤติกรรม ทางสงั คมของมนุษย์ หรือปรากฏการณท์ างสังคม มีจุดมุง่ หมายเพ่ือการอยรู่ ่วมกนั ด้วยดีของมนุษย์ หรือของสังคมซง่ึ องค์การยเู นสโก (UNESCO) (พวงรตั น์ ทวรี ตั น์. 2540 : 11) ได้แบ่งศาสตร์ไว้ 5 สาขาดงั นี้ 1) มนุษยศาสตร์ ไดแ้ ก่ วิชาโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ปรัชญา บรรณารักษ์ศาสตร์ จิตวิทยา ศาสนศาสตร์ อักษรศาสตร์ และวิชาอนื่ ๆ ท่ีคลา้ ยคลึงกนั 2) การศึกษา ได้แก่ วชิ าทางการศึกษา พลศกึ ษา และวิชาอน่ื ๆ ทคี่ ลา้ ยคลึงกนั 3) วิจติ รศลิ ป์ ได้แก่ วชิ าทางสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม วาทศิลป์การวาดภาพ การละคร และวิชาอ่นื ๆ ท่คี ลา้ ยคลึงกนั 4) สงั คมศาสตร์ ไดแ้ ก่ วชิ าการธนาคาร พาณิชศาสตร์และการบัญชี เศรษฐศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ สงั คมวทิ ยา ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ วารสารศาสตร์ รัฐศาสตร์ รฐั ประศาสนศาสตร์ สถติ ิและวชิ าอ่ืน ๆ ทค่ี ล้ายคลงึ กนั 5) นติ ศิ าสตร์ ได้แก่ วิชาท่ีเก่ียวกับกฎหมายต่าง ๆ จากลกั ษณะขอบขา่ ยการวิจยั ทางสงั คมศาสตร์ขา้ งตน้ ชัยพร วชิ ชาวุธ (2530 : 5) ไดส้ นับสนุนแนวคดิ ไว้วา่ หลกั ในการจาแนกสาขาวิทยาศาสตร์ กับสาขามนษุ ย์ศาสตร์ออกจากกนั คือ หลักในการพจิ ารณาความน่าเช่อื ถือของข้อมลู ความร้ตู ่าง ๆ วิชาใดทีใ่ ช้หลกั ความรู้สึกและหลักเหตุผล ในการพิจารณาความนา่ เช่ือถือของความรู้ก็จดั เป็นมนุษย์ศาสตร์ ส่วนวชิ าใดใชห้ ลกั ประจกั ษ์ในการ พิจารณาความนา่ เช่อื ถือของข้อความรู้กจ็ ัดเป็นวทิ ยาศาสตร์ กลา่ วอกี อย่างหนง่ึ ก็คอื มนุษยศาสตร์ แตกต่างจากวทิ ยาศาสตร์ในด้านวิธกี ารพจิ ารณาความรนู้ ่นั เอง 1.3.2 ข้อจากัดของการวจิ ัยทางสังคมศาสตร์ การวจิ ัยทางสงั คมศาสตรเ์ ปน็ การศกึ ษาทเี่ กยี่ วข้องกบั พฤติกรรมของมนุษย์กบั มนษุ ย์ สังคมและส่ิงแวดลอ้ มทม่ี ีอทิ ธิพลต่อมนุษย์ โดยม่งุ จะแสวงหาคาอธบิ ายปรากฏการณ์ทางสังคม ทีส่ ามารถนาไปใช้อธิบายพฤติกรรมที่เป็นเหตุและพฤติกรรมทเี่ ป็นผล สาหรบั เหตกุ ารณ์หนง่ึ ๆ และทานายปรากฏการณ์หรอื พฤติกรรมในอนาคตของสงั คมภายใตเ้ ง่อื นไขต่างๆ โดยพ้นื ฐานของ การวจิ ัยทางสังคมศาสตรต์ ้งั อย่บู นสมมติฐานท่ีวา่ พฤติกรรมมนุษย์เป็นพฤติกรรมที่มีแบบแผน สามารถศึกษาได้ มกี ารสังเกตและวัดผลการเกดิ ขึ้นของปรากฏการณน์ นั้ ๆ โดยใช้ระเบยี บวธิ ี ทางวทิ ยาศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตามหากนาผลการวิจัยทางสังคมศาสตร์ไปเปรยี บเทียบกับการวจิ ยั ทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ล้วจะพบวา่ การวิจยั ทางสงั คมศาสตร์มขี อ้ จากัดดงั น้ี 1.3.2.1 ความแม่นยาในการวัด การวจิ ัยทางวิทยาศาสตร์เปน็ การคน้ ควา้ เกยี่ วกบั ทางกายภาพหรือทางดา้ นวตั ถุ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ และเครอ่ื งมือท่ีใช้ มีความแมน่ ยาในการวัด เช่น ตาชัง่ ไมเ้ มตร เทอรโ์ มมิเตอร์ เปน็ ต้น แต่การวัดทางด้านสงั คมศาสตร์คอ่ นขา้ งเป็นนามธรรม

6 เพราะเปน็ เรอ่ื งของความรสู้ กึ จติ ใจ ความดงี าม ความเชื่อ ฯลฯ การวดั บางครงั้ ไมส่ ามารถวัด ออกมาเปน็ ตัวเลขได้ การสร้างเครอ่ื งมอื ให้วัดได้อยา่ งแมน่ ยาทาได้ยาก 1.3.2.2 การควบคุมสภาพแวดลอ้ มหรอื ตัวแปรที่จะมอี ิทธิพลต่อมนุษย์ ทาได้ ยาก สภาพแวดลอ้ มหรือตัวแปรท่ีมีอิทธิพลตอ่ การกาหนดพฤติกรรมมนุษย์น้นั มมี ากมาย ได้แก่ ปจั จัยดา้ นเวลา สง่ิ แวดล้อมและสงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม เปน็ ต้น ดงั นัน้ การหาเหตุผลมาอธบิ าย พฤติกรรมต้องพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบเพราะการศกึ ษาทางสังคมศาสตร์เปน็ การศึกษาสภาพทเ่ี กิด ขึน้ แลว้ มีอย่แู ล้ว ไมส่ ามารถจัดกระทาหรือสร้างสถานการณ์เพ่ือจะควบคุมตวั แปรไดช้ ัดเจนเหมือน การวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์ 1.4 ประเภทของการวจิ ยั การวิจยั สามารถแบ่งได้หลายประเภท และการเรียกชื่อประเภทของการวิจยั ข้ึนอยู่กบั เกณฑ์ ท่ีใช้ในการแบ่งว่าจะยึดถอื สิง่ ใดเป็นเกณฑ์หรือเป็นหลัก ท้งั นเ้ี พราะการใช้เกณฑต์ ่างกนั ก็จะแบ่ง การวจิ ยั ออกเปน็ ประเภทต่าง ๆ ได้ไม่เหมือนกนั ด้วยเหตุนีป้ ระเภทของการวิจัยจึงแบ่งกันได้ หลายแบบขน้ึ อยู่กบั เกณฑ์ที่ใชใ้ นการแบ่ง ดงั นี้ (พชิ ิต ฤทธจิ์ รญู . 2551 : 18 - 21) 1.4.1 การใชเ้ กณฑ์ประโยชน์ของการวิจัย แบง่ การวิจัยไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คือ 1.4.1.1 การวิจยั พนื้ ฐานหรือการวจิ ยั บริสุทธ์ิ (Basic or Pure Research) หมายถึง การวจิ ยั เพอ่ื สนองความอยากรู้ของมนุษย์หรือเพ่ิมพูนความรู้ของมนุษย์ โดยยังไมม่ ี จดุ มุ่งหมายที่แนน่ อนของการนาไปใช้ มักกระทาในห้องปฏิบัตกิ ารหรือห้องทดลอง เชน่ การวจิ ัย เพอ่ื สร้างทฤษฎีพื้นฐานในวิชาฟิสกิ ส์ เคมีหรือชวี วทิ ยา เปน็ ตน้ 1.4.1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หมายถึง การวจิ ยั ที่มีจดุ มุง่ หมาย ในการนาผลท่ไี ด้จากข้อความรู้ ทฤษฎีท่มี ีผศู้ ึกษาไวแ้ ล้วมาประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กม่ นุษย์ เพอ่ื ทาใหช้ ีวิตมนษุ ย์มีความสุขและความสะดวกสบายย่ิงขึ้น เชน่ การศึกษานวตั กรรมหรอื สงิ่ ประดิษฐ์ ใหม่ ๆ ดา้ นเทคโนโลยี 1.4.1.3 การวจิ ัยปฏบิ ัตกิ าร (Action Research) การวจิ ัยทีม่ วี ิธกี ารกาหนด ประเด็นปัญหาการวิจัยจากปัญหาทีเ่ กดิ ข้นึ ในระหวา่ งการดาเนนิ งาน ซึง่ มลี กั ษณะพิเศษตรงท่ีเปน็ การ ทาการวจิ ัยควบคู่ไปกบั การปฏิบตั ิงานโดยมุง่ นาผลทไี่ ด้ไปใช้แก้ปญั หาเฉพาะหน้าหรืองานในหนา้ ท่ี ของตนเองหรือของทัง้ หน่วยงาน เช่น ครูทาวิจยั ในชน้ั เรยี นเพอ่ื แกป้ ัญหาหรือพัฒนาการเรยี นรู้ของ นกั เรยี น 1.4.2 การใช้เกณฑ์ระเบียบวิธีวจิ ัย แบ่งการวิจยั ได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.4.2.1 การวิจัยเชงิ ประวตั ิศาสตร์ (Historical Research) เปน็ การวิจัยที่ มุง่ ศกึ ษาข้อเท็จจรงิ หรือความสมั พนั ธ์ของข้อเท็จจรงิ ท่ีเปน็ เรอ่ื งราวหรือเหตุการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนในอดีต เชน่ วิถีชวี ิตคนไทยในยคุ บา้ นเชยี ง 1.4.2.2 การวจิ ยั เชิงบรรยาย (Descriptive Research) เป็นการวิจัยท่ีศึกษา เพือ่ ทจี่ ะบรรยายหรืออธิบายปรากฏการณ์ในสภาพปัจจบุ ัน หรอื สภาพเปน็ จริงของสังคมใดสงั คมหนึ่ง เช่น การศึกษาทัศนคติของคนกรุงเทพมหานครตอ่ การเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร หรอื การศึกษา สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้ปกครองนักเรียน เป็นตน้

7 1.4.2.3 การวจิ ัยเชงิ ทดลอง (Experimental Research) เป็นการวิจัยท่มี ุ่งศกึ ษา ความสมั พันธ์ในลักษณะของการเป็นเหตเุ ปน็ ผลภายใตส้ ถานการณท์ ่ีพยายามจดั ให้มีการควบคมุ แบบต่าง ๆ เท่าทีส่ ามารถจะจัดกระทาได้ เช่น การเปรยี บเทียบวธิ ีสอน 2 วิธที ี่มตี ่อผลสัมฤทธทิ์ าง การเรียนวิชาสงั คมศึกษา 1.4.3 การใชเ้ กณฑ์จดุ มุ่งหมายในการทาวิจยั แบ่งการวิจัยได้ 3 ประเภท คือ 1.4.3.1 การวจิ ยั เพ่อื การสารวจข้ันต้น (Exploratory Research) เปน็ การวิจยั ทม่ี ุ่งสารวจตวั แปรและศกึ ษาธรรมชาติของตวั แปร เพื่อหาคาตอบว่าในสงิ่ ทผ่ี วู้ ิจัยสนใจศึกษานัน้ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง การวิจยั ประเภทนมี้ กั ไม่มีการตั้งสมมติฐาน 1.4.3.2 การวิจยั เพอื่ การอธิบาย (Explanatory Research) เป็นการวจิ ัยท่มี ุ่ง อธิบายความเป็นเหตุเปน็ ผลของการเกิดปรากฏการณน์ นั้ ๆ เพ่ือบอกถงึ ความสมั พนั ธท์ ีเ่ กิดข้ึนวา่ เป็นไปในลกั ษณะใด มีส่วนเกี่ยวขอ้ งมากนอ้ ยเพียงใด เชน่ การย้ายถนิ่ ของประชาชนในชนบท 1.4.3.3 การวิจยั เพอื่ การทานาย (Prediction Research) เป็นการวจิ ัยท่ีมุ่งศกึ ษา สภาพและเหตกุ ารณ์ในอดีตถึงปัจจบุ ันเพ่ือใช้ในการทานายอนาคต ซง่ึ การทานายจะกลา่ วในรปู ของ แนวโน้มว่าส่งิ ใดจะเกิดข้นึ เมื่อใดบ้าง เช่น การศึกษาแนวโน้มอตั ราดอกเบ้ียเงนิ ฝาก 1.4.4 การใช้เกณฑร์ ะดบั ความเขม้ ของการควบคุมตัวแปร แบ่งการวิจยั ได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.4.4.1 การวจิ ัยแบบทดลองในหอ้ งปฏิบัตกิ าร (Laboratory Research) เปน็ การวิจยั ที่จัดกระทาในห้องปฏิบัตกิ ารซง่ึ อยู่ในเง่ือนไขที่สามารถควบคุมตัวแปรได้มากทีส่ ดุ เชน่ การวจิ ยั ด้านวิทยาศาสตร์ 1.4.4.2 การวิจัยสนาม (Field Research) เปน็ การวิจยั ท่ีสามารถควบคุมตวั แปร ไดบ้ ้างแต่น้อยกวา่ การวจิ ัยแบบทดลองในห้องปฏิบัติการ เช่น การวิจัยทางสงั คมศาสตร์ 1.4.4.3 การวิจยั เอกสาร (Documentary Research) เป็นการวจิ ัยท่ีไมส่ ามารถ ควบคมุ ตัวแปรได้ เปน็ การศกึ ษาคน้ ควา้ รวบรวมข้อมลู จากการอา่ นเอกสารต่าง ๆ ซึง่ เปน็ บนั ทึก เร่อื งราว หรอื เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้องกับเร่อื งที่ต้องการวิจัย เชน่ การสังเคราะหร์ ายงานการวิจัย 1.4.5 การใชเ้ กณฑ์ลักษณะหรอื ความลึกของข้อมูล แบ่งการวิจัยได้เปน็ 2 ประเภท คอื (ชไมพร กาญจนกจิ สกุล. 2555 : 9) 1.4.5.1 การวิจัยเชงิ ปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่มุ่งเนน้ ศึกษาข้อมูลท่ีอยใู่ นลักษณะตัวเลขหรือกาหนดเป็นปริมาณได้ และอาศยั เทคนิคทางสถติ ิมาชว่ ยในการ วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายของขอ้ มูล 1.4.5.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจยั ทมี่ ุ่งเนน้ รวบรวมข้อมลู ท่เี ปน็ คณุ ลักษณะไมส่ ามารถแจงนับได้ เชน่ ข้อมูลเชิงคุณลักษณะเกยี่ วกับวฒั นธรรม ความเชอ่ื หรอื พฤติกรรมมนุษยท์ ่ไี ดจ้ ากการรบั รู้ และใช้เทคนคิ ทางสถิติมาวิเคราะห์ข้อมูล 1.4.6 การใช้เกณฑ์ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล แบง่ การวจิ ยั ได้เปน็ 2 ประเภท คือ (ชไมพร กาญจนกจิ สกุล. 2555 : 9) 1.4.6.1 การวิจยั จากการสังเกต (Observation Research) เป็นการวิจยั ทเ่ี ก็บ รวบรวมข้อมลู จากการสงั เกต เชน่ การสารวจพฤติกรรมการเลน่ ในช้ันเรียนของเด็กไทย

8 1.4.6.2 การวจิ ัยแบบสามะโน (Census Research) เป็นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากหนว่ ยของประชากร เช่น การจดั ทาทะเบยี นการประกอบอาชีพของคนไทยในปัจจบุ ัน 1.4.6.3 การวจิ ัยแบบสารวจจากตัวอย่าง (Sample Survey Research) เปน็ การ เก็บรวบรวมขอ้ มูลจากกลุ่มตัวอย่างทเี่ ปน็ ตัวแทนของประชากรที่ตอ้ งการศกึ ษา เชน่ การสารวจ การจ้างงานในแหล่งอตุ สาหกรรม 1.4.6.4 การศึกษาเฉพาะกรณี (Case Study) เป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในกลมุ่ ตวั อยา่ งขนาดเล็ก หรอื บุคคล แตเ่ ก็บรายละเอียดท้ังหมดที่เกดิ ข้นึ เปน็ การศกึ ษาแบบเจาะลกึ เชน่ คณุ ภาพชีวติ ของเด็กในสถานพินิจ 1.4.6.5 การวจิ ยั แบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Research) เปน็ การวจิ ยั รว่ มกนั ระหว่างผู้วจิ ยั และกลมุ่ เปา้ หมาย มีการเก็บข้อมลู โดยการที่ผวู้ ิจัยเข้าไปอยูร่ ว่ มกบั กลุ่มเป้าหมาย ทที่ าการศกึ ษา เช่น ความเป็นอยขู่ องชาวชนบทในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1.4.7 การใชเ้ กณฑ์ของลักษณะธรรมชาตวิ ิชา แบ่งการวิจัยไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คอื 1.4.7.1 การวจิ ยั เชิงประเมนิ (Evaluation Research) เป็นการวิจยั ประยุกต์ ลักษณะหนง่ึ ท่มี ุ่งศึกษาหาสารสนเทศเชิงคณุ คา่ (Information) เก่ียวกบั ส่งิ ทต่ี ้องการศึกษา หรือประเมิน เพ่ือการตดั สินใจ ปรับปรุง พัฒนา หรือยตุ สิ งิ่ ทีต่ อ้ งการศึกษานน้ั ซง่ึ อาจเป็น แผนงาน โครงการ หลักสูตรหรือโปรแกรมทางการศกึ ษาตา่ ง ๆ 1.4.7.2 การวจิ ัยเชงิ นโยบาย (Policy Research) เปน็ การวจิ ยั ประยุกตล์ กั ษณะหนึ่ง ทมี่ ุ่งศึกษาเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชนต์ ่อการจัดทานโยบาย หรือพฒั นานโยบายขององค์กร 1.4.7.3 การวจิ ัยเชงิ ประวตั ิศาสตร์ (Historical Research) เปน็ การวจิ ยั ทีม่ งุ่ ศกึ ษาข้อเท็จจริงทเ่ี ปน็ เรื่องราวในอดีต 1.4.8 การใช้เกณฑ์สาขาวิชาหรือศาสตรท์ ใี่ ชศ้ ึกษา แบง่ การวิจยั ไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื 1.4.8.1 การวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Research) เป็นการวจิ ัยที่เกย่ี วกบั ปรากฏการณธ์ รรมชาติของสิ่งมชี ีวติ และไม่มชี ีวติ ทั้งท่มี องเหน็ และไม่เห็น การวิจยั ประเภทน้ี ได้กระทากันมานานแล้ว และก่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อมวลมนษุ ยอ์ ยา่ งมากมาย เชน่ การคน้ พบ ยารกั ษาโรค การคน้ พบส่งิ ประดิษฐใ์ หม่ ๆ นอกจากนี้การวิจยั ทางวทิ ยาศาสตรย์ งั สามารถ ใช้แกป้ ัญหาท่เี กิดขึน้ จากธรรมชาตไิ ด้อกี ด้วย เนอ่ื งจากการวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตรม์ ีเคร่อื งมอื และ อปุ กรณ์ทีเ่ ทยี่ งตรงและมกี ฎเกณฑ์แน่นอน ตลอดจนสามารถควบคมุ การทดลองได้ เพราะทาการ ทดลองในห้องปฏิบตั ิการจงึ ทาใหผ้ ลการวิจัยทางดา้ นวิทยาศาสตรไ์ ดร้ ับความเชอ่ื ถือมาก การวิจยั ทาง วทิ ยาศาสตรอ์ าจจาแนกตามสาขาต่าง ๆ ไดด้ งั นี้ 1) สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ เชน่ ฟิสกิ ส์ คณิตศาสตร์ 2) สาขาวิทยาศาสตร์ เชน่ ศิลปศาสตร์ รงั สวี ทิ ยา 3) สาขาวทิ ยาศาสตร์เคมีและเภสชั เชน่ อนิ ทรีย์เคมี เภสัชศาสตร์ 4) สาขาเกษตรศาสตร์และชีววทิ ยา เช่น สัตวศาสตร์ วนศาสตร์ 5) สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอตุ สาหกรรมวจิ ยั เชน่ วิศวกรรมชลประทาน วศิ วกรรมไฟฟา้

9 1.4.8.2 การวิจัยทางสงั คมศาสตร์ (Social Research) เปน็ การวิจัยทเี่ กย่ี วกับ สภาพแวดลอ้ ม สังคม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น การวจิ ัยด้านปรัชญา เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยาศาสตร์ การวจิ ัยทางสังคมศาสตรน์ แ้ี ตกตา่ งกับการวิจัยทางวทิ ยาศาสตรม์ าก เน่ืองจาก สังคมศาสตรเ์ ปน็ วิชาที่วา่ ดว้ ยสังคม ส่ิงแวดล้อม และพฤติกรรมของมนุษย์ ซึง่ วดั ไมไ่ ด้โดยตรงและ ควบคุมได้ยาก แต่มนษุ ย์ก็ได้พยายามวัดโดยใชเ้ คร่ืองมือวัดทางอ้อม เชน่ ใชแ้ บบทดสอบ แบบสอบถาม แบบวดั เจตคติ ฯลฯ และได้นาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาช่วยในการวิจัย ทาให้ผลการวจิ ยั เปน็ ท่ี นา่ เชอื่ ถือมากยิ่งขน้ึ การวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์อาจจาแนกตามสาขาตา่ ง ๆ ได้ดังน้ี 1) สาขาปรชั ญา เชน่ วรรณคดี การศึกษา 2) สาขานิตศิ าสตร์ เชน่ กฎหมายแพ่ง กฎหมายการปกครอง 3) สาขารฐั ศาสตรแ์ ละรฐั ประศาสนศาสตร์ เชน่ การเมือง การปกครอง การบริหารราชการทัว่ ไป 4) สาขาเศรษฐศาสตร์ เช่น การเงินและการคลัง เศรษฐศาสตร์การพฒั นา สาหรับการวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์เจริญก้าวหน้าชา้ กว่าการวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์ เพราะวา่ ปรากฏการณ์ทางสงั คมศาสตรน์ ้นั มีข้อจากดั หลายประการ เชน่ การควบคุมปรากฏการณ์ ทางสังคมใหค้ งท่นี ัน้ ทาได้ยาก เม่ือวฒั นธรรมมกี ารเปลยี่ นแปลงทาใหม้ นษุ ย์เปลยี่ นแปลงไปด้วย การทานายผลบางอย่างล่วงหนา้ อาจไม่เกิดผลนั้นขนึ้ มาเพราะมนุษย์อาจป้องกันไว้ล่วงหนา้ การที่จะ ศกึ ษาความคดิ ความรู้สกึ และเจตคติของมนษุ ยน์ ้นั ทาได้ยากและวัดได้ยาก แม้ว่าการวจิ ัย ทางสังคมศาสตร์จะมีข้อจากัดอย่หู ลายประการก็ตาม แตก่ ารวิจยั ทางดา้ นนกี้ ็สามารถศึกษาพฤตกิ รรม ของมนษุ ยไ์ ด้มากพอสมควร 1.4.8.3 การวิจัยแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary Research) เปน็ การวจิ ัย ที่ต้องใชค้ วามรจู้ ากศาสตรห์ ลายสาขาบูรณาการเขา้ ดว้ ยกัน เพ่ือใหต้ อบปัญหาการวจิ ยั ได้อย่าง ครอบคลุมครบถว้ นทุกแง่ทกุ มมุ เช่น การวิจยั ดา้ นการพัฒนาชมุ ชน พัฒนบริหารศาสตร์ พฒั นศกึ ษาศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ สรปุ ไดว้ ่า การจัดประเภทของการวจิ ยั มมี ากมายหลายประเภท และมีความซา้ ซ้อนกัน ระหว่างเกณฑ์ทใ่ี ชใ้ นการแบ่งแตล่ ะประเภทของการวจิ ัย นักวิจยั จะต้องรอบคอบและระมัดระวงั เลอื กประเภทการวิจัยให้เหมาะกับประเดน็ ปญั หาท่ีตอ้ งการศึกษา โดยทว่ั ไปในการเลือกใช้ประเภท ของการวิจัย ควรคานึงถงึ วตั ถุประสงค์ของการวิจยั ท่จี ะนาผลการวิจัยไปใช้ ลกั ษณะของปัญหาวิจัย ลกั ษณะวิธีการทจี่ ะเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรในการดาเนินการวจิ ัย 1.5 วัตถุประสงค์ของการวิจยั การวจิ ัยเปน็ กระบวนการในการแสวงหาความรแู้ ละข้อเทจ็ จรงิ ที่มีวตั ถุประสงคต์ า่ งไปจาก งานปกตโิ ดยท่ัวไป การวิจัยทางด้านสังคมศาสตรเ์ พ่ือสารวจค้นคว้าหาคาตอบข้อเท็จจรงิ ในสงิ่ ทยี่ งั ไมร่ ู้ ทเี่ กิดขน้ึ ในสงั คม ทาความเข้าใจพฤติกรรมของมนษุ ย์ ตลอดจนอธบิ ายปรากฏการณ์ทางสงั คมท่เี กดิ ขึ้น มากไปกวา่ นน้ั ยงั สามารถคาดเดาปรากฏการณท์ ีจ่ ะเกดิ ขึ้นในอนาคตได้อย่างมีหลักการอันนาไปสู่ ขอ้ เสนอแนะทางออกต่าง ๆ เพือ่ การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาสังคมหรือปรากฏการณ์ทางสงั คมท่ี

10 ไมพ่ ึงประสงค์ ซง่ึ จะทาให้สงั คมเกดิ การพฒั นา นอกจากนี้ยังเกิดความรู้ใหม่ ๆ หรอื เป็นการเพิ่มพูน ความรู้ทม่ี ีอยู่เดิมให้สมบูรณ์กับสถานการณ์ที่เปลย่ี นแปลงไป และอาจใช้เป็นการทดสอบทฤษฎเี ดมิ ทีม่ ีอยู่และนาไปสูก่ ารพัฒนาทฤษฎใี หม่ได้ในอีกทางหน่ึง ซง่ึ สอดคล้องกบั หลักการของธีรวฒุ ิ เอกะกุล (2552 : 6 – 8) ทก่ี ลา่ วไว้ว่า การวิจยั เปน็ เรือ่ งสาคญั ที่ก่อให้เกดิ ประโยชนก์ ับมวลมนุษยเ์ ป็นอันมาก ดังจะเหน็ ได้จากวัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ดงั ต่อไปนี้ 1.5.1 เพื่อค้นควา้ หาคาตอบในสง่ิ ทยี่ งั ไม่รู้ ความร้ใู หม่ ๆ หรอื เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ที่มอี ยเู่ ดิมใหส้ มบรู ณ์ 1.5.2 เพอ่ื ศึกษาหรือคน้ หาความสัมพันธร์ ะหว่างสง่ิ ทเี่ กดิ ข้ึนจรงิ ซงึ่ มีทง้ั ท่ีอยู่ ใกลต้ วั เรา และห่างไกลออกไป 1.5.3 เพอื่ ประดษิ ฐส์ ่งิ ใหม่ ๆ หรอื สรา้ งสรรค์สิง่ ใหม่ ๆ แนวทางใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น 1.5.4 เพื่อสรา้ งกฎเกณฑ์ หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีใหม่ ๆ หรอื ปรบั ปรงุ ของเดมิ ให้เขา้ กับสภาพการณท์ เี่ ปล่ียนแปลงไป เช่น การพสิ จู น์ทฤษฎตี ่าง ๆ 1.5.5 เพ่อื เป็นพน้ื ฐานในการวางแผน การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ และนโยบาย เพ่ือการบริหาร เพราะทาใหส้ ามารถคาดการณ์ความเป็นไปในอนาคตได้ และช่วยในการปรับแก้ แผนการดาเนินงานใหบ้ รรลุความสาเร็จ 1.5.6 เพือ่ แกป้ ญั หาต่าง ๆ ท่ีเกิดขน้ึ ในสังคม ซงึ่ มีมากมายหลายเรอ่ื ง ทาให้สังคม มีความเป็นอย่ทู ดี่ ีขน้ึ 1.6 คณุ ลกั ษณะของการวจิ ัยที่ดี การวิจยั เป็นการทางานในทางวิชาการโดยมรี ะเบยี บและขนั้ ตอนวธิ ีการ ซ่งึ นกั การศึกษา หลายคนพยายามอธิบายให้เห็นคุณลกั ษณะของการวิจยั ท่ีดใี นแงม่ ุมต่าง ๆ พอสรปุ ไดด้ ังนี้ 1.6.1 เร่มิ ต้นด้วยปญั หาทอ่ี ยู่ในใจหรอื ในความรสู้ ึก 1.6.2 ระบปุ ญั หาทตี่ ้องการศึกษาหาคาตอบอย่างชดั เจน 1.6.3 มีจุดมุ่งหมายหรือวตั ถุประสงคท์ ี่แนน่ อน 1.6.4 กาหนดมติ ิสาหรบั การวจิ ยั ใหช้ ัดเจน 1.6.5 มีข้นั ตอนและกระบวนการท่ีเปน็ ทีย่ อมรบั 1.6.6 ตอ้ งใช้เคร่อื งมือที่มีความเช่ือถือสูง 1.6.7 มีความเทย่ี งตรงในวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1.6.8 ตอ้ งอาศยั ความรู้ ความสามารถและความเช่ือถือของผูว้ ิจยั 1.6.9 ม่งุ เนน้ ทจ่ี ะส่งเสริม พัฒนา แก้ปญั หาให้แกส่ งั คม 1.6.10 มกี ารวางแผนอย่างรอบคอบ 1.7 ขั้นตอนการทาวจิ ัย ข้ันตอนของการทาวจิ ยั เป็นกิจกรรมทแี่ สดงใหเ้ ห็นถงึ ขั้นตอนของการศึกษาคน้ คว้า หาความรู้ หรอื แกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ ระบบ ทาใหผ้ ้วู จิ ัยและผเู้ ก่ยี วขอ้ งทราบวา่ จะต้องทาอะไรบ้าง และเรยี งลาดบั อย่างไร ซงึ่ มขี ้ันตอนดงั นี้ (พชิ ิต ฤทธ์ิจรูญ. 2551 : 22 – 23)

