Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564

2564

Published by Tnp., 2022-08-30 06:17:52

Description: 2564

Search

Read the Text Version

ไม้ประดับ เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 85 2. รอ้ ละของการ recycle ขยะสี 60 75 เขียวจากการจดั การภมู ิทัศน์ เพ่ือทำปยุ๋ สรปุ ผลลัพธ์รวมทไี่ ด้จากการดำเนินการ ปี 2562-2564 - การประหยัดงบประมาณ ตวั ชว้ี ดั ปี 2562 (บาท) ปี 2563 (บาท) ปี 2564 (บาท) รวม (บาท) 2,700,000 1. ค่าต้นไม้ 825,000 1,050,000 825,000 580,000 54,000 2. คา่ ปุ๋ย 180,000 200,000 200,000 2,580,000 5,914,000 3. ค่าน้ำ 12,000 18,000 24,000 4. คา่ ไฟฟา้ 240,000 780,000 1,560,000 รวม 1,257,000 2,048,000 2,609,000 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคุณภาพอย่างตอ่ เนอื่ งในอนาคต - การพัฒนาบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ งใหม้ ีคณุ ภาพและทกั ษะในการทำงานเพ่อื การดูแลภมู ิทัศนแ์ ละสงิ่ แวดล้อมอย่างยั่งยนื - ทำแผนบรหิ ารความเสย่ี ง และวางแผนรองรบั ในการเพาะพนั ธ์ุพืช และการบรหิ ารจดั การนำ้ - จดั กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ พอื่ การพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล 11.2 จุดแขง็ (Strength) หรือ สงิ่ ทีท่ ำได้ดใี นประเดน็ ที่นำเสนอ - งานทเี่ กี่ยวขอ้ ง คอื งานภมู ทิ ัศน์และส่ิงแวดลอ้ ม งานสาธารณปู โภค และงานออกแบบและกอ่ สร้างมรี ะบบในการ ทำงานทด่ี โี ดยยดึ หลัก Reduce, Reuse, Replace, Recycle และมีการทำงานแบบเช่ือมโยงกนั - การบริการโดยยดึ ลกู คา้ เป็นสำคญั และการใหบ้ ริการตลอด 24 ชั่วโมง - ระบบมีกระบวนการและขั้นตอนการทำงานที่ชดั เจนทำให้ผู้ปฏิบตั สิ ามารถทำได้อย่างเขา้ ใจและรวดเรว็ - มกี ารบรหิ ารความเส่ียงในการดำเนินการ เช่น พฒั นาระบบไฟฟ้า 3 วงจร (115 KV 1 วงจร และ 33 KV 2 วงจร) เพอื่ เพม่ิ ความเสถียรของกระแสไฟฟ้า และลดความเสี่ยงของความเสียหายอนั อาจเกิดจากการดบั ของกระแสไฟฟา้ - การมแี หล่งนำ้ ธรรมชาตสิ ำรอง และการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบำบดั นำ้ เสยี เพ่อื ใหม้ นี ำ้ ทีเ่ พยี งพอในการดแู ล และ แผนการปลูกพชื ที่ใชน้ ้ำนอ้ ยทไี่ ม่ต้องการการบำรุงรกั ษาและดูแลมาก การปลกู ไมท้ ม่ี ีใบมากเพือ่ การดกั ฝุน่ และการผลติ ออกซเิ จนเพอ่ื อากาศท่ีดี เป็นต้น 11.3 กลยุทธ์ หรอื ปจั จยั ท่ีนำไปสู่ความสำเรจ็ - ผบู้ ริหารระดับมหาวทิ ยาลยั ให้ความสำคญั และมีการต้งั เปา้ หมายรว่ มกันที่ชัดเจน - การให้โอกาสในการมสี ่วนร่วมของบุคลากรท่เี กย่ี วข้องทกุ ระดบั - ทมี งานเห็นคณุ ค่าของการใหบ้ ริการและตอ้ งการสง่ ต่อคณุ ค่า - การดำเนินการยดึ หลกั การตามเปา้ หมายการพฒั นาที่ยงั่ ยนื (SDGs) ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั - การรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผใู้ ช้บริการ เพือ่ นำมาวิเคราะห์ ปรับปรงุ และพฒั นา - การทำงานนำหลักการทมี่ ีผลลัพธ์ประจักษช์ ัดมาประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินการ คือ Reduce, Reuse, Replace และ Recycle ในการบริหารจดั การระบบดแู ลภูมิทัศน์ 93

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 12. ประเด็น (จดุ เด่น) ท่เี ป็นแนวปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลิศ ระบบบรหิ ารจดั การภูมิทศั น์แบบย่ังยืน มเี ป้าหมายและทิศทางการทำงานทช่ี ดั เจนโดยยึดหลักเป้าหมายการพัฒนาท่ี ยง่ั ยนื (Sustainable Development Goals, SDGs) เปน็ แนวทางในการดำเนนิ การ เนอ่ื งจากการดูแลภูมิทัศนต์ อ้ งทำงาน เช่อื มโยงหลายฝา่ ย ได้แก่ ภมู ิทัศน์และสิ่งแวดลอ้ ม เรือนเพาะชำ สาธารณูปโภค ไฟฟ้า ออกแบบและก่อสรา้ ง โยธาและซอ่ ม บำรงุ ประปา นำ้ เสยี และสขุ าภบิ าล ระบบจึงมตี ้องมีแผนงานและกระบวนการทำงานที่ชดั เจนเพ่อื ใหผ้ ้ปู ฏิบตั งิ านทุกฝ่ายได้เห็น ภาพรวมของการดำเนนิ การทั้งระบบและทราบถึงกรอบการทำงานของตนเอง เขา้ ใจบทบาทและหนา้ ทใี่ นการใหบ้ รกิ าร รวมถึง การตอบสนองปัญหาเฉพาะกจิ อยา่ งเปน็ ระบบและมีประสทิ ธภิ าพ โดยการดำเนินการแสดงดังขอ้ มูลในตาราง PDCA ส่วนการ ตอบสนองปัญหาเฉพาะกิจ ระบบไดจ้ ดั ให้มีการบริการ 24 ช่ัวโมง เพิม่ ความสะดวกช่องทางรบั แจ้งเหตุทั้งแบบทวั่ ไปจากผู้ ประสบเหตดุ า้ นภมู ทิ ัศน์ [ผา่ น รปภ. และศนู ยฉ์ ุกเฉินฯ (074-282888)] สายตรวจ (2191) และบคุ ลากรของกองกายภาพฯ (ผา่ น ไลนก์ ลมุ่ ผปู้ ฏิบตั กิ าร) โดยผปู้ ฏบิ ัตกิ ารจะไดร้ บั ทราบการแจง้ เหตแุ ละสามารถออกปฏบิ ัติการไดท้ ันทีเมอ่ื ทราบเหตนุ ั้น ๆ ตาม กรอบภาระงานทรี่ ับผดิ ชอบ และมกี ารแจ้งผลการทำงานกลบั สู่ไลน์กลุ่มปฏิบตั ิการซ่ึงเปน็ การสอื่ สารแบบเปดิ ในไลน์กลุ่มเดียว ทำให้ลดข้นั ตอนการส่งตอ่ ข้อมลู อกี ท้งั ทำให้สามารถตดิ ตามและการตรวจสอบการทำงานไดด้ ้วย จากการดำเนินการทผ่ี า่ นมา ได้ทำใหเ้ พิ่มประสทิ ธภิ าพในการใหบ้ ริการและไดผ้ ลลัพธ์ทีด่ เี ป็นท่ีประจกั ษ์ ระบบบรหิ ารจดั การภูมทิ ัศนแ์ บบยัง่ ยืนสามารถลด ตน้ ทุนและค่าใชจ้ า่ ยใหห้ นว่ ยงานอยา่ งมาก จากการให้บรกิ ารตลอด 24 ชว่ั โมง โดยมขี ั้นตอนการทำงานที่ชดั เจนตง้ั แต่ระบบ การจัดการภายในของแตล่ ะงานทเี่ กี่ยวข้อง ระบบการแจ้งเหตุโดยบคุ ลากรกองกายภาพฯ ระบบการรับแจ้งเหตุจากผ้ปู ระสบ เหตทุ วั่ ไปด้านภูมทิ ัศน์ การรับข้อมูลและการออกปฏบิ ัตกิ ารแกป้ ญั หา และการตรวจการความเรยี บรอ้ ยจึงทำให้สามารถจัดการ และแกป้ ญั หาได้รวดเร็ว โดยมี 1) ระบบดูแลรักษาสภาพภมู ทิ ศั น์และสิง่ แวดล้อมท่ีดี 2) ระบบแจง้ เหตทุ ้ังจากภายในและ ภายนอกกองกายภาพฯ 3) ระบบการรับขอ้ มลู เพอ่ื ออกปฏบิ ตั ิการและรายงานผลแบบเปดิ ในไลนก์ ลุ่มปฏิบตั ิการ 4) ระบบ สำรองไฟฟา้ แบบ 3 วงจร (115 KV 1 วงจร และ 33 KV 2 วงจร) เพ่อื เพม่ิ ความเสถียรของกระแสไฟฟา้ และลดความเสีย่ งของ ความเสยี หายอันอาจเกิดจากการดับของกระแสไฟฟ้า ระบบแจ้งเหตุด้านภูมทิ ศั น์จากผูป้ ระสบเหตุทั่วไป และการออกปฏบิ ัติงาน (ตลอด 24 ชว่ั โมง) 94

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ขัน้ ตอนระบบแจง้ เหตุด้านภูมทิ ศั นโ์ ดยเจา้ หน้าทก่ี องกายภาพฯ และการออกปฏิบัติงาน (ตลอด 24 ช่วั โมง) 14. บทสรปุ กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม วิทยาเขตหาดใหญ่ มีระบบการบริหารจัดการในการดูแลภูมิทัศน์และส่ิงแวดล้อมตาม แนวทางเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสำนักงานวิทยาเขตหาดใหญ่ ในการที่จะทำให้วิทยาเขต หาดใหญ่เป็นวิทยาเขตน่าอยู่ ทันสมัย และพัฒนาอย่างยั่งยืน อีกทั้งสอดรับกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยการดำเนนิ การในการบริหารจดั การไดย้ ดึ ลูกค้าเปน็ สำคญั น่นั คือ นักศึกษา บคุ ลากร และบุคคลทั่วไป เพอ่ื ให้มีส่ิงแวดล้อม ที่ดีในการศึกษา ทำงาน ออกกำลังกาย และพักผ่อนหย่อนใจ โดยยึดหลัก TQM (Total Quality Management) และใช้ กระบวนการ PDCA (Plan-Do-Check-Act) ในการสร้างระบบในการบริหารจัดการภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม และยึดหลัก Reduce – Reuse – Replace – Recycle ในการดำเนนิ การจัดการท่ีเกีย่ วข้องกับพ้ืนที่ส่วนกลางของวิทยาเขตหาดใหญ่ โดย มีการวางแผนการตกแต่งพื้นที่ให้มีประโยชน์ใช้สอยอย่างมีประสิทธิภาพและบำรุง รักษาให้มีความร่มรื่นสวยงาม และมี องค์ประกอบพื้นฐาน เช่น ระบบการให้แสงสว่าง และระบบอำนวยความสะดวก เช่น ถนน ทางเดินเท้า ศาลาพักคอย ถังขยะ ป้ายบอกทาง ป้ายจราจร เป็นต้น โดยการบริหารจัดการภูมิทศั น์และสงิ่ แวดล้อม วทิ ยาเขตหาดใหญ่ แบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ การดูแลและเพิ่มพื้นที่สีเขียว ระบบน้ำที่เกี่ยวข้องกับภูมิทัศน์ ถนนและทางเดินเท้า ไฟฟ้าส่องสว่าง และการจัดการขยะ โดย การดำเนินการนี้เกี่ยวข้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDGs) คือ SDG15 SDG6 SDG11 SDG7 และ SDG12 ความสมั พนั ธ์ของภูมิทัศนแ์ ละสิ่งแวดล้อมกบั SDGs แสดงในรปู ด้านล่าง 95

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ SDG15 : ระบบนเิ วศบนบก SDG6 : การจัดการน้ำและการสขุ าภิบาลท่ียง่ั ยนื SDG11 : เมอื งและชุมชนทีย่ ง่ั ยืน SDG7 : พลงั งานสะอาดราคาถูก SDG12 : บริโภคและผลติ อยา่ งรบั ผิดชอบ โดยในการบรหิ ารจัดการภมู ิทศั น์และสง่ิ แวดลอ้ มมีระบบมกี ารบริหารจดั การทด่ี ี มกี ระบวนการทำงานทีช่ ัดเจน ทำให้สามารถ ใช้ทรัพยากรในการดูแลภูมิทัศน์อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ลดตน้ ทุนและคา่ ใช้จ่ายใหห้ นว่ ยงานอยา่ งมาก มกี ารบรหิ ารความเสย่ี งใน การจดั การนำ้ และไฟฟา้ โดยระบบมขี น้ั ตอนการทำงานทีช่ ัดเจนต้งั แต่ ระบบแจง้ เหตุ การรบั ขอ้ มลู การดำเนินการแกป้ ญั หา การตรวจสอบ การจัดการความเสยี่ ง จึงทำให้สามารถจัดการและแกป้ ญั หาได้รวดเรว็ โดยมี 1) ระบบดูแลรักษาสภาพภมู ิทัศน์ และส่ิงแวดลอ้ มท่ีดี 2) ระบบแจ้งเหตทุ ัง้ จากภายในและภายนอกกองกายภาพฯ 3) ระบบการรบั ข้อมูลเพ่อื ออกปฏบิ ตั กิ ารและ รายงานผลแบบเปดิ ในไลน์กล่มุ ปฏิบัติการ 4) ระบบสำรองไฟฟ้าแบบ 3 วงจร (115 KV 1 วงจร และ 33 KV 2 วงจร) เพ่ือเพมิ่ ความเสถยี รของกระแสไฟฟ้า และลดความเสยี่ งของความเสยี หายอนั อาจเกดิ จากการดับของกระแสไฟฟ้า จากการดำเนินการในระยะที่ผ่านมาทำให้ได้ผลลัพธ์เป็นที่ประจักษ์คือ สามารถลดต้นทุนในการดำเนินการให้กับ หน่วยงาน และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เป็นวิทยาเขตน่าอยู่ ทันสมัย และพัฒนาอย่างยั่งยืน ตาม เปา้ หมายทีต่ งั้ ไว้ อย่างไรกด็ ียังคงสามารถพฒั นางานในมิติตา่ ง ๆ ไดอ้ กี ต่อไป การเพาะพันธ์ุไม้ดอกและไมป้ ระดับ การทำปยุ๋ อนิ ทรียจ์ ากวสั ดุขยะสีเขียวท่ไี ดจ้ ากการจดั การภูมทิ ศั น์ เรือนเพาะชำงานภูมทิ ศั น์ 96

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การจัดทำสวนหยอ่ มโดยบุคลากรงานภูมทิ ศั น์ ถนนทม่ี ีผวิ ถนนตามมาตรฐานงานทาง ป้ายจราจร การแบง่ เลนส์จกั รยาน ไฟฟา้ ส่องสวา่ ง และ กล้อง CCTV ทางเดินเท้าทสี่ ง่ เสริมวฒั นธรรมการเดนิ ทป่ี ลอดภยั ท่เี ข้าถงึ โดยรอบวทิ ยาเขตหาดใหญ่ ศาลาพกั คอย ภายในมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 97

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ สถานไี ฟฟ้ายอ่ ย มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ การติดตั้งโคมไฟอจั ฉริยะ หลอด LED ถนนทม่ี สี ายไฟลงดนิ และไฟฟ้าสอ่ งส่องสวา่ งจากหลอด LED บอ่ นำ้ บาดาล ทใี่ ช้ในการรดนำ้ ต้นไม้ บอ่ บำบดั นำ้ เสยี วทิ ยาเขตหาดใหญ่ สามารถนำไปรดน้ำตน้ ไมไ้ ด้ (ค่า BOD ไมเ่ กนิ 18 มลิ ลิกรมั /ลติ ร) การแยกขยะ และ การจดั การขยะ 98

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ *************************************** 1. ชอื่ เรื่อง ระบบสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ คณะมนษุ ยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ (HUSO Building Support System) 2. โครงการ / กิจกรรม ดา้ นบรหิ ารจดั การ 3. ชอ่ื หน่วยงาน งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 4. ประเภทของโครงการ  ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลิศ ระดบั คณะ/หนว่ ยงาน (ผา่ นการคดั เลอื กโดยเวทหี รอื ผู้บริหาร ของคณะ)  1.1 สายวิชาการ  1.2 สายสนบั สนนุ  ประเภทที่ 2 แนวปฏิบัตทิ ีด่ ี  2.1 สายวิชาการ  2.2 สายสนบั สนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลศิ 5.1 นายเรวัต รัตนกาญจน์ หวั หน้าสำนักงานบริหารคณะ/หัวหน้างานอาคาร ที่ปรึกษา 5.2 นายวญิ ญู โอชโร นักวชิ าการอดุ มศึกษาชำนาญการ/ผ้ชู ว่ ยหวั หน้างานอาคาร หัวหนา้ คณะทำงาน 5.3 นางสาววิลาวลั ย์ กามะ แมบ่ ้าน คณะทำงาน 5.4 นางสาวกาลญั ญตุ า อีแมดอสะ แมบ่ า้ น คณะทำงาน 5.5 นางสาวศรีวภิ า ประชุมทอง แม่บา้ น คณะทำงาน 5.6 นางรอปเี ซาะห์ บาเละ๊ แม่บา้ น คณะทำงาน 5.7 นายอฐั ฐวัต เรืองรัตนร์ ่งุ พขร. คณะทำงาน 5.8 นายพันธ์ชัย ใจเย็น พขร. คณะทำงาน 5.9 นายกิตติศักด์ิ ชูดแดง รปภ. คณะทำงาน 5.10 นายวชั รากรณ์ ตีบทอง รปภ. คณะทำงาน 5.11 นายสไุ ลมาน มะเด็ง รปภ. คณะทำงาน 6. การประเมินปัญหา / ความเสีย่ ง (Assessment) งานอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ เป็นหน่วยงานภายใต้กลุ่มงานบรหิ ารคณะ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ อยภู่ ายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของหัวหน้าสำนกั งานบรหิ ารคณะ ประกอบดว้ ยบคุ ลากรจำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้ช่วยหัวหน้าอาคาร 50 จำนวน 1 คนทำหน้าท่ีเป็นผู้ประสานงานหลัก พนักงานรักษาความปลอดภัยจำนวน 3 คน แม่บ้านจำนวน 4 คน และพนักงานขับรถจำนวน 2 คน มีภารกิจหลักในการให้บริการยานพาหนะ การทำความสะอาด การรักษาความปลอดภัย และการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ภายในอาคาร การปฏิบัติงานที่ผ่านมาเกิดปัญหาท่ีมีระดับความเสี่ยง ป าน กลาง (Medium: M) ตาม เกณ ฑ์ การป ระเมิ นค วาม เส่ียงด้ านการด ำเนิน งาน (Operational Risk: O) ของ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จำนวน 5 ลำดบั แรก ดงั นี้ 99

