บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่ือการรูค้ ดิ 37 บทนา ในบทน้ีจะได้กล่าวถึงสาระสาคัญของการโค้ชเพ่ือการรู้คิด (cognitive coaching) มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลักการโค้ชเพ่ือการรู้คิด Soft skills และ Hard skills ของการโค้ชเพ่ือการรู้คิด กระบวนการโค้ชเพ่ือการรู้คิด ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี นทโี่ ค้ชควรรู้ โดยมสี าระสาคัญดงั ต่อไปน้ี 1. การโค้ชเพื่อการรู้คิด หมายถึง กระบวนการพัฒนาผู้เรียน โดยผู้สอนทาหน้าที่เป็นโค้ช ดึงศักยภาพของผู้เรียนด้านความรู้ความสามารถ การคิด ตลอดจนคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามที่กาหนดไว้เป็นกลไกเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนา ผู้เรียน ให้มีความรู้ ความสามารถ การคิดขั้นสูง (higher – order thinking) มีวิธีการ เรียนรู้ (learning how to learn) การตรวจสอบประเมินตนเอง กาหนดทิศทางการ พฒั นาตนเอง 2. โค้ชจะต้องมี จรณทักษะ (soft skills) เป็นทักษะทางสังคมและ ความฉลาดทางอารมณ์ท่ีแสดงออกผ่านทาง EQ ซ่ึงเป็นทักษะทางสังคม การจัดการ ตนเอง การควบคุมอารมณ์ การมองบวก การติดต่อส่ือสาร ความเป็นมิตรและทักษะ ด้านความรู้ทางวิชาการ (hard skills) จะต้องมีความรู้ความสามารถท่ีกาหนดโดย เชาว์ปญั ญา (IQ) ซึ่งอยู่ทางสมองซีกซา้ ย 3. กลไกท่ีนาไปสู่ความสาเร็จของการโค้ช ประกอบด้วย 1) สร้างแรง บันดาลใจให้กับผู้เรียน 2) ให้กาลังใจสนับสนุนผู้เรียน 3)แก้ไขปรับปรุงข้อผิดพลาดให้ ผเู้ รียน 4) สร้างความท้าทายให้ผู้เรียน 5) ภาวะผู้นาทางวิชาการ 6) สุนทรียสนทนา 7) การถอดบทเรียน 8) ความผกู พันของผู้เรยี นกับโค้ช 9) การตงั้ คาถามกระตุน้ การคดิ 4. กระบวนการของการโค้ชเพ่ือการรู้คิดท่ีนาไปสู่การบรรลุเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) การกาหนดเป้าหมาย 2) การตรวจสอบสภาพจริง 3) การกาหนด ทางเลอื ก 4) การตดั สินใจ และ 5) การประเมินผลการโคช้ 5. ธรรมชาติของผู้เรียนเป็นข้อมูลสาคัญท่ีโค้ชต้องศึกษาวิเคราะห์ให้ กระจ่างชัด ซ่งึ จะทาใหใ้ ชว้ ธิ กี ารโค้ชไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและประสบความสาเร็จ
38 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพ่อื การรคู้ ดิ เมื่อผู้เรยี นมีความสามารถสงู ขน้ึ โค้ชเพยี งแค่คอยช้แี นะเลก็ นอ้ ย ใชเ้ ทคนคิ การตงั้ คาถามดีๆ ทก่ี ระตุ้นใหผ้ ู้รับการโคช้ คดิ ไดเ้ อง สามารถพัฒนาตนเองได้ โดยไม่ต้องพึ่งโคช้ นี่คือ เป้าหมายสงู สดุ ของการโคช้
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอ่ื การรูค้ ดิ 39 2.1 แนวคิดหลกั การโคช้ เพอ่ื การรู้คดิ 2. สาระสาคญั 2.2 Soft skills และ Hard skills ของการโคช้ ของการโค้ชเพ่ือการรูค้ ิด เพื่อการรู้คิด 2.3 กลไกของการโคช้ เพ่ือการรู้คดิ 2.4 กระบวนการโค้ชเพื่อการรคู้ ดิ 2.5 ธรรมชาติของผเู้ รียนท่โี ค้ชควรรู้
40 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพื่อการรูค้ ดิ การโคช้ เปน็ ท้งั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ สาหรับผสู้ อนในปัจจุบนั ทต่ี อ้ งอยู่กบั ผเู้ รียนรุ่นใหม่ ทมี่ ีความหลากหลาย และมีศักยภาพเรียนรดู้ ้วยตนเอง
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอ่ื การร้คู ิด 41 2.1 แนวคิดหลักการโคช้ เพ่ือการรู้คดิ การโค้ช (coaching) แปลเป็นภาษาไทยว่า “การสอนงาน” ซึ่งในปัจจุบัน มกั ใช้คาทับศพั ทว์ ่า “การโค้ช” ในภาพรวมหมายถึงการทบ่ี คุ คลคนหนึ่งซ่ึงมีความรู้และ ประสบการณ์สูงดาเนินการพัฒนาบุคคลอีกคนหน่ึงท่ีมีความรู้และประสบการณ์ น้อยกว่า โดยใช้วิธกี ารต่างๆ อยา่ งเหมาะสมกับบริบทและธรรมชาตขิ องผรู้ บั การโคช้ Coach มีความแตกต่างกับ Mentor ที่เด่นชัดท่ีสุดคือขอบเขตของการพัฒนา โดย Coach มุ่งพัฒนาในส่วนที่เป็นการปฏิบัติงานและการเรียนรู้ ส่วน Mentor มุ่งพัฒนาท้ังส่วนท่ีเป็นการปฏิบัติงานและการเรียนรู้รวมท้ังการดารงชีวิตและเร่ือง สว่ นตัวดว้ ย Mentor แปลเป็นภาษาไทยว่า “พี่เลี้ยง” คือ การดแู ลทกุ เรื่องทั้งเรื่องงาน และเรื่องส่วนตัวเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา โดยหนังสือเล่มนี้มุ่งเน้นการนาเสนอ สาระสาคญั เฉพาะในส่วนทเี่ ป็น Coaching เทา่ นนั้ การโค้ชมีหลายประเภทโดยแต่ละประเภทมีลักษณะร่วมตามท่ีกล่าวมาข้างต้น และมจี ุดเน้นท่แี ตกต่างกนั ขนึ้ อยกู่ บั เกณฑ์ท่ใี ช้แบ่งกลุ่ม ดงั ต่อไปน้ี 1) ใช้เกณฑ์ผู้ทาหน้าท่ีโค้ชและผู้รับการโค้ช แบ่งได้หลายกลุ่มดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ Peer coaching เป็นการโค้ชโดยเพ่ือน ซึ่งอาจเป็นเพื่อนร่วมงาน หรอื เพ่ือนรว่ มช้ันเรียนของผูเ้ รียน มุ่งใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกันเพื่อให้เกิดการ พฒั นา Expert coaching เป็นการโค้ชโดยผู้เช่ียวชาญ มุ่งให้เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาอย่างถูกต้องและรวดเร็ว คุณสมบัติของผู้เชี่ยวชาญจะต้องมีความรู้ ความสามารถในเร่อื งทโ่ี คช้ และมีทกั ษะการโคช้ อย่างสูง Administrator coaching เป็นการโค้ชโดยผู้บริหารท่ีทาการโค้ช บคุ ลากรให้มคี วามรู้ ทกั ษะในการปฏิบตั งิ านตามหน้าท่ที ่ีรบั ผดิ ชอบ
42 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพ่ือการร้คู ดิ 2) ใช้เกณฑเ์ ปา้ หมายของการโคช้ แบ่งได้หลายกลมุ่ ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี Instructional coaching เป็นการโค้ชเพื่อให้ผู้สอนมีความรู้และ ทกั ษะการจัดการเรยี นการสอนที่มีคุณภาพ ผู้ท่ีเป็นโค้ชอาจเป็นเพ่ือน ผู้เชี่ยวชาญ หรือ ผู้บริหาร Literacy coaching เป็นการโค้ชให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนา ทักษะการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานท่ีสาคัญของการเรียนรู้และการ ดารงชีวิต Content coaching เปน็ การโคช้ ทมี่ งุ่ เน้นให้ผู้รับการโค้ชหรือผู้เรียน มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเนือ้ หาสาระเร่ืองใดเรอ่ื งหน่งึ ในลกั ษณะเชื่อมโยงและบรู ณาการ Leadership coaching เป็นการโค้ชเพื่อให้ผู้รับการโค้ชมีภาวะผู้นา ที่สามารถนา (lead) บุคคลอ่นื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ Cognitive coaching เป็นการโค้ชที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนหรือผู้รับการ โค้ชมีทักษะการรู้คิด โดยเฉพาะด้านการคิดขั้นสูง การแก้ปัญหา การสร้างสรรค์ นวตั กรรม ความเปน็ มาของการโคช้ เพื่อการรู้คดิ คาว่า Cognitive Coaching พัฒนาข้ึนโดยนักวิชาการ 2 คน คือ Arthur Costa และ Robert Gamston โดยผู้เขียนได้ศึกษาวิเคราะห์สาระสาคัญ นามาสกู่ ารแปลเป็นภาษาไทยว่า “การโคช้ เพื่อการรูค้ ดิ ” การโคช้ เพือ่ การรู้คดิ เป็นบทบาทของผู้สอนในโลกแห่งการเรียนรู้ยุคใหม่ ท่ีพัฒนามาจากบทบาทการสอน (teaching) ท่ีผู้สอนทาหน้าท่ีให้ข้อมูล เน้ือหาสาระ ให้คาตอบที่ถูกต้อง ใช้สื่อสารทางเดียว กาหนดทิศทางการเรียน กาหนดงานให้ผู้เรียน กาหนดวัตถุประสงค์ กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้และเกณฑ์การวัดประเมินผล การเรียนรู้ อนึ่งคาว่า “โค้ช” ในหนังสือเล่มนี้ หมายถึง ผู้สอนท่ีใช้การโค้ชให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรไู้ ด้เตม็ ตามศกั ยภาพ
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอ่ื การรูค้ ิด 43 นอกจากนี้การโค้ชเพื่อการรู้คิดยังเป็นมากว่าการเป็นผู้เอ้ืออานวยความ สะดวกในการเรียนรู้ (facilitator)ที่ผู้สอนมีบทบาทกระตุ้นให้มีการอภิปราย แลกเปล่ียนเรียนรู้ กระตุ้นให้คิดและต้ังคาถามสื่อสารสองทางมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน และผู้เรียน รวมท้ังประสานงานในกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนสามารถกาหนด วัตถุประสงค์และทิศทางการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ และเกณฑก์ ารวดั ประเมินผลการเรยี นรู้ การโค้ชเพื่อการรู้คิด มุ่งเน้นการฝึก (training) หรือกระบวนการพัฒนา ผเู้ รียนแตล่ ะคน (individual) ให้มีความรู้ความสามารถ การคิด และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ซ่ึงแตกต่างจากการปฏิบัติแบบด้ังเดิม ท่ีผู้สอนเป็นผู้ทาหน้าท่ีจัดการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียนทั้งช้นั เรยี น ดว้ ยวิธีการเดียวกันภายในระยะเวลาท่ีเทา่ กนั การโค้ชเพ่ือการรู้คิดมุ่งให้โค้ชใช้วิธีการฝึกสอนที่หลากหลายตามความ แตกต่างระหว่างบุคคล จุดอ่อน และจุดแข็งของผู้เรียนแต่ละคนซึ่งมีความต้องการ พัฒนาท่แี ตกตา่ งกัน ผู้เรียนเกิดการพฒั นาได้เต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ท่ีระบุว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ” ความหมายของการโคช้ เพ่อื การรู้คดิ การโค้ช หมายถึง การเป็นคู่คิดของผู้ได้รับการโค้ชในกระบวนการพัฒนา ที่สรา้ งสรรค์ และกระตุน้ ให้ผู้ไดร้ บั การโค้ชได้นาศักยภาพของตนเองออกมาใช้ได้อย่าง เต็มท่ีทั้งชีวิตส่วนตัวและอาชีพการโค้ชเน้นการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเพื่อให้เกิดการ พฒั นาและการเปลีย่ นแปลงดา้ นดที ี่เปน็ รปู ธรรม
