Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือและแผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1

คู่มือและแผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1

Published by panuchak.golf, 2020-05-03 08:17:30

Description: คู่มือและแผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 มูลนิธิทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์

Search

Read the Text Version

๒๙๒ หนว ยการเรียนรทู ี่ ๔ ลาํ นาํ รองเลนเปนเพลง แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุมสาระการเรียนรศู ิลปะ เรอ่ื ง บทเพลงตางวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ รายวิชาดนตรี ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู สอ่ื /แหลงเรยี นรู การรอ งเพลงและใชเ ครื่องดนตรีบรรเลง ขั้นนํา ๑. บทเพลงประเภทตาง ๆ ประกอบการรองเพลง ๑. แบง กลมุ นักเรียนเปน ๖ กลุม ใหแตละกลุมจบั สลากหัวขอบท ๒. เคร่อื งดนตรีชนิดตา ง ๆ จุดประสงคก ารเรียนรู เพลงตางวฒั นธรรมดงั น้ี ๓. สลากหวั ขอบทเพลง ดานความรู - บทเพลงพ้นื บา น - บทเพลงปลุกใจ ๔. ใบความรู - บทเพลงไทยเดิม - บทเพลงประสานเสียง ๒ แนว ๕. YouTube บทเพลงตามบรรณานุกรม อธิบายเหตุผลในการเลือกบทเพลงสาํ หรับรองหรือ - บทเพลงรปู แบบ ABA (Ternary form) บรรเลงดนตรีได - บทเพลงประกอบการเตน รํา ภาระงาน/ชน้ิ งาน ดา นทักษะและกระบวนการ ๑. ใบงาน รอ งเพลงและใชเครอื่ งดนตรบี รรเลงประกอบการ ขนั้ สอน ๑. นักเรียนแตล ะกลุม ศึกษาใบความรตู ามหวั ขอที่จับสลากได โดย รองเพลงดว ยบทเพลงทีห่ ลากหลายรูปแบบ เลอื กบทเพลงสําหรับรอ งหรือบรรเลงดนตรไี ดอยา ง สรปุ เปนผังมโนทศั น ๒. นักเรียนแตละกลุมออกมาอภิปรายหัวขอ ท่ีกลมุ จับสลากได เหมาะสม หนา ชน้ั เรียน ดา นคุณลักษณะ - มวี นิ ัย - ใฝเรียนรู - มงุ มัน่ ในการทาํ งาน 229828

หนว ยการเรยี นรูท ่ี ๔ ลาํ นาํ รองเลน เปนเพลง แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๒ ๒๙๓ กลุมสาระการเรยี นรูศิลปะ เร่ือง บทเพลงตางวฒั นธรรม เวลา ๑ ชั่วโมง รายวิชาดนตรี ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑ ขนั้ สรุป ๑. นกั เรียนและครูรวมกนั สรุปเรือ่ ง บทเพลงตางวฒั นธรรม โดย ครเู ปด บทเพลงตางวฒั นธรรมใหน ักเรียนฟงและรวมกนั สรปุ วา บท เพลงท่ีไดฟง เปน บทเพลงอะไร 229389

๒๙๔ 229940 การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เคร่อื งมือท่ีใช เกณฑ ส่ิงทตี่ องการวัด/ประเมนิ ประเมนิ ใบงาน ผา นเกณฑร ะดับ ดี แบบประเมินผงั มโน ดานความรู ประเมินการทาํ งาน ทัศน( Maid Map ผานเกณฑระดบั ๒ อ ธ ิบอาธยบิ เหายตเผุหลตใผุนลกใานรกเลาือรเกลบอื ทก กลุม จาก ๔ ระดบั เพลงสําหรับรองหรือ Rubric ) บรรเลงดนตรไี ด สังเกต ผา นเกณฑระดบั ๑ แบบประเมิน จาก ๓ ระดับ ดานทักษะ/กระบวนการ พฤติกรรมการทาํ งาน ร อ งรเอ้พงลเงพแลลงะแใลชะเ คใชรเ้ื่อคงรดือ่ นงตดรนี ตรี บรรเลงประกอบการ กลมุ รองเพลงดวยบทเพลงที่ หลากหลายรูปแบบ แบบสังเกตพฤติกรรม เลอื กบทเพลงสาํ หรบั รองหรือ การเรียนรูข องนกั เรียน บรรเลงดนตรไี ดอ ยางเหมาะสม ดานคณุ ลกั ษณะ - มวี นิ ัย - ใฝเ รยี นรู - มงุ มั่นในการทาํ งาน บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู ........................................................................................................................................................... ปญหาและอปุ สรรค ........................................................................................................................................................... ขอ เสนอแนะและแนวทางแกไข ........................................................................................................................................................... ลงช่อื ............................................ผสู อน (............................................) วนั ที่..........เดือน...................พ.ศ.......... ความคิดเห็นขอ เสนอแนะของผูบรหิ ารหรือผูไดรับมอบหมาย ........................................................................................................................................................... ลงชือ่ ............................................ผูตรวจ (............................................) วันท.ี่ .........เดือน...................พ.ศ.........

๒๙๕ 229951 ใบความรู เรอ่ื งบทเพลงสําหรับฝก รอ งและการบรรเลงเครอ่ื งดนตรีประกอบการรองเพลง หนวยการท่ี ๔ ลํานาํ รอ งเลนเปน เพลง แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๒ รายวชิ าดนตรี รหัสวชิ า ศ๒๑๑๐๓ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ ๑ ๑. เพลงพนื้ บาน เพลงพน้ื บาน คอื เพลงของชาวบานทจี่ ดจําสบื ทอดกนั มาแบบปากเปลา ใ ชใรชอ ้งรเ้ลอน งเพล่ือ่นควเพามื่อความ สนุกสนานรื่นเริง โดยใชคําทงี่ ายๆ เนน เสียงสัมผสั และจงั หวะการรอ งเปน สาํ คัญ เพลงพ้ืนบานมลี กั ษณะเฉพาะ คือเปน เพลงทชี่ าวบา นอาศัยการฟงและจํา ไมมกี ารจดเปนตัวหนงั สอื เน้อื รอ งใชค ํางา ยๆ ใชการปรบมอื หรือใช เครือ่ งประกอบจังหวะงายๆ ที่สําคญั ตองมีเสียงรองรบั ของลูกคู ทําใหเ กิดความสนุกสนานมากขึน้ จากประวัติของเพลงพืน้ บา น พบหลกั ฐานวา เพลงเรือ และเพพลลงงเทเทพพททอองงมีกมาีกราเรลเนลม่นามตาัง้ แตตั้งสแมตัย่สมัย อยธุ ยาจนถึงสมยั ธนบรุ ี สว นในสมัยรัตนโกสนิ ทรมีเพลงอ่นื ๆ อีก เชน เพลงเก่ยี วขาว เพลงปรบไก เพลงสกั วา ตอ มา ในรชั กาลที่ ๗ เพลงพืน้ บานกย็ งั เปน ทนี่ ยิ มรองทั่วไป จนเเมมอื่ ื่ อจอจมอพมลพปล. พปิบูล. สพงิคบรู ลามส งเปคน ร า ม เ ป ็ น นายกรัฐมนตรี รัฐบาลควบคมุ การเลนเพลงพนื้ บาน และสนับสนุนการราํ วง ทําใหชาวบา นรอ งเพลงพนื้ บาน นอ ยลงไปเรื่อยๆ ต้ังแตย คุ นั้น ประเภทของเพลงพน้ื บาน แบง ตามภาค ๔ ภาค ดงั นี้ ๑. เพลงพน้ื บา นภาคกลาง สว นใหญเปน เพลงทีห่ นุม สาวใชรอ งโตตอบกัน มีคนรรอ้องงนนาํ �เำพเพลงลฝงา ฝย่าชยาชยาย และฝายหญิง สวนคนอ่ืนๆ เปนลกู คูรองรบั ใหจงั หวะดวยการปรบมือ เชน เพลงเรือ เพลงเกี่ยวขาว เพลงเต้น ก�ำ เกพาํ ลเงพพลวงพงมวงามลาัยลยั เพเพลลงงรระะบบ�ำํา เพลงเหยอ ย เพลงแหนาค เพลงลําตดั เพลงฉอ ย เพลลงงออีแีแซวซวเพลเพงขลองทขาอนทาน เพลงสาํ หรบั เดก็ ๒. เพลงพนื้ บานภาคเหนือ ผกู พนั อยกู บั ชวี ติ ของชาวบานต้ังแตเ ด็กไปจนถึงผูใหญ เพลงที่ยี่ยังังรรอ้องงเลเลน ่น อยใู นหลายจงั หวัดมี ๓ ประเภท ประเภทแรก คือ เพลงสสํา�ำหหรรับับเดเก็ด็กมเี มพีเลพงลกลงอกมลเ่อดม็กเแดล็กะเแพลละงเรพองลเงลรน ้องเล่น ประเภทท่ี ๒ คือ จอย เปนเพลงที่ชายหนมุ ใชรอ งเกีย้ วสาวในตอนกลางคืน และประเภทที่ ๓ คือ ซอ เปน เพลง ท่ีชายและหญงิ รองโตต อบกนั หรอื รองเปนเร่ืองนิทาน ๓. เพลงพนื้ บา นภาคอสี าน แบงตามกลมุ วฒั นธรรมออกเปน ๓ กลุม คอื กลุมแรกเปน เพลงพื้นบา น กลุมวฒั นธรรมไทย-ลาว รอ งเพลงหมอลํา และลาํ เซ้ิง กลุม ท่ี ๒ เปน เพลงพืน้ บา้ นกลุม่ วัฒนธรรมเขมร--สวสยว่ ย รองเพลงเจรยี ง เปนภาษาเขมร และกลุมท่ี ๓ เปนเพลงพื้นบานกลมุ วัฒนธรรมไทยโคราช รอ งเพลงโคราช ๔. เพลงพื้นบานภาคใต มีจาํ นวนไมมากนัก แตหลายเพลงรักษาการรองด้ังเดิมไวไดอยา งดี เชน เพลง เรอื เลนในงานชกั พระหรือแหพระ ชายและหญงิ รอ งโตต อบกนั ในเรอื เกย้ี วหรอื หยอกเยา กัน และยกเรื่องราว ในชวี ติ ประจําวนั มารอ ง เพลงบอก เปนเพลงท่เี ลนในเทศกาลสงกรานต เดนิ ไปรองตามบา นเพื่ออวยพรปใหม และยกยองเจา ของบาน เพลงรองเรือ หรือเพลงชานอง เปนเพลงกลอมเด็กใหน อน เน้ือเพลงรองข้นึ ตนวา \"ฮา เออ\" และลงทายวรรคแรกวา \"เหอ\" นอกจากเปน การขบั กลอมใหเ ด็กนอนหลับอยา งมคี วามสขุ แลว ยังแทรก คําสอนใหเ ด็กเปนคนดีดวย

๒๙๖ 229962 ๒. เพลงปลุกใจ เพลงปลุกใจ รวมอยใู นประเภทบทเพลงหรือดนตรีท่ีใหค ณุ ตอมนุษยด า้ นสสังังคคมมเกเก่ียี่ยววขขอ้งอใงนใดนา ดน้าสนังสคังมคม มีมาตง้ั แตส มยั โรมนั โดยใชเ คร่ืองดนตรจี ําพวกเครื่องเปาทท้งั ั้งเคเครือ่ร่ืองลงมลไมมไแมล้ ะแเลคะร่ือเคงรทื่องทเหอลงอื เงหลรวือมงถรงึ วกมลุถมึงกลุ่ม เครื่องกระทบ ไดแ ก เคร่ืองดนตรที ีใ่ หจ ังหวะท้ังหลายโโดดยยบบรรเลงเพลงเดนิ แถวเพเพ่ือ่ือปปลลกุ ุกใจใจททหหารารผผา น่านชชว ง่วเงวเลวาลา ทม่ี ที ั้งรุงเรืองและซบเซามากระทัง่ ถงึ ยุคสมยั ของนโปเลียนแหงฝรั่งเศส มมีกีการาปรรปับรปับรปงุ ใรหุงมใีเหค้รมื่อีเงคดรน่ือตงรดีอีกนตรีอีก หลายชนดิ เชน พวกขลยุ ผวิ พวกปและแตร ซึ่งตอมาเปนตนแบบของวงโยธวาทิต พจนานุกรมใหค วามหมายเพลงปลุกใจวา คือเพเพลลงงทที่เรี่เราใ้าจใใจหใหเก้เิดกคิดวคาวมากมลกา ลห้าาหญาแญลแะลกะรกะตระอื ตรือรนือรจ้นงึ จึง เปน เพลงท่ีฟงแลวจะเหนื่อย ย่งิ รอ งเองย่ิงเหนื่อย เหนอื่ ยดวยความฮึกเหิมเอาชัย เพลงปลกุ ใจของกองทัพวาปรากฏขนึ้ ครั้งแรกในสมยั ยพพรระะบบาทาสทมสเมดจ็เดพ็จระพจรลุ ะจจอุลมจเกอลมา เจกาลอ้ายเูหจวั ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี๕5((พพ.ศ.ศ..๒2๕4๔52๒))และเริม่ ปรากฏเดน ชัดในชวงสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยหู วั รัชกกาาลลทท่ี ี่6๖ (พ.ศศ..๒2๔4๕5๖6)ตอมาเมอ่ื เปลย่ี นแปลงการปกครองมาเปน ระบอบประชาธปิ ไตยพพ.ศ.ศ. .๒2๔47๗5๕กองทัพผลติ เพลงปลุกใจ ใอจอกอกมมาามมาากกขข้ึนนึ้ กระทัง่ เขา สู ชวงสมัยของ จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม เพลลงงปปลลกุ ุกใจใจขอขงอกงอกงอทงพั ทยัพุคยนุคจ้ี นึงม้ีจีคึงวมาีคมวาม เจรญิ สงู สดุ เหตุผลประการหนึ่งมาจากการเกดิ สงครามโลกครัง้ ท่ี ๒2 และะรรัฐัฐบบาาลลตตอ้องกงากราจระจปะลปุกลเรุกาเจริต้าใจจิตขใอจงของ ทหารในกองทัพใหเกดิ สํานกึ รักชาติ ตอมาเม่ือ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เขา้ รรับับตตาํ �ำแแหหนงนน่งานยากยรัฐกมรนัฐตมรนี เตพรลี งเพลง ปลกุ ใจของกองทัพกลบั ไมไดร ับความนยิ มเทาทคี่ วร จจววบบจจนนกกระรทะั่งทเั่กงดิเหเหตตุกุกาารรณ์เรยี กกรรอ ้องปงประรชะาชธาปิ ธไิปตยไต14ย ๑๔ ตลุ าคม๒2๕5๑1๖6-๒25๕1๑9๙เพลงปลุกใจของกองทัพจงึ กลบั มามีบทบาทอีกคร้ัง โดยแรงจูงใจจทที่ผ่ีผปู ู้ปรระะพพันันธธน ์นํา�ำมมาาใชใชม้มากาก ทีส่ ุด ๓3 อนั ดบั แรกคือ ความตองการดานความมั่นคงปลอดภยั รองลงมาคืออคควาวมามตอตง้อกงากราเรปเนปท็นี่ยทอี่ยมอรมบั รนับับนถับอื ถือ ยกยอ งในวงสงั คม และการอุทศิ ตัวเพื่อประเทศชาติ ตามลําดบั ตวั อยางเพลงปลุกใจ · เกิดเปน ไทยตายเพื่อไทย · เกียรตศิ ักด์ทิ หารเสือ · จากยอดดอย · ชายชาญทหารไทย · ดอกประดู (เพลง) · ดุจบดิ ามารดร · แดท หารหาญในสมรภมู ิ · ตนื่ เถดิ ชาวไทย · ตนื่ เถิดไทย · ตนตระกลู ไทย (เพลง) · ถามคนไทย · ทหารของชาติ · ทหารพระนเรศวร · แผน ดินของเรา (เพลง) · แผน ดินของเรา (เพลงพระราชนพิ นธ) · พลังสามัคคี · เพลงมหาชยั · รักกันไวเ ถดิ · เราสู · เลือดสุพรรณ · สยามานุสสติ · หนกั แผน ดิน · อนุสตไิ ทย

๒๙๗ 229973 ๓. เพลงไทยเดมิ เพลงไทยเดิม เพลงดัง้ เดิมของไทยเรา ซ่ึงก็ถือวา เปน เพลงแบบแรกทเ่ี กิดขึ้นในประะเเททศศไไททยยเลเลยยททีเดีเดยี ียวว และยงั เปน ศิลปะวัฒนธรรม ท่คี วรคาแกก ารรักษาไวอีกดว ย แตในปจจบุ ันคนไทยเริม่ รูจ้ ักเเพพลลงงไไททยยเดเดิมิมนนอ้อยยลลงง เพราะหนั ไปนยิ มเพลงสากล เพลงแนวใหมๆ กันเปน สว นใหญ แลละะแแนนน่นอนอวนา วก่า็ม นี กอ็มยีนค้นอเยลคยนทเี ดลยี ยวททีเีจ่ ดะียรูวจะรู้ ประวัติความเปนมาของเพลงไทยเดิม เพราะฉะนน้ั เพ่ือการสืบสานศลิ ปะวฒั นธรรมของไทยไว จึงควรเรียนรถู งึ ประวตั คิ วามเปน มาของเพลงไทยเดิม ซ่ึงกม็ คี วามเปน มา ดังนี้ กําเนิดเพลงไทยเดิม ดนตรี เปนสิ่งที่มนษุ ยเ ริ่มรูจักต้งั แตส มยั กอนประวตั ศิ าสตร ซ่งึ ก็มีการนาํ มารองรําทาํ เพลง ทํากิจกรรม กสจินกุกรรๆมสเตน้กุนๆร�ำเตแนลระาํ มแักลจะะมใักชจ้ใะนใชพใิธนีกพริธรกี มรรทมาทงาศงาศสานสนาา อยา งการสวดมนตอีกดว ย โดยเพลงแตเ ดิมนัน้ สว น ใหญแ ลว จะมจี งั หวะเรว็ และมีชว งทาํ นอง ประโยคขับรองสั้นๆ ซึ่งจะเหหมมาาะะกกับับกกาารรเตเตน ้นราํรม�ำามกากวกาว่าจ งึ จไึงดไมดีก้มาีกราร ปรับเปลี่ยนใหม จี งั หวะทช่ี าลง และมีความนุมนวลมากขน้ึ อีกทัง้ ยงั เพ่มิ ประโยคในการขับรอ งใหย าวข้ึนอกี ดว ย ทัง้ นีก้ ็เพ่อื ใหเ หมาะกบั การใชในพิธกี ารตางๆ การขบั รองในการเลน ละคร รวมมถถึงึงกการาขรับขกับลกอลม่อแมละนแ่ีกล็ถะือน่ีก็คือ กาํ เนิดเพลงไทยเดิมข้นึ มาน่นั เอง เพลงไทยเดิม หมายถงึ เพลงท่มี ีการแตง ขึ้นมา ท้งั เนื้อรอ ง คาํ รอ งและทํานอง โดยใชห ลกั การแตงแบบ ไทยๆ ดนตรีไทย และเนน ความเปนเอกลกั ษณของไทยเปน หลัก ซึ่งก็ทาํ ใหแตกตางจากเพลงของชาติอ่นื ๆ มาก ทีเดยี ว โดยเอกลักษณของเพลงไทยเดมิ ก็คือการเอ้ือนที่มีความไพเราะและยงั มีจงั หวะทว งทํานองท่ฟี งสนกุ และ ฟงร่ืนหูอีกดว ย ซงึ่ เพลงไทยเดิมทน่ี ยิ มกจ็ ะเปน เพลงสองชั้น และเพลงสามชนั้ ทม่ี ลี ักษณะการขบั รอ งแบบสักวา นัน่ เอง ประเภทของเพลงไทยเดมิ น้ัน สามารถแบง ไดเ ปน ๓3 จําพวกใหญๆ ซ่ึงก็คอื ๑1.เพเพลลงงสสาํ ำ� หหรรับับบบรรรรเลเลงงดดนนตตรรีลีลว ว้ นนๆๆ เพลงประเภทน้ี กอ็ ธบิ ายงายๆ ตามชื่อเลย กค็ ือเปนเพลงทีมแี ตด นตรบี รรเลง ไไมมม่มกี ีการาขรับขรับอ รง้อไงมมไีม่มี การเอื้อนใดๆ เนน ดนตรลี ว นๆ สวนใหญจะไดยินไดฟงกนั ในการใชประกอบการแสดง เชน่ เพเพลลงโงหโหมโมรโงรงเพเลพงลง หนา พาทย เปน ตน นอกจากน้ียังมกี ารใชเ ปนเพลงในการแสดงละคร เม่ืออตตัวัวลละะคครกราํกล�ำงั ลแังสแดสงทดางทา่างทกาิรงิยากิริยา ตางๆอีกดว ย ๒2.เพเพลลงงสสําำ� หหรรับบั กกาารรขขบั บั รรอ อ้ งง เพลงประเภทนี้ เปนเพลงที่มีการขับรองแลวตามดวยการรับโดยการบรรเลงดนตรเี ปนจังหวะ ซซึง่ ึ่งสสว่วนน ใหญแลว มกั จะเรยี กกนั วา การรองสงดนตรนี ั่นเอง โดยเพลงแบบนจ้ี ะมจี ังหวะที่ไพเราะ ฟฟง ังแแลลว ใ้วหใค หว้คามวารสูมึกรู้สึก สนุกและร่นื รมยมากข้ึน อีกท้ังยงั ชว ยใหเกดิ ความรูส กึ เพลดิ เพลนิ ไดเ ปนอยางดเี ลยทีเดยี ว ๓3.เพเพลลงงปปรระะกกออบบกกาารรรรําำ� เพลงประเภทน้ี เปนเพลงที่มีการรอ งไปตามบทรอง เพ่ือใหเกดิ จงั หวะทส่ี นุกสนานแแลละเะพเือ่พใ่ือหใผ หูเต้ผน ู้เต้น สามารถเตนตามจังหวะไดอ ยางสนกุ มากข้นึ อกี ดว ย นอกจากนี้ยังมักจะใชใ นการรปปรระะกกอบอกบากราแรสแดงสทดางททา่งาทาง กิริยาตา งๆ ของตวั ละครดว ยเชนกัน

๒๙๘ 229984 ลักษณะของเพลงไทยเดิม จากที่ไดก ลา วมาขางตน วาเพลงไทยเดิมน้นั แบง เปนเพลงช้ันเดียว เพลงงสสอองงชชั้น้ันแลแะลเพะลเพงสลางมสชาน้ั มชั้น ตามวิวัฒนาการของเพลงไทยเดิม แตน ่นั เปนเพียงแคล ักษณะบางสวนของเพลงไทยเดมิ เทานนั้ ซ่งึ ตามจริงแลว เรายังสามารถจาํ แนกออกตามลักษณะไดอ ีกหลากหลายลักษณะกันเลยทีเดียว เชน ๑1..เเพพลลงงชช้ันั้นเเดดยี ยี วว เพลงชน้ั เดยี ว เปน ลักษณะแบบแรกกําเนิดเพลงไทยเดิม ซ่งึ กจ็ ะมจี ังหวะดนตรีเร็วแแลละะมมีคีคํา�ำรอร้องแงบแบบ สน้ั ๆ โดยจะสังเกตไดจากเสยี งฉงิ่ ฉบั ทด่ี ังกระชบั ตดิ กันตอเน่อื งไปจนจบเพลงนนั่ เอง โดยใในนออดดตี ีนต้ันค้ันนคสนวสน่วน ใหญจะนยิ มใชเ พลงชัน้ เดียวในการเตน รํา ทาํ กิจกรรมสนุกๆ ตางๆ แตในปจจบุ นั นีเ้ ราจะไมค อยไดย ินเพลงชัน้ เดียวมากนกั ซึง่ ก็จะใชเ พื่อการแสดงมหรสพมากกวา ๒2..เเพพลลงงสสอองงชช้นั ้ัน เพลงสองชั้น เปนเพลงท่มี ีการขับรองและจังหวะแบบปานกลาง ไมเ่รเรว็ ็หวรหือรไือมชไมาจ่ชน้าเกเินกไินปไแปตกแ็มตี ่ก็มี ความยาวของเน้อื เพลงท่ียาวกวา เพลงช้นั เดยี วถงึ เทาตัวเลยละ ซซ่ึงึ่งเเรราาสสาามมาารรถถสสงั ังเกเกตตเพเพลลงสงสอองชงช้ัน้ันไดไจดา้จกาเกสเียสงียง ฉงิ่ …ฉบั ที่มีความหางกันพอสมควร เนอ้ื รอ งมกี ารเอื้อนหนอยๆ ตา งจากเพลงชน้ั เดยี วที่ไมม ีการเอื้อนเลย ๓3.เเพพลลงงสสาามมชช้ัน้ัน เพลงสามชั้น เปนเพลงทม่ี ีจงั หวะชา มกี ารเอ้ือนและทาํ นองรอ งที่นานมาก และชวงความหา งระหวาง เสยี งฉ่งิ …ฉบั ก็หา งพอสมควรเชน กัน ซ่ึงสว นใหญก จ็ ะนยิ มใชในการขับกลอมและการบรรเลงในโอกาส พธิ ีการ ตา งๆ นน่ั เอง ๕4.เเพพลลงงโโหหมมโโรรงง เพลงโหมโรง เปน เพลงที่ใชในการเปดงานพธิ สี าํ คัญตา งๆ เพอื่ เปนการแสดงความเคารพตอ ครูอาจารย และเปนการประกาศถึงการเร่ิมเปดงานนน่ั เอง ซงึ่ เพลงโหมโรงน้ันกย็ ังแบง ยอยไดอีก เปน็นเพเพลลงโงหโมหโมรงโรเชงา เช้า โหมโรงกลางวัน โหมโรงเย็นและโหมโรงเสภา เพลงไทยเดมิ นอกจากจะเปน เพลงดง้ั เดิมของไทยเราท่ีควรคาแกการรักษาไวแ ลว ยังเปนเพลงประจาํ ชาตอิ ีกดว ย ดงั นน้ั จึงควรธาํ รงคร ักษาไว และสืบสานวฒั นธรรมอันดีงามของไทย ทั้งดนนตตรรี ีกการาขรับขัรบอ รง้อแงลแะละ การบอกเลา เรื่องราวการถือกําเนดิ เพลงไทยเดมิ ใหแ กคนรุนหลงั ไดฟ ง ซ่ึงนีก่ เ็ ปน เพยี งประวัติและขอมลู คราวๆ เทานนั้ เพลงไทยเดิมยังมีเรื่องราวใหไดศกึ ษาอกี มากมายเลยทเี ดียว ๕๔.. เกพาลรงขขับบั รรอ ้องงปปรระะสสาานนเสเสยี ียงง การขับรองประสานเสยี ง หมายถึง การขบั รองแบบหนึ่งทม่ี ีผูขบั รองตัง้ แตส องคนขน้ึ ไป อาจรอ งเพลง ที่มีทาํ นองเดยี วกันแตขึ้นตน หรือลงจบไมพรอมกัน อาจรอ งพรอ มกันแตมที ํานองเพลงหลายทํานองหรือหลาย แนวโดยมแี นวใดเปน ทํานองหลกั สวนแนวอน่ื ๆ เปนทํานองประสานเสียง เสยี งประสาน คอื กลุมเสยี งต้ังแต สองขึ้นไปเกิดข้นึ พรอม ๆ กันทําใหเ สียงกลมกลนื ฟง สนิทหู

๒๙๙ 229995 รูปแบบของการขับรองประสานเสยี ง การขับรองประสานเสียงแบง ลกั ษณะการขบั รอ งไดห ลายแบบ ดังน้ี ๑1.. การขับรองแบบราวด (Round) การขบั รองแบบราวด หรอื ท่เี รียกกนั ท่ัวไปวา แบบวนนหหรรอื ือเพเพลลงวงนวนเปเปน ็น การขับรอ งท่มี ีผูขบั รอ งตั้งแต ๒2 คนหรอื ๒2 กลุมขึ้นไป รอ งเพลงแนวทาํ นองเดยี วกนั แตเริม่ ตน และจบไมพ รอมกนั สว น จะรองกี่เทย่ี วนนั้ ขึ้นอยูกบั การตกลงของผูขับรอ งหรือผคู วบคุม ๒2.. การขับรอ งประสานเสยี ง๒2 แนว คอื การขบั รองทีต่ องมที ํานองเพลง ๒2 ทาํ นอง รอ งไปพรอ ม ๆ กนั โดยมี ทาํ นองหลักทํานองหนึง่ สวนอีกทาํ นองหน่ึงเปน ทํานองประสาน ๓3. การขับรองประสานเสยี ง๓3 แนว คือ การขบั รอ งทม่ี แี นวทํานองเพลง ๓3 แนว รรอ อ้ งงไปไปพพรอร้อมมๆๆกนั กันโดโยดมยี มี แนวทํานองหนง่ึ เปน ทาํ นองหลกั สว นอีก ๒2 แนวเปนทาํ นองประสาน ซซึ่ง่ึงททําน�ำนองอปงรปะรสะานสทานัง้ ท๒2้ังแน๒วแอนาจวมอีทาํ จนมองีท�ำนอง แตกตางกันไป ๔4.. การขับรอ งประสานเสยี ง๔4 แนว คอื การขับรอ งท่ตี อ งมีแนวทํา�ำนนอองเงพเลพงลทงีแ่ ทตกี่ตต่าางกัน ๔4๔ททาํ �นำอนงอโงดยโดย ทํานองหลัก ๑1 ทํานอง สว นอีก ๓3 ทํานอง เปนทํานองประสานรอ งไปพรอม ๆ กนั หลายคน ทํานองเพลงแตละแนวทใ่ี ชขับรองตอ งประสานสอดคลอ งกันและกัน ตามแนวสูงต่าํ ทกี่ ําหนด โดยยดื ทาํ นอง หนง่ึ เปนหลัก การขับรอ งประสานเสยี งอาจขบั รอ งแนวละคนหรือหลายคนก็ได เรยี กวา “คคออรรสั ัส””(C(hCohrousr)uสsว)นสน่วักนรนอักงร้อง ประจําโบสถ เรียกวา “ไควร” (Choir) หมขู ับรอ งประสานเสียงประกอบดว ยชายลว นหญิงลว นหรอื ทงั้ ชายหญงิ กไ็ ด การแบง ระดบั เสยี งในการขับรองประสานเสียง การขบั รองประสานเสยี ง แแบบง ่รงะรดะบัดัเบสเียสงียขงอขงอผงูขผับู้ขรัอบงรเ้อปงน เกปี่ก็นลกุมี่กหลรุ่อืมกห่ีแรนือวก็ไ่ีแดน แวตกท็ได่ีถ้อื แวตา่เทป่ีถนือว่าเป็น มาตรฐานและเปนทนี่ ิยมกันทั่วไป คอื แบง เปน ๔4 แนว ดงั นี้ ๑1. แนวโซปราโน (Soprano) เปนระดับเสียงสงู สุดของผูห ญิง ๒2. แนวอลั โต (Alto) เปน ระดับเสียงตาํ่ ของผูหญิง ๓3. แนวเทเนอร (Tenor) เปน ระดับเสยี งสงู สุดของผูชาย ๔4. แนวเบส (Bass) เปน ระดบั เสยี งตํ่าของผชู าย ๔. บทเพลงรปู แบบ ABA (Ternary form) รูปแบบ (Musical Forms) แบงออกเปน ๕5 ประเภทใหญ ๆ ดังนี้ ๑1) รปู แบบสโตรฟค (Strophic Form) เปนลักษณะของเพลงรองทีม่ ีแนวทํานองเดยี วตลอดแตมีการ เปลยี่ นเนอ้ื รอง รปู แบบเปน AAA หรือไมกร็ อ งทาํ นองไมซ ํ้าเลยรองไปเร่ือย ๆ รปู แบบเปน ABCDE ที่มา http://www.musiclib.psu.ac.th/data/western-musuc/Chapter2/chap2-9.ht

๓๐๐ 320906 ๒2) รูปแบบไบนารี (Binary Form) เปน ลกั ษณะของเพลงท่ีมี ๒2 ทอน (two part form) รูปแบบเปนการถาม และตอบ ซ้ําไปมาอาจเปน หลายเท่ียวกไ็ ด เชน A:B, AABB, ABAB ทีม่ า http://www.musiclib.psu.ac.th/data/western-musuc/Chapter2/chap2-9.htm ๓3) รูปแบบเทรนารี (Ternary Form) เปน ลกั ษณะของเพลงที่มี ๓3 ทอน (tree part form) หรือ ทาํ นองหลกั ๓3 ลักษณะโดยมีสว นกลางเปนสว นทแี่ ตกตา งไปจากสว นตนและสวนทาย เชน ABA, AABA รปู แบบเทรนารีอาจเรียกเปน “รูปแบบเพลง” (Song form) เพราะเพลงโดยทัว่ ๆ ไปมักมโี ครงสรา งแบบนี้ ท่ีมา http://www.musiclib.psu.ac.th/data/western-musuc/Chapter2/chap2-9.htm ๔4) รปู แบบธีมและแวรเิ อชน่ั (Theme and Variations) เปนรปู แบบที่ประกอบดวยสวนสาํ คญั 2๒ ส่วน คสือวนธคีมอื (Tธมีhe(Tmhem) หe)รือหทรอื�ำทนําอนงอหงลหักลัก และ แวริเอช่ัน (Variations) หรือสว นทมี่ ีการเปลยี่ นแปลงจากทาํ นอง หลกั เชน A A1A2A3 ทม่ี า http://www.musiclib.psu.ac.th/data/western-musuc/Chapter2/chap2-9.htm

๓๐๑ 320917 ๕5)) รปู แบบรอนโด (Rondo form) เปน ลักษณะของการเนนทีแ่ นวทํานองหลกั หรอื เปน ลักษณะของ เพลงทีม่ บี ทดอกสรอย กลา วคือ แนวทาํ นองหลกั ทํานองแรกจะวนกลับมาอยูระหวางแตละสว นท่ีตางกัน รูปแบบเปน ABACADA ท่มี า http://www.musiclib.psu.ac.th/data/western-musuc/Chapter2/chap2-9.htm

๓๐๒ 320928 ใบงาน เรอื่ งบทเพลงสําหรบั ฝกรอ งและการบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการรอ งเพลง หนว ยการที่ ๔ ลํานาํ รอ งเลน เปนเพลง แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒ รายวิชาดนตรี รหสั วิชา ศ๒๑๑๐๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี ๑ ใหน ักเรียนแตล ะกลุมศกึ ษาใบความรทู ี่จับฉลากไดมาสรปุ เปนผังมโนทศั น

๓๐๓ 320399 แบบประเมนิ ผังมโนทัศน( Maid Map Rubric ) ชอื่ กลุม...............................................................................................ชัน้ ............................ คะแนน พฤติกรรมท่ีสังเกต ดมี าก ดี พอใช ควร ปรับปรุง ๑. เนอื้ หา (Content) ๒. การนาํ เสนอผลงาน (Presentation) ๓. การออกแบบ (Design) รวม ลงช่อื ..............................................ผปู ระเมนิ (.............................................) ........./........................./.......... ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ๑๐ - ๙ = ดี ๘-๖= พอใช ๕-๓= ควรปรบั ปรุง ๒-๑= = ดีมาก ผลการประเมนิ = ดี ๒๖ - ๓๐ = พอใช ๒๐ - ๒๕ = ควรปรบั ปรุง ๑๑ - ๑๙ ๐ - ๑๐

๓๐๔ 303400 เกณฑก ารประเมนิ ผงั มโนทศั น( Maid Map Rubric ) กจิ กรรม ดมี าก (๑๐-๙) ระดบั คณุ ภาพ ควรปรบั ปรงุ รวม (Activity) ดี (๘-๖) พอใช (๕-๓) (๒-๑) แสดงความรคู วาม แสดงความรู แสดงความรู แสดงความรคู วาม เขาใจในเนื้อหา ความเขาใจใน ความเขา ใจใน เขา ใจในเน้ือหา ทค่ี น ความาอยา งดี เนอ้ื หา เนือ้ หา ทค่ี นควาปานกลาง มาก มีขัน้ ตอน ทีค่ นควา มาอยาง ทค่ี น ควาปาน ขาดขั้นตอน และ เนอื้ หา ครบถวน มีการสรุป ดี มขี ัน้ ตอน กลาง ขาด รายละเอียด ไมมี (Content) ความคิดเหน็ ครบถวน มีการ ขัน้ ตอน และ การสรปุ ความ โดยใชเ หตผุ ลได สรปุ ความคดิ เห็น รายละเอียด มี คดิ เหน็ อยางสมเหตุสมผล โดยใชเ หตุผลได การสรปุ ความ อยา ง คิดเหน็ สมเหตุสมผล จัดทําแผนภาพ จัดทาํ แผนภาพ จัดทาํ แผนภาพ จัดทําแผนภาพ อยางเปน ระบบ อยา งเปนระบบ นําเสนอดวย นาํ เสนอดว ยขอมลู และนาํ เสนอดวย และ นาํ เสนอดวย ขอ มลู ถูกตอง แต ถูกตองบางสว น การนาํ เสนอ ขอ มูลท่ีถูกตอง ขอมลู แบบที่ ไมค รอบคุลมใน ขาดบางประเด็น ผลงาน ครอบคลุมหวั ขอ ถูกตอง หัวขอสําคัญบาง สาํ คัญและขาด (Presentation) และรายละเอียดที่ ครอบคลุมหวั ขอ ประเด็นและขาด รายละเอียด สาํ คัญ สาํ คัญ รายละเอยี ด ขาดรายละเอียด ในบางหัวขอ มกี ารใช รูปภาพ มีการใช ตวั อกั ษร มีการใช ตัวอกั ษร ขาดการใช ตัวอักษรและสีสนั และสสี นั เรา และสสี นั ตัวอักษรและสีสนั การออกแบบ เราความสนใจ มี ความสนใจ มี นาสนใจ ขาด มาตราสวนและ (Design) มาตราสวนและ มาตราสวนและ มาตราสว นและ สมดุลของภาพ สมดลุ สมดุลของภาพ สมดลุ ของภาพ ไมไดส ดั สวน ของภาพ

๓๐๕ 330051 แบบประเมินพฤติกรรมการทาํ งานกลุม กลมุ .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลมุ ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓....................................................................... ๔. ...................................................................... ๕....................................................................... ๖. ...................................................................... คําช้ีแจง : ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย  ในชองท่ตี รงกบั ความเปน จริง พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน ๑ ๓๒ ๑. มสี ว นรว มในการแสดงความคิดเหน็ ๒. มีความกระตือรือรน ในการทาํ งาน ๓. รบั ผดิ ชอบในงานที่ไดร บั มอบหมาย ๔. มีขั้นตอนในการทาํ งานอยางเปน ระบบ ๕. ใชเ วลาในการทํางานอยา งเหมาะสม รวม เกณฑการใหคะแนน ให ๓ คะแนน พฤติกรรมที่ทําเปนประจาํ ให ๒ คะแนน ให ๑ คะแนน พฤติกรรมที่ทําเปน บางครง้ั พฤติกรรมท่ที ํานอ ยครงั้ เกณฑก ารใหคะแนน ระดบั คุณภาพ ชวงคะแนน ดี ปานกลาง ๑๓ – ๑๕ ปรบั ปรุง ๘ – ๑๒ ๕–๗

๓๐๖ 303602 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรขู องนกั เรยี น ดา นคุณลกั ษณะ ที่ ช่อื – สกุล มีวินัย ใฝเรียนรู มงุ มน่ั ในการ รวม สรปุ ผลการ ทาํ งาน ประเมิน ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๙ ผาน ไมผ า น หมายเหตุ นกั เรยี นได ๖ คะแนนขึน้ ไป ถือวา ผา น รายการประเมิน ระดับคุณภาพ เกณฑการพจิ ารณา ๑. มีวินัย ๓ สมดุ ชนิ้ งาน สะอาดเรียบรอยและปฏบิ ัติตนอยูในขอตกลงที่ (ด)ี กําหนดใหร ว มกันทกุ ครั้ง ๒ สมดุ ช้ินงาน สะอาดเรยี บรอยและปฏบิ ัตติ นอยูในขอตกลงที่ (พอใช) กาํ หนดใหรวมกนั เปนสว นใหญ ๑ สมุด ชิ้นงาน ไมค อยเรียบรอ ยและปฏบิ ัตติ นอยูในขอตกลงท่ี (ควรปรับปรงุ ) กาํ หนดใหรว มกัน บางครงั้ ตองอาศัยการแนะนํา ๒. ใฝเรียนรู ๓ มกี ารอางอิงท่ีถูกตอง และเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ (ด)ี อยา งสมเหตสุ มผล ๒ มีการอางอิงทีถ่ ูกตองในบางสวน และเสนอแนวคิด (พอใช) ประกอบการตัดสินใจ แตอาจจะไมส มเหตุสมผลในบางกรณี สรปุ ผลไมค อยถกู ตอง ๑ มีการเสนอแนวคิดท่ีไมส มเหตุสมผลในการตัดสินใจ และไม (ควรปรบั ปรงุ ) อา งองิ สรุปผลไมถูกตอง ๓. มุงมนั่ ในการทํางาน ๓ สงงานกอ นหรือตรงตามท่ีกําหนดเวลานดั หมาย รับผิดชอบ (ด)ี งานทไ่ี ดรับมอบหมายและปฏบิ ัติเองจนเปน นสิ ัย และชักชวน ผูอน่ื ปฏิบตั ิ ๒ สงงานชากวากาํ หนด แตไดมีการตดิ ตอชีแ้ จงโดยมีเหตุผลรบั (พอใช) ฟง ได รับผดิ ชอบในงานที่ไดร ับมอบหมายและปฏิบัติองจนเปน นสิ ัย ๑ สงงานชากวา กาํ หนด ปฏิบตั ิงานโดยจองอาศยั การชี้แนะ และ (ควรปรบั ปรุง) การตดั เตือน