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ การประเมนิ ปัญหา และความเสยี่ ง โอกาส ผลกระ ระดบั เกิด ทบ ความเสยี่ ง 6.1 การเข้าระบบมีขั้นตอนท่ีซบั ซอ้ น ทำให้เกดิ การขอใช้งานโดยไม่เขา้ ระบบ 5 1 ความเสย่ี ง 6.2 การใชห้ อ้ ง/รถยนต์ ซ้อนกัน เนือ่ งจากมีการขอใช้งานโดยไม่เข้าระบบ 5 1 ปานกลาง 6.3 หอ้ งประชมุ /รถยนต์ ไมพ่ รอ้ มใช้งาน เนื่องจากเจ้าหน้าทไ่ี ม่ทราบว่ามีการขอใชง้ าน 5 1 (Medium: 6.4 บคุ ลากรคณะไมท่ ราบสถานะ ทำให้เสียทรพั ยากรเพิ่มเติมในการติดต่อเจ้าหนา้ ที่ 5 1 6.5 บคุ ลากรคณะไมท่ ราบช่องทางแจง้ เหตุเมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณ์ฯ 4 1 M) หมายเหต:ุ ขอ้ มูลจากงานอาคารสถานที่และยานพาหนะ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ปี 2563 ปัญหาดังกล่าวมีระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ แต่ต้องมีการควบคุมเพื่อป้องกันไม่ให้ความเส่ียงเคล่ือนย้ายไปยังระดับท่ี ยอมรบั ไม่ได้ อกี ทง้ั เพ่ิมภาระงานใหเ้ จ้าหน้าทตี่ อ้ งใชศ้ าสตร์และศลิ ป์เรง่ แกไ้ ขปญั หาเพื่อทำใหก้ ารดำเนินการบรรลุเปา้ หมาย งานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะมีการปฏิบัติงานในลักษณะเชิงรับ และปฏิบัติงานตามคำร้องขอของผู้รับบริการ ซึง่ หากไมม่ ีการขอใชบ้ ริการจะไม่มีการดำเนินงานใด ๆ เกิดข้ึน ไม่มกี ารปรับปรงุ พัฒนางาน หรือสร้างนวัตกรรมในการปฏบิ ัตงิ าน นอกเหนือจากภารกิจที่ได้รับมอบหมาย รวมถึงไม่มีการพัฒนาตัวเองเพื่อนำองค์ความรู้มาต่อยอดในการพัฒนางานและ พัฒนาการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งข้ึน ขาดการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสนับสนุนการทำงาน เนื่องจากไม่มีความรู้ ไม่มีความเชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว อีกทั้งจากสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส Covid -19 ทำให้บุคลากรทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศมีภาระงานมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ไม่สามารถช่วยเหลือในการพัฒนาระบบงานอาคารให้สามารถทำงานได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ ทันกับสถานการณใ์ นยคุ ปัจจบุ นั ได้ จากสถานการณ์ดังกล่าว ทำใหบ้ ุคลากรต้องพัฒนาตนเองผ่านโครงการต่าง ๆ ท่ีจัดขึ้นภายใต้ระบบ HUSO 5 Smarts ของสำนักงานบริหารคณะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และการศึกษาด้วยตนเอง เพ่ือนำองค์ความรู้มาใช้ในการแก้ไข ปัญหา และพฒั นานวัตกรรมในการปฏบิ ัติงาน ให้มีประสทิ ธภิ าพและไดร้ ับความพงึ พอใจจากผูใ้ ช้บริการ จงึ ไดม้ กี ารพัฒนาระบบ การสนับสนุนการปฏิบัติงานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ โดยใช้วงจรคุณภาพและการมี ส่วนร่วมของบุคลากร (PDCA+P) เป็นเคร่ืองมือสำคัญในการขับเคล่ือนและพัฒนาระบบ โดยมีการปรับปรุงและพัฒนา กระบวนการอย่างตอ่ เนอ่ื งต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2561 จนถึงปัจจบุ นั สามารถลดขั้นตอน ลดระยะเวลา ลดทรัพยากร สรา้ งความพงึ พอใจ ใหก้ ับผูใ้ ช้บริการได้อย่างดเี ยยี่ ม และเป็นเคร่ืองมือในการสนบั สนนุ การทำงานตามภารกิจต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั งานอาคารสถานท่ี และยานพาหนะได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 7. เป้าหมาย / วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 7.1 ลดข้ันตอนการทำงาน 7.2 ลดระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนนิ งาน 7.3 ลดการใชท้ รัพยากรท่เี กีย่ วข้องกับระบบงาน 8. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ 8.1 สามารถลดข้นั ตอนการทำงาน 8.2 สามารถลดระยะเวลาทใ่ี ช้ในการดำเนินงาน 8.3 สามารถลดการใชท้ รพั ยากรท่ีเกยี่ วขอ้ งกับระบบงาน 8.4 งานอาคารฯ ได้รับผลประเมินความพึงพอใจโดยรวมสงู ขึ้น 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ ีการ / แนวทางการปฏิบัติจริง (PDCA+P) งานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ พัฒนาและขับเคล่ือนระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน โดยใช้วงจรคุณภาพ และ การมสี ่วนรว่ มของบคุ ลากร (PDCA+P) เปน็ เครอื่ งมือสำคัญ ดังน้ี 100

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ Plan : วางแผน ประชุม (Brain Storming) ภายในงานอาคารฯ เพอ่ื รับฟังปญั หา ข้อเสนอแนะ พรอ้ มท้ังกำหนดแผนงาน ไว้ดงั นี้ เปา้ หมาย: มีระบบทีช่ ่วยให้การปฏิบัตงิ านอาคารฯ ดำเนินไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ลดขน้ั ตอน ลดเวลา ลดการใช้ ทรพั ยากร และทำใหผ้ ู้รับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจตอ่ การใหบ้ รกิ าร ระยะเวลาดำเนินการ: แผนระยะกลาง 3-5 ปี เน่ืองจากบุคลากรงานอาคารฯ ไม่มคี วามเช่ียวชาญทางด้านการพฒั นา ระบบ สถานท:่ี พฒั นาภายในงานอาคารฯ โดยบุคลากรงานอาคารฯ วิธีการ: เร่ิมจากการเก็บข้อมูลขั้นตอนการดำเนินงาน เวลา ทรัพยากรที่ใช้ สภาพปัญหา และข้อคิดเห็นจาก ผ้รู ับบริการ จากนัน้ ประเมินตนเองทั้งทางด้านซอร์ฟแวร์ ฮาร์ดแวร์ และพเี พิล้ แวร์ พร้อมทง้ั การศึกษาหาความรูเ้ พ่ิมเติม และ นำข้อมูลทั้งหมดมาออกแบบระบบรว่ มกนั งบประมาณ: เน้นการไม่ใช่งบประมาณเปน็ ลำดบั แรก Do: ดำเนินการตามแผน งานอาคารฯ เก็บข้อมลู ข้ันตอนการดำเนนิ งาน เวลา ทรัพยากรที่ใช้ สภาพปัญหา และข้อคิดเห็นจากผู้รบั บรกิ ารในช่วง ระหว่างปี 2561- 2565 มีการประเมินตนเองทางด้านซอร์ฟแวร์ (Software) พบว่า คณะมีระบบจองห้องประชุม ระบบจอง ยานพาหนะ ระบบแจ้งซ่อม ทางด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware) พบว่า คณะมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์สำหรับบุคลากรงานอาคารฯ ใน อัตราส่วน 1 ต่อ 1 ซ่ึงเพียงพอ ทางด้านพีเพิ้ลแวร์ (Peopleware) พบว่า คณะมีโปรแกรมเมอร์จำนวน 2 คน มบี ุคลากรงานอาคาร ฯ ซง่ึ เปน็ เจ้าหน้าทผี่ ู้ปฏิบตั งิ านจำนวน 10 คน มบี ุคลากรภายในคณะซงึ่ เป็นผใู้ ช้งานระบบเกือบ 200 คน คณะส่งเสรมิ ให้บคุ ลากรงานอาคารฯ ศกึ ษาหาความรู้เพิ่มเตมิ เกย่ี วกับการใชง้ าน Google Platform ในโครงการ HUSO 5 Smarts ทำให้บุคลากรงานอาคารฯ อันประกอบด้วยแม่บ้าน พนักงานขับรถ และพนักงานรักษาความปลอดภัย สามารถใช้งาน ผลิตภัณฑ์ Google ได้ นอกจากนีย้ ังมีการศึกษาการพฒั นาระบบด้วย Mobile Application การสร้างเวบ็ ไซต์จาก Youtube และ Internet ซง่ึ เปน็ การศึกษาเพอื่ เพมิ่ พนู ความรู้จากความสนใจอกี ดว้ ย เม่ือมีข้อมูล และความรู้เพียงพอ งานอาคารฯ จึงร่วมกันออกแบบระบบ โดยในระยะแรกใช้ช่ือว่า ระบบสนับสนุน การบริหารงานอาคาร จากน้นั จึงเปลี่ยนช่อื เป็น ระบบสนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านอาคาร ในระยะเวลาตอ่ มา Check : ติดตาม งานอาคารฯ มีการติดตามการใชง้ านระบบจากการประชุมรว่ มกันภายในงานอาคารฯ และแบบประเมินผลความพึง พอใจผู้รับบริการยานพาหนะ การทำความสะอาด และการรักษาความปลอดภัย เพื่อนำผลดังกล่าวมาใช้ปรับปรุงระบบให้ดี ย่งิ ข้นึ Act: เรยี นรู้/ปรบั ปรงุ งานอาคารฯ นำผลท่ีไดจ้ ากการติดตามมาพัฒนาและปรับปรุงระบบ ปรบั ปรงุ แบบ Minor Change จำนวน 11 คร้ัง เป็นการแก้ไขข้อผิดพลาดของระบบ และปรับปรุงแบบ Major Change จำนวน 1 ครั้ง เป็นการเปล่ียนรูปแบบจาก Mobile Application เปน็ เว็บไซต์ Participant: การมสี ว่ นร่วม ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากร โดยแบ่งงานตาม ศกั ยภาพ และภาระหน้าทขี่ องแตล่ ะบคุ คล โดยสามารถแบง่ หนา้ ท่ีหลกั ไดด้ ังนี้ แม่บ้าน มีหน้าที่ศึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์ Google Platform Mobile Application และเว็บไซต์ คิดและวิเคราะห์ งานทำความสะอาด พนักงานขับรถ มีหน้าท่ีศึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์ Google Platform Mobile Application และเว็บไซต์ คิดและ วเิ คราะหง์ านบริการยานพาหนะ 101

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ พนักงานรักษาความปลอดภัย มีหน้าท่ีศึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์ Google Platform Mobile Application และ เวบ็ ไซต์ คิดและวเิ คราะห์งานรกั ษาความปลอดภัย ผู้ช่วยหัวหน้าอาคาร 50 มีหน้าท่ีศึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์ Google Platform Mobile Application และเว็บไซต์ คิดและวิเคราะห์หาความเชอ่ื มโยงระหวา่ งงานทำความสะอาด งานรกั ษาความปลอดภยั และงานให้บรกิ ารยานพาหนะ พรอ้ ม ท้งั เป็นผ้ปู ระสานงาน 9.2 งบประมาณที่ใช้ในการจัดโครงการ-กิจกรรม (ถ้าม)ี – ไม่ใชง้ บประมาณ 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมลู เชงิ เปรียบ (3 ปี) และ / หรอื เปรยี บเทยี บกบั หน่วยงานภายใน / ภายนอก ระบบงานอาคารฯ ประกอบด้วยระบบขอใช้รถยนตค์ ณะ ระบบขอใชห้ อ้ งประชมุ ระบบแจง้ ซอ่ ม/แจง้ เหตุ ระบบยมื - คืนพัสดคุ ณะ และระบบประเมินงาน โดยสรปุ ระบบงานใหเ้ ป็นแบบเดียวกนั และเปรยี บเทยี บระยะเวลาดำเนนิ งาน ดงั น้ี รายละเอียด (A) ปี 2561-2563 (B) ปี 2564 (C) ปี 2565 547.2 นาที 2.4 นาที 1.ระยะเวลารวม 1,987 นาที เร็วกว่า(A) 3.6 เทา่ เร็วกวา่ (A) 828 เทา่ หรือ เรว็ กว่า(B) 228 เท่า บุคลากรเสนอเร่อื ง 180 นาที 180 นาที 1 วินาที (ระบบแจ้งเตอื น (จนท.เขา้ ระบบช่วงเชา้ (เขา้ ระบบช่วงเชา้ และ Line Notify) และบ่าย) บา่ ย) ผู้ประสานงานตรวจสอบ 5 นาที 5 นาที 1 นาที ผปู้ ระสานงานเสนอผู้มีอำนาจ 180 นาที 180 นาที 1 วนิ าที (ระบบแจ้งเตือน พิจารณา (เข้าระบบช่วงเช้าและ (เขา้ ระบบชว่ งเช้าและ Line Notify) บา่ ย) บา่ ย) ผมู้ ีอำนาจพจิ ารณา 1 นาที 1 นาที 1 นาที 180 นาที 180 นาที เรอ่ื งกลับไปยังผ้ปู ระสานงาน (เข้าระบบชว่ งเช้าและ (เขา้ ระบบชว่ งเชา้ และ ระบบอัพเดทสถานะใหผ้ ู้ขอทราบ บา่ ย) บา่ ย) 1 วินาที (ระบบแจ้งเตือน 1,440 นาที Line Notify) (หรอื จนกวา่ ผูข้ อจะเข้า 1 วนิ าที (ระบบแจง้ เตือน Line Notify) ระบบ) ผู้ประสานงานแจ้งเจา้ หนา้ ท่ี 1 นาที (แจ้งทางโทรศัพท์) 1 นาที (แจง้ ทาง Line) แจ้งเตอื นใหป้ ระเมนิ ไมม่ ี 1 วินาที (ระบบแจ้งเตือน 1 วนิ าที (ระบบแจ้งเตอื น Line Notify) Line Notify) 2.ผลประเมนิ ความพึงพอใจรวม ไม่มี 4.74 5.00 11. การเรียนรู้ (Study / Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคุณภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในอนาคต 11.1.1 ประเมินเครื่องมือปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ โดยวิเคราะห์จากปัญหา แบบประเมิน และความเข้ากัน ไดก้ บั สถานการณท์ ี่เปลี่ยนแปลงไป ผา่ นการประชุมงานอาคารฯ 102

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 11.1.2 ศึกษานวัตกรรม ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนางาน การหยุดพัฒนาระบบโดยอ้าง ความสมบูรณ์แบบ เปน็ การทำลายโอกาสในการพัฒนาคณะอย่างตอ่ เน่อื ง 11.1.3 ปรบั ทศั นคติเร่ืองการเป็นผู้ปฏิบัติงานระดับลา่ ง เช่น แม่บ้าน รปภ. พขร. ให้เจ้าหน้าท่ีตระหนักถึง การเป็นสว่ นสำคญั ในการพัฒนางานอาคารฯ และการพัฒนาคณะ 11.1.4 เปิดเวทีการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้อย่างอิสระโดยไม่กระทบกับผลการปฏิบัติงาน เพือ่ ให้การพัฒนางานเกดิ ข้นึ จากตัวผู้ปฏิบัติงานจรงิ การปฏิบัติงานด้วยใจรัก จะส่งผลต่อประสิทธิผลของงาน และการพฒั นา คณะอย่างยั่งยืน 11.2 จดุ แข็ง (Strength) หรือ ส่ิงทที่ ำได้ดใี นประเด็นท่นี ำเสนอ 11.2.1 การพัฒนางานท่ีเป็นผลมาจากกระบวนการพัฒนาตนเอง HUSO 5 Smarts ท่ีคณะส่งเสริมและ สนับสนุน พร้อมท้ังความไว้วางใจจากหัวหน้าให้เจ้าหน้าท่ีสามารถพัฒนางานของตนเองได้อย่างอิสระ เช่น การพัฒนาวิธีการ แจ้งเหตุเชิงรุกของ รปภ. ผ่าน Line Notify กลุ่มใหญ่ของคณะ จากที่รอให้บุคลากรแจ้งเม่ือเกิดเหตุ เปลี่ยนเป็น รปภ.แจ้ง ล่วงหน้าว่าหากเกิดเหตุจะต้องทำอย่างไร แจ้งท่ีไหน และมีการแจ้งช่องทางอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งบุคลากรคณะทุกท่าน ไมต่ ิเตยี น ใหโ้ อกาสใหแ้ สดงออก และให้ความร่วมมอื เป็นอยา่ งดี 11.2.2 การขยายขีดความสามารถของเจ้าหน้าท่ี โดยการศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง เพ่ือทำให้ การดำเนนิ งานโดยรวมบรรลุเป้าหมาย ลดภาระและการรอพัฒนาระบบจากโปรแกรมเมอร์คณะ เชน่ แม่บา้ น รปภ. พขร.เข้า อบรม Google Sheet Google data studio ท่ีแบ่งปันความรู้โดยเจ้าหน้าที่ เพื่อเจ้าหน้าท่ี คณะไม่ต้องเสียงบประมาณ ในการจ้างผเู้ ช่ียวชาญจากภายนอกอกี ดว้ ย 11.2.3 งานอาคารฯ เรียนรู้จากความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน พูดคุยแลกเปล่ียนประสบการณ์ผ่านเวที การประชมุ งานอาคารฯ ร่วมกันแก้ไขความผิดพลาดน้นั ๆ ปรบั ปรุงและพัฒนาจนได้เครื่องมือ/กระบวนการที่มีประสิทธิภาพ 103

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ มากข้ึน เช่น การประชุมงานอาคารฯ ประจำเดือน โดยเป็นการพูดคุยภายในกลุ่มผู้ช่วยหัวหน้างานอาคาร และเจ้าหน้าท่ี ประกอบด้วย แมบ่ ้าน พขร. รปภ. การประชมุ เปน็ ไปอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ เพื่อให้ทุกคนรสู้ กึ ผอ่ นคลาย 11.2.4 องค์ความรู้ภายในงานอาคารฯ ที่พร้อมถ่ายทอดสู่หน่วยงานอื่น ๆ ไม่จำกัดเฉพาะลักษณะงาน อาคารฯ แต่องค์ความรู้ดังกล่าวสามารถใช้พัฒนางานในส่วนอื่น ๆ ได้อย่างยั่งยืน เน่ืองจากเป็นการพัฒนาจากภายในสู่ ภายนอก เปน็ การปรับทัศนคตขิ องบุคคลไปพรอ้ ม ๆ กบั วิธีการปฏิบตั ิงาน เป็นการเปล่ียนแปลง (CHANGE) เพอ่ื เปิดรบั สิ่งใหม่ เช่น การเพิ่มระบบแจ้งเตือนการขอใช้รถยนต์ทุกกระบวนการ เร่ิมต้ังแต่แจ้งว่าท่านได้ขอรถแล้ว รถของท่านอนุมัติแล้ว แจ้ง ล่วงหน้าก่อนเดนิ ทาง แจ้งให้ พขร.เช็ครถ/นอน/งดดื่มและปฏบิ ัติอื่น ๆ เพ่ือความปลอดภยั แจ้งในวนั เดนิ ทางวา่ พขร. ปฏิบตั ิ แล้วอย่างไรเพื่อให้มั่นใจในการเดินทาง แจ้งให้ประเมินผล แจ้งให้ พขร.กรอกเลขไมล์ ทุกอย่างแจ้งผ่าน Line Notify เฉพาะ กลุ่มผู้เดนิ ทาง 11.3 กลยุทธ์ หรอื ปัจจยั ทีน่ ำไปสู่ความสำเร็จ กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จ คือ การมีส่วนร่วม (Participation) ของบุคลากรงานอาคารสถานที่และ ยานพาหนะ ผ่านการแบง่ งานตามศักยภาพ และภาระหน้าที่ โดยแตล่ ะท่านจะทราบจดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส และอุปสรรคของ ตนเองเป็นอย่างดี นำจุดแขง็ ในเรื่องความเชีย่ วชาญการปฏิบัตงิ านของตนเองมาใช้พัฒนาระบบ แก้จุดอ่อนในเรอื่ งการใช้งาน Software Platform ต่าง ๆ โดยเข้าอบรม ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม นำโอกาสท่ีได้รับจากโครงการ HUSO 5 Smarts และ ความไว้วางใจในงานอาคารฯ มาสร้างและทดลองใช้งานระบบจริง พร้อมท้ังรับมือกับอุปสรรคจาก Covid-19 และปัจจัย ภายนอกอื่น ๆ ดว้ ยการพฒั นาระบบทมี่ คี วามเข้มแขง็ และมีศกั ยภาพมากขึ้น 12. ประเด็น (จดุ เดน่ ) ทีเ่ ป็นแนวปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ 12.1 Teamwork สร้างการทำงานระบบทีม เน้นการมีส่วนร่วม (Participation) ของบุคลากร โดยแบ่งหน้าท่ี ความรับผิดชอบในการพัฒนาระบบตามศักยภาพ และภาระหน้าท่ี นอกจากนั้นแล้วยังสร้างความสามัคคี และละลาย พฤติกรรมผ่านกจิ กรรมต่าง ๆ อาทิ การปรับปรุงภูมทิ ัศนค์ ณะ กิจกรรม 5ส. การประชุมประจำเดือน การเก็บขยะรอบอาคาร และการเตรยี มงาน/โครงการต่าง ๆ ของคณะ 12.2 Bottom up คดิ และพัฒนางานด้วยตวั เอง โดยอาศัยระบบ PDCA+P มีการวางแผนงานระยะกลาง 3-5 ปี อยา่ งชัดเจน ลงมือปฏิบัติจริงหน้างาน ตรวจสอบและปรับปรุงระบบงานอย่างตอ่ เน่ือง 12.3 Customer เน้นผู้รับบริการ แตล่ ะขั้นตอนใชร้ ะยะเวลาลดลง สามารถเขา้ ถงึ ระบบไดห้ ลากหลายชอ่ งทาง มี การแจง้ เตือนสถานะการรับบรกิ ารผา่ น Line Notify ใชท้ รัพยากรลดลง ได้รบั ผลประเมนิ ความพงึ พอใจมากขน้ึ 104

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 13. เอกสารอา้ งองิ 13.1 เกณฑ์การประเมินความเส่ยี ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาพท่ี 1 : เกณฑ์การประเมินความเสยี่ ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 105

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 13.2 การพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สำนักงานบริหารคณะ “ HUSO 5 Smarts” ภาพที่ 2 : การพฒั นาบคุ ลากรตามระบบ HUSO 5 Smarts 14. บทสรปุ ระบบสนับสนุนการปฏิบตั งิ านอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (HUSO Building Support System) ริเริ่มมาจากโครงการการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สำนักงานบริหาร คณะ “HUSO 5 Smarts” โดยงานอาคารฯ ต่อยอดและกำหนดเป้าหมายให้มีความท้าทายมากขึ้นตามคำแนะนำของที่ปรึกษา คณะทำงานโดยประเมินปัญหา และความเส่ียง (Assessment) ท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานอาคารทั้งงานรักษาความปลอดภัย การรักษาความสะอาด และการบริการยานพาหนะ ใช้กระบวนการพัฒนา PDCA+P พัฒนาจนได้แอพพลิเคชั่น PSUHuSoBUILDING (ดาวน์โหลดได้ท่ี Play Store) แต่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาความไม่เข้ากันของระบบได้ จึงต้องเปล่ียน เครื่องมือใหม่โดยพัฒนาเว็บไซต์ https://www.psuhusobuilding.com/ (สามารถคล๊ิกที่ URL เพ่ือเข้าชมเว็บไซต์) ดังภาพท่ี 3 : แสดงภาพรวมการเขา้ ระบบสนับสนนุ การปฏิบตั งิ านอาคาร ปี 2561 – 2565 ปี 2561-2563 ปี 2564 ปี 2565 ผลท่ีได้คือแอพพลิเคชั่น PSUHuSoBUILDING ในมือถือทำให้การปฏิบัติงานอาคารฯ ปี 2564 เร็วกว่าปี 2563 ถึง 3.ภ6าเพทท่า่ี โ3ด:ยแไดส้รดับงภผาลพปรวะมเมกินารเวขมา้ มระากบถบึงสน4.ับ7ส4น(ุนเตก็มาร5ปฏคะบิ แตั นงิ านน)อแาตค่เามรื่องปาี น25อ6า1คา-ร2ฯ5เ6ป5ล่ียนเคร่ืองมือเป็นการปฏิบตั ิงานผ่าน เว็บไซต์ https://www.psuhusobuilding.com/ ซ่ึงสามารถเข้าใช้งานได้ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ และ Smart Phone ที่ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ทำให้การปฏิบัติงานอาคารฯ ในปี 2565 เร็วกว่าปี 2564 ถึง 228 เท่า โดยได้รับผลประเมินรวมเต็ม 106

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 5 คะแนน ทั้งน้ีบุคลากรคณะสามารถทราบสถานะการใช้งานได้ทั้งการเข้าดูในระบบ และทาง Line Notify ท่ีแจ้งเตือนโดย ไม่ต้องเข้าระบบ เปน็ การปฏบิ ัติงานเชิงรุกโดยใชเ้ ทคโนโลยีมาสนบั สนนุ การปฏบิ ัตงิ าน ปจั จบุ ันท่ีเทคโนโลยีมีส่วนสำคัญต่อการสนับสนุนระบบงาน ส่วนงานมากมายภายในคณะล้วนต้องการระบบเพ่ือใช้ ในการปฏิบัติงานของตนเอง ซ่ึงสวนทางกับจำนวนและภาระงานของโปรแกรมเมอร์ จึงเกิดลำดับรอสร้างระบบจำนวนมาก หน่ึงในนั้นคือระบบงานอาคารฯ การที่งานอาคารฯ เรียนรู้ และสามารถสร้างระบบได้เอง เป็นการแบ่งเบาภาระ และยังได้ ระบบท่ีตรงตามความต้องการของงานอาคารฯ ผู้คนจำนวนไม่น้อยนึกไม่ถึงว่าเจ้าหน้าที่งานอาคารฯ ประกอบด้วยแม่บ้าน รปภ. และพขร. จะสามารถนำเทคโนโลยีมาสนับสนุนการปฏิบัติงานอาคารฯ ได้ อีกทั้งการพัฒนาศักยภาพในงานอาคารฯ สามารถถ่ายทอด และต่อยอดไปสู่งานอื่น ๆ ได้อีกด้วย ดังค่านิยมท่ีสำนักงานบริหารคณะร่วมกันคิดและยืดถือปฏิบัติที่ว่า “บรกิ ารประทบั ใจ ฉับไวทกุ ขัน้ ตอน นำองคก์ รส่คู วามสำเรจ็ ” ___________________________ 107

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ Oral Presentation หอ้ งย่อยท่ี2 New Normal 108

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ *************************************** 1. ชอ่ื เรอ่ื ง กระบวนการพัฒนานักศกึ ษาในยุควิถีชีวติ ใหม่ (Student Development Process in The New Normal) 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น ด้านการเรยี นการสอนและคณุ ภาพบัณฑติ 3. ชื่อหนว่ ยงาน งานกจิ การนกั ศึกษาและศษิ ยเ์ ก่าสมั พันธ์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏิบัตทิ ด่ี ี 1. ดร.สติ า มูสกิ รังษี รองคณบดฝี ่ายพัฒนานักศึกษาและศษิ ยเ์ ก่าสมั พันธ์ ทป่ี รึกษาโคงการ 2. นางสาวไตรถิกา นุ่นเกลยี้ ง นกั วชิ าการอดุ มศึกษาชำนาญการ หัวหนา้ ผจู้ ดั ทำโครงการ 3. นายรณกฤต จันทรักษ์ นกั วิชาการอดุ มศึกษา ผู้รว่ มจดั ทำโครงการ 5. การประเมนิ ปัญหา/ความเส่ียง (Assessment) การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ที่เริ่มทวีความรุนแรงตั้งแต่ปลายปี 2562 ส่งผลกระทบวงกว้างในหลาย มิติท่ัวโลก ไม่ว่าจะเป็นท้ังทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การค้า การทำงาน และท่ีสำคัญคือ การศึกษา ทุกภาคส่วนจำต้อง ป รั บ ตั วเพื่ อ รั บ กั บ ก า ร เป ล่ี ย น แ ป ล งอ ย่ า งปั จ จุ บั น ทั น ด่ วน ซึ่ งนั่ น ก็ ห ม าย ร วม ถึ งค ณ ะ ศิ ล ป ศ าส ต ร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่ได้รับผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนานักศึกษาด้วยเช่นกัน ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของไวรัส COVID-19 นำมาสู่ความเปล่ียนแปลงต่อแวดวงการศึกษาในแง่มุมต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็น การต้องปิดเรยี นในช่วงระยะตน้ ของการแพร่ระบาดตามมาตรการรักษาระยะห่างเพ่ือควบคุมการแพร่ระบาดของโรค นำไปสู่การปรับรูปแบบการสอนจากการจัดการในช้ันเรียน เป็นการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ท่ีลดการพบปะ ระหว่างบุคคล สถานการณ์ดังกล่าวเป็นแรงผลักดันบังคับให้เกิดการปรับตัวและนำมาซึ่งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมรูปแบบการศึกษาใหม่ๆ ท่ีช่วยให้นักศึกษาได้เรียนรูด้ ้วยตนเองด้วยรูปแบบที่แตกต่าง กลายเป็นโมเดลใหม่ๆ ท่ี สอดรับกับบริบทของแตล่ ะพ้ืนทีท่ ั่วโลก ไม่วา่ จะเป็นการเรียนการทำกิจกรรมแบบออนไลน์ ซ่ึงสอดคล้องกับ ดร.ภูมศิ รัณย์ ทองเลี่ยมนาค (2564) ผู้เช่ยี วชาญด้านเศรษฐศาสตร์การศึกษา สถาบนั วจิ ัยเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา กองทุนเพื่อ ความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ประเมินสถานการณ์การศึกษาที่เกิดข้ึนจากผลกระทบของ COVID-19 ไว้ หลากหลายประเดน็ ไดแ้ ก่ 1. การเรียนรู้ท่ีลดลง ผลเสียต่ออนาคตของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผลกระทบจาก COVID-19 ทำให้ หอ้ งเรียนสว่ นใหญ่ต้องถูกปดิ แม้จะเปลยี่ นมาทำการเรียนการสอนแบบออนไลน์แต่ก็ไม่มีประสิทธิภาพเท่ากบั การเรียนใน ห้องเรียนได้ ทำให้เด็กมีปัญหาทั้งการเรียนท่ีต้องหยุดชะงัก ไปจนถึงความไม่พร้อมของผู้ปกครอง การขาดแคลนอุปกรณ์ 109

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ คอมพวิ เตอร์ การเขา้ ถึงอินเตอรเ์ น็ต การใชเ้ วลาหนา้ จอมากเกินไป ขาดปฏิสัมพันธก์ ับเพื่อน สดุ ทา้ ยทำให้เกิดความเครียด ทัง้ เดก็ และครู 2. การศึกษาไมไ่ ด้อยูแ่ คใ่ นห้องเรียน ผนกึ กำลงั ท้องถนิ่ แก้ปัญหาการศึกษาตามบรบิ ทพ้นื ท่ี สำหรบั ข้อดีในช่วง ท่ีผา่ นมาคือการทำให้เกิดนวัตกรรมการเรียนการสอนทางไกลเป็นจำนวนมาก หลายอย่างเราเห็นว่ามีการทำไดด้ ี หรือมีครู ที่สามารถทำได้ เขาได้คิดค้นวิธีการท่ีดีๆ หลายอย่าง ทำให้เรารู้ว่าการศึกษาไม่ใช่เกิดขึ้นได้ในห้องเรียนเท่าน้ัน แต่เม่ือ สถานการณ์จำเป็นก็สามารถเกิดได้ทุกท่ี ท้ังทางออนไลน์ หรือทางออฟไลน์ เช่น การส่งหนังสือ อุปกรณ์การเรียน พร้อม คำแนะนำไปให้เด็กในพ้ืนท่ี อย่างครูโรงเรียนบนดอยท่ีสมัยก่อนต้องข่ีม้าไปสอน ปัจจุบันอาจจะใช้รถโฟร์วีลหรื อมอเตอร์ ไซต์ หรือครูในเมืองก็มีการใช้รถพุ่มพวงการศึกษาที่มีหนังสืออุปกรณ์ออกไปสอนเด็กๆ หรือโครงการต่างๆ เช่น ของบ้าน ปลาดาวที่มนี วัตกรรมพวกกล่องการเรียนส่งไปให้นกั เรียนในช่วง COVID-19 ซึง่ เป็นวธิ กี ารต่างๆ ในการช่วยบรรเทาปัญหา ความเหลอ่ื มล้ำทางการศึกษาในช่วงเวลาวกิ ฤตไิ ด้ 3. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ แนวโน้มเพ่ิมความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา นอกจากผลกระทบด้านการเรียนรู้ COVID-19 ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ โดย กสศ. พบว่า ย่ิงเด็กยากจนย่ิงได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจอย่างมาก ท้ัง ครอบครัวทีผ่ ู้ปกครองตกงาน ผู้ที่มีรายได้ลดนอ้ ยลง หรือมีภาระพง่ึ พิงมากขึ้น ลว้ นกระทบต่อการศึกษาของลูกหลาน และ ทำให้แนวโน้มของความเหลื่อมล้ำระหว่างคนจนกับคนรวยมีมากข้ึน เพราะอาจจะทำให้เด็กต้องขาดเรียนมากขึ้นหรือ ครอบครัวมรี ายจ่ายเพือ่ อดุ หนนุ การศกึ ษาน้อยลง 4. COVID-19 กระทบต่อการศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงอุดมศึกษา COVID-19 ส่งผลกระทบกับ การศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัย ก่อนประถมศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก เนอร์สเซอร่ี เพราะเด็กวัยนี้ไม่สามารถเรียน ออนไลน์ได้ ต้องอยู่กับพ่อแม่ ไม่ได้ออกไปเล่นตามวัย พบว่าในช่วง COVID-19 เด็กเล็กมีการพัฒนาของกล้ามเนื้อที่ลดลง นอกจากน้ันกลุ่มเด็กพิการ หรือเด็กกลุ่มพิเศษที่ต้องการการเรียนการสอนแบบเฉพาะเจาะจง ก็ถือเป็นกลุ่มเส่ียงของการ หลุดออกจากระบบการศกึ ษา หรือเด็กท่ไี ม่ได้ใชภ้ าษาไทยเปน็ ภาษาแม่ ก็ไดร้ ับผลกระทบจากการออกจากหอ้ งเรียนเช่นกัน สำหรับเด็กโต การเรียนการสอนในวิชาท่ีต้องมีการฝึกปฏิบัติการต่างๆ กจ็ ะได้รบั ผลกระทบมากกว่าวิชาที่สามารถเรยี นได้ ในระยะไกล เช่น วิชาคอมพิวเตอร์ สำหรับในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็มีรายได้ลดลง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยเอกชนท่ี ขาดรายไดจ้ ากนกั ศึกษาตา่ งชาติ หรอื จากสภาวะเศรษฐกิจท่ีผู้ปกครองมีรายได้ลดลง ในต่างประเทศ มหาวทิ ยาลัยช้ันนำทงั้ ในสหรฐั องั กฤษ ออสเตรเลีย ซ่ึงอาศัยรายไดจ้ ำนวนมากจากนักศึกษาต่างชาติหรือนักศกึ ษาต่างรฐั เมือ่ เกดิ การแพรร่ ะบาด ต้องเรียนทางไกล ทำให้นักศึกษาหลายคนตัดสินใจพักการเรียนไว้ก่อน มหาวิทยาลัยหลายแห่งประสบปัญหารายได้ลดลง ทำให้ต้องปิดตัวหรือชะลอการเปิดหลักสูตรเอาไว้ก่อน หรือยกเลิกการรับนักศึกษาในระดับบัณฑิตในบางสาขา นับเป็น ปรากฎการณท์ ่ไี ม่เคยเกดิ ข้นึ มาก่อน จากประเด็นผลกระทบต่อระบบการศึกษาตามที่ ดร.ภูมิศรัณย์ ทองเล่ียมนาค กล่าวไว้สอดคล้องกับการ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความเส่ยี งทีส่ ง่ ผลต่อการดำเนินงานของหนว่ ยกจิ การนกั ศึกษาและศษิ ยเ์ กา่ สัมพนั ธ์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ในประเด็นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 1. การเรียนออนไลน์ลดโอกาสที่นักศึกษาจะได้ทำกิจกรรมที่พัฒนาทักษะการส่ือสารระหว่างบุคคล , การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ , ทักษะการทำงานร่วมกันตามบทบททางสังคม เชน่ การเป็นผูน้ ำ, ผู้การทำงานเปน็ ทมี 110

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 2. จากสถากาณณ์ที่เกิดข้ึนอย่างปัจจุบนั ทันด่วน นักศึกษาส่วนหนึ่งขาดอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี รวมถึงทักษะ การใช้เทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นการสอน การทำกจิ กรรมอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 3. การเรียนออนไลนล์ ดการพบปะผคู้ น นำไปสคู่ วามเส่ยี งด้านสขุ ภาพจติ ได้ เชน่ 3.1 ความห่างเหินกับเพื่อนร่วมเรียนท่ีจะแลกเปลี่ยนประสบการณ์แบบเดียวกัน , รุ่นพี่ท่ีมี ประสบการณ์มาก่อนท่ีจะคอยให้คำแนะนำ, ผู้สอนที่อาจจะทำให้นักศึกษารู้สึกห่างเหิน นำไปสู่ความเครียดในการต้อง แกป้ ัญหาเมื่อเรยี นอยูแ่ ต่หน้าจอเพยี งคนเดียว 3.2 บรรยากาศการเรียนที่นักศึกษาแต่ละคนอยู่อาจจะมีความแตกต่าง บางพื้นที่อาจจะเหมาะสม บางพ้นื ทอ่ี าจจะมีข้อจำกดั เหลา่ นี้นำไปสคู่ วามเครยี ดส่งผลตอ่ สุขภาพจติ ใจของนกั ศึกษาได้ ด้วยเหตุนี้ หน่วยงานฯ จึงได้ออกแบบกระบวนการพัฒนานักศึกษาในยุควิถีชีวิตใหม่ เพ่ือพัฒนาระบบให้ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุควิถีชีวิตใหม่ของนักศกึ ษา แต่คงไวซ้ ่ึงคุณภาพในการพัฒนาตัวผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ เช่นเดมิ 6. เปา้ หมาย/วตั ถุประสงค์ของโครงการ 6.1 วัตถุประสงคข์ องโครงการ เพื่ อ อ อ ก แ บ บ ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า ใน ยุ ค วิ ถี ชี วิ ต ให ม่ ข อ งนั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 6.2 เป้าหมายของโครงการ มี ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า ใน ยุ ค วิ ถี ชี วิต ให ม่ ข อ งนั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 7. นิยามศพั ท์ 7.1 กระบวนการพัฒนานักศึกษา หมายถึง กรรมวิธีหรือลําดับการกระทําเพ่ือการพัฒนานักศึกษา ซึ่งดําเนิน ต่อเนื่องกันไปจนสําเร็จลง ณ ระดับหน่ึง กระบวนการของการเปล่ียนแปลง ท่ีมีการวางแผนไว้แล้ว คือการทำให้ลักษณะ เดิมเปล่ียนไป โดยม่งุ หมายว่า ลักษณะใหมท่ ี่เข้ามาแทนที่นน้ั จะดีกวา่ ลักษณะเก่า 7.2 ยคุ วิถใี หม่ หมายถึง ความปกตใิ หม่ , ฐานวิถีชีวิตใหม่ หมายถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ท่ีแตกต่าง จากอดีต กลา่ วคอื การจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่อื พฒั นานกั ศึกษาในรปู แบบใหม่ 8. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ 8.1 มกี ระบวนการรพฒั นานักศึกษาในยุควิถชี วี ติ ใหม่ของนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 8.2 ลดทรพั ยากรในดำเนินกิจกรรมเพ่อื การพัฒนานกั ศึกษา 8.3 ความอสิ ระในการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนักศกึ ษา 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธกี าร/แนวทางการปฏบิ ตั ิจริง (PDCA) 111

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการออกแบบกระบวนการในการพัฒนานกั ศึกษาในยคุ วิถใี หม่ จากกรอบแนวคิดดงั กลา่ ว นำไปสู่กระบวนการในการพัฒนานกั ศึกษาในยุควถิ ีชีวิตใหม่ ดงั น้ี สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ภายในประเทศ งานกิจการนักศึกษาและศิษยเ์ ก่าสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งมีภาระหน้าที่ หลกั ในการดแู ล พัฒนานกั ศึกษา ไม่ว่าจะเป็นด้านการจดั กิจกรรมเพ่ือพัฒนานกั ศกึ ษา ด้านสวัสดิการนกั ศึกษา ด้านการให้ คำปรกึ ษา ด้านวินยั นักศึกษา และอ่ืน ๆ ถือเปน็ โจทย์ใหญส่ ำหรับการรับมอื กบั สถานการณ์ดังกลา่ วอยา่ งเรง่ ดว่ นในชว่ งแรก ของการแพร่ระบาด ผลกระทบในสถานการณ์น้ี นำไปสู่การเรียนรู้ร่วมกันภายในหน่วยงาน และนำประเด็นต่าง ๆ เข้าท่ี ประชุมคณะกรรมการกิจการนักศึกษา และคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับ สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนท้ังในระยส้ันและระยะยาว โดยการมุ่งเน้นในการปรับเปล่ียนวิธีการดำเนินงานในกิจกรรมที่สำคัญ 112

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ รวมถึงบรู ณาการกับหน่วยงานตา่ ง ๆ ภายในคณะฯ เพ่อื กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์กับนกั ศกึ ษามากทส่ี ุด โดยคำนงึ ถงึ นโยบายหลกั ในการดำเนินงาน คือ นักศึกษาจะต้องได้รับการพัฒนาผ่านโครงสร้างกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามช้ันปี กล่าวคือ นักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 100 ชั่วโมง ดังนี้ กิจกรรมมหาวิทยาลัยกำหนดให้ นักศึกษาเลือกเข้าร่วมตามชั้นปี ชั้นปีละ 10 หน่วยช่ัวโมง รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 40 หน่วยช่ัวโมง และกิจกรรม เลือกเข้ารว่ มได้ตามความสนใจไม่น้อยกว่า 60 หน่วยช่ัวโมง จากกิจกรรม 7 ด้าน ทั้งน้ี เพ่ือพัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัย (I-Wise) คือ Integrity Wisdom Social engagement คือ เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ ใฝ่ปัญญา และจิต สาธารณะ และเพ่ือพัฒนานักศึกษาให้มคี วามเป็นสากลมที ักษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 สามารถเปน็ บัณฑิตทีพ่ ึงประสงค์ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ อีกท้ังหน่วยงานยังสามารถผลิตโมเดลการพัฒนานักศึกษาในยุคชีวติ วิถีใหม่ และกิจกรรมทั้งหมดท่เี กิดข้ึน จะต้องได้รับการประเมินทั้งจากหน่วยงานและนักศึกษาเป็นหลักเพ่ือการปรับปรุงกิจกรรมให้สอดคล้องกับนักศึกษาเป็น หลกั ดงั รายละเอียดและข้นั ตอนการดำเนินงาน ดังน้ี กระบวนการ กระบวนการพฒั นานักศึกษาในยคุ วิถีชีวิตใหม่ ระยะเวลา P - Plan กุมภาพันธ์ – เมษายน “เรยี นรู้ พรอ้ มรับมือ ปรับวธิ ีการ เปล่ยี นแนวทางการดำเนินงาน” 2563 รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน 1. ประชุมคณะกรรมการกิจการนักศึกษา และคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา เพ่ือหาแนวทางในการจัดกจิ กรรมทกุ กจิ กรรมทีค่ าดว่าจะไดร้ ับผลกระทบ 2. สำรวจความสนใจ ช่วงเวลา รปู แบบการจดั กจิ กรรม จากกลมุ่ เป้าหมาย 3. กำหนดรูปแบบในการดำเนินกิจกรรมท่ีมีการวมตัวของบุคคลจำนวนมาก เป็นไปตามเง่ือนไขในประกาศแนวปฏิบัตภิ ายใต้สถานการณ์โรคระบาด ของ กระทรวงสาธารณสุข, จังหวัด และมหาวิทยาลัย ดังน้ัน กิจกรรมท่ีจัดขึ้นใน ช่วงเวลาต่างๆจะเป็นไปตามเง่ือนการจัดงานตามประกาศในช่วงเวลา ประกาศน้นั ๆ เปน็ ผลให้ทางงานกจิ การนกั ศกึ ษาฯ มีกิจกรรม 2 รูปแบบ 2.1) ในช่วงเวลาท่ีสามารถจัดงานรวมตัวของบุคคลได้ภายใต้มาตรการรักษา ระยะหา่ ง มกี ารจัดกิจกรรมภายในคณะฯ และแบบออนไลน์ โดยให้ผูเ้ ข้ารว่ ม เป็นผู้ระบุความประสงค์ว่าจะเข้าร่วมช่องทางใด เพื่อลดจำนวนผู้เข้าร่วม ภายในสถานท่ี และสามารถควบคุมระยะหา่ งได้ 3.2) ในช่วงเวลาทไี่ ม่อนุญาตให้มีการรวมตัวของบุคคลมีการจัดกจิ กรรมแบบ ออนไลน์เท่านนั้ 4. มอบหมายภาระงานในการวางแผนรายละเอยี ดแต่ละกิจกรรม ดังนี้ - โครงการปฐมนเิ ทศและประชุมผูป้ กครองนักศกึ ษาใหม่ - โครงการรับนอ้ งใหม่ - โครงการไหว้ครู - โครงการอบรมนักศกึ ษาชั้นปีท่ี 1 – 4 - โครงการลอยกระทง 113

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - โครงการค่ายดอกเข็มบาน ณ ลานชุมชน - โครงการปัจฉมิ นิเทศนักศึกษา - โครงการอ่ืน ๆ 5. นำเสนอแผนการดำเนินงานแต่ละกิจกรรมตามรายละเอียดเบ้ืองต้น เพ่ือลง มตริ ่วมกัน 6. ปรับปรุงแผนการดำเนนิ งานตามขอ้ เสนอแนะ 7. นำรปู แบบการจัดกิจกรรมตามแผนทเ่ี สนอเพ่อื ไปปฏบิ ัติ กระบวนการ รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน ระยะเวลา D - Do ประชาสมั พนั ธ์และจดั กิจกรรมตามแผนทว่ี างไวท้ ุกกจิ กรรม ดังน้ี ภาคการศึกษาที่ 1/2563 1. โครงการปฐมนิเทศและประชุมผปู้ กครองนักศึกษาใหม่ และ - จดั กจิ กรรมออนไลน์ 100% ภาคการศกึ ษาท่ี 1/2564 - ลงทะเบยี นการเขา้ รว่ มของนกั ศึกษาผา่ นระบบออนไลน์ - ส่งอปุ กรณ์ สอ่ื ต่างๆ และวัสดุไปให้ผ้เู ข้าร่วมทางไปรษณีย์ ภาคการศกึ ษาที่ 1/2563 - Live สดกจิ กรรมปฐมนเิ ทศฯ และ - ประชุมเพือ่ แนะนำหลกั สตู รของแตล่ ะสาขาวชิ า โดยใชร้ ะบบ Zoom - ประชมุ สรปุ กจิ กรรม ภาคการศึกษาท่ี 1/2564 2. โครงการรับน้องใหม่ - จดั กจิ กรรมออนไลน์ 100% ภาคการศึกษาที่ 1/2563 - ลงทะเบียนการเขา้ รว่ มของนกั ศกึ ษาผ่านระบบออนไลน์ และ - Live สด หวั ข้อ ASK ME พ่ี LA - Live สด หัวข้อ พบปะพส่ี าขา ภาคการศึกษาที่ 1/2564 - Live สด หัวขอ้ พบปะพ่ีคลบั - Live สด หวั ขอ้ สอนนอ้ งร้องเพลง & พเ่ี ปะ๊ - Live สด หวั ข้อ สอนสนั ทนาการและการบมู - Live สด หวั ขอ้ วฒั นธรรมการอยู่ร่วมกัน - ประชุมสรุปกิจกรรม 3. โครงการไหว้ครู - จดั กจิ กรรมออนไลน์ 100% - จัดทำการ์ดในหัวขอ้ \"เรียงรอ้ ยภาษาบูชาครู\" - นักศึกษาทั่วไปจัดส่งขอ้ ความเขา้ ระบบ google ฟอรม์ - จดั ทำการ์ด และนำขอ้ ความใสใ่ นการ์ด - ส่งการด์ ใหก้ ับคณาจารยภ์ ายในคณะฯ - Live สดกจิ กรรมไหว้ครูคณะศิลปศาสตร์ - ประชมุ สรปุ กจิ กรรม 114

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 4. โครงการอบรมนักศกึ ษาชนั้ ปีที่ 1 – 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1/2563 และ - ภาคการศึกษา 1/2563 จดั กิจกรรมออนไลน์และคณะศลิ ปศาสตร์ ภาคการศึกษาท่ี 1/2564 - ภาคการศึกษาที่ 1/2564 จัดกิจกรรมออนไลน์ 100% - จดั กจิ กรรมอบรมแตล่ ะช้นั ปผี ่านระบบ Zoom ภาคการศึกษาท่ี 1/2563 - ประชมุ สรปุ กิจกรรม 5. โครงการลอยกระทง - จดั กจิ กรรมรบั บรจิ าคของเพือ่ นำไปบรจิ าคใหก้ บั บา้ นพกั คนชรา และบา้ นเด็กกำพรา้ - จดั เตรียมสถานที่ กจิ กรรมกระทงบุญเพ่ือรบั บริจาค - เปิดรบั บรจิ าค - สง่ ต่อกระทงบุญไปยังบา้ นพักคนชราและบา้ นเด็กโสสะ - ประชุมสรุปกิจกรรม กระบวนการ รายละเอยี ดการดำเนินงาน ระยะเวลา C - Check 6. โครงการค่ายดอกเข็มบาน ณ ลานชุมชน ภาคการศกึ ษาท่ี 2/2563 - จัดแบบกำหนดจำกัดจำนวนผ้เู ข้ารว่ มเพื่อลดระยะหา่ ง คือให้ เมษายน – พฤษภาคม เฉพาะผจู้ ดั กจิ กรรมเปน็ คนเดินทางไปทำค่ายแบบวนั เดียว ทุกปี (ไป-กลับ) - รบั บรจิ าคข้าวของต่าง ๆ เพอื่ นำไปบริจาค - จัดเตรียมสอื่ การเรยี นการสอนเพื่อนำไปปรับปรงุ ห้องเรยี น - เดนิ ทางไปโรงเรียนวดั บางเขียด และทำกิจกรรมอาสาพฒั นา - เดินทางกลับ และประชมุ สรุปงาน 1. ประชุมสรุปงานทุกกจิ กรรมเม่ือเสร็จส้นิ กิจกรรม 2. ประเมนิ ผลกิจกรรมทกุ กิจกรรมโดยผู้จดั กิจกรรมและผู้เข้ารว่ ม 3. นำผลการประชุมจากข้อ 1 และผลประเมินจากข้อ 2 มาประชุมร่วมกันใน หน่วยงาน และคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาในกิจกรรมมอบงานสโมสร นักศกึ ษาประจำปี 4. สรปุ ผลเพ่ือนำเขา้ เสนอต่อคณะกรรมการกจิ การนักศึกษา A - Act 1. วิเคราะห์ผลสรุปกิจกรรมท้ังหมดถงึ ปัญหา-อุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นเพ่ือนำมา พฤษภาคม จดั ทำแผนกจิ กรรมในครั้งต่อ ๆ ไป ทกุ ปี 2. นำแผนงานที่กำหนดใหม่ท่ีมีการประมวลจากทุกภาคส่วนนำเสนอต่อ คณะกรรมการกจิ การนกั ศึกษาทุกครงั้ 3. มีการบูรณาการกิจกรรมกับหน่วยงานภายในคณะฯ เพ่ือลดความซ้ำซ้อนของ กิจกรรม เช่น โครงการปฐมนิเทศและประชุมผู้ปกครองจัดร่วมกับงานบริการ 115

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ การศึกษา, โครงการอบรมนักศึกษาช้ันปีท่ี 4 จัดร่วมกับงานสหกิจศึกษาเพื่อให้ นักศึกษาสามารถเทยี บช่ัวโมงด้วยกนั ได,้ โครงการลอยกระทงทำร่วมกับงานทำนุ บำรุงศิลปะวฒั นธรรมของคณะฯ ภาพท่ี 2 วงจรคณุ ภาพ PDCA: กระบวนการพฒั นานกั ศกึ ษาในยคุ วถิ ีชีวติ ใหม่ 9.2 งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการจดั โครงการ – กิจกรรม (ถา้ ม)ี งบประมาณหลัง เปลย่ี นแปลง งบประมาณก่อนสถานการณ์ COVID-19 รปู แบบกิจกรรม กจิ กรรม 80,247.00 41,019.00 1. โครงการปฐมนเิ ทศและประชุมผูป้ กครองนกั ศึกษาใหม่ 89,729.00 11,033.00 2. โครงการรับน้องใหม่ 110,000.00 46,375.00 3. โครงการไหวค้ รู 32,881.00 44,219.00 4. โครงการอบรมนักศึกษาช้นั ปที ่ี 1 – 4 86,858.00 59,718.00 5. โครงการลอยกระทง 42,336.00 59,125.00 6. โครงการค่ายดอกเขม็ บาน ณ ลานชมุ ชน 75,000.00 341,736.00 7. โครงการปจั ฉมิ นเิ ทศนักศกึ ษา 64,796.00 501,600.00 รวม 116

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จากตารางและกราฟท่ีแสดงถึงงบประมาณที่ใช้ในการจัดโครงการต่าง ๆ จะเห็นได้ว่ามีการดำเนินงานท่ีลด ทรัพยากรในดำเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนานักศึกษาท้ังในภาพรายกิจกรรมและภาพรวม โดยหากพิจารณาในยอดรวม สามารถลดงบประมาณไปได้ถึง 159,864 บาท ในขณะท่ีงานกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ก็ยังสามารถดำเนิน กิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง น่ันอาจหมายรวมถึงงานกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์สามารถนำ งบประมาณที่ลดยังไปปรับใช้ในการพัฒนานักศึกษาในด้านอ่ืน ๆ เช่น การจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะทางวิชาชีพให้กับ นกั ศกึ ษาเพ่อื ผลิตบณั ฑติ ของคณะศลิ ปศาสตรใ์ หม้ ศี กั ยภาพรอบด้านต่อไป 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมลู เชงิ เปรยี บเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรยี บเทยี บกับ หน่วยงานภายใน/ภายนอก 10.1 ตารางผลการประเมินความพงึ พอใจของการเขา้ ร่วมกิจกรรม ก่อนสถานการณ์ ช่วงแรก ช่วงสถานการณ์ โรคระบาด สถานการณโ์ รค โรคระบาด และนำ กิจกรรม ระบาด และเริ่มมี ผลการประเมินมา การปรับเปล่ียน ปรบั เปลยี่ น กจิ กรรม กิจกรรม ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 117

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 1. โครงการปฐมนเิ ทศและประชมุ ผู้ปกครองนักศึกษาใหม่ 4.25 4.36 4.42 2. โครงการรับน้องใหม่ 4.48 4.37 4.50 3. โครงการไหวค้ รู 4.43 4.50 4.71 4. โครงการอบรมนกั ศึกษาชน้ั ปที ี่ 1 4.10 4.40 4.49 5. โครงการอบรมนักศกึ ษาชั้นปีท่ี 2 4.21 4.25 4.63 6. โครงการอบรมนักศกึ ษาช้นั ปที ่ี 3 4.08 4.30 4.56 7. โครงการอบรมนักศกึ ษาช้ันปที ี่ 4 4.71 4.65 4.68 8. โครงการลอยกระทง 4.19 4.20 4.60 9. โครงการคา่ ยดอกเขม็ บาน ณ ลานชมุ ชน 4.66 4.50 4.75 10. โครงการปัจฉมิ นิเทศนกั ศึกษา 4.54 4.32 4.60 จากตารางและกราฟทแ่ี สดงถึงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของการเข้ารว่ มกจิ กรรม จะเห็นระดับแนวโน้ม ขอ้ มูลเชิงเปรยี บเทยี บ (3 ปี) ถงึ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ซ่งึ จากข้อมูลแสดงใหเ้ ห็นว่าคา่ เฉลย่ี ความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมของนกั ศกึ ษามที ศิ ทางแนวโน้มท่ีดีขึ้นตามลำดับ ทง้ั มีผลมาจากการปรับปรงุ เพอ่ื พัฒนากระบวนการทำงานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 10.2 ผลการสำรวจความคาดหวังและความพึงพอใจในการเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนานักศึกษาของนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ทมี่ ตี ่อรปู แบบการจดั กจิ กรรมภายใตก้ ารระบาดของ COVID-19 ความคาดหวังของนกั ศกึ ษาต่อการเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นานักศกึ ษาภายใตก้ ารจัดกิจกรรมใน คา่ เฉลีย่ สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 1. ได้พฒั นาตนเองจากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 4.41 2. ไดค้ น้ พบศกั ยภาพของตนเอง 4.11 3. ได้รับความรู้จากการเขา้ รว่ มกิจกรรม 4.60 4. ได้นำความรูม้ าใช้ในการพฒั นาตนเอง 4.37 5. ไดเ้ พอ่ื นใหม่จากการเขา้ รว่ มกิจกรรม 4.22 118

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 6. ไดร้ จู้ กั รุ่นพี่-รุ่นน้องจนก่อให้เกดิ ความรักและความผกู พัน 4.31 7. ไดใ้ ชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ 4.44 8. มคี วามอยากเป็นผนู้ ำกิจกรรม 4.10 การประเมินผลความพงึ พอใจรายกิจกรรมภายใตส้ ถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ประจำปีการศกึ ษา 2564 1. กิจกรรมปฐมนเิ ทศและประชุมผ้ปู กครองนกั ศึกษาใหม่ 4.36 2. กิจกรรมรวมช่อเข็มใหม่ (รบั นอ้ ง) 4.66 3. กิจกรรมไหวค้ รู คณะศลิ ปศาสตร์ 4.47 4. กจิ กรรมเปดิ โลกกจิ กรรม 4.76 5. กจิ กรรมอบรมนกั ศึกษาแตล่ ะชนั้ ปี 4.39 6. กจิ กรรมลอยกระทง 4.54 7. กจิ กรรม E2LM 4.62 จากตารางความคาดหวังและความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นานักศึกษาของนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ทมี่ ตี อ่ รูปแบบการจัดกจิ กรรมภายใต้การระบาดของ COVID-19 จะเห็นได้วา่ ผเู้ รียน/นักศกึ ษามคี วามคาดหวังและความพึง พอใจต่อการดำเนินงานภายใต้รปู แบบทมี่ ีการปรบั เปล่ยี นด้วยสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 มาก-มากท่สี ุดทุกขอ้ 11. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอย่างต่อเนอ่ื งในอนาคต - จัดทำ/ปรับปรงุ โปรแกรมการพฒั นานักศกึ ษาในยุควิถีชีวติ ใหม่ทุกปีการศกึ ษา - ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า โดยกำหนดการประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบเมื่อเปิดภาค การศึกษามาแลว้ อยา่ งน้อย 2 สปั ดาห์ และจะประชาสัมพนั ธ์เมือ่ กิจกรรมจะจัดขึ้นอย่างนอ้ ย 3-4 สปั ดาห์ - เก็บรวบรวมขอ้ มูลทางสถิติเพอื่ นำไปปรับใชใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั การพฒั นานกั ศึกษาท่ีเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา - ทบทวน/วัดประเมนิ ผลทุกปกี ารศึกษา 11.2 จุดแข็ง (Strength) หรือ สิง่ ท่ีทำไดด้ ใี นประเด็นที่นำเสนอ กระบวนการและรูปแบบการพัฒนานักศึกษาในยุควิถีใหม่ท่ีออกแบบให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ของโลกที่ เปล่ียนแปลงในทุกมิติเพื่อรองรับต่อการพฒั นาผู้เรยี นเปน็ หลัก 11.3 กลยุทธ์ หรอื ปัจจยั ท่นี ำไปสู่ความสำเร็จ การดำเนินโครงการอยา่ งตอ่ เนื่องตามกระบวนการพัฒนานักศกึ ษาที่ผ่านการวางแผน วเิ คราะห์ วัดผลและ ประเมินผล ปรับปรุงกระบวนการ และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้บริหาร คณะกรรมการกิจการนักศึกษา ผู้นำ นักศึกษา และผรู้ บั บริการ (นักศึกษาโดยท่ัวไป) ตลอดระยะเวลาทผี่ ่านมา 12. ประเด็น (จดุ เดน่ ) ท่เี ปน็ แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี กระบวนการพัฒนานักศึกษาในยุควิถีชีวิตใหม่ ด้วยการจัดกิจรรมแบบออนไลน์เพ่ือปรับเปล่ียนกับสถานการณ์ที่ เปล่ียนแปลงไปของสังคมโลก เป็นกระบวนการท่ีผ่านการวางแผน วิเคราะห์ วัดและประเมินผล ปรับปรุงและแก้ไขอย่าง ต่อเนอ่ื งตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมาของวงการศกึ ษาที่เปล่ยี นแปลงไปจากเดิม ซึ่งกระบวนการพัฒนานกั ศกึ ษาในยุควิถใี หม่น้ี เป็น 119

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ กระบวนการที่มีส่วนร่วมกับการพัฒนานักศึกษาทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร คณะกรรมการกิจการนักศึกษา ผู้จัดกิจกรรม ผู้นำนักศึกษา หรือแม้แต่ผู้รับบริการคือนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมของคณะศิลปศาสตร์ เพ่ือการค้นหาแนวทางในการ ดำเนินการท่ีเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมจากข้อมูลทางสถิติ จนสามารถนำกระบวนการจัดกิจกรรมมาบูรณาการร่วมกันระหว่าง การจัดกิจกรรมแบบ Onsite และ Online เพ่ือให้สะดวกต่อการเรียนร้ขู องผู้เข้ารว่ มกิจกรรมในสถานการณ์และยุควถิ ีใหม่ของ นักศึกษาจนเป็นท่ยี อมรบั ของนักศึกษาท้ังหมด จนเกิดเปน็ โมเดลในการจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนานกั ศึกษาในยุควิถีใหม่ ดงั นี้ ลักษณะกิจกรรม ตัวอยา่ งกิจกรรม สถานการณ์ปกติ สถานการณ์ไม่ปกติ รุนแรง ไม่รนุ แรง กิจกรรมเพ่ือการพัฒนา - กจิ กรรมรับน้อง onsite online Online ตัวผู้เรียนนอกห้องเรียน - กิจกรรมค่ายอาสา Onsite ( จ ำ กั ด เปน็ หลกั - กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามคั คี/ จ ำ น ว น ค น เข้ า กจิ กรรมกลุ่มตา่ ง ๆ ร่วม) - กจิ กรรมอ่ืน ๆ กิจกรรมเพือ่ พฒั นาทักษะ - กิจกรรมอบรมทักษะทางวิชาการ ผเู้ รยี นสามารถ online Online ทางวชิ าการวชิ าชพี วิชาชพี เลอื กเข้าร่วมไดท้ ั้ง Onsite ( จ ำ กั ด - กจิ กรรมอบรมจรยิ ธรรมคุณธรรม ในรูปแบบ จ ำ น ว น ค น เข้ า - กิจกรรมอบรมโปรแกรมทางดา้ น online และ ร่วม) คอมพิวเตอร์หรอื โปรแกรมอืน่ ๆ onsite - กจิ กรรมอน่ื ๆ ภาพท่ี 3 กระบวนการพัฒนานกั ศึกษาในยุควถิ ชี ีวติ ใหม่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 120

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 13. เอกสารอา้ งอิง ภูมิศรัณย์ ทองเลีย่ มนาค. (2564, 2 มกราคม). สำรวจผลกระทบหลงั COVID-19 จุดเปลี่ยนคร้งั สำคญั ของการศกึ ษาโลก. https://workpointtoday.com/education-covid-19-4/ วเิ ชยี ร เกตุสงิ ห.์ (2538). คา่ เฉลยี่ กับการแปลความหมาย. ข่าวสารวิจัยทางการศกึ ษา, 18(3), 8 -11. 14. บทสรุป กระบวนการพัฒนานักศึกษาในยุควถิ ีชวี ิตใหม่เกิดขึ้นเนื่องจากผู้ปฏิบัติงานด้านการพัฒนานักศึกษาได้เผชิญกับ การแพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19 ซงึ่ ส่งผลกระทบตอ่ การพัฒนานกั ศึกษานอกหอ้ งเรยี นในหลายมติ ิเป็นระยะเวลาเกือบ 2 ปกี ารศึกษาที่มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ ไดป้ รับเปล่ยี นรูปแบบการเรียนการสอนเปน็ การเรียนแบบ online ซ่งึ เท่ากับนกั ศกึ ษา โดยสว่ นใหญ่ไม่จำเป็นตอ้ งเข้าศึกษาที่สถานศึกษาสง่ ผลใหก้ ารจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ของหนว่ ยพัฒนานกั ศึกษาต้องปรับเปลยี่ น รปู แบบ ดังนัน้ งานกิจการนกั ศึกษาและศิษยเ์ ก่าสมั พันธ์คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้มกี ารวางแผน ออกแบบกระบวนการพัฒนานักศึกษาในยุควิถีชีวิตใหม่ของนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ขึ้น โดยผ่านข้ันตอนการประชุม คณะกรรมการกิจการนักศึกษาฯ คณะกรรมการสโมสรนักศึกษาเพ่ือหาแนวทางในการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับ ผูเ้ รียนเป็นหลัก นำผลการวางแผนดังกล่าวมาปรับใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานกั ศึกษาในปีการศึกษา 2563 ซ่ึงถือได้ ว่าเป็นปีท่ีเร่ิมต้นในการปรับเปล่ียนกิจกรรมให้เข้ากับวิถีชีวิตใหม่ของนักศึกษา จากนั้นได้นำผลการประเมินทั้งจากข้อมูล สถติ ิ ขอ้ มูลจากการประชุมถอดบทเรียนหลังการจัดกิจกรรมของกลุ่มผนู้ ำนักศึกษา การวิเคราะห์จากผู้รับผดิ ชอบโครงการ เพ่ือนำมาวางแผนในการปรับปรุงกิจกรรมในปกี ารศึกษา 2564 ร่วมกับผู้บริหาร คณะกรรมการกิจการนักศึกษา และผู้นำ นักศึกษาจนเกิดเป็นแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนานักศึก ษาโดยมุ่งเน้นท่ีจะปรับปรุงและพัฒนา กระบวนการอยา่ งต่อเน่อื งตามยุควิถีของนกั ศึกษาตอ่ ไป 121

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏิบัติทเี่ ป็นเลิศ *************************************** 1. ชือ่ เรอื่ ง โครงการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น บรกิ ารวิชาการ 3. ช่อื หน่วยงาน ศูนย์ภาษาและบรกิ ารวชิ การ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ 4. ประเภทของโครงการ  ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลศิ ระดบั คณะ/หน่วยงาน  1.2 สายสนับสนุน 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลิศ ทีป่ รกึ ษาโครงการ: 1. ดร.บัณฑติ า ฮันท์ (อดตี ผชู้ ว่ ยคณบดฝี ่ายบรกิ ารวชิ าการ) 2. อาจารย์แทนพันธ์ เสนะพันธ์ุ บัวใหม่ (ผ้ชู ่วยคณบดฝี า่ ยบริการวชิ าการ) คณะทำงาน: 1. นางจริ าภรณ์ หกสี ตำแหน่ง พนกั งานธรุ การ ระดับ ส 3 สงั กดั ศูนย์ภาษาและบริการวชิ าการ 2. นางสาวเพยี งเพญ็ สิทธจิ ันทร์ ตำแหนง่ นักวิชาการอดุ มศกึ ษา สังกดั ศนู ย์ภาษาและบรกิ ารวชิ าการ 6. การประเมินปัญหา/ความเสย่ี ง (Assessment) ศูนย์ภาษาและบริการวิชาการ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานหนึ่งใน กำกับของคณะศิลปศาสตร์ ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2560 ดำเนินงานภายใต้พันธกิจหลักของ คณะศิลปศาสตรด์ ้านบรกิ ารวิชาการ คือสร้างความเปน็ เลิศทางวิชาการด้านภาษา วัฒนธรรม และการพัฒนามนุษย์ ทีส่ อดคล้องกับความต้องการของสังคม โดยใหบ้ รกิ ารวิชาการ จดั อบรม ประชุม สัมมนา การให้บรกิ ารวิชาการตาม ความต้องการของหน่วยงานภายนอก หรือโครงการท่ีจัดขึน้ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน บริการด้านการ แปลเอกสาร บริการจดั ทดสอบด้านภาษา รองรับความตอ้ งการของชุมชนและสังคมในพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งแนวทางการ ดำเนินงานของศนู ยภ์ าษาและบรกิ ารวิชาการเน้นความตอ้ งการและความพึงพอใจของผู้ใช้บรกิ ารเปน็ หลัก การจัดสอบ TOEFL ITP (Institutional Testing Program) เป็นอีกหนึ่งภารกิจด้านบริการวิชาการ ของศูนย์ภาษาและบริการวิชาการ โดยคณะศิลปศาสตร์เป็นศูนย์จัดทดสอบแบบทดสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ TOEFL ITP (Institutional Testing Program) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา ในสถานการณ์ปกติจัดสอบ TOEFL ITP แบบ Onsite (Paper base) เพ่อื ใชว้ ัดทักษะและความสามารถทางภาษาองั กฤษดา้ นการฟัง ไวยากรณ์ และการ อ่าน ซึ่งผลการทดสอบถือเป็นมาตรฐานเที่ยงตรงตามการทดสอบภาษาอังกฤษเชิงวิชาการแนว TOEFL (Test of English as a Foreign Language) ผลสอบ TOEFL ITP สามารถย่นื เพื่อศึกษาต่อสถาบนั อุดมศึกษาในประเทศที่ใช้ 122

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ผลสอบ TOEFL ITP เพ่ือเขา้ ศึกษาตอ่ หรอื ใช้ประกอบการสมัครงานกบั หน่วยงานของรฐั และเอกชน เช่น สอบบรรจุ ครูผู้ช่วย สอบบรรจุพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในส่วนของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ใช้ผลสอบ TOEFL ITP เพื่อยื่นผลสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่อง การประเมินทักษะภาษาต่างประเทศของนักศึกษาหลักสูตรปริญญาโทและ ปริญญาเอก ลงวนั ท่ี 26 มิถนุ ายน 2561 และตามประกาศบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ เรื่องเกณฑ์ ความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก ลงวันท่ี 31 สิงหาคม 2561) และใช้ยื่นประกอบการ สมัครงานในมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ (ตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เรื่อง มาตรฐานความสามารถ ภาษาอังกฤษของอาจารย์ประจำที่สถาบันอุดมศึกษารับเข้าใหม่ พ.ศ.2562 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2562) ศูนย์ภาษา และบริการวชิ าการไดใ้ ห้บรกิ ารจัดสอบมาตลอดจนถึงปจั จบุ นั โดยจัดสอบเฉลี่ยปีละ 4-5 ครง้ั สืบเน่อื งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ตัง้ แตเ่ ดือนเมษายน 2564 เป็นต้นมา ศูนย์ภาษาและบริการวิชาการไมส่ ามารถจัดสอบแบบ Onsite (Paper base) ได้ ทำให้รายได้ของ คณะศิลปศาสตร์หยุดชะงักไป ส่งผลให้คณะสูญเสียรายได้ประมาณ 117,600 บาท (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันหก รอ้ ยบาทถว้ น) เนือ่ งจากตอ้ งยกเลิกการสอบ TOEFL ITP ของรอบสอบวนั ที่ 16 พฤษภาคม 2564 และรอบสอบวันที่ 8 สิงหาคม 2564 (จากประมาณการรายรับเงินรายได้คณะศิลปศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2564 ที่ตั้งแผนไว้) ประกอบกบั ศนู ยภ์ าษาและบรกิ ารวิชาการต้องขบั เคลื่อนแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการ (Action plan) ของศูนย์ฯ ในการให้บริการวิชาการด้านภาษา วัฒนธรรม และสังคม โดยทำงานร่วมกับชุมชน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนา ภาคใต้และประเทศตามตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละของรายได้จากการให้บริการวิชาการด้านภาษา วัฒนธรรม และสังคมที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 และในขณะเดียวกันลูกค้ามีความต้องการให้คณะศิลปศาสตร์ให้จัดสอบด้าน ภาษาอังกฤษแบบ Digital หรือ Online เพือ่ จะใชผ้ ลสอบย่นื สำเรจ็ การศึกษาหรือเพ่ือการสมัครงาน จงึ มีการร้องขอ มายังคณะศิลปศาสตร์ให้จัดสอบแบบ Online ดังนั้น การจัดโครงการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home จึงเป็นสิ่งทีต่ อบโจทย์ทัง้ แผลกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการของศูนย์ภาษาและบรกิ ารวิชาการ และสอดคล้องกับความ ต้องการของลูกค้าด้วย ทั้งในแง่ของนวัตกรรม Digital Workplace การจัดสอบ Online เป็นการพัฒนาและตอบ โจทย์ของลูกค้าที่ต้องการสอบแบบ Digital ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็สามารถสอบได้ และเป็นการสร้างรายได้ให้ คณะศิลปศาสตร์อีกช่องทางหนึ่ง กอปรกับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีความ จำเป็นต้องใช้ผลคะแนนสอบภาษาอังกฤษเพื่อยื่นสำเร็จการศึกษา (Exit Exam) และบุคลากร มหาวิทยาลัย หรือ บุคคลทั่วไป ที่มีความจำเป็นต้องใช้ยื่นผลคะแนนสอบภาษาอังกฤษเพื่อประกอบอาชีพ เช่น สายวิชาการ ดังนั้น ศูนย์ภาษาและบริการวชิ าการได้เล็งเห็นถึงความตอ้ งการของลกู ค้า และเป็นการเพ่ิมโอกาสในการสร้างรายได้ให้กับ คณะศิลปศาสตร์ จึงได้ร่วมมือกับสถาบันการศึกษานานาชาติ (IIE) ให้มีโครงการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home ข้นึ 7. เปา้ หมาย/วัตถุประสงค์ของโครงการ 7.1 เพอื่ เพ่มิ ชอ่ งทางการสร้างรายได้ใหก้ บั คณะศลิ ปศาสตร์ 7.2 เพื่อเป็นการให้บริการวิชาการการสอบแบบระบบ Digital ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าใน สถานการณ์การเกดิ การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 7.3 เพ่ือพฒั นาระบบในการจัดสอบ Online หรอื ระบบ Digital ใหม้ ีความนา่ เชื่อถือและมมี าตรฐานยง่ิ ข้นึ 123

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 8. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 8.1 สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กบั คณะศลิ ปศาสตร์อีกชอ่ งทางหน่งึ 8.2 สามารถใหบ้ ริการวชิ าการเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าไดใ้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 8.3 มรี ะบบการจัดสอบแบบ Online หรือระบบ Digital ท่นี ่าเชื่อถือและมมี าตรฐาน 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ กี าร/แนวทางการปฏบิ ตั ิจรงิ (PDCA) ในการดำเนินงานจัดสอบทางผู้ปฏิบัตงิ านได้ใช้แนวทางการปฏิบัติงานจริง (PDCA) ในการดำเนินงาน โครงการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home โดยมกี ารดำเนนิ เงินและแผนการดำเนนิ กิจกรรมดงั ต่อไปนี้ การดำเนนิ งาน (PDCA) ระยะเวลาดำเนินการ ก่อนสอบ P (Plan) 1. วางแผนการดำเนินงานสอบ TOEFL ITP Online at home ร่วมกับ -มถิ นุ ายน – กรกฎาคม 2564 สถาบันการศกึ ษานานาชาติ (IIE) 2. วางแผนเพื่อจัดระบบการดำเนินงานสอบ โดยนำเงื่อนไขหรือข้อกำหนดที่ -มถิ ุนายน – กรกฎาคม 2564 เกี่ยวข้องของสถาบันการศึกษานานาชาติ (IIE) มาศึกษาเพื่อหาแนวทางใน การดำเนินงานสอบของคณะศลิ ปศาสตร์ดังนี้ - แนวปฏบิ ตั ิสำหรบั ผูเ้ ข้าสอบ - การติดต้งั โปรแกรมสำหรบั ผเู้ ขา้ สอบ - แนวปฏิบัติสำหรับกรรมการคุมสอบ 3. ทดสอบระบบการดำเนินงานสอบ (เสมอื นจรงิ ) -กรกฎาคม – สิงหาคม 2564 ดำเนินงานสอบ D (Do) 1. ประชาสมั พันธร์ บั สมคั รสอบผ่านช่องทาง -กรกฎาคม – สงิ หาคม 2564 -Website คณะฯ -FB คณะศลิ ปศาสตร์ -FB ศนู ยภ์ าษาและบรกิ ารวชิ าการ คณะศิลปศาสตร์ -Email ไปยังลกู คา้ กลุ่มเปา้ หมาย และลกู คา้ ทเ่ี คยเข้ารบั บรกิ าร (งานสอบ) 2. รับสมัครสอบ (online) ผ่าน Google Form ที่ออกแบบโดยศูนย์ภาษา -กรกฎาคม – สงิ หาคม 2564 และบรกิ ารวชิ าการ คณะศลิ ปศาสตร์ 3 ดำเนนิ การจัดสอบ -สิงหาคม 2564 -จองห้องปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ (หอ้ ง LAB) ในการดำเนินการคุมสอบ TOEFL ITP Online at home -ใชโ้ ปรแกรม Zoom สำหรบั การคมุ สอบ เพื่อแจ้งแนวปฏิบตั ิในการเขา้ สอบใหผ้ ูเ้ ขา้ สอบทราบ และใช้โปรแกรม zoom เปน็ ช่องทางส่ือสาร ระหว่างผ้เู ข้าสอบและกรรมการคมุ สอบ -ใหผ้ เู้ ขา้ สอบปฏบิ ัตติ ามแนวปฏิบัตขิ องการสอบ online เชน่ แสดงบตั ร 124

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ การดำเนนิ งาน (PDCA) ระยะเวลาดำเนินการ ประจำตัวที่มีรูปถ่ายของผเู้ ขา้ สอบผ่าน zoom ภายในห้องสอบจะตอ้ งอยู่ คนเดยี ว ให้ผสู้ อบถือกลอ้ งสอ่ งภายในหอ้ ง 360 องศาให้กรรมการ คุมสอบดู -กรรมการคุมสอบแจง้ Session Number ในการเขา้ ระบบให้ผู้เขา้ สอบ ทราบผา่ นทาง chat zoom -กรรมการคมุ สอบอนญุ าตให้ผ้เู ข้าสอบเขา้ ระบบสอบผ่านโปรแกรมสอบ TOEFL ITP Online หลังการสอบ C (Check) 1. รวบรวมปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานสอบ online โดยวิธีการ -สิงหาคม – กันยายน 2564 สงั เกตและจากการสอบถามปัญหาหรอื ขอ้ เสนอแนะจากกรรมการคมุ สอบ 2. สำรวจความพึงพอใจของผเู้ ข้าสอบหลังสอบเสร็จ -สงิ หาคม – กนั ยายน 2564 3. วเิ คราะห์ปญั หาจากการดำเนินงานสอบ พบวา่ ผู้เขา้ สอบไม่ติดต้ังโปรแกรม -สงิ หาคม – กนั ยายน 2564 สอบในวนั ทสี่ อบจรงิ ต้องปรบั แก้แบบฟอรม์ การรับสมัครสอบ ปรับแกแ้ นว ปฏิบัตขิ องผเู้ ข้าสอบ และปรบั แก้แนวปฏบิ ัติของกรรมการคุมสอบ A (Action) 1. หลังตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานสอบแล้ว ได้นำผลการวิเคราะห์มา - กนั ยายน – ตุลาคม 2564 เป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ การดำเนินงานสอบ ดังนี้ -ในวนั ท่สี อบจรงิ เปิด zoom สำรองไว้ 1 ห้องเพอื่ ให้ความช่วยเหลอื แก่ ผเู้ ข้าสอบท่มี ปี ัญหาในวนั สอบหรือมีปัญหาในการตดิ ตง้ั โปรแกรมสอบหรือ ผทู้ ่ียงั ไมต่ ิดตั้งโปรแกรมสอบ -มกี ารสง่ E-mail แจ้งเตอื นผู้เข้าสอบกอ่ นสอบอีกครงั้ เกี่ยวกับสิ่งทตี่ ้อง ดำเนนิ การก่อนสอบ เชน่ ติดตั้งโปรแกรม Zoom และโปรแกรมสอบ online -ปรบั ปรุงแบบฟอรม์ การรับสมคั รสอบใหส้ อดคลอ้ งกับขอ้ มูล Profile ใน ระบบสอบ เดมิ แบบฟอร์มรับสมคั รสอบให้ผู้เข้าสอบกรอกชื่อและตามด้วย นามสกุล แต่พบวา่ ในระบบสอบใช้นามสกลุ ผ้เู ขา้ สอบและตามด้วยช่อื ทำใหไ้ ม่เอ้อื ตอ่ การตรวจสอบรายชอื่ ผเู้ ข้าสอบของกรรมการคมุ สอบ -แนวปฏิบัติสำหรับผูเ้ ขา้ สอบ -แนวปฏิบตั ิสำหรับกรรมการคมุ สอบ 2. หลังจากมีการปรับปรุงการดำเนินงานสอบแล้วได้นำไปใช้จริงในการ - ตุลาคม 2564 ดำเนนิ งานสอบรอบถัดไป เพ่อื ใหม้ ีระบบการจัดสอบแบบ Online หรอื ระบบ Digital ที่นา่ เชือ่ ถอื และมีมาตรฐาน 125

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 9.2 งบประมาณท่ีใชใ้ นการจดั โครงการ – กจิ กรรม ในการดำเนินงานจัดโครงการจัดสอบ TOEFL ITP ไม่ว่าจะเป็น onsite หรือจัดแบบ online งบประมาณคา่ ใช้จ่ายหรือรายรับได้มาจากค่าลงทะเบียนหรือค่าสมัครสอบจากผูเ้ ข้าสอบ ซึ่งเป็นส่วนที่สร้างรายได้ ให้แก่คณะฯ ในการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home ในปี 2564 คณะฯได้ดำเนินการจัดสอบ online ไป 4 คร้งั และมรี ายรับดังนี้ ตารางแสดงรายรับ-รายจา่ ยการจดั สอบ TOEFL ITP Online at home (4 ครั้ง) ครง้ั ที่ วันเดือนปที ีจ่ ดั จำนวน ผู้เข้าสอบ รายจ่าย รายได้สุทธิ ผ้เู ข้าสอบ คดิ เป็น รายรบั (บาท) 1 29 สงิ หาคม 2564 ร้อยละ (หลังหักค่าใช้จา่ ย) 2 10 ตลุ าคม 2564 (คน) 3 14 พฤศจิกายน 2564 แผน ผล 93.33 100,800.00 64,398.00 32,895.92 4 19 ธันวาคม 2564 60 56 88.33 100,050.00 65,500.00 31,070.00 60 53 105 118,150.00 74,987.00 39,053.45 รวม 60 63 115 130,250.00 77,442.00 48,277.57 60 69 240 241 - 449,250.00 282,327.00 151,296.94 10. การวัดผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มขอ้ มูลเชิงเปรยี บเทียบ (3 ปี) และ/หรือ เปรียบเทยี บกบั หนว่ ยงาน ภายใน/ภายนอก ผลการดำเนินงานโครงการจัดสอบ TOEFL ITP ย้อนหลัง 3 ปี เดิมสถานการณ์ปกติไม่มีการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คณะศิลปศาสตร์ เป็นศูนย์ให้บริการจัดสอบ TOEFL ITP ทำให้มีรายได้ เข้าคณะในแตล่ ะปดี งั นี้ ตารางแสดงรายรบั -รายจา่ ยยอ้ นหลัง 3 ปใี นการจดั สอบ TOEFL ITP และ เปรยี บเทียบรายรบั -รายจ่าย และกำไรสทุ ธิของปี 2564 ระหวา่ งจดั สอบ onsite กับ online รายรับ รายไดส้ ุทธิ จำนวนผู้ จำนวนครง้ั ปี รายจ่าย (หลังหัก เข้าสอบ (คน) ที่จดั สอบ/ปี แผน ผล ค่าใช้จา่ ย) 2561 (onsite) 197,600.00 388,200.00 221,128.00 153,569.69 207 4 ครัง้ 2562 (onsite) 197,600.00 439,800.00 246,676.00 177,826.61 245 4 คร้ัง 2563 (onsite) 266,000.00 348,800.00 197,407.00 139,260.86 188 5 ครง้ั 2564 (onsite) 294,000.00 321,200.00 189,895.00 120,132.85 173 2 ครงั้ 2564 (online) 447,000.00 449,250.00 282,327.00 151,296.94 241 4 ครั้ง ชว่ งสถานการณ์ โควดิ -19 จากตารางข้างต้นจะเห็นได้ว่าในปี 2564 การสอบ online เมื่อเปรียบเทียบกับการสอบ onsite มีผู้สนใจเข้าสอบเพิ่มจากเดิม onsite 173 คน เป็น 241คน เพิ่มขึ้น 68 คน หรือมีผู้เข้าสอบเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 28.22 และรายรับเพม่ิ ข้นึ จากสอบ onsite จากเดิม 321,200 บาท เป็น 449,250 บาท เพ่ิมข้นึ 128,050 บาท หรือ มีรายรับเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 28.50 และจากตารางแสดงให้เห็นว่าการสอบ online คณะมีกำไรสุทธิหลังหัก ค่าใช้จ่าย เดิมกำไรสุทธิจากการสอบ onsite 120,132.85 บาท เป็น 151,296.94 บาท เพิ่มขึ้น 31,164.09 บาท 126

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ หรือมีกำไรสุทธิเพิม่ ขึน้ เป็นรอ้ ยละ 25.94 ซึ่งถือว่าบรรลุ KPI ตามแผนปฏบิ ตั ิการท่ีวางไว้คือรายได้เพิม่ ขึน้ รอ้ ยละ 5 ชใี้ หเ้ หน็ วา่ การสอบ online สามารถทีจ่ ะดำเนนิ งานทดแทนการสอบ onsite ไดใ้ นชว่ งสถานการณ์ฉุกเฉิน เชน่ การ เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้คณะไม่สูญเสียรายได้จากการให้บริการวิชาการ และจากตารางจะเห็นว่ารายรับจากการสอบ online 4 ครั้งเมื่อเทียบกับการสอบ onsite ของปี 2561-2563 (เฉลี่ยปีละ 4 ครั้ง) ยงั มรี ายรับต่ำกว่า หรอื หากจะเปรยี บเทยี บจากปี 2563 (onsite 5 ครง้ั ) กับ ปี 2564 (online 4 คร้งั ) รายรับกย็ ังคงเพิ่มขน้ึ จากเดิม 348,800 บาท เป็น 449,250 บาท เพิม่ ขน้ึ 100,450 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 22.36 จำนวนผเู้ ขา้ สอบกเ็ พ่ิมขึ้นจากเดิม 188 คน เป็น 241 คน เพ่มิ ขน้ึ 53 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 21.99 ในส่วนของการดำเนินงานโครงการจัดสอบ TOEFL ITP ไม่ว่าจะเป็นการจัดสอบแบบ onsite หรือ online คณะไดท้ ำการประเมนิ ผลความพึงพอใจของผรู้ ับบริการหรอื ผู้เข้าสอบไดผ้ ลการประเมินในภาพรวมดังน้ี ตารางแสดงผลการประเมินความพงึ พอใจของผู้รบั บริการในภาพรวม 3 ปยี ้อนหลัง ปี ระดับความพงึ พอใจ (จากคะแนนเตม็ 5) 2561 (Onsite) 4.45 2562 (Onsite) 4.45 2563 (Onsite) 4.34 2564 (Onsite) 4.46 2564 (0nline) 4.55 จากตารางข้างต้นในแง่ของการประเมินผลความพึงพอใจในภาพรวมของการดำเนินงานสอบ TOEFL ITP การจัดสอบแบบ Onsite ผูเ้ ขา้ รับการทดสอบมคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับดี และผลการประเมนิ ความพงึ พอใจใน ภาพรวมของการดำเนินงานสอบ TOEFL ITP แบบ Online ผู้เข้ารับการทดสอบมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก คือ 4.55 ชี้ให้เห็นว่าแม้ว่าคณะฯ จะดำเนินการจัดสอบแบบ online ยังคงสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้ และลูกค้ายังมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก ในปี 2563 เริ่มมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ภาษาและบริการวิชาการได้เพิ่มขั้นตอนการเข้าสอบ โดยมีมาตรการในการตรวจ คัดกรองผู้เข้าสอบเพื่อความปลอดภัยของผู้เข้าสอบ เช่น วัดอุณหภูมิก่อนเข้าสอบ สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัยตลอดเวลาในขณะทำการสอบ สแกน QR Code ของ PSU-Care และกรอกแบบประเมินความเสี่ยง ปัจจัย ดังกล่าวอาจเป็นส่วนหนึ่งท่ีทำให้ผู้สอบไม่สะดวก จึงส่งผลให้ผลการประเมินลดลงจากปี 2562 และเมื่อผู้สอบ ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ ผลการประเมินการจัดสอบ Onsite ในปี 2564 เพิ่มขึ้นจากปี 2563 เป็น 4.46 แสดงให้เห็นว่าผู้สอบมีมั่นใจและความพึงพอใจในการจัดสอบ เพิ่มขึ้น และเมื่อมีการจัดสอบ Online แทนการสอบ Onsite เนื่องจากมีประกาศจังหวัดสงขลาไม่อนุญาตให้ใช้ สถานทจ่ี ดั กิจกรรมรวมกลมุ่ ผสู้ อบมคี วามพึงพอใจเพม่ิ ขน้ึ จากการจดั สอบ Onsite เท่ากับ 4.55 เปรยี บเทียบขอ้ แตกตา่ งการสอบ TOEFL ITP onsite กบั online หวั ขอ้ Onsite Online 1. เวลาที่ใช้ในการสอบ -ใช้เวลาทำข้อสอบ 2 ชม. -ใช้เวลาทำข้อสอบถัวเฉลี่ย 1.5 (หลังจากทำข้อสอบเสร็จต้องนั่งรอ ชม. ไม่ถึง 2 ชม. (หลังจากทำ ในห้องสอบจนครบ 2 ชม. จึงจะ ข้อสอบเสร็จสามารถออกจาก ระบบสอบและออกจากห้องสอบได้ 127

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ หวั ข้อ Onsite Online ออกจากห้องสอบได้ เพื่อป้องกัน เลย ไม่ต้องนั่งรอในห้องสอบจน 2. ลดปริมาณการใช้กระดาษ การทจุ รติ ) ครบ 2 ชม.) ในการสอบ -สอบ onsite ใช้กระดาษข้อสอบ -ไมม่ ีการใช้กระดาษ และกระดาษคำตอบ 3. ผลสอบ จำนวน 25 แผ่น/คน -ทราบผลสอบทันทีหลังสอบเสร็จ (60 คน x 25 แผ่น = 1,500 แผ่น) และรอรับผลสอบที่เป็น paper 4. มคี า่ ใช้จ่ายในหมวดวัสดุ -ไม่ทราบผลสอบทันที รอรับผล หลังสอบเสร็จประมาณ 2 สัปดาห์ ในการดำเนินงานสอบ สอบเป็น paper หลังสอบเสร็จ ได้อกี หนึง่ ทาง ประมาณ 2 สปั ดาห์ -หากต้องการผลสอบ Un-official 5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของ ทางศูนย์ฯสามารถส่งไฟล์ผลสอบ ผเู้ ข้าสอบ -มีค่าวัสดุสำหรับแจกผู้เข้าสอบ ใหก้ บั ผูเ้ ข้าสอบทางอีเมล์ได้ (1 ชุด ประกอบด้วย ดินสอ 2 B, -ไมม่ คี ่าใช้จา่ ย 6. การลมื บตั รประจำตัว เช่น ยางลบดินสอ, กบเหลาดินสอ, บตั รประชาชน บตั รนกั ศกึ ษา ซองใสใส่อุปกรณ์เครื่องเขียน -ไมม่ คี ่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทาง ขา้ งตน้ ค่าใชจ้ ่าย 1 คน/30 บาท 7. มาตรการตรวจคัดกรองกอ่ นเข้า (60 คน x 30 บาท = 1,800 บาท) -สอบที่บ้านโอกาสลมื บัตรไมม่ ี สอบของคณะ (ใชเ้ ฉพาะช่วงการ -ผู้เข้าสอบมีค่าใช้จ่ายในการ แพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา เดินทางมาสอบ เช่น ค่าที่พัก -สอบได้ โดยไม่ตอ้ งผา่ นการ 2019 (COVID-19) ค่าน้ำมันรถ ค่ารถโดยสารประจำ คัดกรองตามมาตรการของคณะ ทาง -ลืมบตั รไมอ่ นญุ าตให้เขา้ สอบ -อุณหภูมิเกิน 37.5 องศาเซลเซียส มีไข้ ไอ หายใจเร็ว เหนื่อย ไม่ อนุญาตให้เข้าสอบ 11. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนือ่ งในอนาคต จากการทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าการสอบ TOEFL ITP online at home มี ข้อจำกดั หรือจุดอ่อน ดังน้ี - ผลสอบ TOEFL ITP ใชไ้ ด้เฉพาะภายใน ม.อ. เท่านั้น (ท้งั 5 วิทยาเขต) - ในการสอบไม่สามารถเช่ือมตอ่ Wifi Internet จากโทรศัพทม์ อื ถอื ได้ - ผสู้ อบใช้ PC หรือ Notebook ทีใ่ ช้ระบบปฏบิ ัติการ Windows 8.1 ขนึ้ ไป - ไม่แนะนำใหใ้ ช้ MacBook หรอื โทรศัพท์มอื ถอื ในการสอบ 128

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ - ควรใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ตที่เสถียร (สัญญาณแรง) หากสัญญาณอนิ เตอร์เน็ตไมเ่ สถียรจะ ทำใหผ้ สู้ อบหลดุ จากระบบสอบ - ผูเ้ ขา้ สอบตอ้ งปฏบิ ัติตามคมู่ อื หรอื แนวปฏิบตั ิการเตรยี มความพร้อมในการสอบท่ีจัดทำโดย คณะก่อนวันสอบอย่างเคร่งครัด เช่น การติดตั้งโปรแกรม Zoom และระบบสอบก่อนวัน สอบอย่างน้อย 3 วัน หากผู้เข้าสอบไม่ได้เตรียมความพร้อมอุปกรณ์และสัญญาณ อนิ เตอร์เน็ตกอ่ นวันสอบ จะไมส่ ามารถเขา้ ระบบสอบได้ - ผลสอบใชไ้ ด้ 2 ปี นับจากวันทส่ี อบ (เหมือนกับ onsite) แนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต ทางศูนย์ภาษาและบริการวิชาการ คณะ ศิลปศาสตร์ จะดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงระบบการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home ให้มีความ น่าเชื่อถือและได้มาตรฐาน เพื่อให้สามารถดำเนินการจัดสอบ online ได้ หากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) ยงั ไม่คลีค่ ลายหรอื จนกวา่ จะสามารถดำเนินงานสอบ Onsite ท่คี ณะศลิ ปศาสตร์ได้ เชน่ 1) ปรับปรุงแบบฟอร์มการรบั สมัครสอบใน Google Form ให้สอดคลอ้ งกบั การนำข้อมูลเข้าระบบสอบ TOEFL ITP Online at home 2) ปรับปรุงแนวปฏิบัติสำหรับผู้เข้าสอบให้เป็นปัจจุบันและเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าสอบ 3)ปรับปรุงแนวปฏิบัติสำหรับกรรมการคุมสอบเพื่อใช้ในการดำเนินงานสอบ และเพื่อให้เป็นระบบการจัดสอบ online ที่เปน็ มาตรฐานสำหรบั ผเู้ ข้าสอบและกรรมการคุมสอบหรอื ผปู้ ฏิบตั ิงานเกีย่ วกับการดำเนินงานสอบ TOEFL ITP online ตอ่ ไป 11.2 จดุ แขง็ (Strength) หรอื สิ่งที่ทำไดด้ ใี นประเดน็ ทีน่ ำเสนอ - สอบ online ผู้สอบสามารถสอบท่ไี หนก็ได้ ไม่จำเปน็ ตอ้ งเดินทางมาสอบท่ี คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ - ช่วยประหยดั ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางมาสอบของผ้สู อบ - ผู้สอบสามารถทราบผลสอบของตนเอง แบบ Un-official และสามารถ Save ได้ทันทีหลัง สอบเสร็จ หรอื ทางศนู ยส์ อบสามารถสง่ ผลสอบฉบบั Un-official ใหก้ ับผู้สอบได้กอ่ นทาง อเี มลร์ ะหวา่ งรอผลสอบท่เี ปน็ paper - ผสู้ อบไม่ต้องเสย่ี งตอ่ การตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เน่อื งจากสอบ online อยู่ ทีบ่ า้ นไมม่ ีการเดนิ ทาง ไม่ได้สมั ผสั ใกล้ชิดกับผูอ้ นื่ เนอื่ งจากไม่มกี ารรวมกลมุ่ ในการสอบ - ระบบสอบของ ETS เป็นระบบสอบทม่ี ีมาตรฐานยงั ไมพ่ บจดุ ท่ยี ากในการลอกเลยี นแบบ - ไม่อนุญาตให้คนที่ไม่เกี่ยวข้องอยู่ในห้องร่วมกับผู้สอบ โดยก่อนสอบจะให้ผู้สอบแสดง ภาพเคล่อื นไหวภายในห้องที่ใช้สอบผา่ นกลอ้ ง Zoom - ไม่อนุญาตให้ผู้สอบเคลื่อนไหวส่วนศรีษะหรือทำปากขมุบขมิบจะถือว่าทุจริตในการสอบ และใหร้ ะงบั การสอบทนั ที - กรณีผู้สอบมีปัญหาเข้าระบบสอบไม่ได้ เทคนีเชี่ยนที่มีความเชี่ยวชาญในการติดตั้งระบบ สอบจะชว่ ยแกป้ ัญหา โดยดงึ ผู้เข้าสอบจาก หอ้ ง Zoom หลกั ทใ่ี ช้ในการคุมสอบ มายังห้อง Zoom อีก 1 หอ้ ง เพื่อช่วยผสู้ อบแกป้ ัญหาการเขา้ ระบบสอบ 11.3 กลยทุ ธ์ หรือ ปจั จยั ท่นี ำไปสคู่ วามสำเรจ็ กลยุทธ์หรือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ คือ ศูนย์ภาษาและบริการวิชาการ สามารถจัดโครงการที่ ตอบสนองความต้องการของลกู ค้าได้อย่างต่อเน่ืองท่ามกลางสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และทำให้คณะไมข่ าดรายได้จากการให้บรกิ ารวิชาการระหว่างเกดิ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ประกอบกับประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของวัสดุโครงการที่ต้องแจกผู้เข้าสอบ มี 129

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ทีมงานการดำเนินงานสอบที่เข้มแข็งและเชี่ยวชาญการจัดสอบ เจ้าหน้าที่เทคนีเชี่ยนมีความเชี่ยวชาญสามารถ แก้ปัญหาใหผ้ ู้เขา้ สอบได้ทันท่วงที ลดการใช้กระดาษในการทำข้อสอบ การใช้ห้องในการดำเนินงานสอบใช้ห้องเล็ก กวา่ ทส่ี อบ onsite ช่วยลดคา่ ใชจ้ ่ายของคณะฯในส่วนของค่าไฟฟา้ และการใช้เครอื่ งปรับอากาศ และที่สำคญั คู่ความ รว่ มมือของคณะมีระบบการจดั สอบ Online หรอื Digital Workplace ท่มี มี าตรฐานยากต่อการลอกเลยี นแบบ 12. ประเดน็ (จดุ เดน่ ) ท่ีเป็นแนวปฏิบัตทิ ด่ี ี สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รัฐบาลได้มีประกาศ ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ 138 ตอนพเิ ศษ 82 ลงวันที่ 16 เมษายน 2564 (หนา้ 25) ขอ้ 1 การห้ามการดำเนินการหรอื จัดกิจกรรมหรือที่เสี่ยงต่อการแพร่โรค และข้อ 3 การกำหนดพื้นที่สถานการณ์ โดยจังหวัดสงขลาถูกจัดอยู่ในพื้นที่ ควบคุมสงู สุดด้วย ทำให้ศนู ย์ภาษาและบรกิ ารวชิ าการ คณะศิลปศาสตร์ ไมส่ ามารถดำเนนิ การจดั โครงการ/กิจกรรม การอบรม การจัดสอบ แบบ onsite ได้ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 เป็นต้นมา จึงได้ปรับการจัดสอบ TOEFL ITP จากแบบ Onsite เป็น TOEFL ITP Online at home นับได้ว่าศูนย์ภาษาและบริการวิชาการ คณะศิลปศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ ที่นำการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home มาใช้บริการวิชาการ เพื่อ ดำเนินงานจัดสอบให้กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ ม.อ. ที่มีความจำเป็นต้องใช้ผลคะแนนสอบภาษาอังกฤษ เพื่อยื่นสำเร็จการศึกษา (Exit Exam) และบุคลากรมหาวิทยาลัย หรือบุคคลทั่วไป ที่มีความจำเป็นต้องใช้ยื่นผล คะแนนสอบภาษาอังกฤษเพื่อประกอบอาชีพ หรือสมัครงานภายใน ม.อ. ซึ่งเป็นการจัดโครงการบริการวิชาการที่ ตอบสนองความต้องการของลกู คา้ และเปน็ การเพ่มิ โอกาสในการสร้างรายไดใ้ ห้กับคณะอกี หน่ึงชอ่ งทาง จดุ เด่นในการสอบแบบ online คือ 12.1 การจดั สอบ online สามารถเข้าทดสอบไดจ้ ากท่ีบา้ นหรือทไ่ี หนก็ไดต้ ามเงือ่ นไขของคณะ (อยูใ่ น หอ้ งสอบเพียงลำพงั ) ไม่จำเป็นตอ้ งเดินทางมาสอบท่ีคณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ ทำให้ประหยัดคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางของผ้เู ข้าสอบ 12.2 ผู้สอบสามารถทราบผลสอบทนั ทีหลังสอบ และทางศูนย์สามารถสง่ ผลสอบฉบบั Un-official ให้ กบั ผู้เขา้ สอบไดท้ างอีเมลไ์ ด้ก่อน ในระหวา่ งทร่ี อผลสอบที่เป็น paper 12.3 ทางคณะศิลปศาสตรจ์ ัดสง่ ผลสอบทีเ่ ปน็ Paper ไปยังผ้เู ขา้ สอบทางไปรษณยี ์ ทำใหไ้ ม่ต้องเส่ยี งต่อ การตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 12.4 คณะมีโสตทัศนูปกรณ์ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ มอี ินเตอรเ์ น็ตทีม่ ีความเสถียร พร้อมในการ ดำเนินงานคุมสอบ และมเี จ้าหนา้ ที่เทคนเี ชียนหรือเจา้ หนา้ ทส่ี ารสนเทศทีค่ วามเชี่ยวชาญ สามารถ ใหค้ วามช่วยเหลอื หรือแก้ปญั หาให้ผเู้ ข้าสอบได้ทนั ท่วงที 13. เอกสารอ้างอิง - Liberal Arts [2021]. คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ 2021 [Online]. เข้าถงึ เม่อื กันยายน 14, 2021 จาก http://www.libarts.psu.ac.th/ - IIE [2021]. Institute of International Education 2021 [Online]. เข้าถึงเมอื่ กนั ยายน 14, 2021 จาก https://www.iie.org - ETS [2021]. Educational Testing Service 2021 [Online]. เขา้ ถงึ เมอ่ื กนั ยายน 14, 2021 จาก http://www.ets-ellonline.org 130

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 14. บทสรุป การจัดสอบ TOEFL ITP Online at home หรือการสอบ Online ที่บ้าน เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ตอบสนอง ความต้องการของผู้ที่ประสงค์นำผลสอบไปใช้ประโยชน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดสอบ online at home เป็นการสร้างโอกาสในการหารายไดใ้ ห้กบั คณะศลิ ปศาสตร์ อกี หน่งึ ชอ่ งทาง ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทีท่ ำใหค้ ณะศลิ ปศาสตรไ์ ม่สามารถ จัดสอบหรือจัดกิจกรรมแบบ onsite ได้ ทำให้คณะฯขาดรายได้หรือสูญเสียรายได้ในการให้บริการวิชาการ ดังน้ัน การจัดสอบแบบ online ที่บ้านได้ประโยชน์ทั้งผู้เข้าสอบที่สามารถนำผลสอบไปใช้ประโยชน์ และให้ประโยชน์กบั ผู้จัดสอบเองในฐานะที่สร้างรายได้ให้แก่หน่วยงานหรือคณะที่ดำเนินการจัดสอบ และสามารถพัฒนา Digital Workplace ขององค์กรและตอบโจทยค์ วามต้องการของลูกค้าที่ต้องการสอบระบบ Digital และลดความเส่ียงจาก การเดนิ ทาง/กจิ กรรมรวมกลุ่ม ในการดำเนนิ งานสอบ TOEFL ITP ทางศูนยภ์ าษาและบริการวชิ าการได้นำกระบวนการ PDCA เข้ามาใน การบรหิ ารจดั การหรอื การดำเนินงานจริง ดงั น้ี วงจรการดำเนนิ งานโครงการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home ศูนย์ภาษาและบริการวิชาการ คณะศิลปศาสตร์ • (ก.ย. - ต.ค.) นาผลการ • (มิ.ย. - ก.ค.) วางแผนจัดสอบ วเิ คราะหม์ าเป็นแนวทางในการ TOEFL ITP Onlineร่วมกับ ปรับปรุงการดาเนินงานสอบ สถาบนั การศึกษานานาชาติ เช่น ปรบั ปรงุ แบบฟอร์มการรับ (IIE) / วางแผนจดั ระบบการ สมัครสอบ/ปรบั ปรุงแนวปฏบิ ตั ิ ดาเนินงานสอบ. สาหรับผเู้ ข้าสอบ/แนวปฏิบตั ิ กรรมการคุมสอบ เพือ่ นาไปใช้ใน Act Plan การสอบคร้งั ถัดไป Check Do • (ส.ค.-ก.ย.) รวบรวมปัญหา • (ก.ค. - ส.ค.) ประชาสัมพันธ์ และอุปสรรค / สารวจความ / รบั สมัครสอบ / ดาเนนิ การ พึงพอใจของผ้เู ข้าสอบ / จัดสอบ วิเคราะหป์ ัญหาจากการ ดาเนนิ งานสอบ จะเห็นได้ว่าการจัดสอบ TOEFL ITP online at home ถือเป็นทางออกที่ดีสำหรับผู้เข้าสอบใน สถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ไม่สามารถจัดสอบ onsite ที่คณะฯได้ และคณะศิลปศาสตร์ในฐานะที่รับผิดชอบโครงการจัดทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ NEW PSU-TEP (NEW Prince of Songkla University Test of English Proficiency) ซึ่งจัดสอบให้กับนักเรียน 131

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ นักศึกษา ม.อ./และนักศึกษาจากสถาบันอื่น บุคคลที่สนใจทั่วไป สามารถที่จะนำแนวทางการจัดสอบ TOEFL ITP Online at home มาใช้เพื่อพัฒนาในการจัดสอบ NEW PSU-TEP Online ในอนาคตได้ ทั้งนี้ หน่วยงานอื่น ๆ อาจจะถือเป็นแนวทางเพื่อนำไปปรับการให้บริการวิชาการสำหรับหน่วยงานได้อีกเช่นกัน ถึงแม้ว่าในอนาคตไม่มี สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไว้รัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แล้วก็ตาม แต่การดำเนินงานการจัดสอบ รูปแบบ Online กส็ ามารถท่จี ะเปน็ ทางเลอื กหนึ่งใหก้ ับผ้รู ับบรกิ ารไดอ้ กี ด้วย 132

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏิบัติท่เี ปน็ เลศิ *************************************** 1. ชอื่ เร่ือง ระบบ SCI-ROUND เพ่อื การคดั กรองความเสยี่ งและรองรบั การดแู ลนักศึกษาในยคุ โควดิ –19 (Stop COVID-19 with SCI-ROUND) 2. โครงการ/กจิ กรรมด้าน ดา้ นบรหิ ารจัดการ 3. ชื่อหน่วยงาน งานพัฒนานกั ศกึ ษาและศิษย์เก่าสมั พันธ์ รว่ มกบั งานเครือข่ายและประชาสมั พนั ธ์ และงานสนบั สนนุ การจดั การศึกษา คณะวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเภทของโครงการ ❑ประเภทท่ี 1แนวปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ ระดับคณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคัดเลอื กโดยเวทหี รอื ผ้บู ริหารของคณะ)  1.1 สายวชิ าการ  1.2 สายสนบั สนนุ ❑ประเภทที่ 2แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี หวั หน้างานพฒั นานกั ศกึ ษาและศษิ ยเ์ กา่ สมั พันธ์ 2.1 สายวิชาการ หัวหนา้ หนว่ ยประชาสัมพันธ์ 2.2 สายสนับสนุน งานพฒั นานักศึกษาและศิษย์เกา่ สมั พันธ์ งานพัฒนานักศึกษาและศษิ ย์เก่าสมั พันธ์ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏิบตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ งานพัฒนานักศึกษาและศษิ ยเ์ ก่าสมั พนั ธ์ 1) นายพงศธร เตชะวชั รานนท์ งานพัฒนานักศกึ ษาและศษิ ยเ์ กา่ สมั พนั ธ์ 2) นายอิสรภาพ ชมุ รกั ษา หนว่ ยประชาสมั พนั ธ์ 3) นางสาวอาภานชุ เตม็ เปยี่ ม หนว่ ยประชาสมั พนั ธ์ 4) นางสาวอรพณา องั คสุวรรณ 5) นางผณิกา เชาวเหม 6) นางสาวสพุ ิชชา นพจนสภุ าพ 7) นายภานุมาศ ออ่ นมาก 8) นายวณกิ บุตร วฒั นมติพจน์ 9) นางสาวกฤตยภร คมุ่ เคย่ี ม หวั หน้างานสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษา 10) นางสาวภมุ ริน ทนหมัด งานสนับสนุนการจัดการศกึ ษา อาจารย์ที่ปรกึ ษา 1) รองศาสตราจารย์ ดร.อรุ าพร วงศว์ ัชรานนท์ รองคณบดฝี า่ ยพัฒนาบคุ ลากรและวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ 2) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นฐั ดา จเิ บญ็ จะ รองคณบดฝี า่ ยกิจการภายในและศิษย์เกา่ สมั พันธ์ 3) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สงิ โต บญุ โรจน์พงศ์ ผู้ช่วยคณบดฝี ่ายพัฒนานักศกึ ษา 4) ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.กิติพล นวลทอง รองคณบดฝี ่ายกิจการพเิ ศษและสหกิจศึกษา 6. การประเมนิ ปญั หา/ความเส่ยี ง (Assessment) เนือ่ งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้อื โควดิ -19 ซง่ึ เรมิ่ ตง้ั แตป่ ี 2563 มกี ารแพรร่ ะบาดของเช้ือโควิด-19 และมี การแพรร่ ะบาดเปน็ วงกว้าง ทางมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์มนี โยบายใหจ้ ัดการเรยี นการสอนแบบ online ในชว่ งเวลา ดังกลา่ วมี นกั ศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ จำนวนหลายคนได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 งานพัฒนา 133

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ นกั ศกึ ษาและศิษยเ์ กา่ สัมพันธ์จึงไดร้ บั มอบหมายให้ดแู ลนกั ศกึ ษาคณะวทิ ยาศาสตร์ทีไ่ ด้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด ของเชือ้ โควิด-19 เม่อื นักศึกษาหรอื อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาแจง้ ขอ้ มลู จากนกั ศึกษา งานพัฒนานกั ศกึ ษาฯจะดำเนนิ การแนะนำ สอบถาม สอบสวนโรค หากลมุ่ เสยี่ งต่อไป โดยยดึ หลักของกระทรวงสาธารณสุขในการดำเนินงานและได้จัดทำแบนเนอร์ ส่ือสารเพ่ิมความเข้าใจให้กับนักศึกษาอีกข้ัน ประสานหาหอพักนักศึกษาเพ่ือแยกนักศึกษากลุ่มเส่ียง กรณีนักศึกษาติด เช้ือแล้ว ประสานงาน หาเตียง หายา และอาหารให้แก่นักศึกษา ท้ังนักศึกษาท่ีเข้ารับการรักษาแบบ HI หรือ CI จัดทำ ขอ้ มลู รายงานผลนักศึกษาทีต่ ดิ เช้อื มคี วามเสย่ี งแกห่ วั หน้าสาขา/ประธานหลกั สูตรและอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา ต่อมาต้นปี 2564 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อโควดิ -19 เร่ิมดีข้ึนมีจำนวนผู้ติดเช้ือน้อยลง ทางมหาวทิ ยาลยั มี นโยบายให้จัดการเรียนการสอนแบบ Hybridge (มีทั้งแบบ online และ onsite โดยในการจัดการเรียนการสอนแบบ onsite ทีมบริหารคณะวิทยาศาสตร์ ได้มอบหมายให้งานพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ทำหน้าที่ในการดูแล นักศึกษา จึงได้มีการประชุมวางแผนร่วมกับ รศ.นพ.ทพ. สุรพงษ์ วงศ์วัชรานนท์ ที่ปรึกษาคณะกรรมการป้องการการ แพรร่ ะบาดของเชื้อโควิด-19 และ รศ.ดร.อุราพร วงศว์ ชั รานนท์ รองประธานคณะกรรมการป้องการการแพรร่ ะบาดของ เช้ือโควดิ -19 เพ่ือกำหนดแนวทางในการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของเช้อื โควิด-19 ในการเรียนการสอนแบบ onsite โดยลักษณะของการติดเชื้อโควิด-19 น้ันจะมีความเสี่ยงสูงในบุคคลท่ีไม่ได้ฉีดวัคซีนหรือบุคคลที่มีประวัติใกล้ชิดกับ คนที่ติดเชื้อโควิด-19 ขณะเดียวกันการสังเกตอาการจะช่วยให้ประเมินความเส่ียงของโอกาสติดเชื้อโควิด- 19 ดังนั้น วิธีการที่ดีท่ีสุดคือการป้องกันไม่ให้บุคคลที่มีความเส่ียงดังกล่าวเข้ามาในพ้ืนท่ีของหน่วยงาน จึงทำให้มีการจัดทำระบบ การคดั กรองนักศกึ ษา เพ่อื ประเมินความเส่ยี งในการตดิ เช้อื โควิด-19 ขนึ้ โดยในระยะแรกประยุกต์ใช้ Google form ใน การประเมินความพร้อมด้านสุขภาพก่อนเข้ามาเรียน (เอกสารประกอบที่ 1 แบบประเมินความพรอ้ มด้านสุขภาพ โดยใช้ Google form) หากประเมินแล้วไม่มีความเส่ียง นักศึกษามีสถานะสีเขียวจะสามารถเข้ามาเรียนได้ แต่หากมีความเส่ียงจะมีสถานะสี แดง ระบบจะส่งอีเมล์ไปแจ้งนักศึกษา เจ้าหน้าที่งานสนับสนุนการจัดการศึกษา และงานพัฒนานักศึกษาฯ จากนั้น เจา้ หน้าทง่ี านพัฒนานักศึกษาฯ จะประสานกบั ไปยังนกั ศกึ ษาและอาจารย์ท่ีปรึกษา เพื่อกำกบั ดูแลในการปฏบิ ัติตัวตาม แนวทางสำหรับนักศึกษาท่ีมีความเส่ียงสูงจากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเช้ือโควิด-19 หรือนักศึกษาท่ีเชื้อโควดิ -19 และ ได้กำหนดในเร่ืองการปฏิบัติตัวตาม DMHT อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้งานพัฒนานักศึกษา ได้ประสานกับทางหอพัก นกั ศกึ ษาในเรือ่ งการกักตัว กรณีทมี่ คี วามเสี่ยงสูงจากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชอ้ื โควดิ -19 และประสานกับทางหอพัก นักศึกษา (CI โรงช้าง) กรณีนักศึกษาที่ติดเชื้อโควิด-19 จะต้องเข้ารับการรักษา ผลการดำเนินงานในเรื่องการคัดกรอง นักศึกษา โดยการใช้ระบบ google form ในการประเมินความพร้อมด้านสุขภาพก่อนเข้ามาเรียน พบว่ายังไม่มี 134

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากระบบน้ีมีการแจ้งผลทางอีเมล์ หากไม่ได้เช็คอีเมล์จะไม่ทราบผล ทำให้บางคร้ัง นักศึกษาที่มีสถานะแดงเข้าไปเรียนท่ีคณะแล้วจึงจะทราบในภายหลัง ทำให้การป้องกันการแพร่ระบาดยังมี ประสิทธิภาพท่ีไม่ดีนัก จึงนำมาสู่การปรับการปรุงแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 โดยใน เทอมสอง ปีการศึกษา 2564 ได้มีการพัฒนาระบบที่มีชื่อว่า SCI-ROUND ขึ้น ซ่ึงในระบบ SCI-ROUND นักศกึ ษาจะสามารถสง่ ข้อมูลเรอ่ื งการฉดี วัคซนี หรือ ผลการตรวจ ATK และทำการประเมินความพร้อมของสุขภาพกอ่ น เข้าพ้ืนท่ีทุกคร้ัง จากน้ันจึงแสดงสถานะให้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่ประตูทางเข้าก่อนจะเข้ามาเรียนหากมี สถานะเขียวจงึ จะอนุญาตใหเ้ ขา้ มาในพื้นท่ีของคณะ นอกจากน้อี าจารยผ์ ู้สอนหรือ นกั วิทยาศาสตร์ประจำห้องเรียนหรือ ห้องปฎิบัติการก็จะสามารถขอดูสถานะการประเมินความพร้อมของสุขภาพ ก่อนเข้าไปในห้องเรียนได้อีกด้วย ทำให้มี ความปลอดภัยมากขึ้น นอกจากน้ีระบบ SCI-ROUND ยังสามารถใช้สำหรับนักศึกษาคณะอ่ืนๆ ที่มาเรียนที่คณะ วทิ ยาศาสตร์ ไดอ้ ีกดว้ ย นอกจากจะพัฒนาระบบ SCI-ROUND เพื่อคัดกรองความเสี่ยงของการติดเช้ือโควิด-19 แล้ว งานพัฒนานักศึกษา และศิษย์เก่าสัมพันธ์ ยังได้จัดทำแนวปฏิบัติสำหรับนักศึกษาที่มาเรียน onsite โดยมีข้อความทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษสำหรับนกั ศึกษาต่างชาติด้วย เน้นในเร่ืองการ seal mask และ DMHT ร่วมกับการจดั อบรมใหค้ วามรู้กับ นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ ในเร่ืองแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 โดยมีนักศึกษา ร่วมรบั ฟงั จำนวน 420 คน และดำเนินการในเรื่องการสุ่มตรวจนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ เพื่อคัดกรองการติดเช้ือโควิด-19 โดยใช้ ATK จำนวน 10-30% ของจำนวนนักศึกษาที่มาเรียน onsite ท่ีคณะวิทยาศาสตร์เป็นประจำทุกเดือน โดยมีการปรับจำนวนการสุ่ม 135

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ตรวจให้สอดคล้องกับสถานการณ์การติดเชื้อ ซ่ึงทำให้สามารถการคัดกรองความเสี่ยงของการติดเช้ือโควิด-19 ได้เพ่ิม มากขึน้ หลงั จากใช้ระบบ SCI-ROUND การสมุ่ ตรวจและกำหนดแนวปฏิบัตใิ นการเรียนแบบ onsite พบวา่ การแพร่ ระบาดของเชือ้ โควิด-19 ในการเรียนการสอนแบบ onsite ลดลงเปน็ อยา่ งมาก 7. เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1) เพือ่ พฒั นาระบบในการคัดกรองนักศึกษาทม่ี ีความเสยี่ งในการตดิ เชอื้ โควิด-19 2) พฒั นาแนวทางในการป้องกนั การแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 ในการเรยี นการสอนแบบ onsite 3) ลดหรอื สามารถปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเช้ือโควดิ -19 ในกลมุ่ นักศึกษา 8. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 1) มีระบบคดั กรองความเสย่ี งในการติดเช้ือโควดิ -19 2) มีแนวปฏิบัตใิ นการดูแลนกั ศกึ ษาทมี่ ีความเสีย่ งในการตดิ เชอื้ หรอื ตดิ เชือ้ โควดิ -19 3) การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โควิด-19 ในการเรียนแบบ onsite ลดลง 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ ีการ/แนวทางการปฏิบตั ิจรงิ ยดึ หลักของการบริหารความเสยี่ งของการตดิ เช้อื โควดิ 19 (Risk management) รว่ มกบั การดำเนินงานด้วยหลัก PDCA การออกแบบกระบวนการ Risk: โอกาสตดิ เชอื้ โควดิ -19เปน็ คลสั เตอร์ แนวทางการจัดการ จึงเปน็ การออกแบบระบบเพื่อป้องกันไม่ใหม้ ผี ู้ท่ตี ดิ เชือ้ โควดิ -19 ในพน้ื ที่ วิธีการดำเนินการ P: ก่อนเปิดเรียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ประชุมวางแผนแนวทางป้องกันการแพร่ระบาดในการ เรยี นการสอนแบบ onsite D: นำแนวทางปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดในการจดั การเรียนการสอนแบบ onsite และ google form การประเมิน ความพรอ้ มดา้ นสขุ ภาพก่อนเข้ามาเรียนมาใช้ C: ประชุมเพื่อประเมนิ ผลการดำเนินงาน โดยมกี ารสมุ่ ตรวจเปน็ เคร่ืองมือประเมินประสทิ ธิภาพของระบบ 136

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ A: ปรบั ปรุงแนวทางป้องกันการแพรร่ ะบาดในการจัดการเรียนการสอนแบบ onsite P: ประชมุ วางแผนแนวทางปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดในการเรียนการสอนแบบ onsite และการจัดทำระบบ SCI- ROUND ช่วงปดิ เทอมแรก D: นำแนวทางป้องกันการแพร่ระบาดในการจัดการเรียนการสอนแบบ onsite ท่ีได้ปรับปรุงใหม่และระบบ SCI-ROUND มาใช้ในภาคการศกึ ษาท่ี 2 C: ประชมุ เพอ่ื ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน 9.2 งบประมาณท่ใี ช้ในการจดั โครงการ – กจิ กรรม (ถ้ามี) 1) งบประมาณที่ใชใ้ นการสมุ่ ตรวจ แตล่ ะเดือนตั้งแตเ่ ดอื นธนั วาคม 2564 - เดอื นเมษายน 2565 เดือนธนั วาคม 2564 สุม่ ตรวจ 3 ครง้ั จำนวน 113 คนคิดเปน็ ค่าใช้จา่ ย 6,780 บาท เดอื นมกราคม 2565 สุ่มตรวจ 2 ครง้ั จำนวน 158 คนคิดเป็นคา่ ใช้จ่าย 9,480 บาท เดือนกมุ ภาพันธ์ 2565 สมุ่ ตรวจ 2 ครั้ง จำนวน 52 คน คิดเป็นคา่ ใชจ้ า่ ย 3,120 บาท เดือนมีนาคม 2565 สุม่ ตรวจ 1 คร้งั จำนวน 65 คน คิดเป็นค่าใชจ้ า่ ย 3,900 บาท เดือนมีนาคม 2565 สมุ่ ตรวจ 1 ครัง้ จำนวน 39 คน คิดเปน็ คา่ ใช้จ่าย 2,340 บาท รวมคา่ ใช้จา่ ย 25,620 บาท 2) งบประมาณที่ใชส้ ำหรบั จัดทำระบบ SCI-ROUND สำหรับการคดั กรองนกั ศึกษาจำนวน 50,000 บาท 10. การวัดผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโนม้ ข้อมูลเชิงเปรยี บเทยี บ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับหนว่ ยงาน ภายใน/ภายนอก 1) ระบบในการคดั กรองความเสย่ี งในการติดเชอ้ื โควดิ -19 SCI-ROUND 137

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ QR-Code คู่มอื ระบบ SCI-ROUND นกั ศกึ ษาเข้าสรู่ ะบบ SCI-ROUND แนบหลักฐานการไดร้ ับวคั ซนี ปอ้ งกันโควิด-19 และทำแบบประเมนิ ความพร้อม ด้านสุขภาพเพอ่ื คดั กรองความเสย่ี งในการติดเชอ้ื โควดิ -19 โดยนกั ศกึ ษาทม่ี คี วามเสย่ี งสงู (สีแดง) ไมส่ ามารถเขา้ มา บรเิ วณพน้ื ท่ีคณะวทิ ยาศาสตรไ์ ด้และทางระบบจะแจง้ มายงั เจา้ หนา้ ที่งานพัฒนานักศึกษาเพือ่ ตดิ ตามและดูแลนกั ศกึ ษา ต่อไป 2) มีการจัดการในการป้องกนั และการจดั การเมอื่ เกดิ เหตุ แนวปฏบิ ตั ิสำหรบั นกั ศกึ ษาทมี่ คี วามเสย่ี งสูงจากการสัมผสั ใกล้ชิดกบั ผ้ตู ิดเชือ้ โควดิ -19 หรือนกั ศึกษาท่ีเชอ้ื โควดิ -19 138

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 3) ตารางสรปุ จำนวนนกั ศึกษาทป่ี ระเมินความพรอ้ มสุขภาพแล้วมสี ถานะแดงแบบ google form และแบบ SCI- ROUND ระดบั ปริญญาตรี บัณฑติ ศกึ ษา สถานะแดง ระบบการประเมนิ /จำนวนนักศกึ ษา Google form 55 250 5 SCI-ROUND 1069 300 107 นกั ศกึ ษาทมี่ สี ถานะแดง ประมาณ 70 % จะเปน็ กล่มุ ที่มคี วามเสยี่ งจากการสมั ผสั ใกลช้ ดิ กับผู้ท่ีตดิ เชอื้ โควิด-19 ซี่ง ทางงานพัฒนานักศึกษาได้ประสานกับทางมหาวทิ ยาลยั ในเรอื่ งการกักตัวและประมาณ 30 % เป็นกลุ่มทต่ี ดิ เชอ้ื โควดิ - 19 ซงึ่ งานพฒั นานักศึกษา ประสานกบั ทางโรงพยาบาลมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทรใ์ นการเข้ารบั การรกั ษา 4) ตารางสรุปจำนวนนกั ศกึ ษาที่ถกู สมุ่ ตรวจและผลการตรวจในแตล่ ะเดือน (นกั ศกึ ษาได้รบั การประเมนิ ความพรอ้ ม ด้านสขุ ภาพ SCI-ROUND กอ่ นและมสี ถานะเขยี ว จึงจะมาสมุ่ ตรวจ) เดือน % การสุ่มตรวจ จำนวนนักศกึ ษา จำนวนนกั ศึกษา ผลการตรวจ นกั ศกึ ษาทมี่ าเรยี น (ป.ตร)ี (บณั ฑติ ศึกษา) เดอื นธันวาคม 2564 80 Negative ท้ังหมด เดอื นมกราคม 2565 10% 105 33 Negative ทงั้ หมด เดือนกมุ ภาพันธ์ 2565 20% 33 53 Negative ทงั้ หมด เดอื นมนี าคม 2565 10% 40 19 Negative ท้งั หมด เดอื นเมษายน 2565 10% 6 25 Negative ทั้งหมด 10% 33 5) จำนวนนักศึกษาทีต่ ดิ เชอื้ แตล่ ะเดือน ตั้งแต่เดือนธนั วาคม 2564- พฤษภาคม 2565 เดือน จำนวนที่ติดเชอ้ื จำนวนที่ตดิ เช้ือ ทงั้ หมด (จากการแพร่เชือ้ ในการเรียน เดือนธนั วาคม เดอื นมกราคม 6 แบบ onsite) เดือนกุมภาพันธ์ 7 0 เดือนมนี าคม 76 0 เดือนเมษายน 89 0 เดอื นพฤษภาคม 19 0 0 0 0 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เน่อื งในอนาคต มีการประชุมวางแผนเพ่ือปรบั ปรุงแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด 19 อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทำให้ มีการพัฒนาระบบ SCI-ROUND Version 2 ให้สามารถใช้คัดกรองความเส่ียงให้กับบุคลากร ทั้งภายในและ 139

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ภายนอก คณะวิทยาศาสตร์ รวมถึง บุคคลอ่ืนๆ ท่ีจะเข้ามาปฏิบัติงานหรือทำกิจกรรมต่างๆ ในพ้ืนที่คณะ วทิ ยาศาสตร์ ซึ่งจะทำใหก้ ารป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชื้อโควดิ -19 มปี ระสิทธิภาพมากย่ิงขึน้ 11.2 จุดแข็ง (Strength) หรือ สงิ่ ที่ทำไดด้ ใี นประเด็นท่นี ำเสนอ 1) มีระบบในการคดั กรองความเสย่ี งในการติดเช้ือโควดิ -19 (SCI-ROUND) 2) มีแนวปฏิบัติการป้องกนั และการจดั การเม่ือเกิดเหตุในการติดเชือ้ โควิด-19 3) มีการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของ ระบบ SCI-ROUND โดยใชก้ ารส่มุ ตรวจดว้ ย ATK 11.3 กลยทุ ธห์ รือ ปัจจัยท่ีนำไปสคู่ วามสำเร็จ 1) มีการสนับสนนุ อย่างเปน็ รปู ธรรม จากทมี บริหาร คณะวิทยาศาสตร์ 2) มีแพทยท์ ี่ปรึกษา ใหค้ ำแนะนำ ทำให้แนวปฏบิ ตั ิท่วี างไวย้ ดึ ตามมาตรฐานทางการแพทย์ 3) มีการทำงานแบบบูรณาการ ทั้งในส่วนงานพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ งานเครือข่ายและ ประชาสัมพันธ์ร่วมกับงานสนับสนุนการจัดการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ร่วมวางแผนแนวทางป้องกัน การแพร่ระบาดในการเรยี นการสอนแบบ onsite การจดั ทำ Google form และ SCI-ROUND 12. ประเด็น (จดุ เดน่ ) ที่เปน็ แนวปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลศิ ในการเรียนการสอนแบบ onsite คณะวิทยาศาสตร์ ใช้ระบบในการคัดกรองความเสี่ยงในการติดเช้ือโควิด-19 SCI-ROUND ร่วมกับแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 และการสุ่มตรวจด้วย ATK ในกลุ่ม นักศกึ ษา ทำใหก้ ารป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโควดิ -19 มปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้ เนอื่ งจากสามารถคดั กรองความเสย่ี งของ การติดเชื้อโควิด-19 ได้เพ่ิมมากข้ึนและกำกับดูแลนักศึกษากลุ่มเสี่ยงสูงที่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเช้ือโควิด-19 ให้กักตัวและ ตรวจหาเชื้อ ทำใหไ้ มแ่ พร่เชื้อตอ่ อีกทั้งยังดแู ลประสานให้นกั ศกึ ษาทีต่ ิดเช้ือไดเ้ ข้ารับการรักษา จงึ เป็นกระบวนการทำงานท่ี ดูแลนกั ศกึ ษาทีค่ รบวงจรในเรื่องการปอ้ งการการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โควดิ -19 ในกลมุ่ นักศึกษา 13. เอกสารอ้างองิ 1) เอกสารประกอบที่ 1 แบบประเมนิ ความพรอ้ มดา้ นสขุ ภาพสำหรบั นกั ศกึ ษาสำหรบั Google form 2) เอกสารประกอบที่ 2 คู่มอื ระบบ SCI-ROUND Link https://shorturl.asia/g4yv0 14. บทสรุป การนำหลักการบริหารความเส่ยี งมาใช้ในการจัดการการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 เพื่อทำให้สามารถจัดการเรยี น การสอนแบบ onsite ได้อย่างปลอดภัย โดยใช้เคร่ืองมือท่ีมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องคือระบบ SCI-ROUND ร่วมกับ การคัดกรองสุ่มตรวจ รวมถึงการจัดการกรณีพบการติดเช้ือโควิด- 19 ในนักศึกษา โดยระบบการจัดการดังกล่าวมี ประสิทธิภาพที่ดี โดยวัดจาก การคัดกรองคนนักศึกษาท่ีมีความเสี่ยงออกมาได้ และ มีการเฝ้าระวังด้วยการสุ่มตรวจ ทำให้ การจัดการเรียนการสอนแบบ onsite หรือ hybridge มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ซ่ึงหน่วยงานอื่นสามารถนำไป ประยกุ ต์ใชท้ ัง้ ในระดับโรงเรียน หรอื คณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย 140

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เอกสารประกอบท่ี 1 แบบประเมินความพร้อมดา้ นสขุ ภาพสำหรบั นักศกึ ษา จัดทำ QR code Google Form ให้กรอกเพ่ือเปน็ การประเมนิ ความพร้อมทางดา้ นสุขภาพ ก่อนเขา้ เรียนทกุ คร้ัง เพื่อป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเช้อื COVID-19 รายละเอียดใน Google Form • ช่อื นกั ศึกษา........................นามสกุล…………….. ชั้นปี………… รหัสนักศึกษา…………………….. • วัน/เดอื น/ปี……………………………. • ประวัตสิ ัมผสั ใกล้ชิดกบั ผตู้ ิดเช้อื เช่นมีการติดเชื้อของคนในบ้าน/ เพื่อนในกลุ่ม ▪ ไมม่ ี (0 คะแนน) ▪ มี (3 คะแนน) • ประเมนิ อาการไข้ หรืออาการติดเช้อื ของระบบทางเดนิ หายใจ ▪ เจ็บคอ (1 คะแนน) ▪ ไอ (1 คะแนน) ▪ มีนำ้ มูก (1 คะแนน) ▪ จมกู ไม่ไดก้ ล่นิ (3 คะแนน) ▪ ลนิ้ ไม่รับรส (3 คะแนน) ▪ ถ่ายเหลว (1 คะแนน) ▪ ตาแดง (1 คะแนน) ▪ ผื่นขนึ้ (1 คะแนน) ▪ หายใจเรว็ (1 คะแนน) ▪ หายใจเหนือ่ ย (1 คะแนน) ▪ เมอื่ ยตวั (1 คะแนน) • วัดอุณหภูมวิ า่ ได้เทา่ ไหร่ ▪ นอ้ ยกว่า 37.5 องศา (0 คะแนน) ▪ ต้งั แต่ 37.5 องศา (3 คะแนน) • ข้อความระบุ “ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลดงั กล่าวขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ หากมกี ารบิดเบือน หรือ ปกปิด ขอ้ มูล ขา้ พเจ้ายนิ ดรี ับผดิ ชอบความเสียหายท่ีอาจจะเกิดขน้ึ ” • เมอ่ื รวมคะแนนแลว้ ▪ ผลการประเมินจะได้สถานะ เขียวเหลือง แดง และแสดงสถานะกับอาจารย์/เจ้าหน้าท่ี ก่อนเข้า เรยี น ▪ 0 คะแนน = เขียว เขา้ ชน้ั เรยี นได้ 141

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ▪ 1 คะแนน= เหลอื งยังไม่ใหเ้ ข้าชัน้ เรียน กลบั ไปพักก่อน ≥ 2 คะแนน =แดง ไม่ให้เข้าช้ันเรียนข้อมูลควรจะแสดงที่ฝ่ายกิจการนักศึกษา เพ่ือกำกับดูแลในการปฏิบัติตัวของ นกั ศึกษา…………………………………. หมายเหตุ - การรายงานผลการดำเนนิ งาน (Result) จะต้องมีความสอดคล้องกับเปา้ หมาย/วัตถุประสงคข์ องโครงการ - ลกั ษณะอักษร TH SarabunPSK ขนาด 14 pt. และใส่หมายเลขหน้า เวน้ ระยะขอบมาตรฐาน - จำนวนหน้าในการนำเสนอข้อมลู (รวมเอกสารอ้างองิ และภาคผนวก) คอื จำนวนไม่เกนิ 10 หนา้ (A4) 142


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook