Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5_1544714623

การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5_1544714623

Description: การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5_1544714623

Search

Read the Text Version

บทท่ี 8 การให้ขอ้ มูลย้อนกลับอยา่ งสรา้ งสรรค์ 287 บรรณานุกรม Anderson, Lorin. W, & Krathwohl, David. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Abridged Edition, New York: Longman. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Marzano, Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Sobel, Andrew and Panas, Jerold. (2012). Power Questions: Build Relationships, Win New Business, and Influence Others. New York: John Wiley & Sons, Incorporated. Sweeney, Diane. (2010). Student – Centered Coaching: A guide for K – 8 Coaches and Principals. California: Corwin Press.

288 บทท่ี 8 การให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั อย่างสรา้ งสรรค์ การให้ข้อมูลย้อนกลบั ที่มปี ระสทิ ธิภาพ ชว่ ยทาใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรู้ และพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่อื ง

บทที่ 9 การใหข้ อ้ มูลเพ่อื การเรยี นร้ตู ่อยอด 289 บทที่ 9 การใหข้ ้อมูลเพอ่ื การเรยี นรตู้ อ่ ยอด

290 บทที่ 9 การให้ขอ้ มูลเพ่อื การเรยี นรู้ต่อยอด ผู้เรยี นมีเป้าหมายในการเรยี นรูท้ ีแ่ ตกตา่ งกัน โค้ชควร feed – forward ตอบโจทยเ์ ป้าหมายตา่ งๆ ดงั นี้ เปา้ หมายการเรียนรู้ของผเู้ รยี น เปา้ หมายการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นมีหลายประเภท เปา้ หมายการเรยี นรู้ (Learning goals) เปา้ หมายสมรรถนะ (Performance goals) เป้าหมายหลบหลกี การทางานหนกั (Work – Avoidant goals) เปา้ หมายการเรยี นรู้หลายอยา่ งช่วยเสรมิ (Synergy) ซึง่ กันและกัน เปา้ หมายดา้ นความชอบ (Affective goals) เปา้ หมายทางสังคม (Social goals) การได้รบั การยอมรับเป้าหมายจากโค้ช จะสง่ เสริมใหเ้ ปา้ หมายการเรียนรูม้ พี ลงั เขม้ แขง็ ขน้ึ

บทท่ี 9 การให้ขอ้ มูลเพ่อื การเรยี นรู้ตอ่ ยอด 291 บทนา การนาเสนอเนอ้ื หาสาระ เรื่อง การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) มุ่งสรา้ งความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดของการให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ ต่อยอด ความสาคัญของการให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอด และแนวทางการให้ข้อมูล เพ่ือการเรียนรู้ตอ่ ยอดที่กระตนุ้ การคดิ ขน้ั สูง โดยมีสาระสาคัญดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอดเป็นการให้ข้อมูลสารสนเทศ โดยโค้ช เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพมากขึ้น ภายหลัง การจัดการเรียนการสอน โดยมีจุดเน้นไปท่ีการเรียนรู้หรือการพัฒนาจะเกิดขึ้น ในอนาคต (focus on future learning) มากกว่าการมองย้อนกลับไปท่ีผลการเรียนรู้ หรือผลงานทเ่ี กดิ ขน้ึ ในอดตี 2. การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอดมีความสาคัญต่อผู้เรียนหลาย ประการโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การวางแผนการเรียนรู้ และการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ของผเู้ รียน 3. การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอดมีวิธีการที่มีประสิทธิภาพหลาย วิธี โดยมีวิธีที่สาคัญได้แก่ Concept mapping, Learning outcomes mapping, Advance organizer, Power questions, Cognitive guided, Group discussion, Classroom assessment – based, Root cause misconceptions analysis, Self – reflection, Self – assessment, Dialogue, Peer coaching 4. การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอดนั้นเพื่อเสริมสร้างการคิดขั้นสูง นั้นโค้ชสามารถกาหนดกิจกรรมต่างๆ ให้ผู้เรียนไปเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองตามความ สนใจ ได้ตามบริบทของการโค้ช ซ่ึงสามารถช่วยเสริมสร้างการคิดขั้นสูงของผู้เรียน ได้อย่างตอ่ เนื่อง

292 บทท่ี 9 การให้ข้อมลู เพอ่ื การเรยี นรูต้ ่อยอด ส่ิงทผ่ี ู้เรยี นทาไมถ่ กู ต้อง อาจเปน็ เพราะขาดความรู้ ทักษะหรือยังไมม่ ีความถนัด

บทท่ี 9 การใหข้ ้อมลู เพื่อการเรยี นรู้ต่อยอด 293 9.1 แนวคิดของการให้ขอ้ มูลเพอ่ื การเรยี นรูต้ ่อยอด 9.2 ความสาคญั ของการใหข้ ้อมลู เพอ่ื การเรยี นรู้ต่อยอด 9. การให้ขอ้ มูล 9.3 วิธกี ารให้ข้อมลู เพื่อการเรียนร้ตู อ่ ยอด เพ่อื การเรียนร้ตู ่อยอด 9.4 กิจกรรมการเรยี นรู้ต่อยอดที่เสรมิ สร้างการคดิ ขนั้ สงู 9.5 ตวั อย่างการโคช้ เพอ่ื การรูค้ ิดจากประสบการณ์ และการวิจัย

294 บทท่ี 9 การให้ขอ้ มลู เพือ่ การเรยี นร้ตู อ่ ยอด การให้ข้อมลู เพ่ือการเรียนรู้ตอ่ ยอด เป็นการใหข้ ้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้ผูเ้ รยี นสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองให้มคี ุณภาพมากข้นึ

บทที่ 9 การใหข้ อ้ มลู เพอื่ การเรยี นรู้ตอ่ ยอด 295 9.1 แนวคดิ ของการใหข้ อ้ มลู เพอ่ื การเรยี นรูต้ อ่ ยอด การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) ในมิติของการรู้คิด หรือ Cognitive Science เป็นการให้ข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพมากข้ึนโดยมีจุดเน้นไปที่การเรียนรู้หรือการพัฒนา จะเกิดข้ึนในอนาคต (focus on future learning) มากกว่าการมองย้อนกลับไปที่ผล การเรียนรหู้ รือผลงานทเี่ กดิ ข้นึ ในอดีต การให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอดเป็นวิธีการพัฒนาผู้เรียนวิธีการหนึ่ง โดยโค้ชให้ข้อมูลแก่ผู้เรียนว่าสิ่งที่ผู้เรียนควรจะมีพัฒนาการท่ีดีข้ึนในอนาคตคืออะไร เพ่ือให้ผู้เรียนไปเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้ดียิ่งข้ึน บนฐานความรู้ ทักษะ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยที่อาจกระทากับผู้เรียนท้ังช้ันเรียน กลุ่มเล็ก หรอื รายบุคคลกไ็ ด้ การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ผู้เรียนทราบว่า การเรยี นรู้ที่จะเกิดขึน้ ในคร้ังต่อไป (อนาคต) คือเร่ืองอะไร มีสาระสาคัญ (concept) อย่างไร จะเรียนรู้อย่างไรจะต้องเตรียมความพร้อมในเร่ืองใด เพ่ือให้การเรียนรู้ ครั้งต่อไปนั้นมปี ระสทิ ธิภาพสูงสุด นอกจากนี้การให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอดยังมุ่งให้ผู้เรียนแต่ละคน ไป แส ว ง ห าคว าม รู้ ห รื อเ รี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เ อง เ พ่ิ มเ ติ ม ให้ มีคว ามรู้ คว า มเ ข้าใจ ท่ีชั ด เ จ น มีทักษะท่ีคล่องแคล่วมากขึ้น ตามความสนใจของผู้เรียนในลักษณะการเรียนรู้ส่วน บคุ คล (individualize learning) อกี ดว้ ย โค้ชควรให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอดกับผู้เรียนอย่างหลากหลาย สอดคล้องกับระดับความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างเพียงพอ และเหมาะสมที่ผู้เรียนจะพัฒนาตนเองได้ประสบความสาเร็จในแต่ละข้ันตอนข องการ เรียนรู้

296 บทท่ี 9 การใหข้ ้อมูลเพ่อื การเรยี นรู้ต่อยอด การใหข้ อ้ มูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ (feed - up) การตรวจสอบความเข้าใจ ของผู้เรียน (checking for understanding) และการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) และการให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) มีความสัมพันธ์กับช่วงเวลา การเรยี นรู้ แสดงไดด้ ังแผนภาพต่อไปน้ี กอ่ นการเรียนรู้ ระหวา่ งการเรียนรู้ สน้ิ สุดการเรยี นรู้ Feed - up Checking for understanding Feedback Feed - forward แผนภาพ 23 ความสมั พันธ์ของการใหข้ อ้ มูล 3 แบบ และการตรวจสอบความเข้าใจ กบั ช่วงเวลาของการเรยี นรู้ จากแผนภาพแสดงให้เห็นว่าการให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้เน้นที่ การสร้างความพร้อมและแรงจูงใจในการเรียน การตรวจสอบความเข้าใจเน้นที่ระหว่าง การจัดการเรียนรู้หรือการโค้ช การให้ข้อมูลย้อนกลับเน้นไปที่การเรียนรู้ในปัจจุบัน และท่ีผ่านมาในอดีต ส่วนการให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอดเน้นไปท่ีการเรียนรู้ และการพฒั นาทจี่ ะมีขน้ึ ในอนาคต

บทที่ 9 การใหข้ ้อมลู เพ่อื การเรยี นรู้ต่อยอด 297 9.2 ความสาคญั ของการใหข้ อ้ มูลเพ่อื การเรยี นร้ตู ่อยอด การให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอดมีความสาคัญต่อผู้เรียนหลายประการ ดงั นี้ 1. ผู้เรียนทราบประเด็น หัวข้อ สาระสาคัญ หรือทักษะที่จะเรียนรู้ ในการเรยี นครง้ั ตอ่ ไป ซง่ึ มคี วามตอ่ เน่ืองหรอื เช่อื มโยงจากการเรียนรู้ในครง้ั ปัจจบุ ัน 2. ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ของตนเองได้ จากการทเ่ี ขาทราบวา่ จะมีการเรยี นรู้อะไรในการเรยี นรู้ครง้ั ตอ่ ไป 3. ผู้เรียนสามารถวางแผนการเรียนรู้และการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ทีส่ อดคลอ้ งกบั ระดับความสามารถและธรรมชาติของตนเอง เพื่อให้ประสบความสาเร็จ ในการเรียนรู้คร้ังตอ่ ไปได้ 4. ผู้เรียนสามารถเตรียมความพร้อมเก่ียวกับเน้ือหาสาระท่ีจะมีการ เรียนรู้ไว้ลว่ งหน้าได้ จากการท่ีทราบวา่ จะมกี ารเรยี นรู้อะไรในคร้งั ต่อไป 5. ผู้เรียนสามารถเตรียมการฝึกทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการพัฒนา ทกั ษะใหมท่ ่จี ะมกี ารเรยี นรู้ได้ 6. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาวินัยในตนเองอย่างบูรณาการ ผ่านการ เตรยี มความพร้อมในการเรยี นรลู้ ่วงหน้า 7. ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้เวลาในการเรียนรู้ โดยจะสามารถใช้ เวลาในการเรียนรู้ในส่ิงที่เป็นสาระสาคัญได้มากข้ึน ซ่ึงเป็นผลมาจากการเตรียมความ พร้อมของผเู้ รยี น