๓๐๗ แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๓ หนวยการเรียนรูที่ ๔ ลาํ นํารองเลน เร่ือง ขับรองประสานเสยี ง ๒ แนว เวลา ๑ ชั่วโมง กลุมสาระการเรียนรศู ลิ ปะ รายวิชาดนตรี ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี๑ ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรยี นรู สอื่ /แหลง เรียนรู ป ร ปะรเมะินเมคนิ ุณคภณุ าภพาดพาดน้าขนอขงอเนงเ้อื นหื้อาหคา ุณคภณุ าภพาดพา ดนา้ เนสยีเสงยี ง ขัน้ นาํ ๑. หอ งดนตรี และคุณภาพดา นองคป ระกอบดนตรี ๑. ครูเปดเพลงการขบั รอ งประสานเสียง ๒ แนว ใหน กั เรียนฟง ๑ ๒. เปย โน จุดประสงคการเรยี นรู เพลง และถามความรสู กึ ทน่ี ักเรียนไดฟงจากบทเพลง ๓. บทเพลงประสานเสยี ง๒2 แนว และ บท ด้านคดวาานมครวู้ ามรู รด บ- รเร้อา้ท ดล ออ น งเอื้า งง พ เคนกเเร-พพพลุณอ้บทมลงดลลงทลกัสวี งเางงักษเินพำ�ดแดนพหษยัะลล้ววทลรกณงยะยักงบัแรบใบสะษชระลทาํทอ้เบะะหคเงแเใพวหพรรชลนลือ่บัรเ้ละคงกงอืรงกทดราอบทรอ่ืห่ีรนงระ่ีหงหลตรบดลเรารลวนกือีบางนตกหบรดกรรหลรนีบาเราลตลรเรยารลงรรไปียงเดูปลดรรอ้แงูะนปยปบกตแา่ รบอรบงะบไีเบหกดกออมาบเยารละากือสงามกร ขั้นสอน เพลงรูปแบบ ABA https://www.youtube. ๑. นักเรยี นศึกษาใบความรเู ร่ืองการประสานเสียง ๒ แนว จากนน้ั com/watch?v=2fkYFO_92PE ครสู อบถามความแตกตา งระหวา งการประสานเสยี ง ๒ แนว และ ๔. คอมพิวเตอร การประสานเสียงรปู แบบเพลงราวด (Round) ๕. เครอื่ งฉายโปรเจกเตอร ๒. นกั เรยี นแบง กลมุ ๒ กลมุ เทา ๆ กนั เพอื่ ฝก รองเพลง Are You Sleeping ในรปู แบบเพลงราวด (Round) ภาระงาน/ชิ้นงาน แบบฝกทักษะการขับรอ งเพลง Are You เ ห ม า-ะใสฝมเ่ รยี นรู้ ๓. ครเู ลน เปยโนบทเพลง Are You Sleeping เพ่ือในนักเรียนฝก Sleeping - มดุ่งามนนั่ คใุณนกลาักรษทณำ� งะาน ขบั รอ งประสานเสยี ง - มีวินัย ขั้นสรุป - ใฝเ รียนรู ๑. นักเรียนสรปุ ความแตกตางระหวา งการประสานเสียง ๒ แนว - มงุ มน่ั ในการทํางาน และ การประสานเสียงรูปแบบเพลงราวด (Round) ๒. นักเรยี นขับรองประสานเสียง ๒ แนว เพลง Are You Sleeping ในรูปแบบเพลงราวด (Round) 330073

๓๐๘ 330084 การวดั และประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมือทีใ่ ช เกณฑ สิง่ ทตี่ องการวัด/ประเมนิ - - - ดา นความรู ประเมนิ ทักษะ แบบประเมนิ - ผานเกณฑคณุ ภาพ สงั เกต ระดับ ๒ ขึ้นไป ดา นทกั ษะ/กระบวนการ ร อ งรเ้อพงลเพงแลลงะแใลชะเ ใคชรเ้ อื่คงรดื่อนงดตนรีตรี แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา นเกณฑระดับ ๑ บรรเลงประกอบการ การเรียนรูของ จาก ๓ ระดับ รกอางรเรพอ้ ลงงดด้ววยยบบททเพเพลลงงทท่ี ี่ นักเรยี น หลากหลายรูปแบบ เลือกบทเพลงสําหรับรอ งหรอื บรรเลงดนตรไี ดอยา งเหมาะสม ดานคุณลักษณะ - มีวนิ ยั - ใฝเ รียนรู - มงุ ม่นั ในการทํางาน บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. ขอ เสนอแนะและแนวทางแกไ ข .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................ผูส อน (.......................................................) วนั ท.ี่ .........เดือน..........พ.ศ............. ความคิดเหน็ /ขอ เสนอแนะของผบู ริหารหรือผูทไ่ี ดร ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื ......................................ผูตรวจ (.......................................................) วันที่..........เดอื น..........พ.ศ.......

๓๐๙ 330095 ใบความรู เร่อื งขับรองประสานเสยี ง ๒ แนว หนว ยท่ี ๓ เรอื่ งโนตดนตรมี หศั จรรย แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี ๓ รายวชิ าดนตรี รหัสวิชา ศ๒๑๑๐๓ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ วิธกี ารขบั รองประสานเสยี ง ๒ แนว การประสานเสยี ง ๒ แนว การขบั รอ งประสานเสียง ๒2 แนว คอื การขบั รอ งทต่ี อ งมที าํ นองเพลง 2๒ ทาํ นอง รองไปพรอม ๆ กนั โดยมีทํานองหลักทํานองหนึง่ สวนอีกทํานองหนึ่งเปน ทํานองประสาน การขับรอง ประสานเสยี งแบบ ๒ แนว มักจะใช เสียงโซปราโน (Soprano) เปนแนวเสียงที่ ๑ และ เสียงอลั โต (Alto) เปน แนวเสียงท่ี ๒ หรอื จะใชเสียงโซปราโน (Soprano) ท้ัง ๒ แนวในการประเสยี งเสียงก็ได ตวั อยางเชน เพลง Are You Sleeping จะเปน การประสานเสียงในรปู การขบั รอ งแบบราวด (Round) หรือทเ่ี รียกกันทว่ั ไป วา แบบวน หรอื เพลงวน เปนการขับรองทีม่ ผี ูขับรองตงั้ แต ๒2 คนหรอื 2๒ กลมุ ขนึ้ ไป รองเพลงแนวทาํ นอง เดียวกัน แตเ รม่ิ ตนและจบไมพรอมกนั สว นจะรอ งกเ่ี ทีย่ วนั้นข้นึ อยกู ับการตกลงของผูข ับรองหรอื ผคู วบคมุ ตวั อยางโนต การขบั รองประสานเสียง ๒ แนว รปู แบบเพลงราวด (Round)

๓๑๐ 331006 แบบฝกทักษะ เรอ่ื งขบั รองประสานเสียง ๒ แนว หนวยที่ ๓ เรื่องโนตดนตรีมหัศจรรย แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๓ รายวชิ าดนตรี รหสั วิชา ศ๒๑๑๐๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี ๑ ๑. ใหน้ ักกเเรรียียนนใในนหหอ้ องงแแบบง่ กลมุ่ เปน็ ๒ กลุม่ จาํำ�นวนเทา่ ๆๆกกันนั โดโดยยกกลลุมุ่มทที่ ี่๑๑ฝฝกกึ รรอ อ้ งงโโนนตต้ ใในนแแนนวท่ี ๑ สว่ นกลมุ่ ท่ี ๒ ฝกรอ งโนตในแนวท่ี ๒ โดยฝกรอ งจนคลองแลวรอ งโดยพรอมเพยี งกันทงั้ ๒ แนว

๓๑๑ 331017 ๒. ใหนักเรียนรองเนื้อรองเพลง Are You Sleeping โดยพรอ มเพียงกนั ทั้ง ๒ แนว

๓๑๒ 331028 แบบประเมนิ ทักษะการใชเทคนิคการขับรองและเลน ดนตรี ชอื่ กลุม ..................................................................... สมาชิกในกลมุ ๑1. ............................................................ 2๒. ........................................................ ๓3. ............................................................ 4๔. .......................................................... ๕5. ............................................................ 6๖. ......................................................... ท่ี ชื่รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ๑1. เสียงรอง ๔๓๒๑ ๒2. คํารอ งและทํานอง ๓3. อักขระ รวม ๔4. จงั หวะและลลี าอารมณ ๕5. บคุ ลิกภาพ เกณฑการใหคะแนน ดีมาก = ๔4 ดี = ๓3 พอใช = ๒2 ปรบั ปรุง = ๑1 เกณฑก ารตดั สนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คะแนน ๑1๖6 – ๒20๐ ดมี าก ๑1๐0 – ๑15๕ ดี ๕5 – ๙9 พอใช ๑1 - 4๔ ปรับปรุง

๓๑๓ 331309 แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลมุ กลมุ .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลุม ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓....................................................................... ๔. ...................................................................... ๕....................................................................... ๖. ...................................................................... คาํ ชี้แจง : ใหน กั เรยี นทาํ เครื่องหมาย  ในชองที่ตรงกบั ความเปนจรงิ พฤติกรรมท่ีสงั เกต คะแนน ๑ ๓๒ ๑. มีสว นรวมในการแสดงความคดิ เหน็ ๒. มคี วามกระตือรือรนในการทาํ งาน ๓. รับผิดชอบในงานทไ่ี ดรบั มอบหมาย ๔. มีข้ันตอนในการทาํ งานอยางเปนระบบ ๕. ใชเวลาในการทํางานอยางเหมาะสม รวม เกณฑการใหค ะแนน ให ๓ คะแนน พฤติกรรมทีท่ ําเปน ประจํา ให ๒ คะแนน ให ๑ คะแนน พฤติกรรมท่ที ําเปนบางคร้งั พฤติกรรมที่ทํานอ ยครัง้ เกณฑการใหคะแนน ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๓ – ๑๕ ดี ๘ – ๑๒ ปานกลาง ๕ – ๗ ปรับปรงุ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรูข องนกั เรยี น ดา นคณุ ลกั ษณะ

แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรยี น ดา้ นคุณลักษณะ ๓๑๔ 314310 ที่ ชื่อ – สกุล มวี นิ ัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการ รวม สรปุ ผลการ ทาํ งาน ประเมิน ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๙ ผาน ไมผาน หมายเหตุ นักเรยี นได ๖ คะแนนขึน้ ไป ถือวา ผา น รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ เกณฑการพิจารณา ๑. มวี ินัย ๓ สมดุ ชิ้นงาน สะอาดเรียบรอยและปฏิบตั ิตนอยูใน (ด)ี ขอตกลงที่กําหนดใหร วมกนั ทุกคร้ัง ๒ สมุด ชิน้ งาน สะอาดเรียบรอยและปฏบิ ัตติ นอยูใน (พอใช) ขอตกลงท่ีกําหนดใหรวมกันเปนสวนใหญ ๑ สมุด ชน้ิ งาน ไมคอยเรยี บรอ ยและปฏิบตั ติ นอยูใน (ควร ขอตกลงทีก่ ําหนดใหร ว มกัน บางครง้ั ตองอาศัยการแนะนํา ปรับปรงุ ) ๒. ใฝเ รียนรู ๓ มีการอางอิงท่ีถูกตอง และเสนอแนวคดิ ประกอบการตดั สนิ ใจ (ด)ี อยางสมเหตุสมผล ๒ มกี ารอางอิงทถี่ ูกตองในบางสวน และเสนอแนวคดิ (พอใช) ประกอบการตัดสนิ ใจ แตอาจจะไมส มเหตุสมผลในบางกรณี สรุปผลไมค อยถกู ตอง ๑ มกี ารเสนอแนวคิดที่ไมส มเหตุสมผลในการตัดสนิ ใจ และไม (ควรปรบั ปรงุ ) อา งอิง สรุปผลไมถูกตอง ๓. มุง มัน่ ในการทํางาน ๓ สง งานกอนหรือตรงตามที่กาํ หนดเวลานดั หมาย รับผิดชอบ (ด)ี งานที่ไดรบั มอบหมายและปฏิบตั ิเองจนเปนนสิ ยั และชักชวน ผอู นื ปฏบิ ตั ิ ๒ สงงานชากวากําหนด แตไดมีการตดิ ตอชี้แจงโดยมเี หตุผลรับ (พอใช) ฟง ได รบั ผิดชอบในงานทไี่ ดรับมอบหมายและปฏบิ ัติองจนเปน นิสัย ๑ สง งานชากวา กาํ หนด ปฏบิ ตั ิงานโดยจตอ้ งอาศยั การชแี้ นะ และ (ควรปรบั ปรุง) การตกดั เตือน

๓๑๕ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๔ หนวยการเรยี นรูที่ ๔ ลาํ นาํ รองเลน เปน เพลง เรือ่ ง การใชแ ละบํารุงรักษาเคร่ืองดนตรี เวลา ๑ ชั่วโมง กลุม สาระการเรียนรศู ิลปะ รายวิชา ดนตรี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท๑่ี ขอบเขตเน้อื หา กจิ กรรมการเรยี นรู สื่อ/แหลงเรยี นรู ก า รกใาชรแใชล้แะลกะากรดารูแดลแู รลกั รษักาษเคาเรค่ือรงอ่ื ดงนดตนรตีตราีตมาหมหลกัลวกั ิธวีไิธดไี ด ้ ข้นั นาํ ๑. เคร่ืองดนตรีไทยและเครือ่ งดนตรสี ากล อยางถูกตอง ๑. ครถู ามนักเรยี นถึงวธิ ีการดูแลรกั ษาสิ่งของเครอ่ื งใชวามีการ ชนดิ ตาง ๆ จดุ ประสงคการเรียนรู รกั ษาอยางไร ทําไมตองรักษาให นกั เรียนรวมกันแสดงความ ๒. ภาพเครื่องดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรี ดา้ นคดวา นมครู้วามรู คิดเหน็ คนละ ๑ อยาง เชน กระเปา รองเทา นักเรยี น เสอื้ ผา เปน สากลชนิดตาง ๆ - ก า-รกใชารแ ใลชะแ้ บลําะรบงุ ำ�รรักงุ ษรากั เษคารเอื่ คงรดื่อนงตดรนีไตทรยีไทย ตน และการดูแลรกั ษา มีประโยชนอยางไร ๓. ใบความรู - ก า-รกใชารแ ใลชะ้แบลาํ ะรบงุ �ำรรักุงษรากั เษคารเอื่ คงรดื่อนงตดรนสี ตารกสี ลากล ๒. ครถู ามนักเรยี นวาใครเปน นักดนตรบี าง เพราะถาเปนนักเรียน ๔. หองดนตรี ดา นทักษะและกระบวนการ ท่ีเรียนดนตรจี ะตองรูจ กั วิธกี ารดูแล รักษาเคร่ืองดนตรเี ปนอยา งดี ๕. หองสมุด - ก -ารกใาหรเใหหต้เหุผลตุผกลารกสารรุปสครุปวาคมวรากูมารรู้กปาระปยรุกะตยใุกชต ์ใช้ และใหน กั เรยี นบอกวิธกี ารดูแลรกั ษาเคร่ืองดนตรใี หนักเรียนใน ภาระงาน/ช้ินงาน ดานคุณลักษณะ หอ งฟง ๑. ใบงาน ขัน้ สอน - ม -วี นิมัยีวินัย ๑. นกั เรยี นศึกษาขัน้ ตอนวิธกี ารดูแลรักษาเครือ่ งดนตรีแตล ะ - ใ ฝ-เ ใรฝีย่เนรรียูนรู้ ประเภท ทั้งเคร่ืองดนตรีไทย และ ดนตรีสากล จากหนงั สือ - ม -ุง มมั่นงุ่ ใในนกกาารรททำ�ํางงาานน - ร ัก- ครวกั าคมวเาปมน เปไทน็ ยไทย แบบเรยี น ๒. นักเรยี นรว มกนั อภปิ รายวา ประโยชนท่ไี ดร บั จากการดูแลรักษา เคร่ืองดนตรีมีอะไรบา ง 311315

หนวยการเรยี นรูท ี่ ๔ ลาํ นาํ รองเลนเปนเพลง แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๔ ๓๑๖ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เรอ่ื ง การใชและบํารุงรักษาเครอื่ งดนตรี เวลา ๑ ชั่วโมง รายวิชา ดนตรี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่๑ี ๓. ครนู ําภาพขนั้ ตอนการดูแลรักษาเครื่องดนตรีใหน ักเรยี นดู ชวยกนั ดวู าถกู ตองหรือไมเพราะอะไร รว มกันแสดงความคิดเหน็ ตามเขา ใจ ขนั้ สรุป ๑. ทําใบงาน เรื่องการวาดภาพเครื่องดนตรี พรอมบอกวธิ กี ารใช และการบาํ รุงรักษาท่ถี ูกตอ ง 331162

๓๑๗ 331173 การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เครือ่ งมือท่ีใช เกณฑ สิ่งทตี่ องการวัด/ประเมนิ ผานเกณฑระดับ ๒ ดานความรู ประเมนิ การปฏิบตั ิของ แบบประเมนิ ใบงาน นักเรยี น ชิน้ งานและใบ จาก ๔ ระดบั - การใชแ ละบาํ รุงรักษา ใบงาน งาน เครื่องดนตรีไทย ผา นเกณฑคณุ ภาพ - การใชและบํารงุ รักษา ประเมินพฤติกรรมการ แบบประเมนิ ระดับ ๒ ขึน้ ไป เครื่องดนตรีสากล พฤติกรรมการ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ กทารําทงา�ำนงกานลกุมลมุ่ ผานเกณฑคุณภาพ การใหเ หตุผล การสรปุ ระดบั ๑ ขึ้นไป ความรู การประยุกตใ ช สังเกต แบบบันทึก การสังเกต ดานคุณลกั ษณะ - มวี ินัย - ใฝเ รยี นรู - มุงมั่นในการทํางาน - รกั ความเปน ไทย บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู ...................................................................................................................................................................... ปญหาและอปุ สรรค ...................................................................................................................................................................... ขอ เสนอแนะและแนวทางแกไข ...................................................................................................................................................................... ลงช่อื ......................................ผสู อน (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดือน..........พ.ศ............. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผบู ริหารหรอื ผูท่ีไดรบั มอบหมาย ...................................................................................................................................................................... ลงช่อื ......................................ผสู อน (.......................................................) วนั ที่..........เดือน..........พ.ศ.............

๓๑๘ 331184 ใบความรู เร่ือง การใชและการดูแลรกั ษาเครอื่ งดนตรไี ทย / สากล หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๔ รายวิชา ดนตรี รหสั วชิ า ศ ๒๑๑๐๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๑ ภาพโดย วทิ วัฒน มาทอง การดแู ลรกั ษาเครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีไทยมีหลายประเภท หลายชนดิ แตล ะชนิดจะมีลักษณะและสวนประกอบท่ีแตกตา งกนั ไป ดังน้ันผูใ ชเ ครื่องดนตรีจงึ ควรใหความสาํ คัญเกี่ยวกับการใชแแลละะกการาเรกเ็บกร็บักรษักาษใหาใม หา้กมาปกฏปิบตัฏิใบหัตถ ใูกหต้ถอูกงตา้อมงตาม วิธีการตาง ๆ การใชเ ครอื่ งดนตรี กอนใชจ ะตองตรวจดูแลความเรยี บรอยของสว นประกอบ หลักกลไกตาง ๆ ท่ี ทําใหเกดิ เสียง วา เครอื่ งดนตรชี นดิ นน้ั มีความพรอมหรือไม โดยเฉพาะเรอื่ งขอองงเเสสียียงงเเคครรื่อ่ืองงดดนนตตรรี ผี ผเู ูล้เลน ่นจจะะตตอ้องง ตรวจดแู ลเปนอยา งดี เพ่อื ใหบทเพลงท่บี รรเลงดว ยเครือ่ งดนตรีเหลา ่านนมี้ ้ีมคี ีคณุ ุณภภาพาพมคีมวีคาวมาไมพไเพราเะรนาะา นฟง่าฟแัลงะและ สามารถใชง านไดต ลอดไป ไมเกดิ ชาํ รดุ เสยี หายกอนงานจะเลกิ โดยเฉพาะเครื่องดนตรีประเภทเคร่ืองสาย ซึง่ มี สว นประกอบละเอยี ดออนชํารุดเสียหายงา ย จึงตอ งระวงั เปนพเิ ศษในขณะท่ีใชงานหรอื เวลาบรรเลง การเก็บรกั ษาเคร่ืองดนตรี การเกบ็ รกั ษาเครื่องดนตรี นับวา ่ามมีคีคววาามมสสาํ ค�ำัญคัญไมไนมอ ่นย้อกยวกา กวา่ารกดาแู รลดูแล ความพรอมใชก อนการบรรเลงเชน กัน ดังไดกลาวมาแลววา เครรอื่ ื่องดงนดตนรตีมีหรีลมาีหยลชนาดิยชแตนลิดะชแนติด่จละะมชี นิดจะมี สวนประกอบและหลักกลไกท่ีแตกตา งกนั การเก็บรกั ษาใหถูกวิธจี ีจงึ เึงปเปน ็นสสิง่ ส่ิงาํสค�ำญัคัญททผ่ี เู่ีผลู้เนลด่นนดตนรตจี ระีจตะอ ตง้อตงรตะรหะนหักนัก อยูเสมอ และตองปฏบิ ัติใหถูกตอ งตามหลักการ จึงจะทาํ ใหเ คร่อื งดนตรรีมีมคี ีคววาามมคคงงททนนสาสมาามราถรใถชใงชา้งนาไนดอไดย้อา งย่าง คมุ คา โดยปฏบิ ัตดิ ังนี้

๓๑๙ 331195 ๑. หลงั เลกิ เลนทกุ คร้ังตองลดสาย ปลดเชอื กหรือทําอยา งอน่ื ตามลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรี แตละชนิดใหอ ยูในสภาพที่จะเกบ็ หรือไมใชง าน ๒. ทําความสะอาดเคร่ืองดนตรีแตล ะชนิดดว ยนํา้ ยา และอุปกรณท่ีเหมาะสมกบั เคร่ืองดนตรี ๓. เก็บใสภาชนะทีม่ ีลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรีแตล ะชนิด ๔. เก็บไวใ นที่ท่ีมีความเหมาะสม วธิ เี กบ็ รกั ษาเครือ่ งดนตรไี ทย ๑) การเก็บรกั ษาขลุย ๑. หลังการเปา ควรเชด็ ใหส ะอาด ๒. เกบ็ ใสถ งุ ใหเ รียบรอย ๓. วางหรอื แขวนไวในท่ีไมเสีย่ งตอการตกหลน ๒) การเก็บรักษาซอ ๑. เมอื่ เลิกเลนใหล ดสายดวยการหมนุ ลูกบิดลงประมาณคร่ึงรอบ แลว เลอ่ื นหมอนรองสาย ขนึ้ ไวบ นขอบกะโหลกซอ ๒. ทําความสะอาดโดยใชผาแหงเชด็ ๓. แขวนหรือใสถ งุ เก็บใสตูใหมิดชิด ๓) การเก็บรักษาจะเข ๑. เกบ็ ไวใ นตแู ละคลมุ ดวยผา ที่เยบ็ เขารปู ๒. เม่อื ใชบ รรเลงเสรจ็ ไมควรลดสาย เพราะสายจะเขกับหยองจะเสียดสีกนั ทาํ ใหห ยองสกึ ๓. หากนมจะเขห ลุด ใหใ ชกาวตดิ ไวในตําแหนงเดิม ๔) การเก็บรกั ษาระนาดเอก–ระนาดทุม ๑. ปลดเชือกคลองหูระนาดขา งซา ยมือลงขางหนึง่ ๒. ใชผา คลมุ กนั ฝุนจับ ๓. ถาเลิกใชงานโดยถาวร ควรมวนผนื ระนาดเกบ็ การมวนผืนระนาดควรหาผารองหลังผนื ระนาดเพื่อปองกันการเกิดริว้ รอย ๔. หากตะก่ัวหลดุ ควรติดใหอยใู นสภาพเดิม ๕. หากผาพันไมตหี ลดุ ใหรบี พนั ไวอยางเดมิ ปอ งกนั ลูกระนาดแตก ๕) การเก็บรกั ษาฆองวง ๑. เวลาเกบ็ ใหว างราบกับพน้ื ไมควรวางต้ัง จะทาํ ใหวงฆองหักเรว็ แลวใชผาคลมุ ใหเ รียบรอ ย ๒. ระวงั อยาใหนํ้าถกู เชือกแขวนลูกฆอง ๓. หากตะก่ัวถว งลูกฆองหลดุ ตองติดใหเรียบรอย

๓๒๐ 332106 ๖) การเก็บรกั ษาเคร่ืองหนงั ๑. ควรเก็บไวใ นทที่ มี่ ีความช้ืนนอย ๒. เครอ่ื งหนังบางชนดิ เชน ตะโพน กลองทัด ควรแกะขาวท่ีใชถ ว งหนา และลา งใหสะอาด ๓. กลองบางอยา ง เชน กลองมลายู ควรลดสายทเี่ รง เสียงใหหนาหยอน ๗) การเกบ็ รักษาเครอื่ งกํากบั จังหวะ ๑. ทําความสะอาดทงั้ กอนและหลงั เลน ควรมีหบี และกลองใส การดูแลรกั ษาเคร่อื งดนตรีสากล เครื่องดนตรสี ากลมหี ลายประเภท เราควรดูแลรักษาใหถูกตองตามประเภทของเครือ่ งดนตรี ซึง่ จะทํา ใหม อี ายุการใชงานยาวนาน การดแู ลรกั ษามีวิธอี ยา งงาย ๆ ดังน้ี ๑. เครื่องสาย กอ นหรือหลงั การเลน ใหใชผ าแหง ลูบเบา ๆ บนสายและตัวเคร่ือง เพ่ือขจัดฝุนคราบไคลตา ง ๆ ถา เปน เครอ่ื งสายที่ใชคันชักสี เมื่อเลนเสรจ็ แลว ตองปรับคนั ชกั ไมใหสายตึงเกินไป กอนที่จะนําไปเก็บในกลอง เพราะ หากปลอ ยใหส ายตึงเปนเวลานาน อาจชํารุดได ๒. เครอ่ื งเปาลมไม ๑. ประเภทเปา ลมผา นชอ งลม ใหใชผ านุมเช็ดตัวเคร่ืองกอนและหลังการเปา สว นเครื่องเปา ที่เปนโลหะ ใหใชผ า นมุ แตะน้ํามนั ที่ใชสําหรบั ทาํ ความสะอาดเครื่องดนตรี แลวลบู ไปตามกระเดื่องกลไกและ ตวั เครอ่ื งใหท่วั เพอื่ ทาํ ใหก ระเดืองกลไกเกิดความคลอ งตวั ในการใชงาน และชวยไมใหเกิดสนมิ ๒. ประเภทเปา ลมผานลิ้น มีวธิ ีการดูแลรกั ษาคลา ยกับเคร่ืองเปา โลหะ (ปคโคโลและฟลูต) และเพิ่มการทาํ ความสะอาดปากเปาและลิ้นดวยการถอดออกมาลางทําความสะอาด จากนั้นผง่ึ ลมและเชด็ ให แหง กอนใชฝ าครอบสวมสว นบน แลวจึงเก็บใสก ลองใหเ รยี บรอ ย ๓. เครอ่ื งเปาลมทองเหลอื ง ใชผ า นุมเช็ดตัวเครื่องใหส ะอาดกอนและหลงั การใช เม่ือใชเสรจ็ แลวใหกดกระเดื่องสาํ หรับไลน ํา้ ลาย แลว เปาลมแรง ๆ เขาไปตรงปากเปา เพ่ือไลหยดน้ําลายท่ีคา งอยใู นทอ เสรจ็ แลว ถอดปากเปาออกมาทาํ ความ สะอาด โดยใชผาเชด็ และใชเ ศษผา แตะครีมขัดโลหะลบู บนตวั เครอื่ งแลวใชผ า นุม เช็ดถูใหเกิดความเงางาม และเก็บใสกลอ งใหเ รียบรอง ๔. เครอ่ื งดนตรปี ระเภทลวิ่ นวิ้ ใชผ าสักหลาดหรือผาแหง เช็ดถทู ่ตี วั เคร่ืองและบริเวณลิ่มนว้ิ ใหส ะอาด ปด ฝาครอบแลวใชผ าคลมุ ให เรยี บรอ ย ๕. เครอ่ื งดนตรีประเภทเครอ่ื งตี ใชผ า นมุ เชด็ ตวั เครอื่ งและสวนทใ่ี ชต ีใหส ะอาดกอ นและหลังการเลนทุกครัง้ และเกบ็ เคร่ืองดนตรีใส กลองหรือใชผา คลมุ ทุกครั้งท่ีเลน เสร็จแลว

๓๒๑ 332117 ใบงาน เรื่อง การใชแ ละการดูแลรักษาเคร่อื งดนตรีไทย / สากล หนวยการเรียนรทู ี่ ๔ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๔ รายวิชา ดนตรี รหสั วิชา ศ ๒๑๑๐๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ ช่อื ……………………………………………………………………ช้นั ……………………….เลขที่……………………… คําชแี้ จง : นกั เรียนรว มกนั แสดงความคิดเห็นสรุปความรเู กี่ยวกับการใชและการบาํ รุงรักษาเครื่องดนตรี ๑. ใหน กั เรยี นวาดภาพเครือ่ งดนตรไี ทย และสากล อยางละ ๑ ช้ิน พรอมบอกวิธกี ารใชและการบาํ รุงรกั ษาที่ ถกู ตอง ๒. ใหน กั เรยี นบอกประโยชนที่ไดร ับจากการดูแลรกั ษาเครื่องดนตรีท่ีถกู ตอง ๓. ใหน ักเรยี นเปรยี บเทยี บวธิ ีการดูแลรักษา เครื่องดนตรีไทย และเครอื่ งดนตรีสากล ทีเ่ หมอื นกัน มา ๑ ชนดิ โดยบอกชอื่ เคร่ืองดนตรีไทย และสากล พรอมวธิ กี ารดแู ลรักษา

ช่ือ – สกุล แบบประเมนิ ใบงาน ๓๒๒ 322318 ๑ ระดับคุณภาพ ๔๓๒ รายการประเมิน ระดบั เกณฑก ารพจิ ารณา คณุ ภาพ วาดภาพเคร่อื งดนตรี ว า ดวภาดาพภาเคพรเ่ือคงรดอื่ นงดตนรพีตรีอพมรบอ้ อมกบวอธิ กี วาธิรกีใชาแรใลชะ้แกลาะรกบาํ รบงุ รำ� ักรุงษราักษา พรอมบอกวิธกี ารใช ๔ ไดถูกตอ งและสัมพันธกนั มีการเช่อื มโยงใหเหน็ เปนภาพรวม และการบํารุงรักษา (ดเี ยย่ี ม) แสดงใหเ ห็นถึงความสมั พนั ธกับตนเอง และผูอ ่ืน ว า ดวภาดาพภาเคพรเื่อคงรดอื่ นงดตนรีตพรีรพอรมอ้ บมอบกอวกิธวกี ธิ ากี ราใชรใแ ชล้แะลกะากราบราํ บร�ำุงรุงกั รษักาษา ๓ ไดถ ูกตอ งและสมั พนั ธก นั มีการจําแนกขอมลู หรืออธิบายให (ด)ี เหน็ ความสัมพนั ธกับตนเองอยางเปนเหตเุ ปนผล ว า ดวภาดาพภาเคพรเื่อคงรดือ่ นงดตนรีตพรรี พอมรอ้บมอบกอวิธกกีวาธิ รกี ใาชรแ ใชลแ้ะกลาะรกบาราํ รบงุ �ำรรักุงษรักาษา ๒ ไดถูกตองและสัมพนั ธกัน มีการเขียนขยายความและมี (พอใช) การยกตัวอยางเพ่ิมเพื่อใหเ ขาใจงาย ว า ดวภาดาพภเาคพรเอ่ื คงรด่ือนงตดรนี ตพรรี อพมรบ้อมอกบวอิธกีกวาิธรีกใาชรแใลชะแ้ กลาะรการ ๑ บํารุงรกั ษาไดแ ตย ังไมสัมพนั ธกนั เขียนตามขอมูลทผ่ี อู ืน่ (ควรปรับปรงุ ) บอกและ ไมมีการอธบิ ายเพ่ิมเติม

๓๒๓ 323139 แบบประเมินพฤติกรรมการทาํ งานกลุม กลมุ .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลมุ ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓....................................................................... ๔. ...................................................................... ๕....................................................................... ๖. ...................................................................... คําช้ีแจง : ใหน ักเรียนทาํ เครื่องหมาย  ในชองท่ตี รงกบั ความเปน จริง พฤติกรรมท่สี งั เกต คะแนน ๑ ๓๒ ๑. มสี วนรว มในการแสดงความคิดเหน็ ๒. มีความกระตือรือรนในการทํางาน ๓. รบั ผดิ ชอบในงานท่ีไดร ับมอบหมาย ๔. มีขั้นตอนในการทํางานอยางเปนระบบ ๕. ใชเ วลาในการทํางานอยางเหมาะสม รวม เกณฑก ารใหคะแนน พฤติกรรมที่ทําเปนประจาํ ให ๓ คะแนน ๒ คะแนน พฤติกรรมที่ทําเปน บางครง้ั ให ๑ คะแนน พฤติกรรมท่ที ํานอ ยครั้ง ให ระดบั คุณภาพ ดี เกณฑการใหคะแนน ปานกลาง ปรบั ปรุง ชวงคะแนน ๑๓ – ๑๕ ๘ – ๑๒ ๕–๗

๓๒๔ 332240 แบบสังเกตพฤตกิ รรมคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค หนวยที่ ๔ เรอ่ื งรองเลนเปนเพลง แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๕ รายวิชา ดนตรี ศ ๒๒๑๐๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ระดบั คณุ ภาพ ลําดับ ชอ่ื นกั เรยี น ๓ ๒ ๑ ๐ สรปุ ผล (ดเี ยีย่ ม) (ดี) (ผา น) (ไมผ าน)

๓๒๕ 323521 เกณฑก ารประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ เกณฑการพิจารณา สมุด ชน้ิ งาน สะอาดเรยี บรอยและปฏิบัติตนอยูในขอตกลงท่ี ๑. มวี ินยั ๓ กําหนดใหรวมกนั ทกุ คร้งั สมดุ ช้ินงาน สะอาดเรยี บรอยและปฏิบตั ติ นอยูในขอตกลงท่ี (ด)ี กําหนดใหรว มกนั เปน สว นใหญ สมุด ชน้ิ งาน ไมค อยเรียบรอ ยและปฏิบตั ติ นอยูในขอตกลงที่ ๒ กาํ หนดใหรวมกัน บางครง้ั ตองอาศัยการแนะนาํ มกี ารอางอิงท่ีถูกตอง และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ (พอใช) อยา งสมเหตสุ มผล มีการอางอิงทีถ่ ูกตองในบางสวน และเสนอแนวคิด ๑ ประกอบการตัดสินใจ แตอ าจจะไมสมเหตสุ มผลในบางกรณี สรุปผลไมคอยถูกตอง (ควรปรับปรุง) มกี ารเสนอแนวคิดที่ไมสมเหตุสมผลในการตดั สนิ ใจ และไม อางองิ สรปุ ผลไมถ ูกตอง ๒. ใฝเ รยี นรู ๓ สงงานกอนหรือตรงตามที่กําหนดเวลานัดหมาย รบั ผิดชอบ งานที่ไดรับมอบหมายและปฏบิ ัติเองจนเปน นิสยั และชักชวน (ด)ี ผอู ่นื ปฏิบัติ สง งานชา กวา กาํ หนด แตไดม ีการตดิ ตอชแี้ จงโดยมเี หตุผลรบั ๒ ฟงได รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ดรับมอบหมายและปฏิบตั ิองจนเปน นิสยั (พอใช) สงงานชา กวา กําหนด ปฏิบตั ิงานโดยจอ งอาศยั การช้ีแนะ และ การตัดเตือน ๓. มุงมัน่ ในการทาํ งาน ๑ มคี วามเต็มใจและมคี วามสขุ เม่อื ไดเรียนเรอื่ งดนตรีไทย (ควรปรับปรุง) ไมค อยเต็มใจและมคี วามสขุ บาง เม่ือไดเรียนเรอื่ งดนตรีไทย ๓ (ด)ี ไมคอยเตม็ ใจ และไมมีความสุขเลย เมือ่ ไดเ รียนเรอื่ งดนตรไี ทย ๒ (พอใช) ๔. รักความเปนไทย ๑ (ควรปรบั ปรุง) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช) ๑ (ควรปรบั ปรุง) เกณฑการผา น ตง้ั แตระดับ ๑ ขน้ึ ไป

๓๒๖ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๕ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๔ ลาํ นํารองเลน เปน เพลง เรือ่ ง การใชแ ละบํารุงรกั ษาเคร่ืองดนตรี เวลา ๑ ชั่วโมง ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่๑ี กลมุ สาระการเรียนรูศ ิลปะ รายวิชา ดนตรี สอื่ /แหลง เรียนรู ขอบเขตเนอ้ื หา กจิ กรรมการเรยี นรู ๑. เครอ่ื งดนตรไี ทยและเคร่อื งดนตรสี ากล ก า รกใาชรแใชลแ้ะลกะากรดารแู ดลแู รลักรษักาษเคาเรค่ือรงือ่ ดงนดตนรตตี ราีตมาหมหลักลวักธิวไีิธดีได ้ ขัน้ นาํ ชนดิ ตา ง ๆ ๒. ภาพเครื่องดนตรีไทยและเครอื่ งดนตรี อยางถูกตอง ๑. ทบทวนขน้ั ตอนวิธีการดแู ลรกั ษาเครื่องดนตรีแตล ะประเภท สากลชนดิ ตาง ๆ ๓. ใบความรู จุดประสงคการเรยี นรู ท้งั เครื่องดนตรไี ทย และ ดนตรสี ากล ๔. หอ งดนตรี ด-- า้กก นาา--รรคกกใใวดาาชชารราแแมใในลลชชระะค้้แแู้ บบวลลําาําะะรรมกกุงุงราารรูรรัักกบบษษ��ำำาารรเเงงุุคครรรรกกัั ่ือือ่ ษษงงาาดดเเนนคคตตรรรร่อือื่ ีสีไงงทดดายกนนลตตรรีไีสทายกล ข้ันสอน ๕. หอ งสมุด ดา้ นทดกั าษนะทแกัลษะกะรแะลบะวกนระกบารวนการ ๑. ครูนาํ ภาพข้ันตอนการดูแลรกั ษาเคร่ืองดนตรีใหน ักเรยี นดู ชวยกนั ดู ภาระงาน/ชนิ้ งาน - การใหเ หตุผล การสรุปความรูก าร - ๒. แบงกลุมออกเปน 4 กลมุ กลมุ ละ เทา ๆ กนั ใหแตละกลุม ศกึ ษาวธิ ีการใชและการบํารงุ รักษาเคร่ือง ดนตรี ทัง้ เคร่ืองดนตรี ประยกุ ตใ ช ไทย และเคร่ืองดนตรีสากล จากน้ันเขยี นอธบิ ายการใชและการ ดา้ นคณุ ดาลนักคษุณณละักษณะ บาํ รงุ รกั ษาเคร่ืองดนตรี ประเภทตางๆ ตามที่กําหนดใหพอสงั เขป - ม -ีวินมัยวี นิ ัย ๓. ใหน ักเรยี นวิเคราะหผลทไ่ี ดรบั จากการใชเครอ่ื งดนตรีไทยและ - ใ ฝ-เ ใรฝยี เ่ นรียรูนรู้ - ม -งุ ม่ันุงมในน่ั กในารกทาํารงทา�ำนงาน สากล และการบาํ รุงรักษา - ร ัก- ครวกั าคมวเาปมน เปไท็นยไทย ขนั้ สรุป ๑. นกั เรียนและครูรว มกนั สรุปความรู การใชและบาํ รงุ รกั ษา เคร่ืองดนตรีใหถูกวธิ ี จะทาํ ใหรักษาคุณภาพ ของเครอ่ื งดนตรแี ละ ยดื อายกุ ารใชงานของเครื่องดนตรไี ด นักเรยี น 323226

๓๒๗ 332273 การวัดและประเมนิ ผล ส่งิ ท่ีตองการวัด/ประเมิน วิธกี าร เครือ่ งมอื ท่ีใช เกณฑ ดา นความรู การนกําเรสนนำ� อเสกนิจอกรรม กจิ กกรรลมุ กลุ่ม - การใชและบํารงุ รักษา แบบสงั เกตการ ไดร ะดับคุณภาพ ๒ ทุก เครื่องดนตรีไทย กปาฏรบิ ปตั ฏิงบิ าตันงิ กาลนมุ กลมุ่ ทรกุ ารยากยากราขรนึ้ ขไึน้ ปไถปือวา - การใชและบํารงุ รักษา ถือว่าผา่ นผา น เครอื่ งดนตรสี ากล ดา นทกั ษะ/กระบวนการ ประเมนิ พฤติกรรมการ แบบประเมนิ ผานเกณฑคณุ ภาพ การใหเหตผุ ล การสรุป พฤติกรรมการ ระดบั ๒ ขนึ้ ไป ความรู การประยุกตใ ช กทารําทงาำ� นงกานลกุมล่มุ ดา นคณุ ลกั ษณะ - มวี ินัย สังเกต แบบบันทึก ผานเกณฑคุณภาพ - ใฝเ รียนรู การสงั เกต ระดบั ๑ ขึน้ ไป - มงุ มนั่ ในการทํางาน - รักความเปนไทย บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู ...................................................................................................................................................................... ปญหาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................... ขอ เสนอแนะและแนวทางแกไข ................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ......................................ผสู อน (.......................................................) วันท.่ี .........เดือน..........พ.ศ............. ความคดิ เห็น/ขอเสนอแนะของผบู ริหารหรอื ผูทไี่ ดร บั มอบหมาย ........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................ผตู รวจ (.......................................................) วันที.่ .........เดอื น..........พ.ศ.......

๓๒๘ 332284 แบบประเมินการนาํ เสนอ สมาชกิ กลุม………………………………… หอง…………………………………… ๑………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. คําชแี้ จง : ใหท ําเครื่องหมาย  ในชอ งวา งที่กาํ หนดให พฤติกรรมบงช้ี รวม  ประเมินตนเอง ๔๓๒ ๑ รายการประเมนิ ๕ ๑. มีการวางแผนการทํางาน ๒. มคี วามพรอ มในการนําเสนอ ๓. ความนาสนใจในการนาํ เสนอ ๔. มีความคิดสรางสรรค ๕. ประโยชน-ความถูกตอ งของงานนําเสนอ  เพอ่ื นประเมิน พฤติกรรมบงช้ี รวม รายการประเมนิ ๕๔๓๒๑ ๑. มกี ารวางแผนการทาํ งาน ๒. มคี วามพรอมในการนาํ เสนอ ๓. ความนา สนใจในการนําเสนอ ๔. มีความคิดสรางสรรค ๕. ประโยชน-ความถกู ตอ งของงานนาํ เสนอ เกณฑการประเมนิ ๔๓ ๒๑ ๕ ดี ปานกลาง นอ ย ตองปรับปรงุ ดมี าก ลงช่อื …………….………….ผปู ระเมนิ ลงชือ่ …………….………….ผูประเมนิ

๓๒๙ 332295 แบบประเมินพฤติกรรมการทาํ งานกลุม กลมุ .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลมุ ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓....................................................................... ๔. ...................................................................... ๕....................................................................... ๖. ...................................................................... คําช้ีแจง : ใหนกั เรยี นทําเครื่องหมาย  ในชองท่ตี รงกบั ความเปน จริง พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน ๑ ๓๒ ๑. มีสว นรว มในการแสดงความคิดเหน็ ๒. มีความกระตือรือรน ในการทาํ งาน ๓. รบั ผดิ ชอบในงานที่ไดร บั มอบหมาย ๔. มีขั้นตอนในการทาํ งานอยางเปน ระบบ ๕. ใชเ วลาในการทํางานอยา งเหมาะสม รวม เกณฑการใหคะแนน ให ๓ คะแนน พฤติกรรมที่ทําเปนประจาํ ให ๒ คะแนน ให ๑ คะแนน พฤติกรรมที่ทําเปน บางครง้ั พฤติกรรมท่ที ํานอ ยครงั้ เกณฑก ารใหคะแนน ระดบั คุณภาพ ชว งคะแนน ดี ๑๓ – ๑๕ ปานกลาง ปรบั ปรุง ๘ – ๑๒ ๕–๗

๓๓๐ 333026 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรขู องนักเรยี น ดา นคณุ ลักษณะ ชอ่ื – สกลุ มีวินยั ใฝเ รยี นรู มงุ ม่นั ใน รวม สรุปผลการ การทํางาน ประเมิน ๓๒๑๓๒๑๓๒๑ ๙ ไ ผาน ไมผา น หมายเหตุ นักเรยี นได ๖ คะแนนข้นึ ไป ถือวา ผาน

๓๓๑ 333217 รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ เกณฑการพิจารณา ๑. มีวินัย ๓ (ด)ี สมุด ชนิ้ งาน สะอาดเรียบรอยและปฏิบตั ติ นอยูใน ๒. ใฝเ รียนรู ๒ ขอ ตกลงที่กําหนดใหร วมกนั ทุกครงั้ สมดุ ช้นิ งาน สะอาดเรยี บรอยและปฏบิ ตั ิตนอยูใน ๓. มงุ มั่นในการทาํ งาน (พอใช) ขอตกลงที่กําหนดใหรว มกนั เปน สวนใหญ ๑ สมดุ ชิ้นงาน ไมค อยเรยี บรอ ยและปฏบิ ัตติ นอยูใน ๔. รกั ความเปน ไทย ขอตกลงทก่ี ําหนดใหรวมกัน บางครงั้ ตองอาศยั การ (ควรปรบั ปรงุ ) แนะนาํ มกี ารอางอิงทถี่ ูกตอง และเสนอแนวคิดประกอบการ ๓ ตดั สินใจอยา งสมเหตุสมผล (ด)ี มีการอางอิงที่ถูกตองในบางสวน และเสนอแนวคดิ ๒ ประกอบการตัดสินใจ แตอ าจจะไมส มเหตุสมผลในบาง (พอใช) กรณี สรปุ ผลไมค อยถูกตอง มกี ารเสนอแนวคดิ ท่ีไมสมเหตุสมผลในการตัดสนิ ใจ และ ๑ ไมอางอิง สรุปผลไมถ ูกตอง (ควรปรบั ปรุง) สง งานกอ นหรือตรงตามที่กําหนดเวลานดั หมาย รบั ผิดชอบงานที่ไดร ับมอบหมายและปฏบิ ัติเองจนเปน ๓ นสิ ัย และชักชวนผูอ ื่นปฏิบัติ (ด)ี สง งานชากวา กาํ หนด แตไดม ีการติดตอช้แี จงโดยมี เหตผุ ลรบั ฟงได รับผิดชอบในงานทไ่ี ดร บั มอบหมายและ ๒ ปฏบิ ัติองจนเปนนิสัย (พอใช) สง งานชา กวากําหนด ปฏบิ ตั ิงานโดยจองอาศยั การชีแ้ นะ และการตัดเตอื น ๑ มีความเตม็ ใจและมีความสขุ เมื่อไดเรียนเรือ่ งดนตรีไทย (ควรปรับปรุง) ไมคอยเตม็ ใจและมีความสขุ บาง เมอ่ื ไดเรียนเรอ่ื งดนตรี ๓ ไทย (ด)ี ไมค อยเตม็ ใจ และไมมีความสุขเลย เมื่อไดเ รยี นเรอ่ื ง ๒ ดนตรไี ทย (พอใช) ๑ (ควรปรบั ปรุง) เกณฑการผาน ตั้งแตร ะดับ ๑ ขึน้ ไป

๓๓๒ แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๖ หนว ยการเรียนรทู ่ี ๔ ลาํ นาํ รองเลนเปน เพลง เรอ่ื ง การประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลง เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ สาระการเรยี นรูศิลปะ รายวิชาดนตรี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ ขอบเขตเนือ้ หา กิจกรรมการเรียนรู สือ่ /แหลงเรยี นรู ๑. หอ งสมดุ ประเมนิ คุณภาพดานของเน้ือหา คุณภาพดานเสียง ขั้นนํา และคุณภาพดานองคป ระกอบดนตรี ๑. ครูเปด เพลงใหน กั เรยี นฟง ๑ เพลง แลว ถามนักเรียนวา เพลงท่ี ๒. หองดนตรี จดุ ประสงคก ารเรียนรู ครเู ปด นั้นมคี วามไพเราะหรือไม และนักเรยี นทราบไดอยางไร ให ๓. รายการประกวดขับรองเพลงหรือดนตรี ดานความรู นกั เรยี นรว มกนั ตอบเพื่อประเมินความรกู อนเรียนของนักเรียน ทางสถานโี ทรทัศน ประเมนิ คุณภาพของบทเพลงดานเนื้อหา ดานเสียง ขั้นสอน ๔. เพลงประเภทตา ง ๆ และดา นองคป ระกอบดนตรีได ๑. ครนู ําเสนอเน้ือหาเร่ือง การประเมินคุณภาพของบทเพลง โดย ๕. เครื่องดนตรีประเภทตา ง ๆ ดา นทกั ษะและกระบวนการ อธิบายเกี่ยวกับความไพเราะ วา เปน ส่งิ ท่ีเกดิ ข้ึนภายในความรูส ึก ภาระงาน/ชิ้นงาน ใชเ กณฑสาํ หรบั ประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือ ของแตล ะบุคคล แตก ็มีเกณฑในการประเมนิ คุณภาพของบทเพลง ๑. ใบงานเร่ือง การประเมนิ คุณภาพของบท หรอื ดนตรที ี่ฟงเชน กัน คือ เกณฑใ นการประเมินคุณภาพดา นของ เพลงท่ีฟง ไดอยา งเหมาะสม เนื้อหา คณุ ภาพดา นเสยี ง และคณุ ภาพดา นองคป ระกอบดนตรี เพลง โดยใหน กั เรยี นดูเน้ือหาในหนังสือเรยี นประกอบ ดา นคณุ ลกั ษณะ ๒. ครูใหน ักเรียนเลือกเพลง มากลมุ ละ 1 เพลง แลวประเมิน - มีวินยั - ใฝเรยี นรู - มุง มน่ั ในการทาํ งาน คณุ ภาพของบทเพลงตามหัวขอท่ีกําหนดตามใบงาน แลว ะให นักเรยี นชว ยกันตอบในใบงานและแสดงความคิดเหน็ ๓. นกั เรียนรว มกันอภปิ รายสรุปเรอื่ ง การประเมินคุณภาพของบท เพลง โดยครคู อยใหค วามรเู สริมในสวนทนี่ กั เรยี นไมเ ขาใจหรอื สรปุ ไมต รงกับจุดประสงคการเรียนรู 333228

หนวยการเรียนรูที่ ๔ ลํานาํ รองเลนเปนเพลง แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๖ ๓๓๓ กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ เร่อื ง การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง เวลา ๑ ชั่วโมง รายวิชาดนตรี ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ ขน้ั สรปุ ๑. ครูยกตวั อยางเพลงทีเ่ ปดใหน กั เรยี นฟงหรือใหนักเรยี นรวม ยกตัวอยาง ๑ เพลง แลว อธบิ ายคุณภาพของเพลงทัง้ ๓ ดานให นกั เรยี นเขา ใจยิ่งขึน้ แลว เปดโอกาสใหนักเรยี นซักถาม 329

๓๓๔ 333340 การวดั และประเมินผล สง่ิ ท่ตี องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เคร่ืองมือที่ใช เกณฑ ดานความรู วเิ คราะหเพลงที่มีจังหวะ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบ ผา นเกณฑร อยละ ๕๐ แตกตา งกัน มีเสียงดงั เบา หลังเรียน ตา งกัน และสามารถส่ือ อารมณตางๆได ดา นทักษะ/กระบวนการ ประเมินคณุ ภาพของบทเพลง ตรวจใบงาน แบบประเมินใบงาน ผา นเกณฑระดบั ๒ ดา นเนือ้ หา ดา นเสียง จาก ๔ ระดบั และดานองคป ระกอบดนตรีได ดา นคณุ ลกั ษณะ - มวี นิ ยั สังเกต แบบประเมนิ ผา นเกณฑร ะดับ ๒ - ใฝเ รยี นรู คุณลกั ษณะอันพึง จาก ๓ ระดับ - มุงมั่นในการทาํ งาน ประสงค บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู ........................................................................................................................................................... ปญหาและอปุ สรรค ........................................................................................................................................................... ขอเสนอแนะและแนวทางแกไข ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................ผูส อน (............................................) วนั ที.่ .........เดอื น...................พ.ศ.......... ความคดิ เห็นขอเสนอแนะของผูบรหิ ารหรือผูไ ดรบั มอบหมาย ........................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................ผตู รวจ (............................................) วันท.ี่ .........เดือน...................พ.ศ.........

๓๓๕ 333351 ใใบบคคววาามมรรู้ ู้ เเรร่ือื่องง กกาารรปปรระะเเมมนิินคคุณุณภภาาพพขขอองงบบททเเพพลลงง องคป ระกอบดนตรี ๑1. สสี นั ๖6. คีตลกั ษณ องค์ประกอบ ๒2. จังหวะ ๕5. ลักษณะเสยี ง ๓3. ทํานอง ๔. เส4ยี. งเปสยีระงสาน ประสาน องคป ระกอบของดนตรีแตล ะขอน้นั มีลักษณะตา งๆ ทที่ าํ ใหบทเพลงมีความสมบูรณ ไพเราะซง่ึ มี ลักษณะดงั น้ี ๑1. สีสันเสียง (Tone color) หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะของเสียงท่ีเกิดข้ึนจากแหลงกําเนิดเสียง ตาง ๆ ในทางดนตรีจะหมายถงึ เสยี งทีเ่ กดิ จากเครอ่ื งดนตรี และเกิดจากมนุษย ๒2. ลีลาจังหวะ (Rhythm) หมายถึง เสียงท่ีเกิดข้ึนดําเนินไปตามเวลาอาจสลับกับความเงียบทําให เกิดลีลาจงั หวะขน้ึ ในลักษณะตา ง ๆ กัน เชน ๒2.๑1 จงั หวะหลัก (Beat) หมายถงึ จังหวะทเ่ี กิดข้นึ อยา งสม่ําเสมอเทา ๆ กัน ๒2.๒2 ความเร็วของจังหวะหลัก (Tempo) หมายถึง ความเร็วของบทเพลง มีหนวยเปนครั้งตอ นาที ๒2.๓.3 จังหวะของทํานอง (Melodic Rhythm) หมายถึง จังหวะที่เกิดข้ึนตามทํานองโดยไมมีการ เปล่ยี นแปลงระดบั เสียง ๒2.๔4 รูปแบบของจังหวะ (Rhythmic Pattern) หมายถึง รปู แบบของจังหวะทีเ่ กดิ ขน้ึ ซ้าํ ๆ กนั เชน จงั หวะสามชา จงั หวะรําวง

๓๓๖ 333362 ๓3. ทํานอง (Melody) หมายถงึ การจัดเรยี งของเสยี งทมี่ คี วามสัน้ -ยาว และระดบั เสียงสูง-ตํา่ ไลเรียงกัน หรือสลับกันไป ในทางดนตรีถือวา ทํานอง เปนการเคล่ือนที่และผสมผสานกันของเสียงในแนวนอน คือ แนว ทํานองจะเคลื่อนทไี่ ปขา งหนาตามจังหวะท่ีดําเนินไปเรื่อยๆ จากการผสมผสานของ จังหวะและทํานอง ทําใหเพลงแตละเพลงใหอารมณความรูสึกในการฟง แตกตางกนั ออกไป ซง่ึ จะเปน ส่ิงทแี่ สดงถึง ความเปนเอกลักษณเ ฉพาะ ของเพลงนั้น ๔4. เสียงประสาน หมายถึง เสียงต้งั แต ๒2 เสียงขนึ้ ไปเกิดข้ึนพรอ มกนั ๕5. ลักษณะเสียง คือ หมายถงึ เสยี งดงั เสยี งเบา เสยี งส้ัน เสยี งยาว เสียงทุม และเสยี งแหลม ซึ่งจะ ข้ึนอยกู ับตน กาํ เนิดเสยี งนนั้ ๆ ตวั อยา งเชน  ถา ตน กําเนิดเสยี งสั่นสะเทือนมาก จะทําใหเกิดเสยี งทดี่ ัง  ถา ตน กาํ เนดิ เสียงสนั่ สะเทือนนอ ย จะทําใหเกดิ เสยี งทีเ่ บา  ถาตนกาํ เนดิ เสยี งสั่นสะเทือนนาน จะทาํ ใหเกดิ เสยี งทยี่ าว  ถา ตน กําเนิดเสยี งส่ันสะเทือนไมน าน จะทําใหเกดิ เสียงท่สี น้ั  ถา ตนกาํ เนดิ เสยี งมขี นาดใหญ จะทาํ ใหเ กดิ เสียงที่มีลักษณะทีท่ ุมตา่ํ  ถาตน กาํ เนิดเสียงมขี นาดเล็ก จะทําใหเกิดเสียงท่มี ีลักษณะทีแ่ หลมสูง ๖6. คตี ลักษณ หมายถึง รูปแบบ หรือโครงสรางของบทเพลง มลี ักษณะดังนี้ เพลง 1๑ เพลง 2๒ คอื บทเพลงท่ีมีทาํ นองหลัก 2๒ คือ บทเพลงที่มที าํ นองเดยี ว หรือ ๒2 ทอน ซึ่งในทอนใหมน ้ันทํานอง ทอ น หรือมากกวา แตทาํ นองท่ีเพ่มิ ขน้ึ ตองไมตา งจากเดิมมากนัก สญั ลักษณที่ ตองมีทํานองซํ้าตอกันมา โดยไมสลบั ใช คือ A เชน เพลงชาติ ทํานอง สญั ลกั ษณที่ใช คือ AB เพลง 3๓ รอน คอื บทเพลงที่มีทํานองหลกั 2๒ คือ บทเพลงที่มีทํานองสรอ ยซ้ํา ทาํ นองและนาํ ทํานอง A มาบรรเลงใหม เปน ชวงๆประกอบดว ยทํานองหลกั และ หรอื มที าํ นองตา งกันทั้งสามทํานอง ทํานองขดั แยง ๒2 ทอ น สัญลักษณทใ่ี ช สญั ลักษณที่ใช คือ AABA, ABC คือ ABACAD

๓๓๗ 333373 ใใบบงงาานน เเรรื่ออ่ื งง กกาารรปปรระะเเมมินนิ คคุณุณภภาาพพขขอองงบบททเเพพลลงง คําช้ีแจง ใหนักเรียนเลือกเพลง มากลุมละ ๑1 เพลง แลวประเมินคุณภาพของบทเพลงตามหวั ขอ ท่ีกําหนด ชือ่ เพลง ๑1. คณุ ภาพดา นเนื้อหา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๒2. คุณภาพดานเสยี ง ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๓3. คณุ ภาพดานองคป ระกอบของดนตรี ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ท่ี ท่ี ชอื่ ชอื่– –สกสุลกลุ แบบบปปรระะเเมมนิ นิ ใบใบงางนาน ๓๓๘๓๓33๘3383438 ระรดะับดคับณุ คณุภาภพาพ ๑๑ ๔ ๓๓ ๒ ๒ รายรากยากราปรรปะรเะมเนิมิน รระะดดบั ับคคณุ ภาพ เกเณกฑณก ฑากรพารจิ พารจิ ณาราณา อธิปอรธิปะเรมะนิเมคินณุ คภณุ าภพาขพอขงอง ๔๔ อ อ ธ ธปิ ปิ รระะเมเมินนิคคุณุณภาภพาขพอขงอบงทบเพทลเพงดลา้งนดเานน้ือเหนา้อื ดหา้ นดเสา ียนงเสแแยี ลลงะะ และ บทบเพทลเพงดลงาดนาเนเื้อนหื้อาหา ดดาานนอองงคคปประรกะอกบอดบนดตนรตไี ดรีไถดูกถตกูอตงเอ ปงน เปสวน นสใวหนญใหมญเี ห ตมุผเี หลตผุ ล ((ดดีเเียย่ยี ม) ปปรระะกกออบบชชัดดัเจเนจน ดานดเาสนียเสงยี งแลแะลดะา ดนา น ๓๓ อ อ ธ ธิปิปรระะเมเมนิ ินคคณุ ุณภาภพาขพอขงอบงทบเพทลเพงดลา้งนดเา นน้อื เหนาือ้ หดา้ นดเสา ยีนงเสแแียลลงะะ และ องคอป งครปะกระอกบอดบนดตนรตีไรดีได ((ดด)ี ดดา านนอองงคคปประรกะอกบอดบนดตนรตีไดรไีถดกู ถตกูอตงอ มงีเหมตเี ผุหลตปุผรละปกรอะบกเปอนบสเปว นน สวน ใใหหญญ  ๒๒ ((พพออใช) อ อ ธ ธปิ ปิ รระะเมเมินนิคคณุ ุณภาภพาขพอขงอบงทบเพทลเพงดลา้งนดเานน้ือเหนาือ้ หดา้ นดเสา ียนงเสแแียลลงะะ และ ดดาา นนอองงคคปประรกะอกบอดบนดตนรตไี ดรีไถดูกถตูกอตงบอางงบสาว งนสวมนีเหมตุผีเหลตปผุระลกปอรบะกอบ ๑๑ เเปปนนสสววนนนนอ อยย (ค(คววรรปปรรับปรุง) อ อ ธ ธิปปิ รระะเมเมินินคคณุ ุณภาภพาขพอขงอบงทบเพทลเพงดลา้งนดเา นนอื้ เหนาอ้ื หดา้ นดเสา ียนงเสแแียลลงะะ และ ดดา า นนอองงคคปประรกะอกบอดบนดตนรตีไดรไีบดาบงาไงมสไมเส หมตเสุหมตผุสลมผล

๓๓๙ 333395 แบบประเมินพฤติกรรมการทาํ งานกลุม กลุม .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลมุ ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓....................................................................... ๔. ...................................................................... ๕....................................................................... ๖. ...................................................................... คําช้ีแจง : ใหน ักเรยี นทําเครื่องหมาย  ในชองท่ตี รงกบั ความเปน จริง พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน ๑ ๓๒ ๑. เน้อื หาละเอียดชดั เจน ๒. ความถูกตองของเนื้อหา ๓. ภาษาทใี่ ชเ ขาใจงาย ๔. ประโยชนท ่ไี ดจากการนําเสนอ ๕. วธิ กี ารนําเสนอผลงาน รวม เกณฑก ารใหค ะแนน ให ๓ คะแนน พฤติกรรมท่ีทําเปน ประจาํ ให ๒ คะแนน ให ๑ คะแนน พฤติกรรมท่ีทําเปนบางคร้งั พฤติกรรมท่ีทํานอยคร้ัง เกณฑก ารใหค ะแนน ระดบั คุณภาพ ชวงคะแนน ดี ๑๓ – ๑๕ ปานกลาง ปรับปรุง ๘ – ๑๒ ๕–๗

๓๔๐ 343036 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรูข องนักเรยี น ดานคณุ ลกั ษณะ ท่ี ชอื่ – สกลุ มวี ินยั ใฝเรยี นรู มงุ มัน่ ในการ รวม สรุปผลการ ทาํ งาน ประเมนิ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๙ ผาน ไมผ า น หมายเหตุ นักเรียนได ๖ คะแนนข้ึนไป ถือวา ผา น รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ เกณฑการพจิ ารณา ๑. มวี นิ ัย ๓ สมุด ชิน้ งาน สะอาดเรียบรอยและปฏบิ ตั ิตนอยูในขอตกลงที่ (ด)ี กําหนดใหรว มกันทกุ คร้ัง ๒ สมดุ ชิน้ งาน สะอาดเรยี บรอยและปฏบิ ตั ิตนอยูในขอตกลงที่ (พอใช) กําหนดใหรวมกนั เปน สวนใหญ ๑ สมดุ ชิ้นงาน ไมค อยเรียบรอยและปฏิบัตติ นอยูในขอตกลงที่ (ควรปรบั ปรุง) กําหนดใหรว มกนั บางคร้ังตองอาศัยการแนะนาํ ๒. ใฝเ รียนรู ๓ มีการอางอิงท่ถี ูกตอง และเสนอแนวคดิ ประกอบการตดั สินใจ (ด)ี อยา งสมเหตสุ มผล ๒ มีการอางอิงทีถ่ ูกตองในบางสวน และเสนอแนวคิด (พอใช) ประกอบการตัดสินใจ แตอ าจจะไมสมเหตุสมผลในบางกรณี สรปุ ผลไมค อยถกู ตอง ๑ มกี ารเสนอแนวคดิ ท่ีไมส มเหตุสมผลในการตดั สินใจ และไม (ควรปรบั ปรงุ ) อางอิง สรุปผลไมถูกตอ ง ๓. มุงม่นั ในการทาํ งาน ๓ สงงานกอนหรือตรงตามที่กําหนดเวลานดั หมาย รบั ผิดชอบ (ด)ี งานทไี่ ดร ับมอบหมายและปฏบิ ตั เิ องจนเปนนิสัย และชักชวน ผูอนื่ ปฏิบตั ิ ๒ สง งานชา กวากาํ หนด แตไดม ีการตดิ ตอช้แี จงโดยมเี หตผุ ลรับ (พอใช) ฟงได รับผิดชอบในงานทีไ่ ดร ับมอบหมายและปฏิบตั ิองจนเปน นิสัย ๑ สง งานชา กวา กาํ หนด ปฏบิ ตั ิงานโดยจตอ้ งอาศัยการช้ีแนะ และ (ควรปรับปรุง) การตัดกเตือน

341 334317 บรรณานกุ รม เอกรนิ ทร สมี หาศาล และคณะ. ศลิ ปะ ป.5. พิมพครง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน. เพลงเรือ ของคุณแมศ รนี วล ขาํ อาจ. (ออนไลน) . สืบคนจาก: https://www.youtube.com/watch?v=5tXTZC4OVHM (๗ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒) สืบสานศิลป ฝากไวในแผนดินลา นนา ครัง้ ท่ี 4 ซอปจ มุ . (ออนไลน). สบื คน จาก: https://www.youtube.com/watch?v=4XBgmYMKV8s&t=16s (๗ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒) รถสองแถวหรรษาสดุ ฮา. (ออนไลน) . สบื คนจาก: https://www.youtube.com/watch?v=x5VVUGSCKSM (๗ กุมภาพันธ ๒๕๖๒) ลาํ ใสแ คน Thailand 2013. (ออนไลน) . สืบคน จาก: https://www.youtube.com/watch?v=6SfAmmPfxj8 (๗ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๒) เพลงบอกสมใจ ศรีอทู อง ชดุ เพลงพ้ืนบานตํานานเพลงบอก. (ออนไลน). สืบคนจาก: https://www.youtube.com/watch?v=PSkMRy2jJkY (๗ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒) http://www.finearts.go.th/performing/parameters/km/item/%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B 9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87 %E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2.html (๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๒) วงปพาทย. (ออนไลน) . สบื คนจาก: https://www.google.com/search?rlz=1C1CHBF_enTH723TH 723&tbm=isch&sa=1&ei=UPVcXLuoGNW0rQGVvoaQBw&q=%E0%B8%A7%E0%B8%87 %E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0% B8%A2%E0%B9%8C&oq=%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0% B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C&gs_l=img.3. 1.35i39j0l9.1232070.1234970..1236757...0.0..0.80.509.8......1....1..gws-wiz- img.W82ZTRarqA0 (๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒) http://www.finearts.go.th/performing/parameters/km/item/%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B 8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5.html (๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๒) ประเภทของวงดนตรีสากล. (ออนไลน) . สืบคน จาก: https://www.baanjomyut.com/library_6/international_band/index.html (๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒)