บทท่ี 5 การใหข้ ้อมูลเพือ่ กระตุน้ การเรยี นรู้ 187 5.4 การใชส้ ่ือเพอ่ื กระตุน้ การเรยี นรู้ การให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ส่ือ เป็นอีกวิธีการหน่ึงที่โค้ช สามารถเลือกใชไ้ ด้ตามความสนใจของผ้เู รียนและสัมพนั ธ์กับสาระสาคัญท่ีผู้เรียนจะต้อง เรยี นรู้ ส่ือท่ีสามารถนามาใช้กระตุ้นการเรียนรู้มีหลากหลายชนิด เช่น ของจริง รปู ภาพ คลปิ เปน็ ตน้ การเลอื กใช้ส่ือประเภทใดขึ้นอยู่กับ บริบท สาระสาคัญท่ีต้องการ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ ธรรมชาตผิ ู้เรียน และจุดมงุ่ หมายของการกระตนุ้ การเรียนรู้ ปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูงมาก มีสื่อท่ีอยู่ในโลก ออนไลน์มากมายที่โค้ชสามารถคัดสรรมาใช้กระตุ้นการเรียนรู้ได้ การเลือกส่ือออนไลน์ ควรสอดคล้องกับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนด้วย สื่อแต่ช้ินมีความ ซับซอ้ นในการวเิ คราะหเ์ พ่ือทาความเข้าใจในระดับทแี่ ตกต่างกัน กรณีท่ีเป็นเด็กเล็กควร ใชส้ ือ่ ที่ตรงไปตรงมา ไม่ซบั ซ้อน แตถ่ า้ เปน็ เดก็ โตสามารถใช้สือ่ ทซ่ี ับซอ้ นมากขึน้ ได้ การใช้สื่อในการกระตุ้นการเรียนรู้ อาจมีการใช้คาถามร่วมด้วย เพื่อให้การ กระตุ้นการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ผู้เรียนได้ดูส่ือและตอบคาถามร่วมด้วย เพ่อื นาไปสู่กระบวนการเรยี นรู้ต่างๆ ต่อไป การเลือกส่ือออนไลน์มีข้อพึงระวังบางประการ เช่น ส่ือที่มีความรุนแรง ไม่ควรนามาใชไ้ มว่ า่ ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เพราะการท่ีผู้เรียนได้ดูส่ือท่ีมีความรุนแรง จะเกิดการรับรู้และจดจาไว้ในจิตใต้สานึก ซ่ึงเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีทาให้ผู้เรียนมีพฤติกรรม กา้ วรา้ ว ดังน้ันควรเลอื กส่อื ทไ่ี มม่ คี วามรนุ แรง แตม่ คี วามสร้างสรรค์ ซ่ึงการท่ีผู้เรียนได้ดู สื่อท่ีสร้างสรรค์ช่วยทาให้สมองส่วนคิด (สมองส่วนหน้า) ทางานในเชิงบวก เป็นปัจจัย ท่ที าใหเ้ กิดการคิดสรา้ งสรรคต์ ่อไป
188 บทที่ 5 การให้ขอ้ มลู เพอื่ กระต้นุ การเรยี นรู้ ตัวอย่างการใช้สื่อเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ในบริบทต่างๆ ทาตารางวิเคราะห์ จาแนกตาม กลมุ่ เปา้ หมาย ประเภทสาระสาคัญ และตัวอยา่ งส่อื มดี ังต่อไปนี้ ตัวอย่างท่ี 1 การใช้ภาพไอศกรีมโคนมากระตุ้นการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียน มีแรงจูงใจในการเรียนรู้ และลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยความมุ่งมั่นทันทีแล้ว จะประสบความสาเร็จ เหมือนกับการรบั ประทานไอศกรีมทันทีกอ่ นทีจ่ ะละลาย แผนภาพ 15 การใช้สือ่ ภาพไอศกรีมโคนในการกระตนุ้ การเรียนรู้
บทที่ 5 การให้ขอ้ มูลเพ่อื กระตนุ้ การเรยี นรู้ 189 ตัวอย่างที่ 2 การใช้ภาพถุงชาประเภทต่างๆ มากระตุ้นการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนมีความอดทนในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้จนประสบความสาเร็จ เปรียบเสมือนถุงชาที่จมอยู่ในน้าร้อน มีความอดทนสูงจนกระท่ังได้น้าชาออกมา ใหเ้ ราดมื่ แผนภาพ 16 การใชส้ อ่ื ภาพถงุ ชาในการกระตุ้นการเรยี นรู้
190 บทที่ 5 การใหข้ ้อมูลเพ่อื กระต้นุ การเรยี นรู้ ตัวอย่างท่ี 3 การใช้ของจริงที่เป็นตะกร้า 3 ใบ ติดข้อความที่ตะกร้า แตล่ ะใบเรียงลาดับ ใบท่ี 1 รสู้ ึกอย่างไร ใบที่ 2 เรียนรู้อะไร และใบท่ี 3 จะนาไปปฏิบัติ อย่างไร มาใช้กระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ทราบผลลัพธ์ว่าเมื่อเสร็จสิ้นการ เรียนรู้แล้ว ผู้เรียนจะต้องถอดบทเรียนออกมาว่า ตนเองรู้สึกอย่างไรต่อกิจกรรมที่ได้ ปฏิบัติ ได้เรียนรู้อะไรจากการทากิจกรรม และจะนาส่ิงที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติอย่างไร นอกจากนยี้ ังทาให้ผ้เู รยี นทราบแนวทางการเรยี นรู้อีกด้วยว่า จะต้องมีความต้ังใจในการ ปฏิบัติกิจกรรม เพราะถ้าไม่ต้ังใจก็จะถอดบทเรียนออกมาไม่ได้ และจะทาให้ไม่มีอะไร ไปแลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ับเพือ่ น แผนภาพ 17 การใช้สอ่ื ท่เี ป็นของจรงิ ตะกรา้ 3 ใบในการกระตนุ้ การเรยี นรู้
บทที่ 5 การใหข้ อ้ มลู เพอื่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ 191 ตัวอย่างท่ี 4 การใช้ชุดภาพถ่ายจากสถานท่ีจริงเพ่ือกระตุ้น การเรียนรู้ เร่ือง สถาบันพระมหากษัตริย์กับรากฐานของสังคมไทย การที่ผู้เรียนได้เห็นภาพถ่าย จากสถานท่ีจริงจะให้อารมณ์และความรู้สึกท่ีแตกต่างจากการใช้ภาพถ่ายที่ copy มาจากเวบ็ ไซต์ แตถ่ า้ ไม่มภี าพถา่ ยจากสถานท่ีจริง ก็อาจใช้วิธีการอ่ืนในการกระตุ้นการ เรียนรู้ ได้อีกดังที่ได้กล่าวนามาในเบ้ืองต้นแล้ว ภาพน้ีเป็นภาพ “KING BHUMIBOL ADULYADEJ SQUARE” หรือ “จัตุรัสภูมิพลอดุลยเดช” ต้ังอยู่บริเวณแยกถนน Bennett กับถนน Eliot หน้า John F. Kennedy School of Government ใกล้กับ โรงพยาบาล Mount Auburn Hospital โรงพยาบาลท่ีประสูติของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เมือง Boston มลรฐั Massachusetts ประเทศสหรฐั อเมรกิ า แผนภาพ 18 การใชส้ อื่ ท่ีเป็นภาพถา่ ยจากสถานทีจ่ ริงในการกระตุ้นการเรยี นรู้
192 บทท่ี 5 การใหข้ อ้ มูลเพอื่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ ข้อความที่จารกึ ไว้มใี จความสาคญั ดงั น้ี \"จัตรุ ัสแหง่ นีส้ ร้างข้ึนเพ่ือระลึกถึงศภุ วาระวนั พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยูห่ ัวภมู ิพลอดลุ ยเดชแหง่ ประเทศไทย ณ โรงพยาบาลเมาทน์ออเบริ ์น เคมบริดจ์ มลรฐั แมสซาชเู ส็ตต์ เม่ือวันท่ี 5 ธนั วาคม 1927 ขณะท่เี จ้าฟ้ามหิดลพระบรมราชชนก ศกึ ษาอย่ทู ว่ี ิทยาลัยแพทย์ศาสตรฮ์ ารว์ าร์ด จตั ุรสั น้วี างศิลาฤกษ์เมื่อวันท่ี 7 เมษายน 1990 โดยพระเจ้าลกู เธอเจา้ ฟ้าจุฬาภรณว์ ลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี พระธดิ าองคส์ ดุ ทอ้ งในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ฯ พระบรมราชนิ นี าถ แหง่ ประเทศไทย เป็นเคร่อื งหมายราลกึ แทนสายสมั พันธ์ใกลช้ ดิ ระหว่างประชากร แหง่ นครเคมบริดจ์และปวงชนชาวไทย อนสุ รณ์สถานนเ้ี ปดิ แพรคลมุ ป้าย เม่ือวนั ที่ 14 พฤศจิกายน 1992 โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระกรณุ า โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี เปน็ ผ้แู ทนพระองค์ และผูแ้ ทนปวงชนชาวไทย ในการเปดิ แพรคลมุ ปา้ ยอนสุ รณส์ ถาน\" ทมี่ าข้อความแปลภาษาไทย facebook.com/Proud.to.be.SIAM สบื คน้ เม่ือวันที่ 14 สิงหาคม 2558
บทที่ 5 การให้ขอ้ มูลเพือ่ กระตุ้นการเรยี นรู้ 193 5.5 การใชเ้ รอ่ื งเลา่ เพอ่ื กระตนุ้ การเรยี นรู้ การใช้เร่ืองเล่าเป็นอีกวิธีการหนึ่งท่ีใช้สาหรับการให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้น การเรยี นรู้ทีโ่ ค้ชสามารถเลอื กใชต้ ามบรบิ ทของการโคช้ การใช้เร่ืองเล่าท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถกระตนุ้ การเรยี นรู้ การคิดข้นั สงู และมติ ดิ า้ นจติ ใจไดเ้ ปน็ อย่างดี เรื่องเล่าท่ีใช้ในการกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพควรเป็นเรื่อง จริงที่เกิดขึ้นกับประสบการณ์ของโค้ช หรือเรื่องที่เกิดขึ้นจริงในอดีต เร่ืองราวทาง ประวตั ศิ าสตร์ การใช้เร่ืองเล่าในการกระตุ้นการเรียนรู้ หากโค้ชมีทักษะในการเล่าเร่ืองท่ีมี อรรถรส จะยง่ิ กระตนุ้ การเรียนรู้ไดม้ ากข้นึ เปน็ อย่างมาก อย่างไรก็ตามการใช้วิธีการเล่าเรื่องจะเหมาะสมกับผู้เรียนที่มีรูปแบบ การเรียนรู้จากการฟัง นั่นคือ ถ้าผู้เรียนชอบฟังแล้วการใช้วิธีการเล่าเร่ืองจะสามารถ กระตุ้นการเรยี นรไู้ ดด้ ี การเล่าเรื่องทก่ี ระตุ้นการเรยี นรูน้ ้ัน โค้ชจะต้องสอดแทรกสาระสาคัญเข้าไป ในเนื้อเร่ือง เพื่อให้เรื่องท่ีเล่าสามารถเช่ือมโยงไปสู่สาระสาคัญท่ีผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ หรอื ทกั ษะท่ตี ้องปฏิบตั ไิ ด้ การเล่าเร่ือง ไม่ใช่เล่าไปเร่ือยๆ โดยไม่มีสาระสาคัญ การเล่าเรื่องโดยไม่มี สาระสาคัญจะเปน็ การเสยี เวลาโดยเปลา่ ประโยชน์และไมส่ ามารถกระตุ้นการเรยี นรู้ได้ เร่ืองท่ีเลา่ เป็นส่ิงท่ีสาคัญมากท่ีโค้ชจะต้องคัดสรรมาแล้วเป็นอย่างดี เร่ืองที่ นามาเล่าควรมีเน้ือหาที่สร้างสรรค์ สามารถสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่ดี งาม คติสอนใจไดด้ ้วย เพราะนอกจากจะกระตุ้นการเรียนรู้ได้แล้ว ยังสามารถพัฒนามิติ ทางด้านจติ ใจไดอ้ ีกดว้ ย นบั ว่าเป็นการลงทนุ ที่ค้มุ ค่า
194 บทท่ี 5 การใหข้ ้อมูลเพอื่ กระต้นุ การเรยี นรู้ ทั ก ษ ะ ก า ร เ ล่ า เ รื่ อ ง ที่ ส า คั ญ เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ จิ น ต น า ก า ร ของผู้เรยี น มีดงั นี้ 1. การใช้เสียงประกอบการเล่าเรื่องท่สี อดคลอ้ งกับเน้ือหาของเรือ่ ง 2. การใช้ภาษากายประกอบการเล่าเรื่องช่วยการทาความเข้าใจ กับเนอ้ื เรื่อง 3. การสรา้ งอารมณ์และความร้สู ึกรว่ มของผเู้ รียนไปกับเร่ืองราวทเี่ ล่า 4. การใช้คาถามสอดแทรกขณะเล่าเรื่อง เพ่ือให้ความคิดของผู้เรียน อย่กู ับเร่อื งท่ีเล่า ทาใหค้ ิดและติดตามตลอดเร่อื งเลา่ 5. การสรุปเร่ืองทเี่ ลา่ เพอ่ื นาไปสูก่ ระบวนการเรยี นร้ใู นขัน้ ตอนต่อไป 6. ทักษะการเล่าเรื่องดังกล่าวโค้ชควรฝึกฝนให้เกิดความชานาญ มีหลายคร้ังที่โค้ชเล่าเรื่องแล้วผู้เรียนขาดความสนใจกลางคัน ทาให้บรรยากาศในการ เรียนร้สู ญู เสยี ไป 7. การใช้เรื่องเล่าเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้สามารถทาได้ตลอดเวลาของ การโค้ช โดยไม่มีข้อจากัดใดๆ แต่โค้ชจะต้องวิเคราะห์และเลือกจังหวะเวลาในการเล่า ใหเ้ หมาะสม และทาให้การกระต้นุ การเรียนร้บู รรลุจุดม่งุ หมาย ตัวอย่างการใช้เรื่องเล่าในการกระตุ้นการเรียนรู้ ในการโค้ชสาระสาคัญ เร่ือง การไม่ประทุษร้ายบุคคลอื่น โดยการเล่าเรื่องพระเทวทัตให้ปล่อยช้างนาฬาคีรี สนั้ ๆ ว่า พระเทวทัตเปน็ พระที่มีจิตใจมักใหญใ่ ฝ่สูงไดท้ าการประทุษร้ายต่อพระพุทธเจ้า โดยให้ปล่อยช้างพระที่น่ังของพระเจ้าอาชาติศัตรูที่กาลังตกมัน เพ่ือให้ทาร้าย พระพุทธเจ้า แต่พระพุทธเจ้าทรงแผ่เมตตาให้ช้างนาฬาคีรี จนช้างนาฬาคีรีสงบลง และได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า จนเกิดปัญญาและเอางวงลูบพระบาท ของพระพุทธเจ้า และกลับไปยังโรงช้างในท่ีสุด เหตุการณ์ที่ทาให้พระเทวทัตสูญเสีย ความเล่ือมใสศรัทธาจากประชาชนและบรรดาลูกศิษย์ ไม่มีใครต้อนรับ ไม่มีใครถวาย อาหารให้ และเสื่อมเสียจากลาภสักการะทั้งปวง พุทธประวัติตอนน้ีสอนให้รู้ว่า “การประทุษร้ายบุคคลอืน่ ยอ่ มนาความเส่ือมเสียใหก้ ับตนเอง”
บทท่ี 5 การใหข้ ้อมลู เพือ่ กระต้นุ การเรยี นรู้ 195 เม่ือเล่าเรื่องพุทธประวัติแล้ว ผู้สอนจึงดาเนินการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการไม่ประทุษรา้ ยบุคคลอ่นื ต่อไป แผนภาพ 19 ภาพพทุ ธประวัติตอนพระเทวทัตใหป้ ลอ่ ยชา้ งนาฬาครี ี ท่ีมา https://th.wikipedia.org/wiki/#/media/File:Devadatta_- Inciting_an_elephant_to_charge_at_the_Buddha.jpg สบื คน้ เม่ือ 8 สิงหาคม 2558 5.6 การให้ผเู้ รยี นลงมอื ปฏิบตั เิ พอื่ กระตุ้นการเรยี นรู้ การให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติเป็นอีกวิธีการหนึ่งท่ีใช้สาหรับกระตุ้นการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยโค้ชมีกิจกรรมท่ีใช้เวลาไม่มากในการกระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดแรงจูงใจและความต้องการในการเรยี นรู้ กิจกรรมการปฏิบัติสาหรับการกระตุ้นการเรียนรู้ เน้นการสร้างความตื่นตัว และความสนใจ มากกวา่ การฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ัตใิ นกระบวนการเรยี นร้โู ดยทว่ั ไป ลกั ษณะกจิ กรรมการปฏบิ ัติในการกระต้นุ การเรยี นรู้มีความท้าทายความคิด และจนิ ตนาการของผู้เรยี น ชว่ ยสรา้ งบรรยากาศทีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ท่สี นกุ ต่ืนเตน้
196 บทท่ี 5 การใหข้ ้อมูลเพอ่ื กระตุ้นการเรยี นรู้ กิจกรรมกระตุ้นการเรียนรู้ไม่ควรยากหรือง่ายเกินไป โค้ชควรเลือก ให้เหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรียน หากกิจกรรมง่ายเกินไปก็จะไม่น่าสนใจ และถ้ายากเกินไปจนไม่ทาให้สาเร็จได้กิจกรรมนั้นก็ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจในการ เรยี นรู้ได้ การกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโค้ชควรใช้คาถามร่วมด้วยเพ่ือให้ ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดต่างๆ เกิดการเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อสิ่งท่ีจะเรียนรู้ ต่อไป การใช้กิจกรรมให้ผู้เรียนปฏิบัติเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้น้ีจะมีประโยชน์อย่าง มาก เพราะผู้เรียนจะได้ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ของร่างกายในการทากิจกรรม มีปฏิสัมพันธ์เชิงรุก อีกทั้งเป็นปัจจัยที่นาไปสู่การเรียนรู้สาระสาคัญต่างๆ อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ เนือ่ งจากไดม้ ีประสบการณ์ตรงกบั สงิ่ ทกี่ าลงั จะเรียนรู้ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม กิ จ ก ร ร ม ที่ ผู้ เ รี ย น ป ฏิ บั ติ เ พ่ื อ ก ร ะ ตุ้ น ก า ร เ รี ย น รู้ ค ว ร มี สาระสาคัญที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้บูรณาการอยู่ในกิจกรรมน้ันๆ ด้วย นอกจากนี้ยัง สามารถบรู ณาการคณุ ลักษณะได้อีกด้วย แต่อย่าลืมว่ากิจกรรมส่วนนี้ปฏิบัติเพ่ือกระตุ้น การเรียนรู้เท่าน้ัน จุดมุ่งหมายสาคัญ คือ การทาให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจ แรงปรารถนา ในการเรียนร้ตู อ่ ไป การให้ขอ้ มลู เพื่อกระตุ้นการเรียนรโู้ ดยการให้ผ้เู รยี นลงมือปฏิบัติเป็นภารกิจ ท่ีโค้ชจะต้องวางแผนและเตรียมการมาอย่างดี เพื่อให้การปฏิบัติของผู้เรียนนาไปสู่การ เรียนรใู้ นเชงิ concept ซ่ึงการเตรียมความพร้อมในส่วนนี้มีรายละเอียดมากกว่าการให้ ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยการตั้งคาถาม การใช้สื่อ และการใช้เร่ืองเล่า จากประสบการณ์ ที่ผ่านมามักไม่ค่อยพบบ่อยนักที่โค้ชจะใช้วิธีการให้ผู้เรียนลงมือ ปฏิบตั ิในการใหข้ ้อมลู เพือ่ กระตนุ้ การเรียนรู้
บทท่ี 5 การใหข้ อ้ มูลเพือ่ กระต้นุ การเรยี นรู้ 197 อย่างไรก็ตามการให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนลงมือ ปฏิบัตินี้ สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมไปสู่กิจกรรมการเรียนรู้ที่แท้จริงได้ด้วย ไม่ได้ หมายความว่าให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมในการกระตุ้นการเรียน รู้แล้วจะเดินกิจกรรม ต่อไปไม่ได้ซึ่งถ้าหากโค้ชทาตรงน้ีจะก็จะเป็นประโยชน์อย่างมากกับผู้เรียน เนื่องจาก การเรียนรู้จากการปฏิบัติเป็นการเรียนรู้ที่ส่งผลดีต่อความจา มากกว่าการเรียนรู้ ด้วยการฟังและการดูจากส่ือ ดังนั้นในกระบวนการให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ จึงควรอย่างย่งิ ทโี่ ค้ชจะใชว้ ธิ ีการทีห่ ลากหลาย เลือกใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน ตัวอย่างของ การให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้มีดังต่อไปนี้ (ภาพถ่ายต่อไปนี้เป็นภาพ ที่ผเู้ ขยี นไดถ้ ่ายเกบ็ ไว้ดว้ ยตนเอง) ตัวอย่างท่ี 1 ในการเรียนรู้เรื่องพลังงานลม โค้ชได้ให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการ เรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนประดิษฐ์สิ่งของท่ีเกี่ยวข้องกับพลังงานลม ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ภาพนักเรียนในรูปน้ีเป็นนักเรียนโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบ้านแม่น้าน้อย อ.ไทรโยค จ.กาญจนบรุ ี สรา้ งส่ิงประดิษฐ์ท่ีเรียกว่าคอปเตอร์หลอดกาแฟ มีแรงบันดาล ใจมาจากการเสด็จพระราชดาเนินของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กมุ ารี มาเยีย่ มโรงเรียนโดยเฮลคิ อปเตอร์ นกั เรียนได้ประดิษฐ์เฮลิคอปเตอร์หลอดกาแฟ ก่อนทจ่ี ะกลบั ไปเรยี นเรอ่ื งพลังงานลมกบั ครตู ารวจตระเวนชายแดนต่อไป
198 บทที่ 5 การให้ข้อมลู เพือ่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ ตวั อย่างท่ี 2 โค้ชใช้กิจกรรมการร้องเพลง “ปลาทู” เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ เรื่อง “ปลาทูซาเต๊ียะ” สาหรับผู้เรียนระดับอนุบาล 2 โรงเรียนอนุบาลสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม การร้องเพลงทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น และสนุกสนาน ในการเรียนรู้ ทงั้ ยงั ช่วยใหจ้ ดจาสาระสาคัญไดด้ ี
บทที่ 5 การให้ขอ้ มลู เพอื่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ 199 ตัวอย่างที่ 3 การกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียนปฐมวัยท่ี Shizuoka Affiliated Elementary School ประเทศญป่ี นุ่ เรื่อง ระบบนเิ วศ โดยการให้ผู้เรียนได้ ปฏิบัติกิจกรรมการสารวจส่ิงแวดล้อมท่ีจาลองอยู่ในกล่องพลาสติกใส ทาให้ผู้เรียน มีความสนุกสนาน ต่ืนเต้น ยิ้มแย้มแจ่มใส และเรียนรู้อย่างมีความสุข นับว่าเป็นการ Feed – up ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพสงู มาก
200 บทที่ 5 การให้ข้อมลู เพอื่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ 5.7 กิจกรรมการใหข้ ้อมลู เพ่อื กระตนุ้ การเรยี นรู้ การให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้สามารถทาได้หลายวิธีการ โค้ชอาจใช้ วธิ ีการใดวธิ กี ารหนง่ึ หรอื ใชห้ ลายๆ วิธีร่วมกันก็ได้ แต่ยึดจุดมุ่งหมายเก่ียวกับแรงจูงใจ แรงบันดาลใจในการเรียนรู้ท่ีเป็นรากฐานของความสุขในการเรียนรู้เป็นสาคัญ โดยการใหข้ ้อมลู เพ่อื กระตุ้นการเรยี นรมู้ ีกจิ กรรมสาคัญทโี่ ค้ชควรดาเนนิ การ ดังต่อไปน้ี 1. สร้างความสนใจในการเรียนรู้ 2. สรา้ งแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ 3. สรา้ งเช่อื ม่นั ในตนเองใหก้ ับผูเ้ รยี น 4. สร้างแรงปรารถนาในการเรียนรใู้ ห้กบั ผู้เรียน 5. สร้างบรรยากาศท่เี อ้อื ต่อการเรียนรู้ 6. กระตุ้นวนิ ยั เชิงบวก (positive discipline) 7. สร้างความกระตอื รอื ร้นและพร้อมเรียนรู้ 8. กระตุน้ กระบวนการคิดขัน้ สงู ของผูเ้ รียน 9. สอ่ื สารผลลพั ธ์ของการเรียนรู้ไปยังผูเ้ รียน 10. ทบทวนความรูเ้ ดมิ ที่จาเป็นต่อการเรยี นรู้ 11. แจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 12. แจง้ ภาระงานทผ่ี ู้เรยี นจะไดป้ ฏบิ ัติการเรยี นรู้ 13. แจง้ ประเดน็ และเกณฑก์ ารประเมนิ ใหผ้ เู้ รยี นทราบ โดยผู้เรยี นสามารถมีสว่ นรว่ มในการกาหนดประเดน็ และเกณฑ์การประเมนิ ได้
บทที่ 5 การให้ขอ้ มลู เพือ่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ 201 สรุป สาระสาคัญท่ีนาเสนอในบทน้ี ได้กล่าวถึงการให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการ เรียนรู้ (feed - up) เป็นการดาเนินการด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจ ในการเรียนรู้ มีวินัยในตนเอง (self - discipline) ทราบผลลัพธ์การเรียนรู้ และ แนวทางการเรียนรู้ ซ่ึงส่ิงเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเก้ือหนุนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ จุดมุ่งหมายของการให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ คือ การสร้างแรงจูงใจภายใน ในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนาจากความต้องการของ ตนเอง อย่างไรก็ตามการสร้างแรงจูงใจภายในของผู้เรียนประถมศึกษา อาจจะต้องใช้ แรงจูงใจภายนอกมากระตุ้นก่อนแต่สุดท้ายจะต้องสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดข้ึน ซึ่งการให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้คาถามเป็นการต้ังคาถามท่ีกระตุ้นความ อยากรู้ของผู้เรียน มุ่งเน้นให้เกิดแรงจูงใจและความต้องการในการเรียนรู้เป็นสาคัญ นอกจากนก้ี ารใหข้ ้อมลู เพือ่ กระตนุ้ การเรียนรู้โดยใช้ส่ือเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่โค้ชสามารถ เลือกใช้ได้ตามความสนใจของผู้เรียนและสัมพันธ์กับสาระสาคัญที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ การใช้เรื่องเล่าเป็นอีกวิธีการหน่ึงท่ีใช้สาหรับการให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรีย นรู้ที่โค้ช สามารถเลือกใช้ตามบริบทของการโค้ช การใช้เรื่องเล่าที่มีประสิทธิภาพ สามารถ กระตุ้นการเรียนรู้ การคิดขั้นสูง และมิติด้านจิตใจได้เป็นอย่างดี นอกจากน้ีการให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติเป็นอีกวิธีการหน่ึงที่ใช้สาหรับการกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ โ ด ย มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร โ ค้ ช ที่ ใ ช้ เ ว ล า ไ ม่ ม า ก ใ น ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เกิดแรงจูงใจและความต้องการในการเรียนรู้ และท่ีสาคัญคือการให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้น การเรียนรู้สามารถทาได้หลายวิธีการโค้ชอาจใช้วิธีการใดวิธีการหน่ึง หรือใช้หลายๆ วิธีร่วมกันก็ได้ แต่ต้องยึดจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับแรงจูงใจ แรงบันดาลใจในการเรียนรู้ เป็นสาคัญ
202 บทที่ 5 การใหข้ อ้ มูลเพอ่ื กระตุน้ การเรยี นรู้ การ Feed – up สามารถกระทาไดต้ ลอดทกุ ช่วงเวลา ที่โค้ชเหน็ ว่าผู้เรยี นกาลังต้องการ แรงจงู ใจในการเรยี นรู้
บทที่ 5 การให้ขอ้ มูลเพอื่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ 203 บรรณานุกรม Anderson, Lorin. W, & Krathwohl, David. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Abridged Edition, New York: Longman. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Marzano, Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. McClelland, D.C. (1961). The Achieving Society. New York: The Free Press. Moore, L.L., Grabsch, D.K., and Rotter, C. (2010). “Using Achievement Motivation Theory to Explain Student Participation in a Residential Leadership Learning Community”. Journal of Leadership Education. 9(2) pp. 22 – 34. Sobel, Andrew and Panas, Jerold. (2012). Power Questions: Build Relationships, Win New Business, and Influence Others. New York: John Wiley & Sons, Incorporated. Sweeney, Diane. (2010). Student – Centered Coaching: A guide for K – 8 Coaches and Principals. California: Corwin Press.
204 บทท่ี 5 การให้ข้อมูลเพือ่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ การ Feed – up ช่วยกระตนุ้ การคดิ ทีม่ ีตอ่ การเรียนรู้ เปน็ ปจั จยั สาคัญของการใช้ กระบวนการเรยี นรู้และกระบวนการคดิ
บทที่ 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน 205 บทที่ 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รยี น
206 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผูเ้ รยี น Checking for Understanding เป็นกลไกสาคัญของการโค้ช ให้ผเู้ รียนเกิดการพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง
บทที่ 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรียน 207 บทนา การนาเสนอเนื้อหาสาระ เรื่อง การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน (checking for understanding) มงุ่ สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับแนวคิดของการ ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน จุดมุ่งหมายของการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน ประโยชน์ของการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน ช่วงเวลาของการตรวจสอบความ เข้าใจของผู้เรียน วิธีการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน และแนวทางการช่วยเหลือ ผเู้ รียนหลังการตรวจสอบความเขา้ ใจ โดยมสี าระสาคญั ดังตอ่ ไปนี้ 1. การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน เป็นภารกิจที่สาคัญประการ หน่ึงของโค้ช เนื่องจากเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบวินิจฉัยความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิดหรือกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนที่โค้ชจะต้องประคับประคอง ใหผ้ เู้ รียนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ 2. การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือตรวจสอบ ความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือให้ความ ชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียนตอ่ ไป 3. การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน ช่วยทาให้โค้ชมีสารสนเทศ เก่ียวกับความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน และนาไปใชโ้ ค้ชให้ผเู้ รยี นประสบความสาเร็จ 4. การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน สามารถดาเนินการได้ตลอด ทุกช่วงเวลาของการเรียนรู้ ได้แก่ ก่อนการเรียนรู้ ระหว่างการเรียนรู้ หลังการเรียนรู้ และติดตามผลการเรยี นรู้
208 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ รยี น 5. การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนมีหลายวิธีการท่ีโค้ชสามารถ เลือกใช้ได้ตามบริบทของการโค้ช เช่น การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน การซักถาม และ การตรวจสอบผลงาน เปน็ ตน้ 6. การช่วยเหลือผู้เรียนภายหลังการตรวจสอบความเข้าใจมีหลาย วิธีการท่ีโค้ชควรเลือกใช้ให้เหมาะสมตามบริบทของการโค้ช ซ่ึงโดยทั่วไปมี 5 วิธีการ ได้แก่ 1) การให้คาอธิบายเพิ่มเติมหรือทาตัวอย่าง 2) การแนะนาให้ผู้เรียนไปเรียนรู้ เพ่ิมเติมด้วยตนเอง3) การให้เพื่อนช่วยเพื่อน 4) การให้ฝึกทักษะเพ่ิมเติม 5) การสอน ซ่อมเสริม
บทที่ 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน 209 6.1 แนวคดิ ของการตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี น 6.2 จุดมงุ่ หมายของการตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ รยี น 6. การตรวจสอบ 6.3 ประโยชน์ของการตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รยี น ความเขา้ ใจของผเู้ รยี น 6.4 ช่วงเวลาของการตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี น 6.5 วิธกี ารตรวจสอบความเข้าใจของผ้เู รียน 6.6 แนวทางการชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น หลงั การตรวจสอบความเขา้ ใจ
210 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผ้เู รยี น การควบคมุ ความคดิ ของตนเอง มงุ่ เนน้ ไปทค่ี าพดู ทมี่ ีตอ่ ตัวเราเอง เราไมไ่ ด้เห็นส่ิงตา่ งๆ อยา่ งทมี่ นั เป็น แต่เราเหน็ มนั อยา่ งทเี่ ขาเป็น “We don’t see thing as they are We see them as we are”
บทที่ 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียน 211 6.1 แนวคิดของการตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รยี น การตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รียนเป็นภารกิจสาคัญประการหน่ึงของโค้ช เน่อื งจากเปน็ เครื่องมือในการตรวจสอบวินจิ ฉัยความรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ กระบวนการ คิด หรือกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่โค้ชจะต้องประคับประคองให้ผู้เรียนประสบ ความสาเร็จในการเรยี นรู้ การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนเป็นกลไกการพัฒนาผู้เรียนที่โค้ช เก่งๆ จะสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง มาพฒั นาผู้เรียน การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน ทาได้หลายวิธีการ ทั้งท่ีเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ เช่น การสังเกต การสอบถาม การประเมินผลงาน การให้ผู้เรียน รายงานตนเอง การให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น การทดสอบเพ่ือการวินิจฉัย เป็นต้น โดยโคช้ สามารถเลือกใช้วิธกี ารต่างๆ ได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของการโค้ช การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน กระทาได้ตลอดทุกช่วงเวลาของการ เรียนรู้ ได้แก่ ก่อนการเรียนรู้ ระหว่างการเรียนรู้ หลังการเรียนรู้ ติดตามการเรียนรู้ โดยนาข้อมูลสารสนเทศมาพัฒนาผู้เรียนโดยใช้พลังคาถาม (power questions) ตลอดจนการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) และการให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) ตลอดจนวิธกี ารอนื่ ๆ ตามความเหมาะสม 6.2 จดุ มงุ่ หมายของการตรวจสอบความเข้าใจของผ้เู รยี น การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน มีจุดมุ่งหมายเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เชิงประจักษ์ เก่ียวกับความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้
212 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รยี น ด้วยวิธีการต่างๆ ตามสภาพจริง ตลอดทุกช่วงเวลาการเรียนรู้ จนได้ข้อมูลสารสนเทศ ท่ีถูกต้องและเพียงพอแล้วนามาวินิจฉัยจุดบกพร่องในการเรียนรู้ของผู้เรียน และดาเนนิ การให้ความช่วยเหลือผูเ้ รียนอยา่ งตอ่ เน่ือง 6.3 ประโยชน์ของการตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ รียน การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนมีประโยชน์ต่อโค้ชและผู้เรียนหลาย ประการ ดงั ต่อไปนี้ 1. ทาให้โค้ชทราบความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ซ่ึงเป็นข้อมูลสาคัญที่จะทาให้โค้ชสามารถนามา วางแผนการโค้ชได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ทาให้โค้ชทราบความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือน (misconception) ของ ผเู้ รียน นาไปสกู่ ารใหค้ วามช่วยเหลอื แกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง 3. ทาให้โค้ชทราบกระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน นาไปสู่การให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิด หรือกระบวนการ เรียนรู้ของตนเองใหม้ ีประสิทธิภาพมากขน้ึ 4. ทาให้โค้ชทราบระดับผลการเรียนรู้ ทักษะ กระบวนการคิด หรือ กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ว่าเป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่เพียงใด นาไปสูก่ ารปรับปรงุ การโคช้ ให้มีประสิทธภิ าพมากข้ึน 5. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรยี นรู้ ไดต้ รงตามความต้องการเปน็ รายบุคคล อันเนื่องมาจากการโค้ชที่มี ความหลากหลายสอดคล้องกบั ผลการตรวจสอบความเขา้ ใจของผ้เู รยี น
บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รียน 213 6.4 ช่วงเวลาของการตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รียน การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนนั้นโค้ชสามารถดาเนินการได้ตลอด ทุกช่วงเวลาของการเรียนรู้ ได้แก่ ก่อนการเรียนรู้ ระหว่างการเรียนรู้ หลังการเรียนรู้ และตดิ ตามผลการเรียนรู้ ดงั นี้ การตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ รียนก่อนการเรียนรู้ มจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ ตรวจสอบความร้คู วามเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นพื้นฐานท่ีสาคัญจาเป็นต่อการเรียนรู้ส่ิงใหม่ โดยใช้วิธีการตรวจสอบท่ีเหมาะสม หากพบว่าผู้เรียนยังมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ ยังไม่เพียงพอ โค้ชจะต้องเตรียมความพร้อม ให้กับผูเ้ รยี นกอ่ น การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนระหวา่ งการเรียนรู้ มจี ดุ มงุ่ หมายเพ่ือตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรอื กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น วา่ สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีกาลังดาเนินไป หรือไม่เพยี งใด โดยใช้วิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม หากโค้ชพบว่าผู้เรียนมีความรู้ความ เข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ ไม่สอดคล้องกับกิจกรรม การเรียนรูท้ กี่ าลังดาเนนิ ไป โค้ชจะตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลือผเู้ รียนทันที การตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียนหลังการเรยี นรู้ มีจุดม่งุ หมายเพือ่ ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ว่าบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่เพียงใด โดยใช้วิธีการตรวจสอบท่ีเหมาะสม หากโคช้ พบวา่ ผู้เรียนไม่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ โค้ชจะต้องทาการซ่อมเสริมให้กับ ผู้เรียน กอ่ นทีจ่ ะเรยี นรูเ้ รอ่ื งใหมต่ ่อไป
214 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรยี น การตรวจสอบความเขา้ ใจของผ้เู รยี นระยะติดตามการเรยี นรู้ มจี ุดมงุ่ หมายเพื่อตรวจสอบความรูค้ วามเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เมื่อผ่านระยะเวลาหนึ่งหลังการเรียนรู้ว่ายังคงอยู่ หรือไม่เพียงใด ด้วยวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม หากโค้ชพบว่าผู้เรียนไม่สามารถคงไว้ ซึ่งความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ โค้ชจะต้อง ทบทวนความรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ กระบวนการคิด หรอื กระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรยี น การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนก่อนการเรียนรู้ ระหว่างการเรียนรู้ และหลงั การเรียนรู้ มปี ระเด็นสาคัญทีแ่ ตกต่างกัน ดังตารางต่อไปน้ี ตาราง 12 จดุ เนน้ ทีแ่ ตกต่างกนั ของการตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รียน กอ่ นการเรยี นรู้ ระหวา่ งการเรยี นรู้ และหลังการเรยี นรู้ ช่วงเวลา สารสนเทศสาคัญ การปฏิบตั ขิ องโค้ช ก่อน ทตี่ รวจสอบ หลงั การตรวจสอบ พ้ืนฐานท่สี าคญั - เตรยี มความพร้อมก่อนการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ - วางแผนการโค้ชรายบุคคล และจาเป็นต่อการ ระหวา่ ง เรียนรูส้ ่งิ ใหม่ - ให้ความช่วยเหลอื รายบุคคล เช่น การเรียนรู้ การตดิ ตาม 1) ใช้พลงั คาถาม บทเรยี น 2) การใหผ้ ลย้อนกลบั หลัง ไดท้ นั 3) การให้ข้อมลู เพื่อเรียนรู้ต่อยอด การเรยี นรู้ ติดตาม การบรรลุจุดประสงค์ - ซ่อมเสริมการเรียนรู้ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ - ปรบั ปรงุ และพัฒนาวธิ กี ารโค้ช การคงอยู่ - ทบทวนการเรยี นรู้ - ปรับปรงุ และพัฒนาวธิ กี ารโคช้ ของการเรยี นรู้
บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รียน 215 6.5 วิธกี ารตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรียน การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนมีหลายวิธีการท่ีโค้ชสามารถเลือกใช้ ได้ตามบริบทของการโค้ช วิธีการที่ใช้มากและได้ผล เช่น การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน การซกั ถาม และการตรวจสอบผลงาน เปน็ ต้น การสงั เกตพฤติกรรมผู้เรียน เป็นวิธีการที่ทาได้ง่ายและรวดเร็ว โดยโค้ชใช้ การสังเกตผู้เรียนระหว่างที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ก็จะพบว่าผู้เรียนแต่ละ บุคคลกาลังติดตามบทเรียนอยู่หรือไม่ เรียนทันหรือไม่อย่างไร หากผู้เรียนขาดการ ติดตามบทเรียนจะส่งผลให้เรียนไม่ทัน โดยโค้ชที่เก่งจะสังเกตผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง ตลอดเวลา เมื่อโค้ชสังเกตพบว่าผู้เรียนไม่ติดตามบทเรียนหรือตามบทเรียนไม่ทันจะมี กลวธิ ีดึงความสนใจของผู้เรียนกลบั มาส่บู ทเรียน บทเรียนในที่นี้ หมายถึง สาระและกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนจะต้อง เรียนร้หู รอื ปฏบิ ตั ิเพื่อการบรรลุจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ตัวบ่งชพี้ ฤตกิ รรมการติดตามบทเรียนได้ทัน และการติดตามบทเรียนไม่ทัน ท่ีมกั พบอยู่เสมอ วิเคราะหไ์ ด้ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี ตาราง 13 พฤติกรรมบ่งช้ีการตดิ ตามบทเรยี นไดท้ ัน และการติดตามบทเรยี นไม่ทนั ตดิ ตามบทเรยี นได้ทัน ตดิ ตามบทเรยี นไม่ทัน - แสดงความคดิ เหน็ - ไมแ่ สดงความคดิ เหน็ - ตอบคาถาม - น่ังน่ิงๆ มองเฉยๆ - เงยหนา้ มองโคช้ - มองไปท่ีอื่น - พยักหนา้ - กม้ หนา้ แอบทาอย่างอ่ืน - ทากิจกรรมการเรียนรู้ - ทาอยา่ งอ่ืน
216 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรยี น ตาราง 13 พฤติกรรมบง่ ชี้การตดิ ตามบทเรียนได้ทัน และการติดตามบทเรียนไมท่ นั (ตอ่ ) ติดตามบทเรยี นได้ทัน ตดิ ตามบทเรยี นไม่ทนั - ใหค้ วามสนใจสอ่ื การเรียนรู้ - จับคู่คุยกนั - สบื คน้ ความรู้ - เล่น app อ่นื ๆ - อธิบายขนั้ ตอนได้ - อธบิ ายวกวน สบั สน - แสดงตวั อยา่ งให้ดไู ด้ถูกตอ้ ง - แสดงตัวอยา่ งผิดพลาด - ใหเ้ หตผุ ลสนับสนุนได้ - เหตผุ ลทใี่ ห้ขาดความสมเหตุสมผล - คิดเปน็ ระบบ - คิดเปน็ ส่วนๆ ขาดความเช่ือมโยง - มีความมัน่ ใจ - วติ กกงั วล - ทาไดถ้ กู ต้อง - ทาไม่ได้ นอกจากพฤติกรรมดังกล่าวแล้วยังมีพฤติกรรมอื่นๆ อีกท่ีโค้ชจะต้องหมั่น สังเกตผู้เรียนซ่ึงจะทาให้โค้ชทราบว่าผู้เรียนยังอยู่กับบทเรียนหรือไม่ หากผู้เรียนอยู่กับ บทเรยี นตลอดเวลาก็มแี นวโนม้ ท่ดี ีวา่ เขาจะสามารถเรียนรไู้ ด้บรรลุจดุ ประสงค์ การซักถามผู้เรียนเป็นวิธีการที่ทาได้ง่ายและรวดเร็วอีกวิธีการหนึ่ง ท่ีสามารถใช้ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจและระบบความคิดของผู้เรียนได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ การซกั ถามทาใหโ้ ค้ชทราบได้ทันทีว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง หรอื คลาดเคล่อื น ลักษณะคาถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ มีความหลากหลาย เช่น คาถาม ถกู ผดิ คาถามใหต้ อบส้ันๆ คาถามใหอ้ ธิบายให้เหตุผล คาถามให้ยกตัวอย่าง คาถามท่ีให้ วเิ คราะห์ เป็นต้น
บทที่ 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรียน 217 องค์ประกอบของคาถามมี 2 ส่วน คือ 1) สาระสาคัญ (main concept) และ 2) ระดับการคิด ดังน้ันคาตอบของผู้เรียนก็จะสะท้อนองค์ประกอบท้ัง 2 ประการ เช่นกัน คาถามในส่วนน้ีไม่เน้น evaluation หรือการประเมินเพื่อตัดสินแต่เน้น assessment หรือประเมินเพ่ือพัฒนา ดังนั้นจึงไม่มีการให้คะแนนหรือตัดคะแนนจาก คาตอบของผเู้ รยี นแตจ่ ะเปน็ การใหค้ วามช่วยเหลือผู้เรียนให้เกดิ การพฒั นา การตรวจสอบผลงาน ทาให้ทราบว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่าง ถูกต้องหรือไม่ มีทักษะอยู่ในระดับใดซึ่งจะสะท้อนออกมาให้เห็นจากผลงานต่างๆ โคช้ จะต้องมีการตรวจสอบผลงานของผู้เรียนในทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ และสามารถ ช่วยเหลอื ผู้เรียนไดท้ ันที การตรวจสอบผลงาน สามารถทาได้ตลอดเวลาที่ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้โดยตรวจสอบไปตามแต่ละขั้นตอน เช่นการแก้ปัญหา มี 4 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ 1) วเิ คราะห์ปัญหา 2) วางแผนแก้ปัญหา 3) ดาเนินการแก้ปัญหา 4) ประเมินผล โดยท่ีผู้เรียนลงมือแก้ปัญหาตามข้ันตอนท้ัง 4 ขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนจะมีผลงาน เกิดข้ึน โค้ชจะต้องตรวจสอบตรงนี้ว่าแต่ละขั้นตอนผู้เรียนมีผลงานเป็นอย่างไร หากพบว่า ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหาไม่ได้ โค้ชก็จะต้องช่วยเหลือตรงน้ีเสียก่อนท่ีจะให้ ผเู้ รยี นวางแผนแก้ปญั หาตอ่ ไป ดังนั้นโค้ชจึงต้องมีความรู้เก่ียวกับกระบวนการเรียนรู้ (learning process) ดว้ ยเพื่อท่ีจะตรวจสอบผลงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้เขียนได้นาเสนอไว้ในหนังสือ “จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา: กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนา”แล้ว นอกจากนี้โค้ชควรให้ความสาคัญกับจุดเน้นของการตรวจสอบในแต่ละข้ันตอนของ กระบวนการเรยี นรดู้ ้วย ดงั ตัวอยา่ งกระบวนการแกป้ ญั หาทแ่ี สดงในตารางต่อไปน้ี
218 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รยี น ตาราง 14 จุดเนน้ ของการตรวจสอบผลงานของผเู้ รยี นในแต่ละขัน้ ตอนของ กระบวนการเรยี นรู้ กระบวนการแกป้ ญั หา จดุ เนน้ ของการตรวจสอบ 1. วเิ คราะหป์ ัญหา - ผเู้ รยี นระบุปัญหาไดห้ รือไม่ - ผู้เรยี นวเิ คราะหส์ าเหตขุ องปัญหาได้หรอื ไม่ 2. วางแผนแกป้ ัญหา - ผเู้ รยี นวเิ คราะหค์ วามเชื่อมโยงของสาเหตุ ของปญั หาไดห้ รอื ไม่ 3. ดาเนินการแก้ปญั หา - ผู้เรียนระบคุ วามสาเรจ็ ของการแก้ปัญหาได้หรือไม่ - ผู้เรยี นใชก้ ระบวนการคดิ ในการวางแผนหรอื ไม่ 4. ประเมินผล - ผู้เรยี นวางแผนแก้ปัญหาเป็นระบบหรือไม่ - ผเู้ รยี นวางแผนอยา่ งมีประสิทธิภาพหรอื ไม่ - แผนที่วางไว้นาไปสกู่ ารแกป้ ัญหาไดห้ รอื ไม่ - ผเู้ รียนมกี ารทบทวนความถูกตอ้ งของแผนหรือไม่ - ผู้เรียนแกป้ ญั หาตามแผนหรือไม่ - ผเู้ รยี นแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบหรือไม่ - ผเู้ รียนใชก้ ารมีส่วนรว่ มในการแกป้ ัญหาหรือไม่ - ผู้เรยี นปรับวิธีการแก้ปญั หาสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทหรอื ไม่ - กิจกรรมการแกป้ ญั หามปี ระสิทธภิ าพหรอื ไม่ - ผู้เรียนมีวนิ ยั ในการแก้ปัญหาหรอื ไม่ - ผเู้ รยี นประเมินการแก้ปญั หาหรอื ไม่ - ผู้เรียนมเี กณฑ์การประเมนิ การแกป้ ัญหาหรือไม่ - ผเู้ รียนลงสรุปผลการแก้ปัญหาถกู ต้องหรอื ไม่ - ผเู้ รยี นถอดบทเรียนการแก้ปัญหาไดด้ ีหรือไม่
บทที่ 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผูเ้ รียน 219 การตรวจสอบผลงานของผู้เรียน โค้ชอาจตรวจสอบผลงานที่เป็นผลผลิต ของการเรียนรู้ด้วยอีกได้ โดยผลผลิตของการเรียนรู้จะสะท้อนองค์ความรู้ท่ีเป็นแก่น หรือสาระสาคัญ (core concept) ของการเรียนรู้ จากหลักฐานร่องรอยต่างๆ เช่น การสรปุ องคค์ วามรขู้ องผ้เู รียน ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปน้ี การวเิ คราะห์สาระสาคญั เรอ่ื ง นา้ พรกิ กะปิ จากการเรียนรู้แบบโครงงาน ผ่านกระบวนการโคช้ พริก กระตนุ้ ความอยากอาหาร หอมแดง มะเขือพวง ต้านอนมุ ูลอสิ ระ ป้องกันทอ้ งผกู เซลล์แขง็ แรง ลดความดัน กระเทยี ม นา้ พรกิ กะปิ ผักสด / ผกั ตม้ ป้องกนั การตดิ เชอื้ ให้วิตามนิ ลดไขมนั ในเส้นเลือด และเกลอื แร่ ก้งุ แหง้ กะปิ มโี ซเดียม ไอโอดนี มแี คลเซียม วติ ามนิ ซี ช่วยกระดกู แข็งแรง ปลาทู มีไอโอดนี ชว่ ยการเจรญิ เตบิ โต และเสรมิ สร้างความจา
220 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รยี น การวิเคราะห์สาระสาคญั เรือ่ ง มาตรฐานข้าว จากการเรยี นรู้แบบสืบค้น ผา่ นกระบวนการโค้ช คัดเมลด็ พนั ธุ์ บรรจุลงถุง ปลูกขา้ ว มาตรฐานขา้ ว ปรบั ปรงุ คณุ ภาพ เก็บเก่ยี วขา้ ว นาเขา้ โรงสี
บทท่ี 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี น 221 การวเิ คราะห์สาระสาคญั เรอื่ ง หัวใจของการคา้ เสรี จากการเรียนรูแ้ บบโครงงาน ผา่ นกระบวนการโค้ช การแขง่ ขันเปน็ ธรรม กฎ กติกา บรกิ าร ซ่ือสัตย์ หวั ใจ คุณภาพ ของการคา้ เสรี ราคา ตลาด การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนจากผลผลิตต่างๆ ช่วยทาให้โค้ชมั่นใจ ได้ว่าผู้เรียนแต่ละคนเกิดการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวังแล้ว ซ่ึงการเรียนรู้ท่ีลึกซ้ึงและแม่นยา ในปัจจุบัน จะเป็นรากฐานท่ีสาคัญของการเรยี นรใู้ นอนาคต ดัง น้ั น จึ ง มีคว า มจ าเ ป็ น ที่โ ค้ช จ ะต้ องใช้ คว า มมุ่ง มั่น พยา ย า มโ ค้ช ผู้ เ รี ย น ทุกๆ คน ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ อย่างเหมาะสม จนกระทั่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง ก่อนที่จะดาเนินการโค้ชการเรียนรู้ในสาระสาคัญอ่ืนๆ ต่อไป โดยโค้ชจะต้องมีการ ตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรียนเปน็ ระยะๆ อย่างรวดเร็วและมปี ระสิทธิภาพ
222 บทที่ 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ รยี น 6.6 แนวทางการชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี นหลงั การตรวจสอบความเข้าใจ เมอื่ โค้ชได้ตรวจสอบความเขา้ ใจของผูเ้ รียนแล้ว พบว่า ผู้เรียนมีความเข้าใจ คลาดเคลื่อน โค้ชต้องช่วยเหลือผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ อย่างเหมาะสมตามบริบทของ การโค้ช ซ่ึงโดยท่ัวไปมี 5 วิธีการ ได้แก่ 1) การให้คาอธิบายเพ่ิมเติมหรือทาตัวอย่าง 2) การแนะนาให้ผู้เรียนไปเรียนรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง3) การให้เพ่ือนช่วยเพื่อน 4) การ ใหฝ้ ึกทกั ษะเพ่ิมเตมิ 5) การสอนซ่อมเสริม การให้คาอธิบายเพิ่มเติมหรือทาตัวอย่างให้ผู้เรียนศึกษาเป็นวิธีการ ทรี่ วดเรว็ ทส่ี ุดในการช่วยเหลือผู้เรยี น ใช้ได้ทั้งที่เป็นความรู้ ทักษะ หรือกระบวนการคิด ทาไดท้ นั ทีทีโ่ ค้ชสังเกตพบวา่ ผูเ้ รียนมคี วามเข้าใจท่ีคลาดเคลื่อน หรือตามบทเรียนไม่ทัน นบั ว่าเปน็ วิธกี ารท่มี ีประสทิ ธิภาพสงู วิธีการหนง่ึ การแนะนาให้ผู้เรียนไปเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง (self – learning) ในประเด็นท่ีผู้เรียนยังไม่เข้าใจอย่างชัดเจน อาจเป็นการมอบหมายหนังสือให้อ่าน เพ่ิมเติม การฝกึ ทักษะบางอย่างดว้ ยตนเอง หรืออาจเป็นการฝึกทักษะการคิดบางทักษะ ที่ผู้เรียนยังขาดอยู่ก็ได้ แล้วให้ผู้เรียนกลับมารายงานการเรียนรู้ของตนเองกับโค้ชอีก ครงั้ เพอื่ ให้แน่ใจวา่ ผู้เรียนเกดิ การเรยี นร้ตู ามทีก่ าหนดอย่างแท้จริงแลว้ การให้เพ่ือนช่วยเพ่ือน โดยให้ผู้เรียนท่ีเก่งกว่าทาการช่วยเหลือผู้เรียน ท่ีอ่อนกว่า โดยโค้ชมอบหมายภารกิจให้ผู้เรียนอย่างชัดเจนว่า ประเด็นที่ต้องการให้ ช่วยเหลือการเรียนรู้คืออะไร จากนั้นโค้ชเปิดโอกาสและให้เวลาแก่ผู้เรียนในการ ช่วยเหลือกัน วิธีการเพื่อนช่วยเพื่อนช่วยทาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณลักษณะด้าน อ่ืนๆ ไปพร้อมกันด้วย เช่น การมีจิตอาสา ความเมตตากรุณา เป็นต้น และหลังจากท่ี ผู้เรียนได้ช่วยเหลือกันแล้ว โค้ชจะต้องให้ผู้เรียนมารายงานการเรียนรู้ให้ทราบว่าได้มี การช่วยเหลือกันอย่างไร เกดิ การเรียนรู้อะไร และสงิ่ ทีเ่ รยี นรู้มาน้นั ถูกตอ้ งหรือไม่
บทที่ 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี น 223 การให้ฝึกทักษะเพิ่มเติม เป็นการท่ีโค้ชให้ผู้เรียนที่มีทักษะไม่เพียงพอ ทาการฝึกทักษะบางประการท่ียังขาดอยู่เพิ่มเติม โดยใช้แบบฝึกทักษะในลักษณะต่างๆ ที่มีจุดเน้นเป็นการเฉพาะ ซ่ึงแบบฝึกทักษะอาจเป็นการฝึกบนกระดาษ หรือการลงมือ ฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริงก็ได้ ขึ้นอยู่กับประเด็นท่ีผู้เรียนต้องได้รับการฝึก โดยโค้ชอาจให้ผู้เรียนฝึก ดว้ ยตนเอง หรอื คอยกากับการฝึกของผู้เรียนในระหว่างการฝึกก็ได้ ในกรณีท่ีเป็นทักษะ ที่ยากหรือซบั ซอ้ น เพอื่ ป้องกันไม่ใหผ้ ้เู รยี นมคี วามผดิ พลาดซา้ อีก การสอนซ่อมเสริม เป็นวิธีการช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็นระบบเหมาะ สาหรับการที่ผู้เรียนมีความเข้าใจท่ีคลาดเคลื่อนค่อนข้างมาก ผู้เรียนยังไม่พร้อมท่ีจะ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นประเด็นท่ียากและซับซ้อน โดยโค้ชทาการสอนซ่อมเสริม หรือฝึกทักษะเฉพาะจุด โดยใช้เทคนิควิธีการสอนให้สอดคล้องกับรูปแบบการรู้คิด (cognitive style) ของผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล แนวทางการเลือกใช้วิธีการช่วยเหลือผู้เรียนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของผเู้ รยี น วเิ คราะห์ได้ดงั ตารางต่อไปนี้ ตาราง 15 แนวทางการเลือกใช้วธิ ีการช่วยเหลอื ผู้เรยี น วธิ กี าร ธรรมชาติของผู้เรยี นทีร่ บั ความชว่ ยเหลอื การให้คาอธบิ ายเพมิ่ เตมิ - ชอบเรยี นรู้จากการฟัง หรอื การดู หรอื แสดงตัวอย่างใหศ้ กึ ษา การแนะนาใหผ้ เู้ รยี น - มวี ินยั ในตนเอง ไปเรียนรู้เพ่ิมเติมดว้ ยตนเอง - มีนสิ ัยรกั การเรียนรู้ - มีทกั ษะการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง การให้เพื่อนชว่ ยเพื่อน - มีวินัยในตนเอง - มีทักษะมนุษยสมั พนั ธ์ - มที ักษะการทางานรว่ มกับผู้อ่ืน
224 บทที่ 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผ้เู รยี น ตาราง 15 แนวทางการเลอื กใชว้ ิธกี ารช่วยเหลอื ผเู้ รยี น (ตอ่ ) วธิ กี าร ธรรมชาติผเู้ รียนทร่ี บั ความชว่ ยเหลือ การให้ฝึกทักษะเพิ่มเตมิ - มีวินยั ในตนเอง - ชอบเรียนรูจ้ ากการลงมือปฏบิ ัติ การสอนซ่อมเสริม - มีความมงุ่ มน่ั และอดทน - ขาดความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง นอกจากการเลือกใช้วิธีการช่วยเหลือผู้เรียนด้วยวิธีการที่กล่าวมาแล้ว โค้ชอาจใช้วิธีการช่วยเหลือผู้เรียนตามระดับความสามารถของผู้เรียนอีกแนวทางหนึ่ง โดยใช้วิธีการให้คาอธิบาย การทาตัวอย่างให้ศึกษา การให้คาแนะนา และการใช้พลัง คาถาม ตามลาดบั ดงั ต่อไปนี้ ตาราง 16 วิธีการชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี นตามระดับความสามารถของผู้เรียน วิธีการ ยงั ไม่รู้ ระดบั ความสามารถของผเู้ รยี น มีการรเิ รมิ่ ไม่เข้าใจ เขา้ ใจ ทาได้ มีทกั ษะ มีทักษะ แต่ความคดิ ให้คาอธิบาย แต่ทาไมไ่ ด้ แตข่ าด แตข่ าด และมี ยงั ไมช่ ัดเจน เพ่มิ เตมิ ทาตวั อยา่ ง ทกั ษะ การริเร่มิ การรเิ ริ่ม ให้ศึกษา ใหค้ าแนะนา ใชพ้ ลงั คาถาม เครอ่ื งหมาย หมายถงึ วธิ กี ารชว่ ยเหลือผู้เรียนตามระดับความสามารถของผ้เู รยี น
บทที่ 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรยี น 225 สรปุ สาระสาคัญที่นาเสนอในบทนี้ ได้กล่าวถึงการตรวจสอบความเข้าใจของ ผู้เรียน เป็นภารกิจที่สาคัญประการหน่ึงของโค้ช เน่ืองจากเป็นเคร่ืองมือในการ ตรวจสอบวินิจฉัยความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด หรือกระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรียน ท่ีโค้ชจะต้องประคับประคองให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ โดยท่ีการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือให้ความ ช่วยเหลือผู้เรียนต่อไป การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน ช่วยทาให้โค้ช มีสารสนเทศเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรียน และนาไปใช้โค้ชให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จ โดยสามารถดาเนินการ ได้ตลอดทุกช่วงเวลาของการเรียนรู้ ได้แก่ ก่อนการเรียนรู้ ระหว่างการเรียนรู้ หลังการเรียนรู้ และติดตามผลการเรียนรู้ อนึ่งการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน มีหลายวิธีการที่โค้ชสามารถเลือกใช้ได้ตามบริบทของการโค้ชในแต่ละครั้ง เช่น การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน การซักถาม และการตรวจสอบผลงาน เป็นต้น นอกจากนี้ การช่วยเหลือผู้เรียนภายหลังการตรวจสอบความเข้าใจ มีหลายวิธีการท่ีโค้ชควร เลือกใช้ให้เหมาะสมตามบริบทของการโค้ช ซ่ึงโดยทั่วไปมี 5 วิธีการ ได้แก่ 1) การให้ คาอธิบายเพิ่มเติมหรือทาตัวอย่าง 2) การแนะนาให้ผู้เรียนไปเรียนรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง 3) การให้เพอ่ื นช่วยเพ่ือน 4) การให้ฝึกทักษะเพม่ิ เติม 5) การสอนซอ่ มเสรมิ
226 บทท่ี 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรยี น โค้ชที่เกง่ จะสามารถ ตรวจสอบความเข้าใจ ของผู้เรียนจนไดข้ อ้ มูลสารสนเทศ ทถ่ี กู ตอ้ งมาพฒั นาผู้เรยี น
บทที่ 6 การตรวจสอบความเขา้ ใจของผ้เู รียน 227 บรรณานกุ รม Anderson, Lorin. W, & Krathwohl, David. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Abridged Edition, New York: Longman. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Marzano, Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Sobel, Andrew and Panas, Jerold. (2012). Power Questions: Build Relationships, Win New Business, and Influence Others. New York: John Wiley & Sons, Incorporated. Sweeney, Diane. (2010). Student – Centered Coaching: A guide for K – 8 Coaches and Principals. California: Corwin Press.
228 บทที่ 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผ้เู รยี น การตรวจสอบความเข้าใจ ชว่ ยทาใหโ้ ค้ชมั่นใจไดว้ ่า ผูเ้ รียนแตล่ ะคนเกิดการเรยี นรู้ ตามทม่ี งุ่ หวังแลว้
บทท่ี 7 พลงั คาถาม 229 บทที่ 7 พลงั คาถาม
230 บทที่ 7 พลังคาถาม พลังคาถาม ช่วยชแี้ นะการรู้คิดเปน็ ส่งิ จาเปน็ สาหรับการพัฒนาการคิดของผเู้ รียน ซึ่งผสู้ อนต้องใช้อย่างสมา่ เสมอ และมีความเหมาะสมกับบรบิ ท
บทท่ี 7 พลงั คาถาม 231 บทนา การนาเสนอเน้ือหาสาระ เรื่อง พลังคาถาม (power question) มุ่งสร้าง ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดของพลังคาถาม ความสาคัญของพลังคาถาม พลังคาถามชี้แนะการรู้คิด พลังคาถามกระตุ้นการเรียนรู้ ระบบการใช้พลังคาถาม กลยุทธ์การใช้พลังคาถาม กลยุทธ์การตอบสนองคาตอบของผู้เรียน โดยมีสาระสาคัญ ดงั ต่อไปน้ี 1. พลังคาถาม (power questions) เป็นคาถามกระตุ้นการคิดและ นาไปสู่การเรียนรู้ เป็นคาถามท่ีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้เป็นคาถามที่มี ประสทิ ธิภาพมากกวา่ เปน็ คาถามท่วั ๆ ไป 2. พลังคาถามช่วยพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูงและคุณลักษณะ รกั การเรยี นรู้ การเป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ 3. พลังคาถาม เป็นเครื่องมือที่สาคัญท่ีสุดของการโค้ชเพ่ือการรู้คิด เพราะเป็นวิธีการท่ีใช้กระตุ้นและพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียน โดยเฉพาะ กระบวนการคิดขัน้ สงู ตลอดจนคุณลักษณะต่างๆ 4. การใช้พลงั คาถามทม่ี ีประสทิ ธภิ าพเป็นกจิ กรรมท่ีมีความเป็นระบบ โดยพลงั คาถามจะมีการปรบั ใหส้ อดคลอ้ งกับระดับความสามารถของผเู้ รียน 5. การใช้พลังคาถาม มีกลยุทธ์ 5 ประการ ได้แก่ 1) วางแผนการใช้ พลังคาถามล่วงหน้า 2) หลีกเล่ียงการใช้คาถามท่ีช้ีนาคาตอบ (leading questions) 3) เว้นระยะเวลาให้ผู้เรียนคิดหาคาตอบอย่างเหมาะสม 4) ไม่ย้าคาถาม 5) ถามด้วย คาถามที่ชัดเจน (clear) 6. การตอบสนองตอ่ คาตอบของผเู้ รยี นภายหลงั ที่โค้ชได้ใชพ้ ลังคาถาม ได้แก่ 1) ตกลงกับผู้เรียนว่าทุกคาตอบล้วนเป็นสิ่งท่ีมีคุณค่า 2) แสดงความสนใจ ต่อคาตอบของผู้เรียน 3) ชื่นชมคาตอบของผู้เรียน 4) ไม่ขัดจังหวะการตอบคาถามของ ผูเ้ รยี น 5) ถ้าผ้เู รยี นไมต่ อบคาถาม ให้ตง้ั คาถามใหมท่ ง่ี ่ายกว่า
232 บทท่ี 7 พลงั คาถาม “ทาไม” เปน็ คาถามทด่ี ี ทาใหผ้ ู้ถกู ถาม คดิ ลึกซึ้ง หยุดคดิ ไตร่ตรอง ตรวจสอบว่ากาลังทาอะไรอยู่
7. พลงั คาถาม บทที่ 7 พลงั คาถาม 233 7.1 แนวคิดของพลังคาถาม 7.2 ความสาคญั ของพลงั คาถาม 7.3 พลังคาถามเพ่ือพฒั นาผเู้ รยี น 7.4 ระบบการใช้พลังคาถาม 7.5 กลยทุ ธก์ ารใช้พลงั คาถาม 7.6 กลยุทธก์ ารตอบสนองคาตอบของผู้เรยี น
234 บทท่ี 7 พลังคาถาม “ทาไม” ถ้าใช้ผิดที่ ผิดเวลา ผดิ ประเด็น อาจสือ่ วา่ มีความไมพ่ อใจแฝงอยู่
บทท่ี 7 พลงั คาถาม 235 7.1 แนวคิดของพลังคาถาม การเป็นโค้ชทดี่ ีนั้นต้องถามให้มากกว่าการตอบต้องเข้าใจก่อนให้คาแนะนา และท่ีสาคัญต้องสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันก่อนท่ีจะทางานร่วมกัน พลังคาถาม เปน็ คาถามกระตุ้นการคิด และนาไปสู่การเรียนรู้เป็นคาถามท่ีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของการเรียนรเู้ ปน็ คาถามท่มี ปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่ เป็นคาถามทัว่ ๆ ไป พลังคาถามเป็นคาถามกระตุ้นความคิด เป็นคาถามแบบเปิดการต้ังใจฟัง เปดิ โอกาสรับฟัง รอคอยการรับฟงั อย่างจริงจัง เช่น นักเรยี นคิดว่าคณุ มวี ธิ ีการแก้ปัญหา น้ีอย่างไร โสเครตีส (Socrates) ผู้เป็นเทพแห่งการตั้งคาถาม เขาใช้คาถามกระตุก ต่อมความคิดของลูกศิษย์ ดึงความสนใจของลูกศิษย์ให้อยู่กับกระบวนการเรียนรู้ เช่น ถามว่าความดีคืออะไร ส่ิงใดเรียกว่าดี เป็นต้น Harvard University นาวิธีการนี้มาใช้ สอนนักศึกษาเพราะว่า ความเป็นเลิศของมนุษย์อยู่ท่ีการต้ังคาถามกับตนเองและผู้อ่ืน ชวี ิต ทีไ่ ม่เคยตง้ั คาถามเปน็ ชีวติ ที่ขาดคุณค่า การเรียนการสอนยุคใหม่จะต้องเร่ิมด้วยคาถามแทนการพูดไปเร่ือยๆ การออกคาส่ัง หรือการกล่าวอ้างอวดรู้ของโค้ช คาถามท่ีดีมีค่ามากกว่าคาพูดทั่วๆ ไป โคช้ ควรปรับเปลี่ยนการใช้คากลา่ วท่ขี าดพลงั ให้เปน็ พลังคาถามเพื่อกระตุ้นและส่งเสริม การรูค้ ดิ ของผเู้ รียน ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้ คากล่าวทว่ั ไป - เธอต้องต้ังใจทางานทค่ี รสู งั่ ให้มากกวา่ นี้ พลงั คาถาม - เธอทางานชิ้นน้สี ุดฝีมือแล้วหรือยัง คากลา่ วทว่ั ไป - ครทู นอารมณฉ์ ุนเฉยี วของเธอไม่ไหวแล้ว พลงั คาถาม - เวลาที่เธอโมโห ฉุนเฉยี ว เธอคิดวา่ มนั กระทบความสัมพนั ธ์กับคนท่ีเธอ สนิทมากท่ีสดุ อย่างไร
236 บทท่ี 7 พลงั คาถาม 7.2 ความสาคญั ของพลังคาถาม พลังคาถามมีความสาคญั ตอ่ การเรียนร้แู ละการคิดของผู้เรียนหลายประการ โดยเฉพาะการคิดขั้นสูง ซึ่งพลังคาถามจะไปกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดต่างๆ ของตนเองอย่างต่อเน่ือง ช่วยทาให้ค้นพบคาตอบท่ีถูกต้องซึ่งเป็นคาตอบที่ได้ผ่าน กระบวนการคิดใคร่ครวญตรวจสอบของผ้เู รียนมาแล้วเป็นอยา่ งดี นอกจากนี้การใช้พลังคาถามยังช่วยทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะ รักการเรียนรู้ หรือบุคคลแห่งการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนได้นาพลังคาถามจากโค้ช ไปแสวงหาความร้เู พ่มิ เติมดว้ ยตนเองจนกระทั่งได้คาตอบท่ีถูกต้อง 7.3 พลังคาถามเพอื่ พฒั นาผ้เู รียน พลงั คาถาม (power questions) เป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญที่สุดของการโค้ช เพ่ือการรู้คิด เพราะเป็นวิธีการท่ีใช้กระตุ้นและพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียน โดยเฉพาะกระบวนการคิดขั้นสูง เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด แก้ปัญหา การคดิ อย่างเป็นระบบ การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ การคดิ สร้างสรรค์ เปน็ ต้น ลักษณะของพลังคาถามมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดให้ผู้เรียนคิด โดยใช้ คากรยิ า (action verbs) ในการตัง้ คาถามท่ี มตี วั อย่างดงั ตอ่ ไปน้ี การใช้พลังคาถามที่ดี ควรเป็นคาถามที่กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดใน ระดับต่างๆ ได้แก่ ความจา ความเข้าใจ การประยุกต์ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และการสร้างสรรค์ ซึ่ง Anderson and Krathwohl. (2001) ได้ปรับปรุงลาดับขั้น การรคู้ ดิ (cognitive domain) ของ Bloom (1956) ดังแผนภาพตอ่ ไปนี้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389