44 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอ่ื การรคู้ ดิ การโค้ชเพื่อการรู้คิด(cognitive coaching)คือกระบวนการพัฒนา ผู้เรียน โดยผู้สอนซ่ึงทาหน้าที่เป็นโค้ช ดึงศักยภาพของผู้เรียนด้านต่างๆ ท้ังความรู้ ความสามารถ การคิด ตลอดจนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง (self - learning) อย่างต่อเนื่อง การโค้ชเพ่ือการรู้คิดเป็นเคร่ืองมือสาคัญ ท่ีใช้เสริมสร้างและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ การคิดขั้นสูง (higher – order thinking) มีวิธีการเรียนรู้ (learning how to learn) มีการประเมินตนเอง การกาหนดทิศทางการพัฒนาตนเองได้ เป้าหมายของการโค้ชเพ่ือการรคู้ ิด การโค้ชเพื่อการรู้คิด มีเป้าหมายหลักเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการคิด ของผู้เรียน การใคร่ครวญตรวจสอบตนเองเพื่อนาไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ไม่ใช่ เป็นการอบรมส่ังสอนโดยตรง แต่เป็นการใช้เทคนิควิธีการต่างๆ เช่น การตั้งคาถาม การใหข้ ้อมลู ย้อนกลับ การใหค้ าแนะนา การให้หลักคิด วิธีการคิด วิธีการเรียนรู้ที่ทาให้ ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ (inspiration) และนาไปสู่การแสวงหาความรู้ การฝกึ ฝนทักษะ และการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมคุณธรรมจรยิ ธรรม และให้ความสาคัญ กบั กระบวนการเรยี นรู้และผลลัพธ์ของการเรียนรู้ ผู้เรียนเกิดการคิดและการเรียนรู้จาก กระบวนการโคช้ ท่หี ลากหลายสอดคล้องกบั ลกั ษณะเฉพาะของผ้เู รียนรายบคุ คล หลกั การโค้ชเพ่อื การร้คู ิด หลักการโค้ชมุ่งเน้นท่ีกระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนที่ได้รับการโค้ช ปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิผลและมีความผูกพันอยู่กับการ เรยี นรู้ สร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้ใช้ความคิด และหาคาตอบที่ถูกต้องเพื่อพัฒนาศักยภาพ ไม่ใช่การบอกคาตอบให้กับผู้เรยี น
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอ่ื การรู้คดิ 45 การโค้ชเพื่อการรู้คิดเป็นมากกว่าการสอนที่มุ่งเน้นการถ่ายทอดความรู้ โดยทกี่ ารโค้ชเพ่ือการรคู้ ิดมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. การกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความต้องการ แรงจูงใจ ความปรารถนา ทักษะ และกระบวนการคิดที่จะนาไปสู่การเรียนรู้เพ่ือการเปล่ียนแปลงท่ีดีข้ึน (transformative learning) 2. ต้ังคาถามผู้เรียนด้วยเทคนิคต่างๆ เพ่ือเสริมสร้างกระบวนการคิด ทีน่ าไปสกู่ ารวางแผน การแกป้ ัญหาและการสรา้ งสรรค์ 3. สนับสนุนผู้เรียนให้มีการกาหนดเป้าหมายของการพัฒนาตนเอง รวมทัง้ การวางแผนและการประเมนิ ผลความสาเรจ็ 4. สังเกตและประเมินพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียนท่ีเป็นจุดเน้น ของการโค้ชในแต่ละคร้งั 5. ประยุกตเ์ ทคนคิ การสอนต่างๆ มาใช้ในการโค้ชผู้เรียนให้เหมาะสม กับธรรมชาติและความต้องการของแต่ละคนในลักษณะการสร้างเคร่ืองมือช่วยเหลือ ผูเ้ รียน (scaffolding) ช้ีแนะและช่วยเหลอื อย่างเหมาะสม 6. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความเช่ือม่ัน ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติท่ีนาไปสู่ การพฒั นาท่ดี ีข้นึ 7. ดารงรักษาสิ่งที่ดีๆ ของผู้เรียนและให้การสนับสนุนและพัฒนา อย่างตอ่ เน่ือง โดยไม่ตัดสิน วิพากษ์ วจิ ารณ์ จบั ผดิ 8. ประเมินผลการโค้ช ด้วยวิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง และ นาสารสนเทศมาพฒั นาผู้เรียนอย่างตอ่ เนอ่ื ง 9. การดาเนินการโค้ชบนพ้ืนฐานของการเคารพในศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความเชื่อของผู้รับการโค้ชเช่น คนอเมริกัน
46 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพื่อการรู้คดิ ตรงไปตรงมา กล้าแสดงออก มีความยุติธรรม มีความเป็นประชาธิปไตย ต่อสู้เพ่ือสิทธิ ของตน ไมล่ ะเมิดสทิ ธิบุคคลอนื่ การโค้ชเป็นการเปล่ียนแปลงที่ต้องใช้เวลาการโค้ชเป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงและการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันเพื่อช่วยเหลือให้เกิดการเปล่ียนแปลง อย่างยง่ั ยนื โดยมีพ้ืนฐานต่อไปนี้ 1. โค้ชและผู้เรียนมคี วามไว้เน้ือเชอื่ ใจ (trust) และเคารพ (respect) 2. วเิ คราะหจ์ ุดเดน่ จดุ อ่อนและศกั ยภาพทีจ่ ะพัฒนาตนเอง 3. กาหนดเป้าหมายเก่ียวกับระดับขีดความสามารถ บุคลิกภาพ และทกั ษะที่ต้องการพฒั นาใหม้ ีข้นึ 4. การประเมนิ เพ่อื พัฒนา (assessment for improvement)
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรคู้ ดิ 47 ตาราง 1 บทบาท teacher , facilitator และ cognitive coaching บทบาทของผสู้ อน บทบาทผเู้ อื้ออานวยความสะดวก บทบาทการโค้ชเพอ่ื การรู้คดิ (teacher) ในการเรียนรู้ (facilitator) (cognitive coaching) 1. ใหข้ ้อมลู เนอ้ื หาสาระ 1. กระตุ้นใหม้ ีการอภิปราย 1. พฒั นาความสามารถ 2. ให้คาตอบทถ่ี กู ต้อง แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ในการรบั รู้ การคดิ 3. สอ่ื สารทางเดยี ว 2. กระตนุ้ ให้คดิ และตั้งคาถาม และการตัดสินใจ และทิศทางการเรยี น 3. ส่ือสารสองทางมีปฏสิ ัมพันธ์ 2. สรา้ งความรใู้ หมจ่ ากการคดิ 4. กาหนดงานใหผ้ เู้ รยี น กับผู้สอนและผเู้ รยี น ไตร่ตรองและการสะทอ้ นคิด 5. กาหนดวัตถุประสงค์ 4. ประสานงานในกจิ กรรม (reflective thinking) 6. กาหนดกจิ กรรมการเรียนรู้ การเรียนรู้กับผ้เู รยี น 3. แลกเปล่ยี นความรู้ ความคดิ และเกณฑก์ ารวัด 5. ผู้เรียนสามารถกาหนด 4. ใช้สนุ ทรยี สนทนา (dialogue) ประเมนิ ผลการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ เพื่อการเรยี นรู้ และทศิ ทางการเรียนรู้ สูก่ ารเปลี่ยนแปลง 6. เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นกาหนด (transformative กจิ กรรมการเรยี นรู้ learning) และเกณฑ์การวดั 5. ใช้พลงั คาถาม ประเมินผลการเรียนรู้ (power questions) 6. ถอดบทเรียน (lesson learned) 7. ผู้เรียนวางแผนพฒั นา การเรยี นร้ขู องตนเอง
48 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอื่ การรู้คดิ ผูส้ อนยคุ ใหม่กบั การโค้ชการร้คู ิด ผู้สอนยุคใหม่ในศตวรรษท่ี 21 คือผู้ที่ทาหน้าท่ีส่งเสริม สนับสนุน ชี้แนะ และช่วยเหลือผู้เรียนให้สืบเสาะแสวงหาความรู้ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังต้องให้ผลย้อนกลับ (feedback) ท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเน่ือง บทบาทของผ้สู อนยคุ ใหม่กับการโคช้ เพ่ือการร้คู ิดมดี ังนี้ 1. สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ 2. ให้คาแนะนาในการเรยี นรู้ 3. จดั ระบบการเรียนรู้ 4. ตัง้ คาถามทกี่ ระตุ้นความอยากรู้ 5. สังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน 6. สนับสนุนใหเ้ กดิ การเรียนรู้เต็มความสามารถ 7. เสรมิ แรงให้เรียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ ง 8. เปน็ ตวั แบบบุคคลแหง่ การเรียนรู้ 9. ให้ข้อมูลยอ้ นกลับอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 10. ประเมนิ ผลและนาผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ และพฒั นา 11. เป็นโคช้ การรู้คดิ (cognitive coaching) ผู้สอนในฐานะโค้ชท่ีเป็นผู้นาการรู้คิด (leader as a cognitive coaching) การเป็นโค้ชจะต้องเรียนรู้ (learn) ตลอดเวลา และนา (lead) ผู้เรียนได้ อย่างแม่นยา ชานาญไม่หวงวิชาความรู้ ไม่ปิดตัวเอง และโค้ช (coach) ผู้เรียนที่เป็น คนร่นุ ใหมท่ ่ีมีความสามารถเพมิ่ ข้ึนมาแทนตนเองในอนาคต แสดงได้ดงั แผนภาพต่อไปนี้
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรู้คดิ 49 LEARN Leader as a Coach of Learning COACH LEAD แผนภาพ 4 Leader as a Cognitive Coaching การโค้ชเพ่ือการรู้คิด (cognitive coaching) เป็นนวัตกรรมการพัฒนา ผู้เรียนแนวใหม่ที่เปล่ียนจากการสอน (teaching) และผู้เอ้ืออานวยความสะดวก ในการเรียนรู้ (facilitator) มาเป็นโคช้ (coach) โดยให้ความสาคัญกับกระบวนการทางสติปัญญา (intelligence process) ให้ผู้เรียนมีทักษะในการเรียนรู้ (learning skill) วิธีการเรียนรู้ (learning how to learn) วิธีการประเมินและปรับปรุงตนเอง (self - improvement) สามารถ เรียนรู้ส่ิงต่างๆ ได้ด้วยตนเอง (self - learning) และสามารถนาความรู้นั้นมาพัฒนา คุณภาพชีวิตได้ในอนาคต (Costa and Garmston. 2002, Knight. 2009, Sweeney. 2011, Marzano and Simms. 2012, Sobel and Panas. 2012)
50 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพ่อื การรู้คดิ จุดเน้นของการโค้ชการรู้คิด คือ การกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิด ขั้นสูงด้วยตนเองโดยการใช้คาถามชี้แนะการรู้คิด (cognitive guided questions) อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยผู้สอนจะต้องมีความรู้และทักษะในสิ่งท่ีโค้ชอย่างแม่นยา ชานาญ (hard skills) และมีบุคลิกลักษณะท่ีเอ้ือต่อการโค้ช (soft skills) เช่น มีความใจเย็น มีความอดทน มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี มีความสามารถในการสื่อสาร เป็นต้น และจะต้องเป็นคนท่ีรู้จักกาลเทศะตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ประการซึ่งทาให้การโค้ช ประสบความสาเรจ็ (วชิ ัย วงษ์ใหญ่ และมารตุ พัฒผล. 2557) ความแตกตา่ งของการโค้ชการรคู้ ิด การจดั การเรยี นรู้ และการประเมิน การโค้ชเพ่ือการรู้คิด (cognitive coaching) การจัดการเรียนรู้ (learning management) และการประเมิน (evaluation) มีคุณลักษณะ จุดมุ่งหมาย วิธีการ จุดเน้นในการส่ือสาร เครื่องมือ และผลที่ได้รับแตกต่างกัน (Costa and Garmston. 2002, Knight. 2009, Sweeney. 2011, Marzano and Simms. 2012, Sobel and Panas. 2012) วิเคราะห์ไดด้ งั ตารางตอ่ ไปน้ี
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรคู้ ดิ 51 ตาราง 2 การวเิ คราะหค์ วามแตกต่างของการโคช้ การจดั การเรยี นรู้ และการประเมนิ ประเดน็ วเิ คราะห์ การโคช้ เพื่อการรู้คิด การจดั การเรยี นรู้ การประเมิน คุณลกั ษณะ การพฒั นา ตดั สินคณุ ค่าของ กระบวนการคดิ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สง่ิ ใดส่งิ หน่งึ เชน่ จุดมุ่งหมาย ของผู้เรยี น โดยเฉพาะ ต่างๆ เพอื่ พฒั นา ผลการเรยี นรู้ วธิ กี าร การคดิ ขัน้ สูง เชน่ ความรู้ ทักษะ ทกั ษะการเรยี นรู้ การคดิ วเิ คราะห์ และคณุ ลกั ษณะตา่ งๆ ทกั ษะการทางาน การคิดสงั เคราะห์ ดว้ ยกระบวนการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม การคดิ แกป้ ญั หา เชิงระบบ คา่ นยิ มอันพงึ ประสงค์ การคิดสร้างสรรค์ ที่ประกอบด้วย จดุ ประสงค์ เพอ่ื ตัดสินคณุ คา่ เพือ่ พฒั นากระบวน กจิ กรรม ของสิง่ ที่ประเมนิ การคดิ โดยเฉพาะ และการประเมิน กบั เกณฑ์ท่กี าหนด การคิดขัน้ สูง เพือ่ พัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การตั้งคาถามช้ีแนะ และคณุ ลกั ษณะ ทีต่ อ้ งการประเมิน การรู้คดิ (cognitive ท่ีพึงประสงค์ แล้ววิเคราะห์ guided questioning) การจัดกจิ กรรม เปรยี บเทยี บ การใช้พลงั คาถาม การเรยี นรู้ กบั เกณฑ์การประเมนิ (power questions) ดว้ ยวิธีการต่างๆ ที่กาหนดไว้ การให้ขอ้ มลู กระตุ้น โดยมจี ดุ ประสงค์ และนาผลการประเมิน การเรียนรู้ (feed - up) เนอ้ื หาสาระ ไปเป็นสารสนเทศ การให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั กจิ กรรม สาหรบั การตดั สินใจ (feedback) การให้ สื่อการเรียนรู้ ปรับปรุงและพัฒนา ข้อมลู เพื่อการเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรู้และ ตอ่ ยอด(feed-forward) การประเมินผล แหล่งการเรียนรู้และ การประเมนิ ผล
52 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพือ่ การรู้คดิ ตาราง 2 การวเิ คราะห์ความแตกตา่ งของการโค้ช การจัดการเรยี นรู้ และการประเมนิ (ตอ่ ) ประเด็นวเิ คราะห์ การโคช้ เพอ่ื การรู้คิด การจดั การเรยี นรู้ การประเมิน การใหข้ ้อมูลกระต้นุ จดุ เนน้ กระตุ้นให้คดิ หาคาตอบ การเรยี นรู้ นาเสนอข้อมูลเชงิ ของการส่อื สาร แสวงหาแนวทาง (feed - up) ประจกั ษ์ทใี่ ช้ในการ เครอ่ื งมือที่ใช้ แกป้ ญั หา กาหนด การให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ประเมนิ มาตรฐาน ทางเลือกตัดสินใจ (feedback) การประเมิน ดว้ ยตวั ผเู้ รียนเอง การใหข้ อ้ มลู เพอื่ การ ผลการประเมิน เรยี นรตู้ ่อยอด แนวทางการพฒั นา พลังคาถาม (feed - forward) เกณฑ์การประเมนิ แบบประเมนิ นาเสนอจุดประสงค์ แบบสอบถาม กระบวนการเรียนรู้ การเรยี นรู้ ภารงาน แบบสมั ภาษณ์ (process) เกณฑ์การประเมินผล แบบตรวจสอบ แบบประเมนิ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ รายการ ความกา้ วหน้า การใหข้ ้อมลู ย้อนกลับ เครอื่ งมืออ่นื ๆ ของการเรียนรู้ ที่ใช้เกบ็ ข้อมูล (progress) แผนการจดั การเรียนรู้ สาหรับการประเมิน แบบประเมินผลผลติ สือ่ การเรียนรู้ ของการเรยี นรู้ แบบทดสอบ (product) แบบประเมินผู้เรยี น ในด้านต่างๆ ทีส่ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรู้คดิ 53 ตาราง 2 การวเิ คราะห์ความแตกตา่ งของการโค้ช การจดั การเรียนรู้ และการประเมิน (ต่อ) ประเด็นวเิ คราะห์ การโค้ชเพอื่ การรคู้ ิด การจัดการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลทไี่ ด้รบั พัฒนาการกระบวนการ ความรู้ ทกั ษะ สารสนเทศที่นาไปใช้ คิดข้นั สงู ของผเู้ รยี น และคณุ ลักษณะ ในการตดั สินใจ ท่พี ึงประสงค์ ยกเลกิ ของผูเ้ รียน การปรบั ปรุง หรือการพัฒนา จากตาราง จะพบว่าการโค้ชเพื่อการรู้คิด การจัดการเรียนรู้และการ ประเมินผล มีความแตกต่างกัน ซึ่งผู้สอนนอกจากจะทาหน้าท่ีจัดการเรียนรู้และการ ป ร ะ เ มิ น แ ล้ ว ยั ง ต้ อ ง มี บ ท บ า ท เ ป็ น โ ค้ ช ก า ร รู้ คิ ด ใ ห้ กั บ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ด้านกระบวนการคิดต่างๆ โดยเฉพาะการคดิ ขั้นสงู อกี ดว้ ย กระบวนการโค้ชม่งุ การสร้างสัมพนั ธภาพ และเป็นผู้ใหค้ วามช่วยเหลือ (helping relationship) การเปล่ยี นแปลงย่อมมีแรงต้าน (resistance to change) โคช้ ตอ้ งแสดงความเข้าใจและเห็นใจ (empathy) ใชเ้ ทคนคิ การต้ังคาถามให้ผู้เรียนคดิ เอง เกดิ การเปลยี่ นความคดิ และพฤตกิ รรม ท่คี วรฝกึ ใหเ้ ปน็ นสิ ยั (habits)
54 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรู้คดิ 2.2 Soft skills และ Hard skills ของการโค้ชเพือ่ การรู้คดิ ทักษะเสรมิ การโคช้ ให้มปี ระสทิ ธิภาพ มอี งคป์ ระกอบ 2 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ทักษะทางสังคม (soft skills) หรือ จรณ (อ่านว่า จะ-ระ-นะ) เป็น ทักษะทางสังคม และความฉลาดทางอารมณ์ท่ีแสดงออกผ่านทาง EQ ซึ่งอยู่ทางสมอง ซีกขวา ซง่ึ เป็นความสามารถทางสังคม การจัดการตนเอง การควบคุมอารมณ์ การมอง บวก การติดตอ่ สอ่ื สาร และความเป็นมติ ร 2. ทักษะทางวิชาการ (hard skills) ที่โค้ชทุกคนจะต้องมีความรู้ ความสามารถทีก่ าหนดโดยเชาว์ปญั ญา (IQ) ซึ่งอยทู่ างสมองซกี ซ้าย จรณทักษะ (soft skills) 6 ด้าน สาหรับการโค้ชในสาขาวิชาชีพต่างๆ ประกอบด้วย 1) ทกั ษะการติดตอ่ ส่อื สารระหว่างบุคคล (interpersonal) 2) จติ วญิ ญาณของทมี (team spirit) 3) มารยาททางสงั คม (social grace) การสรา้ งความประทับใจ เบื้องต้น วฒั นธรรมการสื่อสาร 4) การปฏิบัตติ นให้เหมาะสมกบั วฒั นธรรมองค์กร (culture etiquette) 5) ทกั ษะการตอ่ รอง (negotiation skills) การตอ่ รองเพ่ือให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดด้วยกันท้ังสองฝ่ายและ 6) คณุ ลักษณะดา้ นพฤตกิ รรม (behavioral traits) ทศั นคติ แรงจงู ใจ และการจดั การเวลา
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพื่อการรู้คิด 55 สาหรบั จรณทกั ษะสาหรบั การโค้ชเพื่อการรูค้ ดิ มีดังต่อไปนี้ 1. มีบุคลิกภาพที่ดี บุคลิกภาพ คือ ภาพที่ประทับใจผู้เรียนและชวน ให้ติดตามบทเรียน เช่น การแต่งกายอย่างสุภาพเรียบร้อย การย้ิมแย้มแจ่มใส การพูด ด้วยคาสุภาพและให้เกียรติผู้รับการโค้ช เป็นต้น บุคลิกภาพที่ดีของโค้ชทาให้เกิดความ เจริญใจของผูเ้ รียน 2. มีมารยาททางสังคม เคารพสิทธิของบุคคล เช่น การกล่าวคา ขอบคุณ คาขอโทษ กับผู้เรียน การสนทนาพูดคุยด้วยภาษาสุภาพ เป็นต้น การที่โค้ช มีมารยาททางสังคมท่ีดี เป็นการสอนผู้เรียนให้มีมารยาททางสังคมท่ีดีตามไปด้วย เสมอื นลกู ไม้หลน่ ไม่ไกลต้น 3. สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ การสื่อสารเป็นหัวใจสาคัญของ การโค้ช การส่ือสารที่ดีจะต้องมีความชัดเจน ถูกต้อง สุภาพ สร้างสรรค์ เช่ือถือได้ และมีความสมบูรณ์ การสื่อสารที่เหมาะสมกับกาลเทศะ อาจไม่พูดอย่างท่ีคิด ส่ือสาร ตรงไปตรงมา คิดอะไร พดู อยา่ งน้ัน สือ่ สารอ้อม ส่อื สารเปน็ ทางการ ส่อื สารเป็นกันเอง 4. มีความสามารถในการใช้ภาษา โดยการใช้ภาษาทางบวกในการ โค้ช ทีท่ าให้ผเู้ รยี นเกิดกาลังใจ เกดิ ความเชอื่ ม่ันและความภาคภมู ิใจในตนเอง 5. มมี นุษยสมั พันธ์ดี สัมพันธภาพที่ดีเป็นปัจจัยทาให้การโค้ชประสบ ความสาเร็จ เพราะการโค้ชเป็นเรื่องของความสมัครใจและร่วมมือร่วมใจระหว่างโค้ช และผเู้ รียนเป็นสาคัญ ซ่งึ ไม่สามารถใชอ้ านาจในการบังคับได้ 6. มีการบริหารเวลาท่ีดี การวางแผนการทางานในเวลาท่ีมีอยู่น้ัน อย่างมีประสิทธิภาพท่ีมีอยู่อย่างจากัด ด้วยการทาส่ิงต่างๆ ทีละอย่าง การทางาน หลายๆ อย่างพร้อมกัน มีผลเสียต่อคุณภาพของาน การมีสติอยู่กับงานท่ีปฏิบัติ ณ ปจั จบุ ัน คือสง่ิ ที่ดีทส่ี ุด ไม่ยดึ ติดอยู่กบั อดีตและไม่ฟงุ้ ซา่ นกับอนาคต
56 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพื่อการร้คู ดิ 7. การต้ังคาถามและการฟัง เป็นทักษะพ้ืนฐานสาคัญท่ีโค้ชจะต้องมี การต้ังคาถามที่มีประสิทธิภาพจะช่วยกระตุ้นการคิดขั้นสูงของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี พลังคาถาม มุ่งถามให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนคาถามที่กระตุ้นให้ ผเู้ รยี นเกิดความสงสัยและเกิดคาถามในการเรียนรู้ต่อไป ส่วนการฟังน้ันเป็นการเคารพ ผู้รับการโค้ช เปิดโอกาสให้กับตนเองได้เรียนรู้ และเป็นทักษะที่ทาให้ โค้ชเข้าใจ แนวความคิดและวิธีการคิดของผู้รับการโค้ช การฟังให้เข้าใจ และจับประเด็นสาคัญได้ จะเป็นข้อมูลสารสนเทศทีด่ ีสาหรบั การให้คาแนะนา ช้ีแนะ ในขณะที่ทาการโค้ช 8. การคิด การโค้ชเพื่อการรู้คิดมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีโค้ชจะต้องมี ทักษะด้านการคิด เพราะถ้าโค้ชมีทักษะการคิดแล้วจะสามารถกระตุ้นให้ผู้รับการโค้ช มีทักษะการคิดตามไปด้วย ทักษะการคิดท่ีสาคัญ ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การคิด สังเคราะห์ การคดิ แกป้ ญั หา การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบ การคิด สรา้ งสรรค์ ทักษะการคิดเป็นสิ่งท่ีต้องได้รับการกระตุ้นและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ การตัง้ คาถาม การสังเกต การสะท้อนคิด (reflection) 9. การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เป็นทักษะสาคัญสาหรับการโค้ช เพ่ือการรู้คิด ผู้เรียนซ่ึงเป็นผู้รับการโค้ชจะต้องได้รับการกระตุ้นการคิดแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ซึ่งนอกจากจะทาให้สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนได้แล้ว ยังก่อให้เกิด นวัตกรรมอกี ดว้ ย หากโค้ชเองมีทักษะการแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรคแ์ ล้วย่อมทาการโค้ช ให้ผเู้ รียนมีทักษะการแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรคไ์ ด้อย่างแนน่ อน การท่ีผู้สอนจะเป็นโค้ชท่ีดีได้น้ันจาเป็นต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรมของ ตนเองให้มีจรณทักษะ เพราะเป็นปัจจัยความสาเร็จในการโค้ช ซ่ึงการเปลี่ยนแปลง พฤตกิ รรมจาเป็นต้องเปลยี่ นความคดิ เสยี กอ่ น เม่ือความคดิ เปลย่ี น พฤตกิ รรมก็เปลี่ยน ทาใหส้ ามารถโคช้ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข (happiness coaching)
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพือ่ การร้คู ดิ 57 จากท่ีกล่าวมาสามารถสรุป Soft skills ของการโค้ชเพื่อการรู้คิดได้ดัง แผนภาพตอ่ ไปน้ี มบี ุคลิกภาพที่ดี มีมารยาททางสงั คม สอื่ สารอย่างมีประสทิ ธิภาพ Soft skills มคี วามสามารถในการใช้ภาษา ของการโคช้ เพื่อการรู้คิด มีมนุษยสัมพันธด์ ี การบรหิ ารเวลา การตง้ั คาถามและการฟัง การคิด การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ แผนภาพ 5 จรณทกั ษะ (soft skills) ของการโคช้ เพ่ือการรู้คดิ
58 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพ่ือการร้คู ดิ ดังนั้นผู้สอนท่ีจะเป็นโค้ชท่ีดี ควรมี Soft skills ในการโค้ชดังที่กล่าวมา ข้างต้น ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีสาคัญและจาเป็นต่อการโค้ช เพราะทาให้ผู้เรียนเปิดใจรับฟังโค้ช เกิดการรู้คิดพร้อมที่จะปรับเปล่ียนการปฏิบัติ และปฏิบัติตามคาแนะนา หรือข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีดีข้ึนท้ังในด้านความรู้ ความสามารถ การคดิ และคุณลักษณะตา่ งๆ การพัฒนาตนเองของโค้ชเกี่ยวกบั Soft skills โค้ชทีม่ ีประสิทธิภาพมีการพฒั นาตนเองเกยี่ วกับ soft skills ต่างๆ เพื่อให้ การโคช้ บรรจุความสาเร็จ ซึ่งมีแนวทางดงั ต่อไปนี้ 1. ตระหนักอยู่เสมอว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของทีมโค้ช (ผู้สอนคน อื่นๆ) ซ่ึงผู้สอนทุกคน คือ ทีมโค้ช ท่ีจะช่วยกันพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของการ เรียนรู้ ความเป็นทีมมีลักษณะเป็นทีมเรียนรู้ (team learning) ที่มีการวิเคราะห์ เป้าหมาย ดาเนินการ และประเมนิ ผลด้วยความรบั ผิดชอบตอ่ ความสาเร็จร่วมกัน 2. การมีวินัยในตนเอง เคารพ อดทน โค้ชต้องพัฒนาตนเองในด้าน ความมีวินัยในตนเอง (self - discipline) ซึ่งประกอบด้วย การนาตนเอง (self - direction) การควบคุมตนเอง (self - control) และการกากับตนเอง (self - regulation) ความเคารพบุคคลอื่นซ่ึงทาให้การทาหน้าท่ีโค้ชเป็นไปด้วยความเท่าเทียม กนั ระหว่างโค้ชและผเู้ รยี น ร่วมเรียนรู้ซึ่งกันและกัน นอกจากน้ีโค้ชยังต้องพัฒนาตนเอง ในด้านความอดทนและความใจเย็น เพราะการโค้ชแต่ละครั้งอาจต้องใช้ความพยายาม มากเป็นพเิ ศษ ดงั นั้นหากโค้ชขาดความอดทนและใจร้อน ซึ่งจะทาให้การโค้ชไม่ประสบ ความสาเร็จ 3. ทักษะการแลกเปล่ียนเรียนรู้กับบุคคลรอบข้างโค้ชควรพัฒนา ตนเองในการแลกเปล่ียนเรียนรู้กับบุคคลอ่ืน เพ่ือเป็นการจัดการความรู้ท่ีได้รับจากการ
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่ือการรคู้ ดิ 59 โคช้ เชน่ การแลกเปลี่ยนความสาเร็จในการโค้ชผู้เรียน เทคนิคการจูงใจผู้เรียน เป็นต้น ทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีทักษะย่อยประกอบด้วย ทักษะการนาเสนอ ทักษะ การสื่อสาร ทักษะการแสดงความคดิ เห็น ทักษะการฟัง 4. การดาเนินชีวิตอย่างมีสติและปัญญา การพัฒนาตนเองด้านนี้ มีความสาคัญมาก โค้ชต้องพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ท่ีมีสติและปัญญาอยู่ตลอดเวลา สติ คอื การรตู้ ัว รเู้ ท่าทนั ความคดิ และอารมณข์ องตนเอง สว่ นปัญญา คือ การคิดเป็นที่ อยู่บนพ้ืนฐานของการมีเหตุผลและการมุ่งประโยชน์ต่อส่วนรวม การพัฒนาสติและ ปัญญานั้น สามารถทาได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี และทุกกิจกรรม โดยไม่จาเป็นต้องละท้ิง หนา้ ที่การงานแต่อยา่ งใด นอกจากการพัฒนาตนเองทางด้านจรณทักษะดังกล่าวแล้ว โค้ชยังต้องมี คุณลักษณะเพม่ิ เติมอกี ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การยอมรับ (acceptance)โค้ชควรให้การยอมรับความ หลากหลายของผ้เู รยี นท้ังทางกายภาพและทางความคิด การยอมรับผู้เรียนทาให้ผู้เรียน รู้สกึ วา่ ตนเองเปน็ คนสาคัญ 2. ความเข้าใจ (understanding) โค้ชควรเปิดใจรับฟังความ คิดเห็นของผู้เรียน เคารพสิทธิ มองผู้เรียนด้วยใจท่ีมีเมตตา โดยไม่ด่วนสรุปและตัดสิน ผ้เู รียน เอาใจของผเู้ รียนมาเป็นใจของตนเองให้มาก 3. ความจริงใจ (sincerity) โค้ชมีความจริงใจในการพัฒนาผู้เรียน ทุกคนโดยไม่หวังส่ิงตอบแทนใดๆ นอกจากการเรียนรู้ของผู้เรียน คุณลักษณะ และ คณุ ภาพดา้ นตา่ งๆ ท่เี ป็นรากฐานของการดาเนนิ ชวี ติ ในอนาคต 4. มีจริยธรรม (ethics) ด้วยการประพฤติตนเป็นแบบอย่างเป็นครู ที่ดี คิด พูด ทา ในสิ่งท่ีตรงกัน รักและเมตตาผู้เรียนอย่างเสมอภาค สิ่งสาคัญอีก
60 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอื่ การรคู้ ดิ ประการหน่ึงที่ต้องมี คือ การให้ความยุติธรรมกับผู้เรียนทุกคน เพราะความยุติธรรม เป็นพื้นฐานของคณุ ธรรมด้านอืน่ ๆ 5. มีความม่ันคงทางอารมณ์ (maturity) สามารถจัดการอารมณ์ ของตนเองได้ การแสดงออกทางอารมณ์ด้วยการมีอารมณ์ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส สนุกสนาน ร่าเรงิ เบิกบาน ช่วยทาใหจ้ ติ ใจของผ้เู รียนแช่มช่นื เอือ้ ตอ่ การโค้ชมากขน้ึ 6. มีความยืดหยุ่น (flexibility) โดยการไม่ยึดติดกับกฎระเบียบ หรอื กรอบกติกามากจนเกินไปทาให้ผเู้ รียนไม่ตึงเครียด ผ่อนคลายและมีความสุขเมื่ออยู่ กบั โค้ชและผูเ้ รียนสามารถรบั รู้และเปลี่ยนแปลงตนเองไปสเู่ ป้าหมายได้ 7. การประเมินที่เสริมพลัง (empowerment evaluation) เป็น การประเมนิ ท่เี น้นการปรบั ปรุงและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ผู้เรียนมีความสุขจากการได้รับ การสะทอ้ นผลการประเมิน สามารถใชส้ ารสนเทศนาไปพฒั นาเรยี นรู้ตอ่ ยอดได้ นอกจากโค้ชจะต้องมี “จรณ” หรือ soft skills แล้วโค้ชยังต้องมีทักษะ เชิงวิชาการ หรือ วิชา (hard skills) อีกด้วย ซึ่งท้ัง soft skills และ hard skills เป็น ปัจจยั เอือ้ ตอ่ การโคช้ ดาเนินไปอย่างราบรืน่ และประสบความสาเร็จ ทักษะเชงิ วชิ าการ หรือวิชา (hard skills) ทโ่ี คช้ ตอ้ งมีมดี ังต่อไปน้ี 1. ความร้เู กี่ยวกับการวจิ ยั (Research knowledge) - การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รยี น - การวิจยั เพอ่ื พัฒนาวิธกี ารโคช้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ - การวิจยั และพัฒนานวัตกรรม 2. ความรเู้ กีย่ วกบั เทคโนโลยี (Technological knowledge) - การเขา้ ถงึ และรูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยี - การนาเทคโนโลยีมาใช้ใหเ้ หมาะกบั การโคช้ - การนาเทคโนโลยีมาใช้กับการจดั การเรยี นรู้
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพ่ือการรู้คดิ 61 3. ความรูใ้ นวธิ กี ารสอน (Pedagogical knowledge) - การคดั สรรวธิ ีการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะกับผู้เรียนและบริบท ของพ้นื ที่ - การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ตี อบสนองความสนใจ และผลลพั ธ์การเรียนรู้ - การประเมินผลการเรยี นรูต้ ามสภาพจรงิ - การใหผ้ ลยอ้ นกลับเชิงสรา้ งสรรค์ 4. ความรูเ้ กย่ี วกบั สาระท่ีสอน รวมทง้ั ความรู้ใหม่ๆ (Content knowledge) - การบรู ณาการสาระสาคญั (main concept) ท่เี หมาะกบั ความสามารถของผ้เู รียนแตล่ ะคน - การปรับ (modify) สาระสาคัญใหง้ า่ ย ผู้เรียนทกุ คนเขา้ ถึงได้
62 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอ่ื การรคู้ ดิ สรุปแผนภาพองค์ประกอบของความรทู้ างวชิ าการของโคช้ ดังแผนภาพต่อไปน้ี Research Technological knowledge knowledge Hard skills Pedagogical Content knowledge knowledge แผนภาพ 6 Hard skills ของการโคช้ เพ่อื การรู้คิด
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพือ่ การรู้คิด 63 การใชส้ ัปปรุ ิสธรรม 7 ในการดาเนินการโคช้ เน่ืองจากการโค้ชเป็นกระบวนการที่อาศัยความสัมพันธ์ส่วนบุคคล การรบั ฟัง และการยอมปฏิบตั ิตามเพ่อื การปรับปรุงและพัฒนา ดังนั้นโค้ชจึงจาเป็นต้อง เป็นคนดีมีคุณธรรมและมีความเก่งในเชิงวิชาการ หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 คือ หลักธรรมทีช่ ่วยชแ้ี นวทางให้โค้ช สามารถปฏิบัติการโค้ชได้ประสบความสาเร็จและเกิด การพฒั นาที่ยัง่ ยนื ดงั นี้ 1. รจู้ ักเหตุ คือ สามารถคิดไตรต่ รองตามความเป็นจรงิ รู้สาเหตทุ ี่แท้จริงรู้วา่ เหตตุ า่ งๆ มคี วามสมั พันธ์เชื่อมโยงกนั อยา่ งไร 2. รู้จกั การคาดผล คือ สามารถคาดการณถ์ งึ ส่ิงทีจ่ ะเกดิ ขึน้ 3. รจู้ ักตน คอื สารวจวเิ คราะห์จนรู้จดุ อ่อน จดุ แข็งของตน และพัฒนาจดุ แขง็ มาใชป้ ระโยชน์ 4. รู้จักประมาณ คอื การรจู้ กั ประมาณตนในการดาเนินชีวติ 5. รูจ้ กั กาล คอื สามารถบริหารเวลาของตนเองและองค์กร ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. รู้จกั ชมุ ชน คอื เขา้ ใจและเรียนร้สู ังคม นามาใช้ให้เกิดประโยชน์ 7. รจู้ ักบุคคล คอื การวางตน การเขา้ สงั คม ไดอ้ ย่างเหมาะสม
64 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอ่ื การรู้คดิ จากการที่ได้กล่าวถึง จรณทักษะ (soft skills) ทักษะเชิงวิชาการ (hard skills) และการใช้สัปปุริสธรรม 7 ของการโค้ช สามารถแสดงเป็นองค์ประกอบของ การโค้ชเพ่ือการรู้คิด ไดด้ งั แผนภาพตอ่ ไปน้ี วชิ า จรณ สปั ปุริสธรรม 7 แผนภาพ 7 องคป์ ระกอบของการโคช้ เพือ่ การรคู้ ิด 2.3 กลไกของการโค้ชเพอื่ การร้คู ิด การโค้ชมีกลไกท่ีนาไปสู่กระบวนการโค้ชและความสาเร็จของการโค้ช ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. สร้างแรงบันดาลใจให้กบั ผเู้ รียน (Inspiring your learners) โดยท่ี โค้ชต้องใช้กลวิธี เทคนคิ ต่างๆ ในการสร้างแรงบนั ดาลใจใหก้ ับผูเ้ รยี น ทาให้ผู้เรียนสนใจ อยากเรียนรู้ กาหนดเปา้ หมายของการเรียนรู้และอยากปฏิบัติกิจกรรมต่างๆด้วยเหตุผล ว่าเปน็ สิง่ ท่มี คี วามสาคญั และมีประโยชน์
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพ่อื การรู้คดิ 65 2. ให้กาลังใจสนับสนุนผู้เรียน (encouraging your learners) โค้ช มีความจริงใจในการชมเชยผู้เรียน เมื่อผู้เรียนทาสิ่งต่างๆ ได้สาเร็จและให้กาลังใจเมื่อ ประสบกับความล้มเหลว โดยใช้คาถามเพื่อการรู้คิดในการพัฒนาและปรับปรุงโดยไม่ วิพากษ์ วจิ ารณ์ 3. แก้ไขปรบั ปรุงข้อผิดพลาดให้ผู้เรียน (correcting your learners) โค้ชท่ีมีประสบการณ์สูง จะสามารถเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปรับปรุงข้อผิดพลาด ให้กับผู้เรียนได้ โดยใช้คาถามหรือการให้ผู้เรียนคิดหาแนวทางด้วยตนเอง การเสนอ แนวความคดิ โดยไมล่ งมอื ทาให้ เพราะทาให้ผู้เรยี นไมไ่ ด้เรยี นรู้ 4. สร้างความท้าทายให้ผู้เรียน (challenging your learners) โค้ช จาเป็นต้องทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกท้าทายในการเรียนรู้เพราะเม่ือผู้เรียนเกิด ความรู้สึกว่าส่ิงท่ีเขาจะต้องเรียนรู้น้ัน เป็นสิ่งที่ท้าทายความรู้ความสามารถของเขา ทาใหเ้ กดิ ความมงุ่ มั่น ความอุตสาหพยายามในการทีจ่ ะเรียนรู้ให้สาเร็จ 5. ภาวะผู้นาทางวิชาการ (academic leadership) โค้ชที่จะทาการ โค้ชได้ดีนั้น จาเป็นต้องมีภาวะผู้นาทางวิชาการ คือ การมีความรู้ในเน้ือหาสาระ ที่ตนเองจัดการเรียนรู้และมีความสามารถในการนาความคิดรวบยอด หรือ main concept ของความรูน้ นั้ มาใชใ้ นการปฏิบัตจิ ริง 6. สุนทรียสนทนา (dialogue) เป็นการส่ือสารกับผู้เรียนด้วยจิตใจ ที่บริสุทธ์ิ ใช้เหตุผลหรือปัญญาในการพูด โดยไม่ใช้อารมณ์หรือความรู้สึก รับฟังผู้เรียน ด้วยใจท่ีเป็นกลางปราศจากอคติ ไม่ด่วนสวนกลับ ไม่ด่วนสรุป สุนทรียสนทนาเป็น ปัจจัยของการเรียนรู้สูก่ ารเปลย่ี นแปลง (transformative learning) 7. การถอดบทเรียน (lesson learned) เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้ ที่เกิดจากการปฏิบัติจริง เก่ียวกับการโค้ช เช่น เทคนิคการต้ังคาถาม วิธีการจูงใจ วิธีการให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเป็นต้น ผลจากการถอดบทเรียนจะทาให้โค้ชมีองค์ ความรู้ท่ีมาจากการปฏบิ ตั ิ หรอื เรียกวา่ ปญั ญาปฏิบตั ิ และสามารถนาไปเรียนรู้ต่อยอด
66 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพ่ือการรคู้ ดิ 8. ความผูกพันของผู้เรียนกับโค้ช (engagement) การโค้ชเป็นความ ผูกพันส่วนบุคคล คือ เป็นสิ่งที่ไม่สามารถออกคาสั่งหรือบังคับให้ปฏิบัติตามได้ ผู้เรียน ท่มี ีความผูกพนั กับโคช้ จะรบั ฟังคาโค้ช (คาแนะนา) และนาไปปฏบิ ัติดว้ ยตนเอง 9. การตั้งคาถามกระตุ้นการคิด (thinking questions) เป็นหัวใจ ท่ีสาคัญของการโค้ช เพราะการโค้ชที่ดีจะต้องใช้คาถามกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและพัฒนา ตนเองอย่างต่อเน่ือง การโค้ชที่ดีเป็นมากกว่าการให้คาตอบท่ีถูกต้อง หากแต่อยู่ท่ีการ ดึงศักยภาพของผู้เรียนออกมา แล้วให้ผเู้ รยี นพัฒนาด้วยตัวของเขาเองเต็มตามศักยภาพ ดงั ตัวอย่างคาถามเรือ่ งสารเสพตดิ ต่อไปนี้
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอ่ื การรูค้ ิด 67 ตาราง 3 ตวั อยา่ งคาถามจาแนกตามระดบั การคิด เร่ือง สารเสพตดิ ระดบั การคิด / ตวั อย่างคาถาม สาระสาคญั ความรู้ ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การ การ ประเมนิ ค่า สร้างสรรค์ สารเสพตดิ สารเสพตดิ สารเสพตดิ คืออะไร ทาให้ เรามวี ธิ กี าร คนทีใ่ ช้ นกั เรียนคดิ วา่ เราควร เกิดโทษ ต่อร่างกาย หลกี เลย่ี ง สารเสพตดิ คนที่ใช้ มีวิธีการ อยา่ งไร และป้องกัน เปน็ ประจา สารเสพตดิ ใหมๆ่ ตนเอง จะก่อให้ เพ่ือให้ ในการ ใหห้ า่ งไกล เกิดโทษ ทางาน ป้องกนั สารเสพตดิ ต่อตนเอง ได้มากขึ้น ปญั หา อยา่ งไร ครอบครัว เปน็ สิง่ ที่ การใช้ และสงั คม ถกู ตอ้ ง สารเสพตดิ อยา่ งไร หรอื ไม่ ในเด็ก เพราะ และ เหตใุ ด เยาวชน อยา่ งไร
68 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอื่ การรูค้ ดิ 2.4 กระบวนการโค้ชเพอ่ื การรู้คิด กระบวนการของการโค้ชเพ่ือการรู้คิดที่นาไปสู่การบรรลุเป้าหมายประกอบด้วย 1) การกาหนดเป้าหมาย 2) การตรวจสอบสภาพจริง 3) การกาหนดทางเลือก 4) การ ตัดสนิ ใจ และ 5) การประเมนิ ผลการโคช้ มสี าระสาคญั ดังตอ่ ไปน้ี 1. การกาหนดเป้าหมาย (Goal) การกาหนดเป้าหมายของการโค้ชผู้เรียนแต่ละบุคคล มุ่งเน้นผลลัพธ์การ เรียนรู้ ท้ังด้านการรู้คิด ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ซึ่งวิธีการ ต้ังเป้าหมายควรกาหนดพฤติกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียน ในลักษณะท่ีเป็นรูปธรรม สามารถสังเกตได้ เช่น - ผู้เรียนสามารถระบุสระในภาษาอังกฤษได้ - ผูเ้ รียนบวกเลขสองหลกั ได้ - ผเู้ รียนทางานงานรว่ มกับผอู้ น่ื ได้ - ผเู้ รยี นใชค้ วามพยายามในการปฏิบัติงาน - ผูเ้ รยี นชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั ความรกู้ ับเพื่อนๆ การกาหนดเป้าหมายของการโค้ชที่มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรมสาหรับ ผู้เรียนแต่ละคน จะช่วยทาให้การโค้ชมีประสิทธิภาพมากข้ึน กล่าวคือทาให้โค้ชท่ีทา หน้าท่ีโค้ชมองเห็นเป้าหมายในการโค้ชของตนเองด้วย อีกท้ังยังช่วยทาให้การ ประเมนิ ผลการโค้ชทาได้ง่ายและตรงประเด็น 2. การตรวจสอบสภาพจริง (Reality) การทบทวนสภาพจริงเก่ียวกับคุณภาพของผู้เรียนท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันว่าเป็น อย่างไร มคี วามต้องการพัฒนาหรือต้องได้รับการโค้ชในประเด็นใด ซ่ึงวิธีการตรวจสอบ อาจเป็นการพิจารณาผลการเรียนรู้ที่ผ่านมา พฤติกรรมการเรียนรู้ท่ีสังเกตพบหรือใช้ วิธีการซักถามแบบไม่เป็นทางการ ผลของการตรวจสอบสภาพจริงจะเป็นข้อมูล
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรคู้ ดิ 69 สารสนเทศสาหรับการกาหนดทางเลือกวิธีการโค้ช อีกทั้งการตรวจสอบสภาพจริง ชว่ ยยืนยันความถกู ต้องของเป้าหมายการโคช้ ไดอ้ กี ด้วย 3. การกาหนดทางเลือก (Option) การกาหนดเทคนิควิธีการโค้ชบนพื้นฐานของสภาพจริงและตอบสนอง เป้าหมายของการโค้ช เช่น การเลือกใช้เทคนิคสร้างความไว้วางใจ ด้วยการยิ้มแย้ม แจ่มใส พูดด้วยคาสุภาพ ไพเราะ อ่อนหวาน หรือเทคนิคการต้ังคาถามท่ีกระตุ้นให้ ผเู้ รียนคิด แสวงหาคาตอบ ค้นหาทางเลอื ก การตัดสนิ ใจ และการแกป้ ัญหา เปน็ ต้น การกาหนดทางเลือกในการโค้ช ควรมีความสอดคล้องกับสภาพความต้องการ ได้รับการโค้ชของผู้เรียนแต่ละคน ซึ่งมีความแตกต่างกัน ตลอดจนสอดคล้องกับ ธรรมชาติของผู้เรียน สภาพอารมณ์ในขณะน้ัน (จริตในการเรียนรู้หรือแบบการเรียนรู้) การกาหนดทางเลือกของการโคช้ ทีถ่ กู ต้อง ช่วยสนับสนุนให้การโค้ชประสบความสาเร็จ คอื การเรยี นรู้และการคดิ ของผู้เรียน 4. การตดั สนิ ใจ (Will, Way, Forward) Will คอื การต้งั เป้าหมาย การมุ่งมัน่ ในการโค้ชเพ่อื ใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ Way คือ แนวทางการปฏิบัติท่ีนาไปสู่ความสาเร็จโดยมีเป้าหมายท่ีชัดเจน และกาหนดขน้ั ตอนการประสบความสาเรจ็ ทจ่ี ะบรรลุในแต่ละขั้น Forward คือ การทบทวนผลการปฏบิ ัติ และการเรียนรูแ้ ละพฒั นาต่อยอด การตัดสนิ ใจเลอื กทางเลือกท่ีดีที่สุดสาหรับการโค้ช และลงมือปฏิบัติการโค้ช เพื่อการบรรลุเป้าหมาย คือ การเรียนรู้และการคิดของผู้เรียน เกณฑ์การตัดสินใจ ทางเลอื กทีด่ ที สี่ ดุ มีดังนี้ - เกดิ ประโยชนส์ งู สุดตอ่ ผูเ้ รยี น - ตอบโจทยค์ วามต้องการของผเู้ รยี น - เปิดโอกาสให้ผ้เู รียนคิดและตดั สินใจ - โค้ชแล้วผู้เรียนมคี วามสขุ ในการเรียนรู้ - โคช้ แล้วผเู้ รยี นเกิดกาลงั ใจและพลงั การเรียนรู้
70 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพือ่ การรู้คดิ 5. การประเมนิ ผลการโค้ช (Evaluation) การประเมินผลการโค้ช มีแนวคิดเพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนท่ีได้รับการโค้ช มีพัฒนาการท่ีดีขึ้นหรือไม่ ด้วยวิธีการประเมินตามสภาพจริงเป็นรายบุคคล เช่น การทดสอบ การซักถาม การประเมินผลงาน การสังเกตพฤติกรรม การสอบถามจาก เพื่อนๆ ร่วมชน้ั เรยี น เปน็ ตน้ แล้วนาผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรยี นอย่างต่อเนอื่ ง 2.5 ธรรมชาตขิ องผ้เู รียนทโ่ี ค้ชควรรู้ การโคช้ ทจ่ี ะประสบความสาเร็จน้ัน จาเป็นต้องเป็นการโค้ชที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติของผู้เรียนรายบุคคล เพราะผู้เรียนแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันหลาย ประการ ซ่ึงโค้ชไม่สามารถใช้วิธีการใดวิธีการหน่ึงในการโค้ชผู้เรียนทุกคนและไม่ สามารถใช้วิธีการเดยี วในการโคช้ ผเู้ รยี นคนหนึ่งได้ นั่นหมายความว่าการเลือกใช้วิธีการ โคช้ นน้ั จะต้องเลือกให้สอดคล้องกับธรรมชาติด้านต่างๆ ของผเู้ รียนนัน่ เอง ผู้เรียนในปัจจุบันมีธรรมชาติท่ีหลากหลาย แตกต่างกันไปตามปัจจัย 2 ประการ ได้แก่ ปัจจัยกาหนด คือ สิ่งท่ีเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมทั้งหลาย และปัจจัย สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่นอกเหนือจากเร่ืองพันธุกรรม เช่น การอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็ก สภาพแวดล้อมของครอบครัว ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยี ตลอดจน ประสบการณ์ส่วนบุคคลของผู้เรียน ปัจจัยเหล่าน้ีเป็นสาเหตุท่ีทาให้ผู้เรียนแต่ละคน มธี รรมชาติทีแ่ ตกต่างกันซ่งึ โค้ชจะตอ้ งวิเคราะห์ใหช้ ดั เจน อยา่ งไรก็ตามถึงแม้โคช้ จะไม่สามารถยอ้ นเวลากลบั ไปเปล่ียนแปลงอดีตของ ผู้เรียนได้ แต่โค้ชสามารถเรียนรู้ผู้เรียนได้ว่าเป็นคนอย่างไร มีความเก่งด้านใด มีวิธีการคิดอย่างไร มีวิธีการเรียนรู้อย่างไร มีลักษณะนิสัยอย่างไร มีความคิดความเช่ือ อย่างไร เพ่ือนามาเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้ เทคนคิ วิธีการโค้ชให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรไู้ ด้เต็มตามศกั ยภาพ
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรูค้ ดิ 71 การวิเคราะห์ธรรมชาติของผู้เรียนน้ันสามารถวิเคราะห์ได้โดยใช้กรอบการ วิเคราะห์ต่างๆ ที่มีอยู่อย่างหลากหลาย เช่น การวิเคราะห์โดยใช้กรอบ Generation การวิเคราะห์โดยใช้กรอบจริตในการเรียนรู้ การวิเคราะห์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ (learning style) การวเิ คราะหโ์ ดยใชร้ ปู แบบการรคู้ ดิ (cognitive style) การวิเคราะห์ โดยใชก้ รอบพหปุ ญั ญา (multiple intelligence) เป็นตน้ การวเิ คราะห์ตามกรอบ Generation Z ผู้เรียนยุค Generation Z เกิด พ.ศ. 2539 – พ.ศ. 2552 (Sladek and Grabinger. 2015) เป็นคนที่เกิดมาในยุคเทคโนโลยี มีลักษณะนิสัยโดยรวม คือ มองตนเองเป็นศูนย์กลาง ให้ความสาคัญกับการบรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ ใช้เทคโนโลยี ในการเรยี นรู้และพฒั นาตนเอง มีความอดทนน้อย ไม่ชอบการรอคอย ต้องการความรัก ความห่วงใย (Happen Group. 2014, Sladek and Grabinger. 2015) ตาราง 4 แนวการโค้ชจาแนกตามลกั ษณะเดน่ ของ Generation Z ลักษณะเด่นของ Gen Z แนวการโคช้ มองตนเองเป็นศูนยก์ ลาง ใหค้ วามสาคัญกบั เป้าหมาย ใหค้ วามสาคัญกับความคิด ความเชอ่ื ของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ได้แสดงศกั ยภาพของตนเอง ใช้เทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ ทาความเข้าใจเกีย่ วกับเปา้ หมายของการเรียนรู้ ชอบความรวดเรว็ ใหช้ ดั เจน และสอดคล้องกับระดับความสามารถ ต้องการความรกั และห่วงใย ของผูเ้ รียน ส่งเสริมใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ ใชเ้ ทคโนโลยีมาเป็นสง่ิ สนับสนุนการโคช้ วางแผนการโค้ชให้ตรงเปา้ ตรงประเดน็ ใหค้ วามรักความเมตตาแก่ผู้เรียน โดยการแสดงออก อย่างเหมาะสม ใชก้ ารสือ่ สารทางบวก
72 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอื่ การรูค้ ดิ การวเิ คราะหต์ ามกรอบ Generation Alpha ( ) ผู้เรียนยุค Generation Alpha หรืออาจเรียกว่า Gen A ตัวอักษร เป็นอักษรกรีก อ่านว่า “อัลฟา” เป็นยุคท่ีต่อจาก Generation Z เกิดต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป (Mccrindle. 2015) ซึ่งเป็นคนเกิดมาในยุคที่เทคโนโลยีมีความ เจริญก้าวหน้าอย่างมาก พ่อแม่ท่ีมีการศึกษาสูงทาให้เด็ก Gen A ได้รับการศึกษามาก มีความเป็นส่วนตัวสูง เรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยี มีกระบวนการเรียนรู้ของ ตนเอง และต้องการความรักความห่วงใย (Mccrindle. 2015, Tootell, Freeman, and Freeman. 2014) ตาราง 5 แนวการโคช้ จาแนกตามลักษณะเด่นของ Generation Alpha ลกั ษณะเด่นของ Gen A แนวการโคช้ ใชเ้ ทคโนโลยใี นการเรียนรู้ มีความเปน็ ส่วนตวั สูง ใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสาคญั ของการโค้ช ชอบเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง เพอื่ กระตุ้นการรู้คดิ และการเรียนรูข้ องผู้เรยี น ใหพ้ น้ื ที่ในการคิด การใช้จินตนาการสร้างสรรค์ มกี ระบวนการเรียนรู้ การใชก้ ระบวนการเรียนรู้อย่างอิสระ ของตนเอง เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเองใหม้ าก โดยใชพ้ ลังคาถามช้แี นะเป้าหมายการเรยี นรู้ ตอ้ งการความรกั และหว่ งใย ตลอดจนผลลพั ธข์ องการเรียนรู้ทต่ี อ้ งการ ประสบความสาเรจ็ ใหผ้ เู้ รียนใชก้ ระบวนการเรยี นรูไ้ ปส่เู ปา้ หมาย ดว้ ยวธิ กี ารของตนเอง โคช้ คอยใหค้ าแนะนา โดยการใชพ้ ลงั คาถามชี้แนะการรู้คิดให้ผ้เู รยี น ใชก้ ระบวนการเรียนรู้อย่างถกู ต้อง ให้ความรักความเมตตาแกผ่ เู้ รียน โดยการแสดงออก อยา่ งเหมาะสม ใช้การสื่อสารทางบวก
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอื่ การร้คู ิด 73 การอยู่รว่ มกบั Generation Z และ Alpha โค้ชที่จะอยู่ร่วมกับผู้เรียนท่ีอยู่ใน Generation Z และ Alpha มีแนวปฏิบัติ ดงั น้ี 1. ใหอ้ สิ ระในการควบคมุ ตารางงานของตนเอง 2. กาหนดเกณฑ์และหลักในการพจิ ารณาทชี่ ดั เจน 3. ยดื หยุ่นสถานที่ทางาน โดยเขา้ อนิ เทอร์เน็ต เฟสบุ๊ค ยูทปู เวปไซตต์ ่างๆ เพือ่ คน้ หาขอ้ มูล ไอเดยี แรงบนั ดาลใจ การติดต่องานผ่านสมาร์ทโฟน ตามที่ตนถนัดเพื่อผลงานที่มีคุณภาพ 4. Update เตมิ ความรู้ให้อย่างสมา่ เสมอ 5. Gen Z, Alpha กลวั มากทสี่ ุด คือ ความล้าสมยั 6. การใชภ้ าษาองั กฤษ เทคโนโลยี เพื่อนามาใชใ้ นการทางาน ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 7. เปดิ พ้นื ทใี่ ห้แสดงความคิดเห็นแต่ไมจ่ าเป็นต้องทุกเรื่อง 8. การเข้าถงึ บุคคลท่สี ามารถตดั สนิ ใจในการแก้ปัญหา เพราะต้องการคาตอบทแ่ี ก้ปัญหาไดจ้ ริง 9. การเสรมิ พลัง (empower) ในขอบข่ายหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ 10. การควบคมุ คณุ ภาพและความสมบูรณ์ของผลงาน
74 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอ่ื การรู้คดิ จรติ ในการเรยี นรู้ จริต (อารมณ์ทชี่ อบเกดิ ขน้ึ ) ของผเู้ รียนแตล่ ะคนมีความแตกต่างกันซึ่งในทาง พระพุทธศาสนาจาแนกออกเป็น 6 แบบดังนี้ (พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต. 2551) โทสจรติ ชอบความเรว็ ชอบใหส้ รุป ไม่ชอบเยิ่นเยอ้ โมหะจรติ งว่ งเหงาหาวนอน ชอบหลับ ศรัทธาจรติ เช่ืองา่ ย ตน่ื เต้น พุทธจริต ใฝ่รู้ ช่างสงสัย ชอบซกั ถาม วิตกจรติ ลงั เล ตัดสนิ ใจอะไรไม่ได้ ราคะจรติ ชอบความสวยงาม มองภาพรวม ตาราง 6 แนวการโค้ชจาแนกตามจรติ ของผเู้ รยี น จรติ ของผู้เรยี น แนวการโคช้ โทสจรติ รวดเรว็ ชดั เจน ตรงประเด็น ไม่อ้อมค้อม กระชบั ไม่ขยายรายละเอยี ด โมหะจริต กระตุน้ ใหต้ ่นื ตวั กระต้นุ ให้กระฉบั กระเฉง สรา้ งความสนุกสนานและทา้ ทาย ศรทั ธาจริต อธิบายให้เหตุผล ยกตัวอย่างสนับสนนุ แสดงตวั อย่าง ประกอบให้เห็นจรงิ ชนี้ าใหป้ ฏิบตั ิ ชีใ้ ห้เหน็ ประโยชน์ พทุ ธจรติ อธบิ ายสาระสาคัญ แนะนาแหล่งความรู้ ช้ีแนะให้ลองปฏิบัติ ต้งั คาถามใหค้ ิด วิตกจรติ ใหก้ าลงั ใจ เสริมแรงทางบวก ชมเชย กระต้นุ ใหต้ ัดสินใจ สง่ เสริมให้ใชเ้ หตผุ ล ราคะจริต ใช้ภาษาสภุ าพอ่อนหวาน นมุ่ นวล ให้ความสาคัญกบั อารมณ์ และความรสู้ ึก
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอื่ การรคู้ ดิ 75 รูปแบบการเรยี นรู้ของ Grasha (1996) แบ่งออกเปน็ 6 รปู แบบ ดังตอ่ ไปนี้ 1. แบบแขง่ ขัน มีลักษณะสาคัญคือ ชอบการเอาชนะเพ่ือนๆ ในช้ันเรียน ชอบกจิ กรรมการเรยี นรู้ทมี่ ีลักษณะของการแขง่ ขันตา่ งๆ 2. แบบอิสระ มีลักษณะสาคัญคือ มีความเช่ือม่ันในตนเอง ควบคุม ตนเองได้ดี วางแผนการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่ชอบการควบคุม และสง่ั การ 3. แบบหลีกเลย่ี ง มีลักษณะสาคัญคือ ไม่สนใจปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ มักมขี อ้ อ้างเพื่อท่ีจะไม่ต้องปฏบิ ัตกิ ิจกรรมที่ตนเองไม่ต้องการ 4. แบบพ่ึงพา มีลักษณะสาคัญคือ ขาดความเช่ือมั่นในตนเอง ต้องมี เพ่ือนร่วมปฏิบัตกิ จิ กรรมดว้ ย ตอ้ งการไดร้ ับการเสริมแรงจากบุคคลรอบขา้ ง 5. แบบร่วมมือ มีลักษณะสาคัญคือ ร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ เชน่ การแสดงความคิดเหน็ การทางานกลุม่ เปน็ ต้น 6. แบบมีส่วนร่วม มีลักษณะสาคัญคือ เข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรม การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง ร่วมรับผดิ ชอบในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตาราง 7 แนวการโค้ชจาแนกตามรปู แบบการเรียนรู้ของผู้เรียน รปู แบบการเรยี นรู้ แนวการโค้ช แขง่ ขัน กระต้นุ ให้เอาชนะภารกิจที่ทา้ ทายความสามารถ การเอาชนะใจตัวเอง หลีกเลี่ยงการเอาชนะผูอ้ ่นื
76 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอื่ การรู้คดิ ตาราง 7 แนวการโคช้ จาแนกตามรปู แบบการเรยี นรู้ (ตอ่ ) รูปแบบการเรียนรู้ แนวการโค้ช อิสระ หลกี เลย่ี ง ให้ผูเ้ รียนวางแผนการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ให้อสิ ระในการ พงึ่ พา ใชก้ ระบวนการเรียนรู้ทผี่ ูเ้ รียนตอ้ งการ ลดการควบคุม รว่ มมือ ให้ความเอาใจใส่ต่อกระบวนการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น กระตุน้ ให้มวี นิ ยั ในตนเองตอ่ การเรียนรโู้ ดยใช้พลงั คาถาม มีสว่ นร่วม สรา้ งความเชื่อม่นั ในตนเองให้กับผู้เรยี น กระตนุ้ พลงั ของ การเรยี นรู้ สร้างแรงจงู ใจภายในในการเรียนรู้ กระตนุ้ การคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ทีผ่ ู้เรยี นอาจใหค้ วามร่วมมือ ได้เปน็ อย่างดีจนขาดการรเิ ริ่ม กระตุ้นให้ผู้เรยี นใช้ศักยภาพสูงสดุ ในการเข้าไปมีส่วนร่วม ในกิจกรรมการเรยี นรตู้ ่างๆ เมื่อโค้ชทราบจริตในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนแล้วจะสามารถใช้เทคนิค วิธีการโค้ชได้เหมาะสมกับจริตของผู้เรียนแต่ละคน เช่น ผู้เรียนที่มีจริตเป็นโทสจริต โค้ชไม่ควรพูดมาก แต่ควรพูดให้กระชับ ชัดเจน ตรงประเด็น ไม่ขยายรายละเอียด หากผู้เรยี นมจี ริตเปน็ ราคะจริต จะชอบฟังคาพดู ทอี่ ่อนหวาน นมุ่ นวล ไพเราะ เป็นต้น 9 ลกั ษณะของผู้เรยี นทโ่ี ค้ชควรใส่ใจ นอกจากที่ได้กล่าวถึงธรรมชาติของผู้เรียนจาแนกตามกรอบการวิเคราะห์ ต่างๆ แล้ว หากมองผู้เรียนในภาพรวมยังสามารถจัดกลุ่มลักษณะเด่นในภาพรวมได้อีก 9 ลักษณะท่ีโคช้ ควรนามาพจิ ารณาออกแบบการโค้ชให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน ดังตอ่ ไปน้ี
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรูค้ ดิ 77 1. คนสมบรู ณ์แบบ (Perfectionist) - จรงิ จังกบั ความรับผิดชอบ - ปรารถนาจะให้ส่ิงที่ทาไม่มีขอ้ บกพร่อง - กากับตนเองดว้ ยมาตรฐานท่ีสูง - มคี วามรสู้ ึกว่าต้องทาได้มากกว่านี้ - ชขี้ ้อบกพร่องไดท้ นั ที 2. ผใู้ ห้ (Giver) - ต้องให้ผ้อู น่ื อย่างเต็มที่ก่อน จึงจะรบั - ชว่ ยเหลอื สร้างความสมั พนั ธท์ ่ีดี - เหน็ อกเหน็ ใจผู้อนื่ - สามารถให้ในสิ่งท่ีอกี ฝ่ายต้องการจริงๆ 3. นกั แสดง (Performer) - มีพลงั ชอบทางาน - นิสัยแขง่ ขันสงู - มีความท้าทายความสามารถของตนเอง - ม่งุ มัน่ ส่เู ปา้ หมาย - เปน็ ผนู้ า 4. อารมณ์ศิลปิน (Romantic) - มอี ารมณ์ศิลปนิ - มุง่ มนั่ ในอดุ มคติหรืองานอันเป็นแก่นแท้ - ความหมายของชีวติ - เข้าใจและเก้ือหนุนผ้อู ืน่
78 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอ่ื การร้คู ดิ 5. นกั สงั เกตการณ์ (Observer) - ดาเนินชวี ิตโดยวางตวั ห่างๆ - ชอบสงั เกตมากว่าตนเองเข้าไปเกย่ี วข้อง - อยอู่ ย่างพอเพยี ง - คดิ วิเคราะห์ - ชอบความเป็นส่วนตัว 6. ผภู้ ักดี (Royal Skeptic) - แสวงหาแหล่งที่มาเพ่ือปอ้ งกัน - ชอบเก็บตัว มคี วามกังวล - ปอ้ งกนั ตนเอง - ถา้ เปน็ มติ รใครจะมีความซื่อสัตย์ - ผูกพนั กับกลมุ่ ทีเ่ ชอ่ื ถือได้ 7. ผเู้ สพ (Epicene) - มองโลกในแงด่ ี - กระตือรือร้น - หลบหลีกเก่ง - ไมช่ อบถกู บังคับ - มุ่งอนาคต - มคี วามคิดใหม่ - สรา้ งเครือข่ายไดด้ ี 8. ผปู้ กป้อง (Protect) - มคี วามเขม้ แข็ง มีพลงั - ชอบทาและมีความชดั เจน - ควบคุมตนเองและอาจจะครอบงาผ้อู นื่ - ใช้พลังอานาจในตน
บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรูค้ ิด 79 9. ผ้ปู ระสานไมตรี (Mediators) - มีทกั ษะมนุษยสมั พันธ์ - ไม่ชอบความขดั แย้ง - ชอบสบายๆ และไปเรื่อยๆ - ชอบผดั ผอ่ นสง่ิ ที่จาเป็นตอ้ งทาของตนเอง - รอจนนาทีสุดทา้ ย ธรรมชาติของผู้เรียนเป็นข้อมูลสาคัญที่โค้ชต้องศึกษาวิเคราะห์ให้ชัดเจน ซ่ึงจะทาให้ใชว้ ิธกี ารโคช้ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสบความสาเร็จ การวิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียนของโค้ช ควรใช้วิธีการเชิงคุณภาพ เช่น การสังเกตพฤติกรรม การพูดคุย การซักถาม การพิจารณาจากผลงานของผู้เรียน ซ่ึงวิธีการเหล่าน้ีจะทาให้โค้ชได้ข้อมูลอย่างลึกซ้ึงและมีความเช่ือถือได้สูง นาไปสู่การ วิเคราะหธ์ รรมชาตขิ องผู้เรียนรายบคุ คลซ่ึงมีความแตกต่างกันส่งผลให้ต้องใช้วิธีการโค้ช ทแี่ ตกต่างกนั การโคช้ จงึ เปน็ ท้งั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ข้นั สูง สาหรับผู้สอนในปัจจุบันท่ีต้องอยู่ กับผู้เรียนรุ่นใหม่ท่ีมีความหลากหลาย มีศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ยึดตนเอง เป็นสาคัญ ชอบความรวดเร็ว มีความเป็นส่วนตัวสูง ชอบลงมือปฏิบัติมากกว่าการฟัง ชอบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ซ่ึงโค้ชจะสามารถทาการโค้ช ไดป้ ระสบความสาเร็จจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องรจู้ กั ผู้เรยี นอย่างแทจ้ ริง
80 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอื่ การรคู้ ดิ สรุป สาระสาคัญท่ีนาเสนอในบทนี้ ได้กล่าวไว้ว่า หลักการพ้ืนฐานของการโค้ช เพื่อการรู้คิด หมายถึง กระบวนการพัฒนาผู้เรียนโดยผู้สอนทาหน้าท่ีเป็นโค้ช ดึงศักยภาพของผู้เรียนด้านความรู้ความสามารถ การคิด ตลอดจนคุณลักษณะอันพึง ประสงคต์ ามทีก่ าหนดไว้ การโคช้ เพ่อื การรู้คดิ เป็นกลไกเพอ่ื เสรมิ สร้างและพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ ความสามารถ การคิดขั้นสูง (higher – order thinking) และมีวิธีการ เรียนรู้ (learning how to learn) การตรวจสอบประเมินตนเอง กาหนดทิศทางการ พัฒนาตนเอง โดยสงิ่ ที่โค้ชจะต้องมี คือ จรณทักษะ (soft skills) เป็นทักษะทางสังคม และความฉลาดทางอารมณ์ที่แสดงออกผ่านทาง EQ ซึ่งอยู่ทางสมองซีกขวา ซึ่งเป็น ความสามารถทางสังคม การจัดการตนเอง การควบคุมอารมณ์ การมองบวก การ ติดต่อสื่อสารและความเป็นมิตรและทักษะด้านความรู้ทางวิชาการ (hard skills) จะต้องมีความรู้ ความสามารถที่กาหนดโดยเชาว์ปัญญา (IQ) ซ่ึงอยู่ทางสมองซีกซ้าย สาหรับกลไกท่ีนาไปสู่ความสาเร็จของการโค้ช ประกอบด้วย 1) สร้างแรงบันดาลใจ ให้กับผู้เรียน 2) ให้กาลังใจสนับสนุนผู้เรียน 3)แก้ไขปรับปรุงข้อผิดพลาดให้ผู้เรียน 4) สร้างความท้าทายให้ผู้เรียน 5) ภาวะผู้นาทางวิชาการ 6) สุนทรียสนทนา 7) การ ถอดบทเรียน 8) ความผูกพันของผู้เรียนกับโค้ช 9) การต้ังคาถามกระตุ้นการคิด โดยใช้ กระบวนการของการโค้ชเพื่อการรู้คิดท่ีนาไปสู่การบรรลุเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) การกาหนดเป้าหมาย 2) การตรวจสอบสภาพจริง 3) การกาหนดทางเลือก 4) การ ตัดสินใจ และ 5) การประเมินผลการโค้ชให้สอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียนซึ่งเป็น ข้อมูลสาคัญที่โค้ชต้องศึกษาวิเคราะห์ให้กระจ่างชัด ซ่ึงจะทาให้ใช้วิธีการโค้ชได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสบความสาเร็จ
บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพื่อการรู้คิด 81 บรรณานุกรม พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบบั ประมวลศพั ท์. พมิ พค์ รั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: บริษทั เอส. อาร.์ พรน้ิ ติง้ แมส โปรดกั ส จากัด. วชิ ัย วงษใ์ หญ่ และมารตุ พัฒผล. (2557). กระบวนทัศน์ใหม่การ Mentor and Coaching ในสังคมส่อื สารสนเทศ เพอื่ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพนกั ศกึ ษา ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู. กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. Anderson, Lorin. W, & Krathwohl, David. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Abridged Edition, New York: Longman. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Grasha, A.F. (1996). Teaching with style: A Practical guide to enhancing learning by understanding teaching and learning styles. Pittsburgh: Alliance Publishers. Happen Group. (2014). Generation Z The New Kinds on The Block Have Arrived. Happen Group Ltd. Retrieved from http://www.cornwall.gov.uk/media/8938343/Generation-Z.pdf 5 August 2015. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press.
82 บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพ่อื การรคู้ ดิ Marzano, Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Mccrindle, Mark. (2015). Beyond Z: Meet Generation Alpha. Retrieved from http://mccrindle.com.au/resources/whitepapers/ McCrindle-Research_ABC-10_Beyond-Z_Meet-Generation- Alpha_Mark-McCrindle.pdf, 5 August 2015. Sladek, Sarah and Grabinger, Alyx. (2015). Gen Z The First Generation of The 21st Century Has Arrived!. XYZ University Next Generation Intelligence. Retrieved from http://xyzuniversity.com/ wp-content/uploads/2014/02/GenZ_Final.pdf , 5 August 2015. Sobel, Andrew and Panas, Jerold. (2012). Power Questions: Build Relationships, Win New Business, and Influence Others. New York: John Wiley & Sons, Incorporated. Sweeney, Diane. (2010). Student – Centered Coaching: A guide for K – 8 Coaches and Principals. California: Corwin Press. Tootell, Holly; Freeman, Mark; and Freeman, F. Alison. (2014). Generation Alpha at the Intersection of Technology, Play and Motivation. 47th Hawaii International Conference on System Sciences (HICSS), United States: The Institute of Electrical and Electronics Engineers. pp. 82 - 90
บทที่ 3 การรคู้ ดิ 83 บทที่ 3 การโค้ชเพื่อการร้คู ิด บนฐานทฤษฎีการเรียนรูก้ ล่มุ การรูค้ ดิ
84 บทที่ 3 การรคู้ ดิ การรคู้ ิด เป็นศกั ยภาพของสมอง ในการเรียนรู้ของทกุ คน
บทที่ 3 การรู้คดิ 85 บทนา การนาเสนอเนอื้ หาสาระ เรอ่ื ง การรูค้ ดิ มงุ่ สรา้ งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สาระสาคัญของการร้คู ิด ทกั ษะการรคู้ ดิ และการคิด ขน้ั สงู โดยมสี าระสาคญั ดังตอ่ ไปน้ี 1. การรู้คิดเป็นกระบวนการทางสมอง (mental process) หรือการ กระทาทางสมอง หรือกระบวนการท่ีสมองมีปฏิสัมพันธ์กับข้อมูลสารสนเทศต่างๆ แลว้ มกี ารประมวลผลเพ่อื เป็นสารสนเทศนาไปส่กู ารคดิ 2. ทักษะการร้คู ิด เป็นความสามารถในคิดและการเรยี นรู้ ประกอบด้วย การรับรู้ (perception) คว ามสนใจ (attention) การจา ( memory) ภาษา (language) และการคิด (thinking) โดยมีสมอง (brain) เป็นส่วนประมวลผลข้อมูล (processing) ที่รบั เขา้ มาจากประสาทสมั ผัสตา่ งๆ ก่อให้เกิดการคดิ และการเรียนร้ขู ึ้น การรับรู้ เป็นการแปลความหมายข้อมูลท่ีบุคคลได้รับจาก ส่ิงแวดล้อมผ่านทางอวัยวะรับสัมผัส (sensory motor) ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง ซง่ึ การรับรู้เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ ความสนใจเปน็ กระบวนการทางสมองในการเลือกให้ความสาคัญกับ ส่ิงใดสิ่งหน่ึงในขณะท่ีไม่สนใจสิ่งอ่ืน ความสนใจเกิดข้ึนได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) ความ สนใจทเี่ กดิ จากปัจจยั ภายนอกหรือสิ่งเร้า 2) ความสนใจทเ่ี กดิ จากปจั จยั ภายใน การจาเปน็ กระบวนการที่สมองลงรหัสข้อมูล (encoding) โดยข้อมูล สารสนเทศแล้วจดั เกบ็ (stored) ไว้ในความทรงจาและสามารถค้นคืน (retrieved) มา ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ภาษาเป็นความสามารถในการเรียนรู้ระบบการใช้สัญลักษณ์ท่ีมี ความซบั ซ้อนเพ่อื การส่ือสารของบุคคล เป็นประเดน็ หนึ่งของการศึกษาดา้ นการรู้คิด การคิด เป็นศักยภาพของสมองในการประมวลข้อมูล เพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ของการคิด เช่น การทาความเข้าใจ การตีความ การทานาย การประเมิน
86 บทท่ี 3 การรคู้ ดิ คุณค่า การจาแนก การจัดหมวดหมู่ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การสร้างสรรค์ นวัตกรรม เปน็ ตน้ 3. การพฒั นาการคิดข้นั สงู ของผู้เรยี นเป็นภารกจิ ที่สาคัญของโค้ชทุกคน ในการพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดต่างๆ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน การใช้พลังคาถาม (power questions) การทบทวนหลังการปฏิบัติ (after action review) การถอดบทเรียน (lesson learned) และการแลกเปล่ียนเรยี นรู้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389