298 บทท่ี 9 การให้ขอ้ มลู เพอื่ การเรยี นรูต้ อ่ ยอด 9.3 วิธกี ารให้ขอ้ มลู เพ่ือการเรยี นรูต้ อ่ ยอด การใหข้ อ้ มลู เพอื่ การเรียนรูต้ อ่ ยอดมีวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพหลายวิธี โดยมี วธิ ที ส่ี าคญั ดงั น้ี 1. Concept mapping หรือผงั มโนทศั น์ของบทเรียนท่ีจัดทาขึ้นอย่าง เป็นระบบก่อนท่ีจะเริ่มการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ โดยมีความครอบคลุมทั้ง องค์ความรู้ ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ สมรรถนะ และคุณลักษณะ ช่วยทาให้ผู้เรียน ทราบว่าเม่ือสิ้นสุดการเรียนหน่วยการเรียนรู้ปัจจุบันแล้ว หน่วยการเรียนรู้ต่อไป คอื อะไร มปี ระเด็นสาคญั อะไรบา้ งทีจ่ ะต้องเรยี นรู้ 2. Learning outcomes mapping หรือผังผลการเรียนรู้ เป็นการ แสดงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละช่วงเวลาหรือในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ให้เห็นว่า เปน็ อย่างไร มีพฒั นาการอยา่ งไร 3. Advance organizer หรือการให้สังกัปแนวหน้า เป็นการฉายภาพ การเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ครอบคลุมสาระสาคัญ กระบวนการเรียนรู้ แหล่งการ เรียนรู้ วัสดุอุปกรณ์ท่ีจะต้องใช้ในการเรียนรู้ ระยะเวลา ตลอดจนวิธีการวัดและ ประเมินผลชว่ ยทาใหผ้ เู้ รยี นเหน็ ภาพของการเรยี นร้โู ดยรวมในการเรยี นรคู้ รัง้ ตอ่ ไป 4. Power questions หรอื การใช้พลังคาถามกระตุ้นให้ผู้เรียนวินิจฉัย และพัฒนาตนเอง ชี้แนะประเด็นและวิธีการเรียนรู้หรือพัฒนาที่เหมาะสมกับผู้เรียน เพิม่ แรงบนั ดาลใจในการเรียนรู้ ใหก้ าลังใจผ้เู รียน และเสรมิ พลังอย่างต่อเน่ือง เช่น - เธอมั่นใจวา่ ทางานชิ้นน้ีดที ี่สุดแล้วใช่ไหม - แน่ใจนะว่าเธอทาสุดฝมี ือแล้ว - ครเู ชอ่ื วา่ การทางานคร้งั นี้จะประสบความสาเร็จ มากกวา่ ครัง้ กอ่ นอย่างแน่นอน

บทท่ี 9 การใหข้ อ้ มลู เพือ่ การเรยี นรูต้ ่อยอด 299 - ทางานช้นิ นเ้ี สร็จแลว้ นามาใหค้ รูชนื่ ชมด้วยนะ - ขอใหม้ คี วามละเอียดรอบคอบในการทางานชิ้นน้ี ผลงานจะออกมาดมี าก 5. Cognitive guided หรอื การช้ีแนะทางการรู้คิด เป็นการกล่าวแนะ ให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดด้วยตนเอง ว่าตนเองควรจะมีพัฒนาการเรียนรู้ในอนาคต หรือในการเรียนรู้คร้ังต่อไปเป็นอย่างไร วิธีการนี้เน้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็น สาคัญ มากกว่าการบอกกล่าวจากโค้ช นับว่าเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูงสาหรับ ผู้เรียนที่มีวินัยในตนเอง (self - discipline) มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ เน่ืองจาก ผเู้ รยี นกลุ่มนี้จะคิดเองได้ว่าส่ิงทโ่ี คช้ ชแี้ นะน้นั หมายความวา่ อย่างไร 6. Group discussion หรือการอภิปรายกลุ่ม เป็นวิธีการท่ีโค้ชเปิด โอกาสให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายเก่ียวกับกระบวนการทางาน ( process) ความกา้ วหน้า (progress) และผลลัพธ์ (product) ของกล่มุ ว่าจะต้องมีการพัฒนาให้ดี ข้ึนในอนาคตอย่างไร ผู้เรียนท่ีอยู่ในกลุ่มเดียวกันจะร่วมกันวิเคราะห์จุดที่กลุ่มจะต้อง พัฒนาโดยใช้ข้อมลู เชิงประจกั ษต์ ่างๆ ชว่ ยทาใหก้ ล่มุ มเี ปา้ หมายในการพัฒนาการเรียนรู้ ในอนาคตร่วมกัน 7. Classroom based - assessment เป็นการนาผลการประเมิน ระดับชั้นเรียนในปัจจุบัน มาเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับการกาหนดประเด็นของการ เรียนรู้ในอนาคต โดยโค้ชอาจจะเป็นผู้กาหนดด้วยตนเอง ในกรณีท่ีเป็นสิ่งที่สาคัญ จาเป็น และอาจจะให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดด้วยก็ได้ การให้ข้อมูลเพื่อการ เรียนรู้ต่อยอดด้วยวิธีการน้ีช่วยทาให้การเรียนรู้มีความสอดคล้องกับระดับความรู้ ความสามารถของผ้เู รียนที่มอี ยใู่ นปจั จบุ นั 8. Root cause misconceptions analysis วิธีการนี้โค้ชจะนาผล การวินิจฉัยสาเหตุของความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือนของผู้เรียน มาเป็นข้อมูลสารสนเทศ ในการให้ขอ้ มลู เพื่อการเรยี นรู้ในอนาคตของผู้เรียน วิธีการนี้ส่วนมากมักจะใช้กับผู้เรียน

300 บทท่ี 9 การใหข้ ้อมลู เพอื่ การเรยี นรูต้ ่อยอด เป็นรายบคุ คลมากกวา่ ทง้ั ชนั้ เรยี น เนื่องจากการให้ข้อมูลจะมุ่งให้ผู้เรียนไปศึกษาเรียนรู้ เพิ่มเตมิ ในประเด็นท่มี ีความเฉพาะเจาะจงตามความเข้าใจทค่ี ลาดเคล่ือนของผู้เรียน 9. Self – reflection หรือการสะท้อนคิดด้วยตนเอง เป็นวิธีการให้ ผู้เรียนใช้การคิดสะท้อน (reflective thinking) เก่ียวกับกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิด และผลการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อค้นหาประเด็นที่ต้องปรับปรุงและ พัฒนาให้ดียิ่งขึ้นในอนาคต ผู้เรียนท่ีมีรูปแบบการเรียนรู้ด้วยการคิดจะสามารถตอบ โจทย์ของโคช้ ได้วา่ ส่งิ ที่จะตอ้ งพัฒนาให้ดีขึน้ ในอนาคตนั้นคืออะไร 10. Self – assessment เป็นการให้ข้อมูลโดยให้ผู้เรียนประเมิน ตนเองจากข้อมูลเชิงประจักษ์ ในประเด็นท่ีโค้ชเห็นว่าผู้เรียนสามารถพัฒนาให้ดีข้ึนได้ ดว้ ยตนเองในอนาคต เน้นใหผ้ ู้เรยี นคน้ พบด้วยตนเอง โดยการประเมินน้ีมีความแตกต่าง จากการประเมินโดยทั่วไปในขั้น checking for understanding โดยการประเมิน ในสว่ นนี้ มุ่งให้ผเู้ รียนมองตนเองจนค้นพบวา่ สิง่ ท่ตี นสามารถทาให้ดีขึ้นได้ในอนาคตคือ อะไร ซ่งึ เป็นวธิ ีการทเี่ หมาะสาหรบั ผ้เู รยี นทม่ี ลี ักษณะมุง่ อนาคตสงู เนอ่ื งจากผู้เรียนกลุ่ม นีจ้ ะกาหนดเป้าหมายการเรียนรูข้ องตนเองไดด้ ี 11. Dialogue หรือสุนทรียสนทนา เป็นการใช้การสนทนาพูดคุย ในประเด็นต่างๆ ของการเรียนรู้ในปัจจุบัน เพ่ือนาไปสู่การกาหนดประเด็นและ เป้าหมายของการเรียนรู้ในอนาคต วิธีการน้ีโค้ชจะสนทนากับผู้เรียนเกี่ยวกับความรู้ ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ หรือกระบวนการคิดของผู้เรียนในลักษณะกลุ่มเล็ก หรือรายบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนคิดใคร่ครวญ ตรวจสอบ เกิดการรับรู้และนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงจากด้านใน (transformative learning) และเป็นผู้กาหนด ประเด็นการเรียนรู้และพัฒนาในอนาคตด้วยตนเอง วิธีการ Dialogue แตกต่างจากวิธี Self – reflection และ Self – assessment อยา่ งชดั เจนตรงทีว่ ิธีการ Dialogue เป็น วิธีการท่ีโค้ชจะต้องให้การช่วยเหลือประคับประคองผู้เรียนให้ค้นพบด้วยตนเอง มากกว่าวิธกี าร Self – reflection และ Self – assessment

บทท่ี 9 การใหข้ ้อมลู เพื่อการเรยี นร้ตู อ่ ยอด 301 12. Peer coaching วิธีการน้ีเป็นการให้ผู้เรียนที่เก่งกว่าทาหน้าที่ เป็นเป็นโค้ชในลักษณะเพ่ือนโค้ชเพ่ือน ช่วยวิเคราะห์เพื่อนและกาหนดประเด็นส่ิงที่ เพ่ือนควรมีการเรียนรู้และพัฒนาในอนาคต วิธีการน้ีจะต้องมั่นใจว่าเพื่อนที่เป็นโค้ชจะ สามารถเป็นโค้ชที่ดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ซ่ึงกัน และกัน ชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู กนั ตาราง 20 จุดเนน้ ของการ Feed – up, Checking for understanding, Feedback, Feed – forward ใน Process, Progress และ Product ของการเรียนรู้ Feed – up Process Progress Product ทักษะกระบวนการ ความก้าวหนา้ ผลผลติ ของการ Checking for ทจ่ี ะไดเ้ รยี นรู้ ของการเรียนรู้ เรยี นร้ใู นคร้งั น้ี understanding ในครง้ั น้ี คอื อะไร ในครั้งน้ี คืออะไร คืออะไร Feedback ทักษะกระบวนการ ความกา้ วหน้า ผลผลติ ของการ ทผ่ี ูเ้ รยี นในขณะน้ี ของการเรยี นรู้ เรียนรู้ในขณะน้ี เป็นอยา่ งไร ในขณะนีเ้ ป็นอย่างไร เป็นอยา่ งไร ทกั ษะกระบวนการ ความกา้ วหนา้ ผลผลติ ของการ ที่ผู้เรยี นทผี่ ่านมา ของการเรยี นรู้ เรยี นรู้ทผ่ี า่ นมา เปน็ อย่างไร ทผี่ ่านมา เป็นอย่างไร เปน็ อย่างไร Feed - forward ทกั ษะกระบวนการ ความกา้ วหน้า ผลผลติ ท่ผี ้เู รียน ทผ่ี ูเ้ รยี นควรพฒั นา ของการเรยี นรู้ ควรพฒั นา ในการเรยี นรู้ ทผ่ี ้เู รียนควรพัฒนา ในการเรยี นรู้ ครัง้ ตอ่ ไป ในการเรียนรู้ คร้ังตอ่ ไป หรือในอนาคต ครัง้ ต่อไป หรือในอนาคต คืออะไร หรือในอนาคต คอื อะไร คืออะไร

302 บทที่ 9 การให้ขอ้ มูลเพื่อการเรยี นรู้ต่อยอด 9.4 กจิ กรรมการเรยี นรู้ต่อยอดทเี่ สรมิ สรา้ งการคดิ ข้ันสงู การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอดนั้นเพ่ือเสริมสร้างการคิดข้ันสูงน้ัน โค้ชสามารถกาหนดกิจกรรมต่างๆ ให้ผู้เรียนไปเรียนรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเองตามความ สนใจ ได้ตามบริบทของการโค้ช ซึ่งสามารถช่วยเสริมสร้างการคิดขั้นสูงของผู้เรียน ได้อย่างต่อเน่ืองเพราะไม่ต้องคอยให้มาพบกันในชั้นเรียน ในท่ีน้ีผู้เขียนได้นาเสนอ ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ต่อยอดด้วยตนเอง ท่ีเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ การคิด ประเมินค่า การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างเป็นระบบ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ ตาราง 21 ตวั อยา่ งกจิ กรรมการเรยี นรตู้ อ่ ยอดด้วยตนเองเพื่อเสรมิ สรา้ งการคิดขน้ั สูง การคดิ ขัน้ สงู ตวั อย่างกิจกรรมการเรยี นรตู้ ่อยอด การวิเคราะห์ - จัดกล่มุ ความเหมอื น จาแนกความแตกตา่ ง - หาสาเหตุของปรากฏการณ์ตา่ งๆ อยา่ งมีเหตุผล - อธิบายความเกีย่ วขอ้ งของสงิ่ ตา่ งๆ พร้อมให้เหตุผล - จาแนกแยกแยะองค์ประกอบของสิง่ ใดสิง่ หน่ึง - คาดการณเ์ หตุการณ์ในอนาคตอย่างมีเหตุผล - คน้ หาสาเหตทุ ี่แทจ้ รงิ ของปญั หา - คน้ หาเหตุผลของการแสดงพฤติกรรมของบุคคล - คน้ หาปจั จยั ท่ที าให้เกิดเหตุการณ์ในชมุ ชน สงั คม - แยกแยะขอ้ เท็จจรงิ ออกจากความคดิ เห็น - วเิ คราะหข์ อ้ มลู สถติ แิ ละนาไปลงขอ้ สรปุ

บทท่ี 9 การให้ข้อมูลเพื่อการเรยี นรตู้ ่อยอด 303 ตาราง 21 ตวั อยา่ งกจิ กรรมการเรียนรู้ต่อยอดดว้ ยตนเองเพอ่ื เสริมสรา้ งการคิดขั้นสูง (ต่อ) การคิดขน้ั สงู ตวั อยา่ งกิจกรรมการเรียนรูต้ ่อยอด การประเมินค่า - ตดั สนิ ใจในเรื่องใดเรอ่ื งหน่งึ อยา่ งมีเหตุผล - ชีจ้ ุดแข็งหรอื จดุ ท่ีต้องปรับปรุงแกไ้ ขในเรื่องใดเรื่องหนงึ่ การสร้างสรรค์ - ตัดสนิ ใจกระทาอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งดว้ ยความถูกต้อง - หาทางออกของปญั หาใดๆ ดว้ ยวธิ ีการทถี่ กู ต้อง - ตดั สินคุณค่าของเร่ืองใดเรอื่ งหน่ึงอยา่ งมีเหตุผล - ตัดสนิ ปญั หาเรอื่ งใดเร่อื งหนงึ่ อย่างมเี หตุผล - ตรวจสอบคณุ ภาพของสง่ิ ใดสิ่งหน่ึงตามเกณฑท์ ีก่ าหนด - นาของเหลอื ใชม้ าปรับประยกุ ต์ใช้กับสิ่งใหม่ - แสวงหาวิธีการทางานใดๆ อย่างหลากหลาย - ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีประโยชน์ - แสวงหาวิธกี าร กระบวนการ หรอื เทคนคิ ใหม่ๆ - ประดิษฐ์สิง่ ของตา่ งๆ ตามความต้องการและเป็นประโยชน์ - พฒั นาสง่ิ ที่มีอยูแ่ ล้วใหด้ ยี ง่ิ ข้ึน - นาสิ่งทไี่ มใ่ ช้แลว้ กลบั มาใชป้ ระโยชน์อยา่ งอ่ืน - ปรบั ปรงุ สง่ิ ใดๆ ใหด้ ีขน้ึ - สรา้ งส่งิ ของเคร่อื งใชจ้ ากวัสดุต่างๆ ทม่ี ีอยู่ - แสวงหาส่ิงอืน่ มาทดแทนสงิ่ ที่ขาดหายไป - เสนอแนวทางหรอื วิธกี ารใหม่ท่แี ตกต่างไปจากเดิม - คิดหาวิธกี ารแก้ปญั หาให้สาเร็จอย่างหลากหลาย - ประดิษฐข์ องใชจ้ ากวัสดเุ หลอื ใช้ตา่ งๆ

304 บทท่ี 9 การใหข้ อ้ มูลเพ่อื การเรยี นรูต้ อ่ ยอด ตาราง 21 ตัวอย่างกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ่อยอดดว้ ยตนเองเพ่ือเสรมิ สรา้ งการคิดขนั้ สูง (ตอ่ ) การคิดข้นั สูง ตัวอยา่ งกิจกรรมการเรยี นรู้ต่อยอด การคิดอย่างมี - พจิ ารณาข้อดีขอ้ เสียของเรื่องใดเรื่องหนึง่ วิจารณญาณ - คดิ อย่างรอบด้านและตัดสินใจปฏบิ ตั ิหรือไม่ปฏบิ ตั ิ - พิจารณาข้อมลู ต่างๆ กอ่ นตัดสนิ ใจเชื่อหรอื ไมเ่ ชื่อ การคดิ เป็นระบบ - แสวงหาขอ้ มลู หลกั ฐานอย่างหลากหลาย นามาสงั เคราะห์ และตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่ง - แสวงหาทางเลอื กที่หลากหลายและตดั สินใจเลอื ก ทางเลอื กทีด่ ีทีส่ ุด - ตัดสนิ ใจปฏิบัตหิ รือไมป่ ฏบิ ตั ิโดยคานึงถงึ ผลกระทบ ทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ ขา้ งหน้า - กาหนดขั้นตอนการปฏิบตั งิ านใดๆ ดว้ ยตนเอง - วางแผนการปฏิบัตงิ านแบบครบวงจรตัง้ แต่ตน้ จนจบ - แสวงหาความสัมพันธเ์ ชือ่ มโยงของสง่ิ ตา่ งๆ - ออกแบบวงจรการปฏบิ ัตงิ านใดๆ - ปฏิบตั งิ านใดๆ ตามข้นั ตอนทก่ี าหนด - มองเร่ืองใดๆ ในภาพรวมและภาพยอ่ ยที่มีความสัมพนั ธก์ ัน - สรา้ งผงั ขนั้ ตอนของการปฏิบตั ิงานใดๆ - จดั ทาแผนที่ความสาเร็จของตนเองอย่างเปน็ ขน้ั ตอน - ปฏิบตั ิงานตามวงจร Plan Do Check Action - ลาดบั กิจกรรมการปฏบิ ัติงานทน่ี าไปสู่ความสาเรจ็ - ถอดบทเรยี นกระบวนการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง

บทท่ี 9 การใหข้ อ้ มลู เพือ่ การเรยี นรู้ต่อยอด 305 9.5 ตวั อยา่ งการโคช้ เพอ่ื การร้คู ดิ จากประสบการณ์และการวิจยั จากการที่ผู้เขียนได้ดาเนินโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาแนวการโค้ช สาหรับผู้สอนโรงเรียนปลายทางท่ีเสริมสร้างการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม ในระดับ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โดยลงพื้นท่ีในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยแบ่งระยะเวลาการโค้ชออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะก่อนการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม ระยะระหว่างการเรียนรู้ทางไกล ผ่านดาวเทียม และระยะหลังการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม ปรากฏผลดังต่อไปน้ี (มารุต พฒั ผล. 2558) แนวการโคช้ สาหรบั ผูส้ อนโรงเรียนปลายทางที่เสรมิ สร้าง การเรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สอนโรงเรียนปลายทางใช้เป็นแนวทางปฏิบัติการโค้ชในการ เรยี นร้ทู างไกลผ่านดาวเทยี มใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล 2. เพื่อให้ผู้บริหารใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมผู้สอนโรงเรียน ปลายทางให้สามารถทาการโค้ชในการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียมให้มีประสิทธิภ าพ และประสทิ ธผิ ล นิยามคาสาคัญ 1. แนวการโค้ช หมายถึง แนวปฏิบัติในการเตรียมความพร้อมก่อนมีการ เรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม แนวปฏิบัติระหว่างที่ดาเนินการเรียนรู้ทางไกล ผ่านดาวเทียมและแนวปฏิบัติหลังการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม ของผู้สอนโรงเรียน ปลายทาง

306 บทท่ี 9 การใหข้ ้อมูลเพือ่ การเรยี นรู้ตอ่ ยอด 2. ระยะก่อนการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม หมายถึง หมายถึง แนวปฏิบัติ เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนถึงวันท่ีจะมีการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม ในแตล่ ะคร้ัง 3. ระยะระหว่างการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม หมายถึง แนวปฏิบัติ ต้ังแต่เร่ิมต้นเข้าสู่ช้ันเรียนก่อนท่ีจะมีการถ่ายทอดสัญญาณการเรียนรู้ ระหว่างการ ถา่ ยทอดสญั ญาณการเรียนรู้ จนกระทั่งเสรจ็ ส้ินกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นชัน้ เรียน 4. ระยะหลังการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม หมายถึง แนวปฏิบัติ ภายหลงั เสรจ็ สนิ้ กิจกรรมการเรยี นร้ทู างไกลผ่านดาวเทียมหรอื หลงั เลกิ ชน้ั เรียนแล้ว 5. สาระสาคัญ (core concepts) หมายถึง องค์ความรู้ท่ีผู้เรียนต้องมี ความรคู้ วามเข้าใจอยา่ งลกึ ซง้ึ หรอื ทกั ษะท่ีผู้เรยี นจะตอ้ งปฏิบตั ิได้ ภายหลังเสร็จส้ินการ เรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียมในแตล่ ะคร้งั 6. Feed – up หมายถงึ การกระตุ้นความสนใจและแรงจูงใจในการเรียนรู้ ทผ่ี สู้ อนโรงเรียนปลายทางดาเนนิ การกับผูเ้ รยี น 7. Checking for understanding หมายถึง การตรวจสอบความเข้าใจ ในสาระสาคัญของผู้เรียน ระหวา่ งทีม่ ีกิจกรรมการเรยี นร้ทู างไกลผา่ นดาวเทยี ม 8. Power questions หมายถึง การใช้คาถามที่กระตุ้นการคิดข้ันสูง ของผเู้ รียน เช่น การคดิ วเิ คราะห์ การคิดแก้ปัญหา การคิดสรา้ งสรรค์ เป็นต้น 9. Feedback และ Feed – forward หมายถึง การให้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อการพัฒนาผู้เรียน และการให้ผู้เรียนใช้การกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนอ่ื ง

บทที่ 9 การให้ข้อมลู เพอื่ การเรยี นรูต้ อ่ ยอด 307 แนวการโค้ชสาหรับผู้สอนโรงเรียนปลายทางที่เสริมสร้างการเรียนรู้ ทางไกลผ่านดาวเทยี ม แตล่ ะระยะมีดงั ตอ่ ไปนี้ ระยะกอ่ นการเรียนรทู้ างไกลผ่านดาวเทยี ม หมายถึง หมายถึงแนวปฏิบัติ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนถึงวันท่ีจะมีการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียมในแต่ละครั้ง ควรมเี วลาเตรียมประมาณ 1 – 2 วนั มแี นวปฏบิ ัติดังนี้ 1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรใู้ นคู่มือการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม โดยมุ่งเน้นสาระสาคัญ (core concepts) กระบวนการและกิจกรรมเรียนรู้และการ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2. ศึกษาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสาระสาคัญของการเรียนรู้ให้มีความ เข้าใจอยา่ งถูกตอ้ งและแมน่ ยา 3. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สถานท่ี ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ใหค้ รบถว้ นตามแผนการจดั การเรียนรู้ 4. เตรียมความพร้อมผู้เรียน โดยการแจ้งกาหนดเวลาการเรียน ส่ิงท่ี ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ (core concepts) และกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะได้ลงมือ ปฏิบัติ 5. สร้างแรงจูงใจภายใน (inner motivation) ในการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียน มุ่งเน้นการช้ีให้เห็นประโยชน์ของส่ิงที่เรียน และการแจ้งกิจกรรมที่ท้าทาย ความสามารถของผู้เรยี น ระยะระหว่างการเรียนรูท้ างไกลผ่านดาวเทียม หมายถึง แนวปฏิบัติตั้งแต่ เริ่มต้นเข้าสู่ช้ันเรียนก่อนที่จะมีการถ่ายทอดสัญญาณการเรียนรู้ ระหว่างการถ่ายทอด สัญญาณการเรียนรู้ จนกระท่ังเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียน มีแนวปฏิบัติ 4 องค์ประกอบดงั นี้

308 บทท่ี 9 การใหข้ อ้ มูลเพอ่ื การเรยี นร้ตู อ่ ยอด การ Feed – up 1. ทบทวนสาระสาคัญ (core concepts) ที่เปน็ พื้นฐาน 2. แจ้งจดุ ประสงค์ของการเรยี นรู้และภาระงานการเรียนรู้ 3. กระตุ้นแรงจูงใจภายใน (inner motivation) ในการเรียนรู้ 4. สรา้ งเชือ่ มนั่ และความภาคภูมิใจในตนเองของผ้เู รียน การ Checking for understanding 1. สังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รยี นระหว่างปฏบิ ัติกิจกรรมการเรยี นรู้ 2. ซักถามผู้เรียนรายบุคคลเฉพาะรายทสี่ งสัยว่าตามบทเรียนไม่ทัน 3. ใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้เู รียนทต่ี ามบทเรยี นไมท่ นั โดยวิธีการทีเ่ หมาะสม 4. อธบิ ายเพมิ่ เตมิ สอดแทรกไประหวา่ งการปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้ Power questions 1. ต้งั คาถามกระตุ้นการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ 2. ใช้คาถามอยา่ งหลากหลายสอดคล้องกบั ระดบั ความสามารถ 3. ใช้เทคนิควิธกี ารต่างๆ กระตุน้ ให้ผ้เู รยี นคิดหาคาตอบที่ถูกต้อง 4. ช่ืนชมคาตอบทุกคาตอบของผู้เรียนให้กาลงั ใจผเู้ รียนทต่ี อบคาถาม การ Feedback 1. สรุปสาระสาคัญของการเรียนรรู้ ว่ มกับผเู้ รยี น 2. ชน่ื ชมการใชค้ วามพยายามและความมุ่งมั่นของผ้เู รยี น 3. สะทอ้ นจดุ ดีและจดุ ท่ตี อ้ งพัฒนาในการเรียนรู้ให้กบั ผ้เู รยี น 4. เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาให้กบั ผเู้ รียน การ Feed – forward 1. ให้กาลังใจผเู้ รียนในการเรียนรูแ้ ละพฒั นาต่อยอดอย่างตอ่ เน่อื ง 2. ให้ผู้เรียนแลกเปลย่ี นเรยี นรูซ้ ึ่งกนั และกนั เพ่ือเพม่ิ ความเข้าใจ 3. ช้ีประเดน็ ท่ีผู้เรยี นควรศึกษาค้นควา้ หรือฝกึ หดั เพ่ิมเติม 4. ใช้พลงั คาถามใหผ้ ู้เรยี นไปคดิ ต่อยอดส่งิ ท่ไี ด้เรยี นรู้ไปแล้ว

บทท่ี 9 การใหข้ ้อมูลเพือ่ การเรยี นรู้ตอ่ ยอด 309 ระยะหลังการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม หมายถึง แนวปฏิบัติภายหลัง เสร็จสิน้ กิจกรรมการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม หรือหลังเลิกช้ันเรียนแล้ว มีแนวทาง การโค้ชดังน้ี 1. ประเมินรวบยอดการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคล มุ่งเน้นการ ประเมินความร้ใู นสาระสาคัญ กระบวนการเรียนรู้ และคณุ ลกั ษณะ 2. สะท้อนผลการประเมินไปสู่การพัฒนาผู้เรียนรายบุ คคล และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ทางไกลผ่านดาวเทยี ม 3. ถอดบทเรียนปัจจัยที่ทาให้การเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียมประสบ ความสาเร็จ และแบบปฏิบัติท่ีดีที่ควรบันทึกไว้เป็นองค์ความรู้ท่ีสอดคล้องกับบริบท การเรียนร้ทู างไกลผ่านดาวเทียมของตนเอง จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย ดั ง ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น นั้ น ท า ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ก า ร โ ค้ ช เ พื่ อ ก า ร รู้ คิ ด ที่ประกอบด้วยการ Feed – up , Checking for understanding, Feedback และ Feed – forward เป็นกระบวนการพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความเป็นระบบ ไม่เน้นการ ถ่ายทอดความรู้ แต่เน้นการกระตุ้นการเรียนรู้ และการให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ ต่อยอดนั้น นับว่าเป็นองค์ประกอบสาคัญประการหนึ่งในการโค้ชท่ีผู้เรียนจะไปเรียนรู้ ต่อยอดไดด้ ว้ ยตนเอง ประสบการณจ์ ากการแบบประเมินคุณภาพเค้าโครงปริญญานิพนธ์ ด้านการพัฒนาหลกั สตู รและการเรยี นรู้ นอกจากตัวอย่างการโค้ชเพื่อการรู้คิดข้างต้นแล้ว ผู้เขียนยังได้พัฒนา แบบประเมนิ คณุ ภาพเคา้ โครงปริญญานิพนธ์ดา้ นการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ สาหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือสาหรับการ Feed – up, Checking for understanding, Feedback และ Feed – forward ดงั นี้

310 บทท่ี 9 การให้ข้อมลู เพื่อการเรยี นรตู้ อ่ ยอด - การ Feed – up โดยผู้เขียนใหน้ ิสติ ศกึ ษาแบบประเมินคุณภาพของ เค้าโครงปริญญานิพนธ์ เพื่อให้เห็นว่าลักษณะของเค้าโครงปริญญานิพนธ์ท่ีมีคุณภาพ พร้อมท่ีจะนาเสนอคณะกรรมการพิจารณา (เสนอ proposal) เป็นอย่างไร ซ่ึงช่วยทา ให้นิสิตเกิดแรงจูงใจและเห็นเป้าหมายของการพัฒนาเค้าโครงปริญญานิพนธ์ท่ีมีความ ชัดเจนเป็นรูปธรรม ทาให้สามารถวางแผนการพัฒนาเค้าโครงปริญญานิพนธ์มีคุณภาพ ของตนเองได้อย่างเปน็ ระบบ - การ Checking for understanding โดยผู้เขียนนาแบบประเมิน คุณภาพเค้าโครงปริญญานิพนธ์ มาใช้ประเมินเอกสารเค้าโครงปริญญานิพนธ์ของนิสิต เป็นรายบุคคล โดยลักษณะการใช้จะเป็นการใช้อย่างต่อเนื่องเป็นช่วงเวลา เพื่อนา ขอ้ มูลสารสนเทศมาพัฒนานสิ ิต ใหม้ คี วามร้คู วามเข้าใจและทักษะต่างๆ ที่เก่ียวข้องเพิ่ม มากข้ึน จนสามารถพัฒนาเค้าโครงปริญญานพิ นธท์ ีม่ คี ณุ ภาพ - การ Feedback โดยผู้เขียนนาผลการประเมินคุณภาพเค้าโครง ปรญิ ญานพิ นธ์ มาสะทอ้ นผลไปยังนสิ ติ ให้ได้เรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะๆ ภายหลังเสร็จสิ้นการประเมินในแตล่ ะครัง้ - การ Feed – forward โดยผู้เขียนทาการช้ีประเด็นสิ่งที่นิสิต / นักศึกษาจะต้องเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพิ่มเติมในประเด็นต่างๆ ตามผลการประเมิน เป็นรายบุคคล ซึ่งทาให้นิสิตทราบว่าตนเองจะต้องพัฒนาอะไรให้ดีขึ้น และทราบว่า ในอนาคตสิ่งทตี่ อ้ งลงมอื ทาตอ่ ไปคืออะไร จากการใช้แบบประเมินคุณภาพเค้าโครงปริญญานิพนธ์ท่ีผู้เขียนพัฒนาข้ึน ผเู้ ขียนสังเกตพบว่า นิสิตท่ีได้รับการ Feed – up , Checking for understanding, Feedback และ Feed – forward การพัฒนาเค้าโครงปริญญานิพนธ์ตามแนวทาง ท่ีกล่าวมา สามารถพัฒนาเค้าโครงปริญญานิพนธ์ได้อย่างมีคุณภาพที่โดดเด่นคือ

บทที่ 9 การใหข้ ้อมูลเพ่อื การเรยี นรตู้ อ่ ยอด 311 เค้าโครงปริญญานิพนธ์ของนิสิตไม่มีลักษณะ copy & paste มีการสังเคราะห์เอกสาร และงานวิจัยต่างๆ ท่ีนาไปสู่การกาหนดกรอบความคิดของการวิจัยได้กระชับ และตรง ประเด็น และนิสิตสามารถตอบคาถามของคณะกรรมการพิจารณาเค้าโครง ในลักษณะ การอธิบายให้เหตุผลสนับสนนุ ความคดิ ในการทาวิจัยของตนเองได้อย่างชดั เจน แบบประเมินคณุ ภาพเค้าโครงปรญิ ญานิพนธ์ ด้านการพัฒนาหลกั สูตรและการเรยี นรู้ คาชี้แจง 1. แบบประเมนิ นใ้ี ช้สาหรับประเมินคุณภาพเค้าโครงปรญิ ญานิพนธ์ด้านการพัฒนาหลกั สูตร และการเรยี นรู้ 2. แบบประเมินฉบบั น้ีจัดทาข้นึ สาหรบั ปริญญานพิ นธท์ ใ่ี ชแ้ บบแผนการวจิ ยั และพฒั นา (Research and Development) เป็นสาคญั 3. ทาเคร่อื งหมาย  (ถ้าเค้าโครงปริญญานพิ นธม์ ีคณุ ภาพเปน็ ไปตามรายการที่ประเมิน) หรอื ทาเครือ่ งหมาย X (ถา้ ปริญญานพิ นธม์ คี ณุ ภาพไมเ่ ป็นไปตามรายการทปี่ ระเมนิ ) ลงใน  พรอ้ มทงั้ ระบเุ ลขหนา้ ทเ่ี กีย่ วข้องลงใน ( ) และเขยี นขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ และพฒั นาใหม้ ีคณุ ภาพมากย่ิงขน้ึ ชอ่ื เรอื่ งปริญญานพิ นธ์ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ชือ่ นสิ ติ ............................................................................................................................................. ชอ่ื ผูป้ ระเมนิ ..................................................................................................................................... วนั ทป่ี ระเมิน ...................................................................................................................................... ส่วนที่ 1 ชื่อเร่ืองปริญญานพิ นธ์  ระบตุ ัวแปรตาม  ระบตุ วั แปรตน้ / นวตั กรรม  ระบกุ ล่มุ เปา้ หมาย  กระชับชดั เจน

312 บทที่ 9 การใหข้ อ้ มูลเพอ่ื การเรยี นรู้ตอ่ ยอด ส่วนท่ี 2 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา )  ระบปุ ัญหาการวิจยั ไม่ซา้ ซ้อนกบั ปัญหาการวจิ ยั ท่ผี า่ นมา ( )  ระบปุ ญั หาซ่ึงเป็นทม่ี าของการวจิ ยั ชดั เจน มขี ้อมลู เชงิ ประจกั ษส์ นับสนนุ ( )  สรปุ แนวคิดทฤษฎที ใี่ ช้ในการวิจัยสนบั สนุนเหตผุ ลการเลอื กแนวคดิ ทฤษฎีเหล่านนั้ (  วิเคราะหค์ วามสาคัญในประเดน็ ปัญหาการวิจัยอยา่ งมเี หตผุ ลเชงิ วิชาการ ( )  มกี ารวเิ คราะห์เชอ่ื มโยงไปสู่คาถามการวิจยั ( ) สว่ นที่ 3 คาถามการวจิ ยั และวตั ถุประสงค์การวจิ ยั  คาถามการวิจัยสอดคลอ้ งกบั ชือ่ เรอ่ื งการวิจยั ( )  คาถามการวิจัยมีความชดั เจนว่าตอ้ งการทราบอะไร ( )  คาถามการวจิ ยั สามารถตอบไดด้ ว้ ยกระบวนการวจิ ยั ( )  วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั สอดคลอ้ งกับคาถามการวิจยั ทุกขอ้ ( )  วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั สอดคลอ้ งกบั ชอื่ เรือ่ งการวิจยั ( )  วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัยชแี้ นวทางการดาเนนิ การวจิ ยั ( ) ส่วนที่ 4 ขอบเขตด้านตัวแปร )  ระบตุ ัวแปรตน้ / นวัตกรรม สอดคล้องกบั ชื่อเรื่องการวิจยั ( )  ระบตุ ัวแปรตามสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย ( )  ตวั แปรต้น/นวัตกรรม กบั ตัวแปรตาม มคี วามสมเหตุสมผลในการเลอื กมาศึกษา (  ระบรุ ะยะเวลาการดาเนินการวจิ ยั อย่างชดั เจน ( ) ส่วนที่ 5 ขอบเขตด้านประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง  ระบกุ ลมุ่ เปา้ หมายของการวจิ ยั อยา่ งชดั เจนและมเี หตุผล (ถา้ ตอบข้อน้ี ไม่ตอ้ งตรวจสอบรายการต่อๆ ไป ในส่วนน)ี้ ( )  ระบกุ รอบประชากรชัดเจน ( )  ระบุกลมุ่ ตวั อย่างทีเ่ ป็นสว่ นหนึง่ ของประชากรอย่างชัดเจน ( )  จานวนกลุ่มตวั อยา่ งมคี วามเพยี งพอต่อการวิจยั ( ) ส่วนท่ี 6 ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการวิจยั )  ระบปุ ระโยชน์ของการวจิ ัยสอดคล้องกบั เหตผุ ลของการทาวจิ ยั ( )  ระบปุ ระโยชน์ของการวิจัยทีส่ มเหตสุ มผลกบั ผลการวจิ ยั ( )  ระบุชดั เจนวา่ ใครบา้ งจะได้ประโยชนแ์ ละไดป้ ระโยชนอ์ ย่างไร (

บทที่ 9 การให้ข้อมูลเพือ่ การเรยี นรู้ตอ่ ยอด 313 สว่ นที่ 7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ  ระบุคานิยามศัพท์เฉพาะครอบคลุมคาสาคญั ในชื่อเรอ่ื งการวจิ ยั ( )  ระบคุ านยิ ามศพั ทค์ รบตัวแปรที่ศึกษาทุกตวั แปร ( )  ระบคุ านยิ ามศพั ท์ตัวแปรทุกตวั แปรในลักษณะนยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิการที่ตรงกับ ผลการสังเคราะหใ์ นบทที่ 2 ( )  ระบุคานยิ ามศพั ทต์ ัวแปรท่ตี อ้ งทาการวัดโดยระบวุ ธิ กี ารวัดท่ีตรงกับที่ระบใุ นบทท่ี 3 ()  ระบนุ ยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะคาสาคญั อ่นื ๆ ทีม่ ีความหมายใช้เฉพาะในการวจิ ัยคร้งั นี้ ( ) สว่ นที่ 8 การศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง  ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้องครอบคลมุ ตัวแปรทีศ่ ึกษาทุกตวั แปร ( )  ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั แนวคดิ ทฤษฎีตรงตามทีร่ ะบุไว้ ในความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ( )  แสดงการวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหอ์ งค์ความรู้และผลการวจิ ัยในลักษณะบรู ณาการ สะทอ้ นองคค์ วามร้ขู องผวู้ ิจัย ( )  ไมม่ ีการเขยี นนาเสนอในลักษณะของการนาเสนอตามลาดับทีละบุคคล ( )  มกี ารสรปุ หรอื วเิ คราะห์ถงึ การนาแนวคดิ ทฤษฎที ุกทฤษฎี ไปใชใ้ นการวจิ ัย ไว้อยา่ งชัดเจน และเฉพาะเจาะจง ( )  สังเคราะห์สาระสาคญั ของแนวคิดทฤษฎที ุกแนวคดิ ทฤษฎีไปสูก่ ารกาหนด กรอบความคดิ ของการวจิ ัย ( )  ศกึ ษาเอกสาร งานวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ้ งโดยใช้แหล่งขอ้ มลู ปฐมภมู ิ ( ) ส่วนที่ 9 กรอบแนวคิดของการวจิ ัย  สะท้อนใหเ้ ห็นแนวความคดิ ของการวิจยั ไดอ้ ยา่ งชดั เจนและเป็นระบบ ( )  มีการเขยี นอธิบายแผนภาพกรอบแนวคิดของการวิจยั อย่างเป็นขัน้ ตอน เปน็ ระบบ มีข้อมูลเชงิ ประจกั ษส์ นบั สนนุ ( )  แผนภาพกรอบแนวคดิ ของการวิจยั สอดคลอ้ งกบั แนวคิดทฤษฎี และตวั แปรทศ่ี กึ ษา ท้งั ตัวแปรตน้ และตวั แปรตาม ( )  ไม่แสดงแผนภาพกรอบแนวคดิ ของการวจิ ัยในลักษณะขน้ั ตอนการวิจัย ( )

314 บทที่ 9 การให้ข้อมูลเพอ่ื การเรยี นร้ตู อ่ ยอด ส่วนที่ 10 วิธีการเลือกกลมุ่ ตัวอยา่ ง )  ระบกุ ลมุ่ เปา้ หมายของการวิจยั อย่างชดั เจนและมเี หตุผล (ถา้ ตอบข้อน้ี ไมต่ ้องตรวจสอบรายการตอ่ ๆ ไป ในส่วนนี้) ( )  แสดงกรอบประชากรไวอ้ ย่างชัดเจน ( )  แสดงขั้นตอนการเลือกกลมุ่ ตวั อย่างเป็นระบบ ( )  แสดงวธิ ีการเลือกกลุ่มตวั อยา่ งอย่างสมเหตสุ มผล ( )  กลุม่ ตัวอยา่ งทเ่ี ลือกมาได้ สามารถเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ( ส่วนที่ 11 การสรา้ งเครอื่ งมอื ท่ีใชว้ ัดตวั แปร  ระบุเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชว้ ัดตัวแปรตรงกับตวั แปรที่ศกึ ษาทุกตวั แปร ( )  ระบขุ ัน้ ตอนการสร้างเคร่ืองมอื แตล่ ะชนิดครบทุกข้ันตอน ( )  ระบุวธิ ีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวดั ดา้ นตา่ งๆ ครบถว้ น ( )  ระบคุ ณุ สมบตั ิของผู้เชยี่ วชาญตรวจสอบเครือ่ งมอื แตล่ ะชนดิ สอดคลอ้ งกบั ชนดิ ของ เคร่ืองมือ ( )  เคร่ืองมอื ท่ีใช้วดั ตัวแปรแตล่ ะชนิด สามารถวดั ตวั แปรได้อยา่ งนา่ เชอื่ ถือ ( ) สว่ นที่ 12 การพฒั นาร่างนวัตกรรม (เช่น ร่างหลักสตู ร ร่างรปู แบบการจัดการเรยี นรู้) (ถ้างานวิจัยไม่มกี ารพฒั นานวัตกรรมใหข้ า้ มส่วนท่ี 12 นีไ้ ป)  ระบขุ อ้ มูลพน้ื ฐานท่ีจะนามาใชพ้ ัฒนานวัตกรรมอยา่ งครบถ้วน ( )  ระบขุ ั้นตอนการยกรา่ งนวัตกรรมอยา่ งเปน็ ระบบ มรี ายละเอียดของกิจกรรม การดาเนนิ การ ( )  ระบวุ ธิ ีการตรวจสอบคณุ ภาพเบ้อื งตน้ ของนวัตกรรม โดยใช้วิธีการทีเ่ หมาะสมกับ ประเภทของนวตั กรรม ( )  ระบคุ ณุ สมบตั ิของผู้เชีย่ วชาญประเมินคุณภาพเบ้ืองต้นของนวัตกรรม สอดคลอ้ งกบั จุดเน้นของนวัตกรรม ( )  แสดงแนวทางหรอื วิธีการปรับปรุงรา่ งนวตั กรรมกอ่ นนาไปทดลองใชน้ าร่อง ( ) สว่ นท่ี 13 การทดลองใชน้ ารอ่ งนวัตกรรม ) (ถ้างานวจิ ยั ไมม่ กี ารพัฒนานวัตกรรมให้ข้ามส่วนที่ 13 น้ไี ป)  ทดลองนารอ่ งในปรมิ าณที่เพยี งพอสาหรบั การนามาปรับปรงุ แกไ้ ข ( )  ทดลองนาร่องกบั บุคคลทไ่ี ม่ใช่กลุ่มตวั อยา่ ง หรอื กลมุ่ เปา้ หมายของการวิจยั (

บทที่ 9 การใหข้ อ้ มูลเพ่อื การเรยี นรู้ตอ่ ยอด 315  มีความเปน็ ไปได้ว่า การทดลองนารอ่ ง จะทาให้ไดข้ อ้ มูลมาปรบั ปรงุ ร่างนวตั กรรม ใหด้ ขี น้ึ ได้ ( )  มีการปรบั ปรงุ รา่ งนวตั กรรมกอ่ นท่ีจะนาไปทดลองใช้จรงิ ( ) สว่ นท่ี 14 การทดลองใชน้ วัตกรรม )  แบบแผนการทดลองใชน้ วตั กรรมมีความเหมาะสมกบั บรบิ ทการวิจัย ( )  ทดลองใช้นวตั กรรมกบั บคุ คลท่เี ปน็ กลุ่มตวั อยา่ ง หรือกล่มุ เปา้ หมาย ( )  เก็บรวบรวมข้อมลู ในการทดลองใชน้ วัตกรรมได้ครบถ้วนสาหรบั นาไปวิเคราะห์ (  วเิ คราะหข์ ้อมลู ตรงตามวตั ถุประสงคก์ ารวิจยั ( )  ใชว้ ิธกี ารวิเคราะหข์ อ้ มลู ทีส่ ามารถตอบคาถามการวจิ ยั ได้ ( ) ส่วนที่ 15 การปรบั ปรุงนวัตกรรมหลงั การทดลองใช้  ระบเุ กณฑก์ ารประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของนวัตกรรมอย่างชดั เจน ( )  ระบวุ ิธกี ารประเมินประสทิ ธิผลของนวัตกรรม สอดคลอ้ งกบั เกณฑป์ ระสทิ ธผิ ล ของนวตั กรรม ( )  แสดงวิธีการปรบั ปรงุ นวัตกรรมหลังการทดลองใช้ ( ) สว่ นที่ 16 การอ้างอิง )  ไม่ปรากฏการคดั ลอกเอกสารจากบุคคลอ่ืน ( )  อา้ งองิ ในเน้อื หาเอกสารอยา่ งถูกตอ้ งและชัดเจน ( )  อา้ งอิงเอกสารท้ายเอกสารอยา่ งถกู ต้องและครบถ้วนทุกรายการ ( ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. พฒั นามาจากแนวคดิ ของ รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั วงษ์ใหญ่ โดย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล 26 กรกฎาคม 2558

316 บทที่ 9 การให้ขอ้ มลู เพ่ือการเรยี นรู้ตอ่ ยอด สรุป สาระสาคัญท่ีนาเสนอในบทนี้ ได้กล่าวถึงการให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ ตอ่ ยอด ซง่ึ เปน็ การใหข้ อ้ มูลสารสนเทศโดยโคช้ เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองให้มีคุณภาพมากขึ้น ภายหลังการจัดการเรียนการสอน โดยมีจุดเน้นไปท่ี การเรียนรู้หรือการพัฒนาจะเกิดขึ้นในอนาคต (focus on future learning) มากกว่าการมองยอ้ นกลบั ไปที่ผลการเรียนรหู้ รือผลงานทเี่ กิดข้ึนในอดีต ซ่ึงการให้ข้อมูล เพื่อการเรียนรูต้ ่อยอดมีความสาคัญต่อผู้เรียนหลายประการโดยเฉพาะอย่างย่ิงการวาง แผนการเรียนรู้ และการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง โดยมีวิธีการท่ีมี ประสิทธิภาพหลายวิธี โดยมีวิธีที่สาคัญได้แก่ Concept mapping, Learning outcomes mapping, Advance organizer, Power questions, Cognitive guided, Group discussion, Classroom assessment – based, Root cause misconceptions analysis, Self – reflection, Self – assessment, Dialogue, Peer coaching นอกจากนี้การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอดเพ่ือเสริมสร้างการคิด ข้ันสูงนั้น โค้ชสามารถกาหนดกิจกรรมต่างๆ ให้ผู้เรียนไปเรียนรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง ตามความสนใจ ได้ตามบริบทของการโค้ช ซึ่งสามารถช่วยเสริมสร้างการคิดขั้นสูงของ ผู้เรยี นไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง

บทที่ 9 การให้ข้อมลู เพ่ือการเรยี นรตู้ ่อยอด 317 บรรณานกุ รม มารุต พัฒผล. (2558). รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ เรอื่ ง การพฒั นาแนวการโคช้ สาหรบั ผสู้ อนโรงเรียนปลายทางท่เี สริมสร้างการเรียนรู้ทางไกล ผ่านดาวเทยี ม ในระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน. กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. Anderson, Lorin. W, & Krathwohl, David. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Abridged Edition, New York: Longman. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Marzano, Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Sobel, Andrew and Panas, Jerold. (2012). Power Questions: Build Relationships, Win New Business, and Influence Others. New York: John Wiley & Sons, Incorporated. Sweeney, Diane. (2010). Student – Centered Coaching: A guide for K – 8 Coaches and Principals. California: Corwin Press.

318 บทที่ 9 การใหข้ อ้ มูลเพอ่ื การเรยี นรตู้ อ่ ยอด โค้ชคาดหวังจะใหผ้ เู้ รยี น ทาอะไรมากกวา่ ทเ่ี ปน็ อยจู่ รงิ อย่าแกไ้ ขดว้ ยคาตาหนิติเตยี น แตใ่ ห้แก้ไขที่สาเหตุของปญั หา

บทที่ 10 การประเมนิ ผลการโคช้ 319 บทที่ 10 การประเมนิ ผลการโค้ช

320 บทที่ 10 การประเมินผลการโคช้ การวดั ต้องมี “เครือ่ งมอื ” การประเมินตอ้ งมี “เกณฑ์” การประเมินไมใ่ ชเ่ พือ่ การ “พิสูจน์” แตเ่ ป็นการ “ปรบั ปรงุ และพฒั นาอย่างต่อเน่อื ง”

บทท่ี 10 การประเมินผลการโค้ช 321 บทนา การนาเสนอเน้ือหาสาระ เรื่อง การประเมินผลการโค้ช มุ่งสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการประเมินในศตวรรษที่ 21 การประเมินที่เสริมพลัง วิธีการ ประเมินที่เสริมพลังตามสภาพจริง เครื่องมือการประเมินจากผลงานวิจัย และการ สะทอ้ นผลการประเมินที่มีประสทิ ธภิ าพ โดยมีสาระสาคญั ดงั ต่อไปน้ี 1. กระบวนทัศน์ของการประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นแนวความคิดในการประเมินผลการเรียนรู้ที่เน้นการประเมินเพ่ือการปรับปรุง และพัฒนา (assessment for improvement) โดยแบ่งแนวทางการประเมินออกเป็น สามแนวทาง ได้แก่ 1) การประเมินเพ่ือการเรียนรู้ 2) การประเมินขณะเรียนรู้ และ 3) การประเมินผลการเรยี นรู้ 2. หลักการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีเสริมพลัง คือวิธีการวัด และประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) มีหลักการ 4 ข้อ ดังนี้ 1) ใช้ ผู้ประเมนิ หลายฝ่าย 2) ใช้วิธีการและเครื่องมือหลายชนิด 3) วัดและประเมินหลายคร้ัง 4) สะท้อนผลการประเมนิ สูก่ ารปรับปรงุ และพฒั นา 3. วิธีการประเมินท่ีเสริมพลังตามสภาพจริงมีหลายวิธี เช่น การสงั เกตพฤติกรรม การใช้เกณฑ์การให้คะแนน การใช้แฟ้มสะสมผลงาน การรายงาน ตนเอง การประเมินภาคปฏิบัติ การจัดทาโครงงาน หรือนิทรรศการ การทดลองหรือ การสาธติ และวธิ กี ารอ่นื ๆ ทโี่ คช้ ควรเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับบริบท 4. การประเมินผลการโค้ชมีความแตกต่างจากการตรวจสอบความ เข้าใจ (checking for understanding) ตรงที่การประเมินให้ความสาคัญกับการ

322 บทที่ 10 การประเมินผลการโคช้ กาหนดระดับคุณภาพผู้เรียน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาซ่ึงจาเป็นต้องมีเคร่ืองมือการ ประเมินทีม่ ีคุณภาพ 5. การสะท้อนผลการประเมิน เป็นปัจจัยสาคัญของการกระตุ้น ให้ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถด้านการรู้คิด รวมทั้งพฤติกรรมที่ดีขึ้น การสะท้อนผลการประเมินมีเป้าหมาย 3 ประการได้แก่ 1) ผู้เรียนได้รับทราบผลการประเมินท่ีถูกต้อง 2) ผู้เรียนได้รับการสะท้อนผลการ ประเมินเชงิ บวกจากโคช้ และ 3) ผู้เรียนมแี รงบันดาลใจและความมุ่งม่ันในการปรับปรุง และพัฒนาตนเอง

บทที่ 10 การประเมินผลการโค้ช 323 10.1 สามแนวทางการประเมินผลการโค้ช 10. การประเมิน 10.2 การประเมินผลการโคช้ ท่ีเสรมิ พลงั ผลการโค้ช 10.3 เครอ่ื งมือการประเมนิ จากผลงานวิจยั 10.4 การสะท้อนผลการประเมนิ ที่มปี ระสทิ ธิภาพ

324 บทท่ี 10 การประเมินผลการโคช้ การประเมินผลการโค้ช พัฒนามุง่ เน้นการประเมนิ เพือ่ เพื่อการ มากกว่าการประเมินเพื่อการตดั สิน

บทท่ี 10 การประเมนิ ผลการโค้ช 325 10.1 สามแนวทางการประเมนิ ผลการโคช้ กระบวนทัศน์การประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นแนวความคิด ในการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีเน้นการประเมินเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา (assessment for improvement) โดยแบ่งแนวทางการประเมินออกเป็น 3 แนวทาง ได้แก่ 1) การประเมินเพื่อการเรียนรู้ (assessment for learning) 2) การประเมิน ขณะเรียนรู้ (assessment as learning) และ 3) การประเมินผลการเรียนรู้ (assessment of learning) การประเมินเพ่อื การเรียนรู้ (assessment for learning) เป็นการประเมินระหว่างทาง (formative assessment) ท่ีโค้ชมี บทบาทเป็นผู้ประเมนิ ผ้เู รียนด้วยวธิ กี ารประเมินที่หลากหลายตามสภาพจริง และนาผล การประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง โดยโค้ชใช้วิธีการสังเกตและ การส่อื สารส่วนบคุ คลเปน็ วิธกี ารสาคัญในการประเมนิ โค้ชสามารถทาการประเมินเพ่ือการเรียนรู้ได้ตลอดระเวลาของการโค้ช โดยใช้วิธีการที่ง่าย สะดวกรวดเร็ว ท้ังน้ีเพ่ือให้ผู้เรียนทราบจุดที่ตนเองจะต้องปรับรุง และพัฒนาได้อยา่ งต่อเนอ่ื งน่นั เอง การประเมนิ ขณะเรียนรู้ (assessment as learning) เป็นการประเมินที่ผูเ้ รียนใชก้ ารประเมินเป็นวิธีการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การประเมินลักษณะน้ี มีจุดเน้นคือการให้ผู้เรียนได้ใช้การประเมินตนเอง (self - assessment) เป็นกระบวนการเรียนรู้ชนิดหน่ึง ผู้เรียนประเมินตนเองเป็นระยะๆ ในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้ประเมินตนเองและแสวงหา แนวทางพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อีกท้ังยังมีโอกาสการประเมินเพื่อนร่วมช้ันเรียน และใหข้ อ้ เสนอแนะเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

326 บทท่ี 10 การประเมินผลการโค้ช โดยผู้เรียนควรตั้งคาถามตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเองดังต่อไปน้ี 1. จดุ ม่งุ หมายของการเรยี นรขู้ องเราคอื อะไร 2. เราได้ความร้อู ะไรบ้างจากการเรียนรใู้ นครั้งนี้ 3. มีวิธีการเรียนรู้ในเรือ่ งนอี้ ย่างไร 4. มคี วามเข้าใจสาระสาคญั ท่เี รียนนี้วา่ อยา่ งไร 5. มเี กณฑก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของเราอยา่ งไร และประสบความสาเร็จตามเกณฑ์น้ันหรอื ไม่ 6. มีวธิ ีการยกระดบั ผลการเรยี นรูข้ องเราในการเรยี นครง้ั ต่อไป อยา่ งไร การพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความสามารถในการประเมินตนเองน้ันเป็นส่ิงท่ีสาคัญ ในการท่ีผู้เรียนจะพัฒนาได้ด้วยตนเองในระยะยาว โค้ชควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วม อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ผลการเรยี นรู้ ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเกณฑ์ การประเมินผลการเรียนรู้ การให้ข้อมูลย้อนกลับต่อผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ผู้เรียน ใช้กระบวนการคิดต่างๆ ในการประเมินตนเองและแสวงหาแนวทางการพัฒนาตนเอง ซงึ่ เป็นการสง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองตลอดชวี ติ ของผเู้ รียนอกี ดว้ ย การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (assessment of learning) การประเมินผลการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์สาคัญเพ่ือตัดสินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียน โดยโค้ชเป็นผู้ที่มีบทบาทหลักในการประเมิน โดยการประเมินจะมีลักษณะ เป็นการประเมินรวบยอด (summative assessment) ท่ีใช้วัตถุประสงค์หรือ ผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นมาตรฐานการประเมิน ตลอดจนใช้วิธีการและเคร่ืองมือประเมิน ท่ีมีคุณภาพเชื่อถือได้ ซ่ึงโดยท่ัวไปแล้วการประเมินผลการเรียนรู้จะมีลักษณะท่ีเป็น ทางการมากกว่าการประเมินเพ่ือการเรียนรู้ และการประเมินขณะเรียนรู้ ซ่ึงอาจใช้ เครอ่ื งมอื การประเมินทมี่ คี ุณภาพ

บทที่ 10 การประเมินผลการโค้ช 327 โคช้ ควรใช้การประเมินผลการเรียนรู้ ควบค่กู ับการประเมินเพ่อื การเรียนรู้ และการประเมินขณะการเรียนรู้ เพื่อให้มีผลการประเมินที่หลากหลาย สามารถใช้ พัฒนาผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่อง รวมท้ังใช้เป็นสารสนเทศจากการประเมินเป็นแนวทาง สาหรบั การปรับปรงุ และพฒั นาการเรียนการสอนของโค้ชอย่างต่อเน่ือง 10.2 การประเมนิ ผลการโค้ชที่เสรมิ พลังตามสภาพจรงิ สิ่งใดที่วดั ไม่ได้ก็ปรับปรุงพัฒนาไมไ่ ด้ It you can’t measure, You Can’t improve. การประเมนิ ไมใ่ ช่การพิสจู น์แต่เป็นการปรับปรุงพัฒนา Evaluation is not to prove, but to improve. (Ebel, R.L. (1979) การประเมินผลการโค้ชท่ีเสริมพลังตามสภาพจริงมีหลักการเดียวกันกับ หลักการประเมินการเรียนรู้ที่เสริมพลังตามสภาพจริงสามารถนามาใช้ร่วมกันได้โดยมี หลักการ 4 ขอ้ ดงั นี้ (วิชยั วงษ์ใหญ่ และมารตุ พัฒผล. 2558: 96) 1) ใชผ้ ปู้ ระเมินหลายๆ ฝา่ ย เชน่ ผเู้ รยี น เพ่ือน ตนเอง ผู้ปกครอง ผเู้ กย่ี วข้อง 2) ใช้วธิ กี ารและเครือ่ งมอื หลายๆ ชนดิ เชน่ การสังเกต การปฏบิ ตั ิจริง การส่อื สารสว่ นบคุ คล 3) วดั และประเมนิ หลายๆ คร้ัง ในชว่ งเวลาการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ก่อนเรยี น ระหวา่ งเรียน หลงั เรยี น ตดิ ตามผล 4) สะท้อนผลการประเมนิ สู่การปรบั ปรงุ และพฒั นาผ้เู รียน รวมท้ังการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

328 บทที่ 10 การประเมินผลการโค้ช จากหลักการประเมินการเรยี นร้ทู ี่เสริมพลังท้ัง 4 ข้อดังกล่าวสามารถสรุปได้ ดงั แผนภาพต่อไปน้ี (วิชยั วงษใ์ หญ่ และมารตุ พัฒผล. 2558: 97) ตนเอง ก่อน การทดสอบ เรยี น การสงั เกต ระหวา่ งเรยี น ตดิ ตามผล เพ่ือน การรายงาน หลัง การตรวจ ผู้โคช้ ตนเอง เรยี น ชิน้ งาน ผู้เกี่ยวขอ้ ง การสะท้อนผล แผนภาพ 24 รปู แบบการประเมินการเรยี นร้ทู ี่เสริมพลงั ตามสภาพจริง การประเมินตามรูปแบบข้างต้นโค้ชสามารถเลือกใช้ผู้ประเมิน วิธีการและ เคร่อื งมือสาหรับการประเมิน ช่วงเวลาการประเมิน และวิธีการสะท้อนผลการประเมิน ที่สอดคล้องกับบริบทต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยต้องคานึงอยู่เสมอ ว่า การประเมินผลการโค้ชน้ันเป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนา (assessment for improvement) ไมใ่ ช่การประเมนิ เพ่ือตัดสนิ (judgment) ดงั นัน้ การประเมินผลการโค้ชจึงควรดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา โดยมุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริงรายบุคคล (individual authentic assessment) และการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการพัฒนา เป็นรายบุคคลทมี่ สี ิง่ ทีต่ อ้ งปรับปรุงและพฒั นาแตกต่างกัน

บทท่ี 10 การประเมินผลการโคช้ 329 บทบาทของโค้ชในการประเมินการเรยี นรู้มดี งั น้ี 1. ประเมนิ สะท้อนความก้าวหนา้ ทางการเรียนร้ขู องผเู้ รียน 2. ชแี้ นะโดยการวนิ จิ ฉยั จดุ บกพรอ่ งในการเรียนรขู้ องผู้เรยี น และนามาสู่การดแู ลช่วยเหลอื ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ 3. ให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั เชงิ สร้างสรรค์ตอ่ ผเู้ รยี นเพอ่ื พฒั นาผลการเรยี นรู้ 4. สือ่ สารผลการประเมนิ ไปยงั ผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย วิธีการประเมินที่มีประสทิ ธภิ าพ การใช้วิธีการประเมินผลการเรียนรู้มีหลากหลาย ซึ่งผู้สอนควรเลือกใช้ ใหเ้ หมาะสมกับสง่ิ ที่ต้องการประเมนิ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ (Marzano. 2000) ตาราง 22 วธิ กี ารประเมินท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ สง่ิ ท่ปี ระเมิน ขอ้ สอบ ขอ้ สอบ ขอ้ สอบ การสอบ การ การ การ เลอื กตอบ ตอบขยาย ตอบสั้น ปากเปลา่ ทดสอบ สงั เกต ประเมนิ ภาคปฏบิ ตั ิ ตนเอง ความรู้ M H H H H MH ในเนอื้ หาสาระ กระบวนการ L M L M H HH เรียนรู้ กระบวนการคดิ M H M H H L H การส่ือสาร L H L H H LH คุณลักษณะ L L LL M HH และเจตคติ H หมายถงึ มปี ระสิทธิภาพสูง M หมายถึง มีประสทิ ธภิ าพปานกลาง L หมายถึง มปี ระสิทธิภาพ

330 บทที่ 10 การประเมินผลการโคช้ การประเมนิ การเรียนรู้ 4 ช่วงเวลา การประเมินการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างการรู้คิด แบ่งช่วงเวลาของการ ประเมินออกเป็น 4 ชว่ ง ดงั นี้ (วิชยั วงษใ์ หญ่ และมารตุ พัฒผล. 2556) การประเมินก่อนเรียน 1. ตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานอยู่ในระดับใด 2. ตรวจสอบวา่ ผูเ้ รยี นมที กั ษะพ้ืนฐานทจ่ี าเปน็ เพียงใด 3. นาผลการประเมินไปวางแผนการจดั การเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสม กบั ความสามารถในการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรขู้ องผู้เรียน 4. ใช้เปน็ ข้อมลู สาหรับเปรยี บเทยี บกับผลการประเมนิ หลงั เรียน การประเมินระหวา่ งเรยี น 1. ตรวจสอบว่าผเู้ รยี นบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไว้ในแตล่ ะ ข้ันตอนหรอื ไม่ 2. ตรวจสอบทักษะการปฏบิ ัตขิ องผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เนื่อง 3. นาผลการประเมินมาปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู้ 4. ใช้เปน็ ข้อมลู สาหรับการประเมนิ หลังเรียน การประเมนิ หลังเรียน 1. ตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ตามวตั ถุประสงคห์ รอื ไม่ 2. นาผลการประเมินมาพัฒนาผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล 3. นาผลการประเมินไปปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ การประเมนิ ตดิ ตามผล 1. ตรวจสอบว่าผเู้ รียนยังคงเข้าใจสาระสาคญั ที่เรียนรูไ้ ปแลว้ มากนอ้ ยเพียงใด 2. ตรวจสอบวา่ ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้กบั สถานการณ์ ต่างๆ ได้ดีเพยี งใด 3. นาผลการประเมินไปใช้ในการพฒั นาผูเ้ รยี น

บทท่ี 10 การประเมนิ ผลการโคช้ 331 องค์ประกอบ 3P ทใ่ี ชใ้ นการประเมินผ้เู รียน การประเมินผู้เรยี นของโค้ชนั้น มจี ุดเน้นที่สาคัญซึ่งเกี่ยวข้องกับการรู้คิด คือ การเรียนรู้ของผู้เรียน ซ่ึงประเมินจากข้อมูล 3 มิติ และมีขอบข่ายการประเมินในแต่ละ มิตดิ งั นี้ 1. Process (กระบวนการเรยี นรู้) - ผู้เรียนมกี ระบวนการทางานร่วมกันหรอื ไม่ - ผู้เรียนมกี ระบวนการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองหรือไม่ - ผเู้ รียนมคี วามมง่ ม่นั พยายามในการเรยี นรหู้ รือไม่ - ผูเ้ รียนมีวิธีการเรยี นรแู้ ละวธิ ีการแก้ปัญหาหรอื ไม่ - ผูเ้ รยี นมกี ระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรหู้ รอื ไม่ 2. Progress (ความกา้ วหนา้ ของการเรยี นรู้) - ผู้เรียนมที ักษะเพ่ิมขน้ึ อยา่ งไร - สิ่งท่ีผเู้ รยี นทาได้ดีกว่าเดมิ คอื อะไร - ผู้เรียนมพี ัฒนาการในทางานจากเดมิ เปน็ อย่างไร - พฒั นาการของการเรียนรู้ของผู้เรยี นเพม่ิ ข้นึ เพยี งใด - ผเู้ รียนมีความกา้ วหน้าทางการเรยี นรู้เพยี งพอหรอื ไม่ 3. Product (ผลผลติ ของการเรยี นรู้) - สง่ิ ทผ่ี ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรคู้ อื อะไร - ผลงานของผู้เรยี นมีคณุ ภาพเพยี งใด - ผู้เรียนมีทักษะตามท่ีกาหนดไว้แลว้ หรอื ไม่ - ผเู้ รยี นสามารถทางานทก่ี าหนดไว้ไดแ้ ล้วหรอื ยงั - ผูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้หลังจากการปฏิบัตกิ ิจกรรมแลว้ เพียงใด

332 บทที่ 10 การประเมนิ ผลการโค้ช การใช้พลังคาถามเพื่อประเมนิ 3P และเสรมิ พลงั การเรียนรู้ การประเมิน 3P ดังท่ีกล่าวมานั้น โค้ชอาจจะทาการประเมินด้วยตนเอง หรืออาจจะใช้พลังคาถามต่อผู้เรียน ให้ผู้เรียนประเมินตนเองโดยการตอบพลังคาถาม ของโค้ชก็ได้ ซ่ึงวิธีการใช้พลังคาถามนี้ช่วยทาให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองได้ดีย่ิงขึ้น เนื่องจากผู้เรียนได้ประเมินตนเองและคิดหาวิธีการท่ีเหมาสมสาหรับการพัฒนาตนเอง ตวั อย่างการใชพ้ ลงั คาถามเพอื่ ประเมนิ 3P มดี งั นี้ 1. Process (กระบวนการเรียนรู้) - มีกระบวนการทางานชิ้นน้ีมาได้อย่างไร - ข้ันตอนการปฏิบตั ิงานนี้ไดท้ ามาอยา่ งไร - วธิ กี ารปฏิบตั งิ านน้ีได้ทามาอย่างไร - มวี ธิ กี ารสืบเสาะแสวงหาความรูม้ าได้อย่างไร - สง่ิ ท่คี วรปรบั ปรงุ กระบวนการเรียนร้ขู องตนเองคอื อะไร* 2. Progress (ความกา้ วหน้าของการเรียนรู้) - สง่ิ ทที่ าได้ดีขนึ้ คอื อะไร - สิ่งทไ่ี ดเ้ รียนร้มู ากขน้ึ คอื อะไร - ทักษะอะไรท่ีคดิ วา่ ตนเองทาได้ดีขึน้ - สง่ิ ท่ตี ้องการพฒั นาให้ดียงิ่ ข้นึ ในอนาคตคืออะไร - มีวธิ กี ารพฒั นาตนเองให้ก้าวหน้ามากยง่ิ ขึ้นอยา่ งไร* 3. Product (ผลผลติ ของการเรียนรู้) - คุณภาพของผลงานช้นิ นเี้ ปน็ อย่างไร - สิง่ ท่ไี ด้เรียนรวู้ นั น้ีคอื อะไร - คดิ ว่าตนเองประสบความสาเร็จในการเรียนรู้วันน้ีอยา่ งไร - สง่ิ ที่ควรปรับปรุงและพฒั นาผลงานของตนเองคอื อะไร* * เปน็ คาถามทโี่ ค้ชจะต้องถามบอ่ ยๆ เพือ่ เสริมพลงั การเรยี นรใู้ ห้กบั ผู้เรียน

บทท่ี 10 การประเมนิ ผลการโคช้ 333 10.3 เครื่องมอื การประเมินผลการโคช้ จากผลงานวจิ ยั การประเมินผลการโค้ชมีความแตกต่างจากการตรวจสอบความเข้าใจ (checking for understanding) ตรงที่การประเมินให้ความสาคัญกับการกาหนด ระดับคุณภาพผู้เรียน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาให้ดีย่ิงขึ้น ซ่ึงจาเป็นต้องมีเครื่องมือการ ประเมนิ ที่มคี ณุ ภาพ จากประสบการณ์การทาวิจัยที่เก่ียวข้องกับการประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เขียนทาให้มีเครื่องมือการประเมิน และเกณฑ์การให้คะแนนท่ีผ่านการตรวจสอบ คุณภาพและทดลองใช้มาแล้วหลายชนิด ซึ่งโค้ชท่ีสนใจสามารถนาไปใช้ได้ตามบริบท การโคช้ ต่างๆ ดังน้ี

334 บทที่ 10 การประเมินผลการโคช้ แบบประเมนิ ความมีวินยั คาชี้แจง 1. แบบประเมินนใ้ี ช้สาหรบั ประเมินความมีวินยั ของผูเ้ รียน 2. เขียนระดับคะแนนลงในช่องผลการประเมนิ โดยใชเ้ กณฑ์การให้คะแนนดังน้ี 1 คะแนน หมายถงึ แสดงพฤติกรรมเมอ่ื ได้รบั คาสงั่ 2 คะแนน หมายถงึ แสดงพฤติกรรมเม่ือไดร้ ับการกระตนุ้ 3 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมดว้ ยตนเอง ผลการประเมิน ชอ่ื – สกลุ ต้งั ใจ ปฏบิ ัติงาน อดทน รบั ผดิ ชอบ รวม ในการ บรรลุ ตอ่ สงิ่ ย่วั ยุ ตอ่ ตนเอง เรียนรู้ เปา้ หมาย และสว่ นรวม เกณฑ์การประเมิน 4 – 6 คะแนน ปรับปรุง 7 – 8 คะแนน พอใช้ 9 – 10 คะแนน ดี 11 – 12 คะแนน ดมี าก

บทที่ 10 การประเมินผลการโคช้ 335 แบบประเมินจติ อาสา คาช้แี จง 1. แบบประเมินน้ีใช้สาหรับประเมินจติ อาสาของผเู้ รียน 2. เขียนระดับคะแนนลงในช่องผลการประเมนิ โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ 1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมเม่ือได้รบั การร้องขอ 2 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมเมือ่ ได้รับการกระต้นุ 3 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมดว้ ยตนเอง ผลการประเมิน ชือ่ – สกุล แบ่งปนั ใหค้ วาม ใหค้ า ใหค้ วามรู้สกึ รวม ส่งิ ของ ชว่ ยเหลือ แนะนา ทีด่ ี ความคิด ทางบวก เกณฑก์ ารประเมิน 4 – 6 คะแนน ปรบั ปรุง 7 – 8 คะแนน พอใช้ 9 – 10 คะแนน ดี 11 – 12 คะแนน ดมี าก

336 บทที่ 10 การประเมนิ ผลการโคช้ แบบประเมนิ ความสามารถในการสือ่ สาร คาชแ้ี จง 1. แบบประเมนิ น้ีใชป้ ระเมนิ ความสามารถในการส่อื สารของผเู้ รยี น 2. เขียนระดบั คะแนนลงในชอ่ งผลการประเมนิ โดยใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนดังน้ี 1 คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติด้วยตนเองยังไม่ค่อยได้ ตอ้ งได้รับการชว่ ยเหลอื 2 คะแนน หมายถงึ ปฏิบัตไิ ด้ด้วยตนเอง แตต่ ้องไดร้ ับคาแนะนาเพ่ิมเตมิ 3 คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ตั ิไดด้ ว้ ยตนเอง สามารถเป็นแบบอยา่ งของเพอื่ น ช่อื – สกลุ ตรง รายการประเมิน รวม ประเดน็ เคารพ สร้าง บรรลุ ผ้ฟู ัง สมั พันธภาพ เปา้ หมาย เกณฑก์ ารประเมนิ 4 – 6 คะแนน ปรบั ปรุง 7 – 8 คะแนน พอใช้ 9 – 10 คะแนน ดี 11 – 12 คะแนน ดีมาก