11 1.7.1 การกาหนดปัญหาวจิ ัย ปญั หาวิจยั คือโจทยห์ รอื ข้อสงสยั ท่ีผวู้ ิจัยต้องการศึกษา คน้ หาคาตอบ ซึ่งผูว้ ิจัยจะตอ้ งกาหนดและนิยามปญั หาทจี่ ะทาการวิจยั ใหแ้ จม่ ชดั ปัญหาวิจัยจะทาให้ ผวู้ ิจัยมองเหน็ แนวทางในการดาเนินการวจิ ัย การทจ่ี ะได้ประเดน็ ปญั หาวิจยั นน้ั ผู้วจิ ัยจะต้องรู้ แหล่งทมี่ าของปัญหาวิจยั รวู้ ธิ กี ารทาปัญหาให้แคบและชดั เจน รูห้ ลักการวิเคราะห์ปัญหา รู้หลกั เกณฑ์ การเลอื กและกาหนดปญั หาวิจัยที่ดี และรู้วิธีการตั้งช่ือหวั ข้อหรอื เร่ืองวจิ ัย 1.7.2 การศึกษาเอกสารทเี่ กี่ยวข้องกับการวิจัย หลังจากที่ได้ปัญหาวิจัยแล้วผวู้ ิจัย จะต้องศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องกับการวจิ ัย โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวจิ ยั ตา่ ง ๆ เพือ่ ใหไ้ ด้ แนวทางในการทาวิจัย ทาให้ไมท่ าวิจัยซ้าซ้อนกับผู้อ่นื และช่วยใหว้ างแผนการวจิ ยั ไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ การศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องกบั การวจิ ัยน้ัน ผวู้ จิ ยั จาเป็นจะต้องรจู้ ักแหล่งของเอกสาร ลกั ษณะและประเภทของเอกสาร หลกั เกณฑ์การคดั เลือกเอกสาร การอา่ นและจดบันทึก และ หลกั การนาเสนอเอกสารทเ่ี กี่ยวข้องกบั การวิจัย 1.7.3 การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ผวู้ ิจยั ตอ้ งสร้างกรอบแนวคดิ ในการวิจัย ในเร่ืองท่ีสนใจว่า การวจิ ัยคร้ังนต้ี ้องอาศยั แนวคิด ทฤษฎี หลกั การใด เพ่ือแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ตวั แปรทเี่ ก่ยี วข้องในการวจิ ัย กรอบแนวคิดในการวจิ ยั เป็นแผนภาพ หรือกรอบทีแ่ สดงความสัมพันธ์ ระหวา่ งตัวแปรทีผ่ ูว้ จิ ัยสนใจศึกษา ซง่ึ จะเปน็ ประโยชนใ์ นการยืนยันวา่ ปญั หาวิจัย และการดาเนินการ วิจัยน้ันตง้ั อยู่บนแนวคิดทฤษฎใี ดจะช่วยให้ผู้อา่ นเขา้ ใจถึงเหตุผลในการทาวิจัยได้เปน็ อย่างดี การเขยี น กรอบแนวคิดในการวจิ ัยผวู้ ิจยั จะต้องเรียนรูร้ ปู แบบและวิธเี ขยี น 1.7.4 การตงั้ สมมติฐานการวิจัย ผวู้ จิ ยั ต้งั สมมตฐิ าน เป็นการคาดคะเนคาตอบ ไวล้ ว่ งหน้า โดยอาศัยเหตุผล ซ่ึงอาจไดม้ าจากความรู้ ประสบการณ์ หรือจากแนวคดิ ทฤษฎที ไี่ ด้จาก การศกึ ษาเอกสารทเี่ กย่ี วข้องกับการวจิ ยั ผ้วู ิจยั ต้องเรียนรเู้ รือ่ งลกั ษณะของสมมติฐานที่ดี ประเภทของสมมติฐานและรูว้ ิธีการเขยี นสมมติฐาน 1.7.5 การออกแบบการวจิ ยั ผวู้ ิจัยต้องออกแบบรายละเอยี ดของการวจิ ยั เพ่ือให้ไดม้ า ซ่งึ คาตอบตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัยอย่างแม่นยา โดยออกแบบการวจิ ัยในเรื่องต่อไปนี้ 1.7.5.1 การออกแบบการวดั ตัวแปร (Measurement Design) ผวู้ ิจัยจะตอ้ ง วางแผนวา่ จะใช้เครื่องมือชนิดใดทาการรวบรวมขอ้ มลู จึงจะทาให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับคุณลักษณะ ท่ตี อ้ งการจะวัดอยา่ งแท้จริง จะมีวิธตี รวจสอบคุณภาพเคร่ืองมืออยา่ งไร จะเก็บรวบรวมขอ้ มูล ดว้ ยวิธีใด จึงจะได้ขอ้ มลู ทถ่ี ูกต้อง แมน่ ยาและครบถว้ น 1.7.5.2 การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (Sampling Design) ผ้วู จิ ัยจะต้องใช้ วิธีการสุ่มตัวอยา่ งท่ใี ห้ไดม้ าซ่ึงตัวแทนที่ดขี องประชากร และมขี นาดของกลุ่มตวั อย่างท่ีเหมาะสม เพอื่ ใหผ้ ลการวิจยั สรุปอา้ งองิ ไปยงั ประชากรได้ 1.7.5.3 การออกแบบการวเิ คราะหข์ ้อมูล (Statistical Design) เม่อื รวบรวมข้อมูล ไดแ้ ลว้ จะต้องกาหนดสถิตทิ ีจ่ ะทาการวิเคราะห์ โดยเลอื กสถติ ทิ ี่สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั และข้อตกลงเบ้ืองตน้ ของสถิตินั้น ๆ ผู้วจิ ัยจะต้องเรยี นร้ใู หเ้ ข้าใจเกี่ยวกบั การออกแบบการวิจยั เพอื่ จะได้สามารถ ออกแบบการวิจยั ได้ถูกต้อง

12 1.7.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจยั ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามท่ีได้ออกแบบ และวางแผนการวจิ ยั ไว้ในข้อ 1.7.5 โดยนาเครื่องมือไปใช้กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งจริง ๆ ท่ีใช้ในการวจิ ยั ผู้วจิ ยั จะต้องเรยี นรู้เก่ียวกับวธิ กี ารพัฒนาเครื่องมือและการใช้เคร่อื งมือเก็บรวบรวมข้อมูล 1.7.7 การวเิ คราะห์ข้อมลู และแปลความหมายข้อมลู ก่อนทจ่ี ะทาการวิเคราะห์ ข้อมูล ผูว้ จิ ยั จะตอ้ งทาการตรวจสอบข้อมลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมมาได้ในข้อ 1.7.6 ก่อนว่าความถูกต้อง สมบรู ณ์ ครบถว้ นเพียงใดแล้วจึงจะจัดกระทากบั ข้อมลู โดยอาจนามาจัดเขา้ ตารางแลว้ วิเคราะห์ โดยใช้สถิติตามท่ีไดว้ างแผนไว้ พร้อมทง้ั แปลผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 1.7.8 การสรปุ ผลและเขียนรายงานการวจิ ัย ผู้วิจยั จะสรุปผล อภิปรายผล และให้ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้ หรอื ในการวจิ ยั ครัง้ ต่อไป จากนัน้ จึงเขียนรายงานและจดั พิมพ์ การเขยี นรายงานการวจิ ัยผู้วจิ ัยควรเขียนตามรูปแบบการเขียนรายงานการวจิ ัยของแตล่ ะประเภท และตามท่ีหนว่ ยงานหรือสถาบันกาหนดโดยใชภ้ าษาท่ีถกู ต้อง รดั กมุ เขา้ ใจง่าย จากขัน้ ตอนของการทาวิจยั ดังกลา่ วขา้ งต้น อาจสรปุ ไดด้ งั แผนภาพ 1.1 การกาหนดปญั หาวจิ ยั การศกึ ษาเอกสารทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การวิจยั การกาหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจยั การต้ังสมมตฐิ านการวิจยั การออกแบบการวิจยั การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การวัดตวั แปร การสุ่มตวั อยา่ ง การวิเคราะห์ข้อมูล การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู และการแปลความหมายข้อมลู การสรปุ ผลและเขยี นรายงานการวิจัย แผนภาพ 1.1 ขัน้ ตอนของการทาวจิ ัย

13 1.8 ประโยชนข์ องการวจิ ัย การวิจยั นบั วา่ มีบทบาทสาคัญอยา่ งยง่ิ ในการชว่ ยตอบปัญหาท่ยี งั สงสัยหรือคลุมเครือ ช่วยใหเ้ ขา้ ใจปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดยี ่ิงขึ้น และยังใช้ทานายปรากฏการณ์และ พฤติกรรมต่าง ๆ อนั ทาให้เราทราบถึงตัวแปรหรือปัจจยั ทม่ี ีความเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์นัน้ ๆ และสามารถจัดการกับตวั แปรหรอื ปจั จยั ดงั กลา่ ว ซ่งึ จะช่วยปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาได้อยา่ งถกู ต้อง และมปี ระสิทธภิ าพ ซ่ึงชไมพร กาญจนกิจสกลุ (2555 : 6) ได้กล่าวถงึ ประโยชนข์ องการวิจัยไวว้ ่า การวจิ ยั สามารถชีใ้ หเ้ หน็ ถึงต้นตอหรือสาเหตุของปญั หาตลอดจนแนวทางและวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หา น้ัน ๆ โดยสามารถเปน็ ประโยชน์ต่อการกาหนดนโยบายและวางแผนในระดบั ต่าง ๆ ซ่ึงช่วยให้ ผู้วางแผนหรอื ผกู้ าหนดนโยบาย (Policy Makers) สามารถวางแผนหรอื กาหนดนโยบายไดอ้ ย่างมี ทศิ ทาง โดยวางอยบู่ นพื้นฐานของข้อคน้ พบ (Findings) ท่ไี ดจ้ ากการวิจยั อนั ทาใหป้ ัญหานั้น ๆ ได้รับการแก้ไขอย่างตรงจุดตรงประเด็น นอกจากน้ียังช่วยเสรมิ สร้างความรู้ทางวชิ าการ เชน่ การได้มาซึง่ ทฤษฎีใหม่ ๆ หรือขยายขอบเขตของทฤษฎีที่มีอยเู่ ดมิ อนั เปน็ การเพิ่มพนู ความรู้ ความเขา้ ใจในศาสตร์นัน้ ๆ (พิชติ ฤทธจ์ิ รญู . 2551 : 17) ในปจั จบุ ันการวิจัยได้รับความสนใจ จากบคุ คลในวงการต่าง ๆ เป็นอนั มากเพราะการวิจยั มปี ระโยชน์เปน็ เอนกประการ ดังนี้ 1) ในระดบั ชาติ ขอ้ ค้นพบจากการวิจัยจะทาให้ได้ข้อมูล สารสนเทศทถ่ี ูกต้อง และเชื่อถือได้ อันจะเป็นประโยชนต์ ่อการจัดทานโยบายและแผนพฒั นาในระดับชาตใิ นทุก ๆ ดา้ น 2) การวิจัยจะ ทาใหท้ ราบพฤติกรรมของมนุษย์ ซงึ่ จะเปน็ ข้อมลู สาหรบั การวางแผนและพัฒนาบุคคลให้กบั หน่วยงาน ตา่ ง ๆ 3) การวจิ ยั ช่วยให้ผู้ทาวิจัยมีการพฒั นาความคดิ และการทางานอย่างเป็นระบบ เปน็ คนมี เหตมุ ีผล สามารถพฒั นางานและพฒั นาวิชาชีพใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานสงู ขึ้น 4) การวิจัยชว่ ยใหไ้ ด้ ขอ้ ความรู้ ข้อคน้ พบและความจริงใหม่ ๆ ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ การแก้ปัญหา พัฒนาชีวิตและการทางาน ของมนษุ ยใ์ หด้ ีขน้ึ 5) การวิจัยช่วยสร้าง พัฒนา หรือพสิ จู น์ทฤษฎี ความจรงิ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทาให้ องค์ความรู้ หรือศาสตรใ์ นสาขาวิชาต่าง ๆ ขยายพรมแดนและมคี วามเข้มแข็งมากยงิ่ ข้ึน 6) การวิจยั ชว่ ยตอบปัญหาหรือสนองความอยากรู้ของมนุษย์ ชว่ ยตอบความสงสยั ของมนุษย์ ดงั นั้นจึงช่วยให้ มนุษยห์ ายสงสยั ได้ระดับหนึ่ง 7) การวิจยั ช่วยใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑห์ รือสง่ิ ประดิษฐ์ใหม่ (Product or Invention) หรอื รูปแบบ วธิ ีการใหม่ (Model or Method) ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนางาน และคณุ ภาพชวี ิตใหด้ ขี น้ึ (ธรี วฒุ ิ เอกะกุล. 2552 : 6 – 8) นอกจากนี้ การวิจัยเป็นเครอ่ื งมือ ในการแสวงหาความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณท์ ีต่ ้องการศกึ ษา และผลของการศึกษาทีถ่ ูกต้อง ตามหลกั วชิ าการมีประโยชน์ตอ่ การพฒั นาวิทยาการ ซ่ึงมีผลตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งของประเทศ จึงควรศึกษาระเบียบวธิ กี ารท่ีถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ข้ันตอนตา่ ง ๆ ของการวจิ ยั ประสบการณ์ของนักวชิ าการที่ไดท้ าการวิจยั และได้เรียบเรยี งประสบการณ์ออกมาเปน็ ตาราทางวิชาการ เป็นส่งิ หนง่ึ ทช่ี ว่ ยยน่ ย่อกระบวนการ เรยี นรู้ สาหรบั ประโยชน์ทีผ่ ูศ้ กึ ษาพึงไดร้ ับจากการศึกษา ไมว่ า่ จะเป็นในเรอื่ งใดจะมากหรือน้อย เพยี งใด สว่ นหนึ่งข้นึ อยูก่ บั ความสามารถของผทู้ ี่ทาการสอนถา่ ยทอดความรู้ กระบวนการท่ีใช้ในการ ใหค้ วามรหู้ รือความชานาญ และอีกส่วนหน่ึงขน้ึ อยู่กบั ผ้ศู ึกษาเองวา่ มโี อกาสจะได้ฝึกฝนหรอื นาความรู้ ความชานาญนั้นไปใช้ไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด ความสามารถในการวิจัยสว่ นใหญข่ ึน้ อยู่กบั ประสบการณ์ ย่ิงทางานวิจัยมากเท่าใด ย่งิ จะเจอปัญหาต่าง ๆ และวิธกี ารแก้ไขปัญหาเหลา่ น้นั ได้ดขี ้นึ ความสามารถ

14 ในการวจิ ัยยอ่ มมีมากข้ึนเท่านั้น และย่ิงทาการวิจยั หลายประเภท ประสบการณท์ ่ีได้รับจากการวจิ ยั ในแง่มุมตา่ ง ๆ รวมทัง้ การออกแบบการวจิ ัยและการสรา้ ง และทดสอบมาตรวดั และวิธีการวิเคราะห์ จะมากขึ้นตามไปดว้ ย สรุปไดว้ ่า การวิจัยมปี ระโยชน์หรอื มคี ุณคา่ เอนกประการ ดงั น้ี 1.8.1 ชว่ ยใหไ้ ด้ข้อความรู้ ข้อค้นพบ และความจริงใหม่ ๆ หรอื เพิ่มพนู ความรู้ ความจรงิ เดมิ และวทิ ยาการที่เช่ือถือได้ให้กับแขนงวิชาการต่าง ๆ เพื่อช่วยให้คนเราขจัดข้อสงสยั และได้รบั ความรคู้ วามจริงทีเ่ ชือ่ ถอื ได้เปน็ อนั มากต่อการแก้ปญั หา พฒั นาชวี ติ และการทางานของ มนษุ ย์ใหด้ ีขนึ้ 1.8.2 ช่วยใหม้ นุษย์มีเครอ่ื งมือและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทนั สมัยสาหรบั อานวยความ สะดวกในการดาเนนิ ชวี ิตและปฏิบตั ิงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยใช้ความรู้ ความจรงิ จากการคน้ ควา้ มาประยุกตใ์ ช้ หรือสรา้ งเครอื่ งมือและเทคโนโลยีเหลา่ น้ันท่ีก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นางานและคุณภาพชีวิตใหด้ ขี น้ึ 1.8.3 ชีใ้ ห้เหน็ ต้นตอหรือสาเหตขุ องปัญหาตลอดจนแนวทางและวธิ ีการแกไ้ ขปัญหานน้ั เพ่อื เปน็ ประโยชน์ต่อการกาหนดนโยบาย วางแผนและกาหนดหลกั ในการปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ ง สอดคลอ้ งเหมาะสมและมผี ลใหง้ านมีโอกาสท่จี ะประสบความสาเร็จมากยงิ่ ขึน้ 1.8.4 ช่วยแนะแนวทางในการเลือกวธิ ปี ฏิบัติงานที่ประหยัด สะดวก รวดเร็วและ ไดผ้ ลดที ีส่ ดุ 1.8.5 ช่วยให้สามารถแกป้ ัญหาได้ตรงจดุ ถูกต้อง เพราะการวจิ ัยทาให้ทราบสาเหตุ แหง่ ปญั หา ดงั นน้ั จงึ ชว่ ยแกป้ ัญหาไดต้ รงจดุ ถูกต้อง ประหยัดเวลาและทนุ ทรัพย์ 1.8.6 ชว่ ยในการพฒั นาบุคคลและหน่วยงานใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า 1.8.7 ชว่ ยกระตุน้ ให้บุคคลมเี หตผุ ล รจู้ ักคิดคน้ หาความรู้อยูเ่ สมอ 1.9 จรรยาบรรณนักวจิ ัย ในการวจิ ัย ถ้านักวิจัยได้ดาเนินการวจิ ยั โดยยึดหลักประพฤตปิ ฏิบัตติ ามจรรยาบรรณ นักวิจยั กจ็ ะทาให้ได้ผลงานวิจัยทีม่ ีคณุ ภาพและมคี ุณคา่ ต่อสังคม แตถ่ า้ นักวจิ ัยดาเนนิ การวจิ ยั โดยไม่ ยึดหลกั การประพฤติปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณนกั วิจัยกจ็ ะทาให้ได้ผลงานวจิ ยั ท่ีไม่มีคณุ ภาพและไมม่ ี คณุ คา่ ต่อสงั คม ดังนน้ั การไดเ้ รยี นรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณนกั วจิ ัยจะชว่ ยใหน้ ักวิจยั ไดม้ หี ลักประพฤติ ปฏบิ ัตทิ ่ีเหมาะสมในการดาเนินการวิจัยและได้งานวจิ ยั ที่มีคุณภาพ ซง่ึ สานกั งานคณะกรรมการ การวิจัยแหง่ ชาติ (2542 : 3-13) ได้กาหนดจรรยาบรรณนักวิจัยข้นึ เพอื่ ชแ้ี นะแนวทางใหน้ ักวิจัย ปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณนักวิจัยและเพ่ือเปน็ ข้อพึงระวังทางคณุ ธรรม จริยธรรมในการทางาน มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1.9.1 นกั วจิ ยั ต้องซื่อสตั ยแ์ ละมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ 1.9.1.1 นกั วจิ ัยต้องมีความซ่ือสัตยต์ อ่ ตนเองและผู้อนื่ 1) นักวจิ ัยต้องมีความซ่อื สัตย์ในทกุ ขัน้ ตอนของกระบวนการวจิ ยั ตั้งแตก่ ารเลือก เรื่องทจ่ี ะทาการวิจยั การเลือกผูเ้ ข้าร่วมทาวจิ ยั การดาเนนิ การวจิ ยั ตลอดจนการนาผลงานวิจยั ไปใช้ ประโยชน์

15 2) นักวิจัยตอ้ งใหเ้ กียรตผิ ู้อ่นื โดยการอา้ งถึงบุคคล หรือแหล่งทีม่ าของข้อมลู และ ความคดิ เห็นทนี่ ามาใช้ในงานวิจัย 1.9.1.2 นักวิจยั ต้องซ่ือตรงต่อการแสวงหาทุนวิจัย 1) นักวิจัยตอ้ งเสนอข้อมลู และแนวคิดอยา่ งเปดิ เผย และตรงไปตรงมาในการ เสนอโครงการวิจยั เพ่ือขอรับทุน 2) นักวจิ ัยตอ้ งเสนอโครงการวจิ ัยดว้ ยความซ่ือสัตย์ โดยไม่ขอรบั ทนุ ซา้ ซ้อน 1.9.1.3 นกั วจิ ยั ต้องมีความเป็นธรรมเก่ียวกับผลประโยชน์ ท่ีได้จากการวิจัย 1) นักวจิ ัยต้องจัดสรรสัดส่วนของผลงานวิจัย แก่ผรู้ ่วมวจิ ัยอยา่ งยตุ ิธรรม 2) นักวจิ ัยตอ้ งเสนอผลงานอย่างตรงไปตรงมา โดยไมน่ าผลงานของผู้อ่นื มาอ้างว่าเป็นของตน 1.9.2 นกั วจิ ยั ต้องตระหนักถึงพนั ธกรณีในการทาวจิ ยั ตามขอ้ ตกลงท่ีทาไว้กับหนว่ ยงาน ทีส่ นบั สนนุ การวิจยั และต่อหนว่ ยงานที่ตนสงั กัด 1.9.2.1 นักวจิ ยั ตอ้ งตระหนักถงึ พันธกรณีในการทาวิจัย 1) นักวิจัยต้องศกึ ษาเงื่อนไข และกฎเกณฑ์ของเจ้าของทนุ อย่างละเอยี ด รอบคอบ เพ่อื ป้องกนั ความขัดแย้งทจ่ี ะเกิดขึ้นในภายหลงั 2) นักวจิ ัยตอ้ งปฏบิ ัติตามเง่ือนไข ระเบยี บ และกฎเกณฑต์ ามข้อตกลง อย่างครบถว้ น 1.9.2.2 นักวจิ ัยต้องอุทิศเวลาทางานวจิ ยั นักวิจยั ต้องทุ่มเทความรู้ ความสามารถ และเวลาให้กับการทางานวิจัยเพ่ือให้ ไดม้ าซ่ึงผลงานวจิ ยั ท่มี คี ุณภาพและประโยชน์ 1.9.2.3 นกั วิจยั ต้องมีความรับผิดชอบในการทาวิจัย 1) นักวิจยั ต้องมคี วามรับผิดชอบ ไมล่ ะทงิ้ งานโดยไมม่ เี หตผุ ลอันควรและส่งงาน ตามกาหนดเวลา ไม่ทาผดิ สัญญาขอ้ ตกลงจนก่อให้เกดิ ความเสียหาย 2) นักวิจัยตอ้ งมีความรับผดิ ชอบ ในการจัดทารายงานการวิจัยฉบบั สมบูรณ์ 1.9.3. นักวจิ ยั ตอ้ งมีพนื้ ฐานความรใู้ นสาขาวชิ าการท่ีทาการวิจยั 1.9.3.1 นักวิจยั ต้องมีพ้ืนฐานความรู้ความชานาญหรือประสบการณ์เกีย่ วกับเรื่อง ที่ทาวจิ ัยอย่างเพยี งพอเพื่อนาไปสู่งานวจิ ัยทมี่ ีคุณภาพ 1.9.3.2 นกั วจิ ยั ต้องรกั ษามาตรฐาน และคุณภาพของงานวิจัยในสาขาวชิ าการน้นั ๆ เพื่อป้องกนั ความเสียหายต่อวงการวิชาการ 1.9.4 นักวิจัยต้องมีความรบั ผิดชอบต่อสิ่งที่ศกึ ษาวิจยั ไม่วา่ จะเป็นสงิ่ ทีม่ ีชวี ิตหรือไม่มี ชีวิต 1.9.4.1 การใชค้ นหรือสตั วเ์ ป็นตัวอย่างทดลอง ต้องทาในกรณที ไ่ี มม่ ที างเลอื กอื่น เท่านัน้ 1.9.4.2 นกั วจิ ยั ต้องดาเนนิ การวจิ ยั โดยมจี ิตสานกึ ทีจ่ ะไม่ก่อความเสยี หายต่อคน สัตว์ พชื ศิลปวฒั นธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม 1.9.4.3 นักวจิ ยั ตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อผลทจ่ี ะเกิดแกต่ นเอง กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้

16 ในการศึกษาและสงั คม 1.9.5 นกั วจิ ยั ต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย์ท่ีใชเ้ ป็นตวั อยา่ งในการวจิ ยั 1.9.5.1 นกั วจิ ัยต้องมคี วามเคารพในสิทธิของมนุษยท์ ใี่ ชใ้ นการทดลองโดยต้องไดร้ ับ ความยนิ ยอมก่อนทาวจิ ัย 1.9.5.2 นกั วิจัยตอ้ งปฏิบัติต่อมนุษยแ์ ละสัตว์ที่ใชใ้ นการทดลอง ดว้ ยความเมตตา ไม่คานงึ ถึงแต่ผลประโยชนท์ างวชิ าการจนเกิดความเสียหายทอ่ี าจก่อให้เกดิ ความขัดแย้ง 1.9.5.3 นักวิจัยตอ้ งดูแลปอ้ งกนั สิทธิประโยชน์ และรักษาความลับของกลมุ่ ตวั อย่าง ทใ่ี ช้ในการทดลอง 1.9.6 นกั วจิ ัยต้องมีอิสระทางความคิดโดยปราศจากอคตใิ นทุกข้ันตอนของการทาวิจยั 1.9.6.1 นักวจิ ัยตอ้ งมอี ิสระทางความคิด ไมท่ างานวิจยั ด้วยความเกรงใจ 1.9.6.2 นักวจิ ัยตอ้ งปฏบิ ัติงานวิจัยโดยใช้หลกั วชิ าการเปน็ เกณฑ์ และไม่มีอคติมา เกี่ยวขอ้ ง 1.9.6.3 นักวิจยั ตอ้ งเสนอผลงานวจิ ัยตามความเปน็ จริง ไม่จงใจเบ่ียงเบนผลการวจิ ัย โดยหวงั ประโยชนส์ ว่ นตวั หรอื ตอ้ งการสรา้ งความเสยี หายแก่ผู้อน่ื 1.9.7 นกั วิจยั พึงนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชนใ์ นทางท่ชี อบ 1.9.7.1 นักวิจัยพงึ มีความรับผดิ ชอบและรอบคอบในการเผยแพร่ผลงานวิจัย 1.9.7.2 นักวิจัยพงึ เผยแพรผ่ ลงานวิจยั โดยคานงึ ถงึ ประโยชน์ทางวิชาการและสงั คม 1.9.7.3 ไมเ่ ผยแพรผ่ ลงานเกนิ ความเป็นจริง โดยเห็นแก่ประโยชนส์ ว่ นตนเป็นที่ตั้ง 1.9.7.4 นกั วจิ ยั พึงเสนอผลงานวิจัยตามความเปน็ จริง ไม่ขยายผลข้อคน้ พบ โดยปราศจากการตรวจสอบ ยนื ยันในทางวิชาการ 1.9.8 นกั วิจัยพึงเคารพความคดิ เห็นทางวิชาการของผู้อ่นื 1.9.8.1 นักวิจยั พึงมมี นุษยสมั พันธท์ ่ีดี ยินดีแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และสร้างความ เข้าใจในงานวจิ ัยกับเพื่อนรว่ มงานและนกั การศึกษาอืน่ ๆ 1.9.8.2 นกั วิจัยพึงยอมรับฟัง แก้ไขการทาวจิ ัยและการเสนอผลงานวิจยั ตาม ข้อแนะนาทีด่ ีเพ่ือสร้างความรู้ท่ีถกู ต้องและสามารถนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ได้ 1.9.9 นกั วจิ ยั พึงมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมทุกระดับ 1.9.9.1 นกั วิจยั พึงไตรต่ รองหาหวั ข้อการวจิ ยั ดว้ ยความรอบคอบ และทาการวิจยั ด้วยจิตสานึกท่จี ะอุทิศกาลงั ปัญญาของตน เพื่อความก้าวหนา้ ทางวิชาการเพื่อความเจริญของสถาบัน และประโยชน์สุขต่อสังคม 1.9.9.2 นักวจิ ัยพึงรับผดิ ชอบในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานวิชาการ เพื่อความเจริญของ สงั คม ไม่ทาการวจิ ยั ที่ขัดกบั กฎหมาย ความสงบเรียบร้อย และศีลธรรมอนั ดีของประชาชน 1.9.9.3 นักวจิ ัยพึงพฒั นาบทบาทของตนให้เกดิ ประโยชน์ยิ่งขน้ึ และอุทศิ เวลา นา้ ใจ กระทาการส่งเสรมิ พฒั นาความรู้ จิตใจ พฤติกรรมของนักวิจัยรุ่นใหมใ่ หม้ ีสว่ นสรา้ งสรรค์ความรแู้ ก่ สงั คมสืบไป

17 บทสรปุ การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาความรคู้ วามจริงและความเขา้ ใจในปรากฏการณ์ ซ่ึงเปน็ กระบวนการท่ีมีระบบระเบียบแนน่ อนตามวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์และแนวคิดพ้ืนฐานการวิจยั สาหรบั การวิจยั จาแนกได้หลายประเภทข้นึ อยู่กบั เกณฑท์ น่ี ามาใช้จาแนกขนั้ ตอนของการวิจัย โดยทัว่ ไปยึดหลกั ข้นั ตอนของวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ซ่ึงประกอบดว้ ย การกาหนดปญั หาวจิ ัย การศกึ ษาเอกสารที่เก่ียวข้อง การกาหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจยั การตงั้ สมมติฐานการวิจยั การออกแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การแปลความหมายขอ้ มูล การสรุปผลและเขยี นรายงานการวจิ ยั ซง่ึ งานวิจัยจะมีคณุ ภาพเพยี งใดขนึ้ อยู่กบั นักวิจยั เปน็ สาคญั หากนกั วจิ ยั ทาผิดจรรยาบรรณย่อมสง่ ผลใหง้ านวิจัยขาดคุณภาพ หรือไมส่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์ ไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ดงั นนั้ นักวิจัยควรยึดถือและประพฤติปฏิบตั ิตามแนวทางจรรยาบรรณนกั วจิ ยั เพือ่ รักษาชือ่ เสียงและสง่ เสริมเกียรตคิ ณุ ของสาขาวชิ าชพี ของตน

18 กิจกรรมทา้ ยบทท่ี 1 1. จงให้นิยาม “การวิจยั ” ตามความคิดเห็นของทา่ นเอง 2. การต้ังวตั ถุประสงคก์ ารวิจัยควรมีองค์ประกอบอะไรบ้าง และจงยกตัวอย่างวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั มา 3 วตั ถปุ ระสงค์ 3. จดุ มุ่งหมายของการวจิ ยั แบบสารวจและการวจิ ัยเชงิ ทดลองเหมือนหรอื แตกต่างกนั อย่างไร จงอธบิ าย 4. การวจิ ัยมปี ระโยชน์กบั บุคคลกลมุ่ ใดบา้ ง จงอธิบาย 5. ให้สารวจงานวจิ ัยหรอื วทิ ยานิพนธ์ท่ใี ช้ระเบยี บวิธวี ิจยั ทางสงั คมศาสตร์จานวน 1 เร่ือง แล้วรายงานข้ันตอนการวิจัย พร้อมสรุปข้อคน้ พบ 6. เหตุใดนักวิจยั จงึ ตอ้ งมจี รรยาบรรณ และคุณลักษณะของนักวจิ ัยในเรื่องใดที่สาคัญตอ่ การทาวิจยั มากท่สี ดุ เพราะเหตใุ ด จงให้เหตผุ ลพร้อมยกตวั อย่างประกอบ

19 บทท่ี 2 การกาหนดปญั หาวิจัย และการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง การกาหนดปัญหาวจิ ัยมีความสาคญั มากท่ีสุดในการวิจัย เพราะเปน็ จดุ เร่ิมต้นของการวิจัย ซึง่ เร่มิ ต้นจากการกาหนดปัญหาหรือข้อสงสยั เปรียบเสมือนการตัง้ โจทย์หรือต้ังคาถามจากนนั้ จึงดาเนนิ การเพ่ือนาไปสู่การแสวงหาคาตอบ โดยการพยายามทาใหป้ ัญหาแคบลง ให้กระจ่างชัดเจน ยิง่ ข้นึ จงึ ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้องเพื่อใหม้ องเห็นแนวทางในการศกึ ษาหาคาตอบ การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง มคี วามสัมพันธก์ ับปญั หาวจิ ยั อย่างมาก นักวจิ ัยจึงตอ้ ง ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วข้องเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการวิจัย หรอื กาหนดกรอบ แนวความคิดในการวจิ ัยให้คมชัดยง่ิ ข้นึ ในบทนจี้ งึ ต้องศึกษาในหัวข้อดังน้ี - การกาหนดปัญหาวจิ ัย - การศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 2.1 การกาหนดปัญหาวจิ ัย เมอื่ นักวิจยั ไดเ้ ลอื กหวั ข้อสาหรับการวิจัยแล้ว มไิ ดห้ มายความวา่ นักวิจยั จะสามารถ พิจารณาได้ทันทที วี่ ่ามีข้อมลู ทีต่ ้องการอะไรบ้าง จะใชว้ ิธีการรวบรวมขอ้ มูลอย่างไร และจะวเิ คราะห์ อะไร ท้งั น้ีเพราะก่อนท่นี ักวจิ ัยจะดาเนนิ การตามขนั้ ตอนต่าง ๆ ดังกลา่ ว จาเปน็ ตอ้ งกาหนดปญั หา ใหเ้ ฉพาะเจาะลงไปเสยี ก่อนจึงจะสามารถดาเนินการวจิ ัยต่อไปได้ จงึ ควรตอ้ งศึกษาในเรื่องดังต่อไปนี้ 2.1.1 ความหมายของปัญหาการวิจัย ปัญหาในการวจิ ัย เป็นความอยากร้แู ตย่ ังไม่รใู้ นสภาพการณห์ รอื ปรากฏการณ์ ท่สี นใจศกึ ษา เพ่ือให้รแู้ ละเข้าใจในสภาพการณห์ รอื ปรากฏการณ์ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารดาเนนิ การ ตามข้ันตอนอย่างมีระบบและมีระเบียบแบบแผนท่ีเรยี กวา่ “การวจิ ัย” วาโร เพ็งสวสั ดิ์ (2551 : 19) กลา่ ววา่ ปญั หาการวจิ ัย หมายถงึ ประเดน็ ข้อสงสยั หรือคาถามทผ่ี วู้ ิจัยต้องการดาเนนิ การ หาคาตอบดว้ ยกระบวนการวจิ ยั ปญั หาการวิจยั จะมลี กั ษณะเป็นข้อสงสัยของผู้วิจยั ต่อสถานการณ์ ต่าง ๆ ท้งั ท่เี ป็นความแตกต่างและไมม่ ีความแตกต่างระหว่างสภาพที่เปน็ จรงิ และสภาพทคี่ าดหวัง นัน่ คอื ไมว่ า่ สภาพการณ์ตา่ ง ๆ จะเป็นปัญหาหรือไม่กต็ าม แต่ถ้าหากวา่ ผวู้ จิ ยั เห็นควรหาคาตอบ เพือ่ อธิบายปรากฏการณเ์ หลา่ น้ันกส็ ามารถนามาเปน็ ประเด็นปญั หาการวิจยั ได้ (กาสกั เตะ๊ ขันหมาก. 2553 : 55 - 56) นอกจากนี้ ปจั จัยท่เี ปน็ องค์ประกอบของปญั หาท่ีก่อให้เกิดการวิจัยน้นั พอจะแยก อย่างกว้าง ๆ ได้ 3 ประการ ดังน้ี 2.1.1.1 มีปรากฏการณเ์ กดิ ข้ึน (Phenomena) ปรากฏการณ์น้ันอาจเปน็ สถานท่ี เหตกุ ารณ์หรือสง่ิ ใด ๆ ก็ไดท้ ่ีผวู้ ิจัยให้ความสนใจ อาจเป็นไดท้ ้งั รูปธรรมและนามธรรม เช่น กองทุน หมบู่ ้าน ความยากจน การคอรร์ ปั ชนั่ 2.1.1.2 มีแนวความคิดเกยี่ วกับปรากฏการณ์นน้ั (Concept) ตัวปรากฏการณ์ ที่เกดิ ขึน้ ยังไม่ใช่ปัญหา แตป่ ัญหาจะเกดิ ขน้ึ เมื่อผู้ทาการวิจัยมีแนวคดิ ในเร่ืองนั้น ๆ ไมช่ ัดเจนพอ

20 จงึ ต้องการค้นหาคาอธบิ ายที่ชัดเจนย่งิ ขึน้ แนวความคิดดงั กล่าวนีอ้ าจเกิดข้นึ โดยฉับพลนั ทนั ใด (Intuition) หรอื เกดิ ข้ึนจากการไตรต่ รอง (Postulation) กไ็ ดป้ ญั หาทเี่ ปน็ จุดเริม่ ต้นของการวิจยั จะตอ้ งเกดิ จากผวู้ จิ ัยมแี นวคิดไตรต่ รองแล้ว แต่ยงั ไม่ชัดเจนจงึ ต้องมีการคน้ คว้าหาคาอธบิ ายกนั ต่อไป 2.1.1.3 มีความอยากรอู้ ยากเห็น (Curiosity) การทีม่ ปี ญั หาเกดิ ข้ึนแลว้ ผู้วจิ ัย สนใจอยากรู้อยากเห็น ก็จะค้นหาคาตอบจึงทาใหเ้ กิดการวจิ ัยข้นึ ได้ แตถ่ ้าเกดิ ปัญหาขึน้ แลว้ เราไม่ สนใจทีจ่ ะอยากรคู้ าตอบ ปัญหานัน้ ก็จะขาดความสาคัญไปเราไม่ตดิ ใจทจี่ ะนาไปคดิ วิจยั ต่อไป จากแนวคดิ ของนักการศกึ ษาที่กล่าวมาขา้ งตน้ สามารถสรุปได้ว่า ปัญหาการวิจยั เป็นประเดน็ ทผ่ี วู้ ิจยั สงสยั ใคร่รแู้ ละตอ้ งดาเนนิ การตามระบบกระบวนการวจิ ยั เพ่ือค้นหาคาตอบ ที่ถกู ต้องตรงกบั ความเป็นจริงอยา่ งชดั เจน ซ่ึงในสถานการณ์จริงเรามกั มีข้อสงสัยอยเู่ สมอว่าทาไม จึงเกดิ ปรากฏการณ์บางอย่างข้นึ เพราะเหตุใด ในการกาหนดปญั หาการวจิ ัยปัญหาน้ันจะตอ้ ง หาคาตอบได้โดยอาศยั ข้อมูลซง่ึ ได้มาด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ การสงั เกต สัมภาษณ์ สอบถาม ทดสอบ หรอื หลายวธิ ีรว่ มกนั ปัญหาบางอยา่ งไม่ต้องการหาคาตอบดว้ ยการวจิ ัย เพราะรู้อยูแ่ ล้ว โดยอาศยั สามัญสานึกหรอื เก็บข้อมูลไม่ได้ เช่น ทาไมสง่ิ มีชวี ติ ต้องการอากาศ สาหรบั จดุ เริม่ ตน้ ของปัญหาการวจิ ยั อาจพจิ ารณาได้จากปัจจยั ทีเ่ ป็นองคป์ ระกอบของปัญหาการวจิ ัย 2.1.2 แหล่งที่มาของปัญหาการวจิ ัย นกั วจิ ัยมอื ใหมท่ ั่วไปมกั จะพบกบั ปัญหาว่าไม่ทราบจะทาวจิ ัยเรือ่ งอะไร โดยความจริง แลว้ ในทางสงั คมศาสตรห์ วั ขอ้ ปญั หาการวจิ ยั สามารถกาหนดขน้ึ มาไดห้ ลายทางด้วยกนั ซึ่งนักการ ศึกษาได้เสนอแนวคิดเก่ยี วกบั แหลง่ ที่มาของปัญหาการวิจัยไว้ดังน้ี รวีวรรณ ชินะตระกูล (2533 : 18) ไดก้ ลา่ วว่า แหล่งทมี่ าของปัญหาการวิจัย ได้แก่ การอ่านคน้ ควา้ จากเอกสาร การฟังผู้อ่ืนพูด การวิจารณจ์ ากแหล่งต่าง ๆ มคี วามสนใจเป็น การสว่ นตัว และเป็นความสนใจของหนว่ ยงานหรือบคุ คลอนื่ สชุ าติ ประสทิ ธริ ัฐสนิ ธุ์ (2538 : 26 - 28) ไดก้ ล่าวว่า ปัญหาการวิจยั อาจไดม้ า จากแหล่งสาคญั ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ 1) ผทู้ าการวจิ ยั อาจเกิดจากประสบการณ์และภูมหิ ลังบางเร่อื ง ท่ผี ้จู ะทาการวิจัยเอง สนใจต้องการหาคาตอบข้อเทจ็ จรงิ เพอื่ ยืนยนั หรือทดสอบ 2) วรรณกรรม ทีเ่ ก่ียวข้องทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม วรรณกรรมอาจหมายถงึ ผลงานทางดา้ นเอกสาร ผลงาน ทางดา้ นการวิจยั และทฤษฎตี ่าง ๆ ทม่ี ีอยู่ในสาขาวชิ าหรอื ทีเ่ ก่ยี วข้องกับสาขาวิชา จากการอ่าน ทบทวนและการวิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์วรรณกรรมเหล่าน้ี ผูท้ จ่ี ะทาวิจัยอาจพบชอ่ งวา่ ง จุดอ่อน หรือเรอ่ื งทีค่ วรศึกษาต่อ หรือพงึ ทาได้ 3) ผู้นาทางวิชาการ เนอ่ื งจากผูน้ าทางวชิ าการในแต่ละ สาขาได้คลุกคลีอยกู่ บั วิชาการในด้านนีม้ าเป็นเวลานาน จงึ ทราบรายละเอยี ดเก่ียวกับความกา้ วหน้า ทางวชิ าการในสาขาเป็นอยา่ งดี ทราบว่ามีเรื่องใดท่สี าคัญและควรศกึ ษาแตย่ งั ไม่มีการศกึ ษา จึงเป็นบุคคลท่ีสามารถจะชีป้ ัญหาการวจิ ัยทด่ี ไี ด้ 4) แหล่งทนุ อดุ หนุนการวิจัย แหล่งทุนทั้งภายใน และภายนอกประเทศในบางสาขาวิชา แหลง่ ทุนจะกาหนดหวั ขอ้ ปญั หาการวิจยั กว้าง ๆ ใหท้ ราบว่า ขณะนี้แหล่งทุนกาลงั สนใจที่จะสนบั สนุนการวจิ ยั เรอื่ งอะไรบ้าง 5) ข่าวในส่ือมวลชน ซ่งึ สะท้อนให้ เหน็ ถึงปญั หาและเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ในปจั จุบัน ซึง่ เป็นเร่อื งที่คนในวงการกาลงั สนใจอยู่ ปัญหาและ

21 เหตุการณต์ า่ ง ๆ เหลา่ นัน้ ส่วนมากยังไม่มีขอ้ ยุตทิ ี่แนน่ อน หรอื ถึงแนน่ อนแลว้ ก็อาจจะยังไมถ่ ูกต้อง ตามหลักวิชาการหรอื ยังมเี สยี งคัดค้านอยู่ ซ่ึงเปดิ โอกาสทีจ่ ะทาให้มกี ารศึกษาหาข้อสรปุ ท่แี น่นอน หรือเหมาะสมได้ สากล จรยิ วทิ ยานนท์ (2550 : 47) ได้กล่าวถึงปจั จยั ที่สาคญั ที่เปน็ ที่มาของ ปัญหาการวิจัยเกิดจาก 1) ปรากฏการณ์ (Phenomenon) เปน็ เหตกุ ารณ์ที่เกดิ ขนึ้ ในสังคม ซง่ึ ผูท้ ี่จะทาการวิจัยได้ใหค้ วามสนใจในเหตกุ ารณน์ ัน้ ๆ อาจจะเปน็ เหตุการณ์ปกตหิ รือเหตกุ ารณ์ พิเศษก็ได้ ปรากฏการณ์อาจจะเกิดจากการสงั เกตดว้ ยตนเองหรือจากผู้อ่นื ดงั น้ัน ปรากฏการณ์ ท่เี ปน็ ที่มาของปัญหาในการวิจยั นัน้ จึงมีอยเู่ สมอและอาจเป็นปรากฏการณ์ทางทฤษฎหี รือแนวความคิด ก็ได้ ปรากฏการณจ์ ึงเปน็ ปัจจยั ทที่ าหน้าท่ใี นการกระตุ้นให้เกิดความสนใจทางวทิ ยาศาสตร์และ แสวงหาเหตุผลหรือทฤษฎมี าอธบิ ายปรากฏการณน์ นั้ ๆ 2) ความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) เป็นคณุ สมบัติหนง่ึ ของมนุษย์ท่เี ป็นเหตจุ งู ใจให้กระทาหรือละเวน้ การกระทาสง่ิ ใดสงิ่ หนึง่ กไ็ ด้ โดยปกติ ผ้ทู จ่ี ะทาการวิจยั จะต้องเป็นผู้ท่ีมคี วามอยากรู้อยากเหน็ และพยายามหาคาตอบอธบิ ายปรากฏการณ์ ตา่ ง ๆ สงู กว่าบคุ คลทว่ั ๆ ไป และความอยากรู้อยากเหน็ นี้จะเปน็ ความอยากรู้อยากเห็นในทาง วิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องเข้าใจถึงสาเหตุอนั เปน็ ที่มาของปรากฏการณห์ รือผลต่อเน่ืองของปรากฏการณ์ ดังกลา่ ว 3) แนวทฤษฎี (Theoretical concept) ในการทาวจิ ัยนั้นนกั วจิ ัยจะต้องมีความร้ทู าง ทฤษฎหี รอื แนวความคิดในเรื่องน้ัน ๆ อย่างเพียงพอ ทฤษฎเี กดิ ขึ้นจากข้อสรุปที่ได้จากการพสิ จู น์ การทดสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้นไวก้ บั ข้อเทจ็ จริง และปรากฏว่ามีความสอดคล้องกันเนอื่ งจากในบรรดา สาขาวชิ าการต่าง ๆ มแี นวความคดิ ทางทฤษฎีมากมาย ดังนน้ั ผู้วจิ ยั จะต้องทราบและนามาใช้ เปน็ เครื่องมือเพื่อเปน็ กรอบของความคิด จะช่วยใหก้ ารมองปญั หาท่ีต้องการศกึ ษาไดช้ ดั เจนยิ่งขนึ้ และ 4) อุดมการณ์ (Ideology) หรือจุดยืนของผ้วู ิจัยซึง่ หมายถึง สถานะของความเช่ือของผู้วิจยั ทีม่ ตี ่อปรากฏการณ์และเป้าหมายของการดาเนนิ การวจิ ยั อดุ มการณ์เกิดจากคา่ นยิ ม การฝึกฝน อบรม ตลอดจนการเรียนรแู้ ละประสบการณ์ที่จะทาให้ผวู้ ิจัยมีทศั นะต่อปรากฏการณน์ ั้น ๆ ไปในดา้ น ต่าง ๆ จากแนวคดิ ของนักการศกึ ษาที่กล่าวมาขา้ งต้น สามารถสรุปได้วา่ แหล่งที่มาท่ีจะทาให้ ไดห้ ัวขอ้ ปัญหาในการวิจัยท่ีสาคญั มีดังน้ี 2.1.2.1 จากการอา่ นเอกสาร เชน่ หนังสือ ตารา หรือวารสารทางวิชาการต่าง ๆ จะทาใหผ้ ู้อ่านมีความร้คู วามคิดกว้างขวางข้ึนและอาจจะได้ข้อคิดว่ามีสิง่ ใดท่ีควรทาวจิ ยั หรือใน บางกรณีผวู้ จิ ยั อาจสงสัยว่าสิ่งท่ีกล่าวไว้เปน็ ทฤษฎใี นเร่ืองใดเรือ่ งหน่ึงน้นั จะนาไปใชไ้ ด้จรงิ หรอื ไม่ ในสภาพแวดลอ้ มทแ่ี ตกต่างออกไป ผวู้ ิจยั ก็อาจทาการวจิ ัยเพอ่ื ตรวจสอบดผู ลท่เี กดิ ข้นึ วา่ เป็นไปตาม ทฤษฎีหรือไมจ่ ากการอ่านเอกสารทาใหไ้ ดห้ ัวข้อปญั หาการวจิ ยั ได้ 2.1.2.2 จากการอ่านงานวจิ ัยของผู้อื่น เช่น วารสารวิจยั ต่าง ๆ และปรญิ ญานิพนธ์ ต่าง ๆ ข้อค้นพบทไ่ี ดจ้ ากการทาวจิ ยั และข้อเสนอแนะท่ผี ู้วิจัยให้ไวจ้ ะเป็นแนวทางทาให้ได้แนวคดิ เกย่ี วกับเรือ่ งท่จี ะทาวิจยั ได้ 2.1.2.3 จากการอา่ นบทคัดย่อปรญิ ญานิพนธ์ หรอื บทคดั ยอ่ รายงานการวจิ ยั ที่ไดร้ วบรวมไว้เป็นเลม่ ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงานวจิ ยั ตา่ ง ๆ บทคดั ย่อเหลา่ น้จี ะเป็นที่รวบรวม ของบทคัดย่องานวจิ ยั เรอื่ งตา่ ง ๆ จานวนมาก เมือ่ ได้อา่ นก็จะทาให้เกดิ แนวคิดท่ีจะเลือกหัวข้อ

22 ปัญหาวจิ ยั ได้ 2.1.2.4 จากประสบการณ์และความสนใจของผู้วจิ ัยเอง หัวข้อปญั หาวจิ ัยอาจได้ จากปัญหาในการทางานของผู้วจิ ัยเองกเ็ ปน็ ไปได้ เช่น ผู้วิจยั เป็นผู้บริหารอยากรวู้ า่ ผู้บริหารควรจะ ปฏบิ ตั ิตนต่อผ้ใู ต้บังคบั บญั ชาอย่างไร 2.1.2.5 จากขอ้ เสนอหรอื ข้อคดิ ของผ้รู ู้ ผู้ชานาญ ที่คลกุ คลีกับงานวจิ ัยใน สาขาวิชาทีต่ นสนใจ เชน่ อาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลัยท่ีทาการวิจัยมานาน 2.1.2.6 จากการวเิ คราะห์แนวโนม้ ของเหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ้ โดยพิจารณาถงึ การเปล่ียนแปลงในสงั คมตามสภาพเวลาและเทคนิควทิ ยาการตา่ ง ๆ อาจทาใหค้ ิดปัญหาได้ 2.1.2.7 จากการโตแ้ ย้งหรือการวพิ ากษ์วจิ ารณ์ของบุคคลที่อย่ใู นวงการในเรือ่ งใด เร่ืองหนึง่ ท่ตี รงกับเรื่องที่ผวู้ จิ ัยกาลังสนใจอยู่ 2.1.2.8 จากการจดั สมั มนาและมีการอภปิ รายปญั หาต่าง ๆ ในเร่อื งที่ตรงกบั ทผ่ี วู้ ิจัยสนใจ เมอ่ื นามาคิดพิจารณาอาจทาใหไ้ ด้หวั ข้อปัญหาการวจิ ยั ได้ 2.1.2.9 จากสถาบนั หรอื หน่วยงานต่าง ๆ ท่มี ีการทาวิจัย หรอื บุคคลที่กาลังทา วิจัยอยู่ อาจทาให้ไดแ้ นวคดิ อนั จะทาใหไ้ ด้หัวขอ้ ปัญหาการวจิ ัยได้ 2.1.2.10 จากปญั หาทผ่ี ู้อ่ืนกาหนดให้ เช่น ผู้บังคบั บญั ชามอบหมายใหท้ า อาจารยแ์ นะนาใหน้ ักศกึ ษาทาการวิจัยในปัญหาที่อาจารย์กาลังสนใจอยู่ 2.1.3 เกณฑใ์ นการเลือกปัญหาการวจิ ยั กอ่ นที่จะเลอื กปญั หาวิจยั ผูว้ ิจยั ควรพิจารณาใหร้ อบคอบเพือ่ ให้ได้ปัญหาวิจัยที่ดี มคี ณุ คา่ หรือประโยชน์อยา่ งคุ้มคา่ ดังน้นั ในการเลือกปัญหาวจิ ยั จงึ ควรใชเ้ กณฑใ์ นการพจิ ารณา ดังนี้ (พชิ ติ ฤทธจ์ิ รูญ. 2551 : 43 45) 2.1.3.1 ด้านความสนใจและความสามารถของผู้วจิ ัย ประกอบดว้ ย 1) เปน็ เรอื่ งทผ่ี ู้วิจยั มคี วามสนใจและตงั้ ใจท่ีจะคน้ หาคาตอบอยา่ งแท้จรงิ ผู้วจิ ัย จะต้องตรวจสอบความต้องการที่แท้จรงิ ของตนเองกอ่ น เพื่อเปน็ จุดเริม่ ต้นใหผ้ ูว้ ิจยั มองเห็นทิศทาง และเป้าหมายของงานวจิ ยั นัน้ ได้ และเพ่ือไมใ่ หเ้ กิดความเบ่ือหน่ายภายหลัง 2) เป็นเรื่องทผ่ี วู้ ิจยั มคี วามรูค้ วามสามารถและประสบการณ์โดยตรง ผู้วจิ ัยควร เลือกปญั หาวิจัยที่อย่ใู นสาขาวชิ าชีพของตนเองท่ผี ู้วจิ ยั มีความรลู้ ึกซ้งึ อยา่ งเพยี งพอ เพื่อใหส้ ามารถ ดาเนินการวจิ ัยไดจ้ ริงและไม่เกิดผลเสยี หายต่อการวิจยั ภายหลงั 2.1.3.2 ด้านคุณคา่ ของปัญหาวิจยั ประกอบดว้ ย 1) เป็นเร่อื งทม่ี คี วามสาคญั มีคุณคา่ และเป็นประโยชน์ ปัญหาท่ีวิจยั ควรเปน็ เรือ่ ง ทไี่ ม่ซ้าซอ้ นกับงานวจิ ยั ของผู้อน่ื ไมล่ ว่ งละเมิดสิทธิส่วนบุคคล หรือทาใหผ้ ูอ้ ืน่ ได้รบั ความเสยี หาย เป็นประโยชน์ตอ่ การแก้ปญั หาทมี่ อี ยู่ในปจั จุบัน และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาข้นั สงู ต่อไป รวมทง้ั เปน็ ประโยชนต์ อ่ องคก์ รหรือหน่วยงานและสาธารณชนโดยทั่วไป 2) เปน็ เร่อื งทเ่ี สริมสร้างความรูใ้ หม่ หรือชว่ ยขยายพรมแดนขององค์ความรูข้ อง ศาสตร์ในแตล่ ะสาขา ปญั หาที่วิจัยควรเป็นเร่ืองใหม่ทันต่อเหตุการณแ์ ละอยู่ในความสนใจของคนทว่ั ไป ทชี่ ว่ ยเพิม่ ความรู้ใหม่ หรือขยายพรมแดนขององคค์ วามรู้ของศาสตร์แตล่ ะสาขาให้มคี วามเขม้ แขง็ มากข้นึ

23 3) มคี วามเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏบิ ตั ิ การเลอื กปัญหาวิจยั น้ัน ไมค่ วรกาหนดหัวขอ้ ท่ียาก หรือเปน็ หัวข้อท่เี พอ้ ฝันเกนิ ไปแต่ควรเปน็ เร่อื งท่สี ามารถนามาปฏิบตั ไิ ด้จรงิ เพราะหากเปน็ หัวข้อ ท่ียากหรอื เพ้อฝันมากเกนิ ไป อาจจะเกินความสามารถของผู้วิจัยและทาใหง้ านไมบ่ รรลุเป้าหมายทีว่ างไว้ นอกจากนน้ั ควรพจิ ารณาในเร่ืองเวลา และเงนิ ทุนวา่ มเี พียงพอในการดาเนินการวิจัยในเร่ืองนน้ั ๆ หรอื ไม่ 4) มีความนา่ สนใจ ปญั หาทีจ่ ะวิจัยไม่ควรเปน็ เรื่องท่รี ู้ ๆคาตอบกันอยู่แลว้ ไมต่ ้อง ทาการวิจยั ก็รคู้ าตอบได้ ปญั หาวจิ ยั จึงควรเป็นเรือ่ งใหม่ ๆ ทันต่อเหตกุ ารณ์ ทค่ี นสว่ นใหญ่กาลงั ให้ ความสนใจกนั อยใู่ นปัจจบุ นั แต่ยงั ไม่มีคาตอบในเร่ืองเหล่าน้ัน 5) มีแหล่งข้อมูลเพียงพอ แหล่งขอ้ มูลทผ่ี วู้ จิ ยั สามารถจะเขา้ ถึงหากไม่ได้พิจารณา ล่วงหน้าอาจทาใหง้ านวิจัยล่าชา้ หรือหยดุ ชะงกั ได้ ถา้ มีแหล่งขอ้ มลู เพยี งพอ ผู้วิจยั จะมีความรู้กว้างขวาง ทาใหท้ ราบทฤษฏีต่าง ๆ และงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้องซึ่งจะเปน็ แนวทางในการตง้ั สมมติฐาน การวางแผน การวจิ ัย และการเลอื กใชส้ ถติ ิตลอดจนได้แนวคดิ ในการอภิปรายผลและใหข้ ้อเสนอแนะ 6) ระดับของการวจิ ัยมีความเหมาะสม งานวจิ ยั มหี ลายระดับ ผู้วจิ ยั ควรพจิ ารณา ความยากง่ายใหเ้ หมาะสมกบั ระดับทีต่ ้องการของงานวิจยั เช่น การศึกษาวา่ จานวนคนป่วยทเ่ี ปน็ โรคเอดส์จะแตกตา่ งกันหรอื ไม่ ระหว่างเพศชายกบั เพศหญิง แมว้ ่าจะออกแบบการวจิ ยั ทุกอย่างถูกต้อง ตามระเบยี บวธิ กี ารวิจัย แต่ก็ง่ายเกินไปสาหรบั การทาวจิ ยั ในระดับปริญญาโท 2.1.3.3 ดา้ นสภาพทเ่ี อ้ือต่อการวิจยั ประกอบดว้ ย 1) มีแหลง่ อานวยสาหรบั ศกึ ษาคน้ ควา้ เร่ืองท่เี กีย่ วข้องอย่างเพยี งพอ เช่น หอ้ งสมุด ศูนย์บริการสบื คน้ ด้วยคอมพวิ เตอร์ ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการตา่ ง ๆ 2) มที รัพยากรเพยี งพอในการดาเนินการวจิ ัย เช่น เงิน กาลังคน วัสดุ อปุ กรณ์ ตา่ ง ๆ ตลอดจนเวลาของผู้วจิ ัย ทงั้ นี้เพราะการวจิ ัยจาเปน็ ต้องใชท้ รัพยากรต่าง ๆ ในการดาเนินการ ตง้ั แตก่ ารสร้างเครื่องมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมูล และการจดทารายงานการวิจยั 3) ขอความรว่ มมือจากผูเ้ กี่ยวขอ้ งได้ ผูว้ จิ ยั ควรพจิ ารณาความร่วมมือทจี่ ะได้รับ หากทาวิจยั เรื่องใดเร่ืองหนึง่ เชน่ การใหค้ วามร่วมมอื ของหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องโดยเฉพาะเรื่องการ เก็บรวบรวมขอ้ มลู การสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณ การให้ความสะดวกในการวเิ คราะห์ข้อมูล สรุปไดว้ า่ การรเู้ กณฑ์ในการเลือกปญั หาวิจัยดังกลา่ วขา้ งต้น จะชว่ ยใหผ้ ูว้ ิจยั มีเกณฑ์ ในการประเมินปญั หาวจิ ัย เพ่ือให้สามารถตดั สนิ ใจเลอื กประเดน็ ปญั หาท่จี ะวิจัยได้อย่างเหมาะสม และมีคุณประโยชนอ์ ย่างแทจ้ ริง 2.1.4 การกาหนดปัญหาการวจิ ยั ในทางปฏิบตั ิ การกาหนดปัญหาการวิจยั เปน็ ข้ันตอนทกี่ ระทาหลังจากผ้วู จิ ยั เลือกปัญหา การวจิ ยั ได้แลว้ ปญั หาทีเ่ ลือกไดโ้ ดยปกติจะเปน็ ปัญหากวา้ ง ๆ ที่ผู้วจิ ัยสนใจและอยากรู้คาตอบ การกาหนดปัญหาคือวธิ กี ารสรปุ ปัญหากว้าง ๆ ที่เลือกได้มาให้แคบลงเพ่ือความสะดวกแก่การเข้าใจ และการกาหนดปญั หาการวิจัยในเชงิ ปฏบิ ตั อิ าจกาหนดไดส้ องลกั ษณะคือ กาหนดในรูปของประโยค คาถามหลักแล้วตามดว้ ยคาถามย่อย ซง่ึ อวยพร เรืองตระกูล (2553 : 15 - 17) ได้เสนอ รายละเอยี ดต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วกับปัญหาการวจิ ยั ดงั น้ี

24 2.1.4.1 ปญั หาการวิจัยหรอื โจทยว์ ิจัย (Research Problem) ปญั หาการวจิ ัยหรอื โจทยว์ ิจัย หมายถงึ สิง่ ที่นกั วจิ ัยมีความสงสยั สนใจ ใคร่รู้ ต้องการหาวิธีการแก้ (Solution) หรือหาคาตอบท่ีถกู ต้องแท้จรงิ ด้วยกระบวนการวิจัย ปัญหาวิจยั หรือโจทยว์ ิจัยมกั เรม่ิ มาจากปัญหากวา้ ง ๆ และยังคลุมเครือ นักวิจยั จงึ ตอ้ งหาวธิ ที จี่ ะทาให้ปัญหา วิจัยท่ีสนใจแคบลงและชดั เจนมากข้นึ เหมือนกับการโฟกสั กล้องสอ่ งทางไกล เพ่ือใหไ้ ด้ภาพของ ปัญหาท่ีมองไดช้ ัดเจนย่ิงข้นึ กระบวนการในการกาหนดปัญหาวจิ ยั หรือโจทย์วจิ ัย นกั วิจัยมือใหมท่ ่ีเพงิ่ เร่ิมตน้ ทาวจิ ัยครง้ั แรกอาจจะเร่ิมตน้ คน้ หาประเดน็ ปัญหาวจิ ยั (Research Issue) เพ่ือนาไปสู่การกาหนด ปญั หาวจิ ัยหรอื โจทยว์ จิ ัย (Research Problem) ดว้ ยกระบวนการดงั น้ี 1) การกาหนดขอบขา่ ยประเด็นปัญหาทีน่ า่ สนใจ (Problem Area) นกั วิจยั จะตอ้ งเริ่มตน้ คน้ หาขอบข่ายของประเดน็ ปัญหาที่ตนเองสนใจ นักวจิ ยั จะตอ้ งถามตัวเองว่าสนใจ ปญั หาเกยี่ วกบั เรื่องอะไร เช่น ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี น การพฒั นาครู การพฒั นา หลกั สูตร การพฒั นาการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์ 2) การตีกรอบปญั หาการวจิ ยั ใหแ้ คบ นกั วจิ ัยตอ้ งศึกษาวา่ ประเด็นปัญหา ทีน่ ักวิจยั สนใจน้นั ในปัจจุบนั ได้มกี ารทาวจิ ยั เกี่ยวกบั เร่ืองน้ีหรอื ไม่อย่างไร องคค์ วามร้เู กี่ยวกับ ประเด็นน้นั ได้มกี ารคน้ พบอะไรบ้าง ปญั หาการวิจยั ที่ควรทาตอ่ มอี ะไรอีกบ้าง ซึ่งกระบวนการนี้ นักศกึ ษาทีเ่ ริ่มทาวิทยานิพนธ์สว่ นใหญโ่ ดยเฉพาะในระดบั ปริญญาเอกได้มกี ารทาอยู่แลว้ คือการทา รายงานมโนทศั น์ (Concept Paper) ในเรือ่ งท่ีนักศึกษาสนใจ ตวั อยา่ งเชน่ นกั วจิ ัยสนใจเก่ียวกับการคิดวิเคราะห์ นักวิจัยตอ้ งนาเสนอ รายงานมโนทัศน์เก่ียวกับการคดิ วิเคราะห์ ประกอบด้วย ความเปน็ มาและความสาคัญของ การคิดวเิ คราะห์ แนวคดิ หรอื ทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การคิดวเิ คราะห์ องค์ประกอบหรือตวั บ่งช้ี เกี่ยวกบั การคดิ วเิ คราะห์ งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การคิดวิเคราะห์ และประการสุดท้ายกค็ ือ การนาเสนอประเด็นวจิ ัยที่ควรทาเกยี่ วกบั การคดิ วิเคราะห์ 3) การคัดเลือกประเด็นปญั หาวิจัย เมื่อนักวจิ ัยมีประเดน็ ทนี่ ่าทาวิจัยจาก การศึกษามโนทัศน์ในเร่ืองที่นักศึกษาสนใจซึง่ มหี ลายประเด็น นกั วิจยั อาจต้องคัดเลือกประเด็นปญั หาวิจยั ท่ีนกั วจิ ัยมีความอยากทามากที่สดุ ประเดน็ ที่ทานัน้ ควรเป็นประเด็นทนี่ ักวิจัยถนัดและประการสุดท้าย เป็นเรื่องท่ตี รงกับสาขาการทางานของนักวิจยั เชน่ นักวิจัยสนใจการควบคุมป้องกันไข้หวดั 2009 นักวิจัยท่ีอยใู่ นสาขาการศึกษาอาจจะต้องทาในขอบข่ายของกลุ่มนักเรียน หรือถา้ เป็นนักศึกษาที่จะต้อง ทาวทิ ยานิพนธ์ ต้องรวู้ ่าประเดน็ วิจัยทีส่ นใจน้ันอยใู่ นขอบข่ายท่สี ามารถทาไดห้ รือไม่ เป็นเรื่องท่ีข้าม สาขาหรือไม่ สาขาอนุญาตให้ทาหรือไม่ 4) กาหนดประเดน็ ปัญหาวจิ ัย เม่ือนักวิจัยไดต้ ัดสนิ ใจคดั เลือกปัญหาวิจัย เรียบร้อยแลว้ นักวิจัยจะต้องมกี ารศึกษารายละเอียดเกย่ี วกับขัน้ ตอนการทาวจิ ัยในขัน้ ต่อไป 2.1.4.2 คาถามวิจัย (Research Question) คาถามวจิ ัย เป็นคาถามทีน่ กั วิจยั ตัง้ ขน้ึ เพ่ือค้นหาคาตอบท่ีนาไปสวู่ ธิ กี ารแก้ปัญหา วจิ ัย คาถามวิจัยคลา้ ยคลึงกบั ปญั หาวจิ ัย แตป่ ญั หาวจิ ัยมีขอบเขตกวา้ งกว่าคาถามวิจยั ในการเขียน ปัญหาวิจยั และคาถามวิจยั จึงตอ้ งสอดคล้องกัน ในการทาวิจัยนักวจิ ยั จะกาหนดปญั หาวิจัย

25 ขึ้นมาก่อน อาจเขียนเปน็ ปัญหาหลกั ปญั หาเดียว หรอื เขียนแยกย่อยเปน็ ปญั หายอ่ ย ๆ หลายปัญหา ที่เป็นอสิ ระจากกนั โดยมนี า้ หนักความสาคัญเท่าเทียมกนั ก็ได้ แล้วจงึ นาปัญหาวิจยั นัน้ มาแยกแยะ ต้งั เป็นคาถามวจิ ัยยอ่ ย ๆ หลายคาถาม ตวั อย่าง ปัญหาวิจัย “การสอนแบบบรรยายร่วมกับการใช้คอมพิวเตอร์เปน็ สอ่ื การสอนจะทาให้นกั เรียน มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้นกวา่ การสอนแบบบรรยายหรือไม่” ซ่งึ นักวิจัยอาจ ตัง้ เป็นคาถามวิจยั ย่อย ๆ ได้ดังน้ี 1. นักเรียนทเ่ี รียนแบบบรรยายรว่ มกบั การใช้คอมพิวเตอรเ์ ปน็ สือ่ การสอนจะมผี ลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นคณิตศาสตรอ์ ยู่ในระดบั ใด 2. นักเรียนท่ีเรียนแบบบรรยายจะมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนคณิตศาสตร์อยู่ในระดับใด 3. นกั เรยี นทเี่ รียนแบบบรรยายร่วมกบั การใช้คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ส่อื การสอนจะมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร์ สงู กว่านกั เรยี นทเ่ี รยี นแบบบรรยายหรือไม่ อยา่ งไร ปญั หาวิจัย “โปรแกรมการบรหิ ารสมองเพ่ือสง่ เสริมความสามารถในการอ่านภาษาไทยเพ่ือความ เขา้ ใจของนักเรยี นประถมศึกษาควรเปน็ อยา่ งไรและสามารถพฒั นาให้นักเรียนมีความสามารถในการ อ่านภาษาไทยเพอ่ื ความเข้าใจไดด้ ีขนึ้ หรือไม่อยา่ งไร” นกั วิจัยตง้ั เป็นคาถามยอ่ ย ๆ ได้ดังน้ี 1. โปรแกรมการบรหิ ารสมองเพือ่ สงเสรมิ ความสามารถในการอา่ นภาษาไทยเพื่อความ เขา้ ใจของนกั เรียนประถมศึกษาควรมีองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง 2. โปรแกรมการบริหารสมองทพ่ี ฒั นาขึน้ สามารถพฒั นาให้นักเรียนมีความสามารถในการ อ่านภาษาไทยเพื่อความเขา้ ใจไดด้ ีขน้ึ หรือไมอ่ ย่างไร 3. โปรแกรมการบริหารสมองที่พฒั นาขึน้ รูปแบบใดท่ีสามารถพฒั นาใหน้ ักเรยี นมี ความสามารถในการอ่านภาษาไทยเพื่อความเขา้ ใจไดด้ ีที่สดุ ปญั หาวจิ ัย “โครงการสง่ เสริมและพฒั นานักเรียนที่มคี วามสามารถพิเศษในการเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษา ตอนปลายกรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ ารบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการหรือไม่อย่างไร” นกั วิจัยตงั้ เป็นคาถามวิจัยย่อย ๆ ไดด้ ังน้ี 1. โครงการส่งเสรมิ และพฒั นานกั เรียนทีม่ ีความสามารถพิเศษในการเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษา ตอนปลายกรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการมีความพร้อมในการดาเนนิ การด้านต่าง ๆ อยูใ่ น ระดับใด 2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนในโครงการฯอย่ใู นระดับใด 3. อัตราความสาเรจ็ ในการศึกษาต่อของนกั เรียนในโครงการฯเปน็ อย่างไร

26 1) ลกั ษณะของคาถามวจิ ยั ท่ดี ี (Characteristics of Good Research Question) ในการตั้งคาถามวิจัยนักวจิ ัยจะตอ้ งคานงึ ถึงลักษณะของคาถามวจิ ยั ท่ดี ี ดังนี้ 1.1) คาถามการวจิ ัยตอ้ งทาได้ (Feasible) การตัง้ คาถามวจิ ยั นักวิจัย ต้องคานึงถงึ ความเป็นไปได้สามารถศึกษาจากแหลง่ ข้อมูลท่ีมีอยู่ คาถามวิจยั บางคาถามอาจจะทาได้ แตต่ อ้ งใช้เวลาและงบประมาณมากเกนิ กวา่ ที่นักวจิ ยั จะทาได้ นักวิจยั ควรตัง้ คาถามวจิ ยั แบบอน่ื ทต่ี อ้ งใช้เวลาและงบประมาณที่น้อยกว่า นักวจิ ยั การศึกษาส่วนใหญ่มกั จะเป็นนักวจิ ยั ภายนอก เชน่ นกั วชิ าการ หรือนกั การศกึ ษาจากสถาบันอุดมศกึ ษาและนกั ศึกษา ทเ่ี ข้าไปทาวจิ ัยในโรงเรยี น มากกวา่ จะเป็นครูในโรงเรยี นทาวิจัยเอง ซง่ึ ตา่ งจากการวจิ ัยทางธรุ กจิ ทางการแพทย์ หรือทาง การเกษตร ตวั อยา่ งเชน่ “นกั เรยี นในถน่ิ ทรุ กันดารจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เพิ่มขึน้ อยา่ งไร เมอื่ นักเรียนทุกคนได้รบั คอมพิวเตอรโ์ นต๊ บุ๊คในการเรียน” เปน็ คาถามวิจยั ทีไ่ ม่ สามารถทาไดเ้ พราะนักวจิ ยั ต้องจดั หาคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊คให้นักเรยี นทกุ คน ซง่ึ ตอ้ งใชง้ บประมาณ มาก นกั วจิ ยั อาจปรับปรุงคาถามวจิ ัยใหส้ ามารถทาได้จรงิ เชน่ นกั เรยี นจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพิ่มข้ึนอยา่ งไร เมอ่ื นักเรยี นได้รับการสอนดว้ ยสอื่ การสอนแบบใหม่ ซึ่งสื่อการสอนแบบใหม่ อาจจะเปน็ วีดีโอ หรอื การเล่นเกมก็ได้ 1.2) คาถามวิจยั ต้องชดั (Clear) เนอ่ื งจากคาถามวจิ ัยเป็นแนวทาง ให้นกั วจิ ัยค้นหาคาตอบในการวิจัย ดังนั้นถา้ คาถามไม่ชดั เจน จะทาให้การวจิ ยั ได้คาตอบท่ีไมต่ รง ประเด็นการวิจัย คาถามการวิจัยท่ชี ัดเจนตอ้ งเปน็ คาถามที่คนส่วนใหญ่เข้าใจตรงกนั ไม่คลมุ เครือ โดยการนิยามตัวแปรอยู่ในรูปของนิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ (Operational Definition) ซึง่ จะนยิ าม อย่ใู นรูปของกิจกรรม วิธีการ หรอื พฤติกรรมท่ีใชใ้ นการวัดตัวแปรนน้ั จะทาให้มีความหมายชดั เจน กว่าการนยิ ามตามพจนานกุ รม หรอื ดิกช่ันนารี หรอื ตามทฤษฎี หรือการนิยามด้วยการยกตัวอยา่ ง ซ่งึ ตวั อย่างทยี่ กมาอาจไมค่ รอบคลุมความหมายของตัวแปรทง้ั หมดก็ได้ ตัวอยา่ งเช่น “ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรยี นจะเป็นอย่างไร เม่อื ครูใช้เกมการแข่งขนั เปน็ กลุม่ ในกจิ กรรมการเรียนการสอน” ในที่นี้ไม่ชัดเจนวา่ ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนหมายถงึ อะไร หมายถงึ เกรด หรือหมายถึงคะแนนท่ีไดจ้ ากการทดสอบ หรือหมายถึง คะแนนจากการทาแบบฝึกหัด ซ่ึงอาจต้ังคาถามวจิ ัยให้ชัดเจนขน้ึ คือ นักเรียนจะมีคะแนนจากการ สอบเป็นอย่างไร เม่ือครใู ชเ้ กมการแข่งขันเปน็ กล่มุ ในกิจกรรมการเรยี นการสอนวชิ าคณติ ศาสตร์ 1.3) คาถามการวจิ ัยตอ้ งมีความสาคัญ (Significance) คาถามการวิจัยนัน้ นาไปสู่การค้นพบทีม่ คี ุณคา่ ซ่ึงคุณคา่ ของผลการวิจยั แยกได้เป็น 3 ด้าน คือ 1) เกิดองค์ความรู้ใหม่ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในด้านวชิ าการ 2) สามารถนาไปใชใ้ นการพฒั นาการศกึ ษา เช่น เปน็ ข้อมูลในการ ตดั สินใจของผู้บริหาร หรอื ช่วยในการวางแผนพัฒนาการเรียนการสอน และ 3) สามารถนาไปใช้ใน การพฒั นามนุษยใ์ หเ้ ป็นคนท่ีสมบูรณข์ น้ึ ตวั อย่างเชน่ “กระบวนการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดการศึกษาเด็ก อยา่ งใคร่ครวญจะทาให้ครูการศึกษาปฐมวยั ปรบั เปลี่ยนมมุ มองและการปฏบิ ัติหรือไม่อย่างไร” ในกรณีนค้ี าถามวิจัยสาคัญเพราะองค์ความรู้ที่ไดจ้ ะช่วยพัฒนาศาสตร์ด้านการศึกษาปฐมวยั เปน็ งานวจิ ัยทใ่ี ห้คุณคา่ ดา้ นวิชาการแกว่ งการศกึ ษา

27 1.4) คาถามการวิจยั ไมผ่ ดิ จรรยาบรรณการวจิ ัย (Ethical) ลกั ษณะคาถาม การวิจัยไมน่ าไปส่กู ารทารา้ ยร่างกายหรือทาลายความเป็นอยขู่ องคน หรือส่งิ แวดลอ้ ม หรอื สภาพ สงั คมทเี่ ป็นอยู่ หรอื มีผลทางลบต่อกลุ่มตัวอยา่ งทั้งทางตรงและทางอ้อม ตวั อย่างเช่น “การตาหนิจะทาให้นักเรยี นมีพฤติกรรมก้าวร้าวอย่างไร” ซง่ึ คาถามวจิ ัยน้จี ะนาไปสกู่ ารกระตุ้นเพ่ือให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค์ ข้อคน้ พบที่ได้ อาจจะไม่คุ้มกับสง่ิ ท่ตี ้องเสียไป คือ ทาให้นกั เรยี นมพี ฤติกรรมกา้ วร้าวมากข้ึน 1.5) คาถามการวิจัยควรแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างตัวแปรหรอื ปรากฏการณ์ (Relation) คาถามวจิ ัยทีน่ ักวิจัยต้งั ขึน้ ควรแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปร 2 ตวั แปร หรอื มากกว่า 2 ตวั แปรในลักษณะของคาถาม เช่น ตัวแปร A สมั พันธ์กับตัวแปร B หรือไม่ ตวั แปร A และ ตัวแปร B สมั พันธ์กบั ตัวแปร C อยา่ งไร ตัวแปร A สมั พันธก์ ับตวั แปร B ภายใต้เง่ือนไขของตวั แปร C และตวั แปร D อยา่ งไร ตัวอยา่ งเช่น “แรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธ์ิและเจตคตติ ่อการเรยี นมีความสมั พนั ธ์ ต่อผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหรือไม่อยา่ งไร” เป็นคาถามวิจัยทีแ่ สดงถงึ การหาความสัมพันธ์ระหว่าง ตวั แปรแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธ์ิกับตวั แปรผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น และหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร เจตคตติ อ่ การเรยี นกับตวั แปรผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น การกาหนดปัญหาการวจิ ยั ดงั กล่าวข้างตน้ เปน็ การเลือกประเดน็ ปัญหาการวิจัยและ กาหนดคาถามการวจิ ัย นบั เปน็ ขัน้ ตอนท่มี ีความสาคัญข้นั ตอนหน่งึ ในการทาวิจยั ท้ังน้ีหากผู้วิจยั มีคาถามการวจิ ัยที่ชัดเจนแลว้ กจ็ ะยังผลให้ขัน้ ตอนถดั ๆ มาของการวจิ ัยชดั เจนตามไปด้วย 2.1.5 ลกั ษณะของปัญหาวิจยั ท่ดี ี การเลือกปญั หาในการทาวิจยั นกั วิจัยจะตอ้ งเลือกหัวข้อและปญั หาวิจัยที่ดีสาหรับ การวจิ ัย ซึ่งลักษณะของปัญหาวิจยั ที่ดีนักการศกึ ษาแตล่ ะคนอาจมองในแง่มุมท่แี ตกตา่ งกันออกไป แตพ่ อสรุปเปน็ แนวคิดร่วมกนั ไดว้ ่า (พชิ ติ ฤทธ์ิจรญู . 2551 : 45 - 46) ปัญหาวิจัยทด่ี ีควรมี ลักษณะที่สาคัญดังนี้ 2.1.5.1 เปน็ ปญั หาท่สี ามารถทาการวจิ ยั ได้ (Researchable Problem) ดว้ ยกระบวนการวิจัย ขอบเขตของปัญหาวจิ ัยมีความเป็นไปได้ สาหรบั ผู้วจิ ยั ทจี่ ะหาคาตอบ ได้โดยวิธกี ารเชิงประจกั ษ์ในขอบเขตของความร้คู วามสามารถของผวู้ ิจยั และทรพั ยากรท่ีมอี ยู่ 2.1.5.2 เป็นปญั หาท่มี ผี ลกระทบต่อคนหรือสงั คมส่วนใหญ่ ลักษณะของปัญหา จะส่งั สมเป็นเวลานาน หรือมีการขยายในวงกวา้ งมากข้ึนเร่ือย ๆ ไม่สามารถแกไ้ ข หรือขจดั ใหห้ มดไป ได้ง่าย ๆ เช่น ปัญหายาเสพติด ปญั หาการทจุ ริต หรอื คอรัปชนั่ ปัญหาการซือ้ สิทธ์ขิ ายเสียง ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ พิษ ปัญหาความยากจนของประชาชน ปัญหาคุณภาพการศกึ ษา 2.1.5.3 เป็นปญั หาท่ีมคี วามสาคญั (Significance) เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมและช่วย เสรมิ สรา้ ง หรอื ขยายพรมแดนขององค์ความรู้ท่ีทาใหศ้ าสตรส์ าขาตา่ ง ๆ มีความกา้ วหนา้ ทางวิชาการ และมีความเขม้ แขง็ มากย่งิ ขน้ึ 2.1.5.4 เปน็ ปัญหาทไี่ ม่เหมือนหรอื ซ้าซ้อนกบั ผู้อน่ื (Uniqueness) เปน็ เรอื่ งท่ีริเร่ิม ใหมท่ ่ผี ้วู ิจัยตอ้ งแสดงไดว้ า่ การตอบปัญหาวจิ ยั นนั้ มสี ว่ นท่ียังไม่เคยมผี ้ใู ดทามากอ่ น ในกรณที เ่ี ป็น

28 ปัญหาวจิ ัยทม่ี ผี ทู้ าวิจัยไว้แล้ว ผ้วู ิจยั ตอ้ งมีเหตผุ ลท่ีมคี วามจาเป็นตอ้ งทาวิจยั ในปัญหาน้ันอีก เช่น ยังมี คาตอบท่ีเป็นข้อขดั แยง้ หรือยังไม่มีขอ้ สรปุ สุดท้ายที่ชดั เจน 2.1.5.5 เป็นปญั หาทวี่ ิธีการได้มาซึง่ คาตอบของปัญหาวิจัยน้นั จะตอ้ งเปน็ ไปตามหลัก จริยธรรม หรอื จรรยาบรรณนักวิจยั ไมก่ ระทบกระเทือน หรอื เกิดผลเสียหายต่อผอู้ น่ื 2.1.5.6 เปน็ ปัญหาทีแ่ สดงถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปรตัง้ แต่สองตวั ขึ้นไป ซงึ่ จะทา ใหเ้ ห็นแนวทางทีช่ ดั เจนในการดาเนนิ การวจิ ยั 2.1.5.7 เป็นปญั หาทีม่ คี วามชัดเจนในประเดน็ และขอบเขตทศี่ ึกษา ประเด็นปญั หาวจิ ยั ท่ีมีความชัดเจน จะทาใหผ้ วู้ จิ ัยทราบขอบเขตของการวจิ ยั ที่ชดั เจนว่าจะศกึ ษาปัญหาเรื่องใดและไม่ ศกึ ษาเร่ืองใดบ้าง ปญั หาวิจัยน้นั มีขอบเขตกวา้ ง หรอื แคบมากน้อยเพยี งใด ซ่งึ จะช่วยให้การวิจัยมุ่ง ค้นหาคาตอบได้ครอบคลุมและตรงกบั ประเดน็ ปัญหาท่ีศึกษามากยงิ่ ขึน้ การรู้ลกั ษณะปญั หาวจิ ยั ทีด่ ดี ังกล่าวข้างต้น จะชว่ ยใหผ้ วู้ จิ ัยเลือกปญั หาทจี่ ะวจิ ยั ได้ อยา่ งรอบคอบ สามารถดาเนินการวิจัยใหเ้ กิดประโยชนไ์ ด้อยา่ งคุ้มค่า 2.1.6 ขอ้ บกพร่องในการเลือกปญั หาวิจัย ในการเลือกปญั หาวจิ ัย แม้ว่าผู้วจิ ัยได้ใชเ้ กณฑ์ในการคัดเลือกปัญหาวิจัยแลว้ กต็ ามกย็ ัง พบวา่ มีข้อบกพร่องเกดิ ขึน้ (พิชติ ฤทธิ์จรูญ. 2551 : 46) ซ่ึงมักจะเกิดขึ้นจากผู้วิจยั ดงั น้ี 2.1.6.1 เลือกปญั หาวจิ ยั ตามผอู้ ่ืน หรือตามความสาคัญของสถานการณ์ โดยขาดการพิจารณาไตร่ตรองดว้ ยความรอบคอบวา่ ปญั หาวิจยั นน้ั สอดคล้องกบั ความสนใจ และความสามารถของตนเองหรือไม่ 2.1.6.2 กาหนดปัญหาวิจยั กว้างเกินไป ทาให้ขาดความชัดเจนในประเดน็ ปัญหา ทีต่ อ้ งการค้นหาคาตอบ และแนวทางดาเนนิ การวจิ ัย 2.1.6.3 ผู้วจิ ยั ไม่ได้วเิ คราะห์ใหถ้ ูกต้องชัดเจน ทาให้ไดป้ ญั หาวจิ ัยทค่ี ลาดเคล่อื น ไม่ชดั เจนในประเด็นทต่ี ้องคน้ หาคาตอบทีแ่ ทจ้ ริง 2.1.6.4 ผวู้ ิจัยไมไ่ ด้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง อย่างเพียงพอทีจ่ ะช่วย ทาให้ไดป้ ระเด็นปัญหาวิจัยและกรอบแนวคิดในการดาเนนิ การวิจยั ไดอ้ ย่างชัดเจน 2.1.6.5 ผวู้ ิจยั ไม่มคี วามรู้ความสามารถในเรอ่ื งที่จะทาการวิจยั ท้ังน้เี พราะไม่ได้ ประเมินศักยภาพของตนเองใหส้ อดคลอ้ ง เหมาะสมกับระดับปญั หาวจิ ัย ทาให้เกิดปญั หาและอุปสรรค ในการดาเนินการวิจัย 2.1.6.6 ผู้วิจยั เลอื กปัญหา โดยขาดการวางแผนและการดาเนินการวิจัยทด่ี ที าให้ การดาเนินการวจิ ยั ไม่บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ทนั ตามกาหนดเวลาและได้ผลการวิจยั ท่ีไมน่ า่ เช่ือถือ ดังนั้น ผู้วจิ ัยควรระวังในการเลอื กหัวข้อปัญหาการวจิ ัยเพ่ือให้ได้หัวขอ้ ปัญหา ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ลมากท่ีสดุ คือ ผ้วู ิจัยอย่าเลอื กปัญหาการวจิ ยั ที่ใหญโ่ ตเกนิ ไป หรอื เปน็ ปัญหาท่ีกว้างไมม่ ขี อบเขต ซง่ึ ผู้วิจยั อาจทาไม่สาเร็จภายในเวลาอนั จากัด และเป็นหวั ขอ้ ปัญหาการวิจยั ท่ีไมม่ คี วามสาคัญ หาข้อยตุ ิไม่ได้ เก็บขอ้ มูลมาทาการทดสอบไม่ได้ หรอื ก่อใหเ้ กิด อันตรายต่อตนเองและสว่ นร่วม

29 2.1.7 การต้ังช่ือเร่ืองการวจิ ัย การต้ังชือ่ เร่ืองการวิจัยจะสอดคลอ้ งกับปัญหาและวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั การตง้ั ชื่อเร่ือง อาจสลบั ขน้ั ตอนระหว่างการกาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัยได้ หลังจากที่ผู้วิจัยไดป้ ญั หาวิจยั แล้ว ข้นั ตอนต่อไปคือการตงั้ ช่ือเร่ืองวิจัย ซึง่ เป็นเร่ืองที่มคี วามสาคญั มากเนอ่ื งจากชื่อเรื่องวิจยั จะเป็นสง่ิ ดงึ ดูดใจเป็นอันดบั แรก ชว่ ยให้ผูอ้ ่านอยากติดตามอ่านเน้ือเรอื่ งขา้ งใน (พสิ ณุ ฟองศรี. 2554 : 48) หลักเกณฑ์ของการตงั้ ช่ือเรื่องวจิ ัยทีด่ ี ได้แก่ 1) ช่ือปญั หาควรจะกะทัดรดั และมีความชัดเจน ในความหมายในตัวของมันเอง 2) ช่ือหัวขอ้ ปญั หาที่ดีจะต้องแสดงถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรของ ปญั หานั้น 3) ภาษาท่ใี ชใ้ นการเขียนจะต้องชดั เจน อา่ นเข้าใจ ถ้ามีศัพทเ์ ทคนิคต้องเป็นศพั ท์ ทเ่ี ป็นท่ยี อมรับในสาขาวชิ าน้นั ๆ 4) การตง้ั ช่อื หัวข้อปญั หาจะต้องระวงั ไม่ให้ซา้ ซอ้ นกับผอู้ น่ื แมว้ า่ ประเดน็ ทีศ่ ึกษานั้นจะคลา้ ยกันก็ตาม และ 5) ควรตงั้ ชื่อปญั หาในลักษณะของคานาม ควบคมุ ประเภทของการวิจัย ระบุตวั แปร และกลุ่มตวั อย่าง นอกจากนัน้ ชไมพร กาญจนกจิ สกลุ (2555 : 24) ได้จาแนกแนวคิดหลกั ในการตัง้ ชอื่ เรื่องในการวจิ ยั ไว้ 2 แนวคิด ได้แก่ แนวคดิ แรก เป็นการตั้งชือ่ เร่ืองให้มีความหมาย กลา่ วคือ จะต้องระบุขอบเขตของประเด็นในการวิจัยที่ชดั เจน โดยให้ผ้อู ่านงานวิจยั ทราบวา่ ผู้วจิ ัยกาลังจะทาการวิจยั อะไร กบั ใคร ทไี่ หน เม่ือใด ซึง่ ช่ือเรื่องน้นั จะมีความยาวเท่าใดกไ็ ด้ และแนวคดิ ทสี่ อง เป็นการต้ังช่อื เรือ่ งอยา่ งสน้ั ๆ กลา่ วคือ เป็นชือ่ เรอื่ ง ทส่ี ามารถสือ่ ให้เห็นถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปรอสิ ระและตัวแปรตาม ทงั้ นี้ไม่ว่าผ้วู ิจัยจะมแี นวคดิ ที่โอนเอนไปในทางใดกต็ าม สิ่งทผ่ี ู้วจิ ยั ควรต้องคานงึ ถงึ หลักในการตั้งชอื่ เรอ่ื งวิจัยกค็ ือ ต้องเป็น ช่ือเร่ืองท่ีส่ือความหมายและทศิ ทางของส่ิงทผ่ี วู้ จิ ยั กาลังสนใจศกึ ษา มคี วามกะทดั รัด ชดั เจน และไมก่ ากวม ถอ้ ยคาหรือภาษาที่ใช้จะต้องสามารถให้ความหมายได้ (พชิ ิต ฤทธจิ์ รญู . 2551 : 49 - 51) โดยจะต้องเขียนในรูปประโยคบอกเลา่ คือแปลปัญหาการวิจัยทอ่ี ยู่ในรปู ประโยคคาถาม ให้เป็นประโยคบอกเล่า และใชล้ กั ษณะคานามในการตง้ั ช่ือ การตั้งชอื่ เรื่องการวิจัยดงั ท่ีกล่าวข้างตน้ สามารถสรปุ ไดว้ ่า การตั้งชอื่ เรื่องการวิจัยนน้ั แทจ้ รงิ แลว้ กค็ ือการแปลงรปู ประโยคคาถามนัน้ ๆ ให้เป็น “วลี” ทเ่ี หมาะสมและกะทัดรัด โดยชือ่ เรื่อง ในการวจิ ยั จะสือ่ ความหมายตรงกับเนื้อหาไดด้ จี ะต้องมีองค์ประกอบสาคัญคือ มีการระบุตวั แปรทศ่ี กึ ษา ประชากรที่ศกึ ษา แหลง่ ทศ่ี ึกษาและระยะเวลาที่ศึกษาได้อยา่ งชัดเจน 2.1.8 การเขียนวตั ถุประสงคข์ องการวิจัย เม่ือผู้วจิ ยั ไดป้ ระเดน็ ปัญหาการวิจยั ทีแ่ นน่ อนและถกู ต้อง ข้ันตอนต่อไปจะเปน็ การ เปลีย่ นจากประเด็นปัญหาการวิจัยไปเปน็ วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั ซงึ่ เปน็ การบอกเจตจานงของผู้วจิ ยั วา่ ต้องการดาเนนิ การอยา่ งไร เพอ่ื จะคน้ พบสงิ่ ทเ่ี ปน็ ประเดน็ ปัญหาตามท่ีกาหนดไว้ (วาโร เพ็งสวสั ด.์ิ 2551 : 83 - 84) การเขียนวัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั มีหลกั การเขยี นคร่าว ๆ คือ 2.1.8.1 จะต้องระบุให้ชดั เจนว่าตอ้ งการศึกษาในเร่ืองอะไร 2.1.8.2 ตอ้ งเขียนให้สอดคล้องกบั ปัญหาการวิจยั 2.1.8.3 ใช้ภาษาที่กะทดั รดั แตไ่ ด้ใจความชัดเจน 2.1.8.4 นิยมเขียนในรูปประโยคบอดเล่า

30 2.1.8.5 กรณที ีว่ ัตถุประสงค์การวิจัยมหี ลายข้อ ต้องเขียนเป็นข้อ ๆ โดยเรยี งลาดบั จากวตั ถุประสงค์หลกั ไปหาวัตถุประสงค์ยอ่ ย วธิ กี ารเขยี นวตั ถุประสงคก์ ารวิจยั จะขึน้ ต้นด้วย “เพื่อ” และตามดว้ ยลกั ษณะ 3 ประการ ได้แก่ 1) ลักษณะของการศึกษา เปน็ การบ่งบอกว่าจะศึกษาในลักษณะใด เช่น การ เปรยี บเทยี บ การทดลอง การสารวจ การหาความสัมพันธ์ เป็นตน้ 2) ตัวแปร ผูว้ จิ ัยจะต้อง กาหนดวา่ จะศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรอะไร และ 3) กลุ่มตวั อย่างหรือกลุ่มเปา้ หมาย ควรระบุว่ากล่มุ ตัวอยา่ งหรือกลุ่มเปา้ หมายทจี่ ะทาการศกึ ษาวา่ เปน็ ใคร วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั จะเป็นขอ้ ความทบ่ี อกถงึ เจตจานงของผู้วจิ ยั ว่า ต้องการ ข้อค้นพบอะไรจากการวจิ ยั จงึ ควรจะเขียนเป็นประโยคบอดเล่า ไม่ควรใชป้ ระโยคคาถาม (สวุ มิ ล ตริ กานันท์. 2549 : 48) นอกจากนี้วตั ถุประสงค์ของการวิจัยจะทาหนา้ ทเี่ ป็นขอบเขต และทศิ ทางการศึกษา นักวิจัยบางทา่ นพยายามเขียนวัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ให้ยง่ิ ใหญเ่ พ่ือ ความสาคญั ของงานวิจัย แตใ่ นการปฏิบัตจิ รงิ กลับดาเนินการเพยี งบางสว่ นของวัตถุประสงคเ์ ท่าน้นั ลักษณะนี้จะมีผลเสียหายตอ่ ความเชอ่ื ท่จี ะได้รับและยงั ผลต่อการประเมินศักยภาพของผวู้ จิ ัย ตลอดจนคุณภาพของงานวิจยั อีกด้วย การเขยี นวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั ดงั กลา่ วข้างต้น พอสรปุ ไดว้ ่า วัตถปุ ระสงค์ของ งานวจิ ยั เปน็ แนวทางกว้าง ๆ ทกี่ าหนดให้ผวู้ ิจัยต้องหาคาตอบ การกาหนดวัตถปุ ระสงค์การวิจยั ท่ีเหมาะสมและถูกต้อง ย่อมเพมิ่ โอกาสของการไดค้ าตอบที่ถกู ต้องตามมา ผ้วู จิ ัยจงึ ควรให้ ความสาคญั และพิจารณาถึงวิธกี ารเขยี นวตั ถปุ ระสงค์การวิจยั ดังที่ได้กล่าวมาแลว้ 2.2 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง หลังจากที่ผวู้ จิ ัยสามารถระบุปญั หาการวิจยั ไดช้ ัดเจนแล้ว ข้นั ต่อไปคือการศกึ ษาเอกสาร และงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง คาวา่ “เอกสารและงานวิจยั ” ในตาราหรอื หนังสอื บางเลม่ ใช้ คาวา่ “วรรณกรรม” หรอื “วรรณคดี” ซึ่งมคี วามหมายตรงกบั คาภาษาอังกฤษว่า “Literature” เน้ือหาใน สว่ นน้จี ะนาเสนอความรู้เบื้องตน้ เกีย่ วกับการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง การอ่าน การจด บันทึก การนาเสนอเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง และการนาเสนอกรอบแนวคิดในการวจิ ยั ซ่ึงมีรายละเอียด ดังน้ี (พชิ ติ ฤทธจ์ิ รูญ. 2551 : 55 - 65) 2.2.1 ความหมายของเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง หมายถึง เอกสารและงานวิจัยท่มี ีเนื้อหาที่สัมพันธ์ กับหวั ข้อเร่ืองหรอื ประเด็นของปัญหาวจิ ยั เอกสาร หมายถึง ผลงานเขียนทางวชิ าการที่มีการจดั ทา หรอื จัดพมิ พเ์ ผยแพร่ในรูปสอื่ สิง่ พิมพ์ สอ่ื คอมพวิ เตอร์หรือสอื่ โสตทัศนปู กรณ์ตา่ ง ๆ ตวั อยา่ งของ เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้องได้แก่ หนังสือ ตารา บทความทางวิชาการ รายงานการวจิ ัย วารสาร (Journal) ดรรชนี (Index) สารานกุ รม (Encyclopedia) ฐานข้อมูลซีดรี อม (CD-rom) บทคัดย่องานวิจัย (Research Abstract) ไมโครฟิลม์ (Microfilm) เปน็ ตน้ 2.2.2 ความม่งุ หมายของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ้ ง การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้องมีจุดมุ่งหมายที่สาคัญคือ เพื่อให้ได้ ข้อสนเทศเกีย่ วกับ เนื้อหาสาระ ความรู้ ประเด็น แนวคดิ ตัวแปรต่าง ๆ ทฤษฏี ลักษณะและรูปแบบ

31 ของการวิจัย สมมติฐาน นิยามศัพท์ เครือ่ งมือ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เทคนิคที่ใช้ในการวเิ คราะห์ ขอ้ มูล ผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั หัวขอ้ หรือปญั หาของการวจิ ัย เพือ่ ประโยชน์ ต่อการวางแผนการวิจยั การดาเนนิ การวิจัยให้ได้ผลงานวิจยั ท่ีมีคุณภาพตอบปัญหาวิจยั ได้ถกู ต้อง 2.2.3 ประโยชน์ของการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ้ ง มดี ังนี้ 2.2.3.1 สาหรับผูท้ ย่ี งั ไมไ่ ดห้ ัวข้อวจิ ยั เมอื่ ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งแล้ว จะช่วยใหเ้ ลอื กปญั หาวิจัยได้ และไดห้ ัวข้อท่ีไมซ่ ้าซ้อนกับผู้อ่นื 2.2.3.2 สาหรบั ผู้ทีไ่ ด้หวั ขอ้ วจิ ยั แล้ว จะช่วยไมใ่ ห้เกิดความล้มเหลวในการทาวจิ ัย กล่าวคือ มีนักวิจัยจานวนไม่น้อยทดี่ าเนินการวิจัยโดยไมส่ นใจศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง อย่างชดั เจน เม่ือกาหนดหวั ข้อท่ีจะทาวจิ ัยแลว้ ก็มัน่ ใจวา่ เป็นหวั ข้อทดี่ ี สามารถดาเนนิ การวจิ ยั ได้ จึงดาเนนิ การเก็บข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมลู แตเ่ มื่อจะสรุปผลการวิจัยอาจพบปญั หาต่าง ๆ มากมาย เชน่ คาตอบเป็นทร่ี ูก้ นั อยูแ่ ล้ว เนื่องจากพบวา่ มผี วู้ ิจยั ไว้กอ่ นหน้านมี้ ากมาย หรอื ข้อมลู ที่เกบ็ ได้น้นั ไมม่ ี วธิ ีการที่จะวิเคราะห์ได้ หรือมีตวั แปรตัวอน่ื ทนี่ ่าศึกษามากกว่า หรอื แบบการวิจัยไม่เหมาะสม เปน็ ต้น สิ่งตา่ ง ๆ เหล่านี้ จะอย่ใู นสภาพท่ีไม่สายเกนิ แกห้ ากผู้วิจัยไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกยี่ วข้อง ซง่ึ สามารถแยกประโยชน์เปน็ ขอ้ ย่อย ๆ ดงั น้ี 1) ชว่ ยใหม้ องปญั หาทีจ่ ะทาวจิ ัยไดแ้ จม่ ชัดขึ้น 2) ชว่ ยใหไ้ ด้แนวคดิ ทฤษฏี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกบั ตัวแปรทจ่ี ะศึกษา 3) ชว่ ยใหก้ าหนดวิธกี ารวิจยั ไดเ้ หมาะสมกบั ปัญหาวิจัย 4) ช่วยใหน้ ยิ ามปญั หา นิยามตัวแปร และกาหนดขอบเขตของการวิจัยได้ แจ่มชดั และเหมาะสมมากข้นึ 5) ช่วยสรา้ งกรอบความคดิ ในการวจิ ัย (Conceptual Framework) 6) ช่วยใหต้ ง้ั สมมตฐิ านไดส้ มเหตุสมผล 7) ชว่ ยให้เลือกเทคนคิ การสมุ่ ตัวอย่างได้เหมาะสม 8) ช่วยใหเ้ ลอื กเคร่ืองมือเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้เหมาะสม 9) ช่วยให้เลือกใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมลู ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม 10) ช่วยให้ได้แนวทางในการแปลผล และอภปิ รายผล 11) ช่วยใหไ้ ดแ้ นวทางในการเขยี นรายงานการวิจยั 2.2.3.3 สาหรบั ผู้ทไ่ี ดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ัย ชว่ ยให้สามารถประเมนิ คุณภาพ ของเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง สามารถตัดสนิ ใจเลอื กใช้เอกสารและงานวิจัยท่เี หมาะสมกับ งานวจิ ัยของตนเองได้ คณุ ภาพของการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้องมิไดอ้ ยู่ที่จานวนหรือ ปรมิ าณของเอกสารแต่อย่ทู ่ีความเกี่ยวขอ้ งของเอกสารทน่ี ามาศึกษากบั งานวิจยั วา่ จะนาสาระท่ีไดม้ า เป็นประโยชน์ตอ่ งานวิจยั ของผูว้ จิ ัยไดเ้ พียงใด 2.2.4 แหลง่ ของเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง แหล่งทใ่ี ชเ้ ปน็ ประโยชน์สาหรบั การศึกษาคน้ ควา้ เอกสาร และงานวิจยั ได้ดีท่สี ุด เป็นสถานท่ีก็คอื สานักวทิ ยบริการของมหาวทิ ยาลยั และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ซงึ่ จะมเี อกสารและ งานวิจัยที่เกยี่ วข้องมากมาย และมีบริการสบื ค้นข้อมลู โดยผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ สาหรับแหลง่ ค้นควา้ ทีเ่ ป็นตวั เอกสาร หรือสือ่ ท่บี รรจขุ ้อมลู ซึ่งรวบรวมอยภู่ ายในหอ้ งสมุด มีดังนี้

32 2.2.4.1 บทคัดย่องานวิจยั เป็นเอกสารที่รวบรวมบทคัดย่องานวจิ ัยทท่ี า ในแต่ละสถาบันการศึกษา หรือหนว่ ยงาน และในแตล่ ะปีการศกึ ษามที ง้ั บทคดั ย่อภาษาไทย และบทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ เช่น บทคดั ย่อทส่ี านักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติจัดพมิ พข์ นึ้ บทคดั ย่อของสถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ หรือของตา่ งประเทศ เช่น Dissertation Abstracts International (DAI) 2.2.4.2 รายงานการวิจัยหรอื วิทยานพิ นธ์ เปน็ รายงานการวิจัยทเ่ี ป็น ของบุคคลหรอื คณะบุคคล หรือของนิสติ นักศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษาซ่ึงมีเนื้อหาสาระครบถว้ น สมบรู ณ์มากกว่าผลงานวิจยั ในวารสาร ผู้วจิ ยั สามารถศึกษาคน้ ควา้ ได้อยา่ งละเอียดทง้ั วิธีการวิจยั แนวคดิ ที่เก่ยี วข้องและผลการวิจยั 2.2.4.3 วารสารท่เี ก่ียวขอ้ งกับสาขาทที่ าการวิจัย ผู้วจิ ยั สามารถศึกษาคน้ ควา้ บทความ และผลงานวิจัยในวารสารท่ีเกยี่ วข้องกับสาขาท่ีทาการวิจัยไดเ้ ชน่ วารสารวิธีวทิ ยาการวิจยั วารสารวดั ผลการศึกษา วารสารวจิ ัยทางการศึกษา วารสารสานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ ข่าวสารวจิ ัยการศกึ ษา วารสารวิจยั ทางสังคมศาสตร์ เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี ังมี วารสารตา่ งประเทศ เช่น American Educational Research Journal, Journal of Educational Research, Journal of Research in Science Teaching เป็นต้น 2.2.4.4 หนงั สอื ตารา ซง่ึ อาจมีเน้ือหาท่ีเกี่ยวข้องกับระเบียบวิธีวิจัย หรือท่ี เกีย่ วข้องกับเน้ือหาสาระ และแนวคิดทฤษฏีในสาขาท่ีผูว้ จิ ยั สนใจจะทาวิจัย ซ่ึงมีทัง้ หนงั สือหรอื ตารา ในประเทศและตา่ งประเทศ 2.2.4.5 พจนานุกรม ศัพทานุกรมและปทานุกรม เปน็ เอกสารที่รวบรวมคาศัพท์ เรยี งตามลาดบั ตวั อักษร เพือ่ อธบิ ายความหมายของคาศัพท์ตา่ ง ๆ ทางการศึกษาและการวจิ ยั ใหผ้ ู้วจิ ยั ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ งไดช้ ดั เจนยิ่งข้ึน เช่น พจนานกุ รมฉบบั อังกฤษ-ไทย และฉบับ อังกฤษ-อังกฤษ ศัพทานุกรมวิทยานพิ นธ์ ปทานกุ รมทางการศกึ ษา เป็นตน้ 2.2.4.6 คู่มอื เป็นหนงั สือที่จัดทาขึน้ เปน็ คร้ังคราว เพื่อเสนอการสังเคราะห์ งานวิจยั หรอื บทความทางวิชาการในสาขาวชิ าหนึง่ ๆ เขียนโดยผ้ทู รงคุณวฒุ ิ คู่มือช่วยให้ผูว้ จิ ยั มี ความรูถ้ ึงขอบเขตของการศกึ ษาและงานวิจัยในสาขานั้น ๆ 2.2.4.7 รายงานประจาปี เป็นเอกสารของหนว่ ยงาน องคก์ ร สมาคม สานกั งาน ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ให้ขอ้ มลู หรือข้อสนเทศท่ีทันสมัย เพราะรวบรวมขา่ วสาร เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่ีเปน็ ความก้าวหน้าของวิทยาการในรอบ 1 ปีทผี่ ่านมา เช่น สถิตกิ ารศึกษาของหน่วยงานตา่ ง ๆ 2.2.4.8 การสืบค้นข้อมลู จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) ปจั จุบันมกี าร สบื คน้ ขอ้ มลู จากสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์เกย่ี วกับสาระเน้ือหาท่ีเกี่ยวขอ้ งกับงานวิจัย ชื่อเรอื่ งงานวจิ ยั และ บทคัดย่องานวิจยั ทม่ี ีผทู้ าไว้แลว้ ทีท่ นั สมัยท้ังในรปู แบบของสือ่ ออนไลน์ (Online) ซีดรี อม (CD-ROM) และจากอินเตอร์เน็ต (Internet) ซ่งึ สามารถคน้ จากคอมพิวเตอรใ์ นหอ้ งสมุด หรอื ทบ่ี ้านได้ทาให้ได้รับ ความสะดวก รวดเร็ว และเกิดประโยชนอ์ ยา่ งมากต่อผู้วิจยั 2.2.5 หลกั เกณฑ์การเลอื กเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้อง มีดงั นี้ 2.2.5.1 พยายามเลอื กเอกสารทีม่ ีเนื้อหาสาระเกี่ยวข้องสมั พนั ธ์เช่ือมโยง กับหัวข้อ วจิ ยั หรือปัญหาวิจัย หรือตัวแปรในการวจิ ยั ใหม้ ากทส่ี ดุ

33 2.2.5.2 พจิ ารณาเนอ้ื หาสาระของเอกสารในแงข่ องความทนั สมยั ความถูกตอ้ ง ความชัดเจน และความเช่ือถือได้ 2.2.5.3 วางแผนการคดั เลือกเอกสารโดยพยายามเริ่มศึกษาเอกสารที่เป็น ผลงานวจิ ัยท่ศี ึกษาตวั แปรเช่นเดยี วกนั หรือปญั หาเดียวกันก่อนทีละตวั แปร เพ่ือจัดระบบเอกสาร ให้งา่ ยในการคน้ คว้าเพมิ่ เติมและง่ายต่อการอ่าน 2.2.5.4 การเลอื กงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งควรวเิ คราะห์คุณภาพของงานวจิ ัยก่อน และพยายามเลือกงานวจิ ัยที่เก่ียวข้องโดยตรงก่อน หากมงี านวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้องโดยตรงมากพอก็ ไมจ่ าเป็นต้องศึกษางานวิจยั ที่เกยี่ วข้องทางอ้อมมากนัก 2.2.6 วธิ ีการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้องมีวัตถปุ ระสงค์ 2 ประการ คอื 2.2.6.1 การศึกษาเพ่ือคดั เลือกเอกสาร ซึง่ เปน็ การอ่านคร่าว ๆ ผ่าน ๆ เช่น อาจจะดจู ากคานา สารบญั บทสรุป หรือบทคดั ย่อ หรือหัวข้อทส่ี าคญั ๆ ถา้ เอกสารใดตรงและ เก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองทีท่ าวจิ ยั กจ็ ะคัดเลือกไวส้ าหรับศึกษาตอ่ ไป 2.2.6.2 การศึกษาเพ่ือเก็บใจความ ซง่ึ จะต้องศึกษาหลายคร้ังเพื่อให้เข้าใจ และสามารถสรุปหรือย่อความเพ่ือนาสาระทไ่ี ด้ไปใชใ้ นการวิจยั ต่อไป ซง่ึ สากล จรยิ วทิ ยานนท์ (2550 : 22-23) ได้เสนอไว้วา่ การศกึ ษาเพื่อใหไ้ ดเ้ นือ้ หาสาระไปใชใ้ นการวิจยั มีวิธีการศกึ ษา เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องมีดังนี้ 1) การอา่ นเพื่อเก็บความคดิ หลัก (Main Ideas) ความคดิ หลักหรือ สาระสาคญั ของเอกสารหรืองานวิจัยถอื ว่าเป็นหัวใจของเอกสารหรอื งานวจิ ยั น้ัน ๆ ถ้าไมส่ ามารถ จับความคิดหลกั ของเอกสารหรอื งานวิจยั นนั้ ได้กไ็ ม่สามารถที่จะเข้าใจเน้ือหาสาระของเรอ่ื งนัน้ ๆ ได้ การอา่ นเพ่ือเกบ็ ความคดิ หลักมีวธิ ดี งั นี้ 1.1) ดจู ากช่ือเร่ือง ซึง่ จะให้ความคิดกวา้ ง ๆ ว่าเอกสารหรอื งานวิจัยนั้น มีเน้อื หาสาระเกยี่ วกับเรื่องอะไร ซึ่งถ้าเปน็ รายงานการวิจยั หรือวิทยานิพนธโ์ ดยปกติจะมีชื่อเรอ่ื ง ทีช่ ัดเจน แต่ถา้ เปน็ หนังสือหรือบทความอาจจะต้องพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ 1.2) พจิ ารณาจากการนาเสนอ เช่น สารบัญ หรอื หวั ข้อของเอกสารหรือ งานวจิ ัย ก็จะทาให้ได้ความคิดหลักของเอกสารหรืองานวิจัยนัน้ ๆ ได้ 1.3) พิจารณาจากบทนาและบทสรุป ซึ่งส่วนใหญจ่ ะกลา่ วถงึ ความคิดหลัก ของเอกสารหรืองานวิจัยน้นั 2) การอา่ นเพื่อเกบ็ รายละเอียด (Details) ในแต่ละความคดิ หลกั จะมีรายละเอียดขยายหรือสนับสนุนความคดิ นั้นอยเู่ สมอ ๆ เช่น การให้คานยิ าม การพูดถงึ เหตุและ ผลตลอดจนการยกตวั อยา่ ง เปน็ ตน้ ดงั นนั้ การอ่านรายละเอยี ดเหลา่ นจ้ี ะทาให้เข้าใจความคดิ หลกั ได้ชดั เจนขน้ึ 3) การอ่านเพื่อใหเ้ ข้าใจการนาเสนอความคิด (Organization of Ideas) รปู แบบในการนาเสนอความคิดและเนอื้ หาสาระในเอกสารหรืองานวิจัยมีหลายรูปแบบ เชน่ แบบเหตุ และผล แบบนยิ าม แบบลาดับเหตุการณ์ แบบหลักการและตัวอยา่ ง แบบเปรยี บเทียบความ

34 คล้ายคลึงหรือความแตกต่าง และแบบบรรยาย เป็นต้น ซึ่งในแตล่ ะรูปแบบจะเขยี นให้ทราบถงึ ตรรกะหรือเหตุผลของข้อความในเอกสารหรืองานวิจัยไดด้ ีขน้ึ 4) การอา่ นระหวา่ งบรรทัด (Read Between the Lines) การอา่ นวธิ ีนี้ จะตอ้ งอนุมานจากเนื้อหาสาระที่ไดใ้ นเอกสารหรืองานวจิ ัยวา่ ผู้เขียนมีความเขา้ ใจชดั เจน เชอ่ื มน่ั หรือมขี ้อตดิ ใจสงสยั มากน้อยเพยี งใด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบทความท่ผี เู้ ขียนไม่ไดแ้ สดงทักษะของตน อย่างเดน่ ชดั 2.2.7 การบนั ทกึ ข้อมลู จากการอ่านเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วข้อง หลังจากทผ่ี ูว้ จิ ยั ไดอ้ า่ นเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ งแลว้ งานขนั้ ตอ่ ไปคือการบนั ทึกสาระที่ไดจ้ ากการอ่านลงใน สมดุ หรอื กระดาษเปน็ แผน่ ๆ หรือในบัตรบนั ทึกขนาด 5 x 8 น้วิ หรือบัตรขนาดอื่น ๆ กไ็ ด้ การบันทึก สาระทไี่ ดจ้ ากการอา่ นเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งน้นั แตกต่างจากการจดบันทกึ ท่ัว ๆ ไปตรงที่ การจดบันทึกทวั่ ๆ ไป เปน็ การจดบันทกึ สาระเพื่อกันลมื และเพื่อนามาทบทวนเท่าน้นั แต่การ จดบนั ทกึ สาระจากการอา่ นเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข้อง เปน็ การจดบันทึกเพื่อนาสาระสังเคราะห์ บรู ณาการเข้าดว้ ยกนั มีการเปรียบเทยี บสาระแตล่ ะตอนจากเอกสารทุกเร่ืองจงึ จาเปน็ ต้องจดบนั ทึก ให้ชดั เจนและอาจตอ้ งตัดสมุดทจ่ี ดบนั ทกึ หรือมีการเรียงบัตรตามเน้ือหาหรือหัวขอ้ เดียวกัน ดว้ ยเหตนุ ้ี จึงนิยมจดบนั ทึกลงในกระดาษเปน็ แผ่น ๆ หรอื บัตรบันทึกเพ่อื ใหง้ า่ ยต่อการสังเคราะห์ การบันทกึ ขอ้ มลู จากการอ่านเอกสาร และงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้อง ควรปฏิบัตดิ งั นี้ 2.2.7.1 บันทกึ สาระสาคญั อย่างย่อ แตใ่ ห้ได้หวั ข้อและสิง่ จาเปน็ ครบถว้ น โดยอาจจะบันทึกแต่ละหัวข้อลงในบัตรแตล่ ะใบหรือถ้าจดลงในกระดาษให้จดสาระแต่ละหวั ขอ้ แยกจากกนั 2.2.7.2 เอกสารท่เี ป็นรายงานการวิจยั ควรจดบนั ทึกหัวข้อสาคัญดงั นี้ 1) ช่ือหวั ข้อวจิ ัยหรอื ช่ือเรื่อง 2) ปญั หาวจิ ัยและ / หรือวัตถุประสงค์ของการวิจยั 3) วธิ ดี าเนนิ การวิจยั โดยบนั ทึกสาระเกีย่ วกับตวั แปร กลุ่มตัวอย่าง กรอบความคดิ ในการวิจัย สมมตฐิ านการวิจัย เคร่ืองมือวจิ ยั วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู และวธิ กี าร วิเคราะหข์ ้อมลู 2.2.7.3 ชือ่ เรอื่ งทบ่ี ันทึก ควรบนั ทึกไวม้ ุมบนขวาของบัตรเพื่อประโยชน์ในการจัด หมวดหมู่ 2.2.7.4 ทาบัตรบรรณานกุ รม สาหรับเอกสารแตล่ ะเรอื่ งโดยจดขอ้ มลู เก่ียวกบั เอกสารท้ังหมด ได้แก่ ช่อื เอกสาร หรือวารสาร หรอื งานวิจยั ชอื่ ผูเ้ ขยี น สถานที่ หรือสานกั พมิ พ์ ปที พี่ ิมพ์ จานวนหนา้ เลขหน้าท่ขี ้อความนั้นปรากฏอยู่ นอกจากนัน้ ควรทารหสั หมายเลขเอกสาร เพ่อื ใช้ในการบนั ทึกสาระของเอกสารในบตั รบนั ทึกใบอนื่ ๆ เชน่ ถา้ ใหร้ หัสเอกสารหมายเลข 01 การจดสาระจากเอกสารในบัตรตอ่ ๆ ไปกเ็ พียงใส่รหสั 01 ทีม่ ุมขวาบนของบัตร 2.2.7.5 วิธกี ารบนั ทกึ ทาได้หลายวธิ ีดงั น้ี 1) การคัดลอกข้อความ (Quotation) ใช้ในกรณีทเี่ อกสารมีขอ้ ความสาคญั มาก และผ้วู ิจัยตอ้ งการนาข้อความเดิมจากเอกสารไปใช้อา้ งอิงโดยจดบนั ทกึ ข้อความทุกตัวอกั ษร หรือถ่าย เอกสารตดิ ไวก้ บั บตั รบันทึก ซ่ึงตอ้ งระบเุ ลขหนา้ เอกสารด้วย

35 2) การย่อขอ้ ความ 3) การถอดความมาเปน็ สานวนของผวู้ จิ ัยเอง 4) การบันทึกแบบวิพากษ์วจิ ารณ์โดยใส่ความคิดเหน็ ของผู้วิจัยเขา้ ไปด้วย แล้วลงสรุป 5) การบนั ทึกคาถามของผ้วู จิ ัยที่เกดิ ขึ้นจากการอา่ นเอกสาร เพ่ือเป็นขอ้ มูลใน การศึกษาเพิ่มเติมในเร่ืองเดิมต่อไป 2.2.7.6 ควรจดบันทกึ บรรณานกุ รมเอกสารท้ายบทความทีอ่ ่านโดยเลือกเฉพาะ รายการที่นา่ สนใจติดตามศึกษาเพิ่มเติมไว้ในบตั รตา่ งหาก เพ่ือเปน็ เครอ่ื งมือในการสืบค้นหาเอกสาร เพ่มิ เติมในภายหลงั 2.2.8 การนาเสนอเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง การเขียนเพ่อื นาเสนอผลการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ผู้วิจยั จะต้อง สังเคราะหค์ วามรู้ทไ่ี ด้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่เี กีย่ วข้องให้ดี โดยการนามาเขียนเรยี บ เรยี งใหไ้ ดข้ ้อความอย่างสมบูรณ์และต่อเนือ่ งกนั อย่างราบร่ืนตลอดเนือ้ หา โดยมีหลกั ในการนาเสนอ ดงั น้ี 2.2.8.1 ควรมกี ารกลา่ วนาหรือระบุขอบเขตของการนาเสนอเอกสารและ งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้องว่าประกอบด้วยหวั ขอ้ หรือสาระกีต่ อน อะไรบา้ ง 2.2.8.2 การจัดลาดับในการนาเสนอมักนยิ มเสนอแยกตามประเภทตัวแปร ทสี่ าคัญ ๆ 2.2.8.3 การนาเสนอสาระจะต้องสะทอ้ นกรอบแนวคิดในการวจิ ยั เพือ่ ทราบ แนวคดิ หลกั การทฤษฎีที่อยเู่ บือ้ งหลงั ของการวจิ ยั เปน็ การช้ีให้เหน็ วา่ ปัญหาวจิ ยั มที ฤษฎรี องรับ มิได้กลา่ วข้ึนมาลอย ๆ และเพือ่ เปน็ การปูพ้นื ฐานใหผ้ ู้อ่านเข้าใจเร่อื งราวตา่ ง ๆ ในการทาวิจัย ไมจ่ าเปน็ ต้องเสนอสาระท่ีไม่มสี ว่ นเกยี่ วข้อง หรอื ไม่ได้นาไปใช้ในงานวจิ ัยท่ีกาลังศึกษา 2.2.8.4 นาเสนอเนอ้ื หาสาระในลกั ษณะของการสังเคราะห์ความรู้ โดยนาข้อมูล ในเร่ืองเดียวกันหรือข้อมลู ท่สี ัมพนั ธก์ นั มาเขียนไวด้ ้วยกนั แลว้ มีการสรปุ ชปี้ ระเด็นให้เห็นว่าสาระที่ได้ มคี วามสอดคลอ้ งหรือขัดแยง้ กันอยา่ งไร โดยเขยี นดว้ ยสานวนของผู้วจิ ยั เองให้กลมกลืนกนั 2.2.8.5 การนาเสนอสาระสาคัญของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งแตล่ ะตอน ควรมีการสรปุ เพื่อแสดงให้เห็นวา่ ผวู้ ิจัยได้สังเคราะหเ์ อกสารมาอย่างดี และเมื่อนาเสนอครบทุกตอน แลว้ กค็ วรมีการสรปุ รวมอีกครั้ง เพ่ือชี้ให้เห็นว่าปญั หาวิจัยเก่ียวขอ้ งหรืออยู่บนพน้ื ฐานของแนวคดิ หรอื ทฤษฎใี ด ส่วนงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องควรสรปุ ชใ้ี หเ้ หน็ ถึงความสัมพันธข์ องตวั แปรทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ตัวแปรทีผ่ ู้วิจยั ศกึ ษา เพือ่ เป็นแนวทางในการตัง้ สมมตฐิ านการวจิ ัยไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล 2.2.9 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั หลังจากทผ่ี วู้ จิ ัยไดก้ าหนดประเดน็ ที่จะศึกษา และได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัย ที่เก่ยี วข้องแลว้ งานขั้นต่อไปกค็ ือ การสร้างกรอบแนวคิดในการวจิ ยั (Conceptual Framework) ซึ่งมีรายละเอยี ด ดังน้ี 2.2.9.1 ความหมายของกรอบแนวคิดในการวจิ ยั กรอบแนวคิดในการวิจยั หมายถึง แนวคดิ หรือแบบจาลองทแ่ี สดง

36 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวแปร สร้างข้ึนโดยใช้ทฤษฎี ข้อสรุปเชงิ ประจกั ษ์ ข้อมลู จากสมมติฐานและ ผลงานวิจัย นามาสังเคราะห์เพือ่ ให้ผูว้ จิ ยั เกดิ มุมมองภาพรวมของงานวิจยั เรอื่ งนน้ั 2.2.9.2 ประโยชน์ของกรอบแนวคิดในการวิจยั มีดงั น้ี 1) ทาให้ผวู้ ิจัยทราบวา่ ตัวแปรทีจ่ ะวดั หรือเก็บข้อมลู มกี ่ีตัว อะไรบ้าง 2) ทาใหผ้ ้วู จิ ยั สามารถออกแบบการวิจัยไดเ้ หมาะสมกบั ตัวแปรทศี่ ึกษาและ ตวั แปรทตี่ อ้ งควบคมุ ซ่ึงจะช่วยเพิม่ ความเท่ียงตรงในการวจิ ัย 3) ทาให้ผู้วิจัยสามารถวางแผน เก็บขอ้ มูลได้เหมาะสมกับลักษณะของ ตวั แปร และชว่ งเวลาท่ีจะเกบ็ วา่ จะเกบ็ ข้อมลู กบั ตวั แปรใดก่อน ตวั แปรใดเก็บภายหลัง 4) การมองภาพความสัมพนั ธข์ องตัวแปรท่ีชัดเจนว่า มีตวั แปรก่ตี ัวมี ความสมั พนั ธก์ ันอย่างไร ตัวแปรใดมาก่อน จะทาให้สามารถเลือกใชส้ ถติ ทิ ี่มาจัดกระทากับตวั แปรได้ สอดคล้องกับจดุ มงุ่ หมายของการวจิ ัย 5) ทาให้ผู้วิจยั เหน็ ภาพรวมของการวิจยั และการอธิบายความสมั พันธ์ ระหวา่ งตัวแปรตา่ ง ๆ เป็นไปอย่างมเี หตผุ ล 2.2.9.3 หลกั ในการเลือกกรอบแนวคดิ ในการวิจัย ในงานวจิ ัยเร่ืองหน่ึงสามารถศึกษาได้หลายแบบหลายแง่มมุ เนื่องจากผู้วิจัย มองปัญหาเรอื่ งเดียวกัน หรอื ประเดน็ เดียวกนั ในลักษณะที่แตกตา่ งกัน เพราะใชท้ ฤษฏีหรือ แนวคดิ ใน การแก้ปัญหาแตกต่างกัน ผวู้ ิจยั จาเป็นตอ้ งเลือกแนวคิดหรอื ทฤษฏมี าเปน็ ฐานในการสรา้ งกรอบ แนวคิดในการวจิ ัยของตนเอง ซง่ึ สากล จรยิ วิทยานนท์ (2550 : 52 -53) ไดเ้ สนอหลักในการ เลือกแนวคดิ ไว้ดังน้ี 1) ตรงประเด็น จะตอ้ งเลือกกรอบแนวคดิ ที่ตรงกับประเด็นของการวจิ ัย ทั้งในดา้ นเนื้อหาสาระตัวแปรตา่ ง ๆ ตลอดจนระเบียบวธิ ีท่ีใชใ้ นการวจิ ัย 2) งา่ ยและไม่สลบั ซับซ้อน ควรเลือกกรอบแนวคิดในการวิจัยทง่ี ่ายตอ่ การเขา้ ใจ ไมส่ ลบั ซับซ้อน ถ้าหากมหี ลายทฤษฎีที่จะนามาใช้เปน็ กรอบแนวคิดในการวิจยั ได้ ควรเลือกทฤษฎที ีง่ า่ ยทีส่ ุด 3) สอดคล้องกับความสนใจ ควรเลอื กกรอบแนวคิดในการวิจยั ที่มีเน้อื หา สาระหรอื ตัวแปรท่ีสอดคล้องกับความสนใจของผวู้ ิจัย 4) มปี ระโยชน์เชิงนโยบาย ควรเลอื กกรอบแนวคิดในการวจิ ยั มีประโยชน์ ด้านใดดา้ นหนงึ่ เช่น ถ้าเพ่ือประโยชน์ดา้ นนโยบายหรอื การพัฒนาสังคมกค็ วรเลือกกรอบแนวคิดท่ีมี ตัวแปรที่เกย่ี วข้องกับกระบวนการทางสังคมหรอื ลักษณะของประชากร เพราะข้อมูลทเ่ี กบ็ มาได้จาก ตัวแปรเหลา่ นีเ้ มอ่ื นามาวเิ คราะห์ข้อสรุปแลว้ จะมคี วามเกยี่ วข้องโดยตรงกับนโยบายหรือโครงการ พฒั นาสงั คม 2.2.9.4 การเขียนกรอบแนวคิดในการวิจยั การเขียนกรอบแนวคิดในการวจิ ยั เปน็ การจาลองหรือแสดงให้เหน็ ว่า ตวั แปร ในการวจิ ยั มีอะไรบ้าง และมีความสมั พนั ธก์ นั อยา่ งไร โดยมีวธิ ีเขยี นได้หลายวิธดี ้วยกนั ดงั น้ี 1) การเขยี นบรรยาย เป็นการบรรยายวา่ ตัวแปรท่ีเกีย่ วข้องกับปัญหา การวิจัยมอี ะไรบ้าง และมีความสมั พันธก์ นั อย่างไร

37 2) การเขยี นโดยใชแ้ บบจาลองทางคณิตศาสตร์ เป็นการเขียนโดยใช้ สัญลักษณท์ างคณิตศาสตร์ ซึ่งอาจจะเป็นสูตรหรอื สมการท่ีแสดงความสัมพนั ธใ์ นเชิงเปน็ เหตแุ ละผล ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ในการแสดงแบบจาลองนีม้ กั จะแสดงให้เหน็ ถึงแนวทางในการ วเิ คราะห์ความสมั พันธ์ของตวั แปรมากกว่า 2 ตัวแปรและรูปแบบของความสมั พนั ธด์ ว้ ยเชน่ เดียวกนั 3) การเขยี นแผนภาพ เปน็ การเขียนที่นยิ มกันมากเพราะจะทาใหเ้ ห็น ภาพได้ชดั เจน และไมเ่ กิดความสับสน เชน่ การวิจัยเร่อื งปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ ความพึงพอใจในการทางาน ของครวู ทิ ยาลัยชุมชน มตี ัวแปรที่เกย่ี วข้องคือ ตวั แปรอิสระและตวั แปรตาม ซง่ึ ตัวแปรอิสระจะเป็น ปัจจยั ซง่ึ ประกอบดว้ ยตัวแปรย่อยคือปจั จัยกระตนุ้ และปัจจัยคา้ จนุ สว่ นตัวแปรตามคือ ความพึงพอใจ ในการทางานของครูวิทยาลยั ชมุ ชน ซง่ึ จากตัวแปรอสิ ระและตัวแปรตามดังกล่าว เขียนเป็นแผนภาพ ได้ดังน้ี ตวั แปรอิสระ ตัวแปรตาม ปจั จยั ที่ส่งผลต่อความพงึ พอใจ ในการทางาน ปัจจัยกระตุน้ ความพึงพอใจ ในการทางานของครู  ความสาเรจ็ ในงาน  การได้รบั การยอมรับนับถือ วิทยาลยั ชมุ ชน  ลกั ษณะของงานทีท่ า  ความรบั ผดิ ชอบต่องาน  ความกา้ วหน้าในอาชพี ปัจจัยค้าจนุ  นโยบายของวิทยาลยั  ความสมั พนั ธ์กับคณะผู้บริหาร  สภาพการทางาน  วถิ ชี วี ิตสว่ นตัว  ความมน่ั คงในงาน แผนภาพ 2.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั เรอ่ื งปจั จัยท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการทางาน ของครวู ทิ ยาลยั ชุมชน

38 การศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้องดงั กล่าวขา้ งตน้ สามารถสรุปได้ว่า การศึกษา เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเปน็ การรวบรวมข้อมูลความรู้ตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้องที่มีอยู่มาเรียบเรยี งให้ เป็นหมวดหมู่ เพื่อการวิเคราะห์ ตคี วาม หาความหมาย และหาผลสรุปความสัมพนั ธ์ขององค์ความรู้ ทมี่ ีผู้อนื่ ได้ศึกษาไวก้ บั งานวิจยั ท่ผี วู้ จิ ยั กาลงั ศึกษา การศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้องจะช่วยทา ใหผ้ วู้ จิ ยั เกิดความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับแนวคิดและทฤษฎีท่จี ะนามาใช้อธิบายปรากฏการณ์ ตลอดจน ตวั แปรท่ีเกยี่ วข้องกับเร่ืองท่ีกาลงั ศึกษา นอกจากน้ี ยงั ช่วยใหผ้ วู้ จิ ัยเขยี นกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั และ สมมตฐิ านการวจิ ัยได้อยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผลโดยมีพ้ืนฐานทางทฤษฎรี องรบั ซงึ่ จะช่วยให้มองเห็นแนวทาง ในการวิจัยได้อย่างชัดเจน บทสรุป การกาหนดปัญหาวจิ ยั มีความสาคญั มากที่สุดในการวิจัยเพราะเปน็ จดุ เร่มิ ต้นที่จะนาไปสู่ การแสวงหาคาตอบ ผวู้ จิ ยั จะต้องร้จู กั แหล่งทม่ี าของปญั หาวจิ ัยเพือ่ จะทาให้ไดห้ วั ข้อวิจัยไดเ้ ร็วขึ้น นอกจากนน้ั ผวู้ จิ ยั จะต้องรู้จักการวิเคราะห์ปัญหาเพ่ือจะทาให้ได้ปัญหาทแี่ คบ ชดั เจนและลกึ ซ้ึง หลักการเลอื กปัญหาวิจยั จะทาให้ได้ปญั หาวจิ ัยท่ีมีคณุ ค่าและเป็นไปไดใ้ นทางปฏิบัติ รวมทั้งการ ต้ังชื่อเร่ืองทีด่ งึ ดดู ใจจะชว่ ยให้ผู้อา่ นสนใจอยากติดตามอา่ นเน้ือเรื่องข้างใน การศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง เปน็ กจิ กรรมทท่ี าเพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสนเทศ เกย่ี วกับ เนื้อหาสาระ ซงึ่ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การวจิ ยั ของผูว้ ิจัย แหลง่ ของเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ งท่ดี ี ท่ีสดุ คอื สานักวิทยบริการของมหาวทิ ยาลัยและสถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ การเลือกเอกสารและงานวิจัย ท่ีเกี่ยวข้อง ควรเลอื กโดยพจิ ารณาความเกี่ยวขอ้ งกับเน้ือหาสาระหรอื ตวั แปรที่ทาการวิจยั และควรเป็น เอกสารที่ทนั สมัย ถูกต้อง ชัดเจน และเชือ่ ถือได้ เม่ือคัดเลือกเอกสารประเมินคณุ ภาพและเก็บใจความ สาคัญแลว้ หลงั จากนนั้ จึงบันทกึ เนื้อหาสาระแลว้ นาเสนอสาระสาคญั ของเอกสารและงานวจิ ัยที่ เกย่ี วข้องเพ่ือให้ผอู้ า่ นทราบหลกั การและทฤษฏีท่ีเปน็ ฐานความคิดสาคญั ของการวิจยั การนาเสนอ แต่ละตอนควรมีการสรุปเพ่ือแสดงให้เห็นวา่ ผู้วจิ ยั ไดส้ งั เคราะห์เอกสารมาอยา่ งดี มีแนวคิดของผู้วจิ ัย สอดแทรก และควรมีการสรุปรวมอกี คร้ังเพ่ือช้ใี ห้เหน็ วา่ ปญั หาวิจัยตงั้ อย่บู นแนวคิดหรือทฤษฏีใด ตัวแปรท่ีศึกษามีความสัมพันธ์เก่ยี วขอ้ งกันอย่างไร โดยสรุปเป็นกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัยท่แี สดงให้เห็น โครงสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรในภาพรวม ของเร่ืองท่ีจะวิจัย

39 กจิ กรรมทา้ ยบทที่ 2 1. แหล่งทมี่ าของปัญหาการวิจัยมาจากแหลง่ ใดบ้าง 2. ปญั หาการวจิ ัยทด่ี มี ลี กั ษณะอยา่ งไร 3. ในการเลอื กปัญหาวิจยั ใหเ้ หมะสม นกั วจิ ัยควรใช้อะไรเปน็ เกณฑ์ในการพจิ ารณา 4. จงตงั้ ชื่อเรื่องการวจิ ยั จากปัญหาการวจิ ัยทีก่ าหนดให้ดงั น้ี 4.1 ปญั หาการวจิ ัย : เจตคติทางการเมืองของชาวกรงุ เทพมหานคร 4.2 ปัญหาการวจิ ัย : การสอนเพ่ือพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ (รปู ประโยคบอกเลา่ ) : ความคดิ สรา้ งสรรค์สามารถสอนไดห้ รือไม่ (รูปประโยคคาถาม) 4.3 ปญั หาการวจิ ัย : ผู้ประกอบอาชีพอิสระอซู่ ่อมรถรถยนต์ควรมีคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์อยา่ งไร 5. ให้ท่านระบุประเดน็ ทต่ี ้องศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งในการทาวิจัยเรือ่ ง “บทบาทของ คณะกรรมการการเลือกต้ังประจาจงั หวดั ในการสง่ เสริมใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วมทางการเมือง การเลือกตง้ั ท้องถนิ่ : ศึกษากรณเี ทศบาลเมอื งยโสธร” 6. จงเขยี นกรอบแนวคดิ จากชอ่ื เรอ่ื งการวิจัย “ปจั จัยท่สี ่งผลต่อการติดเช้อื เอดส์ของเด็กวยั ร่นุ ใน จงั หวัดยโสธร” 7. จงวิเคราะหส์ ภาพปญั หาต่าง ๆ ในชุมชนทท่ี า่ นสนใจเพ่ือกาหนดหัวข้อในการวิจยั โดยศกึ ษา เก่ียวกบั ววิ ฒั นาการ ความเคล่ือนไหว ความสมั พนั ธ์ ตลอดจนความขดั แย้งในหมู่บา้ น โดยดูถึง ระบบความสัมพันธ์ทางสงั คม รปู แบบการใช้ทรัพยากรโครงสรา้ งอานาจในชมุ ชน ผนู้ าองค์กร ชาวบ้าน ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน และปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างชุมชนหมู่บ้านกับระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมืองที่อยู่ภายนอก เพ่อื ดูวา่ ปจั จยั เหล่านี้มคี วามสัมพันธเ์ กีย่ วข้องซึ่งกันและกัน และชว่ ยอธิบายการเปลี่ยนแปลงทเี่ กิดขน้ึ โดยการหลีกเล่ียงการใชว้ ิธีการสารวจเพ่ือให้ได้ข้อมูล เชงิ ปรมิ าณแตเ่ พียงอย่างเดยี ว แตต่ อ้ งการได้ขอ้ มลู ทีเ่ ป็นภาพรวมดา้ นตา่ งๆ ของชุมชน ตลอดจนความคิดเห็นของชาวบา้ น ที่เปน็ การช่วยอธบิ ายปรากฏการณส์ งั คมในระดบั จุลภาค ได้ข้อมลู ในเชิงลกึ ซง่ึ ครอบคลุมมติ ิของเวลา มิตทิ างสังคมและสะท้อนให้เห็นความเคลื่อนไหว และความสัมพันธใ์ นระดบั ชุมชนหรอื เครือขา่ ยที่ใหญ่ขนึ้ ไป

40 บทท่ี 3 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย ในการทาวิจัยนนั้ เม่ือเลอื กหวั ข้อการวิจัยไดแ้ ลว้ ข้นั ตอนต่อไปคือควรจะศึกษาเพ่ือให้เกิด ความชัดเจนว่าในปัญหาการวิจยั นัน้ มีตัวแปรใดบ้างทตี่ ้องศึกษา มตี วั แปรใดบา้ งทีต่ ้องควบคุมคาตอบ ที่สามารถคาดคะเนลว่ งหนา้ สาหรบั ปัญหาการวจิ ยั น้นั คืออะไร เพ่ือนาไปสกู่ ารกาหนดตัวแปรและ การตง้ั สมมติฐานการวิจัย ในบทนีจ้ ะกล่าวถึงสาระสาคัญดังน้ี - ตัวแปร - สมมตฐิ านการวจิ ัย 3.1 ตัวแปร การระบตุ วั แปรมีความสาคัญอยา่ งยง่ิ ในการวจิ ยั เพราะจะไดท้ ราบวา่ ตวั แปรในการวิจัยน้ัน มตี ัวแปรอะไรบ้างท่ีต้องศึกษา และแต่ละตวั มีความสมั พนั ธ์กนั 3.1.1 ความหมายของตัวแปร ในกลุม่ ประชากรหรอื กลุ่มตวั อย่างกลุ่มหนึง่ ของการวิจัย เม่ือวดั คุณลกั ษณะของสิง่ ต่าง ๆ ที่ตอ้ งการออกมาแลว้ นามาแจกแจงดูว่าจะต้องมีคุณลักษณะที่วดั ได้แตกตา่ งกัน ซง่ึ แสดงให้ เห็นวา่ มตี ้ังแต่ 2 ลกั ษณะขน้ึ ไป ดงั นนั้ ถ้าแจกแจงออกมาแลว้ มีเพียงคุณลกั ษณะเดียวจะไม่ถอื ว่า สง่ิ นนั้ เปน็ “ตัวแปร (Variables)” นกั การศึกษาได้ให้ความหมายของตัวแปรไว้หลายแง่มุม ดงั นี้ พวงรตั น์ ทวีรัตน์ (2538 : 47) กลา่ วไวว้ ่า ตวั แปร หมายถึง คุณสมบัติหรอื คณุ ลกั ษณะของส่ิงตา่ ง ๆ ซง่ึ อาจเปน็ ส่งิ มชี ีวติ หรอื ไม่มชี ีวติ หรือเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ซึง่ ผูส้ นใจที่จะวัด เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ออกมาในรูปใดรปู หนงึ่ เช่น เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา ระดับความคิดเหน็ ต่อ เรื่องนัน้ ๆ เป็นตน้ วัลลภ รฐั ฉตั รานนท์ (2554 : 59) กลา่ วไว้วา่ ตัวแปร หมายถงึ คุณสมบัติ หรือคุณลักษณะของส่ิงตา่ ง ๆ อาจเป็นส่ิงมีชวี ิตหรอื ไม่มีชีวิต ซ่ึงผูส้ นใจท่จี ะวัดเพื่อให้ได้ข้อมลู ออกมาในรปู ใดรูปหนงึ่ เชน่ เพศ อายุ เชื้อชาติ ระดบั การศึกษา ปริมาณป๋ยุ ที่พืชได้รับ เป็นต้น ชไมพร กาญจนกิจสกุล (2555 : 41) กล่าวไว้ว่า ตวั แปร หมายถึง คุณลกั ษณะ ของสง่ิ ต่าง ๆ ทต่ี ้องการศึกษา ซ่งึ อาจเปน็ ไดท้ ้ังสง่ิ ที่มีชีวิตหรือไม่มชี วี ิต ทงั้ น้ีคณุ ลักษณะเหลา่ นี้ตอ้ งมี คา่ ท่ผี ันแปรได้ ซึ่งถอื ไดว้ ่าเป็นคุณสมบัติทส่ี าคัญของตัวแปร ตวั อย่างเชน่ เพศ แบ่งออกเป็น เพศชาย และเพศหญิง หรือเชื้อชาติ แบ่งออกเปน็ ไทย จีน พม่า ลาว เขมร และอ่นื ๆ เป็นต้น จากความหมายของตัวแปรดงั กลา่ วขา้ งตน้ สามารถสรปุ ได้ว่า ตัวแปร หมายถึง คณุ ลักษณะของสิ่งท่ผี ู้วจิ ัยสนใจจะศึกษา สามารถเปลีย่ นแปลงหรอื แปรคา่ ได้ ตวั แปรมีหลายประเภท แล้วแตเ่ กณฑท์ ่ีใชใ้ นการพจิ ารณาประเภทของความสัมพันธ์ของตัวแปร 3.1.2 ลักษณะและชนดิ ของตวั แปร 3.1.2.1 ลักษณะของตัวแปร ตวั แปรที่ศึกษาดา้ นสงั คมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตรส์ ว่ นใหญเ่ ปน็ ตัวแปรเกีย่ วกับ คณุ ลักษณะและลักษณะพฤติกรรมของมนุษย์ ซง่ึ พวงรตั น์ ทวรี ตั น์ (2538 : 44 - 45) ได้จาแนก

41 ลกั ษณะของตัวแปรออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื ตวั แปรมโนทัศน์ (Concept Variable) หมายถึง ตัวแปรที่แสดงความหมายในลกั ษณะท่คี นทัว่ ไปรับรู้ไดต้ รงกนั หรือสอดคล้องกัน ตัวแปรประเภทนี้ ได้แก่ ตวั แปรที่เปน็ รูปธรรม เช่น เพศ อายุ เชือ้ ชาติ อาชีพ ระดบั การศึกษา ตาแหนง่ ผ้นู า ในชมุ ชน เป็นตน้ และตัวแปรโครงสรา้ ง (Construct Variable) หมายถึง ตัวแปรท่แี สดง ความหมายในลักษณะเฉพาะตวั บุคคล คนทั่วไปอาจรบั ร้ไู ม่ตรงกนั ก็ได้ ตัวแปรประเภทน้ีมักเปน็ ตัวแปรทเ่ี ปน็ นามธรรม บางครงั้ เรยี กตัวแปรสมมตฐิ าน (Hypothetical Variable) เชน่ ความรู้ ความคิดเห็น ความร่วมมือ ความชื่อสัตย์ ความเกรงใจ เจตคติ ความเป็นผูน้ า บคุ ลิกภาพ เป็นตน้ ตวั แปรโครงสรา้ งน้ีสังเกตโดยตรงไม่ได้จงึ ต้องนิยามความหมายของตัวแปรใหช้ ดั เจนและต้องระบุ วิธกี ารวัดไวด้ ว้ ย (วาโร เพ็งสวัสด.์ิ 2551 : 102) สาหรบั การนิยามตัวแปรจะนยิ ามเฉพาะตวั แปรอิสระและตวั แปรต้น ตวั แปรสอดแทรกและตัวแปรแทรกซ้อนเราจะไมน่ ยิ าม แตจ่ ะตอ้ งนาไป พิจารณาในการออกแบบการวจิ ยั ท่ีจะควบคุมไม่ให้มีผลต่อตวั แปรตาม 3.1.2.2 ชนดิ ของตวั แปร สาหรบั ตวั แปรมโนทศั น์และตัวแปรโครงสรา้ งท่ีกล่าวมาข้างต้น หากพจิ ารณาใน แง่ของชนดิ ของตวั แปร (วัลลภ รฐั ฉตั รานนท์ 2554 : 60) สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 4 ชนิดดังนี้ 1) ตวั แปรอสิ ระหรือตวั แปรต้น (Independent Variable) หมายถึง ตัวแปรที่เกดิ ขนึ้ ก่อน และมีอิทธิพลหรือเปน็ เหตุทาใหเ้ กิดผลตามมา 2) ตวั แปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง ตวั แปรทีเ่ กดิ ขึน้ หรอื ถกู อิทธิพลจากตวั แปรอิสระ หรือกล่าวไดว้ า่ เปน็ ตวั แปรท่ีเปน็ ผลจากตวั แปรอิสระเป็นเหตุ 3) ตัวแปรแทรกซ้อนหรือเรียกวา่ ตัวแปรเกิน (Extraneous Variable) เป็นตัวแปรท่ีไม่ตอ้ งศกึ ษาของงานวิจัยเรอื่ งหนึ่ง ๆ ในขณะนั้น มลี กั ษณะเหมือนตัวแปรอิสระ ตัวแปรแทรกซ้อนน้ีจะส่งผลมารบกวนตัวแปรอสิ ระที่ศึกษา ทาให้ผลการวัดคา่ ตัวแปรตาม คลาดเคลือ่ นไปได้ ตวั แปรชนดิ นี้จะตอ้ งทาการควบคุมใหเ้ กิดขึน้ น้อยที่สุด ผวู้ ิจยั คาดการณ์ได้ว่า จะมอี ะไรบา้ งจงึ สามารถทาการควบคุมได้ล่วงหนา้ 4) ตวั แปรสอดแทรก (Intervening Variable) เป็นตัวแปรทส่ี ังเกตยาก หรอื วัดโดยตรงไม่ได้ ตัวแปรนีจ้ ะส่งผลกระทบต่อตวั แปรตามคล้าย ๆ ตัวแปรแทรกซ้อน แต่มี ลกั ษณะตา่ งกนั ตรงที่วา่ ตวั แปรชนิดน้ี ผู้วิจยั ไม่สามารถทราบลว่ งหนา้ จงึ ไม่สามารถหาทางควบคมุ ได้ เชน่ ความเหนื่อย ความวติ กกงั วล ความหวิ ความคับข้องใจ ความต่นื เต้น เป็นตน้ 3.1.2.3 ความแตกต่างระหว่างตวั แปรตามและตวั แปรอสิ ระ ตัวแปรตามและตัวแปรอิสระมีความแตกต่างกันในลกั ษณะดงั น้ี 1) ตวั แปรอิสระเปน็ ตัวแปรที่มมี าก่อน (Antecedent) ตัวแปรตามเป็น ตวั แปรที่มาภายหลงั (Consequence) 2) ตวั แปรอสิ ระเป็นตัวแปรเหตุ (Cause) ตวั แปรตามเป็นตวั แปรผล (Effect) 3) ตวั แปรอสิ ระเป็นตัวแปรที่จดั กระทา (Manipulated) ในการวิจยั เชงิ ทดลอง ตวั แปรตามเป็นตัวแปรที่สงั เกตได้ (Observed)

42 4) ตวั แปรอิสระเป็นตัวกระตุ้น (Stimulus) ตวั แปรตามเปน็ ตวั ตอบสนอง (Response) 5) ตวั แปรอิสระเป็นตวั ทานาย (Predicted from) ตัวแปรตามเป็นตัวแปร ที่ถูกทานาย (Predicted) ลักษณะและชนดิ ของตัวแปรดงั กล่าวข้างต้น สามารถสรปุ ได้วา่ การแบง่ ชนดิ ของ ตัวแปรจะตอ้ งพจิ ารณาจากคุณสมบัติหรอื คณุ ลกั ษณะของตัวแปรทีแ่ ตกต่างกนั รวมถงึ ความสัมพันธ์ ระหว่างตวั แปรในเชิงสาเหตแุ ละผล ตัวแปรทก่ี าหนดใหเ้ ป็นสาเหตุเรยี กวา่ ตัวแปรอิสระหรอื ตัวแปรตน้ และตวั แปรท่เี กิดมาทีหลงั เรียกวา่ ตวั แปรตาม ส่วนตวั แปรอิสระหรือตัวแปรตน้ ทีเ่ ราไม่ต้องการใหม้ ผี ล ต่อตวั แปรตามเราเรยี กว่าตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกนิ และอีกตวั แปรหน่งึ ท่ีสง่ ผลกระทบต่อ ตวั แปรตามคลา้ ย ๆ ตัวแปรแทรกซ้อน มลี ักษณะทีผ่ ู้วจิ ยั ไมส่ ามารถทราบลว่ งหนา้ และไม่สามารถ หาทางควบคุมได้ เราเรียกว่าตัวแปรสอดแทรก 3.2 สมมติฐานการวิจัย การวิจัยทางสงั คมศาสตร์ในปัจจบุ ัน พยายามทจ่ี ะนาเอาระเบยี บวิธที างวิทยาศาสตร์เข้ามา ใช้เพ่ือให้การวจิ ยั มีแบบแผนน่าเชอ่ื ถือ โดยวธิ ีการหาหลักฐานและข้อมูลต่าง ๆ มายนื ยันถึงคาตอบ ทีค่ น้ พบ วิธีการหน่ึงที่นิยมคือ การตง้ั สมมตฐิ านการวจิ ยั (สุวมิ ล ติรกานนั ท.์ 2549 : 69) ซ่งึ เปน็ การคาดคะเนคาตอบของปัญหาการวิจัย คาตอบท่ีไดน้ เ้ี ปน็ เร่ืองราวทผ่ี ู้วิจัยได้สรปุ สาระมาจาก การค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ซง่ึ เป็นส่วนหนึง่ ของการอ้างองิ เชงิ ทฤษฎี สมมตฐิ าน การวจิ ยั นีท้ าหน้าท่ีเปน็ โจทยท์ ี่ผู้วจิ ัยจะตอ้ งพิสจู นด์ ้วยการหาข้อมลู เชิงประจักษ์มายืนยัน (วาโร เพ็งสวสั ด.์ิ 2551 : 109) งานวิจัยบางชนดิ ไม่นิยมต้ังสมมตฐิ านไวล้ ่วงหน้า ได้แก่ การศึกษา เฉพาะกรณี การวจิ ยั เชิงคุณภาพ เปน็ ตน้ แต่อยา่ งไรก็ตามสมมตฐิ านเปน็ สิ่งทจ่ี าเปน็ และหลีกเลี่ยง ไม่ไดส้ าหรับการวจิ ยั ไมว่ า่ จะเปน็ วจิ ัยเชิงปรมิ าณหรือคุณภาพ ดังน้ันผู้วิจยั จะต้องศึกษาความหมาย ของสมมติฐาน วตั ถุประสงค์การต้ังสมมติฐาน ประเภทของสมมติฐาน วิธกี ารต้ังสมมติฐานการวิจัย ลักษณะสมมตฐิ านการวจิ ัยที่ดี ข้อเสนอแนะในการต้ังสมมติฐานการวิจัย และประโยชน์ของสมมติฐาน การวิจัย โดยมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ 3.2.1 ความหมายของสมมตฐิ านการวิจัย การวิจัยทางสังคมศาสตร์จะเร่ิมต้นด้วยปัญหาทางการวิจยั จงึ จาเป็นต้องการ คาดเดาคาตอบของปญั หาการวิจัยโดยอาศัยเหตุผล ประสบการณ์ สติปัญญาของผวู้ ิจัย หรืออาศัย เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้องนนั้ ลว่ งหนา้ เสมอ ซง่ึ จะต้องมีการพิสจู น์คาตอบที่คาดไวโ้ ดยวธิ กี าร ท่เี ชือ่ ถือได้ นักการศึกษาหลายท่านได้เสนอแนวคิดเกีย่ วกับความหมายของสมมติฐานที่สาคญั ๆ มีดังนี้ บญุ ธรรม จิตตอ์ นันต์ (2540 : 34) กลา่ วไว้วา่ สมมติฐาน หมายถงึ ข้อสันนิษฐาน ข้อสมมติ หรือคาทานายปรากฏการณ์ท่ีตั้งไว้เพื่อทาการทดลองหาเหตุผล หรอื พสิ ูจน์ กับข้อเทจ็ จรงิ ว่าจะเปน็ จริงตามทส่ี ันนิษฐาน หรอื คาดการณ์ไวห้ รือไม่

43 สุชาติ ประสทิ ธ์ิรฐั สินธ์ุ (2540 : 80) กลา่ วไว้วา่ สมมติฐาน หมายถึง ข้อความท่รี ะบุความสัมพันธร์ ะหวา่ งตวั แปร (Variables) หรือแนวคดิ (Concepts) ซงึ่ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งการจะทาการทดสอบว่าเป็นความจริงหรือไม่ พชิ ติ ฤทธ์ิจรูญ (2551 : 87) กลา่ วไวว้ า่ สมมตฐิ าน หมายถึง คาตอบสรปุ ผลการวจิ ัยท่ีผู้วิจัยคาดการณ์ไวล้ ว่ งหนา้ อยา่ งมีเหตผุ ลมหี ลกั การ หรือมีทฤษฎีรองรบั สมมติฐานมี ลักษณะท่สี าคัญคือ แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตวั แปรตัง้ แต่ 2 ตวั แปรขึ้นไป และสามารถ ทดสอบได้ กาสัก เต๊ะขนั หมาก (2553 : 70) กลา่ วไว้วา่ สมมติฐาน หมายถึง เปน็ ข้อความท่ีกลา่ วถึงความสัมพนั ธ์ของตวั แปรตงั้ แต่ 2 ตวั ขึ้นไป และสามารถทดสอบความสัมพนั ธ์ ของตัวแปรเหล่าน้ีได้ โดยการรวบรวมและวเิ คราะห์ ซึง่ อาจตอ้ งใชว้ ธิ กี ารทางสถติ ิประกอบดว้ ย ชไมพร กาญจนกจิ สกลุ (2555 : 52) กลา่ วไวว้ า่ สมมติฐาน หมายถึง ญตั ตหิ รอื ข้อความที่ระบุความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปรต้งั แต่สองตัวขึ้นไป เป็นการคาดเดาคาตอบ ในเบอ้ื งตน้ เพื่อรอการพิสจู น์ว่าจะ “ยอมรบั ” หรือ “ไมย่ อมรบั ” ในญัตติหรอื ข้อความน้ัน ๆ จากความหมายของสมมตฐิ านดงั กล่าวขา้ งต้น สามารถสรปุ ไดว้ า่ การตั้งสมมตฐิ าน การวิจัยเปน็ แนวทางในการคาดเดาคาตอบ หาคาตอบของการวิจัยอย่างมีเหตผุ ล โดยแสดงถงึ ความสมั พนั ธ์ที่คาดวา่ จะเป็นไปไดร้ ะหวา่ งตัวแปร 2 ตัวหรอื มากกวา่ เพ่ือที่จะอธิบายหรอื พยากรณ์ เหตกุ ารณ์หรือปรากฏการณ์นั้น ๆ สมมตฐิ านท่ตี งั้ ขึ้นอาจถูกหรือผิดก็ได้ ท้งั นเ้ี ป็นเพียงความพยายาม อธิบายปัญหาโดยอาศัยหลกั เหตุผลเท่านนั้ ผู้วจิ ัยจะต้องพิสูจน์ด้วยการหาข้อมูลเชงิ ประจกั ษม์ ายืนยัน และสามารถทดสอบหาคา่ ได้ทางสถิติ 3.2.2 วตั ถุประสงค์การตงั้ สมมติฐานการวิจัย การตง้ั สมมตฐิ านการวิจยั เป็นผลการวิจยั ทีค่ าดวา่ จะเปน็ วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั หรอื ปัญหาการวจิ ัย ดงั น้นั วัตถุประสงค์ของการต้ังสมมตฐิ านการวจิ ยั มีดังนี้ 3.2.2.1 เพื่อให้คาอธบิ ายชแี้ นะเกี่ยวกับข้อเท็จจริงบางอย่างของปรากฏการณ์ และเป็นตวั นาไปสู่การค้นควา้ วิจัยหาข้อเทจ็ จรงิ อนื่ ๆ 3.2.2.2 เพอ่ื นาความรู้และประสบการณ์ทีผ่ ่านมาเป็นส่ิงท่ีชว่ ยในการศึกษา คน้ คว้า การจัดระเบียบข้อเท็จจรงิ 3.2.2.3 เพ่ือเป็นแนวทางในการแสวงหา คน้ หาส่งิ ตา่ ง ๆ ทย่ี งั ไม่รหู้ รือใช้เป็น พ้ืนฐานเพื่อการคน้ ควา้ วจิ ยั เพิ่มเติมใหล้ ะเอียดลึกซึ้งต่อไป 3.2.3 ประเภทของสมมติฐานการวิจัย งานวจิ ยั บางชนดิ ไมน่ ยิ มต้งั สมมตฐิ านไว้ลว่ งหนา้ เชน่ การศกึ ษาเฉพาะกรณี การวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ แต่อยา่ งไรกต็ ามสมมตฐิ านเป็นสง่ิ จาเปน็ และหลกี เลี่ยงไมไ่ ด้สาหรับการวจิ ยั ไม่ว่าจะเป็นวิจยั เชิงปรมิ าณหรือเชิงคณุ ภาพ ซึ่งสมมตฐิ านการวิจยั แบง่ เป็น 2 ประเภท คอื (วาโร เพง็ สวัสดิ์. 2551 : 109 - 111) 3.2.3.1 สมมตฐิ านทางการวิจัย (Research Hypothesis) เปน็ สมมติฐาน ท่เี ปน็ ขอ้ ความท่ีใชภ้ าษาเป็นสื่อในการอธบิ ายความสัมพนั ธ์ของตวั แปรที่ศึกษา ซง่ึ แบง่ ได้ 2 แบบ คอื

44 1) สมมตฐิ านแบบมีทิศทาง (Directional Hypothesis) เปน็ สมมตฐิ าน ที่สามารถระบไุ ด้แน่นอนถึงทิศทางของความสัมพนั ธ์ของตัวแปรวา่ สมั พนั ธ์ในทางใด (บวกหรอื ลบ) หรือสามารถระบไุ ดถ้ งึ ทิศทางของความแตกต่าง เชน่ มากกว่า/นอ้ ยกวา่ ดีกวา่ /เลวกวา่ สงู กวา่ / ต่ากวา่ เป็นต้น การตงั้ สมมติฐานแบบนี้ชใี้ ห้เห็นถงึ ความเชอ่ื มนั่ ในเหตุผลของการตั้งสมมติฐานของ ผวู้ จิ ยั ว่ามคี วามเช่ือมั่นค่อนขา้ งสูง 2) สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Non-directional Hypothesis) เปน็ สมมตฐิ านท่ีไม่ไดร้ ะบุถงึ ทิศทางของความสัมพันธข์ องตัวแปร หรือทิศทางของความแตกต่าง เพยี งแตร่ ะบวุ า่ มีความสมั พันธ์ หรือมคี วามแตกต่างกนั ระหวา่ งตวั แปร 3.2.3.2 สมมตฐิ านทางสถติ ิ (Statistical Hypothesis) เป็นสมมตฐิ าน ทเ่ี ปล่ียนแปลงรูปมาจากสมมตฐิ านทางการวิจยั ให้อยู่ในรปู ของสัญลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตรห์ รอื สถติ ิ ทแี่ ทนคุณลักษณะของประชากรทเี่ รยี กว่าค่าพารามเิ ตอร์ (Parameter) มาเขียนอธิบายความสัมพันธ์ ของตัวแปรหรืออธิบายความแตกต่างระหว่างตัวแปร ซึ่งแบง่ ออกได้ 2 แบบ ดงั นี้ 1) สมมติฐานเป็นกลาง หรือวา่ ง หรอื ศูนย์ (Null Hypothesis) แทนด้วย สญั ลักษณ์ H0 เป็นสมมติฐานท่รี ะบถุ ึงความไมแ่ ตกต่างกันหรือไม่มคี วามสมั พันธข์ องค่าพารามเิ ตอร์ 2) สมมตฐิ านทางเลือก หรอื ไม่เปน็ กลาง หรอื สารอง (Alternative Hypothesis) แทนด้วยสัญลกั ษณ์ H1 เป็นสมมติฐานทีร่ ะบุถงึ คา่ พารามเิ ตอร์ในลักษณะท่ีเป็น สว่ นประกอบของสมมติฐานเปน็ กลางโดยระบถุ ึงทศิ ทางของความสัมพนั ธ์ของตัวแปร ว่าสมั พันธ์กัน ทางใด (บวกหรือลบ) หรือระบุถึงความแตกต่างของตัวแปรในลกั ษณะ ดกี ว่า/เลวกวา่ มากกว่า/ น้อยกวา่ สงู กวา่ /ต่ากวา่ เป็นต้น ประเภทขอสมมติฐานดังกล่าวมาข้างตน้ สามารถสรปุ ไดว้ ่า ในการวจิ ยั แตล่ ะเร่ือง ผู้วิจัยมักจะต้ังสมมติฐานการวิจยั เพือ่ คาดคะเนคาตอบไว้ลว่ งหน้า จากน้นั จึงเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื ทาการทดสอบสมมตฐิ านการวิจัยท่ตี งั้ ไว้ โดยจะต้องแปลงสมมติฐานการวิจัยใหเ้ ป็นสมมติฐาน ทางสถติ ิก่อน แลว้ จึงทาการทดสอบโดยวิธีการทางสถิติ ดงั นน้ั การต้งั สมมติฐานทางสถิติจะต้องตง้ั ทั้งสมมติฐานเปน็ กลาง และสมมตฐิ านทางเลือก 3.2.4 วิธีการตั้งสมมติฐานการวิจยั การตั้งสมมตฐิ านการวจิ ัย ควรเริ่มจากการพจิ ารณาจดุ มุ่งหมายของการวจิ ัยก่อนว่า มจี ุดมงุ่ หมายอย่างไร แลว้ จึงตัง้ สมมตฐิ านทางการวิจัย ซ่งึ จะตั้งแบบมที ศิ ทางหรือไม่มีทิศทางกไ็ ด้ แล้วแต่ว่าผู้วจิ ยั จะมีขอ้ มูลเกย่ี วกับเร่อื งท่ีศกึ ษามากนอ้ ยเพยี งใด ถ้าข้อมูลมากพอทจ่ี ะใช้ยืนยันกต็ ้ัง แบบมที ิศทาง ถา้ มีข้อมูลไมพ่ อหรือไมแ่ นใ่ จกต็ ้ังแบบไม่มที ิศทาง เมื่อต้ังสมมติฐานทางการวจิ ยั ไดแ้ ลว้ จงึ ต้ังสมมติฐานทางสถติ ิ การตัง้ สมมติฐานทางสถิติจะตอ้ งตั้งทง้ั สมมติฐานเป็นกลางและสมมติฐาน ทางเลือกหรือไมเ่ ปน็ กลางควบคูก่ ันไป ขอ้ สังเกตทีเ่ กีย่ วกับการตั้งสมมติฐาน คือ (พิชิต ฤทธิจ์ รูญ. 2551 : 90) สมมตฐิ าน ทางสถิติแบบทางเลือกจะมีลักษณะสอดคลอ้ งกับสมมติฐานทางการวจิ ัยทต่ี ้ังไวน้ ่นั คือ ถ้าต้ังสมมติฐาน ทางการวจิ ัยแบบมที ิศทาง สมมตฐิ านทางสถิติแบบทางเลือกก็ตอ้ งตงั้ แบบมที ศิ ทาง หากสมมติฐาน ทางการวิจยั เป็นแบบไม่มีทศิ ทาง สมมตฐิ านทางสถิติแบบทางเลอื กก็ต้องตัง้ แบบไม่มีทิศทางด้วย

45 3.2.5 ลกั ษณะของสมมติฐานการวจิ ยั ท่ีดี นกั การศึกษาหลายทา่ นได้เสนอแนวคิดเก่ยี วกับลักษณะของการต้งั สมมติฐานการวจิ ัย ทด่ี วี ่าเป็นเรอ่ื งสาคญั และมปี ระโยชนม์ ากสาหรับการวิจัย สชุ าติ ประสิทธ์ิรัฐสินธุ์ (2538 : 73) ได้กล่าววา่ สมมตฐิ านการวิจัยทดี่ ีจะต้องระบคุ วามสัมพันธ์ระหว่างตวั แปรอสิ ระและตัวแปรตาม โดยกาหนดใหเ้ หน็ ทศิ ทางของความสมั พนั ธว์ ่าเปน็ ไปในทางลบหรือทางบวก พร้อมทั้งกาหนดเงือ่ นไข วา่ ความสมั พันธน์ ัน้ จะเกิดขน้ึ ในกรณใี ดบา้ ง สอดคล้องกับแนวคดิ ของเทยี นฉาย กรี ะนันท์ (2539 : 76-77) และพวงรัตน์ ทวรี ตั น์ (2538 : 50) ท่ีไดเ้ สนอไว้วา่ สมมตฐิ านการวจิ ัยที่ดคี วรตัง้ ใหม้ ี คณุ สมบตั ิดังนี้ 3.2.5.1 ตอ้ งให้สะท้อนถึงแนวคิดทช่ี ดั เจนไม่คลุมเครือ 3.2.5.2 ต้องรดั กุม เฉพาะเจาะจง ถ้าต้ังสมมติฐานการวจิ ยั ไวก้ วา้ งจนเกนิ ไป แล้วในทสี่ ุดก็จะไม่อาจพิสูจน์หรอื ทดสอบได้ 3.2.5.3 ควรเริม่ มาจากข้อเท็จอา้ งอิงจากแหล่งใดแหลง่ หน่ึง อาจมาจากทฤษฎี หรอื จากประสบการณ์ก็ได้ 3.2.5.4. ควรคานึงถึงเทคนิคและความก้าวหนา้ ของศาสตร์ในสาขานั้น 3.2.5.5 ถ้าสามารถจะระบุให้ลึกและละเอียดลงถึงขั้นทเี่ ปน็ เชิงปริมาณได้กจ็ ะ ยิง่ ดีเพราะจะชดั เจนมาก 3.2.5.6 สอดคล้องกบั ปัญหาหรือจดุ มุ่งหมายของการวิจัย จดุ มงุ่ หมายต้องการ ศกึ ษาอะไร แนวใด สมมติฐานการวิจัยกค็ วรต้ังให้อยใู่ นลกั ษณะของแนวทางเดียวกัน 3.2.5.7 อธบิ ายหรอื ตอบคาถามไดห้ มด ครอบคลมุ ปัญหาทุกด้าน และอยใู่ น รปู แบบที่สามารถลงสรุปไดว้ ่าจะสนับสนุนหรอื คัดคา้ น 3.2.5.8 แตล่ ะข้อควรใช้ตอบคาถามเพยี งข้อเดียวหรือประเด็นเดียวนัน่ คือ ถ้ามหี ลายตวั แปรหรอื หลายประเด็นควรแยกเป็นสมมติฐานการวจิ ัยย่อย ๆ เพราะจะทาใหส้ ามารถ ลงสรุปว่า ยอมรับหรือปฏิเสธสมมตฐิ านการวิจัยไดช้ ดั เจน 3.2.5.9 สอดคล้องกบั สภาพทเ่ี ป็นจริงทีเ่ ป็นที่ยอมรบั กันท่ัวไปในปัจจบุ นั 3.2.5.10 สมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความร้พู ้ืนฐาน 3.2.5.11 เขียนแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรดว้ ยถ้อยคาที่อ่านเข้าใจงา่ ย ความชัดเจนสาหรับคนท่ัวไป 3.2.5.12 สามารถทดสอบได้ มขี อ้ มูลหรือหลกั ฐานที่จะนามาสนับสนนุ หรอื ค้นควา้ ได้สมมติฐานการวจิ ัยท่ดี ีไม่จาเปน็ ต้องถูกต้องเสมอไป 3.2.5.13 มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป ถ้าแคบเกนิ ไปจะทาให้อธิบาย ตวั แปรทีเ่ กย่ี วข้องได้ไม่หมด ถ้ากว้างเกนิ ไปกจ็ ะทาใหเ้ ลือนรางได้ และไม่สามารถหาข้อมลู ทดสอบ ได้เพียงพอ 3.2.5.14 มอี านาจในการพยากรณ์สูงและนาไปใชอ้ า้ งอิงกลมุ่ ประชากรได้ ลักษณะของสมมตฐิ านการวจิ ัยที่ดีดังกล่าวขา้ งต้น สามารถสรปุ ได้ว่า ในการ ตั้งสมมติฐานการวจิ ัยจะตอ้ งประกอบด้วยแนวคิดทีช่ ดั เจน ไม่คลุมเครอื และมีความเชื่อมโยงกับ ทฤษฎที ีม่ ีอยู่ หรอื ควรอิงกับข้อเท็จจรงิ ทสี่ ามารถพสิ จู นแ์ ละทดสอบได้ ไม่อิงกับค่านิยมเพราะคา่ นยิ ม

46 เปน็ สิ่งทพี่ สิ ูจน์ใหเ้ หน็ ไดย้ าก รวมถึงผวู้ จิ ยั จะต้องมีวธิ ใี นการทดสอบได้วา่ สมมตฐิ านการวจิ ยั จะดี และน่าสนใจแค่ไหนก็ตามแต่ถา้ ไม่มวี ธิ ีท่จี ะพิสูจนว์ า่ เป็นจริงหรอื เทจ็ แล้ว ก็หาประโยชน์ทางการวจิ ยั ไม่ได้ และในการตงั้ สมมตฐิ านการวิจัยจะตอ้ งมคี วามจาเพาะพอควร เพราะสมมติฐานการวิจยั ทก่ี ว้างเกนิ ไปนนั้ จะเกิดปญั หาดา้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลและการวิเคราะหข์ ้อมลู ซ่ึงเม่ือตง้ั สมมติฐาน การวจิ ัยแลว้ ผูว้ จิ ยั จะต้องสามารถอธบิ ายเหตผุ ลของการต้ังสมมติฐานน้นั ไดโ้ ดยทฤษฎหี รือหลัก แห่งเหตุผลในการอธิบายได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม 3.2.6 ขอ้ เสนอแนะในการต้ังสมมตฐิ านการวจิ ัย สมมตฐิ านการวจิ ัยเปน็ สิง่ จาเปน็ ในการวจิ ัย นอกจากกาหนดทิศทางในการวจิ ยั และจดั ระเบยี บของข้อมลู เพอ่ื การวเิ คราะห์แล้ว สมมติฐานการวจิ ัยยังช่วยจากัดขอบเขตของการวจิ ัย แม้สมมตฐิ านการวจิ ยั เป็นสิ่งจาเปน็ แต่การตั้งสมมติฐานการวิจยั ทเ่ี ป็นประโยชน์ไมใ่ ชส่ ิ่งกระทาได้ โดยงา่ ย ทงั้ นเ้ี พราะขาดความรู้เกย่ี วกับทฤษฎี ขาดความสามารถในการใชป้ ระโยชนจ์ ากทฤษฎี และไมค่ ุ้นเคยกับเทคนิคการวจิ ยั ท่มี ีอยู่เพ่อื สามารถตั้งสมมติฐานการวิจัยทเี่ หมาะสมได้ (กาสัก เต๊ะขันหมาก. 2553 : 77 - 78) ดงั นัน้ การต้ังสมมติฐานการวิจยั จงึ ควรปฏิบัตดิ งั ตอ่ ไปนี้ 3.2.6.1 การตัง้ สมมติฐานการวจิ ัยควรกระทาหลังจากทไ่ี ด้ศึกษาเอกสารและ งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้องเรียบรอ้ ยแลว้ เพราะจะทาใหผ้ วู้ จิ ยั เกิดความกระจ่างในความคิดเก่ียวกับหัวขอ้ ปัญหาท่ีจะวิจยั ทาให้สามารถต้ังสมมติฐานการวิจยั ได้สมเหตสุ มผลและถูกตอ้ ง 3.2.6.2 การต้ังสมมติฐานการวจิ ยั ควรเขยี นในรูปของประโยคบอกเลา่ มากกวา่ ประโยคคาถาม 3.2.6.3 การต้ังสมมตฐิ านการวิจัย ควรแยกตัง้ ตามประเด็นยอ่ ย ๆ ใหม้ ากพอ กบั ปัญหาเพอื่ ตอบปัญหาไดท้ ุกขอ้ 3.2.6.4 ขอ้ ความในประโยคสมมตฐิ านการวิจยั จะต้องมีความชัดเจนไมก่ ากวม ถา้ เปน็ ศัพท์เฉพาะหรือคาทม่ี ีความหมายไดห้ ลายอย่าง ผู้วิจยั ต้องนยิ ามให้ชัดเจน 3.2.6.5 ควรเขยี นสมมตฐิ านการวิจัยในลักษณะที่จะเป็นแนวทางในการลงสรปุ วา่ ยอมรับหรอื ปฏิเสธสมมตฐิ านการวิจยั 3.2.6.6 ควรเขียนสมมติฐานการวิจัยไว้ในบทแรกของงานวจิ ยั 3.2.6.7 ควรเขยี นในรปู ของความแตกตา่ ง เพื่อจะไดท้ ดสอบว่าแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตหิ รือไม่ ข้อเสนอแนะในการต้ังสมมตฐิ านการวิจยั ดังกลา่ วขา้ งตน้ พอสรุปไดว้ า่ ในการต้ัง สมมติฐานการวจิ ัยเรือ่ งหนึ่ง ๆ ผู้วิจัยจะตอ้ งตั้งสมมติฐานการวจิ ยั อยใู่ นรปู ของประโยคบอกเลา่ ไมใ่ ช่ประโยคคาถามและตอ้ งไมอ่ ยใู่ นรูปของประโยคปฏเิ สธ ซง่ึ ควรระบุทิศทางของความสมั พนั ธ์ ให้ชดั เจน โดยวางอยู่บนรากฐานของแนวคิดและทฤษฎี และตอ้ งเปน็ ข้อความท่ีมเี พียงความคิดเดยี ว หรือจุดประสงค์เดยี วเท่านน้ั เพือ่ ให้พสิ จู นไ์ ด้โดยไม่ขดั กับหลกั เหตผุ ล 3.2.7 ประโยชนข์ องสมมตฐิ านการวิจัย การวจิ ยั ทุกเร่ืองไมจ่ าเปน็ ต้องมสี มมตฐิ านการวิจยั เสมอไป หากงานวจิ ัยใดท่ีไม่ได้ ระบุวตั ถปุ ระสงค์การวิจัยเพอ่ื นาสมมตฐิ านทย่ี อมรับไปใชเ้ ป็นข้อเสนอแนะหรือเป็นมาตรการเพ่ือแก้ไข ปัญหา และเพื่อทดสอบหรอื ยนื ยันทฤษฎที ่ีมอี ยูห่ รือคดิ วา่ ควรจะเป็น งานวิจัยนน้ั กไ็ ม่ต้องมสี มมตฐิ าน

47 การวจิ ยั แตถ่ า้ การวจิ ัยที่มีการตัง้ สมมติฐานการวจิ ัยจะชว่ ยใหผ้ ู้วจิ ยั ได้รับประโยชน์หลายประการ ดงั น้ี (กาสัก เตะ๊ ขันหมาก. 2553 : 78) 3.2.7.1 จากัดขอบเขตของปัญหา เน่อื งจากสมมตฐิ านการวิจัยเป็นคาตอบ ทีค่ าดคะเนต่อปญั หาทกุ ดา้ น ดงั น้ันสมมติฐานการวจิ ยั จงึ ช่วยบอกให้ทราบวา่ ปัญหานน้ั ๆ จะศึกษา อะไร มีขอบเขตมากน้อยแคไ่ หน ช่วยใหเ้ หน็ ปัญหาวิจัยท่ีแท้จรงิ 3.2.7.2 ช้แี นวทางในการออกแบบการวิจยั สมมตฐิ านการวจิ ยั จะช่วยชแี้ นวทาง ว่าควรใช้รูปแบบการวิจยั ใด ซง่ึ ทาใหผ้ ู้วจิ ยั ทราบต่อไปว่าจะใช้กลุ่มตัวอย่างชนิดใด ข้อมูลมอี ะไรบ้าง จะเก็บข้อมลู อยา่ งไร ใชเ้ ครือ่ งมอื ใดตลอดจนการเลือกใช้สถิติ เพ่ือการวเิ คราะหข์ ้อมูลอยา่ งเหมาะสม 3.2.7.3 ให้ผ้วู ิจยั มคี วามคิดแจ่มแจ้งในเร่ืองทจ่ี ะทาการวิจยั ทั้งนเ้ี พราะ สมมตฐิ านการวจิ ยั จะช้ีใหท้ ราบถึงความสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม หรอื อะไร เปน็ เหตแุ ละเป็นผล 3.2.7.4 กาหนดแนวทางในการสรุป ซึ่งการสรุปจะเขียนในลักษณะคดั คา้ น หรือสนบั สนนุ สมมติฐานการวิจยั ท่ีตัง้ ไว้ ซง่ึ จะทาให้การแปลผลชัดเจน มคี วามหมายและเข้าใจง่าย 3.2.7.5 ประหยดั เวลาแรงงานและเงินทนุ เพราะผู้วจิ ยั สามารถเลือกข้อมูลท่ีจะ นามาศกึ ษาได้ถูกตอ้ งตรงประเดน็ บทสรปุ ตัวแปร หมายถึง คุณลกั ษณะของส่ิงทผี่ ู้วิจยั สนใจจะศึกษา ซงึ่ สามารถเปลี่ยนแปลงหรือ แปรคา่ ได้ ตวั แปรมีหลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ท่ีใชใ้ นการพิจารณาประเภทของความสมั พนั ธ์ของ ตัวแปร ซ่งึ ตวั แปรแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ ตัวแปรตัวมโนทศั น์ หมายถึง ตวั แปรท่แี สดงความหมาย ในลักษณะที่คนท่ัวไปรบั รู้ได้ และตัวแปรตัวโครงสรา้ ง หมายถึง ตวั แปรทแ่ี สดงความหมาย ในลกั ษณะเฉพาะตัว อาจตอ้ งสร้างเครื่องมือวดั ตวั แปรน้ีขึ้นมา และหากพิจารณาในแง่ชนิดของ ตวั แปร สามารถแบ่งได้เป็น 4 ชนิด คอื ตวั แปรอสิ ระ หมายถงึ ตัวแปรสาเหตใุ ห้เกิดผลตาม ตวั แปรตาม หมายถึง ตวั แปรที่เกิดขนึ้ เน่ืองจากตัวแปรอิสระ ตวั แปรแทรกซ้อน หมายถึง ตวั แปรที่ ไมต่ ้องการศึกษา แตจ่ ะส่งผลรบกวนตวั แปรอิสระ และตวั แปรสอดแทรก เปน็ ตวั แปรท่ีสง่ ผลต่อ ตัวแปรตามและผวู้ ิจยั ไมส่ ามารถคาดเดาได้ สมมตฐิ าน หมายถึง คาตอบของปัญหาที่คาดคะเนไว้ลว่ งหนา้ อย่างมเี หตุผล มหี ลกั การ หรอื ทฤษฎรี องรับ สมมตฐิ านมี 2 ประเภทคือ สมมตฐิ านการวจิ ัย และสมมติฐานทางสถิติ สมมตฐิ าน การวจิ ัยมี 2 ประเภทคือ แบบมีทิศทาง และไม่มีทศิ ทาง สมมตฐิ านทางสถติ ิมี 2 ประเภทคอื แบบทีเ่ ปน็ กลาง และแบบทเี่ ปน็ ทางเลอื ก สมมติฐานจะชว่ ยให้การกาหนดขอบเขตของการวิจัยชดั เจน ซ่ึงแนวทางการออกแบบการวิจยั ช่วยใหแ้ ปลความหมายข้อมูล สรปุ และเขียนรายงานวิจัยไดช้ ัดเจน และเป็นการสร้างองค์ความรใู้ หม่หากสมมตฐิ านไดร้ บั การยอมรบั นอกจากน้นั การดวู า่ การวิจัยมี ตวั แปรใดบ้าง สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากสมมตฐิ านเพราะสมมตฐิ านเป็นข้อความที่แสดงถึง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปรตัง้ แต่ 2 ตวั ขึน้ ไป

48 กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 3 1. จงพจิ ารณาสมมตฐิ านทางการวิจัยต่อไปนี้ เป็นสมมติฐานแบบมีทิศทางหรือแบบไมม่ ีทศิ ทาง 1.1 แรงจงู ใจในการเรยี นของนกั ศึกษา มคี วามสัมพนั ธ์กบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นทางบวก 1.2 นกั ศกึ ษาท่ีเรียนดว้ ยวิธสี อนแบบทางไกลในชนบท มปี ัญหาในการเรียนมากกว่านกั ศึกษา ท่ีเรยี นด้วยวธิ สี อนแบบทางไกลในเมอื ง 1.3 นักศึกษาสาขาวชิ าการปกครองท้องถิ่นกบั สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจมีความสนใจในการเล่น กีฬาแตกตา่ งกนั 1.4 อาจารยเ์ กา่ มคี วามพึงพอใจต่อการบรหิ ารงานของคณะผู้บริหารวทิ ยาลยั ชุมชนยโสธรสงู กว่า อาจารย์รนุ่ ใหม่ 1.5 ความสามารถในการเป็นผู้นาของผู้อานวยการมีความสัมพันธ์กบั ประสบการณ์ 2. จงอธิบายลกั ษณะและความแตกต่างของตัวแปรอิสระและตวั แปรตาม 3. จงระบตุ ัวแปรอิสระและตัวแปรตามจากสมมติท่ีกาหนดใหต้ ่อไปน้ี 3.1 คนรวยมีสุขภาพดกี ว่าคนจน 3.2 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างความสนใจในการเรียนกบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักศึกษาท่มี ี ความพร้อมสูงกว่านักศึกษาท่ีไมม่ ีความพรอ้ ม 3.3 นักศึกษาทเี่ รยี นสาขาวชิ าเดียวกนั และมสี ติปัญญาเท่ากนั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความเสยี สละ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลมุ่ นกั ศึกษาท่ีไม่มงี านทาสงู กว่านกั ศึกษาท่ีมีงานทา 4. จงพจิ ารณาสมมตฐิ านทกี่ าหนดให้ต่อไปนีว้ า่ สมมติฐานใดถกู ต้องตามหลักวชิ าการพรอ้ มทง้ั ระบเุ หตุผล 4.1 ผู้สบู บุหรีจัดมกั จะตายด้วยโรคมะเร็งปอด 4.2 นกั ศกึ ษาชายและนักศึกษาหญงิ สาขาวชิ าการปกครองทอ้ งถิ่นมคี วามสนใจในการเรียน 4.3 แรงจูงใจในการเรยี นกับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนยโสธร มีความสัมพันธ์กันทางบวก 5. จงเขยี นสมมติฐานการวจิ ัยจากช่ือเรื่องทก่ี าหนดใหต้ ่อไปนี้ 5.1 ชอ่ื เรอื่ งการวจิ ัย “คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องเจ้าคณะตาบล ตามทศั นะของเจ้าอาวาส และพระเลขานุการในจังหวัดนครราชสมี า” 5.2 ช่ือเรอื่ งการวจิ ยั “คุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องเจา้ หนา้ ทีก่ ลุ่มงานศูนย์ธรุ กิจตามทัศนะของ ผูจ้ ัดการธรุ กิจธนาคารพฒั นาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย”

49 บทท่ี 4 การออกแบบการวิจัย ในการทาวจิ ัยน้ันเมื่อกาหนดตัวแปรและสมมตฐิ านการวจิ ัยได้แลว้ ขนั้ ตอนต่อไปคือ การออกแบบการวิจยั เพ่ือใช้เป็นกรอบและแนวทางในการทาวิจยั การออกแบบเปรยี บเสมือนการ สร้างบ้าน ซึง่ กอ่ ลงมอื สร้างจะต้องออกแบบหรอื เขยี นแปลนบา้ นก่อนเพื่อใหเ้ ป็นกรอบของงาน ท่จี ะต้องทาให้ไดต้ ามความต้องการ การออกแบบการวจิ ยั ก็เพือ่ ใหไ้ ด้คาตอบสาหรับปัญหาการวจิ ัยนน้ั ซงึ่ บทนจี้ ะกล่าวถงึ การออกแบบการวิจยั ทส่ี าคญั ดังน้ี - ความหมายของการออกแบบการวจิ ัย - จดุ มงุ่ หมายของการออกแบบการวิจยั - ประโยชนข์ องการออกแบบการวิจัย - องค์ประกอบของการออกแบบการวิจยั - หลกั การออกแบบการวิจัย - เทคนิควธิ ีการออกแบบการวจิ ยั - ความเทยี่ งตรงของการออกแบบการวจิ ัย 4.1 ความหมายของการออกแบบการวจิ ยั การออกแบบการวจิ ยั เป็นการวางแผนงานอย่างหน่ึงซงึ่ เกย่ี วขอ้ งกบั อนาคต ทาใหเ้ ราทราบ ว่าจะดาเนินการในขน้ั ตอนใด เม่อื ไร และทาอย่างไร เมื่อออกแบบเชิงแนวคิด (Conceptual Design) แล้วกจ็ ะทาเปน็ แผนโครงการวจิ ยั ท่สี มบูรณ์ทเ่ี ราเรียกว่า “โครงการวจิ ัย” ซงึ่ เป็นการ ออกแบบเชิงปฏิบัติ (Practical Design) ตัวโครงการวิจัยจงึ เปรยี บเสมือนแบบแปลนหรอื พิมพ์เขียว ท่เี ปน็ คมู่ ือในการทาวิจยั ดงั นนั้ การออกแบบการวิจัยจงึ ต้องผสมผสานท้งั แนวคิดด้านวชิ าการและ แนวคิดดา้ นการบรหิ ารโครงการเขา้ ดว้ ยกนั ซง่ึ นกั การศึกษาหลายทา่ นไดใ้ ห้แนวคิดเกีย่ วกับ ความหมายของการออกแบบการวจิ ยั ไว้ดงั นี้ ศิริชัย กาญจนวาสี (2538 : 8) กลา่ วว่า การออกแบบการวจิ ัย หมายถึง การกาหนด รปู แบบ ขอบเขตและแนวทางการวิจยั เพื่อใหไ้ ด้มาซง่ึ คาตอบหรือข้อความรู้ตามปญั หาวจิ ัยที่ต้งั ไว้ พชิ ติ ฤทธิจ์ รูญ (2551 : 126) กล่าววา่ การออกแบบการวิจยั หมายถึง การกาหนด กรอบการวิจัยที่เกย่ี วกับโครงสรา้ ง รูปแบบการวิจยั ขอบเขตของการวจิ ัย และแนวดาเนินการวิจัย เพ่ือให้ได้มาซึ่งคาตอบท่เี หมาะสมกับปัญหาวจิ ยั ท่ีกาหนดไว้ ธีรวฒุ ิ เอกะกุล (2552 : 61) กลา่ ววา่ การออกแบบการวจิ ยั หมายถึง การวางแผน ที่กาหนดไวข้ องผู้วิจยั ทแี่ สดงลักษณะวธิ กี ารวจิ ัย เพื่อผ้วู จิ ัยจะได้ดาเนินการเร่ืองนั้น ๆ อยา่ งมีแบบ แผนและสอดคลอ้ งกับปัญหาการวิจัยและวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัยท่กี าหนดไวม้ ากท่ีสดุ กาสัก เต๊ะขนั หมาก (2553 : 81) กล่าววา่ การออกแบบการวจิ ยั (Research Design) หมายถงึ การจากดั ขอบเขตและวางรูปแบบการวิจยั ให้ไดม้ าซ่ึงคาตอบท่ีเหมาะสมกบั

50 ปญั หาทีว่ จิ ยั ผลจากการออกแบบการวจิ ยั เราก็จะได้ตวั แบบซึ่งเรยี กว่าแบบการวิจยั ประดจุ เป็นพิมพ์ เขยี วของการวิจยั เปน็ ขอบข่ายของโปรแกรมการวิจยั ทีแ่ สดงถงึ แบบจาลองของการจดั กระทา ตวั แปรในการวจิ ัย โดยเฉพาะการจัดเกบ็ และการวจิ ยั ข้อมูลเพื่อให้ได้คาตอบบรรลจุ ุดมุ่งหมายของ การวจิ ยั อย่างถูกต้องสมบรู ณ์ วลั ลภ รัฐฉตั รานนท์ (2554 : 64) กลา่ ววา่ การออกแบบการวจิ ยั หมายถงึ แผนงาน โครงสร้าง และยุทธวธิ ีในการศกึ ษาค้นคว้า เพื่อให้ไดค้ าตอบทตี่ ้องการ และเพอื่ ควบคุม ขนาดของการผนั แปรในประเด็นทค่ี ้นควา้ ซึง่ แบบของการวจิ ัยจงึ เป็นโครงสร้างท้งั หมดในการวิจัย รวมถงึ หัวขอ้ ทุกอย่างท่ีนักวิจัยตอ้ งทาตง้ั แต่การตงั้ สมมติฐานจนถึงการวเิ คราะห์ข้อมลู จากแนวคิดของนักการศึกษาทก่ี ลา่ วมาขา้ งต้น สามารถสรุปไดว้ า่ การออกแบบการวิจัย เป็นการวางแผนดาเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ และใชร้ ะเบียบวธิ กี ารวจิ ัยใหเ้ หมาะสมเพอ่ื ใหไ้ ดซ้ ง่ึ คาตอบ ท่ีสอดคล้องกบั ปญั หาการวิจัยและวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั ทีก่ าหนดไวม้ ากท่สี ดุ 4.2 จุดมุง่ หมายของการออกแบบการวิจยั การวิจยั เปน็ การใช้วิธีการแหง่ ปัญญา ค้นคว้าหาความจริง เพ่ือไปใชต้ อบปญั หาที่กาหนดให้ เหตทุ ีเ่ นน้ รูปแบบวธิ กี ารก็เพราะการคน้ หาความจรงิ น้ัน ต้องใช้ไดห้ ลายวธิ ใี นการออกแบบการวิจยั มจี ุดมุ่งหมายท่สี าคัญคือให้ได้มาซ่ึงข้อมูลทีส่ ามารถจะนามาวิเคราะห์ ตอบปัญหาให้ครบถว้ น ทุกประเดน็ ในแง่มมุ ต่าง ๆ ตามท่กี าหนดไว้ เช่น (ประยรู สยุ ะใจ. 2554 : 158 - 161) การเกบ็ ขอ้ มูลจากกลุ่มประชากรตัวอยา่ งท่ีเปน็ เปา้ หมายได้ทกุ ตวั แปร ตามความต้องการของการจดั เก็บข้อมูล ทส่ี อดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ ตามกรอบแนวคิดในการวิจยั ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และเมือ่ นามาวิเคราะห์ ผวู้ จิ ยั สามารถหาขอ้ สรปุ ได้อย่างถกู ต้อง ไม่มีข้อบกพร่องใด ๆ ให้เกิดการต้ังข้อโตแ้ ยง้ ทีด่ ีกว่าขอ้ สรปุ ที่ผ้วู ิจยั ได้รายงานผลเอาไว้ หากเปน็ การวิจยั เชิงบรรยายผู้วิจยั จะต้องพยายามควบคุมมิให้การผันแปร ของตัวแปรอ่นื ๆ มผี ลกระทบต่อข้อสรุปของการวิจัยน้นั สิน พนั ธุพ์ ินจิ (2547 : 87 - 88) กล่าวว่า การออกแบบการวิจยั มจี ดุ ม่งุ หมายหลายประการคอื 1) เพ่ือใหไ้ ด้คาตอบของปญั หาการวจิ ยั ทีถ่ ูกต้อง ในการออกแบบการวจิ ัยตามแนวคิด ทฤษฏี จะทาให้ได้แบบแผนการวจิ ัยที่ดาเนินการตามวธิ กี ารทาง วทิ ยาศาสตร์ จะทาให้ไดผ้ ลการวิจัยทมี่ ีความเทีย่ งตรง มคี วามเชอื่ ม่ัน และชัดเจน 2) เพื่อควบคมุ ความแปรปรวนของตัวแปร วธิ กี ารทาความแปรปรวนของตัวแปรทศี่ กึ ษามีค่าสูง ลดความคลาดเคลอ่ื น ให้เหลือน้อยและความแปรปรวนโดยการส่มุ และควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนโดยใช้แบบแผนการวจิ ัย ที่เหมาะสม 3) เพ่ือใหไ้ ด้การวัดตัวแปรถูกต้อง ถา้ ในการออกแบบการวิจัยได้กาหนดตัวแปรแลว้ กาหนดคานิยามเชิงทฤษฎี คานิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร และกาหนดสถิตทิ เ่ี หมาะสมในการวเิ คราะหข์ ้อมลู จะทาให้การวดั ตัวแปรแต่ละประเภทได้อยา่ งถกู ต้อง ลดความแปรปรวนและความคลาดเคล่อื นได้ 4) เพื่อใหก้ ารดาเนนิ การวจิ ยั เป็นระบบ การออกแบบการวจิ ัยจะต้องระบขุ ้ันตอนในการดาเนินการ ทช่ี ดั เจน ต่อเน่อื ง เพอ่ื สะดวกตอ่ การตดิ ตาม ตรวจสอบความกา้ วหน้าและปญั หาอปุ สรรคที่เกิดขึ้น ได้อยา่ งชัดเจน และถูกต้อง และ 5) เพื่อความประหยดั ในการวางแผนการใช้งบประมาณ แรงงาน และกาหนดเวลา ควรกาหนดอย่างเหมาะสม มีเหตผุ ล จะทาให้การดาเนนิ การวจิ ัยสามารถดาเนนิ การ ไปอยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สาหรับพสิ ณุ ฟองศรี (2554 : 86 - 87) เสนอว่า การออกแบบ การวิจยั มีจดุ มงุ่ หมายสาคญั 3 ประการ ได้แก่ ประการแรก เพ่ือให้ได้คาตอบจากปัญหาการวิจัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook